The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sptsksgygy, 2021-10-24 00:28:33

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย

คำนำ

สมุดบันทึกเล่มนี้เป็นส่วนหน่งของรายวิชา
แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย การจด

บันทึกและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
วัตถุประสงค์ เพื่อเตือนความจํา ทบทวนใน
สิ่งที่ได้ศึกกษามา ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่าจะเป็นประโยชน์ ต่อผู้ อ่านไม่มากก็น้อย

หากมีข้อผิดพลาดประการใด
ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

สารบัญ

ประวัติส่วนตัว หน้า
ปฐมนิเทศ
ความหมายและองค์ความรู้วรรณคดีไทย 1
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์วรรณคดีไทย 2
ยุคสมัยของวรรณคดี 3-5
การศึกษาขนบวรรณคดีไทย 6-7
วรรณคดีมีชีวิต 8-10
บทบาทและคุณค่าของวรรณคดี 11-13
วิธีการศึกษาวรรณคดีไทย 14-19
20-23
24-26

1

ประวัติส่วนตัว

นามของฉันนั้นคือสุภัทรา
เป็นมารดาของฉันที่ตั้งให้
ท่านอบรมเลี้ยงดูฉันด้วยใจ
ทั้งห่วงใยใส่ใจฉันเรื่อยมา




ชื่อ-สกุล : สุภัทรา ศรีกะษร
ชื่อเล่น : จุ๊บแจง อายุ : ๑๙ ปี
จบจาก : โรงเรียนร่มเกล้า สกลนคร
คติประจำใจ : เสียดายที่พยายามทำแล้วไม่สำเร็จ
ยังดีกว่าเสียดายที่ยังไม่ได้พยายาม
ปัจจุบันศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะ
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสกลนคร ชั้นปีที่ ๑
รหัส : ๖๔๑๑๕๒๔๕๒๒๔

2

ปฐมนิเทศ

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

นักศึกษาสามารถสืบค้นวิเคราะห์ความรู้ของวรรณคดี
นักศึกษามีความรู้พื้นฐานการจำแนกวรรณคดี
อธิบายหลักวิเคราะห์วรรณคดีและนำไปประยุกต์ใช้
มีทัศนคติที่ดีต่อวรรณคดีไทย

เนื้อหาที่ต้องเรียน

ความหมายและองค์ ปัจจัยที่มีผลต่อ ยุคสมัยของ
ประกอบวรรณคดีไทย การสร้างสรรค์ วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย

บทบาทและคุณค่า วรรณคดีมีชีวิต ขนบวรรณคดีไทย
ขนบวรรณคดีไทย

วิธีการศึกษา สร้างสรรค์ผลงานที่ได้รับแรง
วรรณคดีไทย บันดาลใจจากวรรณคดีไทย

3

ความหมายและองค์ประกอบ
ของวรรณคดีไทย

ความสำคัญของวรรณคดีไทย
มีความสำคัญเพราะเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติและสะท้อนวิถีชีวิต
สังคมและหลักฐานที่ทำให้รู้เรื่องราวในอดีต
วรรณคดี ถ้าแปลตามตัวอักษร หมายถึง แนวทางแห่งหนังสือแต่ตาม
พจนานุกรมแปลว่า หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าดี
วรรณคดีและวรรณกรรมแตกต่างกันที่เวลาและคุณภาพหนังสือ

ตัวอย่างวรรณคดี

4

5

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ 6
สร้างสรรค์วรรณคดีไทย

3อ412....สอผออัูิิกงสทท้ค+รธธ้ติิมาพพะง\วลลสวััฒวตนรํรารนตรนคกธ์ณา)รวนกรรร\มรนริณทมคตา่นดีาพืง(้นแปรบร้งะบาเัทนนศดา(ตลใะจวัขนองกวี)

สรุป

1.พุทธศาสนา\ความเชื่อ มีอิทธิพลทําให้ กวีไทยนิยมสร้างสรรค์ วรรณคดีเพ่อเป็นพุทธบูชา
วัฒนธรรม อันดีงามของไทยทําให้ กวีภาคภูมิใจจนนําไปแต่งเป็นวรรณคดีเศรษฐกิจ\การเมืองมี
ผลกระทบต่อ การศึกษาทําให้ มีอิทธิพลต่อรูปแบบและเนื้อหาของวรรณคดีไทย ตั้งแต่ ร.5-ปัจจุบัน

2.วรรณกรรมพื้นบ้านมักมีเรื่องราวลึกซึ้งตรึงใจหรือเป็นตํานานของการตั้ง
ถิ่นฐานของคน ไทยโบราณที่ดูน่าอัศจรรย์ ใจแต่ส่อเค้าความจริงอยู่ทําให้กวีไทย

ติดใจนํามาแต่งข้นใหม

3.อิทธิพลวรรณกรรมตะวันออกที่ปรากฏในวรรณคดีไทยมีข้อ
สังเกตว่าไทยนิยมรับเรื่องประเภทนิทานของวรรณคดีของชาติ

ตะวันตกมา ดัดแปลงเป็นวรรณคดีไทยมากที่สุด

4.ไทยเริ่มรับอิทธิพลวรรณกรรมตะวันตกในสมัย ร.5 อันเป็นสมัยที่การปฏิรูป ทางการเมือง
และสังคมคร้งสําคัญ ทําให้กวีไทยสร้างสรรค์ งานร้อยแก้วมากขึ้น ทําให้ เกิดเรื่อง
สิ้น\นวนิยาย\บทละครพูด

5.ผู้สร้างสรรค์ วรรณคดีเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ วรรณคดีมากที่สุด กวี
นําเหตุการณที่ประทับใจตน สังคมและ วัฒนธรรมในยุคสมัยนั้นมานิพนธ์ ขึ้นเป็นวรรณคดี

7

คอลัมน์ในดวงใจ

ความรู้สึก : สนุกสนาน ตื่น
เต้นเพราะเป็นการนําเสนองาน

ครั้งแรกในรายวิชานี้

ปัญหา : อินเทอร์ เน็ตช้า คําตถ่อากมา:รปคัสจดรจี้าัมยงาใสกดรททีีร่่สมคุี์ดผร?รลณ

ยุคสมัยของวรรณคดี 8

สุโขทัย ศิลาจารึกหลักที่1 สันนิษฐานว่าพ่อขุนราม คําแหง
มหาราชนิพนธ์ เอง จารึกข้นประมาณ 1835
ไตรภูมิพระร่วง พระมหาธรรมราชาที่1 (ลิไท)นิพนธ์ ขึ้น
เมื่อ 1896
ตํารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (นางนพมาศ) นางนพมาศหรือ
ธิดาของพระศรีมโหสถกับนางเรวดี พิมพ์ คร้งแรก
2457 สํานวนแต่งใหม่ ระหว่ าง ร.2-ร.3

อยุธยา เพิ่มเติมกาพย์ เห่ เรือ ดาหลัง(อิเหนาใหญ่ ) อิเหนา(อิเหนา
เล็ก) กาพย์ห่อโคลงระพาส ธารทองแดง
พระมหาราชครู สมุทโฆษคําฉันท์ (ตอนต้น ) เสือโคคําฉันท์
สมเด็จพระนารายณ์ สมุทโฆษคําฉันท์ โคลงพาลีสอนน้อง
เพลงยาว
กวีผู้ไ้ม่ปรากฏนาม โคลงนิราศหริกุญไชย
พระศรีมโหสถ กาพย์ห่อโคลง โคลงอักษรสามหม

ธนบุรี โคลงยอพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ผู้ แต่ง
นายสวน(มหาดเล็ก)
ลิลิตเพชรมงกุฎ ผู้ แต่งหลวงสรวิชิต พระยา
คลัง(หน)
รามเกียรติ ผู้แต่งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน ผู้ แต่งพระมหานุ
ภาพ

9

รัตนโกสินทร์

รัตนโกสินทร์ ตอนต้น(ร.1-ร.3) รัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.4-ร.6)

รามเกียรติฉบับพระราช อิศริญาณภาษิต ร.4
นิพนธ์ ร.1 นิราศลอนดอน ร.4
กฎหมายตราสามดวง ร.1 ไกลบ้ าน ร.5
บทละครรํา อุณรุท ร.1 ลิลิตนิทราชาคริต ร.5
บทเสภาขุนช้ างขุนแผน หัวใจนักรบ ร.6
ร.2 พระร่ วง ร.6
บทละครนอก นิราศนครวัด ร.6
(สังขท์ อง\ไกร นิทานเวตาล ร.6
ทอง\คาวี)ร.2 สามัคคีเภทคําฉันท์ร.6
นิราศภูเขาทอง\สุภาษิต
สอนหญิง

10

คอลัมน์ในดวงใจ

ความรู้สึก : สนุกในการศึกษาว่าในแต่
ละสมัยมีวรรณคดีเรื่อง ใดบ้าง

ปัญหา : ตามอาจารย์ คําถาม :สมัยใดเป็น
ไม่ทัน ยุค

ที่วรรณคดีเฟื่ องฟู
ที่สุด?

11

การศึกษาขนบวรรณคดีไทย

คําประฌามพจน์ :บท แบบแผนทาง
ไหว้ครูมักอยู่ตอนต้น ฉันทลักษณ์

ก่อนดําเนินเรื่อง

จารีตนิยม

บทพรรณนา ความเปรียบ
พรรณนาธรรมชาติ ในเชิงต่างๆ
พรรณนาบทอัศจรรย์
พรรณนาบทชมโฉม
พรรณนาขบวนทัพ
พรรณนาสระสรง
ทรงเครื่อง

12

พระเอกฉบับวรรณคดี

มีจิตวิญญาณการผจญภัย : พระอภัยมณี
ออกไปใช้ ชีวิตเพื่อแสวงหาอัตลักษณ์ : พระสังข์
ครองดิน\ครองทรัพย์ : ไกรทอง ขุนแผน

ตัวละครฝ่ายปฏิปักษ์

เป็นฝ่ายต่อต้าน ตัวละครหลัก(ตัวโกง)
ทศกัณฐ์ : ตัวร้ าย เจ้ าชู ้ ศัตรู : พระราม พระ
ลักษณ์ หนุมาน ฯลฯ สุเทษณ์ : ไม่ คํานึงถึง
ความรู้สึกของผู้อ่าน หมกมุ่นในตัณหาราคะ

นางเอกฉบับในวรรณคดี

มีความซ่อสัตย์ : นางตะเภาทอง\มัทรี
มารยาทงาม : บุษบา
รูปร่างงดงาม : นางสีดา\นางละเวงวัณฬา
ขยัน : รจนา

พระเอกนอกขนบ

เป็นเจ้าชายที่รูปงาม บอบบาง เอวบาง ไม่ เก่ง
การรบการต่ อสุู ไ้ ม่ เก่ งการทําสงคราม : พระป่น
ทอง

13

คอลัมน์ในดวงใจ

ความรู้สึก : ตื่นเต้นในการ
เรียนบทพรรณนา

ปัญเนห็ตา ช:้าอินเทอร์ คําถวศารึมรกณษ:ทาํคขาดไนีมไบทต้ยอ?ง

14

วรรณคดีมีชีวิต

มรดกวรรณคดี=ตัวเรื่อง\ตัวบท รูปแบบศิลปะที่
ถ่ายทอดวรรณคดีเรื่องนี้มาแต่ โบราณ ยังคงได้ รับการ
สืบทอด และตกทอดจนมาถึงปัจจุบันยังคงอยู่ในการรับรู้
ของคนยุคนี้

มรดกวรรณคดีท่มีชีวิต=วรรณคดีเรื่องนี้ไม่ไ่ด้ตกทอด
ดำรงอยู่อย่างนิ่งๆ แต่ว่า ตกทอดมาแล้วเป็นที่สนใจของ
ผู้คนจนมีการนํามาดัดแปลง พลิกแพลงตีความ นํา เสนอ
ในลักษณะต่างๆ สะท้อนให้ เห็น อารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ
ของผู้ คนท่มีต่อวรรณคดีเร่องนี้มีการกล่าวถึงการนําไป
ปรับใช้ จึงทําให้ วรรณคดีเรื่องนี้มีชีวิต

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26


Click to View FlipBook Version