The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมบูรณ์-หลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนเทพศิรินทร์ฯปทุมธานี.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phurita029, 2021-12-27 02:25:47

สมบูรณ์-หลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนเทพศิรินทร์ฯปทุมธานี.docx

สมบูรณ์-หลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนเทพศิรินทร์ฯปทุมธานี.docx

ใบสมัครเขารวมโครงการอจั ฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น (Science Technology Innovation (STI) :
Smart Intensive Farming)
1. ชอ่ื โรงเรียน เทพศริ ินทรค ลองสิบสาม ปทุมธานี .
ที่ตั้ง 37 หมูท่ี 4 ถนน ตำบล/แขวง บึงคอไห .
อำเภอ/เขต ลำลูกกา จังหวัด ปทุมธานี รหสั ไปรษณยี  12150 .
เบอรโ ทรศพั ท 021901003 Email [email protected] .
2. นักเรยี นท้งั โรงเรยี น จำนวน 892 คน จำแนกเปน
นักเรียนระดับช้นั ปฐมวยั ทง้ั หมด จำนวน - คน จำแนกเปน
อนบุ าลปท ี่ 1 จำนวน - คน
อนบุ าลปที่ 2 จำนวน - คน
อนุบาลปท ่ี 3 จำนวน - คน
นกั เรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาทง้ั หมด จำนวน - คน จำแนกเปน
ประถมศึกษาปท่ี 1 จำนวน - คน ประถมศกึ ษาปที่ 4 จำนวน - คน
ประถมศกึ ษาปท่ี 2 จำนวน - คน ประถมศกึ ษาปท่ี 5 จำนวน - คน
ประถมศึกษาปที่ 3 จำนวน - คน ประถมศกึ ษาปท่ี 6 จำนวน - คน
นักเรียนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาท้งั หมด จำนวน 892 คน จำแนกเปน
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 จำนวน 173 คนมธั ยมศึกษาปท ี่ 4 จำนวน 170 คน
มัธยมศกึ ษาปที่ 2 จำนวน 125 คน มัธยมศึกษาปที่ 5 จำนวน 159 คน
มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 จำนวน 136 คน มัธยมศึกษาปท่ี 6 จำนวน 120 คน
3. ครผู ูส อนทัง้ โรงเรยี น จำนวน 51 คน
เปน ขา ราชการครู 42 คน
เปนพนกั งานราชการ 1 คน
เปน ครูอตั ราจา ง 8 คน
4. รายช่ือครผู ูเขา รว มโครงการ (๕ คน)
4.1 ชอื่ -สกุล ผูบ รหิ ารโรงเรยี น นายพิษณุ เดชใด ตำแหนง ผอู ำนวยการ
อายุ 53 ป Email [email protected] เบอรโ ทรศพั ท 021901003
4.2 ครูผูรับผิดชอบโครงการอจั ฉริยะเกษตรประณตี ในโรงเรียน
ชือ่ -สกุล นางสาวศรณั มรัชต กองสกุลโชตกิ า อายุ 38 ป
ตำแหนง รองผอู ำนวยการ วทิ ยฐานะ ชำนาญการ .
Email [email protected] เบอรโ ทรศัพท 0984852381 .

4.3 ครูกลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ชื่อ-สกลุ นายเชิดชยั มูลสุวรรณ อายุ 49 ป
ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพิเศษ .
Email [email protected] เบอรโทรศัพท 0817327013
4.4 ครูคณิตศาสตรก ลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร
ชอื่ -สกลุ นายวบิ ูลย เที่ยงธรรม อายุ 31 ป
ตำแหนง ครู วิทยฐานะ -.
Email [email protected] เบอรโ ทรศพั ท 0909641857
4.5 ครูกลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี
ช่อื -สกลุ นายปราโมช สหี รกั ษ อายุ 57 ป
ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ .
Email - เบอรโ ทรศัพท 0890628830
5. แผนผงั พ้นื ทีส่ ำหรับดำเนินโครงการอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน (Science Technology
Innovation (STI) : Smart Intensive Farming) พรอมระบขุ นาดและรปู ภาพประกอบ

6. รปู ภาพพ้นื ท่ีสำหรบั ดำเนินโครงการอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน (Science Technology
Innovation (STI) : Smart Intensive Farming)
โรงเรือนเกษตร
บอปลา
แปลงเกษตร
เขตพ้ืนที่รับผิดชอบ
นักเรยี น

แปลงเกษตร
เขตพืน้ ที่รับผดิ ชอบ

นักเรยี น

พ้นื ท่สี วนเกษตร/แปลงเกษตร/สวนผกั

พ้นื ท่สี วนเกษตร/แปลงเกษตร/สวนผกั

เปด พันธไุ ข

แพะพระราชทาน พันธุแบลค็ แองโกล
บอปลาดกุ


โรงเรือนสำเร็จรูป Smart Farm with IOT (สวนเมลอ น)



หลักสูตรอัจฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรยี นเทพศิรินทรคลองสบิ สาม ปทมุ ธานี

ตามโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming

ขอ มูลท่ัวไป
โรงเรียนเทพศริ ินทรคลองสิบสาม ปทมุ ธานี ตงั้ อยูเ ลขท่ีตงั้ 37 หมู 4 ตำบลบงึ คอไห อำเภอลำลูกกา

จังหวัดปทุมธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 4 โรงเรียนตัง้ อยูในเขตอำเภอลำลกู กา
จังหวัดปทุมธานี เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง อยูทางฝงตะวันออกของแมน้ำเจาพระยาเขตรอยตอ
ระหวางจังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครนายกและจังหวัดฉะเชิงเทราซึ่งเปนชุมชนเกษตรกรรมอยูรายรอบ
โรงเรียน ประชากรสว นใหญท อี่ ยูร ายรอบโรงเรียนนับถือศาสนาอิสลาม เปนโรงเรียนพหวุ ัฒนธรรมสองศาสนา
อยูรวมกัน การคมนาคมสะดวก โทร 0-21901003 โทรสาร 0-21901005 Website : www.dps.ac.th
เปด สอนระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 มีเนอ้ื ทที่ ัง้ สิ้น 48 ไร 22 ตารางวา

วัฒนธรรมโรงเรียน
ยมิ้ ไหว ทักทายกนั สมานฉันท เปน หน่งึ เดยี ว

อัตลักษณโรงเรยี น
“สภุ าพบุรุษ สุภาพสตรลี กู แมรำเพย” วสิ ัยทศั นไ กล ใจกวาง รางสมารท มารยาทงาม

เอกลักษณโรงเรียน
“หลากหลายวฒั นธรรม สงั คมสมานฉันท”

ปรัชญาโรงเรยี น
รกั ศักด์ศิ รี มีคณุ ธรรม นำวิชาการ สืบสานงานพระราชดำริ

วสิ ัยทัศนห ลักสตู รสถานศึกษา
เปนสถานศึกษาที่จัดการเรียนรูอยางมีคุณภาพเพื่อ “พัฒนาคุณภาพการศึกษาสูโรงเรียน

มาตรฐานสากล”

หลักการของหลักสตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนไดจัดหลักสูตรสถานศึกษาเปนหลักสูตรที่สอดคลองกับหลักการและแนวคิดหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 หลักสูตรโรงเรียน
มาตรฐานสากล โรงเรียนเทพศิรินทรคลองสิบสาม ปทุมธานี โดยจัดกลุมการเรียนสำหรับนักเรียนที่ตองการ
เพ่มิ ศกั ยภาพความเปนเลิศทางคณิตศาสตรแ ละวิทยาศาสตร หลกั สูตรความถนัดทางดานอาชพี และหลักสูตร
สาระการเรยี นรูทอ งถิน่ โรงเรยี นเทพศริ นิ ทรคลองสิบสาม ปทุมธานี จดั การเรยี นรูแ บบบรู ณาการกับภมู ิปญญา
ทองถิ่น และหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใหบรรลุกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค

จุดมงุ หมายของหลักสตู รสถานศึกษา
มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ

จงึ กำหนดเปนจุดหมายเพอื่ ใหเ กดิ กับผเู รียน เม่ือจบการศึกษาข้นั พื้นฐาน ดงั นี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถอื ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2. มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ี มสี ุขนิสัย และรักการออกกำลงั กาย

4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข

5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม มีจิต
สาธารณะทม่ี งุ ทำประโยชนแ ละสรา งสงิ่ ที่ดงี ามในสงั คม และอยรู ว มกนั ในสงั คมอยางมีความสขุ

พนั ธกจิ หลักสูตรสถานศึกษา
เพื่อใหการพัฒนาโรงเรียนบรรลุตามวิสัยทัศน ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เนนการพัฒนาการ

เรยี นการสอนตามเสริมศกั ยภาพของนกั เรียนเปนรายบุคคล จึงกำหนดพนั ธกิจโรงเรียน ดงั น้ี
1. พัฒนาคุณภาพผูเรียนสมู าตรฐานสากล
2. จดั การเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผูเรยี นในทุกดานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. สงเสรมิ และพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหม ีความรคู วามสามารถตามมาตรฐาน

วิชาชพี
4. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาอยางมรี ะบบตามหลกั ธรรมาภบิ าล
5. พฒั นาสถานศกึ ษาใหเ ปน แหลง เรยี นรแู ละมสี ภาพแวดลอมที่เอ้อื ตอการเรียนรูอ ยา งมีคณุ ภาพโดย

การมีสวนรวมจากทุกภาคสว น

เปาประสงคห ลกั สตู รสถานศึกษา
1. ผเู รียนเปนบุคคลแหงการเรยี นรู มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นผา นการประเมินระดับชาตอิ ยูในระดับดีขนึ้ ไป
2. ผูเรียนใชภ าษาไทย ภาษาองั กฤษและภาษาตา งประเทศอ่นื ๆ ในการส่ือสารไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ
3. ผเู รยี นไดแ ลกเปลี่ยนเรียนรู จดั ทำโครงงานเสนอแนวคดิ เพือ่ สาธารณะประโยชนรวมกันกบั นักเรยี น
ในโรงเรียน และโรงเรยี นเครือขา ย
4. ผเู รยี นนำเทคโนโลยีมาใชในการเรียนรู ผลิตสรา งสรรคผ ลงานใหมทีม่ ีประโยชนอ ยางมคี ณุ ภาพ
5. ผูเ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบตอสงั คม เปนพลเมอื งดีและมีคานยิ มทพี่ ึงประสงค
6. ผูเรียนมคี วามตระหนักชน่ื ชมในวฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณไี ทยและความหลากหลายทาง
วฒั นธรรมประเพณขี องนานาชาติ
7. โรงเรียนมีหลกั สตู รสถานศกึ ษาเทยี บเคยี งกับหลักสตู รมาตรฐานสากล
8. โรงเรียนมคี รแู ละบุคลากรมืออาชีพ มีความเช่ียวชาญในการใชส่อื นวตั กรรม ICT เพ่ือการเรยี นการ
สอนและการบริหารจดั การ โดยใชร ะบบฐานขอมูลท่ีมปี ระสิทธิภาพ
9. โรงเรยี นสงเสรมิ กระบวนการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอนและระบบดแู ลชวยเหลือนักเรียน
10. โรงเรยี นมีระบบบรหิ ารจดั การและระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
11. ผูเ รยี นมีความภาคภูมิใจในความเปน ไทย ยดึ หลักการดำรงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง
12. โรงเรียนมีสภาพแวดลอ มท่ีดีเออื้ ตอการจดั การเรียนรแู ละการบรกิ ารชุมชน

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค
ในการพัฒนาผูเรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มงุ เนนพฒั นาผเู รยี นใหม คี ุณภาพ

ตามมาตรฐานทีก่ ำหนด ซึง่ จะชว ยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ดังน้ี

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มงุ ใหผูเ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มวี ัฒนธรรมในการใชภาษา
ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลด
ปญ หาความขดั แยง ตางๆ การเลอื กรบั หรอื ไมร ับขอ มูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถกู ตอง ตลอดจนการ
เลอื กใชว ิธีการสื่อสาร ที่มปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทีม่ ตี อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง
สรางสรรค การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพอื่ นำไปสูก ารสรา งองคความรูห รือสารสนเทศ
เพอ่ื การตัดสนิ ใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอยา งเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญ หาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได
อยา งถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอ มูลสารสนเทศ เขา ใจความสัมพันธและการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไข
ปญ หา และมกี ารตดั สินใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอม

4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตา งๆ ไปใชใน
การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการอยูรวมกันใน
สังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตางๆ อยาง
เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไมพ งึ ประสงคท ส่ี ง ผลกระทบตอตนเองและผูอืน่

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลอื ก และใช เทคโนโลยดี านตาง ๆ และ
มที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา นการเรียนรู การส่อื สาร
การทำงาน การแกปญหาอยา งสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค

โรงเรียนเทพศิรนิ ทรค ลองสิบสาม ปทุมธานี มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค เพื่อให
สามารถอยูรว มกบั ผอู ่ืนในสังคมไดอ ยางมคี วามสขุ ในฐานะเปนพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

1. รักชาติ ศาสน กษัตรยิ 
2. ซอื่ สัตยส ุจริต
3. มวี ินัย
4. ใฝเรยี นรู
5. อยอู ยางพอเพียง
6. มงุ ม่ันในการทำงาน
7. รักความเปน ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

โครงสรา งเวลาเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)

เวลาเรียน

กลมุ สาระการเรยี นร/ู กจิ กรรม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
ม. 1 ม. 2 ม. 3
 กลุมสาระการเรยี นรู ม. 4 – 6
120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
คณิตศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
วิทยาศาสตร 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.)
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.)

o ประวตั ศิ าสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
o ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
o หนา ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.)
120 (3 นก.)
และการดำเนินชีวิตในสงั คม 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.)
80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 240 (6 นก.)
o ภมู ิศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
o เศรษฐศาสตร 1,640 (41 นก.)
880 880 880
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ไมน อ ยกวา 1,600 ช่ัวโมง
ศิลปะ (22 นก.) (22 นก.) (22 นก.)
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 360
ภาษาตา งประเทศ ปละไมน อ ยกวา 200 ช่วั โมง
360
รวมเวลาเรยี น (พื้นฐาน) 120 120 120
120 120 120
รายวิชา/กิจกรรมทสี่ ถานศึกษาจัดเพ่มิ เติมตาม

ความพรอ มและจดุ เนน

 กิจกรรมพฒั นาผเู รียน
o กิจกรรมแนะแนว
o กจิ กรรมนกั เรียน
- ลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด

- ชมุ นุม

o กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ
สาธารณประโยชน IS3

รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู รียน

o หนาท่ีพลเมอื ง (เพ่ิมเตมิ ) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.)
ไมนอยกวา 1,200 ช่ัวโมง/ป
รวมเวลาเรียนทั้งหมด รวม 3 ปไมน อยกวา
3,600 ช่วั โมง

การจัดโครงสราง
หลักสตู ร



การจัดโครงสราง
หลักสตู ร



แนวคดิ ของหลักสตู รอจั ฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี นเทพศริ ินทรคลองสบิ สาม ปทุมธานี

ตามโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming

ในปจจุบันมีการนำเทคโนโลยีและนวตั กรรมท่ีเหมาะสม มาสรางประสิทธิภาพใหกับการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจำกัด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด และมีการพัฒนาเปนแอพพลิเคช่ัน
บนสมารทโฟนจนสามารถปฏิบัติการไดโดยอัตโนมัติผานการสั่งการผานคลื่นวิทยุ ซึ่งจะครอบคลุม
พื้นที่ในระยะไกลกวาการใชระบบอินเตอรเน็ตไรสาย ดังนั้น จึงเห็นไดวาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มีบทบาทสำคัญยิ่งตอการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศและการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
กับนานาประเทศไดในอนาคต ดวยความสำคัญดังกลาวสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จึงไดจัดทำโครงการ Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming โดยเนนการจัด
การเรียนรูที่สามารถบูรณาการรายวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณ
กับการทำเกษตรแบบประณีตในโรงเรียน โดยมีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนเกิด ทักษะและสามารถ
นำองคความรูมาสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม อีกทั้งสามารถนำความรูและประสบการณไปตอยอด
ในการประกอบอาชีพ กอใหเกิดรายไดภายในโรงเรียน และนำไปสูการผลักดันใหเกิดการยกระดับ
กระบวนการผลิตและคุณภาพสินคาทางการเกษตรที่เปนประโยชนต อชุมชนสูการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
อยางยัง่ ยนื

การพัฒนาหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนตามโครงการ Science Technology
Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ของ โ ร ง เร ี ยน เทพ ศิ ร ิ น ทร  คลอง สิ บสาม ปทุ ม ธ านี
มงุ เนน การออกแบบกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการองคความรูและทักษะทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี และการงานอาชีพกบั การทำเกษตรแบบประณีตในโรงเรยี น โดยจดั การเรยี นรผู านกิจกรรมพัฒนา
ผูเรียน (กิจกรรมชุมนมุ ) เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนในโรงเรียนสามารถเลือกเขารวมกิจกรรมไดตามความ
ถนัด และความสนใจในดานเทคโนโลยีการเกษตร หรือ ความรูเกี่ยวกับ Smart Farm ซึ่งเปนองคความรู
ท่ีพัฒนามาจากการทำเกษตรกรรมแบบประณีต และสามารถดำรงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข การทำ
เกษตรแบบประณีตในโรงเรียน เปนแนวคิดที่มุงเนนกระบวนการคิดของเกษตรกรอยางเปนระบบ ทั้งใน
การปลูกพืช เพาะเลี้ยง การแปรรูปผลผลิต และการจัดจำหนาย เพื่อใหเกิดรายไดแกเกษตรกรอยางสม่ำเสมอ
พรอมทั้งเปนการสรา งใหเ กษตรกรเกดิ ความรแู ละทกั ษะท้งั ในการวางแผนการทำงานและการปฏบิ ัติงาน

แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการพฒั นารปู แบบการเรียนรตู ามแนวทางของโครงการ
Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming

แนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรียนรูตามแนวทางของโครงการ มุงพัฒนาใหนักเรียนเกิดการเรียนรู
ตามแนวทางของโครงการ ประกอบดวย 5 ระยะ ดงั น้ี

รเิ ร่ิมปฏิบตั ิการ
Implementation

เรยี นรวู างแผน
Coding for Farm

แผนภาพที่ 2 ระยะของการเรยี นรูตามหลักสูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรยี น

ระยะที่ 1 รูจักพื้นที่ (Area based research) การสำรวจและเก็บรวบรวมขอมูลดานภูมิศาสตร
และสังคมศาสตร เชน ขอมูลจากสำรวจพื้นที่โดยใชทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรเปนฐาน ซึ่งเริ่มตั้งแต

การวิเคราะหพื้นที่ การระบุพื้นที่เพาะปลูก โดยใชขอมูลทางภูมิศาสตรของประเทศ รวมไปถึงการรวบรวม

วิธีการเพาะปลูกพืช การคัดเลือกพันธุ การดูแลรักษา และวิธีการเก็บเกี่ยว เปนดน โดยขั้นตอนนี้ตองศึกษา

ขอมูลอยางรอบดานเพื่อใชในการตัดสินใจ การวางแผนเพื่อมุงพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพ รวมไปถึงการเพิ่ม

ผลผลิตตอพื้นที่โดยใชเทคโนโลยีเปนฐาน ขอมูลความตองการของผูบริโภค และขอมูลการตลาด เพื่อใชในการ
วางแผนและตดั สนิ ใจในการลงมือปฏบิ ัติ

ระยะที่ 2 เรยี นรูวางแผน (Coding for Farm) การวางแผนและออกแบบการบรหิ ารจัดการใน ดานตาง
ๆ โดยการขอมูลจากการสำรวจดานภูมิศาสตรและสังคมศาสตรมาวิเคราะหและการออกแบบพื้นท่ี เกษตรกรรม

เชน การออกแบบพื้นที่เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว การออกแบบการบริหารจัดการนี้า การควบคุม ระบบดูแลรักษา

การเก็บเกี่ยวผลผลิต และแผนธุรกิจ รวมไปถึงการออกแบบเทคโนโลยีเพื่อการตลาด และการจัดทำ การสราง
Application การสรางเครือขายความรวมมือสังคมแบบออนไลน ซึ่งในขั้นตอนนี้จะตองวางแผน

การดำเนินการโดยคำนึงถึงการบริหารจัดการโดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อสรางนวัตกรรม ใหม ๆ

ใหเกิดความคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุดตอผลผลิตทางเกษตรกรรม และแผนธุรกิจ เพื่อใหเกิด

ประโยชนและมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยนำเสนอแผนการออกแบบพื้นที่เกษตรกรรมและแผนธุรกิจใหกับ

ผูเช่ียวชาญเพอ่ื นำขอ คดิ เหน็ และเสนอแนะมาปรับปรุงแผนกอนนำไปสูก ารปฏบิ ตั ิ
ระยะท่ี 3 ริเร่มิ ปฏิบัตกิ าร (Implementation) การลงมอื ปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนและวธิ กี ารทีไ่ ด ออกแบบไว

ซึ่งระหวางการดำเนินการจะตองมีการสังเกตและเก็บรวบรวมขอมูลประเด็นปญหา และขอผิดพลาดตาง ๆ

ในระหวางการดำเนินการ เพื่อนำมาวิเคราะหผลและการแกไขปญหาตอไป ซึ่งในขั้นตอนนี้จะตองคำนึง

ถึงหลักการใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีและหลักการไดมาซึ่งผลผลิตโดยการวิเคราะหผลขอมูลให

ตรงกับระยะเวลาของการเพาะปลูกและการเก็บเกี่ยวผลผลิตเพื่อสรางรายไดอยางตอเนื่อง รวมท้ัง
ผลประกอบการตามแผนธรุ กจิ

ระยะที่ 4 รวบรวมพัฒนา (Development) การพิจารณาและทบทวน โดยการนำขอมูลจาก
การสังเกตผลการผลิต ผลประกอบการจากแผนธุรกิจ ตลอดจนประเด็นปญหาและความทายทายที่เกิดขึ้นใน

ระหวางการปฏิบัติการ มาวิเคราะหและพิจารณาเพื่อปรับปรุงพัฒนารูปแบบวิธีการ เครื่องมือ อุปกรณ

และแผนธรุ กจิ ตา ง ๆ ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพในแกป ญ หาไดอยา งเหมาะสม เพ่อื พฒั นานวตั กรรมทางการเกษตร
ระยะที่ 5 รวมแลกเปลี่ยนเรียนรูขยายผล (Sharing) การแลกเปลี่ยนเรียนรูและขยายผลสูชุมชน

ซึ่งจะไดรูปแบบวิธีการและเครื่องมือตาง ๆ และแผนธุรกิจ ที่มีความเหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุดตอการ

ทำเกษตรกรรม และสามารถตอ ยอดผลผลติ จากการเก็บเกยี่ วจนกลายเปน ผลิตภัณฑที่สรางรายไดใหก ับ โรงเรียน

นำไปสูการผลักคันใหเกิดการยกระดับการผลิตสินคาที่เปนประโยชนตอชุมชุมสูการตลาดใน

ภาคเอกชนหรือในรูปแบบสหกรณ รวมไปถึงการพัฒนาโรงเรียนใหเปนศูนยบริการความรูดานเกษตร
บนพ้ืนฐานของเทคโนโลยที เี่ ขาถึงไดใ หก บั คนในชมุ ชนตอไป

ภาพรวมของหลกั สตู รอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรยี นเทพศิรินทรคลองสบิ สาม ปทุมธานี

การพัฒนาหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนเปนหลักสูตรที่มีแนวคิดตอยอดแบบบูรณาการ
ระหวางการทำแนวคิดและองคความรูเกษตรกรรมแบบประณีตกับการปรับใชเทคโนโลยีอัจฉริยะในระบบ
เกษตรกรรมอัจฉริยะ หรือ Smart Farm เพื่อใหเกิดกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการองคความรูและทักษะ
ทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการงานอาชีพกับการทำเกษตรแบบประณีตในโรงเรียน
โดยมีเปาหมายสำคัญของการจัดหลักสูตร คือ การมุงพัฒนาใหนักเรียนเกิดการพัฒนาองคความรูและทักษะ
พื้นฐานทางดานเกษตรกรรมแบบประณีตที่บูรณาการเทคโนโลยี ใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางบูรณาการแลว
รูจักการปรับใชความรูมาสรางนวัตกรรมที่เปนประโยชนตอการทำเกษตรกรรม ตลอดจนสามารถตอยอดองค
ความรูทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการงานอาชีพ บนพื้นฐานของการทำเกษตรกรรม
แบบประณีตไปสูครอบครัว ชุมชน และการประกอบอาชีพใดในอนาคต ดังนั้น กรอบเนื้อหาสาระและการจัด
ประสบการณเพื่อใหนักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะสำคัญจึงมุงไปที่สาระสำคัญทางดานพื้นฐานการเกษตรกรรม
การเรียนรูกระบวนการพื้นฐานทางเศรษฐศาสตรเกษตร แนวคิดและองคความรูทางดานการปรับใชเทคโนโลยี
และระบบอัจฉริยะในการเกษตร ตลอดจนกระบวนการตอยอดองคความรูเพื่อสรางสรรค พัฒนานวัตกรรม
หรือผลิตภัณฑทางการเกษตรเปนหลัก ทั้งนี้คณะทำงานไดกำหนดกรอบของการจัดหลักสูตรไวดังแสดงใน
ผงั มโนทัศนสาระหลกั สูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียนตอ ไปนี้

ผงั มโ
กรอบเนอ้ื หาสาระหลักสตู รอัจฉรยิ ะเกษตรประณ

หนวยการเรียนรูพนื้ ฐานการพัฒนาผลติ ภัณฑ หล
เรยี นรพู ื้นฐานการแปรรูปผลติ ภณั ฑและการพัฒนา อจั ฉรยิ
ตอ ยอดผลผลิต เทคโนโลยีเพอ่ื การตลาดและการ ประณีตใ
จำหนา ยผลิตภัณฑ

หนว ยการเรยี นรสู มรรถนะอาชพี การเปน
ผูประกอบการและการจดั ทำแผนธุรกิจ
เรยี นรูเกยี่ วกับคณุ สมบัตแิ ละจรรยาบรรณ
ของผูป ระกอบการท่ดี ีรวมทั้งการจดั ทำแผน
ธุรกจิ อยางเปน ระบบและมีประสทิ ธิภาพ

โนทศั น
ณีตในโรงเรียนเทพศิรินทรค ลองสบิ สาม ปทมุ ธานี

หนว ยการเรยี นรูพ้ืนฐานการเกษตร

รูจักพื้นที่ วิเคราะหภูมิสังคมพื้นฐาน ความรูพื้นฐาน

ดานการเกษตร ประวัติ รูปแบบ ประเภทเกษตรกรรม

องคความรูและทักษะดานการปลูกพืช เลี้ยงสัตว

แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง หนว ยการเรียนรพู ืน้ ฐานเทคโนโลยี

Smart Farm

ศึกษาคุณลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป

ลกั สูตร ของเซนเซอร และบอรดควบคุมพื้นฐาน
ยะเกษตร การเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงาน
ในโรงเรยี น การออกแบบและประกอบระบบ
ควบคุม Smart Farm

หนว ยการเรียนรปู ฏบิ ตั ิการอัจฉริยะวิถเี กษตรกรรม
เรียนรูวางแผน ออกแบบพื้นที่ วางแผนเพาะปลูก
ออกแบบอุปกรณควบคุม คำนวณดนทุนกำไร ริเริ่ม
ปฏิบัติ ดำเนินการตามแผน เก็บเกี่ยวผลผลิต
วางแผนการตลาด สรางชองทางจำหนาย รวบรวม
พัฒนา เก็บรวบรวมขอมูลจากการดำเนินงาน
เคราะห ประเมิน พัฒนาและปรบั ปรงุ

ขั้นตอนการพัฒนาหลกั สูตรอจั ฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรียนเทพศริ ินทรค ลองสิบสาม ปทมุ ธานี

มีรายละเอียดการดำเนินงานและพัฒนาหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียนตามโครงการ
Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ตามขนั้ ตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 แตงตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนหลักสูตร
อัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน เพื่อวางแผน ออกแบบ และจัดทำรายละเอียดหลักสูตร
อัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรียน

ขน้ั ตอนท่ี 2 วิเคราะหข อมูลโครงการและศึกษาวเิ คราะหขอ มลู พ้ืนฐานทีเ่ กี่ยวขอ ง
คณะกรรมการดำเนินงานรวมกันวิเคราะหรายละเอียดและเปาหมายโครงการ Science Technology
Innovation (STI): Smart Intensive Farming เ พ่ื อ น ำ ข  อ ม ู ล ไ ป ด ำ เ น ิ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ร  า ง
รายละเอียดการจัดหลักสูตร ดำเนินการศึกษาสภาพปญหาและความตองการจำเปนในการพัฒนา
หลักสูตรและการจัดการเรียนรูในสังคมปจจุบัน การวิเคราะหศักยภาพในการจัดกระบวนการเรียนรูของ
โรงเรียนระดับตาง ๆ การศึกษาสภาพการดำเนินงานของสถาบันตัวอยางที่มีการจัดหลักสูตรในลักษณะ
ใกลเคียงกับแนวคิดของโครงการ รวมทั้งการดำเนินงานวิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพือ่ ศึกษาแนวทางการจดั หลกั สตู รใหสอดคลอ งกับมาตรฐานและตัวชวี้ ดั ในหลักสตู รแกนกลางอีกดว ย

ข้ันตอนท่ี 3 การออกแบบและรา งหลักสูตร
การดำเนินงานในขั้นตอนนี้ มีเปาหมายเพื่อกำหนดกรอบโครงรางของการออกแบบหลักสูตรให
สอดคลองกับขอมูลพื้นฐานดานตาง ๆ ซึ่งเปนขอมูลจากการทำงานในข้ันตอนที่ 1 ตลอดจนเพื่อกำหนด
แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ในระดับสถานศึกษาใหมีความสอดคลอง
กับเปาหมายของโครงการ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง ตลอดจนใหสอดคลองกับบริบทของ
สถานศึกษา คณะทำงานการออกแบบและรางหลักสูตรซึ่งประกอบดวยผูเชี่ยวชาญ ผูบริหารและครูผูสอนจาก
โรงเรียนนำรองโครงการจำนวน 5 โรงเรียน รวมทั้งคณะทำงานซึ่งเปนครูผูสอนจากโรงเรียนอื่น ๆ ไดรวมกัน
ออกแบบและรางรูปแบบของการจัดการเรียนรูเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการเรียนรูหลักสูตรอัจฉริยะ
เกษตรประณีตในโรงเรียน แลวจัดทำเปนคูมือการการจัดหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน เพื่อใช
กำหนดกรอบแนวทางในการจดั ทำหลักสตู รในระดับสถานศึกษาใหสอดคลองแนวคดิ และเปาหมายของ โครงการ
โดยคณะทำงานไดรวมกันออกแบบและรางกรอบรายละเอียดหลักสูตร กำหนดจุดประสงคของ หลักสูตร
กรอบเนื้อหาสาระ และกำหนดรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู แนวทางการวัดและประเมินผล
ตลอดจนรปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นการสอนในโรงเรียน

ข้ันตอนท่ี 4 จัดทำหลักสูตรอัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ในโรงเรยี น
1. โรงเรียนที่เขารวมโครงการ จะดำเนินการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษา ภายใตกรอบ
การดำเนินงานตามคูมือการจัดหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน ใหสอดคลองกับบริบทของโรงเรียน
ทั้งในดานบริบทเชิงพื้นที่ บริบททางสังคมและเศรษฐกิจ บริบททางวิชาการ ตลอดจนความพรอมและศักยภาพ
ของโรงเรียนแตละแหงที่มีความแตกตางกันออกไป กำหนดกรอบเนื้อหาสาระในระดับโรงเรียน
ใหส อดคลองกบั กรอบเนือ้ หาสาระตามคมู ือการจัดหลักสตู รอัจฉรยิ ะเกษตรประณีตในโรงเรียน โดยโรงเรียนเทพศิริ
นทรคลองสบิ สาม ปทุมธานี ไดก ำหนดใหอ ยใู นรปู แบบของการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรียน (กจิ กรรมชมุ นมุ ) เพ่ือเปด
โอกาสใหนักเรียนทุกระดบั ชั้น ไดเ ลือกทำกิจกรรมตามความถนดั และความสนใจ ทางดา นเทคโนโลยกี ารเกษตรบน
พน้ื ฐานของอจั ฉริยะเกษตรประณตี
2. ออกแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน (กิจกรรมชุมนุม) มุงเนนการเรียนรูแบบ Active Learning
โดยใชกระบวนการเรียนรูแบบ Project Based Learning เปนกระบวนการหลักในการขับเคลื่อน
ขั้นตอนการปฏิบัติการ โดยคำนึงถึงประโยชนสูงสุดในการใชพื้นที่ภายในโรงเรียน การวางแผนการผลิต การจัด
จำหนาย มีการปรับใชเทคโนโลยี เพื่อการผลิตและมุงพัฒนานวัตกรรมในกระบวนการผลิตของตนเอง
และใหค วามสำคญั ตอ กระบวนการเรยี นรทู ี่มงุ สงเสรมิ ความคดิ สรางสรรค การแกป ญหาและการสรา งนวัตกรรม
3. มีการวัดและประเมินผล ที่มุงเนนการประเมินผลการเรียนรู เพื่อการพัฒนาและใหความสำคัญ
ตอการประเมินผลเชิงประจักษ จากกระบวนการทำงานหรือผลงานผลิตภัณฑใหมากที่สุด ทั้งนี้ใหเปนไปตาม
ระเบียบวาดว ยการวัดและประเมินผลของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเทพศิรินทรค ลองสบิ สาม ปทมุ ธานี

ขนั้ ตอนที่ 5 การนำหลกั สูตรไปใช
นำหลักสูตรไปใชจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ทั้งนี้ในระยะแรกของการขับเคลื่อน
โครงการจะมีการเก็บขอมูลผลการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรียน
เพื่อประเมินหลักสูตร และศึกษาประสิทธิผลของการใชหลักสูตร หาจุดดี จุดแข็ง และจุดที่ควรปรับปรุง
ประเด็นปญ หาอปุ สรรคของหลักสูตร ตลอดจนขอ เสนอแนะในการปรบั ใชห ลกั สตู รตอ ไป

เปา หมายหลกั สตู รอัจฉริยะเกษตรประณีตในโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรคลองสิบสาม ปทุมธานี

1. นักเรียนมีความรูความเขาใจและเกิดทักษะพืน้ ฐานทางดา นอัจฉริยะเกษตรประณีตทีบ่ ูรณาการ วิชา
คณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการงานอาชีพเขากับกระบวนการสัมมาชีพทางเกษตรกรรม
และการเปน ผปู ระกอบการ

2. นกั เรยี นสามารถสรางนวตั กรรมท่ีเปน ประโยชนตอภาคการเกษตร
3. สงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูและตอยอดองคความรูทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร
เทคโนโลยี และวิทยาคำนวณ บนพื้นฐานของอัจฉริยะเกษตรประณีตไปสูครอบครัว ชุมชน และการประกอบ
อาชพี ในอนาคต

โครงการจัดกจิ กรรมชมุ นุมอจั ฉรยิ ะเกษตร

โรงเรียนเทพศริ นิ ทรคลองสิบสาม ปทมุ ธานี
ปการศึกษา 2565

โครงการจดั กิจกรรมชุมนมุ อจั ฉรยิ ะเกษตร 1
ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา 2565

1. ช่อื ชุมนมุ อัจฉรยิ ะเกษตร 1

2. กลุม เปา หมาย : นกั เรยี นโรงเรยี นเทพศริ ินทรค ลองสบิ สาม ปทุมธานี จำนวน 40 คน

3. สอดคลอ งกับกลุมสาระการเรยี นรู : คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และการงานอาชีพ

4. ครทู ี่ปรกึ ษาชุมนุม : 1. นายวบิ ลู ย เทีย่ งธรรม 2. นายเชิดชยั มลู สวุ รรณ 3. นายปราโมช สีหรกั ษ

5. จำนวนช่ัวโมง/สัปดาห 1 คาบ/สัปดาห

6. คำอธิบายรายวชิ า

ศึกษาการเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก การเตรียมดิน ปรับสภาพดิน และการปลูกพืชผักในทองถิ่น
ตามฤดูกาล ผูป ลกู ตองมีความรูเก่ียวกับชนิดและประเภทพชื ผกั ที่ปลกู วิธกี ารปลกู การบำรุงดแู ลรักษา สว นตา ง ๆ
ของตนพืช โดยอาศัยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ ชก ับสภาพพ้นื ทกี่ ารเกษตรในโรงเรยี น ศึกษา
คุณลักษณะและคุณสมบัติทั่วไปของเซนเซอร อุปกรณ และบอรดควบคุมพื้นฐาน การออกแบบและประกอบ
ระบบควบคุม Smart Farm เชน ระบบตั้งเวลารดนํ้าอัตโนมัติ ระบบพลังงานทดแทนเบื้องตน ระบบควบคุม
Smart Farm แบบอัตโนมัติและควบคุมผานสมารทโฟน (IoT) โดยใชขอมูลสภาพอากาศและสิ่งแวดลอม
(Weather station) อา งอิงโดยใชก ระบวนการ STI (Science Technology and Innovation)

โดยใชกระบวนการสืบคน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุม
กระบวนการแกปญหาในการทำงาน กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเทคโนโลยี กระบวนการจัดการ และ
กระบวนการสรางเจตคตทิ ด่ี ีตอ การประกอบอาชพี สจุ รติ

เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ มีทักษะในการดำรงชีวิต สามารถประยุกตใชความรูพัฒนางานอาชีพ มี
สมรรถนะวิชาชีพดานการวางแผน ดำเนินงาน จัดการ และพัฒนางานอาชีพดานการเกษตร
มีจิตสำนึกในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม มีความตรงตอเวลาในการปฏิบัติงาน สามารถ
วิเคราะหวางแผน ออกแบบพื้นที่ในการทำเกษตรอัจฉริยะ และลงมือปฏิบัติ โดยใชเทคโนโลยี Smart Farm
รวบรวม พัฒนา และขยายผล

7. วตั ถปุ ระสงค

1. นักเรียนมีความรูความเขาใจและเกิดทักษะพื้นฐานทางดานอัจฉริยะเกษตรประณีตที่บูรณาการวิชา
คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เขา กบั กระบวนการสัมมาชพี ทางเกษตรกรรม และการเปนผูประกอบการ

2. นกั เรยี นสามารถสรา งนวตั กรรมท่เี ปนประโยชนตอ ภาคการเกษตร
3. สงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูและตอยอดองคความรูทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี บนพืน้ ฐานของอัจฉริยะเกษตรประณีตไปสูค รอบครวั ชมุ ชน และการประกอบ อาชพี ในอนาคต

8. แผนการจัดกิจกรรม

สปั ดาห เน้อื หา/หวั ขอ กจิ กรรมการเรยี นรู หมายเหตุ
ที่
- เลอื กและลงทะเบยี นกจิ กรรมชมุ นุม
1 เลอื กและลงทะเบียนกจิ กรรม
1. สำรวจพ้ืนทีต่ ลาดในชุมชนเพ่อื หาแนวทางในการขาย
ชุมนมุ สนิ คา ทางการเกษตร
1. สืบคนขอมูลเกย่ี วกบั สนิ คา ทางการเกษตร
2 พนื้ ฐานการเกษตร และรวมกันอภิปรายในส่งิ ที่ตอ งสำรวจ (ราคาพชื
ราคาสัตว ราคาอาหารแปรรูป พืชตามฤดกู าล
3 พื้นฐานการเกษตร พชื ราคาสงู เปน ตน )
2. นักเรยี นรว มกนั สำรวจในพน้ื ที่ตลาดตามขอ มูลท่ี
4 สถติ ทิ างขอ มูล สืบคนเก่ียวกับสินคาทางการเกษตร
1. จัดทำสถิตทิ างขอ มูลเพอ่ื เปรยี บเทียบสินคาที่สำรวจ
ไดใ นตลาด (แผนภมู ิแทง กราฟ รปู ภาพ สัญลกั ษณ)
เพ่อื ประกอบการตดั สนิ ใจในการเลอื กผลิตสนิ คา
เกษตรกรรม
2. สำรวจพนื้ ท่ที างการเกษตรในโรงเรยี น
โดยวัดคาปจจัยท่ีมีผลตอ การทำการเกษตร
(ขนาดของพืน้ ที่ แหลง น้าํ ภูมิประเทศ คา pH
ของดนิ และนาํ้ )

5 การคดั เลอื กพนั ธพุ ชื และ 1. ศึกษาคนควาชนิดพืช และสัตวเศรษฐกิจ
สตั วเ ศรษฐกิจท่ีเหมาะสมกบั ภายในประเทศและชมุ ชน
พน้ื ทกี่ ารเกษตรในโรงเรียน 2. รว มกนั อภิปราย และวเิ คราะห“ ชนดิ ของพืชและสตั ว
เศรษฐกิจในประเทศ และชุมชน” ทีเ่ หมาะสม
ตอ การปลูก หรือเล้ียงในพืน้ ที่การเกษตรของโรงเรยี น

6 ความรพู ้ืนฐานดา นการเกษตร 1. ศกึ ษารปู แบบและประเภทเกษตรกรรม
เพื่อนำมาปรบั ใชการการเกษตรของโรงเรียน
หรอื ครอบครวั

7 การเตรยี มพน้ื ทเ่ี พาะปลูก - ลงพื้นท่เี ตรยี มดิน ปรับหนาดินสำหรับการเพาะปลูก

8-9 การเพาะปลูก - ลงพ้นื ท่ีปลูกพืชพนั ธุทีค่ ดั เลือกไว และบำรงุ ดูแลรักษา

10 สอบกลางภาค
11 พ้นื ฐานเทคโนโลยี Smart
1. ศกึ ษาคน ควาความรเู กยี่ วกับเทคโนโลยีเกษตร
Farm ทที่ ันสมยั
12-13 Internet of Things (IoT) 1. เรยี นรเู กี่ยวกบั เซนเซอร อุปกรณ และบอรด
พน้ื ฐานการเขียนโปรแกรมควบคมุ IoT
14 Smart Farm Design 1. ออกแบบและสรา งตน แบบระบบควบคุม Smart
Farm ตามทไี่ ดออกแบบและทดลองใชงาน
15 Smart Farm Design 1. นำเสนอ ประเมินผล วเิ คราะห สรปุ ผลการทดลอง/
แนวทางการแกปญหา แนวทางพฒั นาตอยอด
16 Smart Farm Design 1. วิเคราะห สภาพบริบทของพืน้ ท่ีทีจ่ ะจัดทำ Smart
Farm
17 Smart Farm Design 1. ออกแบบแผนผงั พื้นที่ในการทำเกษตร โดยใช
เทคโนโลยี Smart Farm
18-19 ดำเนนิ การปฏบิ ตั ิอัจฉริยะ 1. ลงมือปฏิบัติตามแผนผัง Smart Farm ทีอ่ อกแบบไว
เกษตรประณตี เพือ่ รวมไปถงึ การบำรงุ ดูแลรักษาพืช
ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
20 ประเมินผลกิจกรรมชุมนมุ

9. สอ่ื การเรียนการสอน
1. แบบฟอรมการสำรวจ
2. ใบความรู ใบกิจกรรม
3. อุปกรณการเกษตร
4. ชดุ อุปกรณอ เิ ล็กทรอนกิ ส
5. KidBright / Ardrunio All
6. Internet
7. ปราชญช าวบาน

10. แหลงเรยี รู
1. แปลงเกษตรโรงเรียนเทพศิรินทรคลองสิบสาม ปทมุ ธานี

2. หองสมุดเรียนโรงเรียนเทพศริ นิ ทรค ลองสิบสาม ปทมุ ธานี
3. ชมุ ชนอำเภอลำลกู กา

4. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

11. ผลทคี่ าดวา จะไดรบั
1. นกั เรยี นมที กั ษะพน้ื ฐานทางดานอจั ฉริยะเกษตรประณีต
2. นักเรียนสามารถสรางนวัตกรรมทเ่ี ปนประโยชนตอ ภาคการเกษตรได
3. นกั เรยี นสามารถตอ ยอดองคความรูทางดานวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี คณติ ศาสตร และการงานอาชีพ

บนพ้นื ฐานของอัจฉรยิ ะเกษตรประณีตไปสูครอบครวั ชุมชน และการประกอบอาชีพในอนาคตได

12. เกณฑ/วธิ ีการประเมินผลกิจกรรม
1. ผเู รียนตองมีเวลาเขารว มกิจกรรมไมน อยกวา รอ ยละ 80 ถงึ จะผานการประเมิน
2. ประเมนิ ตามคณุ ลักษณะอันพึงประสงค และไดรบั ผลการประเมนิ  ผ : ผา น
3. ถาผูเรยี นมีเวลาเขา รว มกจิ กรรมไมครบรอ ยละ 80 หรือ ไมผานการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค

ถอื วา ไมผ านการประเมนิ ไดร บั ผลการเรยี น  มผ : ไมผ าน

ลงช่อื ......……………………………………............ ลงชอ่ื ......……………………………………............
(นายวบิ ูลย เทย่ี งธรรม) (เชิดชัย มูลสุวรรณ)
ครทู ปี่ รึกษาชุมนมุ ครทู ี่ปรกึ ษาชุมนุม

ลงชือ่ ......……………………………………............
(นายปราโมช สีหรักษ)
ครทู ่ปี รึกษาชุมนมุ

ความเห็นหวั หนากิจกรรมพัฒนาผเู รยี น

........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................หวั หนา กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน
()
…………./……………./…………

ขอเสนอแนะอื่น ๆ

........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ....................................................รองผอู ำนวยการกลุม บรหิ ารวิชาการ
(นางสาวศรัณมร ัชต กอ งสกลุ โชตกิ า)
…………./……………./…………

เรยี น เสนอเพอื่ โปรดพจิ ารณา

 อนญุ าต
 ไมอนุญาต เพราะ …………………………..………………………………………………………..

ลงชื่อ............................................................ผอู ำนวยการโรงเรียน
(นายพิษณุ เดชใด)

…………./……………./…………

โครงการจดั กิจกรรมชมุ นมุ อัจฉริยะเกษตร 2
ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2565

1. ชอื่ ชุมนมุ อจั ฉริยะเกษตร 2
2. กลุมเปา หมาย นักเรียนโรงเรยี นเทพศริ ินทรค ลองสิบสาม ปทุมธานี จำนวน 50 คน
3. สอดคลองกบั กลมุ สาระการเรียนรู : คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และการงานอาชพี
4. ครูท่ปี รกึ ษาชุมนมุ 1. นายวบิ ูลย เท่ียงธรรม 2. นายเชดิ ชยั มลู สวุ รรณ 3. นายปราโมช สหี ะรักษ
5. จำนวนชวั่ โมง/สปั ดาห 1 คาบ/สปั ดาห
6. คำอธบิ ายรายวิชา

การแปรรูปผลผลิต เปนขั้นตอนและวิธีการใน การเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบใหเปนผลิตภัณฑที่เหมาะสมกับ

ผูบริโภค โดยใชหลักการ การใชความรอน การใชความเย็น การทำแหง การใชน้ำตาล การหมักดอง เนนความ

สะอาดปลอดภยั ตอ ผบู ริโภค และเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ใชศาสตรแ ละศิลปเ พอื่ การบรรจุสนิ คาโดยใช เทคโนโลยี

ที่ทันสมัยและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม บรรจุภัณฑ จะตองปกปองตวั สินคาใหอยูในสภาพที่ดีจากแหลงผลิตจนถงึ

มือลกู คา มีตน ทุนของการผลิตทไ่ี มสงู จนเกนิ ไป นำคณุ สมบัตแิ ละจรรยาบรรณของผูประกอบการ ท่ีดมี าปรบั ใชใน

การดำเนินธุรกิจของตนเองรวมกับการจัดทำ แผนธรุ กจิ ซงึ่ เปน เครอื่ งมือของธรุ กจิ ท่ีผูประกอบการสามารถ ใช

ในการกำหนดขนั้ ตอน และวางแผนการดำเนนิ ธุรกิจอยา งมีระบบ และมปี ระสทิ ธภิ าพ เพื่อใหบ รรลุวสิ ัยทัศน พันธ

กจิ และเปา หมายตามท่ีกำหนดไว เพอื่ นำไปสคู วามสำเร็จในการ ประกอบธรุ กิจ การประกอบธรุ กจิ การคาผานส่ือ

อิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ไมวาจะเปนโทรศัพท โทรสาร โทรทัศน หรือ คอมพิวเตอร ซึ่งเปนชองทางที่มคี วามสำคญั

ท่สี ดุ ในปจจุบนั โดยมรี ะบบ อนิ เตอรเ น็ตเปน ส่ือกลางในการเชื่อมโยงผซู ื้อและผูขายให สามารถทำการคาระหวาง

กนั ได วางแผนธรุ กจิ ท่มี ีประสิทธิภาพ การวิเคราะหภาพรวมของธรุ กจิ แผนการ ตลาด แผนการบริหาร จดั การและ

แผนการดำเนินงาน แผนการผลิต แผนการเงิน และแผนฉุกเฉิน รวมถึง การบริหารบุคลากร ใหมีประสิทธิภาพ

และมีความละเอยี ด รอบคอบในการวางแผน

โดยนำความรู ทกั ษะกระบวนการทีห่ ลากหลายมาใชในการแกป ญหาในสถานการณตางๆ ไดอ ยางเหมาะสม
มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาการสือ่ สาร สื่อความหมาย และนำเสนอ
ไดอยางถูกตองชัดเจน เชื่อมโยงความรูตางๆ และนำความรูท ักษะกระบวนการไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ และมี
ความคิดริเรม่ิ สรางสรรค

เพื่อใหเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค สามารถทำงานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วจิ ารณญาณ มคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง มคี วามซอ่ื สัตยสุจริตมีวินัย ใฝเรียนรู มุงมัน่ ในการทำงาน รกั ความเปนไทย มี
จติ สาธารณะ พรอ มทง้ั ตระหนกั ในคณุ คาและมีเจตคติทด่ี ี

7. วตั ถุประสงค
1. นกั เรยี นรู เขาใจ วางแผนในการแปรรูป ผลติ ภัณฑท ่เี หมาะสมกบั ผบู รโิ ภค เนน ความสะอาด ปลอดภัย

และเปน มิตรกับส่งิ แวดลอ ม
2. นกั เรยี นปฏบิ ตั ใิ นการแปรรปู ผลิตภัณฑ ทเี่ หมาะสมกับผูบ รโิ ภค เนน ความสะอาด ปลอดภัยและ

เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม
3. นักเรียนรู เขาใจ และวางแผนการออกแบบบรรจุภัณฑที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ และเปนมิตรกับ

สิ่งแวดลอม
4. นกั เรียนปฏบิ ตั ิการออกแบบบรรจภุ ณั ฑทเี่ หมาะสมกบั ผบู ริโภค และเปน มติ รกบั สิ่งแวดลอม
5. นักเรียนรู เขาใจ และวางแผนการใช เทคโนโลยีเพื่อการตลาด (E-Commerce) และการจำหนาย

ผลติ ภณั ฑ
6. นักเรียนสามารถจดั จำหนา ยสินคาทางสอ่ื เทคโนโลยที ี่จัดสรา งข้นึ
7. นกั เรียนสามารถอธิบาย ความหมายและความสำคญั ของแผนธรุ กจิ ได
8. นักเรยี นสามารถเขยี นแผนธรุ กิจ โดยนำองคประกอบตา ง ๆ มาวางแผนการดำเนนิ ธุรกจิ อยา งมีระบบ
9. นักเรียนสามารถแกป ญ หา วเิ คราะหสถานการณเกี่ยวกับแผนธรุ กจิ ได
10. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการปฏิบัติตนตามคุณสมบัติ และจรรยาบรรณของ

ผูประกอบการที่ดไี ดแ ละนำคณุ สมบตั ิ และจรรยาบรรณของผปู ระกอบการทด่ี ีมาประยกุ ตใ ชใ นดานตาง ๆ

8. แผนการจัดกจิ กรรม

สปั ดาหท ่ี เน้ือหา/หวั ขอ กิจกรรมการเรยี นรู หมายเหตุ

1 พื้นฐานการพัฒนาผลิตภัณฑ 1. เรยี นรูเกยี่ วกับความรูเบอ้ื งดน การแปรรปู ผลผลติ
(แปรรปู ผลิตภณั ฑ) 2. สำรวจ เก็บรวบรวมขอ มูล ผลผลติ ในฟารม และ
ตัดสนิ ใจเลือกวตั ถุดบิ ในการแปรรปู
2 พ้นื ฐานการพฒั นาผลติ ภัณฑ 1. สืบคน หาวธิ ีการที่เหมาะสมกับวตั ถุดบิ ที่เลือก และ
(แปรรปู ผลิตภณั ฑ) ตดั สินใจวิธีการที่ดที ีส่ ุด
1. วางแผนและออกแบบ การแปรรูปผลติ ภัณฑ
3 พ้ืนฐานการพัฒนาผลิตภัณฑ 2. ปฏบิ ตั ิการแปรรูปผลิตภัณฑ
(แปรรปู ผลิตภัณฑ) 1. สรุปผล จัดทำรายงาน และนำเสนอการปฏบิ ตั ิการ
แปรรปู ผลติ ภัณฑในรปู แบบโครงงาน
4 พนื้ ฐานการพัฒนาผลติ ภัณฑ 1. เรยี นรเู กย่ี วกบั ความรเู บื้องตน ในการออกแบบบรรจุ
(แปรรูปผลิตภณั ฑ) ภัณฑ ตราสนิ คาและโปรแกรมกราฟกในการสรา ง
2. เรยี นรูล ขิ สทิ ธ์ิตาม พรบ.คอมพวิ เตอร และการให
5 พน้ื ฐานการพัฒนาผลิตภัณฑ เครดติ เจา ของผลงาน
(การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ
พฒั นาตอ ยอดผลผลิต)

6 พืน้ ฐานการพัฒนาผลติ ภัณฑ 1. สืบคนหาวิธีการออกแบบบรรจุภัณฑ ตราสินคาท่ี

(การออกแบบบรรจุภัณฑ เหมาะสมกับผลิตภัณฑ และตัดสินใจเลือกรูปแบบบรรจุ

พัฒนาตอยอดผลผลิต) ภณั ฑ และใชโ ปรแกรมกราฟก ท่เี หมาะสมท่ีสดุ

2. วางแผนและออกแบบบรรจภุ ณั ฑแ ละตราสนิ คา

7 พน้ื ฐานการพฒั นาผลติ ภณั ฑ 1. ปฏิบตั กิ ารสรางบรรจภุ ณั ฑ และตราสินคา

(การออกแบบบรรจุภัณฑ

พฒั นาตอยอดผลผลิต)

8 พน้ื ฐานการพัฒนาผลิตภัณฑ 1. สรปุ ผล และนำเสนอการออกแบบบรรจุภัณฑ และตรา

(การออกแบบบรรจุภัณฑ สนิ คา

พัฒนาตอ ยอดผลผลิต)

9 พืน้ ฐานการพัฒนาผลติ ภณั ฑ 1. เรียนรูเกี่ยวกับคุณสมบัติและจรรยาบรรณของ

(การใชเ ทคโนโลยีเพอ่ื การตลาด ผปู ระกอบการทีด่ ี

และการจำหนา ยผลติ ภณั ฑ) 2. วิเคราะหกระบวนการในการนำคุณสมบัติ และ

จรรยาบรรณของผูประกอบการที่ดีมาปรับใชในการ

ประกอบธุรกิจของตนเองรวมถึงในชวี ติ ประจำวัน

10 พืน้ ฐานการพัฒนาผลิตภัณฑ 1. วเิ คราะหค ณุ ลักษณะของผปู ระกอบการทปี่ ระสบ

(การใชเ ทคโนโลยีเพ่ือการตลาด ความสำเร็จ และนำความรมู าประยุกตใชในการประกอบ

และการจำหนายผลิตภัณฑ) ธุรกจิ ของตนเอง

11 สมรรถนะอาชพี การเปน 1. เรียนรเู กย่ี วกับความรูเกีย่ วกับ (E-Commerce)

ผปู ระกอบการและการจัดทำ 2. เรียนรูลิขสิทธ์ิตาม พรบ.คอมพิวเตอร และการให
เครดติ เจา ของผลงาน
แผนธรุ กิจ

(คุณสมบตั ิและจรรยาบรรณ

ของผปู ระกอบการท่ีดี) 1.สืบคนหาวิธีการสรางสื่อออนไลนในการจัดจำหนาย

12 สมรรถนะอาชีพการเปน
ผูป ระกอบการและการจดั ทำ สินคา
2.วางแผนและออกแบบสื่อออนไลนที่เหมาะสมกับ
แผนธรุ กจิ
(คุณสมบตั ิและจรรยาบรรณ ผลิตภณั ฑและกลุมเปา หมาย

ของผปู ระกอบการทด่ี )ี

13 สมรรถนะอาชีพการเปน 1. สรางสื่อออนไลนในการขาย (webpage, facebook
ผูประกอบการและการจดั ทำ ฯลฯ)

แผนธุรกิจ

(คณุ สมบัติและจรรยาบรรณ

ของผูประกอบการท่ีดี)

14 สมรรถนะอาชพี การเปน 1. จดั จำหนายผลิตภณั ฑใ นส่ือออนไลนที่สรา งขนึ้

ผูป ระกอบการและการจัดทำ

แผนธรุ กจิ

(คณุ สมบตั ิและจรรยาบรรณ

ของผูประกอบการท่ดี )ี 1. จัดทำบัญชีรายรับ-รายจาย และสรุปผลการ

15 สมรรถนะอาชีพการเปน
ผปู ระกอบการและการจัดทำ ประกอบการ

แผนธุรกจิ

(คุณสมบตั ิและจรรยาบรรณ

ของผปู ระกอบการทด่ี )ี

16 สมรรถนะอาชพี การเปน 1. เรยี นรูเก่ียวกบั ความหมายและความสำคัญของแผน

ผูประกอบการและการจดั ทำ ธุรกิจ
2. เรยี นรเู กี่ยวกับองคป ระกอบของแผนธรุ กจิ
แผนธรุ กิจ

(การจัดทำแผนธุรกจิ ท่ีมี

ประสทิ ธภิ าพ)

17 สมรรถนะอาชีพการเปน 1. นักเรียนรว มกนั ลงมอื เขียนแผนธรุ กจิ โดยใช

ผูประกอบการและการจัดทำ องคป ระกอบตาง ๆ ประกอบการเขยี น

แผนธุรกจิ

(การจัดทำแผนธรุ กิจทม่ี ี

ประสิทธิภาพ)

18 สมรรถนะอาชีพการเปน 1. สำรวจความถนดั ของแตล ะคนเพอ่ื แบง หนา ที่ให

ผูประกอบการและการจดั ทำ สามารถดำเนนิ การประกอบธุรกิจตามแผนไดอ ยางมี

แผนธุรกิจ ประสทิ ธภิ าพ โดยยดึ หลกั ของคณุ สมบัติและจรรยาบรรณ

(การจดั ทำแผนธรุ กิจท่ีมี ของผปู ระกอบการทด่ี ี

ประสิทธิภาพ) 2. ปฏบิ ัติการตามแผนธรุ กจิ ที่ไดวางไว

19 สมรรถนะอาชพี การเปน 1. สรุปผล จัดทำรายงานและนำเสนอผลการปฏบิ ัติงาน

ผูป ระกอบการและการจดั ทำ ตามแผนธุรกิจทไ่ี ดวางไว

แผนธุรกจิ

(การจดั ทำแผนธรุ กจิ ท่ีมี

ประสิทธิภาพ)

20 ประเมนิ ผลกจิ กรรมชมุ นมุ ประเมินผลตามสภาพจริง

9. ส่อื การเรียนการสอน
1. แบบฟอรม การสำรวจ
2. ใบความรู ใบกิจกรรม
3. อุปกรณการเกษตร
4. ชุดอุปกรณอเิ ลก็ ทรอนิกส
5. KidBright / Ardrunio All
6. Internet
7. ปราชญช าวบาน

10. แหลงเรียรู
1. แปลงเกษตรโรงเรยี นเทพศิรินทรคลองสบิ สาม ปทมุ ธานี
2. หอ งสมดุ เรยี นโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรคลองสบิ สาม ปทมุ ธานี
3. ชมุ ชนอำเภอลำลูกกา
4. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

11. ผลทีค่ าดวาจะไดร ับ
1. ผเู รียนรู เขาใจ วางแผนและปฏบิ ัติใน การแปรรูปผลิตภัณฑท ่ีเหมาะสมกบั ผูบ รโิ ภค เนนความสะอาด

ปลอดภยั และเปนมิตรกับส่งิ แวดลอม
2. ผเู รียนรู เขาใจ วางแผนและปฏิบัติใน การแปรรูปผลิตภัณฑท่เี หมาะสมกับ ผบู รโิ ภค เนนความสะอาด

ปลอดภัย และเปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอม
3. ผูเรยี นรู เขาใจ วางแผนและปฏิบตั ิการ ใชก ารใชเ ทคโนโลยีเพอื่ การตลาด (E-Commerce) และการ

จำหนา ย ผลิตภัณฑ
4. ผเู รียนมคี วามรูและมีคุณลกั ษณะตรง ตามคุณสมบัตแิ ละจรรยาบรรณของ ผูป ระกอบการทดี่ ี
5. ผูเ รียนมีความรูและความเขา ใจในการ วางแผนธุรกจิ อยางมีประสทิ ธิภาพ

12. เกณฑ/วธิ กี ารประเมนิ ผลกจิ กรรม
1. ผเู รยี นตอ งมีเวลาเขารวมกิจกรรมไมนอ ยกวารอ ยละ 80 ถงึ จะผานการประเมิน
2. ประเมนิ ตามคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค และไดร บั ผลการประเมิน  ผ : ผา น
3. ถา ผเู รยี นมเี วลาเขารว มกจิ กรรมไมครบรอ ยละ 80 หรอื ไมผ า นการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
ถอื วา ไมผานการประเมิน ไดรบั ผลการเรยี น  มผ : ไมผา น

ลงชื่อ......……………………………………............ ลงช่ือ......……………………………………............
(นายวบิ ูลย เท่ียงธรรม) (เชิดชัย มูลสุวรรณ)
ครทู ่ีปรกึ ษาชมุ นุม ครูทปี่ รึกษาชมุ นุม

ลงชอ่ื ......……………………………………............
(นายปราโมช สหี รกั ษ)
ครทู ่ปี รกึ ษาชุมนุม

ความเห็นหวั หนากจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน

........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ....................................................หวั หนา กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น
()
…………./……………./…………

ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ
........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ....................................................รองผูอำนวยการกลมุ บริหารวิชาการ
(นางสาวศรณั มรชั ต กองสกลุ โชตกิ า)
…………./……………./…………

เรยี น เสนอเพอ่ื โปรดพิจารณา
 อนุญาต
 ไมอนุญาต เพราะ …………………………..………………………………………………………..

ลงช่ือ............................................................ผอู ำนวยการโรงเรียน
(นายพิษณุ เดชใด)

…………./……………./…………


Click to View FlipBook Version