Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรแผนการสอนเกษตรอัจฉริยะ

หลักสูตรแผนการสอนเกษตรอัจฉริยะ

Description: หลักสูตรแผนการสอน

Search

Read the Text Version

หลักสูตรอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming หลักสูตรอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น ตามโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ความเป็นมาและความสาคัญของหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ภาคการเกษตรนับวา่ มีความสาคัญตอ่ การดารงชวี ิตของคนไทยมาตงั้ แต่อดตี จนถึงปัจจุบนั ด้วยสภาพ ภมู ปิ ระเทศ ทรพั ยากร สิ่งแวดล้อม และภมู อิ ากาศที่เอ้ือต่อการทาการเกษตร จงึ ทาให้ประชากรส่วนใหญ่ของ ประเทศประกอบอาชีพทางการเกษตรมาโดยตลอด ซงึ่ ถอื ได้วา่ เกษตรกรรมเปน็ ประโยชน์ต่อการพึ่งพาตนเอง รวมไปถึงการสร้างรายได้ให้ครอบครัว ชุมชน และนาไปสู่การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ ในปัจจุบันแบ่งกลุ่มเกษตรกรออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เกษตรกรรายย่อย และเกษตรกรรายใหญ่ท่ีทาการเกษตร พาณิชย์ ซึ่งเกษตรกรรายย่อยเปน็ กลุม่ เกษตรกรแบบครอบครวั โรงเรียน และกลุม่ ชุมชนขนาดเล็ก โดยจะเน้น การทาการเกษตรเพ่ือการดารงชีวิตและต่อยอดรายได้เข้าสู่ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ซ่ึงยังมีข้อจากัด ทางด้านการลงทุนหรือค่าใช้จ่าย และด้วยแนวโน้มทางเศรษฐกิจในปัจจุบันอาชีพเกษตรกรรายย่อยอยู่ใน สภาวะที่ไมม่ ั่นคง เกษตรกรรายยอ่ ยมรี ายไดไ้ ม่เพยี งพอต่อรายจ่าย จนเกดิ ปัญหาหนี้สนิ และที่ดินทากิน อกี ทัง้ ราคาสินค้าเกษตรตกต่า ขาดการหมุนเวียนรายได้ภายในชุมชน อาจเป็นผลมาจากปัจจัยหลาย ๆ ด้าน ท่ีเกษตรกรรายย่อยยังไม่สามารถปรับตัวให้ทันต่อระบบการผลิตที่เปล่ียนแปลงในยุคปัจจุบัน เช่น ปัจจัย ด้านความสามารถในการเข้าถึงความรู้และเทคโนโลยี การบริหารจัดการพื้นที่และผลผลิต การต่อยอด ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเพื่อการสร้างรายได้ การสร้างสรรค์นวัตกรรม และปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมภายใน ชมุ ชนเพื่อสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือภาคการเกษตร เพื่อใชใ้ นการตอ่ รองราคาทางการคา้ ซึ่งปจั จยั เหล่านเี้ ป็น สว่ นสาคญั ทต่ี ้องไดร้ ับการแก้ไขและการพัฒนาเพือ่ คุณภาพชวี ิตเกษตรกรรายยอ่ ยดว้ ยเกษตรกรรมบนพื้นฐาน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพอย่างเร่งด่วนต่อไปภายใต้พลวัตความเปลี่ยนแปลงของโลก ยุคใหม่ที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้มีส่วนสาคัญในการขับเคล่ือนให้เกิดการพัฒนาในหลากหลายสาขาอาชีพ รวมไปถึงการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันในประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมทเ่ี หมาะสม มาสรา้ งประสทิ ธภิ าพใหก้ ับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอย่อู ย่างจากัด เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด ยกตวั อยา่ งเชน่ ในประเทศอสิ ราเอล ซงึ่ เป็นหนึ่งประเทศตะวันออกกลางที่มีสภาพ อากาศแห้งแล้งข้ันรุนแรง มีพ้ืนท่ีเหมาะสมต่อการเพาะปลูกเพียง 20% พื้นท่ีส่วนใหญ่ถูกปกคลุมไปด้วย ทะเลทราย ติดอนั ดบั ต้น ๆ ของโลก มีปรมิ าณฝนตกน้อย และเปน็ ประเทศทีม่ แี หล่งน้าหลกั จาก “ทะเล” แตม่ ี ความสาเร็จในการคิดคน้ เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ล้าสมัย จนสามารถผนั ตัวเองให้เปน็ ผูน้ าด้านการทาเกษตร อจั ฉรยิ ะ การชลประทานน้าหยด การผลิตน้าบรสิ ุทธิ์ และนากลับมาใชใ้ หม่ โดยการพฒั นาเทคโนโลยกี ารกล่ัน น้าเค็ม และรีไซเคิลน้าเสียให้กลับมาเป็น “น้าจืดเพื่อการเกษตร” ได้ และพลิกผืนทะเลทรายให้กลายเป็น แปลงเกษตร นอกจากนี้สามารถพัฒนาระบบตรวจสอบและควบคุมสภาพความช้ืนในดินผ่านแอพพลิเคช่ัน บนสมาร์ทโฟน โดยสามารถสั่งการให้ปรับปรุงดินและแก้ไขความชื้นได้ทันทีผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งจะครอบคลุม พน้ื ทีใ่ นระยะไกลได้มากกว่าใช้ระบบอินเตอร์เน็ตไร้สาย ซึง่ ถอื ได้วา่ เป็นประเทศตน้ แบบของการนาเทคโนโลยี มาใช้เพื่อการบริหารจัดการภาคการเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยแท้จริง และอีกในหลาย ๆ ประเทศ ก็ได้นาแนวคิดการบริการจัดการภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีระบบอัจฉริยะมาใช้จนเกิดเป็นนวัตกรรม ท่ี ส า ม า ร ถ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ก าร เ ก ษ ต ร สู่ ก า ร เพิ่ ม มู ล ค่ า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เทศไ ด้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าวิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศและการเพ่ิม 1

หลักสูตรอัจฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming ขีดความสามารถในการแข่งขันกับนานาประเทศได้ในอนาคต ด้วยความสาคัญดังกล่าว สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จึงได้จัดทาโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming โดยเน้นการจัดการเรียนรู้ที่สามารถบูรณาการรายวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ กบั การทาเกษตรแบบประณีตในโรงเรยี น โดยมีเป้าหมายเพ่อื ให้นกั เรยี นเกิด ทักษะและสามารถนาองค์ความรูม้ าสู่การปฏบิ ัติอย่างเป็นรูปธรรม อีกท้ังสามารถนาความรู้และประสบการณ์ ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ ก่อให้เกิดรายได้ภายในโรงเรยี นและนาไปสู่การผลักดัน ให้เกิดการยกระดับ กระบวนการผลิตและคุณภาพสินค้าภาคเกษตร ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ดังน้ัน เพ่ือให้การดาเนินงานตามโครงการดังกล่าวขับเคลื่อนไปอย่างเป็นรูปธรรม สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพื้นฐานจงึ ได้จดั ทากรอบหลักสตู รอัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรียนขน้ึ เพอื่ ใช้เปน็ กรอบแนวทาง ในการพัฒนาหลักสูตรอจั ฉริยะวิถรี ะดับสถานศกึ ษาทเี่ ข้ารว่ มขับเคล่ือนการจัดการเรียนรใู้ นโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ตอ่ ไป แนวคดิ ของหลกั สูตรอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น การพัฒนาหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนตามโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming มุ่งเน้นการออกแบบกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ องค์ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ กับการทาเกษตร แบบประณีตในโรงเรียน โดยปรับแนวคิดของโครงการ 1 ไร่ 1 แสน มาใช้เป็นแนวคิดหลักในการกาหนด เปา้ หมายหลักสูตร โดยแนวคิดการทาเกษตรกรรมในรปู แบบ 1 ไร่ 1 แสนนัน้ พฒั นามาจากการทาเกษตรกรรม แบบประณีต เพ่ือให้เกษตรกรพออยู่พอกิน และสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข ซ่ึงในแต่ละพ้ืนท่ี โครงการมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของพื้นท่ี หลักของการทาการเกษตรน้ันจะต้องเน้นการผลิต แบบพึ่งพาตนเอง ทาการผลิตท่ีมีความหลากหลายเพ่ือการบริโภคที่เพียงพอภายในครอบครัว ซ่ึงช่วยลด ค่าใช้จ่ายด้านอาหาร ด้านการผลิต นอกจากนั้นเม่ือผลผลิตเหลือจากการบรโิ ภคในครัวเรือนแล้ว ยังสามารถ นาไปจาหนา่ ยเพื่อสร้างรายไดใ้ ห้กับครอบครวั ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ท่ีดีขนึ้ ดงั นั้น การทา เกษตรกรรมในรูปแบบดังกล่าว จึงเป็นแนวคิดท่ีมุ่งเน้นกระบวนการคิดของเกษตรกรอย่างเป็นระบบ ท้ังใน การปลกู พชื เพาะเลย้ี ง การแปรรูปผลผลิต และการจดั จาหน่าย เพอ่ื ให้เกิดรายได้แกเ่ กษตรกรอย่างสม่าเสมอ พร้อมท้ังเป็นการสร้างให้เกษตรกรเกิดความรู้และทักษะทั้งในการวางแผนการทางานและการปฏิบัติงาน ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าน้ีคือการคิดแบบ Coding for Farm นั่นเอง ทั้งน้ี ในการออกแบบหลักสูตรดังกล่าว ได้มี การนาเอาองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอัจฉรยิ ะ หรือระบบควบคุมอัตโนมัติมาออกแบบเป็นหน่วยการเรยี นรู้ เพม่ิ เติมเพอ่ื ให้นักเรยี นนาองค์ความร้ดู ังกล่าวไปปรบั ใช้ในการปฏบิ ัตกิ ารทาการเกษตรของตนเองใหเ้ ปน็ ระบบ เกษตรกรรมทเี่ ปน็ Smart Farm โดยแทจ้ ริง 2

หลักสตู รอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรยี นรตู้ ามแนวทางของโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming แนวคดิ ในการพัฒนารปู แบบการเรียนรู้ตามแนวทางของโครงการ มุ่งพัฒนาให้นกั เรียนเกิดการเรียนรู้ ตามแนวทางของโครงการ ประกอบด้วย 5 ระยะ ดังน้ี แผนภาพท่ี 2 ระยะของการเรียนรูต้ ามหลกั สูตรอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน 3

หลักสตู รอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming ระยะที่ 1 รู้จักพื้นที่ (Area based research) การสารวจและเก็บรวบรวมข้อมูลด้านภูมิศาสตร์ และสังคมศาสตร์ เช่น ข้อมูลจากสารวจพื้นท่ีโดยใช้ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์เป็นฐาน ซึ่งเร่ิมตั้งแต่ การวิเคราะห์พ้ืนที่ การระบุพ้ืนท่ีเพาะปลูก โดยใช้ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ของประเทศ รวมไปถึงการรวบรว ม วิธีการเพาะปลูกพืช การคัดเลือกพันธ์ุ การดูแลรักษา และวิธีการเก็บเกี่ยว เป็นต้น โดยขั้นตอนนี้ต้องศึกษา ข้อมูลอย่างรอบด้านเพ่ือใชใ้ นการตัดสินใจ การวางแผนเพื่อมุ่งพฒั นาการเพม่ิ ประสิทธิภาพ รวมไปถงึ การเพิ่ม ผลผลิตต่อพ้ืนที่โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ข้อมูลความต้องการของผู้บริโภค และข้อมูลการตลาด เพื่อใช้ใน การวางแผนและตัดสนิ ใจในการลงมือปฏบิ ตั ิ ระยะที่ 2 เรียนรู้วางแผน (Coding for Farm) การวางแผนและออกแบบการบริหารจัดการใน ด้านต่าง ๆ โดยการข้อมูลจากการสารวจด้านภูมิศาสตร์และสังคมศาสตร์มาวิเคราะห์และการออกแบบพื้นท่ี เกษตรกรรม เช่น การออกแบบพ้ืนท่ีเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์ การออกแบบการบริหารจัดการน้า การควบคุม ระบบดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวผลผลิต และแผนธุรกิจ รวมไปถึงการออกแบบเทคโนโลยีเพ่ือการตลาด และการจัดทา การสร้าง Application การสร้างเครือข่ายความร่วมมือสังคมแบบออนไลน์ ซ่ึงในขั้นตอนน้ี จะต้องวางแผนการดาเนนิ การโดยคานึงถึงการบรหิ ารจัดการโดยใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพ่อื สร้างนวตั กรรม ใหม่ ๆ ให้เกิดความคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผลผลิตทางเกษตรกรรม และแผนธุรกิจ เพื่อให้เกิด ประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยนาเสนอแผนการออกแบบพื้นท่ีเกษตรกรรมและแผนธุรกิจให้กับ ผ้เู ชีย่ วชาญเพือ่ นาข้อคดิ เหน็ และเสนอแนะมาปรบั ปรงุ แผนก่อนนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ระยะที่ 3 ริเริ่มปฏิบัติการ (Implementation) การลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่ได้ ออกแบบไว้ ซ่ึงระหว่างการดาเนินการจะต้องมีการสังเกตและเก็บรวบรวมข้อมู ลประเด็นปัญหา และข้อผิดพลาดต่าง ๆ ในระหว่างการดาเนินการ เพื่อนามาวิเคราะห์ผลและการแก้ไขปัญหาต่อไป ซ่ึงใน ขั้นตอนนี้จะต้องคานึงถึงหลักการใช้เคร่ืองมือทางเทคโนโลยีและหลักการได้มาซึ่งผลผลิตโดยการวิเคราะห์ ผลข้อมูลให้ตรงกบั ระยะเวลาของการเพาะปลูกและการเก็บเกีย่ วผลผลิตเพื่อสร้างรายได้อย่างตอ่ เน่ือง รวมท้งั ผลประกอบการตามแผนธุรกจิ ระยะที่ 4 รวบรวมพัฒนา (Development) การพิจารณาและทบทวน โดยการนาข้อมูลจาก การสังเกตผลการผลิต ผลประกอบการจากแผนธุรกิจ ตลอดจนประเด็นปญั หาและความท้ายทายที่เกิดขนึ้ ใน ระหว่างการปฏิบัติการ มาวิเคราะห์และพิจารณาเพื่อปรับปรุงพัฒนารูปแบบวิธีการ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และแผนธรุ กจิ ต่าง ๆ ใหม้ ีประสิทธิภาพในแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพื่อพฒั นานวตั กรรมทางการเกษตร ระยะท่ี 5 ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ขยายผล (Sharing) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผลสู่ชุมชน ซ่ึงจะได้รปู แบบวธิ ีการและเครื่องมือต่าง ๆ และแผนธุรกิจ ที่มีความเหมาะสมและเกดิ ประโยชน์สูงสุดต่อการ ทาเกษตรกรรม และสามารถต่อยอดผลผลิตจากการเก็บเก่ียวจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีสร้างรายได้ให้กับ โรงเรียน นาไปสู่การผลักดันให้เกิดการยกระดับการผลิตสินค้าที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชุมสู่การตลาดใน ภาคเอกชนหรือในรูปแบบสหกรณ์ รวมไปถึงการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นศูนย์บริการความรู้ด้านเกษตร บนพื้นฐานของเทคโนโลยที เี่ ข้าถึงไดใ้ หก้ ับคนในชุมชนตอ่ ไป 4

หลกั สูตรอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming แนวคิดในการออกแบบหลักสูตรโดยพัฒนาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ 5 ระยะ ดังกล่าวมีจุดมุ่งเน้น สาคญั ของการเรียนรูเ้ พ่ือสง่ เสริมให้นกั เรียนเกดิ การพฒั นาองคค์ วามรู้และทกั ษะสาคญั ในประเด็นต่อไปนี้  ทักษะพน้ื ฐานเกษตรกรรมแบบประณตี  การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีและระบบอัจฉริยะ  การบรู ณาการองคค์ วามรู้เพ่อื พฒั นาคุณภาพการเกษตร  การวิเคราะหภ์ มู ิศาสตร์ ภูมสิ งั คม  เศรษฐศาสตร์การเกษตรและประสทิ ธภิ าพในการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ  การออกแบบและวางแผนกระบวนการทางาน  การเขียนแผนธุรกิจ วางแผนการตลาด และเทคโนโลยสี ่งเสรมิ การขาย  การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์และการต่อยอดผลผลติ  การสร้างสรรคน์ วตั กรรมเกษตรกรรมแบบประณีต เป้าหมายหลกั สตู รอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและเกิดทักษะพ้ืนฐานทางด้านอัจฉรยิ ะเกษตรประณีต ท่ีบูรณาการ วิทยาศาสตร์ วิทยาการคานวณ และเทคโนโลยี เข้ากับกระบวนการสัมมาชีพทางเกษตรกรรม และการเป็น ผูป้ ระกอบการ 2. นกั เรยี นสามารถสร้างนวัตกรรมท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อภาคการเกษตร 3. ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และต่อยอดองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิทยาคานวณ บนพื้นฐานของอัจฉริยะเกษตรประณีตไปสู่ครอบครวั ชุมชน และการประกอบ อาชพี ในอนาคต องคป์ ระกอบของการพฒั นาหลกั สูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น  คมู่ ือการจดั หลักสตู รอัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรียน คณะ ทาง าน ไ ด้ดาเนิน การ ออกแบบแ ละ พัฒ น ากร อบ หลัก สู ตร อัจ ฉริยะ เกษ ตร ป ร ะ ณี ต ในโรงเรียนซ่ึงเป็นเอกสารคู่มือการจัดหลักสูตรท่ีระบุข้อมูลโครงการ แนวคิดสาคัญของหลักสูตร วัตถุประสงค์หลักสูตร กรอบเนื้อหาและทักษะ ตลอดจนกรอบกระบวนการเรียนรู้และการวัด ประเมนิ ผลเพ่อื ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนนิ งานออกแบบหลักสูตรในระดับสถานศกึ ษาต่อไป  หลกั สูตรอัจฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน ระดับสถานศึกษา สถานศึกษาที่เข้าร่วมการขับเคล่ือนการจัดการเรียนรใู้ นหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตใน โรงเรียน ตามโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming จะดาเนินการพัฒนาหลักสูตรระดับสถานศึกษาตามแนวทางในกรอบการออกแบบหลักสูตรท่ีระบุไว้ ในคู่มือการจัดหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนของโครงการ โดยจะต้องดาเนินการ ออกแบบรายละเอียดของหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้ังบริบทเชิงพื้นท่ี บริบท เชงิ วิชาการ และบริบทการบรหิ ารจดั การโครงสรา้ งหลักสูตรที่แตกต่างกนั ออกไป ทงั้ น้ี คณะกรรมการ ระดับสถานศึกษาควรมีการจัดทารายละเอยี ดของหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามบริบท สถานศึกษา เช่น คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม 5

หลักสตู รอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming ใบความรู้และเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้อื่น ๆ เพ่ือใช้เป็นคู่มือการดาเนินงานจัดการเรียน การสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการตอ่ ไป ขั้นตอนการพัฒนาหลักสตู รอัจฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรียน สานักบริหารงานความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา (สบว.) สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนอัจฉริยะเกษตรประณีตใน โรงเรียน โดยประกอบไปด้วยนักวิชาการจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหาร และครูผู้สอนหรือครูผู้รับผิดชอบโครงการของโรงเรียนนาร่องการใช้หลักสูตร ตลอดจนครูผู้สอน และนักวิชาการซ่ึงเป็นผู้เช่ียวชาญในสาขาต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อเป็นคณะทางานในการออกแบบและจัดทา รายละเอียดกรอบการดาเนินงานและการจัดหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ตามโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming โ ดยมีขั้น ตอ น ก ร ะ บว นก ารใน การพฒั นาหลกั สตู รดังน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลโครงการและศกึ ษาวเิ คราะห์ขอ้ มลู พน้ื ฐานทเี่ กย่ี วขอ้ ง เป็นข้ันตอนที่คณะทางานได้ร่วมกันวิเคราะห์รายละเอียดและเป้าหมายโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming เพ่ือนาข้อมูลไปดาเนินการออกแบบและร่าง รายละเอียดการจัดหลักสูตร มีการดาเนินการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการจาเป็นในการพัฒนา หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสังคมปัจจุบัน การวิเคราะห์ศักยภาพในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของ โรงเรียนระดับต่าง ๆ การศึกษาสภาพการดาเนินงานของสถาบันตัวอย่างที่มีการจัดหลักสูตรในลักษณะ ใกล้เคียงกับแนวคิดของโครงการ รวมทั้งการดาเนินงานวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพอื่ ศกึ ษาแนวทางการจดั หลกั สูตรใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลกั สตู รแกนกลางอีกดว้ ย ข้ันตอนท่ี 2 การออกแบบและร่างหลักสตู ร การดาเนินงานในข้ันตอนน้ี มีเป้าหมายเพ่ือกาหนดกรอบโครงร่างของการออกแบบหลักสูตรให้ สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ ซ่ึงเป็นข้อมูลจากการทางานในข้ันตอนท่ี 1 ตลอดจนเพื่อกาหนด แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ในระดับสถานศึกษา ให้มีความสอดคล้อง กับเป้าหมายของโครงการ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง ตลอดจนให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของ สถานศกึ ษา คณะทางานการออกแบบและร่างหลักสูตรซึง่ ประกอบดว้ ยผู้เชย่ี วชาญ ผ้บู รหิ ารและครผู ู้สอนจาก โรงเรียนนาร่องโครงการจานวน 5 โรงเรียน รวมท้ังคณะทางานซ่ึงเป็นครูผู้สอนจากโรงเรียนอ่ืน ๆ ได้ร่วมกัน ออกแบบและร่างรูปแบบของการจัดการ เรียนรู้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้หลักสูตร อัจฉริยะ เกษตรประณีตในโรงเรยี น แล้วจัดทาเป็นคู่มือการการจัดหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน เพื่อใช้ กาหนดกรอบแนวทางในการจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศึกษาให้สอดคล้องแนวคิดและเป้าหมายของ โครงการ โดยคณะทางานได้ร่วมกันออกแบบและร่างกรอบรายละเอียดหลักสูตร กาหนดจุดประสงค์ของ หลักสูตร กรอบเน้ือหาสาระ และกาหนดรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผล ตลอดจนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนการสอนในระดับโรงเรยี นเพือ่ ใหโ้ รงเรียนนาร่องโครงการ ตลอดจน โรงเรยี นอ่ืน ๆ ท่ีเขา้ รว่ มโครงการในระยะตอ่ ไปไดน้ าไปใชเ้ ป็นคมู่ ือในการพฒั นาหลักสูตรในระดับสถานศึกษาขนึ้ 6

หลกั สูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming ข้นั ตอนที่ 3 การพัฒนารา่ งหลักสตู รระดบั สถานศึกษา โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จะดาเนินการจัดทาหลักสูตรระดับสถานศึกษา ภายใต้กรอบ การดาเนนิ งานตามคมู่ อื การจดั หลกั สตู รอัจฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน ให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของโรงเรียน ทง้ั ในด้านบรบิ ทเชิงพ้นื ท่ี บรบิ ททางสงั คมและเศรษฐกิจ บริบททางวชิ าการ ตลอดจนความพรอ้ มและศกั ยภาพ ของโรงเรียนแต่ละแห่งท่ีมีความแตกต่างกันออกไปอีกด้วย โดยองค์ประกอบของการจัดทาหลักสูตรระดับ สถานศึกษาจะประกอบด้วย การกาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตรในระดับสถานศึกษา การวิเคราะห์ ความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การกาหนดเน้ือหาสาระของหลักสูตร การกาหนดรูปแบบการจัด การเรียนการสอน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ เอกสารประกอบการเรียนรู้ สื่อ และเทคโนโลยีประกอบการเรียนรู้ และการกาหนดวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน ซ่ึงโรงเรียนแต่ละแห่งจะทา เล่มเอกสารประกอบหลักสูตรท่ีสมบูรณ์เพ่ือใช้เป็นเอกสารคู่มือประกอบการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ นักเรยี นตลอดระยะเวลาการจัดหลักสูตร ขั้นตอนท่ี 4 การประเมนิ รา่ งหลกั สูตรและประเมินร่างหลกั สูตรระดบั สถานศกึ ษา ขั้นตอนน้ีเป็นการดาเนินงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบประเมินความถูกต้องเหมาะสมของ รปู แบบการกาหนดกรอบการดาเนนิ งานตามคู่มอื การจัดหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ตลอดจน รายละเอียดหลักสูตรและการกาหนดกรอบการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรระดับสถานศึกษา เพื่อพิจารณา ความสอดคล้องระหว่างบริบทหลกั สตู รรายโรงเรียนกับกรอบการดาเนนิ งานตามคู่มือการจัดหลักสูตร โดยคณะ ผู้เช่ียวชาญจากหน่วยงานความร่วมมือตามโครงการ นักวิชาการด้านเกษตรศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร ตลอดจนคณะผบู้ ริหารของโรงเรยี นท่เี ข้ารว่ มโครงการ ขั้นตอนที่ 5 การนาหลกั สูตรไปใช้ เป็นขั้นตอนสาคัญในการขับเคล่ือนหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ให้เกิดการนาไปใช้ จัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ซ่ึงโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการจะนาหลักสูตรระดับสถานศึกษาท่ีได้รับ การพัฒนาข้ึน และผ่านการพิจารณาประเมินจากผู้เชี่ยวชาญแล้วไปจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีได้ออกแบบไว้ในรายละเอียดหลักสูตร ทั้งน้ีในระยะแรกของการขับเคลื่อน โครงการจะมีการเก็บข้อมูลผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรของแต่ละโรงเรียน เพื่อประเมินหลักสูตร และศกึ ษาประสทิ ธิผลของการใช้หลกั สูตร หาจดุ ดี จดุ แขง็ และจุดที่ควรปรับปรุง ประเด็นปัญหาอุปสรรคของ หลักสตู ร ตลอดจนข้อเสนอแนะในการปรบั ใช้หลกั สูตร ขนั้ ตอนท่ี 6 การประเมิน ปรบั ปรงุ และจัดทาหลักสูตรฉบบั สมบูรณ์ ภายหลังจากการดาเนินงานระยะแรกของการขับเคลื่อนโครงการ คณะทางานจะดาเนินการรวบรวม ข้อมูลการประเมินผลการใช้หลักสูตรในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการเพ่ือนามาใช้ ปรับปรุงรายละเอียด ตลอดจนรูปแบบการจัดหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพต่อ การเรียนรู้ของนักเรียนมากข้ึน แล้วจึงนาข้อมูลตัวอย่างของหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ที่ปรับปรุงแล้วทั้งในส่วนของคู่มือการจัดหลักสูตร และตัวอย่างหลักสูตรระดับสถานศึกษาไปเผยแ พร่ เพ่ือดาเนินการสรรหาโรงเรียนท่ีจะเข้าร่วมโครงการและนาไปปรับใช้ในการจัดหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ และมกี ารดาเนินงานเป็นไปตามเปา้ หมายของโครงการในระยะต่อไป 7

หลกั สูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming ภาพรวมของหลกั สตู รอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น การพฒั นาหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี นเป็นหลักสูตรที่มแี นวคิดต่อยอดแบบบรู ณาการ ระหว่างการทาแนวคิดและองค์ความรู้เกษตรกรรมแบบประณีตกับการปรับใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะในระบบ เกษตรกรรมอจั ฉริยะ หรือ Smart Farm เพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการองค์ความรูแ้ ละทกั ษะ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และวทิ ยาการคานวณ กับการทาเกษตรแบบประณตี ในโรงเรียน โดยมีเป้าหมายสาคัญของการจัดหลักสูตร คือ การมุ่งพัฒนาให้นักเรียนเกิดการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะ พ้นื ฐานทางดา้ นเกษตรกรรมแบบประณีตท่บี รู ณาการเทคโนโลยี ใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งบูรณาการแล้ว รู้จักการปรับใช้ความรู้มาสรา้ งนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ตอ่ การทาเกษตรกรรม ตลอดจนสามารถต่อยอดองค์ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิทยาคานวณ บนพ้ืนฐานของการทาเกษตรกรรม แบบประณีตไปสู่ครอบครัว ชุมชน และการประกอบอาชีพได้ในอนาคต ดังน้ัน กรอบเนื้อหาสาระและการจัด ประสบการณเ์ พอื่ ใหน้ ักเรยี นเกิดการพฒั นาทกั ษะสาคัญจึงม่งุ ไปทสี่ าระสาคัญทางด้านพนื้ ฐานการเกษตรกรรม การเรียนรูก้ ระบวนการพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์เกษตร แนวคิดและองคค์ วามรู้ทางด้านการปรับใช้เทคโนโลยี และระบบอัจฉริยะในการเกษตร ตลอดจนกระบวนการต่อยอดองค์ความรู้เพื่อสร้างสรรค์ พัฒนานวัตกรรม หรือผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเป็นหลัก ทั้งน้ี คณะทางานได้กาหนดกรอบของการจัดหลักสูตรไว้ดังแสดงใน ผังมโนทัศนส์ าระหลกั สตู รอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน ตอ่ ไปน้ี 8

หลกั สตู รอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน หล อจั ฉริยะเก Smart Intensive Farming ในโร ผงั มโนทัศน์ กรอบเน้ือหาสาระหลักสูตรอัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้พนื้ ฐานการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ เรียนรู้พื้นฐานการแปรรูปผลิตภัณฑ์และการพฒั นาต่อ ยอดผลผลิต เทคโนโลยีเพื่อการตลาดและการจาหน่าย ผลิตภณั ฑ์ หนว่ ยการเรียนรู้สมรรถนะอาชพี การเปน็ ผปู้ ระกอบการ และการจดั ทาแผนธรุ กจิ เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ คุ ณ ส ม บั ติ แ ล ะ จ ร ร ย า บ ร ร ณ ข อ ง ผู้ประกอบการท่ีดี รวมทั้งการจัดทาแผนธรุ กจิ อย่างเป็น ระบบและมปี ระสิทธภิ าพ

หนว่ ยการเรียนรู้พื้นฐานการเกษตร Science Technology Innovation :STI รู้จักพื้นที่ วิเคราะห์ภูมิสังคมพื้นฐาน ความรู้พ้ืนฐาน ด้านการเกษตร ประวัติ รูปแบบ ประเภทเกษตรกรรม องค์ความรู้และทักษะด้านการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง หน่วยการเรียนรู้พื้นฐานเทคโนโลยี Smart Farm ศึกษาคุณลักษณะและคุณสมบัติท่ัวไป ลกั สตู ร ของเซนเซอร์ และบอรด์ ควบคมุ พื้นฐาน กษตรประณีต รงเรยี น การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางาน การออกแบบและประกอบระบบ ควบคมุ Smart Farm หนว่ ยการเรยี นรู้ปฏบิ ตั ิการอจั ฉรยิ ะวิถเี กษตรกรรม เรียนรู้วางแผน ออกแบบพื้นที่ วางแผนเพาะปลูก ออกแบบอุปกรณ์ควบคุม คานวณต้นทุนกาไร ริเร่ิม ปฏิบัติ ดาเนินการตามแผน เก็บเกี่ยวผลผลิต วางแผนการตลาด สร้างช่องทางจาหน่าย รวบรวม พัฒนา เก็บรวบรวมข้อมูลจากการดาเนินงาน วเิ คราะห์ ประเมิน พัฒนา และปรับปรุง 9

หลกั สูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจดั การเรียนรู้หน่วยท่ี 1 : พ้ืนฐานการเกษตร รายวิชาอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น ระดับชัน้ - ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวนชั่วโมง | 3 hours เรื่องย่อยท่ี 1 รจู้ กั พ้ืนท่ี สาระสาคญั ตวั ช้ีวัด (ง 1.1 ม.3/1-3) 1. อภิปรายข้ันตอนการทางานที่มี การปลูกพืชผักในท้องถ่ินตามฤดูกาลผู้ปลูกต้องมีความรู้ เกี่ยวกับชนิดและประเภทพืชผักท่ีปลูกวิธีการปลูก การดูแล ประสทิ ธิภาพ รักษา ส่วนต่าง ๆ ของต้นพืช โดยอาศัยหลักปรัชญาของ 2. ใช้ทักษะในการทางานร่วมกัน เศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ อยา่ งมีคุณธรรม กระบวนการเรียนร้หู ลกั 3. อภิปรายการทางานโดยใช้ทักษะ 1. นักเรียนร่วมกันสารวจพื้นที่ตลาดในชุมชนเพื่อหา การจัดการเพ่ือการประหยัดพลังงาน แนวทางในการขายสนิ คา้ ทางการเกษตร ทรพั ยากร และส่ิงแวดล้อม 2. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าทาง สมรรถนะสาคญั การเกษตรและรว่ มกนั อภิปรายในส่งิ ท่ีต้องสารวจ 1. ความสามารถในการคิด (ราคาพืช ราคาสัตว์ ราคาอาหารแปรรูป พืชตามฤดูกาล พืช 2. ความสามารถในการสือ่ สาร นิยม พชื ราคาสูง เป็นตน้ ) 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3. นักเรียนร่วมกันสารวจในพ้ืนท่ีตลาดตามข้อมูลท่ี 5. ความสามารถในการใชท้ ักษะ สืบค้นเกี่ยวกับสนิ ค้าทางการเกษตร 4. นักเรียนนาข้อมูลท่ีได้ทาสถิติทางข้อ มูลเพื่อ เปรียบเทียบสินค้าที่สารวจได้ในตลาด (แผนภูมิแท่ง กราฟ รูปภาพ สัญลักษณ์) เก็บเป็นข้อมูลทางสถิติบันทึกลงในสมุด เ ก ษ ต ร อั จ ฉ ริ ย ะ ( Smart Agriculture Book) เ พ่ื อ ประกอบการตดั สนิ ใจในการเลอื กผลิตสนิ ค้าเกษตรกรรม 5. นักเรยี นร่วมกันสารวจพื้นทีท่ างการเกษตรในโรงเรียน โดยวัดค่าปัจจัยท่ีมีผลต่อการทาการเกษตร (ขนาดของพื้นท่ี แหล่งน้า ภูมิประเทศ ค่า pH ของดินและน้า พืชที่มีอยู่ ความชื้น ธาตใุ นดนิ ) เก็บเปน็ ขอ้ มูลทางสถิตบิ ันทึกลงในสมุด เกษตรอจั ฉรยิ ะ (Smart Agriculture Book) เพ่อื ประกอบ การตัดสนิ ใจในการเลอื กผลิตสินค้าเกษตรกรรม 10

หลกั สตู รอจั ฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming จุดประสงค์การเรยี นรู้ 6. สารวจสภาพอากาศในแต่ละฤดูกาล ของบริเวณท่ีจะ 1. นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลและ ใช้เป็นพน้ื ทเ่ี พาะปลูกและเลย้ี งสัตว์ จากแหลง่ ข้อมลู เช่น สารวจเก่ียวกบั สินค้าทางการเกษตรได้ 2. นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลและ - การสัมภาษณ์ผ้เู ชย่ี วชาญ หรอื เกษตรกรภายในชุมชน สารวจเก่ียวกับความเหมาะสมของพ้ืนที่ - การสืบคน้ แอปพลเิ คชนั ทางการเกษตรได้ - การสารวจทางวทิ ยาศาสตร์ 3. นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลและ - การสารวจโดยใช้บอร์ดอัจฉริยะสมองกลร่วมกับ สารวจเกี่ยวกับสภาพอากาศในพื้นที่ทาง เซนเซอร์ การเกษตรได้ - แหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ 4. นักเรียนมีความตระหนักและเห็น เก็บเป็นข้อมูลทางสถิติบันทึกลงในสมุดเกษตรอัจฉริยะ คุ ณ ค่ า ข อ ง ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ท า ง (Smart Agriculture Book) เพ่ือประกอบการตัดสินใจใน การเกษตรอย่างคมุ้ คา่ และเหมาะสม การเลือกผลิตสินคา้ เกษตรกรรม วสั ดุ อุปกรณ์ การวัดและประเมินผล - 1. ประเมนิ ขอ้ มลู ทางการตลาด จากการสารวจทบ่ี ันทึกใน ส่อื และแหลง่ เรียนรู้ สมุดเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture Book) ส่วนที่ 1 1. โรงเรยี นอมกอ๋ ยวิทยาคม การตลาด 2. ชมุ ชนอาเภออมกอ๋ ย 3 . เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ยน 2. ประเมินข้อมูลพื้นที่ทางการเกษตร จากการสารวจที่ บันทึกในสมุดเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture Book) การสอนรายวชิ าพ้ืนฐานการงานอาชีพ สว่ นท่ี 2 พนื้ ท่ีทางการเกษตร 4. แบบฟอรม์ การสารวจ 5.สมุดเกษตรอัจฉริยะ ( Smart 3. ประเมินข้อมูลสภาพอากาศในพื้นท่ีการเกษตร จากการสารวจที่บันทึกใน สมุดเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture Book) Agriculture Book) ส่วนท่ี 3 สภาพอากาศในพืน้ ทกี่ ารเกษตร 6. ใบกจิ กรรม 7. แหล่งสืบค้นออนไลน์ 4. สังเกตพฤติกรรมการตระหนักถึงคุณค่าทรัพยากรทาง การเกษตร 11

หลกั สูตรอจั ฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ หลักฐานร่องรอยผลการเรยี นรู้ 1 . นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย 1. สมดุ เกษตรอจั ฉริยะ (Smart Agriculture Book) สว่ น ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร เ ก ษ ต ร ท่ี มี ต่ อ ที่ 1 การตลาด ประเทศ ชมุ ชน และครอบครัวได้ 2. สมุดเกษตรอัจฉรยิ ะ (Smart Agriculture Book) ส่วน 2. นักเรียนสามารถอธิบายรูปแบบ ที่ 2 พนื้ ทที่ างการเกษตร การเกษตรของไทยตั้งแต่อดีต จนถึง ปัจจุบัน รวมท้ังบอกข้อดี ข้อเสีย 3. สมดุ เกษตรอัจฉรยิ ะ (Smart Agriculture Book) สว่ น ของแตล่ ะรปู แบบได้ ท่ี 3 สภาพอากาศในพนื้ ที่การเกษตร 3 . นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย 4. แบบสังเกตพฤติกรรมการตระหนักคุณค่าทรัพยากร และอภิปรายการนาพืชและสัตว์มา ทางการเกษตร ปลูกหรือเล้ียงโดยอาศัยข้อมูลจาก ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง การสารวจพื้นที่ภายในสถานศึกษา และชุมชนได้ ระหวา่ งบคุ คล) - ควรจัดกิจกรรมบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล เก่ียวกับชนิดพืช และสัตว์เศรษฐกิจ รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา ภายในประเทศได้ และวัฒนธรรม คณิตศาสตร์ และภาษาไทย เป็นต้น เร่อื งย่อยที่ 2 พ้ืนฐานการเกษตร 5. นกั เรียนสามารถเขียนสรุปแผนผัง ค ว า ม คิ ด เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง สาระสาคัญ การเกษตรท่ีมีต่อประเทศ ชุมชน - ความรูพ้ ้นื ฐานด้านการเกษตร และครอบครัวได้ กระบวนการเรยี นรู้หลัก วัสดุ อุปกรณ์ 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทากิจกรรม “ความสาคัญของ - การเกษตรต่อประเทศ/ชุมชน/ครอบครัว” โดยให้นักเรียน ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ 1. โรงเรียนอมก๋อยวิทยาคม สรปุ เปน็ แผนผังความคดิ และส่งตัวแทนนาเสนอ 2. ชมุ ชนอาเภออมก๋อย 2. ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายเรื่อง ความสาคัญของ 3. เอกสารประกอบการเรียน การเกษตรตอ่ ประเทศ/ชมุ ชน/ครอบครวั การสอนรายวชิ าพ้นื ฐานการงานอาชีพ 3. ครูบรรยายเร่อื ง ประวัติการเกษตรกรรมของประเทศ 4. ใบกิจกรรม ไทย 4. ครูใหค้ วามรู้เร่อื ง “รูปแบบและประเภทเกษตรกรรม” เพื่อให้นักเรียนรู้จักรูปแบบการเกษตรในท้ังในอ ดีต และปัจจุบัน เพื่อนามาปรับใช้การการเกษตรของตนเอง หรือครอบครวั ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 12

หลกั สูตรอัจฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming จ5. แหล่งสืบคน้ ออนไลน์ 4.1 เกษตรอนิ ทรยี ์ 4.2 เกษตรธรรมชาติ 4.3 วนเกษตร 4.4 เกษตรผสมผสาน 4.5 เกษตรทฤษฏีใหม่ 4.6 เกษตรเคมี 4.7 เทคโนโลยีการเกษตรในปจั จบุ นั 4.8 ทฤษฎเี ศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย ของรูปแบบการเกษตรแต่ละประเภท และอภิปราย เลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนท่ีการเกษตร ในโรงเรียน 6. แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้า ชนิดพืช และสัตว์ เศรษฐกิจ ภายในประเทศ และชุมชน กลุ่ม 2-3 คน กลุ่มละ 1 ชนดิ จดั ทาอินโฟกราฟิกขอ้ มูลที่ไดใ้ นรูปแบบนทิ รรศการ 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย และวิเคราะห์ เกี่ยวกับ “ชนิดของพืชและสัตว์เศรษฐกิจในประเทศ และชุมชน” ที่เหมาะสมต่อการปลูก หรือเล้ียงในพ้ืนท่ี การเกษตรในโรงเรยี น หลกั ฐานรอ่ งรอยผลการเรยี นรู้ 1. แผนผงั ความคดิ เร่ือง “ความสาคญั ของการเกษตรต่อ ประเทศ/ชุมชน/ครอบครวั ” 2. อินโฟกราฟิก เร่ือง “ชนิดของพืชและสัตว์เศรษฐกิจ ในประเทศและชมุ ชน” ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล) 1. ควรจัดกจิ กรรมหลงั จากการสารวจพน้ื ทม่ี าแล้ว เพ่อื ที่ นักเรียนจะได้นาข้อมลู ที่ได้จากการสารวจ และองค์ความรูท้ ่ี ได้จากการจัดการเรียนรู้ เร่ือง พ้ืนฐานการเกษตร มาวเิ คราะห์ร่วมกนั ภายในหอ้ ง 2. ควรจัดกิจกรรมบรู ณาการกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม คณติ ศาสตร์ และภาษาไทย เปน็ ต้น 13

หลกั สูตรอจั ฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจัดการเรยี นรู้หนว่ ยที่ 2 : พื้นฐานเทคโนโลยี Smart Farm รายวิชา อจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น ระดบั ชน้ั - ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จานวนชว่ั โมง | 9 hours เร่ือง พ้ืนฐานเทคโนโลยี Smart Farm สาระสาคัญ ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ 1. มีทักษะ ความรู้ทาง ทฤษ ฎี ศึกษาคุณลักษณะและคุณสมบัติทั่วไปของ เซนเซอร์ อุปกรณ์ และบอร์ดควบคุมพ้ืนฐาน ออกแบบและประกอบ เกย่ี วกบั Smart Farm ระบบควบคุม Smart Farm โดยใช้ เซนเซอร์และบอร์ด 2. สามารถออกแบบและติดต้ัง พื้นฐานควบคุมอุปกรณ์ เช่น ระบบต้ังเวลารดน้าอัตโนมัติ ทดสอบ วิเคราะห์ และบารุงรักษา ระบบพลังงานทดแทนเบื้องต้น ระบบควบคุม Smart Farm อปุ กรณแ์ ละอุปกรณไ์ ด้ แบบอัตโนมตั แิ ละควบคมุ ผ่านสมาร์ทโฟน (IoT) โดยใชข้ อ้ มูล 3. มีบุคลิกภาพและคุณลัก ษณะ สภาพอากาศและส่ิงแวดลอ้ ม (Weather Station) อ้างองิ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานอาชีพและ การรว่ มกบั ผู้อ่ืน โดยใช้กระบวนการ STI (Science Technology and 4. มีการปฏิบัติงานตามแผนความ Innovation) มี จิ ต ส า นึ ก ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ พ ลั ง ง า น สามารถในการแก้ปญั หาการดาเนนิ งาน และสง่ิ แวดลอ้ ม มีคณุ ธรรมการตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั งิ าน สมรรถนะสาคัญ กระบวนการเรียนรู้หลัก - ความสามารถในการคน้ คว้า 1. ศึกษาค้นคว้าความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีเกษตรที่ - ความสามารถในการในการคิด - ความสามารถในการสื่อสาร ทนั สมยั (เช่น ภูมสิ ารสนเทศทางการเกษตร) (1 คาบ) - การปฏบิ ัติงานตามแผน - การใชเ้ ครือ่ งมืออุปกรณ์ 2. ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับเซนเซอร์ อุปกรณ์ และบอร์ด - ความสามารถในการแกป้ ญั หา พน้ื ฐานการเขยี นโปรแกรมควบคุม IoT (4 คาบ) 3. ออกแบบและสร้างต้นแบบระบบควบคุม Smart Farm ตามท่ีไดอ้ อกแบบและทดลองใชง้ าน (2 คาบ) 4. นาเสนอ ประเมินผล วิเคราะห์ สรุปผลการทดลอง/ แนวทางการแกป้ ัญหา แนวทางพัฒนาตอ่ ยอด (2 คาบ) 14

หลักสูตรอจั ฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมีทกั ษะ ความรู้ 1. ใบความรู้ เก่ียวกับความรู้เก่ยี วกับเทคโนโลยีเกษตร ท่ที ันสมัย ทางทฤษฎี เกี่ยวกบั Smart Farm 2. ใบความรู้ 2. เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถออกแบบ 3. แบบบนั ทึกผล 4. นาเสนอและอภปิ ราย และติดต้ัง ทดสอบ วิเคราะห์ และ บารงุ รกั ษาอปุ กรณแ์ ละอปุ กรณ์ได้ หลักฐานร่องรอยผลการเรียนรู้ 1. ใบงาน 3. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมีบคุ ลิกภาพและ 2. ใบงาน แบบทดสอบ 3. ชนิ้ งาน ต้นแบบ คณุ ลักษณะเหมาะสมกับการ 4. แบบประเมนิ ถอดบทเรียน ปฏบิ ัติงานอาชีพและการรว่ มกบั ผู้อ่ืน 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีการปฏิบัติงาน ตามแผน ความสามารถในการ แก้ปญั หา การดาเนนิ งาน วสั ดุ อปุ กรณ์ ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง 1. อปุ กรณเ์ ชื่อมต่อ เช่น สายไฟ ระหวา่ งบุคคล) จดุ ยึด เปน็ ต้น 1. ใหเ้ สริม เก่ียวกบั MQTT Data-science เพ่ือเชือ่ มโยง 2. สาหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด ต้องใช้ความรู้พ้ืนฐาน 2. บอร์ดควบคมุ 3. Water pump ไฟฟ้าอิเล็กทรอนกิ ส์หรอื ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ 4. Relay module 5V. มาช่วยปฏิบตั ิ 5. LED Light Glow 6. LCD I2C 7. Light Sensor 8. Humidity Sensor 9. Moisture Sensor 10. แหล่งจา่ ยไฟ 11. App เชอ่ื มโยง IoT สอื่ และแหลง่ เรยี นรู้ 1. Nectec 2. Handy sense 3. KidBright 4. Ardrunio All 5. Depa 6. มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ 15

หลกั สูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจดั การเรยี นรู้หน่วยท่ี 3 : ปฏิบตั ิการอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีต รายวิชา อจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น ระดับช้นั - ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จานวนชัว่ โมง | 3 hours เร่ือง กระบวนการวางแผน ออกแบบ และดาเนินการ ปฏิบัติอัจฉรยิ ะเกษตรประณีต ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ง.1.1 สาระสาคญั วิเคราะห์วางแผน ออกแบบพ้ืนที่ในการทาเกษตร สมรรถนะสาคัญ อัจฉริยะลงมือปฏิบัติ โดยใช้เทคโนโลยี Smart Farm - ความสามารถในการคน้ คว้า รวบรวมพฒั นาและขยายผล - ความสามารถในการในการคิด - ความสามารถในการสอื่ สาร กระบวนการเรียนรูห้ ลัก - การปฏิบตั ิงานตามแผน 1. วิเคราะห์ สภาพบริบทของพ้ืนท่ีท่ีจะจัดทา Smart - การใชเ้ ครอ่ื งมอื อุปกรณ์ - ความสามารถในการแกป้ ัญหา Farm 2. ออกแบบแผนผัง ฟารม์ อัจฉรยิ ะ 3. ลงมอื ปฏบิ ัติ ตามแผนผังทอี่ อกแบบไว้ วัสดุ อปุ กรณ์ การวัดและประเมนิ ผล 1. อุปกรณ์โรงเรือน 1. แบบสังเกต 2. อุปกรณก์ ารเกษตร 2. แบบประเมินผลงาน 3. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับ 3. แบบประเมินการนาเสนอ smart farm 4. อุปกรณก์ ารเขียนแบบ หลกั ฐานรอ่ งรอยผลการเรยี นรู้ ชน้ิ งานนกั เรยี น สื่อและแหลง่ เรยี นรู้ 1. Internet ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง 2. ชดุ อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ระหว่างบคุ คล) 3. อุปกรณ์การเกษตร 4. ใบงาน ศกึ ษาดงู าน Smart Farm จากโรงเรียนตน้ แบบ 5. ใบความรู้ 6. แหล่งเรยี นรู้ เชน่ หอ้ งสมดุ หนงั สอื เรียน เรยี นรนู้ อกสถานท่ี 16

หลักสูตรอัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจัดการเรียนรู้หน่วยท่ี 4 : พนื้ ฐานการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เนือ้ หา 1. แปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ 2. การออกแบบบรรจุภณั ฑ์พฒั นาตอ่ ยอดผลผลิต 3. การใช้เทคโนโลยเี พือ่ การตลาดและการจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ รายวชิ า อัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น ระดบั ชัน้ - ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 จานวนชัว่ โมง | 10 hours เรื่อง การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั 1. รู้ เข้าใจ วางแผนและปฏิบัติใน การแปรรูปผลผลิต เป็นข้ันตอนและวิธีการใน การแปรรูปผลิตภัณฑ์ท่ีเหมาะสมกับ การเปล่ียนแปลงวัตถุดิบให้เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเหมาะสมกับ ผู้บริโภค เน้นความสะอาดปลอดภัย ผู้บริโภค โดยใช้หลักการ การใช้ความร้อน การใช้ความเย็น และเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม การทาแห้ง การใช้น้าตาล การหมักดอง การฉายรังสี การใช้ สารเคมี เน้นความสะอาดปลอดภัยต่อผบู้ ริโภค และเปน็ มิตร สมรรถนะสาคัญ กับสิง่ แวดลอ้ ม - ความสามารถในการคน้ คว้า - ความสามารถในการในการคิด กระบวนการเรยี นรู้หลกั - ความสามารถในการสือ่ สาร 1. เรียนรู้เก่ียวกบั ความรู้เบอ้ื งตน้ การแปรรปู ผลผลติ - การปฏิบตั ิงานตามแผน 2. สารวจ เก็บรวบรวมข้อมูล ผลผลิตในฟาร์ม - การใช้เครือ่ งมืออปุ กรณ์ - ความสามารถในการแกป้ ัญหา และตัดสินใจเลือกวตั ถดุ บิ ในการแปรรูป 3. สืบค้นหาวิธีการที่เหมาะสมกับวัตถุดิบที่เลือก จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. รู้ เข้าใจ วางแผนในการแปรรูป และตัดสนิ ใจวธิ ีการที่ดที ส่ี ดุ ผลิตภัณฑ์ท่ีเหมาะสมกับผู้บริโภค เน้น 4. วางแผนและออกแบบ การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ ความสะอาดปลอดภัย และเป็นมิตรกับ 5. ปฏบิ ัตกิ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์ สิ่งแวดล้อม 6. สรุปผล จัดทารายงาน และนาเสนอการปฏิบัติการ 2. ปฏิบัติในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ เหมาะสมกับผู้บริโภค เน้นความสะอาด แปรรูปผลิตภณั ฑ์ในรูปแบบโครงงาน ปลอดภัย และเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม การวดั และประเมนิ ผล 1. ตรวจผลติ ภณั ฑ์ 2. ประเมินโครงงาน 3. สังเกตพฤตกิ รรม 17

หลกั สูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming วัสดุ อุปกรณ์ อุ ป ก ร ณ์ ท่ี ใ ช้ ใ น ก า ร แ ป ร รู ป ผลติ ภณั ฑต์ ามวธิ ีการที่ใชแ้ ปรรูป สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ - ฟาร์มตวั อยา่ ง - ใบความรู้ ใบกจิ กรรม - สอ่ื อนิ เตอร์เนต็ - ปราชญ์ชาวบา้ น - แหล่งเรยี นรูใ้ นชุมชน 18

หลกั สูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจัดการเรยี นรู้หน่วยที่ 4 : พน้ื ฐานการพฒั นาผลิตภัณฑ์ เน้ือหา 1. แปรรปู ผลิตภัณฑ์ 2. การออกแบบบรรจุภณั ฑ์พฒั นาตอ่ ยอดผลผลติ 3. การใช้เทคโนโลยเี พือ่ การตลาดและการจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ รายวชิ า อัจฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรียน ระดับช้ัน - ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวนชั่วโมง | 10 hours เร่อื ง การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ และการพฒั นาต่อยอด สาระสาคัญ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ 1. รู้ เข้าใจ วางแผนและปฏิบัติใน การใช้ศาสตร์และศิลป์เพ่ือการบรรจุสินค้าโดยใช้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับ เทคโนโลยีท่ีทันสมัยและเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม บรรจุภัณฑ์ ผู้บริโภค เน้นความสะอาดปลอดภัย จะต้องปกปอ้ งตัวสนิ คา้ ใหอ้ ยู่ในสภาพที่ดจี ากแหล่งผลติ จนถึง และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มอื ลกู คา้ โดยไมใ่ ห้ได้รบั ความเสยี หาย มตี ้นทนุ ของการผลิตที่ ไม่สงู จนเกนิ ไป สมรรถนะสาคัญ กระบวนการเรยี นรหู้ ลกั - ความสามารถในการคน้ คว้า 1. เรียนรู้เก่ียวกับความรู้เบ้ืองต้นการออกแบบบรรจุ - ความสามารถในการในการคิด - ความสามารถในการส่อื สาร ภณั ฑ์ ตราสนิ ค้าและโปรแกรมกราฟิก ในการสรา้ ง - การปฏบิ ตั งิ านตามแผน 2. เรียนรู้ลิขสิทธิ์ตาม พรบ.คอมพิวเตอร์ และการให้ - การใชเ้ ครื่องมืออปุ กรณ์ - ความสามารถในการแก้ปญั หา เครดติ เจ้าของผลงาน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3. สืบค้นหาวิธีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้าที่ 1. รู้ เข้าใจ และวางแผนการ เหมาะสมกบั ผลิตภัณฑ์และตัดสินใจเลือกรูปแบบบรรจุภัณฑ์ อ อ ก แ บ บ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ที่ เ ห ม า ะ ส ม และใช้โปรแกรมกราฟกิ ท่ีเหมาะสมที่สดุ ผลิตภัณฑ์ และเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม 4. วางแผนและออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสนิ คา้ 5. ปฏิบัตกิ ารสร้างบรรจภุ ณั ฑ์ และตราสินคา้ 2. ปฏบิ ตั กิ ารออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ เหมาะสมกับผู้บริโภค และเป็นมิตรกับ 6. สรุปผล และนาเสนอการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สิ่งแวดล้อม และตราสินค้า **หมายเหตุ การเรียนรู้ในเนื้อหานี้สามารถบูรณาการ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ กั บ ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ และเทคโนโลยี การวัดและประเมนิ ผล 1. ตรวจบรรจุภัณฑ์ และตราสนิ คา้ 2. สงั เกตพฤติกรรม 19

หลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming วัสดุ อปุ กรณ์ หลักฐานรอ่ งรอยผลการเรียนรู้ อปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการออกแบบ - ใบกจิ กรรม - คอมพิวเตอร์ - บรรจภุ ัณฑ์ - โมเดลกระดาษนวนช่ัวโมง | 10 ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง ระหว่างบคุ คล) สอื่ และแหล่งเรยี นรู้ - ใบความรู้ ใบกิจกรรม - ส่อื อินเตอรเ์ นต็ - ปราชญช์ าวบ้าน - แหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน 20

หลกั สตู รอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจดั การเรียนรู้หนว่ ยที่ 4 : พื้นฐานการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ เนือ้ หา 1. แปรรปู ผลิตภณั ฑ์ 2. การออกแบบบรรจุภณั ฑ์พัฒนาตอ่ ยอดผลผลติ 3. การใช้เทคโนโลยเี พ่อื การตลาดและการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ รายวชิ า อัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี น ระดับชน้ั - ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวนชว่ั โมง | 4 hours เรื่อง การใช้เทคโนโลยีเพื่อการตลาด (E-Commerce)และ การจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์ ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั 1. รู้ เข้าใจ วางแผนและปฏิบัติการ การประกอบธรุ กจิ การคา้ ผา่ นสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ตา่ ง ๆ ใ ช้ ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ ก า ร ต ล า ด ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ หรือ คอมพิวเตอร์ (E-Commerce) และการจาหน่าย ผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงเป็นช่องทางที่มีความสาคัญท่ีสุดในปัจจุบัน โดยมีระบบ อินเทอร์เน็ตเป็นส่ือกลางในการเช่ือมโยงผู้ซื้อและผู้ขายให้ สามารถทาการค้าระหว่างกันได้ สมรรถนะสาคัญ กระบวนการเรยี นรหู้ ลกั - ความสามารถในการค้นคว้า - ความสามารถในการในการคิด 1. เรยี นรเู้ ก่ียวกบั ความรเู้ กย่ี วกับ (E-Commerce) - ความสามารถในการส่อื สาร 2. เรียนรู้ลิขสิทธ์ิตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และการให้ - การปฏบิ ัติงานตามแผน เครดติ เจา้ ของผลงาน - การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ - ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3. สืบค้นหาวิธีการสร้างส่ือออนไลน์ในการจัดจาหน่าย สินค้า จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้ เข้าใจ และวางแผนการใช้ 4. วางแผนและออกแบบสื่อออนไลน์ท่ีเหมาะสมกับ เทคโนโลยีเพือ่ การตลาด(E-Commerce) ผลติ ภัณฑ์และกล่มุ เปา้ หมาย และการจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ 2. จัดจาหน่ายสินค้าทางสอ่ื เทคโนโลยี 5. สร้างสื่อออนไลนใ์ นการขาย (webpage, facebook ท่ีจดั สรา้ งข้ึน ฯลฯ) 6. จัดจาหน่ายผลิตภณั ฑใ์ นสือ่ ออนไลนท์ ี่สรา้ งข้ึน 7. จัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และสรุปผลการ ประกอบการ **หมายเหตุ การเรียนรู้ในเนื้อหาน้ีสามารถบูรณาการการ จดั การเรยี นรกู้ บั สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 21

หลักสตู รอจั ฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming วัสดุ อปุ กรณ์ การวัดและประเมินผล อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการออกแบบ 1. ตรวจส่อื ออนไลน์ 2. ตรวจบัญชีรายรบั -รายจา่ ย - คอมพวิ เตอร์ 3. สังเกตพฤติกรรม - สมารท์ โฟน| 10 hours หลักฐานร่องรอยผลการเรียนรู้ ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ - ใบกจิ กรรม - ใบความรู้ ใบกจิ กรรม - ส่ือออนไลน์ - สื่ออินเตอร์เน็ต - บัญชีรายรับ-รายจา่ ย - แหล่งเรียนรู้ ICT ในโรงเรยี น ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คล) 22

หลักสูตรอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจดั การเรียนรู้หนว่ ยท่ี 5 : สมรรถนะอาชพี การเป็นผู้ประกอบการและการจัดทาแผนธรุ กิจ เนอ้ื หา 1. คุณสมบัตแิ ละจรรยาบรรณของผู้ประกอบการท่ีดี 2. การจดั ทาแผนธุรกจิ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ รายวชิ า อัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ระดับชน้ั - ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวนชั่วโมง | 4 hours เรื่อง คุณสมบัติและจรรยาบรรณของผู้ประกอบการท่ีดี สาระสาคญั ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้และมีคุณลักษณะตรง การนาคณุ สมบัติและจรรยาบรรณของผปู้ ระกอบการ ที่ดีมาปรับใช้ในการดาเนินธุรกจิ ของตนเองร่วมกับการจัดทา ตามคุณสมบัติและจรรยาบรรณของ แผนธุรกจิ ซ่งึ เปน็ เครื่องมอื ของธุรกิจทผ่ี ปู้ ระกอบการสามารถ ผ้ปู ระกอบการท่ีดี ใช้ในการกาหนดข้ันตอน และวางแผนการดาเนินธุรกิจอย่าง มีระบบ และมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ สมรรถนะสาคญั และเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ เพ่อื นาไปสู่ความสาเร็จในการ 1. ความสามารถในการคิด ประกอบธุรกจิ 2. ความสามารถในการส่ือสาร 3. ความสามารถในการใช้ กระบวนการเรยี นรู้หลัก 1. เรียนรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติและจรรยาบรรณของ เทคโนโลยี 4. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ผู้ประกอบการท่ดี ี 5. ความสามารถในการใช้ทักษะ 2. วิ เคร าะ ห์ก ร ะ บว น ก าร ใน ก าร น าคุณสม บั ติ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และ จร ร ย าบร ร ณขอ ง ผู้ ปร ะ ก อ บก าร ที่ ดี มาปรั บใช้ ใน ก าร 1. นักเรียนสามารถบอกคุณสมบัติ ประกอบธรุ กิจของตนเองรวมถึงในชีวิตประจาวัน และจรรยาบรรณของผู้ประกอบการท่ีดี 3. วิเคราะห์คุณลักษณะของผู้ประกอบการท่ีประสบ ได้ ความสาเร็จ และนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการประกอบ ธรุ กจิ ของตนเอง 2. นักเรียนสามารถอธบิ ายความ สาคัญของการปฏิบัติตนตามคุณสมบัติ การวดั และประเมินผล และจรรยาบรรณของผู้ประกอบการณ์ท่ี 1. แบบสงั เกต ดไี ด้ 2. แบบประเมนิ ผลงาน 3. แบบประเมินการนาเสนอ 3. นกั เรยี นสามารถนาคุณสมบตั แิ ละ จรรยาบรรณของผู้ประกอบการท่ีดีมา ประยุกตใ์ ชใ้ ช้ในดา้ นต่าง ๆ 23

หลกั สตู รอจั ฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming สอื่ และแหลง่ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล 1. Internet 1. แบบสงั เกต 2. แบบประเมินผลงาน 2. ใบงาน 3. แบบประเมนิ การนาเสนอ 3. ใบความรู้ หลักฐานรอ่ งรอยผลการเรยี นรู้ 4. แหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด - ใบกิจกรรม หนังสือเรยี น แหลง่ เรียนรนู้ อกสถานท่ี - แผนผงั ความคดิ ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคล) 1. สามารถเชิญอาจารย์แนะแนวที่มีความรู้ด้านจิตวิทยา เข้ามาช่วยในการวิเคราะหแ์ ละให้ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ได้ 2. สามารถแบ่งกลุ่มเพอ่ื ไปศึกษาหรอื สัมภาษณผ์ ู้ประกอบ การในชุมชนและนามาวเิ คราะหร์ วมท้ังนามาปรับใช้ 24

หลักสตู รอัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming กรอบการจัดการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 5 : สมรรถนะอาชีพการเป็นผปู้ ระกอบการและการจัดทาแผนธรุ กิจ เน้ือหา 1. คุณสมบัตแิ ละจรรยาบรรณของผู้ประกอบการ 2. การจัดทาแผนธุรกจิ ที่มปี ระสิทธิภาพ รายวชิ า อัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ระดับชน้ั - ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวนชัว่ โมง | 2 hours เรือ่ ง การจัดทาแผนธุรกจิ ท่ีมีประสิทธิภาพ ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั 1. มีความรู้และความเข้าใจในการ การวางแผนธุรกิจท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นหัวใจสาคัญ วางแผนธุรกิจอย่างมีประสิทธภิ าพ ในการดาเนินธุรกิจให้ประสบความสาเร็จ ซึ่งจะต้องมี กระบวนการในการวิเคราะห์ภาพรวมของธุรกิจ แผนการ ตลาด แผนการบริหารจัดการและแผนการดาเนินงาน สมรรถนะสาคญั แผนการผลิต แผนการเงิน และแผนฉุกเฉิน รวมถึง 1. ความสามารถในการคิด การบริหารบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ และมีความละเอียด 2. ความสามารถในการสอ่ื สาร รอบคอบในการวางแผน 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี กระบวนการเรียนรูห้ ลัก 4. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 1. เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของแผน 5. ความสามารถในการใชท้ กั ษะ ธุรกิจ 2. เรยี นรูเ้ กี่ยวกบั องค์ประกอบของแผนธรุ กจิ จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. นักเรียนร่วมกันลงมือเขียนแผนธุรกิจ โดยใช้ 1. นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย องค์ประกอบต่าง ๆ ประกอบการเขียน ความหมายและความสาคัญของแผน 3. สารวจความถนัดของแต่ละคนเพื่อแบ่งหน้าที่ให้ ธรุ กจิ ได้ สามารถดาเนินการประกอบธุรกิจตามแผนได้อย่ างมี 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนธุรกิจ ประสิทธิภาพ โดยยึดหลักของคุณสมบัติและจรรยาบรรณ ของผู้ประกอบการที่ดี โดยนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาวางแผน การดาเนินธรุ กิจอยา่ งมรี ะบบ 4. ปฏิบัตกิ ารตามแผนธรุ กจิ ทไี่ ด้วางไว้ 3. นักเรียนสามารถแก้ปัญหาท่ีเกิด 5. สรปุ ผล จัดทารายงานและนาเสนอผลการปฏบิ ัติงาน จากการดาเนนิ ธุรกิจได้ ตามแผนธรุ กจิ ทไ่ี ด้วางไว้ 4. นั ก เ รี ย น ส า มา ร ถ วิ เ ค ร าะ ห์ การวัดและประเมนิ ผล สถานการณ์เกี่ยวกับแผนธรุ กิจได้ 1. แบบสังเกต 2. แบบประเมนิ ผลงาน 3. แบบประเมนิ การนาเสนอ 25

หลักสตู รอัจฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming วสั ดุ อุปกรณ์ หลักฐานรอ่ งรอยผลการเรยี นรู้ - - ใบกจิ กรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม แหล่งเรยี นรู้ - แผนธุรกิจ 1. Internet - รายงานผลการทาเนินงานตามแผนธรุ กจิ 2. ใบงาน 3. ใบความรู้ ข้อเสนอแนะ (การบูรณาการสาขาวิชา/ความแตกต่าง 4. แหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด หนังสือ ระหวา่ งบคุ คล) เรียน เรียนรู้นอกสถานที่ 5. ผปู้ ระกอบการในท้องถิน่ สามารถขอความอนุเคราะห์ผู้ประกอบการในท้องถิ่น ในการประเมินความเสี่ยงและความเหมาะสมของแผนธุรกจิ ท่ไี ดว้ างไว้ 26

หลักสูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรียน Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming แนวทางการจดั หลกั สูตรระดับสถานศึกษา กรอบการจัดหลักสูตรตามคู่มือการจัดหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน เป็นขั้นตอน การกาหนดกรอบแนวคิดการจัดหลักสูตรกว้าง ๆ เพ่ือให้มีความยืดหยุ่นในการนาไปปรับใช้เพ่ือออกแบบ และพัฒนาหลกั สูตรในระดบั สถานศึกษา ท้ังน้ีมขี อ้ เสนอแนะในการดาเนินงานในระดับสถานศึกษา ดงั นี้ 1. โรงเรียนดาเนินงานแต่งตั้งคณะกรรมการเพ่ือออกแบบและจัดทารายละเอียดหลักสูตรในระดับ สถานศึกษา 2. คณะกรรมการดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการและกรอบหลักสูตรตามคู่มือการจัดหลักสูตร อัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน รวมท้ังบริบทเชิงพ้ืนท่ีหรือภูมิศาสตร์ของโรงเรียน บริบททาง วชิ าการ สภาพความพร้อมและศักยภาพในการจดั หลักสตู รของโรงเรยี น 3. กาหนดเป้าหมายการดาเนนิ งานสาคญั ได้แก่ เปา้ หมายระดับชั้นทจี่ ะใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ เปา้ หมาย ผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีต้องการให้เกิดกับนักเรียน และเป้าหมายระยะเวลาการดาเนินโครงการ ท้ังน้ี เป้าหมายในแต่ละด้านของโรงเรียนควรสอดคล้องกับเป้าหมายของโครงการหรือเป้าหมายตามคู่มือ การจัดหลกั สตู ร และสอดคล้องกบั บริบทของโรงเรยี นดว้ ย 4. ดาเนินการกาหนดกรอบเน้ือหาสาระในระดับโรงเรียนให้สอดคล้องกับกรอบเน้ือหาสาระตามคู่มือ การจัดหลักสูตร ทั้งนี้ โรงเรียนสามารถกาหนดรายละเอียดเนื้อหาสาระและทักษะต่าง ๆ ในหน่วย การเรียนรู้ท้ัง 4 หน่วยได้อย่างยดื หยนุ่ ข้นึ อย่กู ับบรบิ ทและความพรอ้ มของโรงเรยี น 5. ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรยี นรู้ให้มีความสอดคล้องกับกรอบการจัดหลักสูตร ตามเป้าหมายผลลัพธ์การเรียนรู้ของโรงเรียน กระบวนการเรียนรู้ตลอดหลักสูตรควรมีการใช้ กลยุทธการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีกลวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาสาระ และจุดประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ โดยโรงเรียนควรมุ่งเน้นหลักการสาคัญ ในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิด กระบวนการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ อาจใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Project Based Learning เปน็ กระบวนการหลักในการขับเคล่ือนข้นั ตอนการปฏิบัตกิ าร และควรใหค้ วามสาคัญตอ่ กระบวนการ เรียนร้ทู ี่มุ่งส่งเสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ การแกป้ ญั หาและการสรา้ งนวัตกรรม 6. กาหนดรปู แบบและวิธีการวัดผล ประเมนิ ผลให้สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของหลักสูตร และกระบวนการ เรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ทั้งนี้ เป้าหมายสาคัญท่ีสุดของการเรียนรู้ตามกรอบหลักสูตร ดงั กล่าวคอื การส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตรด้วยกระบวนการที่ชาญฉลาด คานึงถงึ ประโยชน์สูงสุดในการใช้พ้ืนที่และการวางแผนการผลิตและจาหน่าย มีการปรับใช้เทคโนโลยี เพื่อการผลิต และมุ่งพัฒนานวัตกรรมในกระบวนการผลิตของตนเอง ซึ่งอาจเป็นนวัตกรรมที่ช่วย แก้ปญั หาหรือเพม่ิ มูลค่าการผลติ ตลอดจนนวัตกรรมผลิตภัณฑท์ ไี่ ด้จากการทาเกษตรกรรมที่ช่วยสร้าง มูลค่าเพ่ิมให้แก่สินค้าท่ีนักเรียนผลิตได้ ดังนั้น การวัดและประเมินผลการเรียนรู้จึงควรมุ่งเน้น การประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือการพัฒนา และให้ความสาคัญต่อการประเมินผลเชิงประจักษ์จาก กระบวนการทางานหรอื ผลงานผลติ ภณั ฑ์ใหม้ ากท่ีสุด สาหรับการกาหนดระดับชั้นของนักเรียนท่ีใช้หลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพนักเรียน โรงเรียนท่ีเข้ารว่ มโครงการสามารถนากรอบหลักสูตรไปจัดทาหลักสูตรระดับสถานศึกษาเพือ่ จัดการเรียน การสอนให้แก่นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นก่อนในเบ้ืองต้น โดยแต่ละโรงเรียนสามารถกาหนด ระดับชั้นในการจัดหลักสูตรได้อย่างเหมาะสม ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาเดิมท่ีมีอยู่ ซึ่งอาจเป็น 27

หลักสูตรอัจฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรยี น Science Technology Innovation :STI Smart Intensive Farming ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ปีใดปีหนึ่งก็ได้ ท้ังนี้ไม่ควรนาไปจัดไว้ในโครงสร้างหลักสูตรของระดับ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 เนื่องจากเป็นช่วงปีสุดท้ายในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของนกั เรียน อาจจะทาให้นกั เรยี นเกดิ การเรียนรู้ตามเปา้ หมายของหลักสูตรได้ไม่ต่อเนื่อง สว่ นของรปู แบบการนาหลักสตู รไปปรับใช้ในการจัดการเรยี นการสอนนั้น โรงเรียนสามารถดาเนินการ ได้ในหลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับบริบททางวิชาการของแต่ละโรงเรียน ท้ังน้ี อาจมีการออกแบบกระบวนการ จดั หลกั สูตรในโรงเรียนได้ดังน้ี 1. ออกแบบจดั ทาเป็นรายวิชาเพิม่ เติมสาหรับนักเรียนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2. จดั ทาเปน็ หนว่ ยการเรยี นรบู้ รู ณาการ แลว้ ดาเนนิ การจดั การเรียนการสอนแบบ Multidisciplinary ซึ่งเป็นการสอนหลายวิชาแยกกัน แต่สอนในหัวเร่ือง (Theme) เดียวกัน โดยโรงเรียนและครูผู้สอน อาจร่วมกันวเิ คราะห์ว่าหนว่ ยการเรียนร้ใู ดในหลักสูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน สอดคล้อง กับตัวช้ีวัดรายวิชาใดในหลักสูตรระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ท่ีโรงเรียนดาเนินการจัดการเรียน การสอนอยู่แล้ว สามารถให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่ได้ออกแบบไว้ใน หลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน โดยบูรณาการกระบวนการเข้าไปในรายวิชาเดิม โดยไม่ต้องเปิดรายวิชาใหม่ในโครงสร้างหลักสูตรระดับชั้นนั้น ท้ังน้ี อาจต้องมีการกาหนดช่วงเวลา การจัดกิจกรรมปฏิบัติการในลักษณะการเรียนรู้แบบโครงงานในข้ันตอนปฏิบัติการ อัจฉริยะเกษตร ประณีตในโรงเรยี นร่วมกนั มีการวดั และประเมนิ ผลจากผลงานของนกั เรยี นร่วมกนั ไดอ้ ีกด้วย 3. จัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นรูปแบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ซ่ึงอาจดาเนินการในลักษณะชุมนมุ ชมรม หรือกลุ่มสนใจ รวมท้ังอาจจัดเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้แก่นักเรียนที่มีความสามารถหรือความ สนใจพิเศษทางดา้ นโครงงาน หรือทางดา้ นการทาเกษตรอัจฉริยะกไ็ ด้ ทั้งน้ี การดาเนินงานในรูปแบบ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ควรมีการออกแบบกระบวนการเรยี นรอู้ ย่างเป็นขั้นเป็นตอนให้ชัดเจนเพื่อให้ ผู้เรียนเกดิ การพฒั นาองคค์ วามร้แู ละทกั ษะให้เปน็ ไปตามเปา้ หมายของหลักสูตรอย่างมปี ระสทิ ธิภาพด้วย 28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook