03.10.2019 Views

Dhamma Yatra-ebook

Dhamma Yatra 5 countries

Dhamma Yatra 5 countries

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ธรรมยาตรา<br />

แผ่นดิน<br />

๕Combodia Laos Myanmar Thailand Vietnam<br />

l l l l<br />

พระอริยสงฆ์<br />

ต า ม ร อ ย<br />

ลุ่ ม นํ้ า โ ข ง


ธรรมยาตรา<br />

แผ่นดิน<br />

๕Combodia l Laos l Myanmar l Thailand l Vietnam<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

คติธรรม ๗<br />

v สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก, ไทย<br />

v พระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน ดำรงบุญ ประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนา<br />

สัมพันธ์ลาว, สปป.ลาว<br />

v Most Venerable Dr. Bhaddanta Kumaraabhivamsa, The Chairman of the<br />

State Samgha Mahanayaka Committee, เมียนมา<br />

v สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี (เทพวงศ์), ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

v Most Venerable Dr. Thich Thien Tam, Vice President of The Executive<br />

Council of VBS, Vietnam, Deputy Head of the International Buddhist<br />

Department of VBS., เวียดนาม<br />

v สมเด็จพระพุทธชินวงศ์, เจ้าคณะใหญ่หนกลาง, ไทย<br />

v พระธรรมวรนายก, ประธานโครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปศึกษาและปฏิบัติธรรมเชิงลึก, ไทย<br />

v พระธรรมโพธิวงศ์, หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล, ไทย<br />

สารจากคณะผู้บริหารฆราวาส ๒๓<br />

v ดร.วินัย วีระภุชงค์ ประธานมูลนิธิวีระภุชงค์ ประธานที่ปรึกษา<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

v คุณชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

v Dr. Khin Shwe, The Chairman of the Sasana Nuggaha Association<br />

of All Myanmar Theravada Buddhists<br />

v ดร.อภัย จันทนจุลกะ รองประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

v พลเอก วิชิต ยาทิพย์ รองประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

v คุณประทีป เฉลิมภัทรกุล ประธานที่ปรึกษาชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

v ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

๑. ก่อกำเนิด ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง ๓๖<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

๒. บันทึก ๑๕ วันเดินทาง ๕๖<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

วันที่ ๑ พุทธศาสนาเกรียงไกร ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

- วันที่ ๒ ศรัทธาโชติช่วง สู่แผ่นดินต้นบุญ<br />

- วันที่ ๓ กุศลเจตนา สามัคคีชาวพุทธ<br />

วันที่ ๔ พุทธไมตรี องอาจอบอุ่น<br />

วันที่ ๕ อารยธรรมพุทธ บารมีเรืองรอง<br />

วันที่ ๖ สามัคคีธรรม ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

เส้นทางธรรมยาตรา


- วันที่ ๗ พลังปวงชน รวมดวงใจเป็นหนึ่ง<br />

- วันที่ ๘ สิริมงคล อริยธรรมรุ่งเรือง<br />

- วันที่ ๙ ธรรมบำเพ็ญ มหาบุญ ๕ แผ่นดิน<br />

วันที่ ๑๐ กุศลมั่นคง เผยแผ่สารธรรม<br />

- วันที่ ๑๑ พุทธมิตร ปึกแผ่นมรรคธรรม<br />

วันที่ ๑๒ สุขไพบูลย์ ย้อนรอยสุวรรณภูมิ<br />

- วันที่ ๑๓ เมียนมาคารวตา แดนธำรงธรรม<br />

วันที่ ๑๔ สามัคคีธรรม นำความสำเร็จ<br />

วันที่ ๑๕ ลุ่มน้ำโขง สุวรรณภูมิแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง<br />

๓ กาลานุกรมพระพุทธศาสนาจากพุทธภูมิ-อินเดียสู่ลุ่มน้ำโขงสุวรรณภูมิ ๔๓๖<br />

โดย ดร.พารณี เจียรเกียรติ<br />

๔ ภาพข่าวในสื่อมวลชน ๔๘๖<br />

๕ ขออนุโมทนาบุญ ๔๙๐<br />

v คณะกรรมการบริหารงาน ชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

v คณะที่ปรึกษา ชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

v คณะธรรมยาตรา<br />

๖ บรรณานุกรม ๕๐๒


สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ<br />

สมเด็จพระสังฆราช<br />

สกลมหาสังฆปริณายก<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง 7<br />

คติธรรม


8 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 9<br />

คติธรรม<br />

คติธรรม<br />

พระอาจารย์ใหญ่<br />

พระมหางอน ดำรงบุญ


10 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 11<br />

คติธรรม<br />

คติธรรม<br />

Most Venerable<br />

Dr. Bhaddanta<br />

Kumaraabhivamsa


12 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 13<br />

คติธรรม<br />

คติธรรม<br />

สมเด็จพระอัคร<br />

มหาสังฆราชาธิบดี<br />

(เทพวงศ์)


14 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 15<br />

คติธรรม<br />

คติธรรม


16 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 17<br />

คติธรรม<br />

คติธรรม<br />

Most Venerable<br />

Dr. Thich Thien Tam


18 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 19<br />

คติธรรม<br />

คติธรรม<br />

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์<br />

คำนิยม<br />

โครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำโขง จาก<br />

ประเทศไทย กัมพูชา เมียนมา เวียดนาม นับเป็นโครงการที่ดี เพราะมีเจตนา<br />

และเป้าหมายอันบริสุทธิ์ รวมถึงเพื่อร่วมมือกันส่งเสริมงานเผยแผ่และปกป้อง<br />

คุ้มครองพระพุทธศาสนา ก่อให้เกิดความร่วมมือสามัคคี แลกเปลี่ยนเรียนรู้<br />

วัฒนธรรมประเพณีระหว่างชาวพุทธในกลุ่มลุ่มแม่น้ำโขงให้เกิดความเป็นหนึ่ง<br />

เดียวกัน สร้างความเจริญรุ่งเรืองและด ำรงมั่นของพระพุทธศาสนา แม้ว่าโครงการนี้<br />

จะมีขั้นตอนการประสานงานต่างๆ มากมาย เนื่องจากจะต้องติดต่อประสานงาน<br />

กับหลายประเทศ แต่ทุกอย่างก็สำเร็จเรียบร้อย ปราศจากอุปสรรคข้อขัดข้องใดๆ<br />

เพราะความตั้งใจดีของคุณสุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย<br />

๙๘๐ ซึ่งรับภาระดำเนินงานทุกภาคส่วน และคุณวินัย วีระภุชงค์ ประธานมูลนิธิ<br />

วีระภุชงค์<br />

จึงขออนุโมทนาไว้ ณ โอกาสนี้ และขอให้รักษาโครงการดีๆ เช่นนี้ให้มั่นคง<br />

และเจริญก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้น<br />

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์<br />

กรรมการมหาเถรสมาคม, เจ้าคณะใหญ่หนกลาง<br />

ประธานกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ<br />

เจ้าอาวาสวัดพิชยญาติการาม วรวิหาร<br />

อารัมภบท<br />

“ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำโขง” (ไทย ลาว<br />

กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา) ระหว่างวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ถึงวันที่ ๔ มิถุนายน<br />

พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่ผ่านมานั้นนับเป็นเหตุการณ์ที่ต้องบันทึกไว้เป็นประวัติศาตร์อัน<br />

เกิดจากการหลอมรวมจิตใจและศรัทธาในพระพุทธศาสนาของประชาชนทั้ง ๕<br />

ประเทศลุ่มน้ำโขงอย่างแนบแน่น โดยมีสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ และมูลนิธิ<br />

วีระภุชงค์ ที่มี ดร.วินัย วีระภุชงค์เป็นประธาน เตรียมงานมาเป็นแรมปี ต้องฝ่าฟัน<br />

อุปสรรคต่างๆ มากมาย กว่าจะจัดขึ้นได้สำเร็จด้วยแรงศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา<br />

จุดเริ่มต้นของโครงการฯ นี้เนื่องมาจากที่ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการ<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ได้สนทนากับประธานศูนย์กลางองค์การพุทธ<br />

ศาสนสัมพันธ์ลาว (ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก สมเด็จพระสังฆราช สปป.ลาว)”<br />

หลวงปู่พระมหาผ่องได้ย้ำว่า อยากเห็น “สมณธรรม นำสันติภาพ” อยากเห็น<br />

ชาวพุทธรวมพลังกันช่วยปกป้อง รวมพลังกันช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วย<br />

คำสอนอันเป็นวิทยาศาสตร์ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อความสุขสงบของ<br />

ชาวโลก โดยเฉพาะความสัมพันธ์อันดีงามบนแผ่นดินสุวรรณภูมิของกลุ่มประเทศ<br />

ลุ่มน้ำโขงที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ<br />

พระพุทธศาสนาคือหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นระบบแนวทางการ<br />

ดำเนินชีวิตที่ถูกต้องของมนุษย์ เพื่อใช้แก้ปัญหาและการพัฒนาชีวิต สังคม และ<br />

สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวเนื่องกับมนุษย์ เป็นหลักคำสอนที่สำคัญ มีความโดดเด่นเป็น<br />

การเฉพาะที่ศาสนิกชนพึงทำความเข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะเกิดความมั่นใจ<br />

และสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตได้อย่างถูกต้อง ตามเจตนารมณ์<br />

ของพระพุทธองค์ที่มีพระมหากรุณาธิคุณต่อสรรพสัตว์ทั้งปวง<br />

พระธรรมวรนายก


20 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 21<br />

คติธรรม<br />

คติธรรม<br />

หลักการสำคัญของพระพุทธศาสนา<br />

หลักการ ๓ หมายถึง สาระสำคัญที่ควรยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ ได้แก่<br />

๑. การไม่ทำบาปทั้งปวง ด้วยการไม่ประพฤติชั่วทั้งกาย วาจา<br />

และใจ เช่น ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่ลักขโมย ไม่ผูกพยาบาท<br />

๒. การทำกุศลให้ถึงพร้อม ด้วยการทำความดีทุกอย่างทั้งกาย วาจา<br />

และใจ เช่น ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่โลภมาก และมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่<br />

๓. การทำจิตใจให้ผ่องใส ด้วยการละบาปทั้งมวล ทำใจให้ปราศจาก<br />

กิเลส ความโลภ โกรธ หลง ถือศีลและบำเพ็ญกุศลให้ถึงพร้อมด้วย<br />

การปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา<br />

อุดมการณ์ ๔ หมายถึง หลักการที่ทรงวางไว้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้บรรลุ<br />

เป้าหมายที่วางไว้ ได้แก่<br />

๑. ความอดทน ให้มีความอดกลั้น ไม่ทำบาปทั้งกาย วาจา และใจ<br />

๒. ความไม่เบียดเบียน ให้งดเว้นจากการทำร้าย รบกวน หรือ<br />

เบียดเบียนผู้อื่น<br />

๓. ความสงบ คือ การปฏิบัติตนให้สงบทั้งกาย วาจา และใจ<br />

๔. นิพพาน คือ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในทางพุทธศาสนา<br />

ที่จะเกิดขึ้นได้จากการดำเนินชีวิต ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ<br />

การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียร<br />

ชอบ ความระลึกชอบ และความตั้งใจมั่นชอบ<br />

วิธีการ ๖ ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติได้แก่<br />

๑. ไม่ว่าร้าย คือ ไม่กล่าวให้ร้ายผู้อื่น<br />

๒. ไม่ทำร้าย คือ ไม่เบียดเบียน ไม่ฆ่าผู้อื่น<br />

๓. สำรวมในปาติโมกข์ คือการเคารพระเบียบ กติกา กฎหมาย และ<br />

ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของสังคม<br />

๔. รู้จักประมาณ คือ รู้จักพอดี พอกิน พออยู่ หรือจะกล่าวแบบ<br />

ปัจจุบันว่าถือหลักเศรษฐกิจพอเพียง<br />

๕. อยู่ในสถานที่ที่สงัด คือ อยู่ในสถานที่ที่สงบและมีสิ่งแวดล้อมที่<br />

เหมาะสม<br />

๖. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ คือ การฝึกหัดชำระจิต หมั่นทำสมาธิภาวนา<br />

การรวมตัวของชาวพุทธ ๕ แผ่นดินได้เช่นนี้ เหมือนเป็นพลังอันยิ่งใหญ่ที่จะ<br />

ทำให้งานนี้ลุล่วงสำเร็จได้ ความศรัทธาในพุทธศาสนาเป็นของจริงซึ่งอยู่ในจิตใจ<br />

ของพวกเราเสมอมา ด้วยว่าพวกเราทั้ง ๕ แผ่นดินมีพระพุทธเจ้าองค์เดียวกัน<br />

คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โครงการนี้จึงเกิดขึ้นมาเพื่อรณรงค์ให้มวล<br />

มนุษยชาตินำหลักการสันติธรรมมาปฏิบัติให้เกิดสันติสุข ปฏิบัติตามมรรคาที่<br />

พระพุทธองค์มอบไว้ให้ โดยคณะธรรมยาตราใช้วิธีการถอดแนวทางปฏิบัติ<br />

ด้วยการศึกษาชีวิตและผลงานของพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดี<br />

ปฏิบัติชอบ และน้อมนำมาปฏิบัติตามท่าน การได้ร่วมเดินทางครั้งนี้หลวงพ่อมี<br />

ความยินดีปีติมาก มีความสุขที่ได้เผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักพระศาสดาที่<br />

พระพุทธองค์ทรงนำปฏิบัติมาช้านาน และนำหลักธรรมเหล่านี้มาประยุกต์ใช้<br />

ให้เป็นประโยชน์ต่อไปและตลอดไป<br />

พระธรรมวรนายก<br />

ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑ เจ้าอาวาสวัดพระนารายณ์มหาราช วรวิหาร


22 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 23<br />

คติธรรม<br />

สาร<br />

พระธรรมโพธิวงศ์<br />

ด้วยพระพุทธานุภาพแห่งศรัทธาของสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ที่มีสมานฉันท์<br />

ร่วมใจกันจัดโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน นับว่าเป็นภารกิจสำคัญยิ่ง ที่มุ่งมั่น<br />

ตั้งใจสู่ความสันติสุขสงบร่มเย็นในภาคพื้นสุวรรณภูมิ แผ่นดินแห่งความสำเร็จ<br />

ในความร่วมมือกันด้วยนำหลักพุทธธรรมมาปรับและพัฒนาให้ปาฏิหาริย์ของ<br />

ความสำเร็จเกิดขึ้นร่วมกัน<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัยมี ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันฯ ได้<br />

ประสานให้จัดกิจกรรมโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินขึ้นในปี ๒๕๖๐ อันมี<br />

ประเทศไทย ประเทศเมียนมา ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว และประเทศ<br />

กัมพูชา เติมส่วนขาด เสริมส่วนสร้าง ทางด้านความเข้มแข็ง ด้วยมนุษยธรรม<br />

ประสานมือประสานใจในภารกิจสามัคคี นับว่าเป็นภารกิจที่ควรอนุโมทนาอย่างยิ่ง<br />

ที่สายราชการรัฐ งานคณะสงฆ์ ประชาชน นักธุรกิจ ทุกภาคส่วนก่อให้เกิดพลัง<br />

แห่งความสำเร็จร่วมกันอย่างมหัศจรรย์<br />

ขออนุโมทนา<br />

(พระธรรมโพธิวงศ์)<br />

เจ้าอาวาสวัดไทยพุทธคยา<br />

หัวหน้าพระธรรมทูต สายประเทศอินเดีย-เนปาล<br />

มูลนิธิวีระภุชงค์มีวัตถุประสงค์ คือ ร่วมทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ทั้งในด้าน<br />

พุทธประเพณี ด้านพุทธสถาน และอุปถัมภ์การทำงานเผยแผ่พระพุทธ<br />

ศาสนาในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยเฉพาะในภาคพื้นลุ่มแม่น้ำโขง โดย<br />

ได้ให้การสนับสนุนโครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปศึกษาและปฏิบัติธรรมเชิงลึก ณ<br />

แดนพุทธภูมิ อินเดีย-เนปาลมา ๖ รุ่น เพื่อให้ชาวพุทธมาศึกษาและปฏิบัติตาม<br />

พุทธธรรม เพื่อพัฒนาศักยภาพตนเองให้มีคุณภาพจนถึงขั้นสูง คือ พ้นทุกข์<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง นับเป็นงานตรง<br />

กับกุศลเจตนาของมูลนิธิวีระภุชงค์ และทางมูลนิธิฯ ก็ได้รับโอกาสโดยมีส่วน<br />

สนับสนุนงานนี้จนดำเนินไปสำเร็จอย่างดีแล้ว<br />

ข้าพเจ้าขออนุโมทนาต่อคณะกรรมการ คณะทำงาน สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย<br />

๙๘๐ และชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ที่ร่วมกันดำเนินการงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง จนได้รับการตอบรับและมีส่วนร่วมอย่างล้นหลาม<br />

จากประชาชนทั้ง ๕ ประเทศ คือ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา ผลงานนี้<br />

นับเป็นการสืบสานศาสนาพุทธให้อยู่คู่แผ่นดินลุ่มน้ำโขงตราบนานเท่านาน<br />

ขออานุภาพคุณพระศรีรัตนตรัยและกุศลจริยาที่ท่านทั้งหลายได้ร่วมกัน<br />

บำเพ็ญแล้วนั้น จงเป็นพลวปัจจัยช่วยเกื้อหนุนให้คณะกรรมการและคณะทำงาน<br />

ทุกท่าน ตลอดทั้งผู้มีส่วนช่วยเหลือในกุศลกิจครั้งนี้ จงถึงความเจริญรุ่งเรืองใน<br />

หน้าที่การงาน ประสบแต่สรรพมิ่งมงคล สมเจตนาปรารถนาทุกประการเทอญ<br />

ดร.วินัย วีระภุชงค์<br />

ประธานมูลนิธิวีระภุชงค์<br />

ดร.วินัย วีระภุชงค์


24 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 25<br />

สาร<br />

สาร<br />

คุณชัช ชลวร<br />

ข้ าพเจ้าขออนุโมทนาในกิจอันเป็นมหากุศลของคณะทำงานสถาบันโพธิคยา<br />

วิชชาลัย ๙๘๐ และชมรมโพธิคยา ๙๘๐ และหน่วยงานภาคีทั้ง ๕ ประเทศ<br />

ทุกท่าน ได้อุทิศตนเสียสละมุ่งมั่นทุ่มเทดำเนินงาน “งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง” ได้สำเร็จอย่างดีงาม รวมทั้งขออนุโมทนากับ<br />

ชาวพุทธทั้ง ๕ ประเทศ ที่ได้มาบำเพ็ญร่วมกันกับคณะธรรมยาตราอย่างมากมาย<br />

เป็นประวัติการณ์<br />

ขออาราธนาเดชานุภาพแห่งพระรัตนตรัย และบุญกุศลที่ข้าพเจ้าบำเพ็ญมา<br />

ขอพรชัยมงคลบังเกิดมีแด่ทุกท่าน จงเจริญ ปราศจากโรคภัย มีความสุขกาย<br />

สุขใจ ตลอดกาลเป็นนิตย์เทอญ<br />

Dr. Khin Shwe<br />

นายชัช ชลวร<br />

ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐


26 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 27<br />

สาร<br />

สาร<br />

ดร.อภัย จันทนจุลกะ<br />

พ ระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ในดินแดนสุวรรณภูมิถึงปัจจุบันเป็นเวลากว่า<br />

สองพันปี ทำให้พี ่น้องประชาชนในดินแดนสุวรรณภูมิได้ถือปฏิบัติตาม<br />

หลักศาสนาและคำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยดีมาโดยตลอด<br />

จากการที่สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ โดยคณะบุคคลที่มีความเคารพศรัทธา<br />

และเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ได้ร่วมกันดำเนินการในกิจกรรมต่างๆ ทางศาสนา<br />

ด้วยดีหลายประการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ในครั้งนี้ก็มีศรัทธาเป็นอย่างยิ่งที่<br />

จะดำเนินการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจัดงาน “ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอย<br />

พระอริยสงฆ์ลุ ่มน้ำโขง” ได้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่งดังปรากฏในหนังสือ<br />

ฉบับนี้<br />

ขออนุโมทนาและศรัทธาเป็นอย่างยิ่งต่อการดำเนินงานของทุกๆ ท่านมา ณ<br />

ที่นี้<br />

ดร.อภัย จันทนจุลกะ<br />

รองประธานชมรมโพธิยา ๙๘๐<br />

คำนิยม<br />

“ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำโขง” เป็นโครงการ<br />

ที่ได้ภาพ ได้ใจ และได้บุญ<br />

ได้ภาพ คือ มิตรภาพของ ๕ ประเทศ กล่าวคือ ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ราช-<br />

อาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม<br />

ได้ใจ เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ด้วยมิติทางศาสนา ศาสนาเป็นเรื่องของ<br />

จิตใจ การธรรมยาตราของพระสงฆ์ไปตามประเทศต่างๆ นั้น เป็นการย้อนรอย<br />

และปฏิบัติตามพระพุทธดำรัสในการส่งพระสาวกไปประกาศพระศาสนาครั้งแรก<br />

ที่ว่า “จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย” แปลว่า<br />

ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเดินทางไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแห่งประชาชน<br />

และอนุเคราะห์ชาวโลกเถิด<br />

และประการสุดท้าย ได้บุญ การได้พบพระ ได้ถวายภัตตาหารพระ สนทนา<br />

กับพระสงฆ์เป็นความสุขของชาวพุทธ เป็นมงคลชีวิต ดังนั้นการที่ท่านได้อาราธนา<br />

พระสงฆ์เดินทางไปตามประเทศต่างๆ ก็คือการนำบุญไปมอบให้มวลมนุษยชาติ<br />

อย่างแท้จริง เมื่อเราให้ความเจริญแก่ศาสนา ศาสนาจะให้ความเจริญแก่เรา<br />

จากการที่ผมได้เข้าร่วมกิจกรรมบุญนี้มาโดยตลอด รู้สึกชื่นชมและอนุโมทนา<br />

เป็นอย่างยิ่ง โดยเริ่มต้นจากคุณสุภชัย วีระภุชงค์ โดยใช้สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย<br />

๙๘๐ เป็นแกนนำหลักและมูลนิธิวีระภุชงค์ มีคุณวินัย วีระภุชงค์ ประธานมูลนิธิ<br />

ให้การสนับสนุนอย่างเต็มกำลังในทุกเรื่อง ขอให้คณะทำงานโครงการนี้จงมีความ<br />

เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าในสิ่งอันพึงประสงค์ทุกประการ<br />

พลเอก วิชิต ยาทิพย์<br />

พลเอก วิชิต ยาทิพย์<br />

รองประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐


28 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 29<br />

สาร<br />

สาร<br />

คุณประทีบ เฉลิมภัทรกุล<br />

เ<br />

มื่อพูดถึงพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาประจำชาติไทยแล้ว อดที่จะพูดถึงการทำนุ-<br />

บำรุงพุทธศาสนาไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรเอกชนที ่ได้เข้ามามีบทบาท<br />

ในการส่งเสริมพุทธศาสนาให้กว้างใหญ่ไพศาลยิ่งขึ้นที่มีชื่อว่า “สถาบันโพธิคยา<br />

วิชชาลัย ๙๘๐” มีมูลนิธิวีระภุชงค์ โดยคุณพ่อวินัย วีระภุชงค์ให้การสนับสนุน<br />

มีคุณสุภชัย วีระภุชงค์เป็นเลขาธิการ<br />

แต่เดิมสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พยายามอย่างยิ่งที่จะเผยแผ่พระพุทธ<br />

ศาสนา โดยมีเป้าหมายหลักภายใต้ชื่อ “พุทธพลิกโลก” ต่อมาแนวความคิด<br />

ดังกล่าวถูกนำมาขยายและทำให้เกิดเป็นรูปธรรมภายใต้ชื่อ “พุทธพลิกสุวรรณภูมิ”<br />

และมีการจัดโครงการ “ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน” เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์<br />

ด้วยการเดินทางตามรอยพระอริยสงฆ์ในประเทศลุ่มน้ำโขง ๕ ประเทศ อันได้แก่<br />

ไทย กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม ซึ่งล้วนแต่เป็นประเทศที่ประชาชนส่วน<br />

ใหญ่นับถือศาสนาพุทธทั้งสิ้น แม้ประเทศเหล่านี้จะมีวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม<br />

และความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันก็ตาม แต่สิ่งที่เหมือนกันคือประเทศเหล่านี้นับถือ<br />

พุทธศาสนาและมีศาสดาองค์เดียวกันคือพระพุทธเจ้า เมื่อสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย<br />

๙๘๐ ดำริให้จัดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน และประสานงานไปยังผู้นำของประเทศ<br />

และผู้นำทางศาสนาของประเทศเหล่านั ้น จะได้รับการตอบรับด้วยความยินดี<br />

อย่างยิ่ง และให้การสนับสนุนอย่างดีเยี่ยม<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินเพิ่งจัดเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐<br />

รวม ๑๕ วัน ได้เป็นที่ประจักษ์แก่ชาวโลกและพุทธศาสนาชิกทั ้งหลายแล้วว่า<br />

พุทธศาสนาหาได้เป็นของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เป็นศาสนาสากลที่ทุก<br />

ประเทศสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย สมคำกล่าวที่ว่า “พุทธพลิกโลก”<br />

จริงๆ หวังว่าการจัดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินครั้งนี้จะมิใช่ครั้งแรกและครั้งสุดท้าย<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ คงมีธรรมยาตราครั้งต่อๆ ไป โปรดอดใจรอ<br />

ประทีป เฉลิมภัทรกุล<br />

ประธานที่ปรึกษาชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

ง<br />

านธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง จัดขึ้นเป็นครั้ง<br />

แรกโดยสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ชมรมโพธิคยา ๙๘๐ และมูลนิธิ<br />

วีระภุชงค์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๑ พฤษภาคมถึงวันอาทิตย์ที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ.<br />

๒๕๖๐ ที่ผ่านมา คณะธรรมยาตราเริ่มต้นเดินทางจากบริเวณสถานที่ก่อสร้าง<br />

พระอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ข้าม<br />

ไปสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ<br />

สังคมนิยมเวียดนาม ผ่านประเทศไทยเพื่อเข้าสู่สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา<br />

และกลับมาทำพิธีปิดที่วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙ จังหวัดสมุทรปราการ<br />

รวมเดินทางจำนวน ๑๕ วัน ทำกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาที่วัดและสถานที่<br />

สำคัญจำนวน ๓๔ แห่ง ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ๕ ประเทศ จำนวน ๑๕ ต้น<br />

มีผู้คนมาร่วมกิจกรรมกุศลกับคณะธรรมยาตราทุกจุดที่คณะยาตราผ่านไปจำนวน<br />

มากมายท่วมท้น<br />

ความสำเร็จที่งดงามด้วยกุศลสามัคคีธรรมที่ทุกท่านได้บำเพ็ญร่วมกันกลาย<br />

เป็นประวัติศาสตร์ที่ชาวพุทธ ๕ แผ่นดินลุ่มน้ำโขงบันทึกไว้ พุทธบริษัทร่วมมือ<br />

ร่วมใจหนุนเสริมการนำพุทธธรรมไปใช้ในวิถีชีวิตและการปฏิบัติงานทุกภาคส่วน<br />

เพื่อสันติภาพประชาชนลุ่มน้ำโขงแผ่นดินสุวรรณภูมิ งานนี้สามารถเดินหน้า<br />

ไปและสำเร็จราบรื่นด้วยความสามัคคี ได้เชื่อมความสัมพันธ์ในองค์กรภาคี<br />

เครือข่ายทุกภาคส่วนจาก ๕ ประเทศ ได้ผนึกกำลังน้ำใจเป็นหนึ่งเดียวและหา<br />

แนวทางทำงานเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนาร่วมกัน ด้วยตระหนักรู้คุณค่า<br />

อันประเสริฐของพุทธธรรมแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่ายิ่งใหญ่และ<br />

นำสันติภาพมาสู่ภูมิภาคได้จริง เหมือนดังครั้งอดีตที่เคยรุ่งเรืองในแผ่นดิน<br />

สุวรรณภูมิ นอกจากนี้เหล่าพุทธบริษัททั้ง ๕ ประเทศยังตั้งใจทำงานเพื่อให้<br />

สอดคล้องกับนโยบาย ๓ เสาหลักอาเซียน โดยมุ่งเน้นเสาที่ ๓ คือการสร้าง<br />

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเสริม-<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์


30 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 31<br />

สาร<br />

สาร<br />

สร้างความสามัคคี แลกเปลี่ยนความรู้ วัฒนธรรม ประเพณี ระหว่างชาวพุทธ<br />

ในกลุ่มลุ่มน้ำโขงและประเทศสมาชิกอาเซียนให้มีความเป็นหนึ่งเดียว<br />

ความดีงามที่เกิดขึ้นในงานธรรมยาตราครั้งนี้มีจุดเริ่มแรกจากดินแดนพุทธภูมิ<br />

แดนกำเนิดพระพุทธศาสนา เชื่อมต่อมายังดินแดนลุ่มน้ำโขงแผ่นดินสุวรรณภูมิ<br />

การก่อกำเนิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินอย่างเป็นรูปธรรมนั้น เริ่มต้นจาก<br />

พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก อดีตประธานศูนย์กลางองค์การ<br />

พระพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว ท่านได้เมตตามอบแนวทางนโยบายไว้ในขณะที่<br />

อาพาธหนักก่อนละสังขารในอายุ ๑๐๐ ปีว่า ให้เดินหน้ามุ่งมั่นทำงานต่อไปใน<br />

แนวทางพุทธพลิกสุวรรณภูมิ และงานนี้จะเป็นงานที่เป็นประวัติศาสตร์ต่อไป<br />

ชั่วกาลนาน สถาบันโพธิคยาฯ ได้น้อมรับคำแนะนำและขยายผลต่อมาเป็นงาน<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง เป็นการร่วมมือทำงาน<br />

ระหว่างภาคีเครือข่าย ๕ ประเทศอันเปรียบเสมือนการรวบรวมญาติธรรมใน<br />

ดินแดนลุ่มน้ำโขงมาบำเพ็ญกุศลบารมีร่วมกัน เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ในการนำ<br />

พุทธธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาปรับใช้กับทุกภาคส่วน<br />

เพื่อให้เกิดความร่มเย็นที่มาจากสันติภาพทั่วแผ่นดิน นอกจากนี้เรายังได้ใช้โอกาส<br />

มงคลนี้ศึกษาชีวิตและผลงานของพระอริยสงฆ์ในลุ่มน้ำโขง พระอริยสงฆ์ของ ๕<br />

ประเทศผู้นำพระธรรมคำสอนองค์พระศาสดามาปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจนได้ผลจริง<br />

ศรัทธามุ่งมั่นตั้งใจของคณะทำงานในการทำงานเผยแผ่และปกป้องพุทธศาสนา<br />

ของพวกเราเพื่อสร้างกองทัพธรรมพลิกสุวรณภูมิโดยธรรมนั้น ผมเชื่อว่าทวยเทพ<br />

เทวดาในแผ่นดินลุ่มน้ำโขงจะต้องร่วมอนุโมทนาบุญกับพวกเราชาวโพธิคยา<br />

ทุกท่าน ที่ช่วยกันทำงานพระพุทธศาสนาอย่างทุ่มเทใจอุทิศตนเสียสละ ทำงาน<br />

ด้วยความสุข ด้วยหัวใจพุทธ รู้ตื่น รู้เบิกบาน เพื ่อสานฝันร่วมกันในภพชาตินี้<br />

ผมเชื่อในกฎธรรมชาติ บาปบุญคุณโทษ เชื่อในภพชาติ และเชื่อในความดีงามที่<br />

มนุษย์ทุกคนมี งานธรรมยาตราเป็นการสร้างแรงบันดาลใจชวนกันให้ดำเนินชีวิต<br />

ในหลักอริยมรรค นำแก่นธรรมมาใช้ในชีวิตและช่วยเหลือผู้อื่น ด้วยเข้าใจดีว่า<br />

ชีวิตนี้สั้นนัก เราเจอกันเพื่อพลัดพรากจากกัน เราเกิดเพื่อรอวันที่จะตายจากกัน<br />

ใช้ชีวิตให้คุ้ม แยกแยะให้ออกระหว่างดีและชั่ว ทำชีวิตทุกวันให้ถูกต้องตาม<br />

ครรลองคลองธรรม อย่าใช้อำนาจเป็นธรรมแต่จงใช้ธรรมเป็นอำนาจ<br />

สุดท้ายผมขอให้ทุกท่านร่วมมือร่วมใจกันต่อไปกับงานธรรมยาตรา ๖ แผ่นดิน<br />

ครั้งที่ ๒ ซึ่งครั้งนี้ประเทศจีนเข้ามาร่วมด้วย รวมเป็นไทย เมียนมา จีน ลาว<br />

เวียดนาม กัมพูชา จะจัดขึ้นในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ นี้ ขอเชิญช่วยกันทุก<br />

แรงทุกกำลังใจพลิกแผ่นดินลุ่มน้ำโขงให้เรืองรองเป็นแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง<br />

เหมือนเคยกล่าวขานดินแดนนี้ว่าดินแดนสุวรรณภูมิ<br />

ผมขออนุโมทนาบุญและกราบขอบพระคุณคณะสงฆ์ และขอขอบพระคุณ<br />

ทุกท่าน ที่ร่วมแรงร่วมใจเมตตาแนะนำช่วยเหลือในทุกเรื่องจนงานนี้สำเร็จ<br />

เรียบร้อยอย่างยอดเยี่ยม และขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยผู้ทรงคุณอัน<br />

ประเสริฐยิ่ง อำนวยผลกุศลบุญราศีที่คณะธรรมยาตราร่วมกับองค์กรผู้นำสงฆ์<br />

คณะสงฆ์ องค์กรภาคีทั้งรัฐบาลและหน่วยงานภาคเอกชน คณะอุบาสกอุบาสิกา<br />

ทั้ง ๕ ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมูลนิธิวีระภุชงค์ โดยคุณพ่อวินัย-คุณแม่<br />

นวลละออ วีระภุชงค์ ที่ให้การสนับสนุนสถาบันโพธิคยามาต่อเนื่องกว่า ๑๐ ปี<br />

ขอกุศลผลบุญจงอภิบาลปกป้องรักษาและเป็นประทีปธรรมในการส่องทางให้<br />

ทุกท่านพบแต่ความสันติสุข มีความก้าวหน้าทั้งทางโลกและทางธรรม ปรารถนา<br />

สิ่งใดที่ดีงามขอให้ได้ดังปรารถนาทุกประการ จนบรรลุสู่พระนิพพานด้วยเทอญ<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐


32 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 33<br />

สาร<br />

คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์<br />

OUR DEEPEST GRATITUDE TO<br />

H.E. Mr. HOR Namhong<br />

Deputy Prime Minister, Former Minister of Foreign Affairs and International Cooperation,<br />

Kingdom of Cambodia<br />

H.E. General Thanasak Patimaprakorn<br />

Former Deputy Prime Minister and Minister of Foreign Affairs,<br />

Kingdom of Thailand<br />

H.E. Mr. Xaysomphone Phomvihane<br />

President of Lao Front for National Development,<br />

PDR Laos<br />

H.E. Mr. Thura U Aung Ko,<br />

Union Minister, The Ministry of Religious and Cultural Affairs,<br />

Myanmar<br />

คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ฝ่ายสงฆ์ สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

พระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน ดำรงบุญ ประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว<br />

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว<br />

His Holiness Sayadaw Ku Mara สมเด็จพระสังฆราช สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา<br />

สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี เทพวงศ์ พระสังฆราช ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

Most Ven Dr. Thich Thien Tam Vice President of Executive Council Vietnam<br />

Buddhist Sangha (VBS), Abbot of Pho Minh Pagoha, Vietnam<br />

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ เจ้าคณะใหญ่หนกลาง เจ้าอาวาสวัดพิชยญาติการาม<br />

พระพรหมเวที เจ้าคณะภาค ๑๕ เจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม<br />

พระพรหมเสนาบดี รองเจ้าคณะภาค ๗ เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร<br />

พระธรรมวรนายก ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดพระนารายณ์มหาราชวรวิหาร จังหวัดนครราชสีมา<br />

ประธานโครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปศึกษาและปฏิบัติธรรมเชิงลึก ณ แดนพุทธภูมิ อินเดีย-เนปาล<br />

พระธรรมสุธี เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร<br />

นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย<br />

พระธรรมราชานุวัตร เจ้าคณะภาค ๖ เจ้าอาวาสวัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย<br />

พระเทพวิสุทธาภรณ์ เจ้าคณะเขตพระนคร เจ้าอาวาสวัดอินทรวิหาร<br />

พระราชปฏิภาณมุนี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร<br />

พระเมธีวรญาณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร<br />

พระกิตติโสภณวิเทศ เจ้าคณะแขวงปากคลองภาษีเจริญ เจ้าอาวาสวัดนาคปรก


34 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 35<br />

คณะทํางาน<br />

คณะทํางาน<br />

คณะทำงานสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

ผู้อำนวยการหลักสูตร: พระธรรมโพธิวงศ์<br />

รองผู้อำนวยการหลักสูตร: พระครูศรีปริยัติวิสุทธิ์<br />

คณะพระอาจารย์: พระราชปฏิภาณมุนี พระเมธีวรญาณ พระศรีโพธิวิเทศ พระครูวรกิตติโสภณ<br />

พระครูนิโครธบุญญากร พระครูปริยัติโพธิวิเทศ พระมหานิพนธ์ ญาณวีโร<br />

พระมหาไชยณรงค์ ภัททมุนี พระครูนรนารถเจติยาภิรักษ์<br />

คณะทำงานฝ่ายฆราวาส<br />

ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์: ดร.วินัย วีระภุชงค์<br />

ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐: คุณชัช ชลวร<br />

รองประธาน: ดร.อภัย จันทนจุลกะ พลเอก วิชิต ยาทิพย์ พลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา<br />

ประธานที่ปรึกษา: คุณประทีป เฉลิมภัทรกุล<br />

ที่ปรึกษา: คุณสมาน สุดโต<br />

เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ และเลขานุการชมรมโพธิคยา: ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

รองเลขาธิการ: คุณเกษม มูลจันทร์<br />

คณะผู้ช่วยเลขาธิการ: พันตำรวจโท อัฑฒาสิษฏฐ์ พุ่มเกตแก้ว<br />

ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ ดร.พารณี เจียรเกียรติ<br />

คณะทำงาน: คุณปราณี อยู่ศิริ คุณอันนา สุขสุกรี<br />

สถานที่ทำงาน<br />

ประเทศไทย: สถาบันโพธิคยาวิชาลัย ๙๘๐ เลขที่ ๗ ถนนงามวงศ์วาน-ซอยงามวงศ์วาน ๘ จังหวัดนนทบุรี<br />

อีเมล: ath1267@gmail.com โทรศัพท์ ๐-๒๕๕๕-๙๙๙๙<br />

ประเทศอินเดีย: Bodhigayavijjalaya 980 Institute, India P.O & Distt, Kushinagar 274403 (U.P.) INDIA<br />

โทรศัพท์: 919005007032, 919005007063, 919005007064<br />

หนังสือชุด พุทธพลิกสุวรรณภูมิ ลำดับ ๒<br />

หนังสือธรรมยาตรา ๕ ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง ครั้งที่ ๑ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

กาลานุกรมพระพุทธศาสนา พุทธภูมิสู่ลุ่มน้ำโขงสุวรรณภูมิ<br />

โดย ดร.พารณี เจียรเกียรติ<br />

พิมพ์ครั้ง ๑ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒<br />

จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม<br />

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ<br />

(National Library of Thailand Cataloging in Publication Data)<br />

ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง.-- กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีการพิมพ์, 2562.<br />

500 หน้า. -- (พุทธพลิกสุวรรณภูมิ)<br />

1. พุทธศาสนา -- การเผยแผ่. I. ดร.พารณี เจียรเกียรติ, ผู้แต่งร่วม. II. ชื่อเรื่อง.<br />

294.317<br />

ISBN 978-616-497-130-1<br />

บรรณาธิการบริหาร: ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ บรรณาธิการวิชาการ: ดร.พารณี เจียรเกียรติ<br />

บรรณาธิการศิลปกรรม: บุศริน ศรีสารคาม ซับเอดิเตอร์: อรวิภา อนิวรรตน์ชน<br />

ภาพถ่าย: Spring News, TNN24, Mr. Ye Moe Hein, นวพล เกษมโสภา, ขนิษฐา โควหกุล, วัชชัย เถื่อนมูลแสน<br />

ขอขอบคุณข้อมูล: สถานีโทรทัศน์ช่อง ๕ กัมพูชา, หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, ไทยรัฐทีวี, หนังสือพิมพ์มติชน, หนังสือพิมพ์<br />

โพสต์ทูเดย์, หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ พิมพ์ที่: บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด ๗๘/๑๙๖-๒๐๖ ซอยพระยาสุเรนทร์<br />

๑๙ แขวงบางชัน เขตคลองสามวา จังหวัดกรุงเทพฯ


ธรรมยาตรา<br />

แผ่นดิน<br />

๕Combodia l Laos l Myanmar l Thailand l Vietnam<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

เชื่อมไมตรีครั้งแรกในประวัติศาสตร์<br />

แผ่นดินชาวพุทธลุ่มนํ้ำโขง<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

“ ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง บันทึกประวัติศาสตร์หน้าใหม่<br />

ประกาศจุดเข้มแข็งของประเทศในกลุ่มลุ่มน้ำโขง กระชับสัมพันธไมตรีในฐานะ<br />

ญาติธรรม มีพุทธบิดาเดียวกัน คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

และมีมารดาเดียวกัน คือ แม่น้ำโขง ซึ่งหล่อเลี้ยงผู้คนทั้ง ๕ ประเทศมาตั้งแต่<br />

สมัยอดีตกาล พร้อมสานต่องานธรรมยาตรา ๖ แผ่นดินในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒<br />

เดินทาง ๖ แผ่นดิน ไทย เมียนมา จีน ลาว เวียดนาม กัมพูชา เยี่ยมชมประเทศที่มี<br />

อารยธรรมพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน”


38 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 39<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

เชื่อมไมตรีครั้งแรกในประวัติศาสตร์<br />

แผ่นดินชาวพุทธลุ่มนํ้ำโขง<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง บันทึกประวัติศาสตร์<br />

หน้าใหม่ ประกาศจุดเข้มแข็งของประเทศในกลุ่มลุ่มน้ำโขง กระชับ<br />

สัมพันธไมตรีในฐานะญาติธรรม มีพุทธบิดาเดียวกัน คือ องค์สมเด็จพระสัมมา-<br />

สัมพุทธเจ้า และมีมารดาเดียวกัน คือ แม่น้ำโขง ซึ่งหล่อเลี้ยงผู้คนทั้ง ๕ ประเทศ<br />

มาตั้งแต่สมัยอดีตกาล พร้อมสานต่องานธรรมยาตรา ๖ แผ่นดินในเดือน<br />

ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เดินทาง ๖ แผ่นดิน ไทย เมียนมา จีน ลาว เวียดนาม<br />

กัมพูชา เยี่ยมชมประเทศที่มีอารยธรรมพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ชมรมโพธิคยา ๙๘๐ มูลนิธิวีระภุชงค์<br />

พร้อมภาคีเครือข่าย ๕ ประเทศ ร่วมมือร่วมใจจัดงาน “ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง” นำพุทธบริษัท ๕ ประเทศจำนวนกว่า ๒๐๐<br />

รูป/คน ธรรมยาตราจากจังหวัดอุบลราชธานี สู่สาธารณรัฐประชาธิปไตย<br />

ประชาชนลาว เข้าราชอาณาจักรกัมพูชา ต่อไปถึงสาธารณรัฐสังคมนิยม<br />

เวียดนาม สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา กลับสู่ราชอาณาจักรไทย งานธรรม-<br />

งานแถลงข่าว “ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง” เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


40 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 41<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ยาตรา ๕ แผ่นดินในครั้งนี้มีผู้คนมาร่วมบุญคาดว่าหลายหมื่นคน บังเกิดปีติสุขแด่พุทธบริษัท<br />

๕ ประเทศอย่างถ้วนทั่ว ได้รับความร่วมมือจากองค์กรสงฆ์ รัฐบาล หน่วยงานต่างๆ ไปจน<br />

ระดับพ่อค้าประชาชน โดยรวมระยะเวลาการเดินทาง ๑๕ วัน เพื่อทำกิจกรรมกุศลใน<br />

วัดและสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนาจำนวน ๓๔ แห่งใน ๕ ประเทศ พร้อมอัญเชิญ<br />

หน่อพระศรีมหาโพธิ์จากเมืองคยา ประเทศอินเดียลงปลูก ๑๕ ต้น เพื่อเป็นสักขีพยาน<br />

การสร้างสันติธรรมและการผูกมิตรไมตรีชาวพุทธที่มีมาตั้งแต่ครั้งอดีตสืบทอดต่อมาถึง<br />

ปัจจุบัน<br />

พุทธภูมิ…สู่ลุ่มน้ำโขง แผ่นดินสุวรรณภูมิ<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง ก่อกำเนิดมาจากฐานศรัทธา<br />

มั่นคงต่อพระพุทธศาสนาของสมาชิกชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ซึ่งเริ่มต้นขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

เมื่อ ๑๒ ปีที่ผ่านมา ข้าราชการ พลเรือน นักธุรกิจ ประชาชนรวมกัน ๘๖ คน เดินทางไป<br />

เมืองคยา ประเทศอินเดีย เพื่อเข้าร่วมบรรพชาในโครงการอุปสมบทเฉลิมพระเกียรติ เนื่อง<br />

ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล<br />

อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ณ บริเวณใต้ร่มต้นพระศรีมหาโพธิ์ เมืองคยา ประเทศ<br />

อินเดีย เมื่อลาสิกขาบทแล้วเกิดมีศรัทธาเพิ่มพูนซาบซึ้งในพระคุณอันประเสริฐของพระ<br />

พุทธศาสนา จึงได้ร่วมก่อตั้งชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ขึ้นมา ขณะนี้มีคุณชัช ชลวรเป็นประธาน<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์เป็นเลขานุการ จากนั้นได้ร่วมกันก่อตั้งสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

ขึ้นมา ร่วมกับพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล นำโดยพระธรรมโพธิวงศ์ หัวหน้า<br />

พระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เป็นเลขาธิการ โดยตั้งเป้าหมาย<br />

เพื่อทำงานหนุนเสริมการเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนา จัดการศึกษาให้พระธรรมทูต<br />

ระดับพระสังฆาธิการทั่วประเทศในเบื้องต้น ต่อมาขยายไปสู่ลาว กัมพูชา และเวียดนาม<br />

ให้เดินทางมาอบรมหลักสูตรพุทธภูมิศึกษา ในโครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปศึกษาและปฏิบัติ<br />

ธรรมเชิงลึก ณ แดนพุทธภูมิ อินเดีย-<br />

เนปาล พระธรรมวรนายกเป็นประธาน<br />

โครงการ พระธรรมโพธิวงศ์เป็นผู้อำนวย-<br />

การหลักสูตร มีพันธกิจจัดการศึกษาอบรม<br />

ให้คณะสงฆ์ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม<br />

ได้รับและเสริมความรู้ทั้งภาคปริยัติและ<br />

ปฏิบัติจากสถานที่จริงอันเป็นถิ่นกำเนิด<br />

พระพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดีย-เนปาล<br />

เพื่อให้พระสงฆ์ผู้ผ่านการอบรมได้เพิ่มพูน<br />

ศรัทธาในการนำพระธรรมขององค์สมเด็จ<br />

พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปเผยแผ่แก่พุทธ-<br />

ศาสนิกชน<br />

จุดเชื่อมพุทธภูมิสู่ลุ่มน้ำโขงแผ่นดิน<br />

สุวรรณภูมิที่สำคัญคือ ดร.สุภชัย หรืออีก<br />

ในฐานะหนึ่งคือกรรมการผู้จัดการบริษัท<br />

ไทยนครพัฒนา จำกัด ผู้บุกเบิกธุรกิจใน<br />

แผ่นดินลุ่มน้ ำโขงมายาวนานกว่า ๒๐ ปี ได้<br />

มองเห็นความสำคัญของการนำพระธรรม<br />

คำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ-<br />

เจ้าไปปรับใช้ในทุกภาคส่วนซึ่งจะก่อให้เกิด<br />

ความสงบสุข และปรารถนาจะเห็นสันติ-<br />

ภาพในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง โดยนำพระพุทธ-<br />

ศาสนาเชื่อมไมตรีระหว่างกัน


42 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 43<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง<br />

สะมาเลิก กับ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

ที่กุฏิของพระอาจารย์ใหญ่ ที่วัดองค์ตื้อ<br />

กรุงเวียงจันทน์ สปป.ลาว<br />

“ในโอกาสที่อาเซียนเปิดตัวอย่างเต็มรูปแบบ จึงเห็น<br />

ว่าการเปิด AEC นั้นเราสามารถใช้มิติพระพุทธศาสนาใน<br />

การเชื่อมโยงพวกเราชาวพุทธ พุทธบริษัทในแดนสุวรรณภูมิ<br />

กลุ่มลุ่มน้ำโขงได้ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ และจุดแข็งสำคัญ<br />

คือเราเป็นกลุ่มประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาด้วยกัน เรา<br />

หาความร่วมมือร่วมใจกันได้ จึงได้มีความคิดรวมกลุ่มประเทศ<br />

เพื่อนบ้านในลุ่มน้ำโขง ร่วมกันค้ำจุนพระพุทธศาสนาให้เกิด<br />

ความเป็นปึกแผ่นมั่นคง ด้วยความรักความสามัคคี ในฐานะ<br />

ญาติธรรม มีพุทธบิดาองค์เดียวกัน จึงมีความใฝ่ฝันที่จะเห็น<br />

ดินแดนลุ่มน้ำโขงเรืองรองด้วยความสุข เป็นแผ่นดินสุวรรณภูมิ<br />

เหมือนครั้งที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงส่งพระธรรมทูต<br />

นำโดยพระโสณเถระและพระอุตตรเถระเป็นหัวหน้าคณะ<br />

ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนสุวรรณภูมิ”<br />

จากแนวความคิดนี้ทำให้ดร.สุภชัยได้จัดงานประชุม<br />

สงฆ์นานาชาติขึ้นถึง ๒ ครั้ง และในครั้งสุดท้ายในที่ประชุม<br />

สงฆ์นานาชาติหัวข้อ พุทธพลิกสุวรรณภูมิ สามัคคีทำ แผ่น-<br />

ดินธรรมแผ่นดินทอง ที่เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ได้<br />

อาราธนาพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก<br />

เดินทางมาร่วมงานด้วย และนับเป็นศาสนกิจสุดท้ายที่พระ-<br />

อาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่องได้ปฏิบัติ และเป็นศาสนกิจ<br />

สำคัญที่ก่อกำเนิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระ-<br />

อริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงในเวลาต่อมา ก่อนท่านจะอาพาธหนักและ<br />

ละสังขารในที่สุด<br />

มุ่งทำงาน...พุทธพลิกสุวรรณภูมิ<br />

พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก อดีตประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนา<br />

สัมพันธ์ลาวได้มอบนโยบายสุดท้ายในฐานะพระอาจารย์ที่ปรึกษาสถาบันโพธิคยาฯ ก่อนท่าน<br />

ละสังขารเมื่ออายุ ๑๐๐ ปีแก่ ดร.สุภชัย “ให้เดินหน้ามุ่งมั่นทำงานต่อไปในแนวทางพุทธพลิก<br />

สุวรรณภูมิ” คือ ทำงานหนุนเสริมนำพุทธธรรมคำสอนออกไปเผยแผ่และเชื่อมสัมพันธไมตรี<br />

ชาวพุทธให้ทั่วแผ่นดินลุ่มน้ำโขงหรืออีกชื่อหนึ่งคือแผ่นดินสุวรรณภูมิ ให้สนับสนุนการนำ<br />

พุทธธรรมไปพลิกสถานการณ์ที่ไม่สงบสุขให้สุขสงบ หาจุดยืนร่วมกันในการช่วยกันพลิกมวล<br />

มนุษยชาติจากมิจฉาทิฐิให้เกิดสัมมาทิฐิ หาความร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในภูมิภาค<br />

ของเราด้วยคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันปัจจุบันมีพระสงฆ์ สาวกพระ-<br />

ศาสดาเป็นผู้นำอุบาสกอุบาสิการ่วมกันสืบทอดพระพุทธศาสนาตามพระพุทธปณิธานของ<br />

พระพุทธองค์<br />

พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง แม่ทัพธรรมพลิกสุวรรณภูมิผู้มีศรัทธามั่นคงต่อ<br />

องค์พระรัตนตรัย ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักต่อสู้เพื่อสันติภาพ ท่านเชื่อมั่นว่าถ้าทุกคน<br />

เคารพและปฏิบัติตามหลักพระพุทธธรรม การสร้างสันติภาพโลกจะเกิดขึ้นได้ และภูมิภาค<br />

แผ่นดินลุ่มน้ำโขงจะสงบสุขได้จริงมวลมนุษย์ต้องหันหน้าเข้าหากัน สร้างความสัมพันธ์<br />

ร่วมกันดังเป็นญาติธรรม ในฐานะที่ชาวพุทธต่างมีบิดาเดียวกัน คือ องค์สมเด็จพระสัมมา<br />

สัมพุทธเจ้า<br />

จากเจตนารมณ์ของพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่องดังกล่าว ได้จุดประกายความ<br />

คิดและสร้างขวัญกำลังใจให้คณะทำงานสถาบันโพธิคยาฯ ถือเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่ทำให้<br />

เกิดโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงขึ้นในเวลาต่อมา โดยมี<br />

ชมรมโพธิคยาฯ มูลนิธิวีระภุชงค์เป็นผู้อุปถัมภ์หลัก ร่วมมือกับองค์การภาคีเครือข่ายระดับสูง<br />

จาก ๕ ประเทศ งานธรรมยาตราในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๑ พฤษภาคม ถึงวันอาทิตย์<br />

ที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ รวมระยะเวลาเดินทางทั้งหมด ๑๕ วัน เดินทาง ๕ ประเทศ มี


44 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 45<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมธรรมยาตราอย่างล้นหลามเกินความคาดหมาย ความตั้งใจนี้สำเร็จ<br />

ได้โดยอาศัยพลังแห่งสามัคคีธรรมพี่น้องชาวพุทธ ๕ ประเทศ<br />

เตรียมงานกว่า ๑ ปี ธรรมยาตราลุ่มน้ำโขง<br />

สถาบันโพธิคยาฯ จัดเตรียมงานนานกว่า ๑ ปี มีเป้าหมายสำคัญคือ การมุ่งเน้นและสร้างแรง<br />

กระตุ้นให้พุทธศาสนิกชนนำพระธรรมคำสอนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันทุกภาคส่วนงาน<br />

ศึกษาชีวิตและปฏิปทาของพระอริยสงฆ์ในแต่ละประเทศในลุ่มน้ำโขง รวมถึงเป็นการเชื่อม<br />

ความสัมพันธ์ประเทศเพื่อนบ้านในแถบลุ่มน้ำโขง ด้วยแนวทางการปฏิบัติตามหลักพระพุทธ<br />

ศาสนาจนนำไปสู่การสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นร่วมกัน<br />

พระธรรมโพธิวงศ์ ผู้อำนวยการหลักสูตรสถาบันโพธิคยากล่าวว่า “ในขณะนี้เรามอง<br />

ภาพไปทางไหนทั่วโลกเราจะเห็นเป็นเสมือนคลื่น หาความสงบร่มเย็นที่จะประสานติดต่อ<br />

กันได้ยาก มองเห็นมุมหนึ่งที่เป็นส่วนที่นั่งจับเข่าคุยกันได้คือเรื่องศาสนา การจัดธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดินครั้งนี้นับเป็นการส่งเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการปฏิบัติธรรมและการเผยแผ่<br />

พระพุทธศาสนาในแต่ละประเทศ พุทธศาสนิกชนที่เดินทางร่วมธรรมยาตราในครั้งนี้จะเรียนรู้<br />

วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่แตกต่างกันอีกหนึ่งแนวทางด้วย<br />

การเตรียมงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ได้ส่งคณะสำรวจออกไปสำรวจเส้นทางและ<br />

หารือกับองค์กรภาคีเครือข่ายทั้ง ๕ ประเทศเพื่อเตรียมงาน คณะสำรวจนำโดยคุณเกษม<br />

มูลจันทร์ รองเลขาธิการ ดร.อัจฉราวดี แมนชาติ ดร.พารณี เจียรเกียรติ ผู้ช่วยเลขาธิการ<br />

คุณอันนา สุขสุกรี คณะทำงาน พร้อมด้วยคณะสื่อมวลชนจาก TNN24 เพื่อหารือและเตรียม<br />

พร้อมเรื่องการบริหารจัดการต่างๆ เช่น การจัดศาสนพิธี กิจกรรมการกุศล สถานที่ปลูกต้น<br />

พระศรีมหาโพธิ์ การแลกเปลี่ยนทางพุทธวัฒนธรรมประเพณี แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์<br />

โบราณคดีอารยธรรมพระพุทธศาสนา รวมทั้งความสะดวกในด้านต่างๆ เช่น การประสานงาน<br />

ด่านตรวจคนเข้าเมือง การประสานงานด้านภาษาและข้อมูลที่ควรรู้ การรักษาความปลอดภัย<br />

พาหนะ ที่พัก อาหาร และหน่วยรักษาพยาบาล ฯลฯ<br />

ดร.สุภชัยกล่าวว่า “การเตรียมงานเป็นไปอย่างเรียบร้อยสำเร็จด้วยดี สถาบันฯ ได้รับ<br />

พระเมตตาจากสมเด็จพระสังฆราชผู้นำสงฆ์ในทุกประเทศ สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี<br />

เทพวงศ์ สมเด็จพระสังฆราชประจำราชอาณาจักรกัมพูชา พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหา<br />

งอน ดำรงบุญ ประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว สปป.ลาว Most Ven<br />

Dr. Thich Thien Tam, Vice President of Executive Council Vietnam Buddhist<br />

Sangha (VBS)<br />

“แม้ขั้นตอนการดำเนินการประสานงานต่างๆ มีรายละเอียดสูงและเกี่ยวพันกัน ๕<br />

ประเทศ แต่ด้วยเจตนาความตั้งใจอันบริสุทธิ์ เพื่อรณรงค์ให้มวลมนุษยชาตินำหลักสันติธรรม


46 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 47<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ตามมรรคาที่พระพุทธองค์มอบไว้มาปฏิบัติให้เกิดสันติสุข ผนึกความสามัคคีของกลุ่มประเทศ<br />

ชาวพุทธในลุ่มน้ำโขงให้เข้มแข็ง รวมถึงเพื่อร่วมมือกันหนุนเสริมงานเผยแผ่และปกป้อง<br />

พระพุทธศาสนาเพื่อความสุขสงบในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง อันจะสอดคล้องกับนโยบาย ๓ เสาหลัก<br />

อาเซียน โดยมุ่งเน้นไปเสาที่ ๓ การสร้างประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งจะส่งผล<br />

ให้เกิดความร่วมมือเสริมสร้างความสามัคคี แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีระหว่าง<br />

ชาวพุทธให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวกัน ทำให้การประสานงานโครงการนี ้ดำเนินไปได้อย่าง<br />

ราบรื่น คณะทำงานผ่านอุปสรรคปัญหาต่างๆ มาได้ด้วยการร่วมมือจากองค์กรภาคีเครือข่าย<br />

ทุกภาคส่วนเป็นอย่างดีจนสำเร็จ ซึ่งการรวมตัวชาวพุทธ ๕ ประเทศได้เช่นนี้ เหมือนเป็น<br />

พลังยิ่งใหญ่ที่แสดงให้เห็นว่าความศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นของจริงซึ่งยังอยู่ในจิตใจ<br />

ชาวพุทธสืบเนื่องเชื่อมต่อมาจวบจนปัจจุบัน”<br />

คุณเกษม มูลจันทร์ รองเลขาธิการกล่าวว่า การจัดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินแม้เป็นการ<br />

จัดครั้งแรก และทุกประเทศก็ยังมองภาพไม่ชัดเจนว่างานจะออกมาลักษณะใด แต่ทุกฝ่ายทั้ง<br />

ฝ่ายสงฆ์ ภาครัฐบาล และภาคีเครือข่ายทั้ง ๕ ประเทศก็ร่วมแรงร่วมใจกันอย่างดีมาก ทุกคน<br />

ช่วยเหลือกันเต็มที่เพื่อเตรียมพร้อมให้งานออกมาดีที่สุด ผมรู ้สึกเป็นบุญกุศลมากที่มีโอกาส<br />

ได้เป็นส่วนหนึ่งในคณะทำงาน ได้มองเห็นศรัทธาของชาวพุทธเพื่อนบ้าน วัฒนธรรมประเพณี<br />

แม้แตกต่างกันบ้าง แต่กลับเป็นเสน่ห์ เพราะแกนหลักแล้วเราแทบจะไม่แตกต่างกันเลย<br />

เพราะเป็นบ้านเมืองแห่งพระพุทธศาสนาเช่นเดียวกัน”<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

การตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน ้ำโขง ซึ่งเป็นพระผู้นำพระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระ<br />

สัมมาสัมพุทธเจ้ามาปฏิบัติตามมรรคที ่พระองค์วางไว้ ฝึกฝนปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจนเกิดผล<br />

จริง พ้นทุกข์จริง จนเป็นบุคคลผู้บริสุทธิ์ เป็นผู้ประเสริฐ งานธรรมยาตราฯ จึงเปรียบประดุจ<br />

การตามรอยขุมทรัพย์อันทรงคุณค่าสูงสุดที่อยู่ในลุ่มน้ำนี้ ด้วยเป็นการตามรอยแนวทางปฏิบัติ<br />

พุทธธรรมผ่านพระอริยสงฆ์ผู้ฝึกปฏิบัติจริง<br />

พระครูวินัยธรเชาวพิทย์ สุธีโร วัดป่ากาญจนาภิเษก อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น<br />

บุตรบุญธรรมของพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง ประธานฝ่ายสงฆ์ เป็นหนึ่งในองค์กร<br />

ภาคีเครือข่ายที่จังหวัดอุบลราชธานี และร่วมจัดพิธีเปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ได้ให้<br />

ทัศนะในเรื่องพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงว่า


48 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 49<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

“เมื่อพระอริยสงฆ์ท่านปรากฏขึ้น<br />

ในโลกนี้ นับเป็นความงดงามซึ่งมาจาก<br />

การที่ท่านประพฤติปฏิบัติตามรอยองค์<br />

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จนเป็นที่<br />

เลื่อมใสของศรัทธาสาธุชน พระอริยสงฆ์<br />

ลุ่มน้ำโขงท่านมีความเหมือนกันไม่ว่า<br />

จะอยู่แผ่นดินผืนไหน นั่นคือความเป็น<br />

อริยบุคคล ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบจนไกล<br />

จากกิเลส ปฏิบัติตามพระธรรมวินัย มี<br />

ผลปฏิบัติคืออยู่เป็นสุข ตามคำสอน<br />

ของพระพุทธองค์ที่ท่านตรัสว่า ธมฺม<br />

จารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่<br />

เป็นสุข เพราะฉะนั้นผู้ที่ประพฤติปฏิบัติ<br />

แต่สิ่งที่ดีงาม คิดดี ทำดี ประพฤติดี<br />

ย่อมอยู่เป็นสุขเสมอ พระอริยสงฆ์ในเขต<br />

ลุ่มน้ำโขงท่านปฏิบัติตามคำสอนของ<br />

พระพุทธเจ้า ท่านได้ชื่อว่าประพฤติธรรม<br />

เป็นธรรมจารี ท่านจึงอยู่เป็นสุข เมื่อ<br />

ท่านอยู่เป็นสุขแล้ว ปฏิบัติเห็นผลแล้ว<br />

ท่านก็เสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อเป็น<br />

ประโยชน์ต่อโลก อนุเคราะห์ชาวโลก<br />

ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า คือดำรง<br />

ชีวิตเพื่อประโยชน์ เพื่ออนุเคราะห์


่<br />

50 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 51<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ชาวโลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลทวยเทพและมนุษย์ทั้งหลาย เพราะฉะนั้นพระอริยสงฆ์จะมี<br />

สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือ เมื่อท่านปฏิบัติเห็นผลแล้ว ท่านนำผลนั้นมาบอกกล่าว แนะนำคนอื่น<br />

ให้ปฏิบัติตามและได้ผลตามท่านที่ได้เข้าถึงความสุขสงบ มีความสงบงาม สิ่งนี้คือสิ่งที่เหมือน<br />

กันของพระอริยสงฆ์ทุกประเทศ”<br />

จากการสืบค้นพบว่า จำนวนพระสงฆ์ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นพระอริยสงฆ์ในแต่ละ<br />

ประเทศนั้นมีจำนวนไม่น้อย วิธีศึกษาและการตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงในธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดินจึงประสานไปยังหน่วยงานภาคีเครือข่าย ผ่านพระสังฆราชหรือประมุขสงฆ์ ผู้นำ<br />

สงฆ์ระดับสูงในแต่ละประเทศเป็นผู้มอบชื่อพระอริยสงฆ์ประเทศละอย่างน้อย ๒ ชื่อไม่เกิน<br />

๓ ชื่อ เพื่อให้คณะธรรมยาตราได้ศึกษาตามรอยว่า แต่ละท่านมีการดำเนินชีวิต มีประวัติ<br />

ความเป็นมา มีจริยประวัติอย่างไร ได้สืบค้นหาร่องรอยแนวทางการปฏิบัติมรรคแห่งองค์<br />

พระศาสดาที่สืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่นจวบจนปัจจุบัน<br />

สำหรับรายนามพระอริยสงฆ์ที่ได้เลือกมาศึกษาในงานธรรมยาตราในครั้งนี้ คือ<br />

v ประเทศไทย: พระครูวินัยธร (มั่น ภูริทตฺโต) พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) สมเด็จ<br />

พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน)<br />

v ประเทศลาว: พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก<br />

(ญาครูขี้หอม) สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้วพุทธชิโนรส, พระอาจารย์มหาปาน อานันโท<br />

v ประเทศกัมพูชา: สมเด็จพระธรรมลิขิต ลวี เอม สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี ฮวต<br />

ตาต วชิรปญโญ<br />

v ประเทศเวียดนาม: พระวัสรักขิตมหาเถระ พระตี่ญสื่อ (ปัญญะปาละ) (Tinh Su)<br />

v ประเทศเมียนมา: พระภัททันตะเกสระ อภิธชะอัคคมหาสัทธัมมะโชติกะ (หลวงพ่อ<br />

วินเซ่ง) พระภัททันตะ ปญฺญาทีป อภิธชะ อัคคะมหาสัทธัมมะโชติกะ (หลวงพ่อไจทีเซา)<br />

ธรรมยาตรา ๖ แผ่นดิน<br />

สถาบันโพธิคยาฯ ชมรมโพธิคยา มูลนิธิวีระภุชงค์ พร้อมองค์กรภาคีเครือข่าย ๖ แผ่นดินได้<br />

เตรียมจัดธรรมยาตรา ๖ แผ่นดิน โดยมีนายชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ พลเอก วิชิต<br />

ยาทิพย์ ประธานสมาคมมิตรภาพไทย ดร.อภัย จันทนจุลกะ รองประธานชมรมฯ คุณประทีป<br />

เฉลิมภัทรกุล ประธานที่ปรึกษา คุณพรเทพ อัมพรกลิ่นแก้ว ที่ปรึกษาชมรม ดร.สุภชัย<br />

วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันฯ คุณเกษม มูลจันทร์ รองเลขาธิการสถาบันฯ มีผู้ร่วมประชุม<br />

เช่น พลเอก ยศนันท์ หร่ายเจริญ อดีตรอง ผบ.ทสส. คุณณัฏฐวุฒิ โพธิสาโร อดีตเอกอัครราชทูต<br />

ณ กรุงพนมเปญ คุณสุรพล มณีพงษ์ อดีตเอกอัครราชทูตกัมพูชา คุณนพดล เทพพิทักษ์ อดีต<br />

เอกอัครราชทูตไทยประจำ สปป.ลาว พลเอก นินนาท เบี้ยวไข่มุข คุณนิวัฒน์ แจ้งอริยะวงศ์<br />

คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล พร้อมด้วยคณะทำงานสถาบันและคณะสื่อมวลชน โดยวางแผน<br />

จัดงานในวันที่ ๑๔-๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อสานต่อและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง<br />

องค์กรภาคีเครือข่าย ๖ ประเทศ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา และจีน และได้เดินทาง<br />

ออกสำรวจเส้นทางแล้วเมื่อวันที่ ๘-๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สำหรับเส้นทางการเดินทาง<br />

ธรรมยาตรา ๖ แผ่นดิน ดร.สุภชัยกล่าวว่า “เบื้องต้นวางแผนกันไว้ว่าเริ่มต้นที่จังหวัดเชียงราย<br />

ซึ่งเป็นอาณาจักรศักดิ์สิทธิ์ล้านนา แล้วข้ามไปยังเมียนมาในเขตเชียงตุง จากนั้นก็เดินทาง<br />

ไปที่ประเทศจีนที่สิบสองปันนา ต่อไปที่เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว และมุ ่งหน้าเข้าสู<br />

ภาคเหนือของประเทศเวียดนาม จากนั้นเดินลงมาที่เวียงจันทน์ ประเทศลาวอีกครั้ง และ<br />

กลับเข้ามาประเทศไทยเลาะแม่น้ำโขง แล้วข้ามไปที่เขาพระวิหาร จังหวัดศรีสะเกษ สุดท้าย<br />

ไปปิดโครงการที่ปราสาทพระนคร เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา กระชับความร่วมมือ<br />

ร่วมใจทำงานหนุนเสริมการเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนาในแผ่นดินสันติภาพ แผ่นดิน<br />

ธรรม แผ่นดินทอง”


52 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

กําเนิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน สถานที่ทํากิจกรรมพระพุทธศาสนา ๓๔ แห่ง<br />

ร่วมศรัทธาปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ๕ ประเทศ ๑๕ ต้น<br />

พระธรรมโพธิวงศ์ หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล อัญเชิญต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

จากเมืองคยา ประเทศอินเดีย เพื่อปลูก ณ วัดและสถานที่สำคัญทั้ง ๕ ประเทศ<br />

คณะธรรมยาตราได้ทำพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ทั้งหมด ๑๕ ต้น<br />

ประเทศไทย ๔ ต้น ประเทศลาว ๓ ต้น ประเทศ<br />

กัมพูชา ๓ ต้น ประเทศเวียดนาม ๑ ต้น<br />

ประเทศเมียนมา ๔ ต้น<br />

๒<br />

วัดสีสะหว่างวง<br />

๑<br />

บริเวณสถานที่<br />

ก่อสร้างพระอริยธาตุ<br />

เจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ<br />

๓<br />

วัดพูส่าเหล้า<br />

๔<br />

๖<br />

วิทยาลัย<br />

กำปงเฌอเตียล<br />

วัดโพธิ์ระตะนะ<br />

สาสะดาราม<br />

๗<br />

วัดเทียนจุ๊ก ๘<br />

๕<br />

วัดโปธิเญียน<br />

๙<br />

วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม<br />

วัดสมุทเธียราม<br />

๑๒<br />

วัดไจทีเซา<br />

๑๐<br />

วัดโพธิคุณ<br />

๑๑<br />

วัดเจดีย์ชเวดากอง<br />

จำลอง<br />

๑๓<br />

พระธาตุ<br />

อินทร์แขวน<br />

๑๕<br />

วัดสุวรรณภูมิ<br />

พุทธชยันตี ๙๘๙<br />

๑ วัดส่วยมินวุ่น<br />

๒ วัดเจดีย์ชเวดากองจำลอง<br />

๓ วัดวินเซนตอยะ<br />

๔ วัดไจทีเซา<br />

๕ เจดีย์กีรต้า<br />

๖ เจดีย์กุสินารา<br />

๗ พระธาตุอินทร์แขวน<br />

๘ วัดพระไฝเลื่อน<br />

๙ หมู่บ้านรัฐกะเหรี่ยง<br />

๑๔<br />

หมู่บ้าน<br />

รัฐกะเหรี่ยง<br />

เมียนมา<br />

F<br />

G<br />

ไทย<br />

๑ สถานที่ก่อสร้างพระอริยธาตุเจดีย์<br />

ศรีสุวรรณภูมิ<br />

๒ วัดโพธิสระปทุม<br />

๓ วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว<br />

๔ จวนผู้ว่าจังหวัดจันทบุรี<br />

๕ วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม<br />

๖ จังหวัดนครสวรรค์<br />

๗ วัดโพธิคุณ<br />

๘ สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา<br />

๙ บริษัท ที.เค. การ์เม้นท์ จำกัด<br />

๑๐ อุทยานประวัติศาสตร์<br />

๑๑ วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙<br />

เวียดนาม<br />

E<br />

A<br />

สปป.ลาว<br />

B<br />

กัมพูชา<br />

๑ วัดเทียนจุ๊ก<br />

๒ จัตุรัสอำเภอฮาเตียน<br />

D<br />

C<br />

๑ วัดสีสะหว่างวง<br />

๒ วัดพูส่าเหล้า<br />

๓ วัดหลวงปากเซ<br />

๔ ปราสาทวัดพู<br />

๑ วัดโปธิเญียน<br />

๒ วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

๓ กลุ่มปราสาทสมโบร์ไพรกุก<br />

๔ วัดโบตุมโวเด็ย<br />

๕ โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา<br />

๖ สถานเอกอัครราชทูตไทย<br />

ณ กรุงพนมเปญ<br />

๗ จังหวัดก็อมโปต<br />

๘ วัดสมุทเธียราม (วัดปากคลอง)<br />

จุดผ่านแดนไทย-ลาว<br />

จุดผ่านแดนลาว-กัมพูชา<br />

ด่านผ่านแดนกัมพูชา-เวียดนาม<br />

จุดผ่านแดนเวียดนาม-กัมพูชา<br />

จุดผ่านแดนกัมพูชา-ไทย<br />

จุดผ่านแดนไทย-เมียนมา<br />

จุดผ่านแดนเมียนมา-ไทย


ุทิตาสักการะอายุวัฒนมงคล 54 ๑๐๐ ปี พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก<br />

มุทิตาสักการะอายุวัฒนมงคล ๑๐๐ ปี พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก 55


วันที่ ๑ ไทย<br />

พุทธศาสนา<br />

เกรียงไกร<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

วันอาทิตย์ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

“ วันนี้ถือเป็นวันยิ่งใหญ่ที่ต้องบันทึก ประวัติศาสตร์ความสามัคคี<br />

ของชาวพุทธ ๕ ประเทศเริ่มต้นเป็นรูปธรรมแล้ว โดยมีจุดเริ่มเดินทางของ<br />

คณะธรรมยาตราอยู่ที่สถานที่ก่อสร้างพระอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ<br />

ตำบลกุศกร อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี อันเป็นมาตุภูมิ<br />

ธรรมปัญญาของอดีตพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก<br />

อดีตประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว ผู้เป็นต้นบุญ<br />

ที่ทำให้เกิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง”


58 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 59<br />

วันที่ ๑ สวัสดี - อุบลราชธานี<br />

กองทัพธรรม<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

สวัสดี<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย<br />

ประเทศไทย<br />

เสาตรา<br />

ธรรมจักร<br />

สัญลักษณ์<br />

ตัวแทนแห่ง<br />

ความสามัคคี<br />

๕ ประเทศ<br />

บันทึกประวัติศาสตร์หน้าใหม่แห่งการร่วมแรง<br />

รวมใจสามัคคีชาวพุทธ ๕ ชาติได้เริ่มต้นอย่าง<br />

เป็นรูปธรรมแล้ว มีจุดเริ่มเดินทางของคณะธรรมยาตรา<br />

พระธรรมโพธิวงศ์ หัวหน้า<br />

อยู่ที่บ้านดอนกลาง ตำบลกุศกร อำเภอตระการพืชผล<br />

พระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-<br />

จังหวัดอุบลราชธานี วันนี้ถือเป็นวันยิ่งใหญ่ที่ต้องบันทึก<br />

เนปาล ผู้อำนวยการหลักสูตร<br />

คณะสงฆ์และผู้นำองค์กรภาคีเครือข่ายชาวพุทธ ๕ ชาติ<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

ได้มารวมตัวกันที่หน้าวัดโพธิ์สระปทุม บริเวณก่อสร้าง<br />

อริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ อันเป็นพุทธอุเทสิกเจดีย์ที่ประดิษฐานพระบรม<br />

สารีริกธาตุและพระอัฐิธาตุของพระอริยสงฆ์สาวกทั่วโลก และมีพระอัฐิธาตุของ<br />

อดีตพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิกบรรจุอยู่ด้วย<br />

ปะรำพิธีภายในมณฑลสร้างขึ้นอย่างเรียบง่ายตามวิถีธรรม เห็นถึงการ<br />

ร่วมมือกันทั้งปัจจัยแรงกายและใจศรัทธาเพื่อจัดพิธีประกาศจุดเริ่มต้น...งาน<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง ด้วยงานนี้ถือเป็น<br />

งานยิ่งใหญ่ระดับนานาชาติ คณะลูกหลานและชาวบ้านจึงอาราธนาพระครู<br />

วินัยธรเชาวพิทย์ สุธีโร เจ้าอาวาสวัดป่ากาญจนาภิเษก บ้านโคกโก่ง ตำบล<br />

บ้านเรือ อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ผู้ซึ่งเป็นที่ปรึกษาและผู้ก่อตั้ง<br />

มูลนิธิอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ มาเป็นพ่องานและเป็นพระสงฆ์ผู้นำ<br />

คณะสงฆ์และลูกหลานคณะศรัทธาหลวงปู่ผ่อง ร่วมกับฝ่ายข้าราชการ<br />

ทุกภาคส่วนในจังหวัดอุบลราชธานี นำโดยคุณสมศักดิ์ จังตระกุล ผู้ว่า-<br />

ราชการจังหวัดอุบลราชธานี มาจัดพิธีให้สำเร็จสมเกียรติตรงวัตถุประสงค์<br />

“ปะรําพิธีสร้างขึ้นอย่างเรียบง่ายตามวิถีธรรม เพื่อถวายการต้อนรับ<br />

คณะพระสงฆ์ธรรมยาตรา งานนี้ทุกฝ่ายร่วมมือกันทั้งแรงกายและใจศรัทธา<br />

เพื่อจัดพิธีประกาศจุดเริ่มต้น...งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์<br />

ลุ่มนํ้ำโขง รณรงค์ศรัทธามหากุศลให้งอกงามในแผ่นดินถิ่นสุวรรณภูมิ”


60 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 61<br />

วันที่ ๑ สวัสดี - อุบลราชธานี<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เริ่มต้นด้วยกุศลอุทิศถวายพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

ก่อนพิธีประกาศจุดเริ่มต้นธรรมยาตราจะมีขึ้นในเวลาบ่ายสามโมง<br />

วันนี้ ชาวอำเภอตระการพืชผลได้เริ่มต้นวันด้วยการทำมหากุศล<br />

โดยมีคุณนคร ศิริปริญญานันท์ นายอำเภอตระการพืชผลนำถวาย<br />

ภัตตาหารเช้าแด่คณะสงฆ์เพื่ออุทิศถวายแด่หลวงปู่ผ่องและ<br />

พระอริยสงฆ์ในเขตลุ่มน้ำโขง ถัดไปภายในวัดโพธิ์สระปทุม คุณ<br />

พลายมาศ แสนทวีสุข ประธานมูลนิธิอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ<br />

ผู้เป็นแพทย์แผนจีน ได้นำคณะแพทย์แผนจีนมาร่วมออกหน่วย<br />

ฝังเข็มให้บริการดูแลสุขภาพและรักษาโรคแด่พระสงฆ์และ<br />

ประชาชนในงานนี้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และมีโรงทานอาหารคาวหวาน<br />

พอเพียงสำหรับเลี้ยงผู้มาร่วมงาน ในระหว่างงานมีพิธีกรประกาศ<br />

ความเป็นมา ภายในงานยังมีพิธีกรบรรยายสลับกับเปิดวีดิทัศน์<br />

เรื่องที่มาโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์<br />

ลุ่มน้ำโขง เพื่อให้ประชาชนได้เข้าใจและซาบซึ้งถึงศรัทธามหากุศล<br />

อันได้งอกงามในแผ่นดินถิ่นนี้<br />

ถึงเวลาเที่ยงตรง หมอลำชาวอุบลราชธานีผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง<br />

คุณแม่ฉวีวรรณ ดำเนิน ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๖ ผู้ได้รับการ<br />

ยกย่องว่าเป็นราชินีหมอลำ และคุณ ป.ฉลาดน้อย ศิลปินแห่งชาติ<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙ พร้อมคณะ ได้มาร้องรำเสียงไพเราะดังก้องกังวาน<br />

เชิดชูคุณธรรมนำเสนอจริยประวัติของพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่ชา สุภทฺโท รวมทั้งพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก<br />

จากนั้นลูกหลานเยาวชนนักเรียนชาวอำเภอตระการพืชผลได้ขับบทกลอนทำนองสรภัญญะ<br />

เชิดชูคุณธรรมของพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงด้วย<br />

พระอาจารย์ใหญ่<br />

ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก<br />

คุณธนพรรณ แก้วจันดี ภาคี<br />

เครือข่ายจังหวัดอุบลราชธานี<br />

เมื่อการแสดงจบลงก็เป็นช่วงเวลาสำคัญอีกช่วงหนึ่งเพื่อหลอมร่วมดวงใจถวายเป็น<br />

รัตนตยาภิบูชา การบูชาอย่างยิ่งแด่พระรัตนตรัย ชาวบ้านทยอยนำดินมาจากบ้านตนเอง<br />

เลือกตักดินในบริเวณที่ถือเป็นมงคล ประคองใส่ภาชนะไว้อย่างดี ต่างนำดินมารวมกันเพื่อ<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ หน่อที่ได้มาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์จากเมืองคยา สาธารณรัฐอินเดีย<br />

พิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์จะมีขึ้นในช่วงเย็นวันนี้<br />

คุณธนพรรณ แก้วจันดี เจ้าของโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง หลานสาวหลวงปู่ผ่องผู้เป็น<br />

หนึ่งในภาคีเครือข่ายในการจัดงานครั้งนี้ เล่าถึงเหตุสอดคล้องที่คณะธรรมยาตราฯ ได้มา<br />

เริ่มต้นที่บ้านดอนกลางว่า “จุดเริ่มต้นธรรมยาตราในครั้งนี้ คณะทำงานสถาบันโพธิคยาวิชชา<br />

ลัย ๙๘๐ มีมติเลือกที่นี่เป็นจุดเริ ่มต้น เนื่องจากผืนดินตรงนี้นับเป็นมาตุภูมิแห่งธรรมของ<br />

หลวงปู่ผ่อง เพราะเป็นสถานที่ที่ท่านได้มาบวช และมีเจดีย์บรรจุอัฐิพระอุปัชฌาย์ของท่าน<br />

ด้วย คือ พระครูโสภิตพิริยคุณ (หลวงพ่อถ่านฤทธิ์) ด้านหน้าวัดโพธิ์สระปทุมก็ นับเป็นมาตุภูมิ<br />

แห่งปัญญาของหลวงปู่ผ่อง เพราะเคยเป็นบริเวณที่ตั้งโรงเรียนบ้านกุศกร โรงเรียนเก่าที่ท่าน<br />

เคยศึกษาอยู่จนจบชั้นประถมปีที่ ๓ ก่อนย้ายถิ่นฐานไปอยู่เมืองลาว”<br />

นี่คือปฐมเหตุของการเริ่มต้นของเส้นทางแห่งปฐมธรรมยาตราในครั้งนี้


62 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 63<br />

สวัสดี - ประเทศไทย<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พระครูศรีปริยัติวิสุทธิ์ รองผู้อำนวยการหลักสูตรสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

นำคณะสงฆ์เจริญพุทธมนต์ด้วยภาษาบาลี ภาษาห่อพระธรรมของพระพุทธเจ้า<br />

พิธีเปิดจุดเริ่มต้นธรรมยาตรา<br />

เวลา ๑๕.๐๐ นาฬิกา เมื่อทุกฝ่ายพร้อมเพรียงกันดีแล้ว เพื่อประกาศเจตนารมณ์เดียวกัน<br />

คือหนุนเสริมและร่วมกันนำพระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

ไปปรับใช้ในทุกภาคส่วนงานทั่ว ๕ ดินแดน ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา ประเทศ<br />

ที่นับถือพระพุทธศาสนาเช่นเดียวกัน<br />

เวลาที่รอคอยก็มาถึง พิธีการเริ่มขึ้นแล้ว ขอทุกดวงจิตตั้งใจประสานน้อมนึกบูชาคุณ<br />

พระรัตนตรัยอันยิ่งใหญ่<br />

คุณสมศักดิ์ จังตระกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานีนำจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย<br />

คณะสงฆ์นำโดยพระธรรมวรนายก ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ประธาน<br />

โครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปศึกษาและปฏิบัติธรรมเชิงลึก ณ แดนพุทธภูมิอินเดีย-เนปาล<br />

พระธรรมปาโมกข์ เจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม พระธรรมโพธิวงศ์ ผู้อำนวยการหลักสูตร<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล พระครู<br />

ศรีปริยัติวิสุทธิ์ รองผู้อำนวยการหลักสูตร สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ รองเจ้าคณะจังหวัด<br />

นครราชสีมา พร้อมคณะสงฆ์จังหวัดอุบลราชธานี รวมกับคณะพระสงฆ์ธรรมยาตรา ๕ ประเทศ<br />

ซึ่งมีจำนวน ๔๕ รูป พระกัมพูชา ๔ รูป พระลาว ๖ รูป พระเมียนมา ๑๐ รูป พระเวียดนาม ๒<br />

รูป พระไทย ๒๓ รูป รวมกับพระสงฆ์ที่นิมนต์มาเจริญพระพุทธมนต์ในครั้งนี้รวมมีพระสงฆ์<br />

เข้าร่วมงานทั้งหมดจำนวนกว่า ๑๐๐ รูป ด้านฝ่ายฆราวาสนำโดยคุณชัช ชลวร ประธานชมรม<br />

โพธิคยา ๙๘๐ ดร.อภัย จันทนจุลกะ รองประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พร้อมด้วยคณะที่ปรึกษา คณะกรรมการ คณะ<br />

ทำงานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ และภาคีเครือข่ายผู้นำชาวพุทธ ๕ ประเทศ พร้อมประชาชน<br />

ชาวบ้านทั่วสารทิศ มองไปไหนก็เห็นแต่ผู้คนนั่งพนมมือ เสียงเจริญพุทธมนต์เป็นภาษาบาลี<br />

สำเนียงไทยดังประสานเป็นหนึ่งเดียว แม้ต่างชาติต่างถิ่นต่างภาษาก็มิได้มีอุปสรรคใด ด้วย<br />

ภาษาบาลี ภาษาห่อพระธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเชื่อมโยงไว้


64 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 65<br />

งานธรรมยาตราครั้งประวัติศาสตร์นี้<br />

สามารถจัดขึ้นและเดินหน้าไปได้ตาม<br />

วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแรงกระตุ้นให้<br />

มนุษยชาตินำหลักพุทธธรรมขององค์สมเด็จ<br />

พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาใช้ให้เกิดสันติสุขในใจ<br />

อันจะนำไปสู่สันติภาพในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในที่สุด


66 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 67<br />

วันที่ ๑ สวัสดี - อุบลราชธานี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พุทธธรรมเชื่อมลุ่มน้ำโขง แผ่นดินสุวรรณภูมิเรืองรอง<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์กล่าวว่า “โครงการนี้เกิดขึ้นจากคำปรารภของ<br />

อดีตพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก อดีตประธาน<br />

ศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธลาว ที่ปรารถนาจะเห็นการ<br />

นำวิถีพุทธมาเชื่อมโยงสร้างความผูกพันระหว่างชาวพุทธในภูมิภาค<br />

ลุ่มน้ำโขง หรือในประชาคมอาเซียนให้มีความสงบสุขมีสันติภาพ<br />

“ในส่วนการดำเนินการประสานงานต่างๆ นั้นมีขั้นตอน<br />

ละเอียดอ่อนมากมาย เนื่องจากเกี่ยวพันกับหลายประเทศ แต่ด้วย<br />

เจตนาและเป้าหมายอันบริสุทธิ์ใจจึงได้รับความร่วมมืออย่างดีจาก<br />

ทุกภาคส่วนของทุกประเทศ รวมทั้งจากสถานเอกอัครราชทูตไทย<br />

และกงสุลใหญ่ในลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา ทำให้งานธรรม-<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

ยาตราครั้งประวัติศาสตร์นี้สามารถจัดขึ้นและเดินหน้าไปได้ตาม<br />

วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแรงกระตุ้นให้มนุษยชาตินำหลักพุทธธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมา-<br />

สัมพุทธเจ้ามาใช้ให้เกิดสันติสุขในใจ อันจะนำไปสู่ความมีสันติภาพในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงใน<br />

ที่สุด<br />

“งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง เป็นผลแห่งการผนึก<br />

กำลังสามัคคีของพุทธบริษัทในกลุ่มประเทศชาวพุทธในลุ่มน้ำโขงหรืออาเซียนอย่างเป็นรูป<br />

ธรรม ในการร่วมมือกันหนุนเสริมงานเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนา ด้วยตระหนักถึง<br />

ความสำคัญว่าวิถีพุทธนั้นเป็นวิถีเดียวที่จะสามารถเชื่อม ๕ แผ่นดินลุ่มน้ำโขงไว้ด้วยกันได้<br />

ในหลายมิติ วัฒนธรรม ประเพณี เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน ถึงแม้เราจะมีความ<br />

แตกต่างกัน แต่สามารถเป็นหนึ่งเดียวด้วยหลักพระพุทธศาสนา โดยจะเน้นให้นำวิถีพุทธไป<br />

ใช้เป็นหลักการดำเนินชีวิตต่อไป”<br />

สัญญาณฤกษ์งามยามดี กงล้อธรรมขับเคลื่อน<br />

ลำดับต่อไปเป็นพิธีมอบสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ดร.อภัย จันทนจุลกะ รองประธานชมรมโพธิคยา<br />

๙๘๐ มอบธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินให้แด่คุณ<br />

สมศักดิ์ จังตระกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี<br />

คุณสุรพล มณีพงษ์ อุปนายกและเลขาธิการสมาคม<br />

มิตรภาพไทยกัมพูชา มอบธงฉัพพรรณรังสีแด่คุณพลายมาศ<br />

แสนทวีสุข ประธานมูลนิธิอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยา<br />

วิชชาลัย ๙๘๐ ถวายเสาธรรมจักรแด่ผู้แทนพระเทพ<br />

วราจารย์ เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี<br />

เสียงลั่นฆ้องดังกังวาน ประหนึ่งดังเสียงศักดิ์สิทธิ์<br />

เชื่อกันว่า...เมื่อใดที่เสียงฆ้องลั่น นั่นคือสัญญาณแห่งฤกษ์<br />

งามยามดีได้เริ่มแล้ว ณ นาทีต่อไป ความสามัคคีของพุทธ<br />

บริษัทในการร่วมแรงร่วมใจขับเคลื่อนกงล้อแห่งพุทธธรรม<br />

จากนั้นคุณสมศักดิ์ จังตระกุลกล่าวต้อนรับปฏิสันถาร<br />

คุณชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ กล่าวขอบคุณ<br />

พระธรรมโพธิวงศ์ ผู้อำนวยการหลักสูตรสถาบันโพธิคยา<br />

วิชชาลัย ๙๘๐ หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-<br />

เนปาลแสดงสัมโมทนียกถา<br />

ธงฉัพพรรณรังสี เสาธรรมจักร<br />

และธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน


68 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 69<br />

วันที่ ๑ สวัสดี - อุบลราชธานี<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

“งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ ่มนํ้ำโขง เป็นผลแห่งการผนึกกําลัง สามัคคีของพุทธบริษัทในกลุ่มประเทศชาวพุทธในลุ่มนํ้ำโขงหรืออาเซียนอย่างเป็น<br />

รูปธรรมในการร่วมมือกันหนุนเสริมงานเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนา ด้วยตระหนัก ถึงความสําคัญว่าวิถีพุทธนั้นเป็นวิถีเดียวที่สามารถเชื่อม ๕ แผ่นดินลุ่มนํ้ำโขงไว้<br />

ด้วยกันได้ในหลายมิติ วัฒนธรรม ประเพณี เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน ถึงแม้เราจะมี ความแตกต่างกัน แต่สามารถเป็นหนึ่งเดียวด้วยหลักพระพุทธศาสนา โดยเน้น<br />

ให้นําวิถีพุทธไปใช้เป็นหลักการดําเนินชีวิตต่อไป”<br />

พร้อมใจร่วมงานพิธีเปิดปฐมธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

พระธรรมวรนายก ประธานโครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปศึกษาและปฏิบัติธรรมเชิงลึก ณ แดนพุทธภูมิอินเดีย-เนปาล<br />

พระธรรมปาโมกข์ เจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม พระธรรมโพธิวงศ์ ผู้อำนวยการหลักสูตรสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย<br />

๙๘๐ หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล พระครูวินัยธรเชาวพิทย์ สุธีโร วัดป่ากาญจนาภิเษก จังหวัด<br />

ขอนแก่น พร้อมคณะสงฆ์จังหวัดอุบลราชธานี และคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

ฝ่ายฆราวาสจังหวัดอุบลราชธานีนำโดยคุณสมศักดิ์ จังตระกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี คุณนคร ศิริปริญญานันท์<br />

นายอำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี พร้อมด้วยคุณชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ดร.อภัย จันทนจุลกะ<br />

รองประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พร้อมด้วยคณะที่ปรึกษา


70 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 71<br />

วันที่ ๑ สวัสดี - อุบลราชธานี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์...ปฐมธรรมยาตรา<br />

ตลอดเส้นทางแห่งการเยือนไปท้องถิ่นแดนใดของคณะธรรมยาตรา ณ สถานที่นั้นจะมีพิธี<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พระธรรมโพธิวงศ์ได้อัญเชิญหน่อมาจากเมืองคยา สาธารณรัฐ<br />

อินเดีย ณ สถานที่เคยประทับและตรัสรู้ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งการปลูก<br />

ต้นพระศรีมหาโพธิ์นี้ว่าตามหลักพระคัมภีร์พระพุทธศาสนาก็เปรียบได้กับการสร้างพระเจดีย์<br />

เพราะต้นพระศรีมหาโพธิ์นั้นเปรียบเป็นพุทธอุเทสิกเจดีย์ ต้นพระศรีมหาโพธิ์และต้นที่สืบ<br />

หน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์จึงเป็นที่เคารพบูชาของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล<br />

การปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์จึงนับเป็นพิธีกรรมที่ศักดิ์สิทธิ์ ข้าวตอกดอกไม้ สิ่งมงคล<br />

มีค่า รวมทั้งดินมงคลจากบ้านของชาวบ้าน เมื่อพระธรรมโพธิวงศ์ได้ถวายหน่อพระศรีมหาโพธิ์<br />

แด่พระสงฆ์ผู้แทนพระเทพวราจารย์ เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี จากคณะสงฆ์จังหวัด<br />

อุบลราชธานี คณะสงฆ์ธรรมยาตราร่วมกับผู้นำชาวพุทธภาคีเครือข่ายทั้ง ๕ ประเทศ ได้ทำ<br />

พิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ บริเวณสถานที่ก่อสร้างพระอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ<br />

เป็นสัญลักษณ์ความทรงจำแห่งความมุ่งมั่นตั้งใจและความร่วมมือของพุทธบริษัทในการ<br />

จัดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินในครั้งนี้<br />

พร้อมๆ กันนั้นในปะรำพิธีมีพิธีประกาศเทวดาโดยพระธรรมปาโมกข์ เจ้าอาวาสวัด<br />

ราชผาติการามประกาศโองการอัญเชิญทวยเทพเทวดามาอนุโมทนาและสาธุการในพิธีมงคล<br />

ในการเริ่มโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง พร้อมๆ กับพิธี<br />

ปักหมุดเพื่อก่อสร้างพระอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ ระหว่างดำเนินพิธีนั้นพระอาทิตย์<br />

ทรงกลดมีรัศมีสีรุ้งโดยรอบ ซึ่งตามความเชื่อของสังคมไทยแล้วแสงรัศมีทรงกลดเปรียบดัง<br />

แสงแห่งชัยชนะ การได้เห็นพระอาทิตย์ทรงกลดในวันแรกเริ่มแห่งธรรมยาตราจึงถือเป็น<br />

มงคลของคณะธรรมยาตราที่จะเดินทางต่อไปอีก ๔ ประเทศ<br />

เจริญจิตภาวนาฟังธรรม “อริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง”<br />

ปีติชื่นใจ ร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นแรกในงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน


วันที่ ๒ ไทย ลาว<br />

“ ธรรมยาตราเคลื่อนข้ามแม่น้ำโขงสู่เมืองลาว แผ่นดินต้นบุญอันเป็นถิ่นฐานที่<br />

ศรัทธาโชติช่วง<br />

พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก สั่งสมบารมีสมณธรรมขึ้นสู่หน้าที่ประธาน<br />

ศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาวรูปที่ ๔ ท่านเป็นผู้จุดประกายให้แนวทาง<br />

สู่แผ่นดินต้นบุญ<br />

และสนับสนุนให้เกิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำโขง<br />

จุดหมายของธรรมยาตราในวันนี้หลังเดินทางออกจากจังหวัดอุบลราชธานี<br />

จึงมุ่งสู่แขวงจำปาสัก เริ่มด้วยวัดสีสะหว่างวง เมืองโพนทอง และปักกลดพักค้างที่<br />

วันจันทร์ที ่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

วัดพูส่าเหล้า เมืองปากเซ ย้อนรอยพระอริยสงฆ์พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง<br />

สะมาเลิก อดีตพระอาจารย์ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐”


74 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 75<br />

วันที่ ๒ สวัสดี - อุบลราชธานี<br />

ธรรมยาตรา จุดประกายสันติภาพโลก<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย<br />

ธรรมยาตราเริ่มดำเนินแล้วเป็นวันที่ ๒ ขับเคลื่อนด้วยพลังความสามัคคีของ<br />

ชาวพุทธ มุ่งหวังให้เกิดเป็นพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ เพื่อนำการ<br />

เผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เข้าไปถึงหัวใจของประชาชน จุดประกายสันติภาพโลก ให้<br />

เห็นถึงความไร้พรหมแดนแห่งความรักและเมตตาธรรมที่สื่อถึงกันได้ และเราสร้าง<br />

สันติภาพให้โลกนี้ได้จริงโดยเริ่มต้นจากปฏิบัติขัดเกลาจิตใจตนเองตามคำสอนของ<br />

องค์สมเด็จพระภควันต์<br />

ปฏิบัติธุดงควัตร ขัดเกลาจิตกำจัดกิเลส<br />

เช้านี้คณะธรรมยาตรายังปักหลักอยู่ที่บ้านดอนกลาง ตำบลกุศกร อำเภอตระการพืชผล<br />

จังหวัดอุบลราชธานี ปฐมธรรมยาตราในครั้งนี ้มีจุดเริ่มในสถานที่อันมงคลสมบูรณ์ยิ่ง<br />

คือบ้านของพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก ซึ่งมีเขตแดนอยู่ในจังหวัด<br />

อุบลราชธานี เมืองที่ได้รับสมญานามว่าเป็น “ดินแดนแห่งนักปราชญ์” ตั้งแต่สมัยรัชกาล<br />

ที่ ๖ อีกทั้งยังเป็นบ้านเกิดของพระอริยสงฆ์ในประเทศไทยหลายรูปด้วยกัน เช่น พระครู<br />

วินัยธรมั่น ภูริทตฺโต พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระอาจารย์ขาว อนาลโย<br />

พระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมธาจารย์ (ลี ธมฺมธโร) พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) เป็นต้น<br />

การเดินทางตามรอยพระอริยสงฆ์เริ่มต้นอย่างเข้มข้น การพักค้างเมื่อคืนเป็น<br />

คืนแรก ครั้นฟ้าเริ่มสางพอมีแสงคณะสงฆ์เริ่มเก็บกลด เก็บเต็นท์ และดูแลเก็บสัมภาระ<br />

อัฐบริขารคืนสถานที่ให้เรียบร้อย คืนแรกกับการตามรอยปฏิปทาของพระอริยสงฆ์ลุ่ม<br />

น้ำโขงได้ผ่านไปอย่างเป็นรูปธรรมมากที่สุด ในส่วนของสถานที่พักค้างแต่ละแห่งของ<br />

คณะสงฆ์ตลอดเส้นทางนั้น พระสงฆ์มีแนวทางปฏิบัติคือ จะพักตามที่เจ้าของสถานที่<br />

จัดไว้ จัดให้อย่างไรก็จะพักเช่นนั้นโดยไม่เลือกว่าสะดวกสบายหรือถูกใจหรือไม่<br />

สถานที่พักลดความสะดวกสบายทุกประการ<br />

การเดินทางของคณะพระสงฆ์ธรรมยาตราเพื่อทำกุศลกิจการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในครั้งนี้<br />

พระสงฆ์จะตั้งใจสมาทานปฏิบัติธุดงควัตรไว้เป็นหลักดำเนินชีวิตสมณะอันเป็นแนวทางการ<br />

ปฏิบัติที่ขึ้นอยู่กับความสมัครใจ ทั้งนี้เพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติเพิ่มเติมตามความเพียรมุ่งขัดเกลา<br />

ทางจิตเพื่อกำจัดกิเลส สำหรับสถานที่พักค้างของพระสงฆ์ก็เป็นแนวทางปฏิบัติหนึ่งซึ่ง<br />

อยู่ในหมวดหมู่การปฏิบัติธุดงควัตร การจัดที่พักค้างในคืนแรกนี้ พระครูวินัยธรเชาวพิทย์<br />

สุธีโร ได้จัดที่พักไว้รับรองคณะธรรมยาตราในป่าโปร่ง ซึ่งเหมาะแก่การปฏิบัติธุดงควัตร


76 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 77<br />

วันที่ ๒ สวัสดี - อุบลราชธานี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สถานที่พักค้างในราวป่าค่ำคืนที่ผ่านมาจึงเป็นการกางเต็นท์ปักกลด<br />

อยู่ใต้โคนต้นไม้ ลดความสุขสะดวกสบายทุกประการ ไม่มีหลังคาที่สร้าง<br />

มุงบัง ไม่พลุกพล่านวุ่นวาย นับเป็นสถานที่สัปปายะสำหรับการเจริญจิต<br />

ภาวนายิ่ง<br />

ตักบาตรด้วยจิตใจจำนงตรงต่อพระนิพพาน<br />

เช้านี้กำหนดการของคณะธรรมยาตราคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินคือออกรับบาตร<br />

ที่วัดโพธิ์สระปทุม ภาพที่ปรากฏตอนเช้าตรู่มีประชาชนรอใส่บาตรตั้งแถวยาว<br />

ดูเป็นระเบียบงามตา เห็นถึงพลังพุทธมามกะผู้ประกาศศรัทธาความเคารพ<br />

นับถือในพระรัตนตรัยที่มีอยู่ภายในจิตใจตนให้ปรากฏออกมาภายนอกด้วย<br />

กิริยาวาจางดงามมีกุศลศรัทธา<br />

แถวใส่บาตรกำหนดให้หัวแถวอยู่ภายในวัดโพธิ์สระปทุม มีท่าน<br />

นายอำเภอเป็นผู้นำ รวมกับคณะผู้ใหญ่ของชมรมโพธิคยา ๙๘๐ นำโดย<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ และกลุ่มผู้นำชาวพุทธองค์กรภาคีเครือข่าย ๕ แผ่นดิน<br />

ส่วนปลายแถวอยู่บริเวณสถานที่ก่อสร้างพระอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ<br />

ประชาชนที่มารอใส่บาตรวันนี้มีความคิดคล้ายกันว่า “วันนี้ตั้งใจมา<br />

อยากมาเห็น เพราะไม่เคยเห็นและได้ใส่บาตรพระสงฆ์ ๕ ประเทศ พระสงฆ์<br />

ท่านเดินทางไกลกันมาจากหลายวัดทั่วสารทิศ บุญนี้บุญใหญ่”<br />

ชาวบ้านผู้ใฝ่ธรรมในละแวกนี้ย่อมไม่ยอมพลาดงานบุญนี้ พากัน<br />

แต่งตัวชุดชาวบุญพื้นถิ่นดูสวยงามเป็นพิเศษ ส่วนใหญ่ใส่เสื้อสีขาว นุ่งผ้า<br />

ทอพื้นเมืองเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าไหม ชาวลาวที่ได้ยินข่าวก็มาคอยใส่บาตรด้วย<br />

ต่างแต่งกายงามตามประเพณี เสื้อตัดทันสมัยเข้ารูปพอตัว ห่มสไบ-ผ้าเบี่ยง<br />

นุ่งซิ่นทอมือยาวคลุมเข่างามอย่างแม่หญิงลาว


78 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 79<br />

วันที่ ๒ สวัสดี - อุบลราชธานี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

วันนี้ชาวบ้านส่วนใหญ่ตักบาตรด้วยข้าวเหนียว อาหารแห้ง และถวายดอกไม้บูชาพระ<br />

ส่วนกับข้าวแยกไว้ต่างหากไม่ใส่รวมในบาตร โดยจะนำกับข้าวตามไปสถานที่ที่จัดไว้สำหรับ<br />

ฉันภายหลัง ประชาชนเตรียมทุกอย่างช่วยกันและนำมาจากบ้าน ข้าวเหนียวหุงใหม่ใส่กระติบ<br />

พร้อมนำเสื่อมาปูนั่งรอ ระหว่างรอพระสงฆ์มาถึงสังเกตชาวบ้านมักอธิษฐานจิตก่อน บางคน<br />

ขายังแข็งแรงดีก็นั่งกระหย่ง ไม่ก็นั่งพับเข่าท่าเทพธิดาหรือเทพบุตร มือทั้งคู่ประคองกระติบ<br />

ข้าวเหนียวยกขึ้นเสมอหน้าผาก กล่าวคำอธิษฐานตามจิตปรารถนา ส่วนคำถวายข้าวแบบไทย<br />

ที่สอนต่อๆ กันมาเป็นรูปแบบตัวอย่างตามนี้ว่า<br />

“ข้าวของข้าพเจ้านี้ขาวเหมือนดอกบัว ยกขึ ้นทูนหัว ตั้งใจจำนงตักบาตรพระสงฆ์<br />

ตรงต่อพระนิพพาน ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วบ่วงมาร ขอให้<br />

บรรลุพระนิพพานในอนาคตกาลอันใกล้นี้เทอญ”<br />

ด้วยจิตใจที่ผูกพันอยู่กับพระศาสนา พิธีใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระรัตนตรัยถือเป็นพิธี<br />

กรรมศักดิ์สิทธิ์ทั้งสิ้น เรื่องการใส่บาตรก็เช่นกัน ของที่ถวายจึงจัดเตรียมอย่างดี ประณีต<br />

สะอาด ยกทูนเหนือเศียรเกล้า ส่วนดอกไม้บูชาพระชาวบ้านจะจัดหาดอกไม้ที่หาได้ภายใน<br />

บริเวณที่อยู่อาศัย การเด็ดดอกไม้ก็เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน ผู้เฒ่าผู้แก่ชาวบุญทั้งหลาย<br />

เล่าว่า คนสมัยก่อนละเอียดอ่อนด้วยศีลด้วยธรรม มีวิธีฝึกอบรมจิตใจให้เคารพต่อธรรมชาติ<br />

และสรรพสิ่ง ยิ่งการใดๆ ที่ทำเพื่อถวายแด่พระรัตนตรัยก็ยิ่งกระทำด้วยความเคารพ เช่น<br />

เวลาจะเด็ดดอกไม้ไปถวายพระ ก่อนเด็ดดอกไม้ต้องมีคำเชิญดอกไม้ก่อน มีถ้อยคำ<br />

แตกต่างกันไปแล้วแต่ถ่ายทอดกันมา แต่ใจความก็คือขออนุญาตดอกไม้ก่อนเด็ด และ<br />

บอกถึงบุญกุศลอันคือสวรรค์พระนิพพานที่จะได้รับจากการบูชาพระรัตนตรัย มีตัวอย่าง<br />

ตามนี้ว่า<br />

“ดอกเอ๋ยดอกไม้จะอยู่ทำไมในเมืองกันดาร จงไปพระนิพพานด้วยกันเถิดเอย”<br />

“เจ้าดวงเอ๋ย เจ้าดวงมาลา ไปวัดด้วยข้า ไปทำบุญด้วยกัน เด็ดเจ้าวันนี้ จะไปสู่สวรรค์<br />

ไปทำบุญด้วยกัน เถิดเจ้าดวงมาลา”<br />

อย่างไรก็ดีตามหลักพระพุทธศาสนานั้น<br />

การบูชาพระรัตนตรัยสามารถทำได้หลายทาง<br />

เช่น ตักบาตร สวดมนต์ ถวายดอกไม้ ซึ่งเป็น<br />

อามิสบูชา เป็นการบูชาด้วยสิ่งของที่พระพุทธเจ้า<br />

ก็ไม่ได้สรรเสริญ พระองค์สรรเสริญการปฏิบัติ<br />

บูชามากกว่า คือการปฏิบัติขัดเกลาตัวเองให้<br />

หมดกิเลสจากความโกรธ ความโลภ ความหลง<br />

และกุญแจสำคัญในการปฏิบัติตามหลักพระ-<br />

พุทธศาสนาเพื่อการพ้นทุกข์ คือ ละบาป ทำบุญ<br />

การบำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา สำหรับหัวข้อ “ให้<br />

ทาน” นี้มีวิถีที่สืบทอดมาแต่บรรพบุรุษชาว<br />

พุทธมากมาย ครั้งนี้ได้เห็นชาวบ้านที่นี่ตั้งใจ<br />

แบ่งข้าวเหนียวจากการใส่บาตรมาปั้นเป็นก้อน<br />

แล้วนำไปแปะติดตามต้นไม้ รั้วบ้าน ประตูบ้าน<br />

พวกมดนกหนูก็มากินข้าวเหนียวที่ติดไว้ตาม<br />

ที่ต่างๆ การแบ่งข้าวไว้เพื่อนำไปแปะตามที่<br />

ต่างๆ นับเป็นกุศโลบายที่คนโบราณสอนลูก<br />

หลานชาวพุทธให้รู้จักแบ่งปัน ก่อนที่ตนเองจะ<br />

รับประทานอะไรในแต่ละวันให้เริ่มต้นด้วย<br />

การให้ทาน สิ่งนี้อธิบายเปรียบว่าเป็นวิธีการ<br />

เติมบุญใหม่ จะไม่กินบุญเก่า เป็นวิธีการปฏิบัติ<br />

ขัดเกลาใจให้ความตระหนี่และความโลภเบา<br />

บางลง


80 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 81<br />

สะบายดี - เมืองลาว<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

คณะสงฆ์ธรรมยาตราออกรับบาตรครั้งแรก<br />

เวลาประมาณ ๐๖.๓๐ น. คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินออกเดินรับบาตรที่นับเป็นครั้งแรกของ<br />

คณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน งานนี้ไม่ใช่แค่ชาวบ้านเท่านั้นที่อิ่มใจได้ทำบุญกับพระสงฆ์<br />

๕ แผ่นดิน แต่คณะพระสงฆ์ที่เดินทางมาจากทิศทั้ง ๔ ในครั้งนี้ก็ปีติกับกุศลที่เกิดขึ้นด้วย<br />

เช่นกัน เมื่อได้เห็นอุบาสกอุบาสิกาจิตใจดีมีบุญเคารพพระรัตนตรัยบำรุงพระศาสนามา<br />

ชุมนุมกันทำหน้าที ่พุทธบริษัทตามรูปแบบประเพณีท้องถิ่น เป็นการแสดงถึงความเคารพ<br />

นับถือต่อพระรัตนตรัยอันเป็นที่พึ่งอันประเสริฐ<br />

พระธรรมวรนายก ประธานโครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปปฏิบัติธรรมเชิงลึก ณ แดน<br />

พุทธภูมิอินเดีย-เนปาล อายุ ๘๔ ปี ๖๔ พรรษา นั่งรถเข็นนำหน้าเป็นประธานนำคณะสงฆ์<br />

รับบิณฑบาตในวันนี้ เมื่อแล้วเสร็จท่านก็เข้ามณฑลพิธีที ่จัดไว้สำหรับถวายภัตตาหารเช้า<br />

พระสงฆ์เข้านั่งบนอาสนะตามลำดับ อุบาสกนำภาชนะมาถ่ายข้าวเหนียวออกจากบาตร<br />

ชาวบ้านจัดเตรียมข้าวปลาอาหารซึ่งมีทั้งอาหารพื้นถิ่นอีสาน อาหารไทยภาคกลาง อาหาร<br />

รสชาติกลางๆ ที่จัดเตรียมเผื่อไว้สำหรับพระกัมพูชา พระเมียนมา และพระเวียดนามที่อาจ<br />

ไม่คุ้นกับอาหารอีสาน ส่วนพระลาวไม่ต้องห่วงเพราะอาหารที่ฉันคล้ายคลึงอย่างแทบจะ<br />

แยกไม่ออก<br />

เมื่อคณะสงฆ์นั่งเรียบร้อยดีแล้วจึงเริ่มเจริญพระพุทธมนต์ ลำดับต่อไปถวายภัตตาหาร<br />

เช้าโดยค่อยๆ เรียงลำดับอาหาร เริ่มจากข้าว อาหารคาวหวาน ผลไม้ น้ำปานะ พระสงฆ์<br />

แต่ละรูปเลือกตักใส่บาตรตามลำดับและส่งต่อพระสงฆ์รูปถัดไปจนถึงรูปสุดท้าย จากนั้น<br />

จึงส่งอาหารคืนให้ชาวบ้านเพื่อจัดเตรียมเลี้ยงชาวบ้านในลำดับต่อไป จบพิธีถวายภัตตาหาร<br />

คณะสงฆ์ได้ให้พรเป็นภาษาบาลี


82 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 83<br />

วันที่ ๒ สวัสดี - อุบลราชธานี<br />

สะบายดี - เมืองลาว<br />

ธรรมจาริกโดยธรรมสู่เมืองลาว<br />

เวลา ๐๙.๐๐ น. ตั้งขบวนธรรมยาตรามุ่งหน้าสู่ลาวที่วัดโพธิ์สระปทุม คุณสันติ<br />

เหล่าบุญเสงี่ยม รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี คุณนคร ศิริปริญญานนท์ นาย<br />

อำเภอตระการพืชผลและคณะ พร้อมด้วยคุณชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

ดร.อภัย จันทนจุลกะ รองประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการ<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พร้อมอัญเชิญธงฉัพพรรณรังสี ธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดิน และเสาเสมาธรรมจักรไว้ด้านหน้า ขบวนเริ่มต้นที่พระอุโบสถวัดโพธิ์สระปทุม<br />

ก่อนเคลื่อนขบวนคณะสงฆ์สวดมนต์ขอขมาพระรัตนตรัย จากนั้นเคลื่อนขบวนผ่าน<br />

สถานที่ก่อสร้างพระอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ ผ่านหมู่บ้านดอนกลาง หมู่บ้านเก่าแก่<br />

อายุกว่า ๒๕๐ ปี ผ่านวัดบูรพาซึ่งเป็นวัดที่มีเจดีย์บรรจุพระอัฐิธาตุของหลวงปู่ชูผู้เป็น<br />

พระกรรมวาจาจารย์ มีเจดีย์ของพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่องประดิษฐานอยู่<br />

ตลอดทางมีชาวบ้านนั่งเป็นแถวรอส่งพร้อมสรงน้ำคณะสงฆ์ตามประเพณีท้องถิ่น โดยใช้<br />

ดอกพุดสีขาวซึ่งมีความหมายถึงความบริสุทธิ์สุดบูชา เพื่อความเจริญ แข็งแรง มั่นคง<br />

ดอกไม้นี้มีความหมายอันเป็นสิริมงคลน้อมส่งพระคุณเจ้าเดินทางสู่แดนไกล<br />

คุณนคร ศิริปริญญานนท์กล่าวว่า “ไม่เคยมีงานแบบนี้มาก่อน เมื่อคณะธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดินมาเยือนอำเภอตระการพืชผล ชาวอุบลราชธานีก็รู้สึกดีใจจึงพร้อมให้ความ<br />

ร่วมมือร่วมบุญในครั้งนี้”<br />

การเดินธรรมยาตราเหมือนสมัยพุทธกาลที่คณะสงฆ์จะเผยแผ่พระพุทธศาสนา<br />

ด้วยการเดินผ่านหมู่บ้านต่างๆ ชาวบ้านได้ชื่นชมจริยวัตรของพระสงฆ์ เห็นท่านจาริกไป<br />

โดยธรรมเพื่อประกาศพระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จาริกไป<br />

เพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน อนุเคราะห์ชาวโลก และเพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุข<br />

แก่สรรพสัตว์ คณะธรรมยาตราลาจากบ้านดอนกลางมุ่งสู่วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว จังหวัด<br />

อุบลราชธานี เพื่อแวะพักฉันภัตตาหารเพลก่อนผ่านด่านช่องเม็กเข้าสู่เมืองลาว<br />

ภาพความทรงจำที่วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว ก่อนเดินทางมุ่งสู่ด่านช่องเม็กเข้าสู่เมืองลาวเพื่อหนุนเสริมการเผยแผ่พระธรรมค ำสอน<br />

ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันเป็นไปเพื่ออนุเคราะห์ชาวโลกและเพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่สรรพสัตว์<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ที่วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว<br />

ก่อนถึงด่านช่องเม็กตรวจคนเข้าเมืองไทย-ลาว ๒ กิโลเมตร คณะธรรมยาตราหยุดพักฉันเพล<br />

ที่วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว (วัดภูพร้าว) อำเภอสิรินธร ห่างจากตัวจังหวัดอุบลราชธานีราว<br />

๗๐ กิโลเมตร โดยมีคณะเจ้าภาพชาวจังหวัดอุบลราชธานีเป็นผู้จัดอาหารคาวหวานถวาย<br />

วัดภูพร้าวเป็นจุดนัดหมายกับคณะธรรมยาตราจากเมียนมาที่จะเข้ามาสบทบ นำโดย<br />

ดร.คิน ฉ่วย ประธานสหพันธ์พุทธเถรวาทแห่งเมียนมา ผู้เป็นมหาอุบาสกคนสำคัญของ<br />

ประเทศเมียนมา<br />

พิธีเริ่มต้นเมื่อเวลาประมาณเที่ยง คณะธรรมยาตรารวมกันที่พระอุโบสถสง่างาม<br />

สีเหลืองทอง ออกแบบสถาปัตยกรรมศิลปะลาว เริ่มเจริญพระพุทธมนต์นำโดยคณะสงฆ์จาก<br />

เมียนมาที่เสียงดังเข้มแข็ง ท่วงทำนองต่างออกไปไม่คุ้นหู แต่คำภาษาบาลีในเสียงสวดมนต์<br />

ทำให้อบอุ่นใจ


84 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 85<br />

วันที่ ๒ สวัสดี - อุบลราชธานี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

จากนั้นดร.สุภชัย วีระภุชงค์ถวายพระพุทธเมตตาแด่พระครู<br />

ปัญญาวโรบล (ปริญญา ติสสฺวโร) เจ้าอาวาสวัดสิรินธรวรารามภูพร้าวและ<br />

บันทึกภาพหมู่ร่วมกันเป็นภาพความทรงจำว่าครั้งหนึ่งคณะธรรมยาตรา<br />

ได้มาเยือน ณ วัดภูพร้าวแห่งนี้ที่เป็นวัดสำคัญของประเทศไทย และวัด<br />

สำคัญที่พระอริยสงฆ์ลาวใช้เป็นจุดพักไปมาหาสู่ระหว่างเมืองไทยเมืองลาว<br />

ตามประวัติแล้ววัดภูพร้าวเป็นวัดเก่าแก่ตั้งอยู่เนินเขา มีการออกแบบโดยใช้<br />

ต้นแบบจาก “วัดเชียงทอง” ที่สปป.ลาว ต้นเสาลงลวดลายด้วยมือ วัดนี้<br />

นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวัดเรืองแสงเนื่องมาจากภาพจิตรกรรมต้นกัลปพฤกษ์<br />

บนผนังด้านหลังพระอุโบสถที่จะเรืองแสงในยามค่ำ ปฐมเจ้าอาวาสผู้ก่อตั้ง<br />

วัดคือหลวงพ่อบุญมาก ฐิติปัญโญ ศิษย์หลวงปู่เสาร์และหลวงปู่มั่น ต่อมา<br />

เมื่อหลวงพ่อบุญมากเดินทางกลับไปที่เมืองลาวอันเป็นภูมิลำเนา วัดภูพร้าว<br />

แห่งนี้ก็กลายเป็นวัดร้าง ต่อมาหลวงปู่กิ ธัมมุตฺตโมจึงได้มอบหมายให้หลวงปู่<br />

สีทน กมโลเป็นเจ้าอาวาสดูแลวัด พัฒนาถาวรสืบต่อมาจนถึงเจ้าอาวาส<br />

องค์ปัจจุบัน ที่นี่จึงเป็นวัดสำคัญอีกวัดหนึ่ง นอกจากพระอุโบสถที่เป็น<br />

จุดเด่นแล้ว ด้านหลังพระอุโบสถยังมีศาลาไม้ชมวิว ภายในศาลาประดิษฐาน<br />

รูปเหมือนบูรพาจารย์สายวัดป่า<br />

ใกล้เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น. คณะธรรมยาตราพร้อมออกเดินจาก<br />

วัดภูพร้าวถึงด่านพรมแดนช่องเม็กระยะทาง ๒ กิโลเมตร ใช้เวลาไม่นานก็<br />

ถึงด่าน ณ จุดนี้เป็นที่สิ้นสุดของทางหลวงหมายเลข ๒๑๗ จากอุบลราชธานี<br />

คณะธรรมยาตราออกจากด่านประตูประเทศไทยสู่ประเทศลาวผ่านทางด่าน<br />

พรมแดนวังเต่าอันเป็นจุดผ่านแดนจุดเดียวในภาคอีสานที่สามารถเดินทาง<br />

ไปประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยทางพื้นดิน ในขณะ<br />

ที่จุดอื่นต้องข้ามแม่น้ำโขง เส้นทางนี้จะต่อไปยังเมืองปากเซของสปป.ลาว<br />

“วัดสิรินธรวราราม ภูพร้าวใกล้ด่านพรมแดนช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี พิธีมอบสัญลักษณ์ธรรมยาตรา<br />

และถวายพระพุทธ เมตตาเริ่มขึ้นเมื่อเวลาประมาณเที่ยงวัน คณะธรรมยาตรารวมกันที่พระอุโบสถสีทองอร่าม<br />

คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน เริ่มเจริญพระพุทธมนต์เสียงดังเข้มแข็งพร้อมเพรียง แม้พื้นท่วงทํานองสําเนียงแต่ละ<br />

ชาติอาจแตกต่างกัน แต่ถ้อยคําภาษาบาลีในเสียงสวดมนต์เป็นภาษาเดียวกันทําให้ฟังแล้วสงบอบอุ่นใจ”


86 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 87<br />

สะบายดี - เมืองลาว<br />

สะบายดี - เมืองลาว<br />

สะบายดี<br />

เมืองลาว<br />

คณะสงฆ์ลาวและประชาชนลาวตั้งแถวต้อนรับคณะธรรมยาตราที่วัดสีสะหว่างวง บ้านโพนทอง แขวงจำปาสัก<br />

สะบายดีเมืองลาว ต้อนรับด้วยมิตรภาพอบอุ่นสุดใจ<br />

เ<br />

วลาประมาณ ๑๓.๑๕ น. คณะธรรมยาตราผ่านด่านช่องเม็กประเทศไทยเข้าสู่ด่านพรมแดน<br />

วังเต่า สปป.ลาว ห่างจากด่านพรมแดนวังเต่าไปไม่ไกลก็ได้เห็นภาพความประทับใจที่<br />

ไม่อาจลืมเลือน สัมผัสได้ถึงความตั้งใจและความเป็นมิตรของหน่วยงานทั้งจากส่วนกลาง<br />

และท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องของสปป.ลาว ที่มาคอยปฏิสันถารต้อนรับคณะธรรมยาตราอย่าง<br />

อบอุ่นสุดใจ<br />

ในการนี้ฝ่ายคณะสงฆ์ลาวนำโดยพระอาจารย์ใหญ่สุวัน จันทะลาด ประธาน<br />

องค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว (อพส.) แขวงจำปาสัก พระอาจารย์บุญปอน ศรศักดิ์สิทธิ์<br />

คณะกรรมการและรองประธานศูนย์กลาง อพส. แขวงจำปาสัก พระมหา ดร.พวงประเสิด<br />

พูมาวงศ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์องค์ตื้อ สปป.ลาว คณะประจำการศูนย์กลาง อพส.<br />

พระอาจารย์ ดร.ดำรง พิมะจักร หัวหน้าห้องการศูนย์กลาง อพส. ฝ่ายฆราวาสนำโดย


88 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 89<br />

วันที่ ๒ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ศาสตราจารย์สมพงษ์ กิจสนา รอง<br />

ประธานแนวลาวสร้างชาติ นายบัวลิน<br />

วงพะจัน รองเจ้าแขวงจำปาสัก นาย<br />

ขันคำ แก่นบุดตา หัวหน้าแผนกการ<br />

ต่างประเทศแขวงจำปาสัก นายบุนทะวี<br />

พอนทะสิน รองหัวหน้ากรมศาสนา<br />

และนายนภดล เทพพิทักษ์ เอกอัคร-<br />

ราชทูต ณ เวียงจันทน์ นายณัฐพงศ์<br />

สิทธิชัย รองกงสุลใหญ่ ณ แขวง<br />

สะหวันนะเขต พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ คณะผู้นำลาวถวายขันหมากเบ็งให้ผู้แทนพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

และประชาชนให้การต้อนรับ<br />

คณะธรรมยาตรานำโดยพระธรรมวรนายก พระครูศรีปริยัติวิสุทธิ์ และผู้แทนพระสงฆ์<br />

๕ แผ่นดิน กัมพูชา ลาว ไทย เมียนมา และเวียดนาม พร้อมผู้นำชาวพุทธภาคีเครือข่าย<br />

๕ แผ่นดิน ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ คุณเกษม มูลจันทร์ คุณสุรพล มณีพงษ์ ดร.คิน ฉ่วย<br />

พันตรี มู่ตง ผู้นำทหารกะเหรี่ยง หลังจากทำความเคารพคณะสงฆ์และกล่าวทักทายกันแล้ว<br />

ได้มีพิธีมอบสัญลักษณ์ธรรมยาตรา อันได้แก่ เสาเสมาธรรมจักร ธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดิน ธงฉัพพรรณรังสี อันเป็นนิมิตหมายว่าคณะธรรมยาตราได้มาถึงสปป.ลาว<br />

พิธีดำเนินไปอย่างเรียบง่ายอบอุ่นเป็นมิตรและจริงใจ<br />

คณะสงฆ์ลาวพร้อมคณะผู้นำลาว คอยต้อนรับคณะธรรมยาตราที่ด่านพรมแดนวังเต่า


90 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 91<br />

มุ่งหน้าวัดสีสะหว่างวง เมืองโพนทอง สักการะพระอัฐิธาตุ<br />

จุดหมายต่อไปคณะธรรมยาตราเดินทางมุ่งสู่วัดสีสะหว่างวง เมืองโพนทอง นครปากเซ แขวง<br />

จำปาสัก สำหรับแขวงจำปาสักนี้ตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศลาว ติดชายแดนประเทศไทย<br />

และกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ ๓ ของลาว<br />

รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน ถือเป็นศูนย์กลางการเมือง การปกครอง<br />

และเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์<br />

มีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า “ดินแดนสีพันดอน”<br />

วัดสีสะหว่างวงนี้มีความสำคัญและผูกพันกับพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง ตาม<br />

ประวัติใน พ.ศ. ๒๔๗๓ เมื่อท่านอายุประมาณ ๑๕ ปี พระอาจารย์ใหญ่ ดร. พระมหาผ่อง<br />

ย้ายถิ่นตามบิดามาจากจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อมาสร้างถิ่นฐานใหม่ที่เมืองโพนทอง และ<br />

ปัจจุบันยังมีพี่น้องครอบครัวสายสกุล “สะมาเลิก” อาศัยอยู่ในละแวกไม่ไกลจากวัด<br />

สีสะหว่างวง ต่อมาภายหลังพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่องเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการช่วย<br />

ก่อสร้างและทำนุบำรุงวัดนี้


92 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 93<br />

วันที่ ๒ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เมื่อคณะธรรมยาตรามาถึงวัดสีสะหว่างวง<br />

ตั้งขบวนอยู่ปากทางเข้าวัด ตลอดทางเดินไปสู่วัด<br />

สัมผัสได้ถึงบรรยากาศแห่งความเป็นมิตร มีคณะ<br />

พระสงฆ์และลูกหลานลูกศิษย์ของหลวงปู่ผ่องและ<br />

ชาวบ้านมาคอยต้อนรับ ความยินดีปรีดาปรากฏชัด<br />

อยู่บนใบหน้าที่ยิ้มแย้ม ผู้คนแต่งกายเรียบร้อยสวยงาม<br />

เหมาะแก่มาวัดพบสมณะ ชุดพื้นเมืองหลากสี เสื้อ<br />

เข้ารูปพอดีตัว ห่มผ้าเบี่ยง-สไบ นุ่งซิ่นทอลายยาวแค่<br />

คลุมเข่า สองมือประคองถือขันหมากเบ็งหรือพานพุ่ม<br />

ประดิดประดอยทำกรวยด้วยใบตองล้อมรอบด้วย<br />

ดอกไม้เครื่องบูชาพร้อมธูปเทียนสำหรับสักการบูชา<br />

พระรัตนตรัย<br />

เมื่อถึงภายในวัดสีสะหว่างวง ท่านเจ้าอาวาส<br />

ได้ต้อนรับและจัดเตรียมสถานที่รับรองไว้บริเวณหน้า<br />

รูปหล่อพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง อุบาสก<br />

อุบาสิกานำขันหมากเบ็งพร้อมเครื่องบูชาถวายและ<br />

มอบแด่คณะ เพื่อให้คณะได้กราบบูชาพระรัตนตรัย<br />

และกราบสักการบูชาพระอัฐิธาตุพระอาจารย์ใหญ่<br />

ดร.พระมหาผ่อง น้อมระลึกถึงพระคุณอันประเสริฐ<br />

ของผู้เป็นต้นบุญในการจัดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงในครั้งนี้<br />

ความผูกพันระหว่างพระอาจารย์ใหญ่กับบ้าน<br />

โพนทองอันเป็นสถานที่ตั้งของวัดสีสะหว่างวงแห่ง<br />

นี้สืบเนื่องด้วยเป็นถิ่นอาศัยที่ท่านเติบโต และจากคำบอกเล่าของอาจารย์ธนพรรณ<br />

แก้วจันดีหลานสาวของท่านที่ว่า หลวงปู่ท่านนำอัฐิธาตุของคุณพ่อสีหาและคุณแม่วันนา<br />

สะมาเลิกโยมพ่อโยมแม่ของท่านมาเก็บไว้ที่ฐานใต้รูปหล่อเหมือนของท่านด้วย<br />

การได้มาเยือนวัดสีสะหว่างวงวันนี้จึงเปรียบเสมือนได้กลับมาย้อนตามรอยหลวงปู่<br />

ผ่องอย่างแท้จริง ได้เห็นสถานที่ที่ท่านเคยอยู่เคยเติบโต ได้เห็นชีวิตและผลงานของท่าน<br />

ได้เห็นเหล่าลูกศิษย์ลูกหลานที่ศรัทธาท่านได้ร่วมแรงร่วมใจต้อนรับคณะธรรมยาตรา<br />

อุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา ทั้งยังได้เห็นวัฒนธรรมประเพณีอันมีรากฐานความเชื่อถือที่<br />

สัมผัสได้ถึงการเข้าลึกถึงพลังแห่งธรรม


94 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 95<br />

สะบายดี - เมืองลาว<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ จิตใจน้อมถึงพระคุณองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์การปลูกหน่อพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งนับเป็นต้นที่ ๒ แห่งการเคลื่อนธรรมยาตรา<br />

เชื่อว่าหัวใจของชาวโพนทองย่อมเกิดปีติยินดี หลายคนไม่เคยเห็นต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่าเป็น<br />

อย่างไร วันนี้ชาวโพนทองไม่เพียงได้เห็น หากยังได้ร่วมปลูกต้นพระศรีพระมหาโพธิ์อันเป็น<br />

ต้นไม้มงคล ด้วยสืบหน่อมาจากต้นโพธิ์ที่เป็นสหชาติขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

เป็นร่มเงาให้พุทธบัลลังก์พระแท่นวัชรอาสน์สถานที่ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ<br />

เจ้าอาวาสวัดสีสะหว่างวงจัดเตรียมสถานที่ปลูก เตรียมดอกไม้ และน้ำนมไว้รดต้นโพธิ์<br />

คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินร่วมเจริญพระพุทธมนต์ มีคณะสงฆ์เมียนมาเป็นต้นเสียงดังกังวาน<br />

เข้มแข็ง พุทธบริษัท ผู้นำฝ่ายลาว และผู้นำฝ่าย<br />

องค์การภาคีเครือข่ายทั้งหมด พร้อมชาวบ้านเมือง<br />

โพนทองร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ โรย<br />

ดอกไม้และสิ่งอันเป็นสิริมงคล บรรจงรดน้ำมนต์<br />

ที่หน่อโพธิ์ โดยมีคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินเป็นผู้นำ<br />

จากนั้นคณะธรรมยาตราเดินทางต่อไป<br />

ยังวัดพูส่าเหล้า เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก ภาพ<br />

ความสวยงามแห่งชาวพุทธในบ้านโพนทองที่<br />

เห็นนี้ยืนยันสิ่งที่ได้รับรู้มาคือไม่ว่าสถานการณ์<br />

การบ้านการเมืองลาวจะเป็นอย่างไร แต่สิ่งหนึ่ง<br />

ซึ่งดำรงอยู่ในหัวใจชาวลาวทุกคนมาโดยตลอด<br />

ก็คือพุทธศาสนา<br />

แล้วเวลาแห่งการจากก็มาถึง คณะธรรม-<br />

ยาตราอำลาชาวโพนทองมุ่งหน้าสู่วัดพูส่าเหล้า<br />

และได้มอบหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ไว้ให้ดูแล<br />

ต่อนี้ไป ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ วัดสีสะหว่างวง<br />

จะเป็นความทรงจำแห่งการมาเยือนของคณะ<br />

ธรรมยาตราด้วยหัวใจรักในพระพุทธศาสนา และ<br />

ที่สำคัญที่สุดต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ ที่นี้จะเป็น<br />

สายใยเชื่อมโยงจิตใจให้น้อมระลึกถึงพระคุณของ<br />

องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันเป็นทางสู่<br />

การฝึกปฏิบัติตามที่พระพุทธองค์ทรงเมตตาชี้ทาง<br />

ไว้เพื่อความสุขแห่งพระนิพพาน


96 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 97<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

วัดพูส่าเหล้า<br />

เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก<br />

ณ วัดพูส่าเหล้า ที่นี่ได้จัดให้มีพิธีต้อนรับอย่าง<br />

เป็นทางการทั้งฝ่ายพุทธจักรและรัฐจักร ฝ่าย<br />

พุทธจักรนำโดยพระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน<br />

ดำรงบุญ ประธานศูนย์กลางองค์การพุทธ-<br />

ศาสนาสัมพันธ์ลาว พร้อมด้วยคณะผู้นำสงฆ์<br />

ลาว ฝ่ายรัฐจักรลาวนำโดย ศ. ดร.สมอก<br />

กิ่งสะดา รองประธานศูนย์กลางแนวลาวสร้าง<br />

ชาติ นายบุนทะวี พอนทะสิน รองหัวหน้า<br />

กรมศาสนา ผู้บริหารแขวง เจ้าหน้าที่ พระสงฆ์<br />

สามเณร และประชาชนเข้าร่วมงานพิธีนี้กว่า<br />

๒๐๐ คน<br />

วัดพูส่าเหล้าตั้งอยู่บนภูเขาใกล้กับ<br />

สะพานลาว-ญี่ปุ่น เมื่อมองมาจากบนสะพาน<br />

จะเห็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่สีเหลืองทอง<br />

สง่างามบนเนินผา เช่นเดียวกันจากจุดที่ตั้ง<br />

ของพระพุทธรูปองค์ใหญ่ก็เป็นจุดที่เรา<br />

สามารถมองเห็นทัศนียภาพของเมืองปากเซ<br />

เห็นลำแม่น้ำโขง การขึ้นวัดมีสองทาง คือ เดิน<br />

ขึ้น และใช้รถตู้ขับขึ้นไป คณะธรรมยาตรา<br />

เปลี่ยนมาเดินทางโดยรถตู้ทยอยกันขึ้นไปบน<br />

ภูเขาที่บางช่วงเป็นถนนค่อนข้างชัน


98 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 99<br />

“คณะธรรมยาตราได้มาเปิดหูเปิดตาทําให้ชาวลาวเฮาเห็นความสําคัญของพระพุทธศาสนา เห็นปฏิปทาของพระสงฆ์องค์เจ้า ข้าพเจ้ามีความซื่นซมยินดี ขอแสดงความขอบอกขอบใจ<br />

ขอให้บุญนี้จงเป็นพลวปัจจัยนําชาวพุทธ ๕ ประเทศที่มาร่วมกันในมื้อนี้จงเจริญงอกงามใน บวรพุทธศาสนา มีความมั่นคงพนมแก่นอยู่ในศีลในธรรมขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

ตลอดไป” โอวาทธรรมพระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน ดํารงบุญ ประธานศูนย์กลางองค์ การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว เมื่อท่านกล่าวจบ เสียงกล่าวคําสาธุการดังทั้งศาลา”


100 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 101<br />

วันที่ ๒ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เมื่อรถตู้มาจอดที่วัดพูส่าเหล้า ภาพที่ปรากฏในสายตาและสัมผัสได้คือ ชาวเมือง<br />

ปากเซมาต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองด้วยการแต่งกายสีสันสวยงามตามประเพณีท้องถิ่น<br />

ห่มผ้าเบี่ยง ผ้าซิ่นคลุมเข่า เรียกความรู้สึกตื่นใจถึงความเป็นมิตรที่มอบให้จากการต้อนรับ<br />

เต็มพิธีการซึ่งจัดขึ้นบริเวณศาลาที่เปิดกว้างและมองเห็นทัศนียภาพของเมืองปากเซ เห็น<br />

ลำแม่น้ำโขงได้<br />

เมื่อคณะนั่งสงบเรียบร้อยดีแล้ว พระสงฆ์ ๕ แผ่นดินนั่งอยู่บนอาสนะเบื้องหลัง พระ<br />

อาจารย์ใหญ่พระมหางอน ดำรงบุญ ประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว<br />

เปิดพิธีต้อนรับคณะธรรมยาตราอย่างอบอุ่น พระอาจารย์ใหญ่พระมหางอนได้กล่าวใน<br />

พิธีนี้ตอนหนึ่งว่า “คณะธรรมยาตราได้มาเปิดหูเปิดตา ทำให้ชาวลาวเฮาเห็นความสำคัญ<br />

ของพระพุทธศาสนา เห็นปฏิปทาของพระสงฆ์องค์เจ้า ข้าพเจ้ามีความซื่นซมยินดี ขอแสดง<br />

ความขอบอกขอบใจ ขอให้บุญนี้จงเป็นพลวปัจจัย<br />

นำชาวพุทธ ๕ ประเทศที่มาร่วมกันในมื้อนี้จงเจริญ<br />

งอกงามในบวรพุทธศาสนา มีความมั่นคงพนมแก่น<br />

อยู่ในศีลในธรรมขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตลอด<br />

ไป”<br />

จากนั้นได้มีพิธีการมอบของที่ระลึกให้กัน<br />

และกัน มีการแสดงศิลปะฟ้อนรำลาว ถัดไปเป็นพิธี<br />

สร้างสัมพันธไมตรี ฝังรากพุทธศาสนาให้อยู่ในดินแดน<br />

สุวรรณภูมิด้วยพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งอัญเชิญ<br />

หน่อมาจากเมืองคยา สาธารณรัฐอินเดีย เจ้าอาวาส


102 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 103<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

วัดพูส่าเหล้าได้จัดสถานที่ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ไว้บริเวณใกล้เชิงผา ณ จุดที่ต้นพระศรี<br />

มหาโพธิ์จะเกิดและเติบโต จุดนี้มองเห็นทัศนียภาพเมืองปากเซได้อย่างกว้างไกล รวมทั ้ง<br />

มองเห็นแม่น้ำโขงด้วย<br />

พิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ดำเนินขึ้น นำเจริญพระพุทธมนต์โดยคณะสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดินฝ่ายฆราวาสนำโดย ศ. ดร.สมอก กิ่งสะดารองประธานศูนย์กลางแนวลาวสร้างชาติ<br />

นายบุนทะวี พอนทะสิน รองหัวหน้ากรมศาสนาและผู้บริหารแขวงจำปาสัก พร้อมด้วย<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ ดร.คิน ฉ่วย คุณเกษม มูลจันทร์ คุณสุรพล มณีพงษ์ พร้อมผู้นำองค์กร<br />

ภาคีเครือข่าย ๕ แผ่นดิน ทุกฝ่ายช่วยกันโปรยดอกไม้ สิ่งเป็นมงคลที่นำมา และรดน้ำ<br />

ต้นโพธิ์ด้วยน้ำนมขาวบริสุทธิ์<br />

คณะธรรมยาตราเสร็จสิ้นภารกิจกุศลวันนี้ด้วยความอิ่มใจในบุญ ได้เห็นคณะพระสงฆ์<br />

ผู้นำเป็นแบบอย่างให้แก่พระสงฆ์และสามเณร เห็นการดำเนินชีวิตของชาวลาวอันสอดคล้อง<br />

ตามหลักธรรมคำสอนพุทธศาสนา ชาวสปป.ลาวต่างรู้สึกปลื้มใจและไม่คิดว่าในชีวิตนี้จะได้<br />

มีโอกาสต้อนรับพระสงฆ์ ๕ ประเทศ พวกเขากล่าวว่ารู้สึกมีบุญ ได้มาปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ดีใจที่ชาตินี้ได้เกิดมาเป็นชาวพุทธ<br />

จากนั้นฝ่ายคณะฆราวาสลา<br />

กลับที่พัก ฝ่ายคณะสงฆ์กางเต็นท์<br />

ปักกลดจำวัดที่วัดพูส่าเหล้า ยาม<br />

ค่ำมีทำวัตรสวดมนต์และเสวนา<br />

ธรรมเจริญจิตภาวนา


วันที่ ๓ ลาว กัมพูชา<br />

“ พี่น้องมิตรประเทศสปป.ลาวล้นหลาม ร่วมทำบุญใหญ่ใส่บาตรที่วัดหลวงปากเซ<br />

กุศลเจตนา<br />

จากนั้นขบวนธรรมยาตราเคลื่อนไปศึกษาเรียนรู้อารยธรรมโบราณที่วัดพู<br />

ดินแดนมรดกโลก ณ แขวงจำปาสัก เสร็จแล้วจะเดินทางต่อไปเพื่อข้ามเขตแดน<br />

สามัคคีชาวพุทธ<br />

และมุ่งสู่จังหวัดสตึงแตรง ราชอาณาจักรกัมพูชา มีคณะสงฆ์สามเณรและประชาชน<br />

ชาวกัมพูชาต้อนรับอย่างท่วมท้นเกินคาดคิด นำขบวนเดินเท้าพร้อมสวดมนต์<br />

ระยะทางยาวกว่า ๖ กิโลเมตรสู่วัดโปธิเญียน”<br />

วันอังคารที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


106 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 107<br />

วันที่ ๓ สะบายดี - จําปาสัก<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พลังมหากุศลสามัคคีไร้พรมแดน<br />

สะบายดี<br />

สะบายดี<br />

เมืองลาว<br />

ร่วมทำบุญใหญ่ใส่บาตรที่วัดหลวง<br />

พี่น้องมิตรประเทศสปป.ลาวล้นหลาม<br />

ปากเซ จากนั้นคณะธรรมยาตราเดินทางไปศึกษาเรียนรู้อารยธรรมโบราณ<br />

ที่วัดพู (Vat Phou) ดินแดนมรดกโลก แขวงจำปาสัก เสร็จแล้วจะเดินทาง<br />

ต่อไปเพื่อข้ามเขตแดนและมุ่งสู่จังหวัดสตึงแตรง ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

บนยอดเขาสถานที่ตั้งแห่งวัดพูส่าเหล้า (Vat Phou Salao) พระสงฆ์<br />

เก็บอัฐบริขารเตรียมพร้อมเดินทาง เช้านี้มีกำหนดการไปรับบิณฑบาตที่วัดหลวง<br />

ปากเซ งานวันนี้เป็นมหาแห่งบุญ ด้วยพระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน ดำรงบุญ<br />

ประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาวได้นำคณะสงฆ์ลาวและ<br />

พุทธศาสนิกชนตักบาตรพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน ประชาชนลาวมาชุมนุมกันจำนวน<br />

มาก ทั้งพี่น้องลูกหลานชาวเมืองปากเซ และจากถิ่นเมืองไกลที่รู ้ข่าวต่างมาตั้ง<br />

แถวรอกันตั้งแต่เช้าจนแถวยาวเหยียดไม่เห็นท้ายแถว การจราจรเมืองปากเซ<br />

บริเวณใกล้วัดหลวงปากเซใจกลางย่านเมืองเก่าจึงเหมือนถูกปิดไปโดยปริยาย<br />

กุฏิหลังเก่าที่วัดหลวงปากเซ<br />

วัดหลวงปากเซเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดโพธิ์ระตะนะสาสะดาราม สร้างเมื่อ พ.ศ.<br />

๒๔๗๘ ตั้งอยู่ใจกลางย่านเมืองเก่า หลังวัดอยู่ติดแม่น้ำเซโดนในจุดที่สายน้ำ<br />

ไหลไปบรรจบกับแม่น้ำโขง เห็นเป็นสายน้ำสองสีตัดแตกต่างกัน วัดหลวงเป็น<br />

วัดคู่เมืองปากเซเมืองเอกแห่งแขวงจำปาสัก วัดแห่งนี้มีวิทยาลัยสงฆ์เป็น<br />

ศูนย์กลางการเรียนรู้พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ลาวทั้งภายในแขวงจำปาสัก<br />

และละแวกใกล้เคียงในแถบลาวใต้ซึ่งล้วนเดินทางมาศึกษาเล่าเรียนที่นี่ อย่างไร<br />

ก็ดีเมืองปากเซนับเป็นเมืองใหม่ หากเทียบกับความเก่าแก่ของหลวงพระบาง


108 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 109<br />

สะบายดี - เมืองลาว<br />

สะบายดี - เมืองลาว<br />

พระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน ดำรงบุญ ประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว<br />

หรือนครหลวงเวียงจันทน์ เมืองปากเซก็เป็นน้องใหม่เนื่องจากเพิ่งก่อสร้างโดยชาวฝรั่งเศส<br />

ลักษณะการออกแบบของวัดหลวงปากเซเป็นพุทธศิลป์ที่ได้รับอิทธิพลจากฝรั่งเศสอย่าง<br />

ชัดเจน มีอาคารสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่สร้างด้วยศิลปะแบบโคโลเนียลอันเป็นศิลปกรรมในสมัย<br />

ล่าอาณานิคม<br />

วัดหลวงปากเซเป็นวัดสำคัญที่ชาวบ้านศรัทธาอุปถัมภ์ทำบุญทำนุบำรุงกันสืบมา ตั้งแต่<br />

พุทธศิลป์ที่ได้รับอิทธิพลจากฝรั่งเศส<br />

ระดับเจ้านายเชื้อพระวงศ์ ผู ้นำบ้านเมือง ไปจนถึงระดับประชาชน ชาวปากเซนิยมนำอัฐิมา<br />

บรรจุไว้ที่ “ธาตุ” (เจดีย์) ภายในวัดหลวงปากเซด้วยเป็นพุทธประเพณีที่คล้ายๆ กันใน<br />

หลายประเทศ เนื่องจากมีความศรัทธาว่าหากแม้นวิญญาณออกจากร่างยังไม่สามารถไป<br />

เกิดที่ใดก็ให้วิญญาณมีที่สถิต และที่สถิตที่ดีที่สุดก็คือภายในวัดที่ผู้วายชนม์นับถือศรัทธา<br />

นั่นเอง เพราะวัดเป็นสถานที่สำหรับทำกุศลและอุทิศกุศล วัดหลวงปากเซแห่งนี้นับว่าเป็น


110 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 111<br />

วันที่ ๓ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

วัดที่เป็นศูนย์รวมใจของผู้คนและเป็นวัดที่คนนิยมมาทำบุญกันมากอย่างไม่ขาดสาย<br />

สำหรับการมาเยือนวัดหลวงแห่งเมืองปากเซนั้นคณะธรรมยาตราให้ความสำคัญมาก<br />

ด้วยว่าวัดหลวงแห่งนี้เป็นสถานที่ที่พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่องท่านเคยมาพัก<br />

จำพรรษาอยู่หลายปีหลังจากได้เปรียญธรรม ๖ ประโยคมาจากวัดชนะสงคราม ท่านเคยเป็น<br />

ครูพระ ได้มาใช้ความรู้อบรมคณะสงฆ์และเณรอยู่ที่นี่ กุฏิหลังเก่าที่หลวงปู่เคยพำนักอาศัย<br />

ได้รับการดูแลรักษาอย่างดี เป็นกุฏิมีชีวิตด้วยพระเณรทั้งหลายยังได้อาศัยอยู่จวบจนปัจจุบัน<br />

พลังมหากุศลสามัคคีไร้พรมแดน<br />

วันนี้นับเป็นวันสำคัญ ด้วยมีการรวมพลังมหาบุญกุศลครั้งยิ่งใหญ่ คณะธรรมยาตรา ๕<br />

แผ่นดินและพี่น้องญาติธรรมชาวลาวมาร่วมบุญร่วมกุศลกันมากมายเป็นประวัติการณ์ งานนี้<br />

มีพระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน ดำรงบุญ เป็นประธานในงานพิธี นำคณะพระสงฆ์<br />

และสามเณรลาวเข้าร่วมงานด้วย ฝ่ายคณะพระสงฆ์ธรรมยาตรานั้นมีผู้แทนคณะสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดินได้แก่ พระธรรมวรนายก ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมาจากประเทศไทย<br />

พระนาคะทีปะ เจ้าอาวาสวัดไจทีเซาจากประเทศเมียนมา พระอาจารย์บุญปอน ศรศักดิ์สิทธิ์<br />

รองเจ้าคณะแขวงจำปาสักสปป.ลาว พระครูอธิการปัญญาปโชโต ฮุนเฮง เจ้าอาวาสวัด<br />

โพธิ์แก้วประเทศกัมพูชา พระมหาการุญ การุณิโก (Ven. Tuong Nhan) รองเจ้าอาวาสวัด<br />

ธรรมจักรการาม เมืองเว้ประเทศเวียดนาม<br />

ฝ่ายฆราวาสมีรายนามบุคคลสำคัญของผู้นำฝ่ายลาวนำโดย ศ. ดร.สมอก กิ่งสะดา<br />

รองประธานศูนย์กลางแนวลาวสร้างชาติ คุณเมฆสะหวัน พมพิทัก ประธานสภาแขวงจ ำปาสัก<br />

คุณบัวลิน วงพะจัน รองเจ้าแขวงจำปาสัก คุณสีทน แก้วพูวง ประธานแนวลาวสร้างชาติ<br />

แขวงจำปาสัก คุณขันคำ แก่นบุดตา หัวแผนกการต่างประเทศแขวงจำปาสัก คุณบุนทะวี<br />

พอนทะสิน รองอธิบดีกรมการศาสนา คุณภูธร สุพรรณทอง อุบาสิกาผู้ให้การสนับสนุน<br />

โครงการฯ ณ เมืองปากเซ


112 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 113<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ส่วนฝ่ายคณะธรรมยาตรานำโดย ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการ<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ดร.คิน ฉ่วย ประธานสหพันธ์พุทธเถรวาท<br />

แห่งเมียนมา คุณเกษม มูลจันทร์ รองเลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย<br />

๙๘๐ นายสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล อธิบดีอัยการสำนักงานการสอบสวน<br />

คุณสุรพล มณีพงษ์ เลขาธิการสมาคมมิตรภาพไทย-กัมพูชา รศ. นพ.<br />

ศุภชัย ถนอมทรัพย์ ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์ คณะแพทยศาสตร์<br />

โรงพยาบาลรามาธิบดี พร้อมด้วยประชาชนชาวลาวจำนวนมากที่เข้า<br />

ร่วมมหาบุญในงานนี้ ประชาชนลาวแต่งกายด้วยชุดประจำชาติ ผู้ชายใส่<br />

เสื้อแขนยาวคาดผ้าเบี่ยง เด็กหนุ่มลาวสวมชุดประจำชาติแบบเต็มพิธี<br />

คือ เสื้อแขนยาวสีขาวคอตั้งสูง คาดผ้าเบี่ยง โจงกระเบน สวมถุงเท้ายาว<br />

ถึงเข่า และรองเท้าหุ้มส้น ส่วนผู้หญิงก็แต่งกายด้วยชุดประจำชาติสีสัน<br />

สวยงาม ผ้าซิ่นลายพื้นเมือง เครื่องประดับแพรวพราว<br />

ใกล้ฤกษ์งามยามดีแล้วคณะสงฆ์พร้อมกันที่ปะรำพิธีปลูกต้น<br />

พระศรีมหาโพธิ์ซึ่งจัดแต่งบริเวณไว้อย่างสง่า หน่อพระศรีมหาโพธิ์<br />

ต้นนี้เป็นต้นที่ ๔ ที่ปลูกลงในแผ่นดินลาว นับตั้งแต่คณะธรรมยาตรา<br />

เริ่มออกเดินทาง เสียงตีฆ้องดังก้องกังวานบอกสัญญาณฤกษ์งามดี<br />

พระสงฆ์ ๕ แผ่นดินเจริญพระพุทธมนต์ พระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน<br />

เป็นประธานปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ โรยดอกไม้ รดต้นด้วยน้ำนม<br />

เฉกเช่นเดียวกับบันทึกที่ว่า พระเจ้าอโศกมหาราชทรงบริบาลต้นพระศรี<br />

มหาโพธิ์ด้วยน้ำนมบริสุทธิ์ จากนั้นพระสงฆ์ค่อยทยอยร่วมปลูก ตาม<br />

ด้วยฆราวาส ผู้นำองค์กรภาคีเครือข่าย ๕ แผ่นดิน ตลอดจนประชาชน<br />

ลาวค่อยๆ ทยอยกันมาร่วมปลูกด้วย เสร็จพิธีก็ถ่ายรูปเป็นที่ระลึกกัน<br />

อย่างสุขใจ


114 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 115<br />

วันที่ ๓ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ต้อนรับอย่างยินดีสุดใจ<br />

เมื่อทำพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์เรียบร้อย<br />

แล้วจึงได้ย้ายจากปะรำพิธีด้านนอกเข้าสู่<br />

ศาลาที่อยู่ถัดไป ลำดับต่อไปนี้เป็นพิธีการ<br />

ต้อนรับอย่างเต็มพิธี เริ่มต้นด้วยคณะผู ้นำ<br />

ลาวกล่าวต้อนรับ มีพระอาจารย์ ดร.ดำรง<br />

พิมะจักร หัวหน้าห้องการศูนย์กลางองค์การ<br />

พุทธศาสนาสัมพันธ์ลาวเป็นพิธีกรและ<br />

จัดลำดับพิธี อันดับแรกผู้นำลาวกล่าว<br />

ต้อนรับในนามเจ้าแขวงจำปาสัก ดร.สุภชัย<br />

วีระภุชงค์กล่าวถวายรายงาน พระอาจารย์<br />

ใหญ่พระมหางอนได้ให้โอวาทธรรมและ<br />

เล่าถึงชีวิตและผลงานของพระอริยสงฆ์ลาว<br />

พระยอดแก้ว “เจ้าราชครูโพนสะเม็ก” หรือ<br />

“พระครูขี้หอม” “สมเด็จพระมหาญาณ<br />

เถระ” หรือ “สมเด็จสำเร็จลุน” รวมถึง<br />

อดีตประธานองค์กรพุทธศาสนาลาวสัมพันธ์<br />

คือพระอาจารย์ใหญ่ ดร.มหาผ่อง สะมาเลิก<br />

พระอริยสงฆ์ผู้นำหลักธรรมเข้าสู่วิถีชีวิต<br />

จิตใจของคนลาว นอกจากนี้ท่านได้กล่าว<br />

ถึงการเดินทางมาของคณะธรรมยาตรา<br />

ตอนหนึ่งว่า “ในวันนี้คณะธรรมยาตราได้<br />

มาเปิดหูเปิดตา ทำให้ชาวลาวเฮาเห็นความ


116 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 117<br />

วันที่ ๓ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สำคัญของพระพุทธศาสนา เห็นปฏิปทาของ<br />

ชาวสงฆ์องค์เจ้าลาว ข้าพเจ้ามีความซื่นซม<br />

ยินดี ขอแสดงความขอบอกขอบใจ ขอให้บุญ<br />

นี้จงเป็นพลวปัจจัยนำชาวพุทธ ๕ ประเทศ<br />

ที่มาร่วมกันในมื้อนี้จงเจริญงอกงามในบวร<br />

พุทธศาสนา มีความมั่นคงพนมแก่นอยู่ใน<br />

ศีลในธรรมขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

ตลอดไป”<br />

เสร็จแล้วมีพิธีไหว้พระรับศีล มอบเสา<br />

ธรรมจักร ธงฉัพพรรณรังสี ธงตราสัญลักษณ์<br />

ธรรมยาตราให้แก่คณะผู้นำฝ่ายสปป.ลาว<br />

ได้ถวายพระพุทธเมตตาพร้อมสังฆทานให้<br />

แด่พระอาจารย์ใหญ่พระมหางอน จากนั้น<br />

พระอาจารย์ใหญ่พระมหางอนและคณะผู้นำ<br />

ได้มอบของที่ระลึกจากสปป.ลาวแก่คณะ<br />

ธรรมยาตรา เมื่อเสร็จพิธีคณะสงฆ์ให้พร<br />

เป็นภาษาบาลีและกรวดน้ำอุทิศบุญกุศล<br />

และตักบาตรเป็นลำดับต่อไป


118 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 119<br />

วันที่ ๓ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

การรอคอยที่ไม่มีใครยอมถอย<br />

ประชาชนที่รอคอยใส่บาตรพากันมาตั้งแต่เช้าจากทุกหมู่บ้าน กว่าพิธีการ<br />

จะแล้วเสร็จเป็นเวลาสายมากแต่ผู้คนก็ไม่มีใครถอย ต้นหัวแถวที่ใส่บาตรอยู่<br />

ในศาลาที่ประกอบพิธีต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองภายในวัดหลวง จากจำนวน<br />

ผู้คนที่มารอคอยใส่บาตรวันนี้เป็นที่สังเกตว่าชาวลาวมีความพร้อมเพรียงและ<br />

ประณีตมาก ข้าวเหนียวข้าวสารอาหารแห้งบรรจงจัดแบ่งไว้ในขันสีทองบ้าง<br />

สีเงินบ้าง ภายในขันนั้นมีของที่เตรียมพร้อมไว้ใส่บาตร ดอกไม้ ธูป เทียนขี้ผึ้ง<br />

และชุดกรวดน้ำอุทิศกุศลถึงผู้วายชนม์ก็นำมาจากบ้านด้วย สิ่งนี้เห็นว่า<br />

แตกต่างจากเมืองไทย เมื่อถามชาวลาวตอบว่า ถ้าเป็นไปได้พวกเขาจะไม่ใช้<br />

สิ่งของวัด เวลามาวัดจะพยายามตระเตรียมเครื่องใช้ของตนเองมาให้พร้อม<br />

ที่สุด เชื่อว่าการทำเช่นนี้จะทำให้ได้บุญครบถ้วน<br />

จารีตการแต่งตัวไปวัดไม่มีผู้หญิงใส่กางเกงไปวัดเลยสักคนเดียว การไป<br />

วัดเปรียบดังการไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เครื่องแต่งกายต้องสะอาดสวยครบ<br />

เส้นผมจรดปลายเท้า แม่หญิงแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมือง ห่มสไบด้วยผ้าเบี่ยง<br />

ผ้าซิ่นตามประเพณีวัฒนธรรมลาว เก็บเกล้ามวยผมมิดชิดติดดอกไม้ไว้ที่<br />

มวยผม<br />

ชาวบ้านที่นี่ดีใจที่ได้มีโอกาสใส่บาตรคณะพระสงฆ์ธรรมยาตรา ๕<br />

แผ่นดิน ส่วนใหญ่ชาวสปป.ลาวชอบเข้าวัดทำบุญใส่บาตรทำนุบำรุงพระพุทธ-<br />

ศาสนาอยู่แล้วเพราะทำให้จิตใจสงบมีความสุข อุทิศให้ผู้ล่วงลับได้บุญกุศล<br />

ของการทำบุญด้วย แม่หญิงลาวท่านหนึ่งกล่าวว่า “ตามประเพณีของชาว<br />

พุทธลาวเฮานี่ ครั้นว่าได้ตักบาตรมีบุญใหญ่มีความดีอกดีใจ เป็นประเพณี<br />

ของเฮามาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์แล้ว ว่าสิอันนี้เพิ่นมาจัดงานใหญ่ก็ดีใจหลาย<br />

ประชาชนทุกบ้านทุกหมู่ก็มางานบุญมื้อนี้”


120 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 121<br />

วันที่ ๓ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

“คณะศรัทธาชาวลาวต่างก็มางานบุญนี้ ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ เพิ่งมีครั้งแรกและมา<br />

ผ่านแขวงจําปาสัก มหาศรัทธาชาวลาวจึงมีความพร้อมเพรียงรับการมาของมหาบุญนี้กัน<br />

อย่างท่วมท้น จารีตวัฒนธรรมการแต่งตัวไปวัดงดงาม ผู้หญิงไม่มีใครใส่กางเกงไปวัดเลย<br />

สักคน ด้วยว่าการไปวัดเปรียบดังการเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เครื่องแต่งกายต้องสะอาดสวย<br />

ครบเส้นผมจรดปลายเท้า แม่หญิงแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมือง ห่มสไบด้วยผ้าเบี่ยง ผ้าซิ่น<br />

ตามประเพณีวัฒนธรรมลาว เก็บเกล้ามวยผมมิดชิดติดดอกไม้ไว้ที่มวยผม”


122 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 123<br />

วันที่ ๓ สะบายดี - จําปาสัก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ชาวจำปาสักขอเป็นตัวแทนชาวลาว<br />

ต้อนรับคณะธรรมยาตรา<br />

พุทธศาสนาในสปป.ลาวเป็นหลักในการดำเนิน<br />

ชีวิตแทบทุกด้านของประชาชน ทั้งช่วยในการ<br />

ขัดเกลาจิตใจ การศึกษา การศิลปะ สถาปัตยกรรม<br />

อาชีพการงาน และการพัฒนานโยบายประเทศ<br />

ทุกวันพระและวันสำคัญทางพุทธศาสนาชาวลาว<br />

จะให้ความร่วมมือเข้าร่วมเพราะถือเป็นการแสดง<br />

ตนเป็นพุทธมามกะ ยิ่งในโอกาสที่พระสงฆ์มา<br />

สวดมนต์ที่ลาวและการได้เห็นพระสงฆ์จาก ๕<br />

ประเทศพร้อมกันทำให้ชาวลาวได้รู้เห็นความแตก<br />

ต่างและรู้สึกถึงความเป็นหนึ่งเดียวของศาสนาพุทธ<br />

ในดินแดนสุวรรณภูมิ<br />

ศ. ดร.สมอก กิ่งสะดา รองประธานศูนย์กลาง<br />

แนวลาวสร้างชาติได้ขอบคุณคณะสงฆ์ ๕ ประเทศ<br />

อุบาสก อุบาสิกาที่มีความสามัคคีใช้พุทธศาสนา<br />

ในการเชื่อมความสัมพันธ์ โดยกล่าวพอสรุปใจความ<br />

ได้ว่า “รู้สึกดีใจมากที่ได้มาฮ่วมงานซึ่งถือเป็นเรื่อง<br />

ใหม่ที่สุดสำหรับชาวลาว ขอซมเซยสถาบันโพธิ-<br />

คยาวิชชาลัย ๙๘๐ และมูลนิธิวีระภุชงค์ซึ่งเป็น<br />

ผู้ดำเนินโครงการ สำหรับ ๕ ประเทศลุ่มน้ำโขงนี้<br />

เรารักใคร่กัน เคยค้าขายกันเป็นพี่เป็นน้องกัน ก็นำ<br />

พระพุทธศาสนามาเป็นสิ่งผูกพันกัน ๕ ประเทศ<br />

ของพวกเรานี้มีความพิเศษด้วยมีความเชื่อถือพุทธศาสนา นำคำสอนของพระพุทธเจ้าให้<br />

พวกเรารักกัน ได้สามัคคีกัน เป็นทูตประชาชนซึ่งกันและกัน เข้าถึงหัวใจ เข้าถึงจิตใจ ลงไป<br />

ถึงภารกิจต่างๆ ครูบาอาจารย์ก็สั่งสอนว่าให้รักชาติแนวใด ฮักพุทธศาสนาแนวใด ท่านสอน<br />

เราไม่ใช่ด้วยคำพูดเท่านั้นแต่แสดงออกในการกระทำให้เห็น ในอนาคตคงจะมีกิจการอื่นๆ<br />

อีก ข้าพเจ้าให้คำมั่นสัญญา พวกข้าพเจ้าสุดที่จะพร้อมเพรียงในอนาคตปฏิบัติโครงการนี้ให้<br />

เติบโตขึ้นไป เป็นสิ่งที่ผูกผันสามัคคีอันแน่นแฟ้นของ ๕ ประเทศของพวกเรา”<br />

คุณขันคำ แก่นบุดตา หัวหน้าแผนกการต่างประเทศแขวงจำปาสักกล่าวว่า “ครั้งนี้เป็น<br />

ครั้งแรกที่ได้ต้อนฮับคณะสงฆ์จากต่างประเทศอย่างเป็นทางการเช่นนี้ นับเป็นโซคดีที่แขวง<br />

จำปาสักได้เป็นตัวแทนชาวลาวทั้งประเทศต้อนฮับคณะธรรมยาตรา ทุกคนดีใจจึงได้พร้อมใจ<br />

กันเตรียมสถานที่ต้อนฮับที่วัดหลวงปากเซ เห็นว่าโครงการนี้มีความส ำคัญมากเพราะจะซ่วย<br />

เซื่อมความสัมพันธ์ของ ๕ ประเทศ หากจัดกิจกรรมเช่นนี้ชาวลาวก็ยินดีต้อนรับ”<br />

พี่น้องมิตรประเทศชาวลาวต่างปลาบปลื้มใจในบุญกุศลที่มีโอกาสต้อนรับได้ทำบุญ<br />

กับพระสงฆ์ ๕ ประเทศที่เดินทางมาจากทั่วสารทิศ ไม่คิดว่าในชีวิตจะได้มีโอกาสนี้ บางคน<br />

ถึงกับพูดว่า “ไม่เสียชาติเกิด เคยทำบุญมาตั้งแต่เล็กแต่น้อย ไม่คิดมาก่อนเลยว่าจะได้<br />

ทำบุญใหญ่ ได้มาเห็นพระสงฆ์ ๕ ประเทศ ได้มาปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ในวัดที่ศักดิ์สิทธิ์<br />

ที่สุดในแขวง”<br />

ออกเดินทางสู่วัดพู แดนมรดกโลก<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางมุ่งสู่วัดพู (Vat Phou) แขวงจำปาสักซึ่งอยู่ห่างจากตัวเมืองเก่า<br />

จำปาสักลงไปทางทิศใต้ประมาณ ๖ กิโลเมตร วัดพูมีประวัติศาสตร์ทางศาสนาฮินดูและ<br />

พุทธศาสนา สถาปัตยกรรมเป็นเทวสถานขอมสร้างในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ สมัยพระเจ้า<br />

มเหนทรวรมัน เป็นแหล่งอารยธรรม ๓ สมัย คืออาณาจักรเจนละในพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒<br />

อาณาจักรขอมในพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ต่อมาเมื่ออาณาจักรล้านช้างรุ่งเรืองได้เข้ามาเปลี่ยน


124 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 125<br />

เทวาลัยในศาสนาฮินดูเป็นวัดพุทธศาสนานิกายเถรวาท จนเป็นสถานที่ประกอบกิจกรรม<br />

ทางพุทธศาสนามาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๙ ปัจจุบันวัดพูจะมีงานใหญ่ประจำปีในวันเพ็ญ<br />

เดือน ๓ ในช่วงเทศกาลมาฆบูชา ในอดีตดินแดนบริเวณนี้เคยอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักร<br />

ขอม และเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาสัก ต่อมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้าง<br />

สำหรับชาวลาวแล้ววัดพูถือเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และองค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนให้<br />

วัดพูเป็นมรดกโลกแห่งที่สองของประเทศลาว<br />

ขบวนธรรมยาตราเดินเท้าสู่เนินเขาภูเกล้ามุ่งขึ้นสู่วัดพู และมาถึงวัดพูในเวลาใกล้เพล<br />

ในการนี้คณะจากสปป.ลาวโดยมีคณะสงฆ์จากศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว<br />

เจ้าแขวงจำปาสัก ประธานกลุ่มบริษัทยิ่งโชคชัย พร้อมกับประชาชนต้อนรับด้วยไมตรีจิตอัน<br />

อบอุ่นเต็มพิธีการเช่นเดียวกับทุกสถานที่ที่คณะธรรมยาตราไปเยือน ประชาชนลาวแต่งกาย<br />

ด้วยชุดประจำชาติ สองมือประคองขันหมากเบ็งที่บรรจงแต่งอย่างละเอียดประณีตต้อนรับ<br />

คณะด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้ม<br />

วันนี้คณะธรรมยาตราได้มาเยือนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ศาสนาใน<br />

สถานที่จริง ได้ผ่าน “บาราย” สระน้ำขนาดใหญ่เข้าถึงตัวปราสาทหินวัดพู มีบันทึกภาพหมู่<br />

ไว้เป็นที่ระลึก จากนั้นทางคณะสปป.ลาวได้ถวายภัตตาหารเพลแด่คณะสงฆ์ และเลี้ยงอาหาร<br />

คณะธรรมยาตรา เมื่อเสร็จแล้วได้นำชมพิพิธภัณฑ์วัดพู สถานที่จัดเก็บโบราณวัตถุอันแสดง<br />

ถึงความรุ่งเรืองแห่งอารยธรรมในอดีตที่สืบเนื่องต่อมาจวบจนปัจจุบัน<br />

เมื่อถึงเวลาคณะธรรมยาตราขึ้นรถบัสเพื่อออกเดินทาง ใช้เวลาประมาณ ๔ ชั่วโมง<br />

ระยะทางประมาณ ๑๖๐ กิโลเมตร เป้าหมายสู่ชายแดนลาว-กัมพูชา ออกจากลาวที่ด่าน<br />

บ้านหนองนกเขียน (Nongnok Keane Immigration) เวินคาม แขวงจำปาสัก เพื่อเข้าสู่<br />

กัมพูชาที่ด่านตรอเปียงเกรียล (Trapeang Kreal Border Immigration Cambodia)<br />

จังหวัดสตึงแตรง (Stung Treng Province) ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

คณะสงฆ์และผู้นำภาครัฐบาลและพุทธบริษัทลาวเดินทางร่วมส่งคณะธรรมยาตราถึง<br />

ชายแดน พวกเราได้ธรรมยาตราในเมืองลาวเป็นเวลาเกือบ ๒ วันและ ๑ คืน ได้เห็นวิถีชีวิต<br />

ของชาวพุทธลาวที่เข้มแข็ง การพัวพันกระชับมิตรครั้งนี้เต็มไปด้วยความสุขใจอิ่มใจ มิตรภาพ<br />

ลาวไทยเติบโตขึ้นแล้ว


“วันนี้คณะธรรมยาตราได้มาเยือนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ศาสนา<br />

ในสถานที่จริง ได้ผ่าน “บาราย” สระนํ้ำขนาดใหญ่เข้าถึงตัวปราสาทหินวัดพู<br />

ได้บันทึกภาพหมู่ไว้เป็นที่ระลึกเก็บเป็นภาพความทรงจําว่าครั้งหนึ่งคณะสงฆ์<br />

และผู้นํารัฐบาลพร้อมด้วยพุทธบริษัทลาวได้ร่วมมหากุศลกับคณะธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดินในเมืองลาว ได้เห็นวิถีชีวิตชาวพุทธลาวที่เข้มแข็ง การพัวพัน<br />

กระชับมิตรครั้งนี้เต็มไปด้วยความสุขใจ มิตรภาพลาวไทยงอกงามเติบโต”


128 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 129<br />

ซัวซะเด็ยกัมพูชา<br />

พระสงฆ์สามเณรและประชาชนต้อนรับเนืองแน่น<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางเข้าสู่ราชอาณาจักรกัมพูชาที่ด่านตรอเปียงเกรียล เมื่อผ่านด่านเข้า<br />

มาก็ได้รับการต้อนรับที่อบอุ่นจากคณะสงฆ์ นำโดยพระวิสุทธิมุนี นู จันทา (Preah Visottimony<br />

Nou Chantha) เจ้าคณะจังหวัดสตึงแตรง จากนั้นพวกเราก็เดินทางโดยรถบัสมุ่งสู่สตึงแตรง<br />

ซึ่งเป็นจังหวัดที่อยู่ทางตอนเหนือสุดของกัมพูชา คนในเมืองนี้ส่วนหนึ่งพูดภาษาลาวได้ ชาว<br />

ลาวเรียกจังหวัดนี้ว่า เซียงแตง ส่วนคนไทยในสมัยโบราณเรียกตามภาษาลาวว่าเชียงแตง<br />

คนลาว ไทย กัมพูชา ต่างรู้จักผูกพันกันมาเนิ่นนาน<br />

ซัวซะเด็ย<br />

กัมพูชา


130 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 131<br />

วันที่ ๓ ซัวซะเด็ย - สตึงแตรง<br />

ชาวกัมพูชาจัดพิธีต้อนรับที่ยิ่งใหญ่บนสะพานข้ามแม่น้ ำเซกอง (Sekong) ขบวนต้อนรับ<br />

ตลอดสองข้างทางเริ่มตั้งแต่ก่อนขึ้นสะพาน พระสงฆ์สามเณร พ่อค้า ประชาชน นักเรียน<br />

นักศึกษา ตั้งแถวโบกธงชาติกัมพูชาและธงฉัพพรรณรังสี รอคอยต้อนรับเป็นแถวยาวเหยียด<br />

คณะธรรมยาตราตั้งขบวนเดินเท้าเพื่อไปยังวัดโปธิเญียน (Pothi Nhean Pagoda) หรือ<br />

เรียกเป็นภาษาบาลีสำเนียงไทยว่า วัดโพธิญาณ ซึ่งเป็นระยะทางประมาณ ๖ กิโลเมตร<br />

แถวหน้าสุดมีผู้อัญเชิญเสาธรรมจักร ธงธรรมยาตรา ธงฉัพพรรณรังสี คณะธรรม-<br />

ยาตราพร้อมคณะสงฆ์สามเณร ประชาชน และยุวชนชาวกัมพูชาได้มาร่วมเดินธรรมยาตรา<br />

ครั้งนี้เป็นจำนวนมาก บทสวดอิติปิโสอันเป็นบทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และ<br />

พระสังฆคุณ และบทชัยมงคลคาถา สวดสรรเสริญชัยชนะแปดประการที่พระสมณโคดม<br />

ทรงมีเหนือมนุษย์และอมนุษย์ด้วยธรรมานุภาพ ทั้งสองบทสวดนี้ปลุกศรัทธาสร้างความ<br />

ปีติอิ่มใจ คณะธรรมยาตราเดินข้ามสะพานเซกอง ข้ามแม่น้ำเซกอง พระอาทิตย์อ่อนแสง<br />

ลง ลมเย็นสบาย เสียงสวดมนต์เป็นภาษาบาลีมีต้นเสียงเป็นสำเนียงกัมพูชาดังพร้อมเพรียง<br />

ปลุกใจสร้างความปีติอิ่มใจยิ่งนัก ใจที่รวมพลังเป็นหนึ่งเดียวทำให้ระยะทางดูเหมือนจะสั้น<br />

ลง สองข้างทางมีคนใจดีคอยแจกน้ำดื่มให้ทุกคนในขบวนอย่างเพียงพอ ใกล้เวลาพระอาทิตย์<br />

ตกดินประมาณ ๖ โมงเย็น คณะธรรมยาตราก็เดินทางถึงวัดโปธิเญียน จังหวัดสตึงแตรง<br />

ประเทศกัมพูชา<br />

พระจนฺตาธาโร คิม จันทร์ (Preah Chantatharo Him Chan) เจ้าอาวาสวัด<br />

โปธิเญียนจัดพิธีการต้อนรับที่บริเวณศาลาอเนกประสงค์ โดยมีพระวิสุทธิมุนี นู จันทา<br />

เจ้าคณะจังหวัดสตึงแตรงเป็นประธาน คุณหญิงกง สีภา (Kong Sypha) รองผู้ว่าราชการ<br />

จังหวัดสตึงแตรง และนายเมน กง (Mr. Men Kong) ผู้แทนสมาพันธ์ยุวชนจังหวัดสตึงแตรง<br />

จากนั้นมีพิธีมอบเสาธรรมจักร ธงฉัพพรรณรังสี ธงธรรมยาตราให้แก่เจ้าคณะจังหวัด<br />

สตึงแตรง ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดสตึงแตรง ผู้แทนสมาพันธ์ยุวชนจังหวัดสตึงแตรง<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ถวายพระพุทธเมตตาแด่พระจนฺตาธาโร คิม จันทร์ เจ้าอาวาสวัด<br />

โปธิเญียน (ทางกัมพูชานิยมเขียนฉายาพระสงฆ์ก่อนตามด้วยนามสกุลแล้วตามด้วยชื่อ)<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ กล่าวในตอนหนึ่งว่า<br />

สถาบันโพธิคยาใช้แนวทางเดียวกับ “พระเจ้าอโศกมหาราช” เมื่อกว่า ๒,๓๐๐ ปีมาแล้ว<br />

คือใช้ขบวนธรรมยาตราเชื่อมความสัมพันธ์ และได้ปวารณาตัวรับใช้พุทธศาสนา เพราะ


ทั้ง ๕ แผ่นดินมีบิดาองค์เดียวกันคือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

เพื่อสืบสานให้พระพุทธศาสนายืนยงแผ่ขยายไปและประดิษฐานมั่นคงใน<br />

ดินแดนลุ่มน้ำโขง<br />

ค่ำคืนนี้พระสงฆ์ธรรมยาตราปักกลดและจำวัด ณ วัดโปธิเญียน


วันที่ ๔ กัมพูชา<br />

“ รับศรัทธาบิณฑบาต ชาวสตึงแตรงปลื้มปีติร่วมทำบุญใส่บาตร<br />

พุทธไมตรี<br />

พระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน จากนั้นมุ่งสู่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

ชื่นชมอารยธรรมปราสาทสมโบร์ไพรกุก จังหวัดกำปงธม<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา ศรัทธาสาธุชนกัมพูชาเนืองแน่น<br />

รวมดวงใจเป็นหนึ่งเดียวกับชาวพุทธลุ่มน้ำโขง”<br />

องอาจอบอุ่น<br />

วันพุธที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


136 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 137<br />

วันที่ ๔ ซัวสเด - สตึงเตรง<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ซัวซะเด็ย<br />

กัมพูชา<br />

ปลื้มปีติมิตรไมตรีชาวพุทธงอกงาม<br />

รั<br />

บศรัทธาบิณฑบาต ชาวสตึงแตรงปลื้มปีติร่วมทำบุญใส่บาตรพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

จากนั้นมุ่งสู่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล ชื่นชมอารยธรรมปราสาทสมโบร์ไพรกุก จังหวัด<br />

กำปงธม (Kampong Thom) ราชอาณาจักรกัมพูชา ศรัทธาสาธุชนชาวกัมพูชาเนืองแน่น<br />

รวมดวงใจเป็นหนึ่งเดียวกับชาวพุทธลุ่มน้ำโขง<br />

กิจกรรมกุศลวันนี้เริ่มขึ้นเช้าตรู่เหมือนเช่นทุกวัน หลังจากพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์คณะธรรมยาตราจะออกบิณฑบาตร่วมกับคณะสงฆ์และสามเณร<br />

จังหวัดสตึงแตรง โดยมีจุดเริ่มบิณฑบาตอยู่ที่วัดโปธิเญียน เดินเลาะเลียบแม่น้ำเซกองเข้าสู่<br />

ตัวจังหวัดสตึงแตรงระยะทางประมาณ ๓ กิโลเมตร<br />

จังหวัดสตึงแตรงเป็นจังหวัดแรกของประเทศกัมพูชาที่แม่น้ำโขงไหลผ่าน จังหวัดนี้ตั้ง<br />

อยู่บนพื้นที่ราบสูงตามแม่น้ำโขง มีแม่น้ำหลายสายไหลผ่านตัวจังหวัด เช่น แม่น้ำเกราะเจะ<br />

(Kratie) แม่น้ำเซกอง (Sekong) แม่น้ำแซรโปก (Sraepok) แม่น้ำเซซาน (Sesan) สตึงแตรง<br />

จึงเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหารและมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ<br />

จากแม่น้ำโขงที่ขึ้นชื่อว่าสวยงามติดอันดับ นอกจากนี้ยังมีโบราณสถานเป็นปราสาทหินให้<br />

ศึกษาประวัติศาสตร์และอารยธรรมโบราณด้วย<br />

ประชาชนเนืองแน่นร่วมพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ประชาชนชาวกัมพูชาร่วมกันถวายภัตตาหารเช้าคณะพระสงฆ์ที่วัดโปธิเญียนเรียบร้อยแล้ว<br />

จากนั้นเข้าสู่พิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๕ ที่คณะธรรมยาตราได้อัญเชิญมา พิธีจัดขึ้น<br />

ที่ปะรำพิธีกลางแจ้งบริเวณด้านหน้าวัด มีผู้นำคณะสงฆ์ ผู้นำฝ่ายฆราวาส พร้อมด้วยประชาชน<br />

กัมพูชาทั้งบ้านใกล้บ้านไกลที่เมื่อรู้ข่าวว่าจะมีพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ก็ได้ชักชวนกัน<br />

มาร่วมบุญใหญ่ครั้งนี้ ต้นพระศรีมหาโพธิ์เป็นต้นไม้มหามงคลหน่อเนื้อมาจากเมืองคยา


138 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 139<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ซึ่งคณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินอัญเชิญมาปลูกที่วัดโปธิเญียน อันเป็น<br />

วัดเก่าแก่ที่มีความศักดิ์สิทธิ์และเป็นที่พึ่งของชาวบ้าน นับเป็นวัดสำคัญ<br />

ในจังหวัดสตึงแตรง<br />

พระจนฺตาธาโร คิม จันทร์ เจ้าอาวาสวัดวัดโปธิเญียนได้เล่าถึง<br />

ประวัติความสำคัญของวัด โดยมีพระครูสมุห์ปญฺญาปชฺโชโต เฮง ฮุน<br />

เจ้าอาวาสวัดโพธิ์แก้ว เปรี้ยะเนตรเปรี้ยะ จังหวัดบันทายมีชัยเป็นผู ้ถอด<br />

ความเป็นภาษาไทยว่า “วัดโปธิเญียนเป็นวัดที่ประชาชนนิยมเข้ามา<br />

กราบไหว้สักการะและขอพรจากพระพุทธรูปในพระอุโบสถ พระพุทธรูป<br />

องค์นี้เคยถูกตัดพระเศียรทิ้งลงแม่น้ำในช่วงสงคราม วัดก็ถูกทำลายไป<br />

ด้วย ต่อมาชาวประมงพบเศียรพระลอยน้ำที่แม่น้ำเซกองบริเวณหน้าวัด<br />

จึงอัญเชิญกลับขึ้นมาประดิษฐานไว้ในโบสถ์ และต่อเศียรพระพุทธรูป<br />

กลับคืนแบบไม่เห็นรอยต่อ พร้อมร่วมกันสร้างวัดขึ้นใหม่ ชาวบ้านนิยม<br />

มาสักการะพระพุทธรูปกันมาก เวลาติดขัดปัญหาใดๆ ก็จะมาขอพรเพื่อ<br />

ปัดเป่าอุปสรรคปัญหาและให้อยู่เย็นเป็นสุขเจริญรุ่งเรือง”<br />

การมาเยือนของคณะธรรมยาตราและการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ต้นที่ ๕ที่วัดโปธิเญียนซึ่งชาวบ้านเคารพนับถือกันมากในวันนี้ นับเป็น<br />

เรื่องมหามงคลที่ชาวสตึงแตรงดีใจและมีความสุข จึงมาชุมนุมร่วมงาน<br />

กันเป็นจำนวนมาก ที่ปะรำพิธีมีดอกมะลิจัดวางอย่างประณีตอยู่บน<br />

พานทองเรียงรายซึ่งเตรียมไว้โรยในพิธีเพื่อความเป็นสิริมงคล คณะสงฆ์<br />

๕ แผ่นดินร่วมเจริญพระพุทธมนต์พร้อมกับคณะสงฆ์สตึงแตรง ผู้นำฝ่าย<br />

ฆราวาสร่วมกันนำหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ลงดิน โรยดอกมะลิและรดน้ำ<br />

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ จากนั้นประชาชนค่อยๆ ทยอยมาร่วมโปรยดอกไม้<br />

อธิษฐานจิต จนพิธีเสร็จสิ้น


140 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 141<br />

วันที่ ๔ ซัวซะเด็ย - สตึงแตรง<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ออกบิณฑบาต บำเพ็ญกิจอันประเสริฐ<br />

คณะสงฆ์ธรรมยาตราพร้อมด้วยคณะสงฆ์สามเณรกัมพูชาตั้งแถวเตรียมออกบิณฑบาต<br />

การบิณฑบาตนี้เป็นกิจวัตรของพระภิกษุสงฆ์และสามเณรในพระพุทธศาสนา สมเด็จ<br />

พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกำหนดไว้เป็นหน้าที่ของพระภิกษุสามเณรมาตั้งแต่สมัย<br />

พุทธกาล พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญการบิณฑบาตว่าเป็นกิจอันประเสริฐ และการ<br />

ออกบิณฑบาตนั้นนับว่าเป็นการเผยแผ่พระศาสนาทางหนึ่งด้วย<br />

อุบาสกอุบาสิการอใส่บาตรหน้าวัดโปธิเญียน จังหวัดสตรึงเตรง กัมพูชา


142 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 143<br />

วันที่ ๔ ซัวซะเด็ย - สตึงแตรง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สำหรับธรรมเนียมปฏิบัติในการบิณฑบาตที่ประเทศ<br />

กัมพูชานี้ พระสงฆ์สามเณรจะออกรับบาตรในเวลาสาย<br />

เพื่อจัดเวลาให้เข้ากับวิถีชีวิตของชาวบ้าน เนื่องจากช่วง<br />

เช้าตรู่เป็นช่วงเวลาที่ชาวบ้านมีภารกิจมาก คณะสงฆ์เห็น<br />

ว่าการออกรับบิณฑบาตเช้าอาจเป็นการรบกวน จึงปรับเวลา<br />

ออกมาเป็นประมาณ ๙ นาฬิกาเป็นต้นไป ภัตตาหารเช้า<br />

ของพระสงฆ์กัมพูชาส่วนมากมักจะเป็นอาหารเบาอย่าง<br />

ข้าวต้ม ข้าวยาคู เป็นต้น เมื่อฉันเช้าเสร็จแล้วได้เวลาสายก็<br />

ออกรับบิณฑบาต และนำอาหารที่ได้มาพิจารณาเป็นอาหาร<br />

มื้อเพล<br />

ช่วงเวลาประมาณ ๙ นาฬิกา สัญลักษณ์ธรรมยาตรา<br />

ธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ธงฉัพพรรณรังสี ได้รับการอัญเชิญ<br />

ไว้ด้านหน้าแถว ตามด้วยคณะสงฆ์ร่วม ๑๐๐ รูปออกเดิน<br />

บิณฑบาตจากวัดโปธิเญียนเลียบแม่น้ำเซกอง เหล่าชาวบุญ<br />

มาชุมนุมกัน ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ หนุ่มสาว ลูกเล็กเด็กแดง ต่าง<br />

แต่งกายด้วยเสื้อผ้าเรียบร้อยงดงามตา มองไปทางไหนก็เห็น<br />

แต่ผู้คนหน้าตายิ้มแย้ม ดูมีความสุขใจ ยินดี ใจคอจดจ่อ<br />

ตั้งแถวชะเง้อรอพระสงฆ์ว่าเมื่อใดพระสงฆ์จะมา<br />

แถวรอใส่บาตรยาวจนมองไม่เห็นปลายแถว คนมา<br />

เรียงต่อกันจากหน้าวัดยาวไปจนตลาดสามัคคีสตึงแตรงรวม<br />

ระยะทางประมาณ ๓ กิโลเมตร วันนี้ประชาชนพร้อมใจหยุด<br />

ทำกิจกรรมอื่นขอมาใส่บาตรร่วมบุญกับคณะธรรมยาตรา<br />

ด้วยว่าการได้ใส่บาตรพระสงฆ์ ๕ แผ่นดินนับเป็นบุญที่ยัง


144 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 145<br />

วันที่ ๔ ซัวซะเด็ย - สตึงแตรง<br />

วันที่ ๓ ซัวสเด - กัมพูชา<br />

ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ณ แผ่นดินแห่งนี้ ชาวบ้านที่รู้ข่าวต่างก็ตระเตรียมกันมาเป็นอย่างดี<br />

ข้าวปลาอาหารสด อาหารแห้ง พร้อมแลกเงินมาเป็นจำนวนมากให้เพียงพอใส่บาตรพระสงฆ์<br />

ทุกองค์ ชาวกัมพูชานิยมใส่บาตรด้วยเงินเพราะเห็นว่าท่านเดินทางไกล หวังมีส่วนให้พระสงฆ์<br />

ได้มีปัจจัยใช้สอยไม่ลำบากขัดสนระหว่างเดินทาง<br />

ส่วนการเตรียมพร้อมด้านอื่น เช่น การรักษาความปลอดภัยและการดูแลอำนวยความ<br />

สะดวกด้านจราจร ตำรวจทหารรวมพลังกันเต็มกำลัง จัดอำนวยความสะดวกในทุกด้าน โดย<br />

เฉพาะการจราจร ถนนบางสายจะถูกปิดไปโดยปริยาย ปรับเส้นทางการเดินรถให้คล่องตัว<br />

รองรับความเนืองแน่นของคณะศรัทธาประชาชนที่มาใส่บาตรกันเป็นจำนวนมาก นับเป็น<br />

ภาพกุศลประทับใจอีกภาพที่เกิดในเช้าวันนี้ที่จังหวัดสตึงแตรง


146 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 147<br />

วันที่ ๔ ซัวซะเด็ย - กําปงธม<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

มุ่งสู่...วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

เมื่อคณะสงฆ์ธรรมยาตราได้ออกรับบิณฑบาตฉลองศรัทธาประชาชนเรียบร้อยแล้ว ถึงเวลา<br />

ได้ลาจากชาวสตึงแตรงออกเดินทางสู่จังหวัดกำปงธมระยะทางประมาณ ๓๐๐ กิโลเมตร<br />

โดยผ่านจังหวัดเปรียะวิเฮีย (Preah Vihear, พระวิหาร) มีจุดหมายพักค้างคืนอยู่ที่วิทยาลัย<br />

กำปงเฌอเตียล (Kampong Chheuteal Institute of Technology) อำเภอปราสาทสมโบร์<br />

ไพรกุกจังหวัดกำปงธม<br />

การเดินทางวันนี้จากจังหวัดสตึงแตรงไปยังจังหวัดกำปงธมใช้เวลานานพอสมควร<br />

ประมาณ ๖ ชั่วโมง เพราะถนนบางช่วงยังเป็นลูกรังสลับลาดยาง ดังนั้นแผนการเดินทางเพื่อ<br />

ความสะดวกและเหมาะกับภูมิประเทศ ทางคณะจึงได้จัดอาหารกล่องถวายพระสงฆ์ฉันเพล<br />

ระหว่างทาง<br />

การเยือนวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลนอกจากเพื่อมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ<br />

เชื่อมความสัมพันธ์ชาวพุทธลุ่มน้ำโขงด้วยพุทธธรรมแล้ว เป้าหมายสำคัญประการหนึ่งใน<br />

การเดินทางมาครั้งนี้ก็คือมาเยี่ยมชมความก้าวหน้าทางการศึกษาอันมาจากการเชื่อมไมตรี<br />

ระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพรัตนราช-<br />

สุดาฯ สยามบรมราชกุมารีที่ได้พระราชทานพระราชานุเคราะห์แก่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

ตลอดมา<br />

วิทยากำปงเฌอเตียลก่อกำเนิดขึ้นจากพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ<br />

สยามบรมราชกุมารี หลังจากที่เสด็จพระราชดำเนินเยือนกัมพูชาครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๕<br />

สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ครั้งนั้นทรงเป็นราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ<br />

นโรดม สีหนุ พระองค์ทรงพระราชดำริพระราชทานความช่วยเหลือประเทศกัมพูชาโดย<br />

เฉพาะอย่างยิ่งในด้านการศึกษา รัฐบาลโดยสมเด็จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีได้สนองแนวพระ<br />

ราชดำริขอพระราชทานระบบการศึกษา และน้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินจำนวน ๔๕ ไร่ซึ่งภาย<br />

หลังต่อมาขยายเนื้อที่เป็น ๑๑๗ ไร่ในอำเภอปราสาทสมโบร์ไพรกุก จังหวัดกำปงธม เป็น<br />

พื้นที่ก่อสร้างวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

ได้พระราชทานเป็นของขวัญแก่ประชาชนชาวกัมพูชาเพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ฉันมิตรของ<br />

ประชาชนทั้งสองประเทศในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ และพระองค์ได้เสด็จ<br />

พระราชดำเนินไปทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

ก็เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลเมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ.<br />

๒๕๔๘ ปัจจุบันวิทยาลัยแห่งนี้เปิดการเรียนการสอนสายสามัญตั้งแต่มัธยม ๑-๖ และสาย<br />

อาชีวะระดับ ปวช. นับตั้งแต่เปิดการเรียนการสอนใน พ.ศ. ๒๕๔๓ มีนักเรียนรุ่นแรกได้ไป<br />

ศึกษาต่อที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียนให้มาศึกษาต่อในหลักสูตร<br />

ครุศาสตร์บัณฑิตและหลักสูตรอาชีวศึกษาที่ประเทศไทย ภายหลังนักเรียนได้กลับมาเป็น<br />

คณาจารย์ที่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

น้ำพระทัยเมตตาของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

ในการเยือนวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลครั้งนี้ คณะธรรมยาตราได้รับพระมหากรุณาธิคุณเป็น<br />

ล้นพ้นจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีที่ทรงพระเมตตาพระราชทาน<br />

พระราชานุเคราะห์เรื่องอาหาร ที่พัก ตลอดจนอำนวยความสะดวกให้แก่คณะธรรมยาตรา<br />

ได้ปฏิบัติกิจกรรมกุศลเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างเต็มภารกิจโดยสะดวกราบรื่น<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางมาถึงวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลในเวลาประมาณ ๑๔.๐๐ น.<br />

ภาพที่เห็นคือนักเรียนนักศึกษาราว ๑,๐๐๐ คนยืนพนมมือตั้งแถวถวายการต้อนรับ<br />

คณะสงฆ์และรอรับคณะธรรมยาตราอย่างเคารพยินดี เป็นระเบียบจากหน้าประตูวิทยาลัย<br />

จนถึงอาคารประกอบพิธี นักเรียนชายใส่เสื้อแขนยาวสีขาว กางเกงขายาวสีกรมท่าหรือสีดำ<br />

นักเรียนหญิงใส่กระโปรงสีกรมท่าหรือดำยาวเลยเข่าเกือบถึงข้อเท้า นับเป็นภาพความทรงจำ<br />

ที่ประทับอยู่ในใจคณะธรรมยาตรายากที่จะลืมเลือน


148 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 149<br />

“นักเรียนนักศึกษาที่วิทยาลัยกําปงเฌอเตียลภูมิใจได้เป็นตัวแทนของ<br />

ประเทศกัมพูชาต้อนรับคณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ในโอกาสมงคล<br />

ที่คณะธรรมยาตราได้เดินทางมาปฏิบัติกิจกรรมกุศลเผยแผ่พระพุทธ<br />

ศาสนาและศึกษาอารยธรรมเก่าแก่กลุ่มปราสาทสมโบร์ไพรกุก”


150 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 151<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ช่วงเย็นวันนั้นได้มีพิธีมอบสัญลักษณ์ธรรมยาตรา พิธีเจริญ<br />

พระพุทธมนต์นำโดยพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน พิธีมอบเสาธรรมจักร ธง<br />

ฉัพพรรณรังสี และธงธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินให้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยงาน<br />

รัฐบาลราชอาณาจักรกัมพูชา เจ้าหน้าที่สถานเอกอัครราชทูตแห่ง<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา เจ้าหน้าที่นำชมและอธิบายประวัติศาสตร์ของ<br />

โบราณสถาน โดยดร.สุภชัย วีระภุชงค์ได้มอบพระพุทธเมตตา เสา<br />

ธรรมจักร พร้อมด้วยโต๊ะหมู่บูชาและเครื่องเวชภัณฑ์ให้แก่ พล.อ.<br />

วาภิรมย์ มนัสรังสี ประธานกรรมการอำนวยการโครงการพระราชทาน<br />

ความช่วยเหลือแก่ราชอาณาจักรกัมพูชา นายสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล<br />

อธิบดีอัยการสำนักงานการสอบสวนมอบธงฉัพพรรณรังสี และนาย<br />

เกษม มูลจันทร์ รองเลขาธิการสถาบันโพธิคยาฯ มอบพระพุทธเมตตา<br />

แด่อาจารย์เป็ก เซียง ผู้อำนวยการวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

พล.อ. วาภิรมย์ มนัสรังสีได้กล่าวถึงการมาเยือนของคณะธรรม-<br />

ยาตราว่า “ความรู้สึกที่ได้เห็นคณะธรรมยาตราพร้อมกับพระสงฆ์ทุกรูป<br />

เมื่อคณะธรรมยาตราเดินทางเข้ามาที่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล รู้สึกว่า<br />

เป็นกุศลยิ่งที่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียลได้รับเกียรติจากคณะสงฆ์ ผม<br />

มองว่านี่คือความสัมพันธ์ระหว่าง ๕ ประเทศ”<br />

ในส่วนงานวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลนั้น พล.อ. วาภิรมย์กล่าวว่า<br />

“บางครั้งเราจะได้ยินชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่นี้พูดว่า เขามีความสำนึกใน<br />

พระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช-<br />

กุมารี ที่ได้พระราชทานโอกาสให้ลูกเขามีการศึกษาที่ดี จนทำให้ชุมชน<br />

แถบนี้มีความเจริญเติบโตอย่างชัดเจน”


152 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

วันที่ ๔ ซัวซะเด็ย - กําปงธม<br />

มุทิตาสักการะอายุวัฒนมงคล ๑๐๐ ปี พระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก 153<br />

ชื่นชม “ปราสาทสมโบร์ไพรกุก” รากฐานอารยธรรมของชาวกัมพูชา<br />

ช่วงเวลาประมาณ ๑๕.๐๐ น. วันนี้ ขบวนคณะธรรมยาตราเดินทางมาเยี่ยมชมอารยธรรม<br />

โบราณกลุ่มปราสาทสมโบร์ไพรกุก (Sambor Prei Kuk) ต้นกำเนิดรากฐานอารยธรรม<br />

ศาสนา และวิถีชีวิตของชาวกัมพูชา นำโดย พล.อ. วาภิรมย์ มนัสรังสี พร้อมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น<br />

เป็นผู้นำชม<br />

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ…<br />

เสียงสวดมนต์ของคณะธรรมยาตราขึ้นต้นด้วยความนอบน้อมแด่องค์สมเด็จพระสัมมา<br />

สัมพุทธเจ้า พระผู้ไกลจากกิเลส ตามด้วยบทอิติปิโสสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย และบท<br />

ชัยมงคลคาถาชัยชนะของพระพุทธเจ้าอันเป็นมงคล เสียงสวดมนต์ดังก้องอย่างพร้อมเพรียง<br />

ทั่วบริเวณกลุ่มปราสาทสมโบร์ไพรกุก


154 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 155<br />

วันที่ ๔ ซัวซะเด็ย - กําปงธม โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สมโบร์ไพรกุกแปลว่าป่าอันอุดมด้วยปราสาท ตั้งอยู่กลาง<br />

ป่าในจังหวัดกำปงธม อยู่ไม่ไกลจากวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

กลุ่มปราสาทแห่งนี้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางอารยธรรมโบราณ<br />

โบราณคดี และประวัติศาสตร์ศาสนา ขณะนี ้อยู่ระหว่างการ<br />

ศึกษาค้นคว้าของผู้เชี่ยวชาญในหลายสาขา มีข้อมูลพื้นฐานระบุ<br />

ว่า กลุ่มปราสาทแห่งนี้ถือกำเนิดมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๒<br />

ในสมัยของพระเจ้าอิศานวรมันที่ ๑ (พ.ศ. ๑๑๕๙-๑๑๗๘) กลุ่ม<br />

ปราสาทมีอายุราว ๑,๓๐๐ ปี สร้างขึ้นก่อนปราสาทหินนครวัด<br />

กว่า ๕๐๐ ปี และเป็นกลุ่มปราสาทยุคเดียวกับปราสาทวัดพูที่<br />

สปป.ลาว ซึ่งคณะธรรมยาตราเพิ่งเดินทางผ่านมา<br />

กลุ่มปราสาทสมโบร์ไพรกุกสร้างด้วยหินศิลาแลงและ<br />

หินทราย เป็นโบราณสถานที่ชาวกัมพูชาเคารพและถือเป็น<br />

สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ มีพื้นที่ประมาณ ๒๕ ตารางกิโลเมตร องค์การ<br />

การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือ<br />

ยูเนสโกได้ยกกลุ่มปราสาทสมโบร์ไพรกุกไว้ในบัญชีรายชื่อแหล่ง<br />

มรดกโลก (World Heritage List) ซึ่งนับเป็นมรดกโลกแห่งที่<br />

สามของกัมพูชา อีกสองแห่งนั้นคือปราสาทนครวัดและปราสาท<br />

เขาพระวิหาร กลุ่มปราสาทนี้ยังอยู่ระหว่างการสำรวจ จาก<br />

ซากโบราณสถานที่ปรากฏสันนิษฐานว่าในอดีตน่าจะมีปราสาท<br />

จำนวนมากถึง ๓๐๐ ปราสาท แต่เท่าที่สำรวจพบในปัจจุบันมี<br />

เหลืออยู่ราว ๑๖๐ ปราสาท และจำนวนนี้เที่ยวชมได้ ๘๔ แห่ง<br />

แบ่งกลุ่มปราสาทออกเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปราสาทสมโบร์<br />

(Sambor) อยู่ด้านทิศเหนือ กลุ่มปราสาทตาว (Tor) หรือกลุ่ม<br />

ปราสาทสิงห์โตอยู่บริเวณส่วนกลาง และสุดท้ายกลุ่มปราสาท<br />

เยียปวน (Yeah Puon) ด้านทิศใต้ ปราสาททั้งหลายที่ปรากฏ<br />

ให้เห็นนี้สันนิษฐานว่าเป็นส่วนยอดของปราสาทเท่านั้น ส่วน<br />

ตัวฐานขึ้นมาต่อด้วยองค์ปราสาทยังคงจมอยู่ในแผ่นดิน และมี<br />

การสำรวจพบว่ามีโครงสร้างที่เป็นฐานรากของปราสาทอยู่ใต้ดิน<br />

อีกเป็นจำนวนมากซึ่งยังอยู่ในแผนการศึกษาค้นคว้า ขณะนี้<br />

วัตถุโบราณและชิ้นส่วนของซากปราสาทต่างๆ ที่ค้นพบได้นำ<br />

ไปเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์ ยังไม่ได้มีการจัดแสดงให้ประชาชน<br />

ชมอย่างเป็นทางการ<br />

ศุภราตรีบนผืนแผ่นดินน้ำพระทัย<br />

ความเป็นชาติแม้แตกต่างกัน แต่หัวใจชาวพุทธเป็นหนึ่งเดียว คณะ<br />

ธรรมยาตราได้เดินทางเริ่มต้นจากจังหวัดอุบลราชธานี แผ่นดิน<br />

เกิดของพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก เข้าสปป.<br />

ลาว มาถึงราชอาณาจักรกัมพูชา ประวัติศาสตร์หน้าใหม่แห่ง<br />

การเชื่อมมิตรไมตรีด้วยพุทธธรรมกำลังดำเนินไปอย่างงดงาม<br />

ด้วยกุศลศรัทธา<br />

ค่ำคืนนี้เป็นค่ำคืนแห่งความดีงาม ด้วยน้ำพระทัยเมตตา<br />

ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

คณะสงฆ์ ๕ ประเทศพักจำวัด ณ อาคารโซล่าเซลล์ ฆราวาส<br />

พักที่อาคารรับรองวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

เสร็จสิ้นกิจกุศลในวันที่ ๔ พรุ่งนี้มหาบุญมหากุศลจะเริ่ม<br />

ขึ้นในเวลาเช้าตรู่อีกเช่นเดิม


วันที่ ๕ กัมพูชา<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ สุขใจในวิถีชีวิตชาวพุทธลุ่มน้ำโขงที่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

อารยธรรมพุทธ<br />

ชมฟ้อนรำอวยชัยนาฏศิลป์กัมพูชา ร่วมพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต้นที่ ๖<br />

ก่อนเดินทางมุ่งสู่วัดโบตุมโวเด็ย (วัดปทุมวดีราชวราราม)<br />

กรุงพนมเปญเมืองหลวงแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา”<br />

บารมีเรืองรอง<br />

วันพุธที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


158 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 159<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - กําปงธม<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

หัวใจชาวพุทธลุ่มนํ้ำโขงคือหนึ่งเดียว<br />

สุขใจในวิถีชีวิตชาวพุทธลุ ่มน้ำโขงที่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล ชมฟ้อนรำอวยชัยนาฏศิลป์<br />

กัมพูชา ร่วมพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๖ ก่อนเดินทางมุ่งสู่วัดโบตุมโวเด็ย (Wat<br />

Botum Wattey Reacheveraram, วัดปทุมวดีราชวราราม) กรุงพนมเปญ เมืองหลวงแห่ง<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

ที่อาคารอเนกประสงค์วิทยาลัยกำปงเฌอเตียลตั้งแต่เช้าตรู่มีคนมารอใส่บาตรเป็น<br />

จำนวนมากเช่นเดียวกับหลายจุดที่ผ่านมาตั้งแต่อุบลราชธานี สปป.ลาว จนผ่านเข้ากัมพูชา<br />

ที่จังหวัดสตึงแตรง และมาถึงจังหวัดกำปงธม<br />

คณาจารย์และนักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล พร้อมด้วยชาวบ้านบริเวณ<br />

รอบวิทยาลัย ต่างพากันหอบหิ้วข้าวของอาหารคาวหวานมาเตรียมใส่บาตร พร้อมแลกเงิน<br />

มาเพื่อมาถวายพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน วันนี้ทุกคนดูตื่นเต้นเป็นพิเศษ ดีใจที่จะได้ร่วมเป็นหนึ่ง<br />

ซัวซะเด็ย<br />

กัมพูชา<br />

ซัวสเด<br />

กัมพูชา


160 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 161<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - กําปงธม โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ในงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ไม่เฉพาะแค่คณาจารย์และ<br />

นักเรียนนักศึกษาเท่านั้น ยังมีผู้เฒ่าผู้แก่ตลอดจนหนุ่มสาว<br />

ผู้มีศรัทธาต่างนัดหมายพากันมาเป็นจำนวนมากเพื่อร่วมงาน<br />

มหาบุญครั้งนี้ กลุ่มผู้ชายใส่เสื้อสีขาวแขนยาว บางคนใส่เต็มยศ<br />

เสื้อแขนยาวคอตั้ง พาดบ่าด้วยผ้าขาวม้า ส่วนผู้หญิงใส่เสื้อห่ม<br />

สไบสีขาว นุ่งผ้าซิ่น ถอดรองเท้านั่งพับเพียบที่พื้นรอพระสงฆ์<br />

มาถึง ตามวัฒนธรรมของชาวพุทธสุวรรณภูมิ หากสถานที่ใดมี<br />

พระสงฆ์อยู่ฆราวาสจะนั่งในจุดที ่ต่ำกว่าพระสงฆ์เสมอ จะไม่<br />

นั่งสูงเทียบหรือสูงกว่าพระสงฆ์ ถ้าพระสงฆ์นั่งบนอาสนะ ฆราวาส<br />

จะนั่งบนพื้นไม่นั่งบนอาสนะ หรือนั่งบนอาสนะที่บางกว่า หรือ<br />

ใช้อาสนะที่มีรูปแบบและสีแตกต่างจากพระสงฆ์ ทั้งนี้เพื่อ<br />

แสดงความเคารพในพระสงฆ์ โดยมองว่าพระสงฆ์เป็นผู้ออก<br />

เรือนไปแล้วด้วยเห็นภัยในการเวียนว่ายตายเกิด จึงเป็นผู้ตั้งใจ<br />

ปฏิบัติขัดเกลากิเลสเพื่อเป็นสาวกขององค์สมเด็จพระสัมมา-<br />

สัมพุทธเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติศีลถึง ๒๒๗ ข้อ ส่วนฆราวาสนั้นยังอยู่<br />

ในเรือน และเกี่ยวข้องอยู่กับกามคุณ และรักษาศีลเพียง ๕ ข้อ<br />

ตักบาตร...พิธีศักดิ์สิทธิ์ที่สงบเรียบง่าย<br />

เวลาใกล้ ๐๗.๐๐ น. ได้เวลาที่คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินตั้งแถวออก<br />

เดินรับบาตร เมื่อพระธรรมวรนายกออกนำพระสงฆ์ทั้งหมดก็<br />

เดินตามอย่างสงบเงียบสำรวม เป็นไปอย่างเรียบง่ายไม่มีพิธีรีตอง<br />

ชาวบ้านนำของที่จัดเตรียมมาซึ่งมีอาหารคาวหวานที่ดี<br />

เลิศเท่าที่ตนเองจะจัดหาได้ รอใส่บาตรด้วยกิริยาสงบสำรวม


162 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 163<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - กําปงธม<br />

ยกของขึ้นทูนศีรษะอธิษฐานก่อนใส่บาตร ขณะใส่บาตรก็ภาวนาอธิษฐานในใจ และหลังใส่<br />

บาตรก็อธิษฐานอีกครั้งด้วยจิตใจที่เคารพในทานที่ตนเองได้กระทำแล้ว<br />

นอกจากนี้การใส่บาตรยังถือเป็นหน้าที่ของอุบาสกอุบาสิกา ผู้ถือว่าเป็นผู้ใกล้ชิด<br />

พระรัตนตรัย คือ ต้องอุปัฏฐากดูแลพระสงฆ์ให้พระสงฆ์มีอาหารและปัจจัย ๔ ยังชีพได้<br />

ไม่ต้องห่วงเรื่องขบฉัน มีกำลังศึกษาพระธรรมคำสอนและเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป<br />

การกระทำเช่นนี้ชาวพุทธถือว่าเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไปด้วย และที่สุดแล้วการ<br />

ใส่บาตรยังเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ถือเป็นการสร้างบุญสร้างกุศลอันเป็นอริยทรัพย์ให้แก่<br />

ตนเองนำไปใช้ได้ทั้งในชาตินี้และติดตัวไปชาติหน้า อีกทั้งยังสามารถอุทิศแผ่ส่วนกุศลให้<br />

แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้วได้ด้วย โดยเชื่อกันว่าอาหารและทุกอย่างที่ถวายนั้นจะสามารถส่งไป<br />

ถึงญาติผู้ล่วงลับในโลกวิญญาณได้ วัฒนธรรมประเพณีชาวพุทธสุวรรณภูมิจึงนิยมใส่บาตร<br />

กันในชีวิตประจำวันเป็นวิถีพื้นฐานของชาวพุทธที่ต้องปฏิบัติโดยขาดไม่ได้ และเป็นพิธี<br />

ศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องทำด้วยความเคารพ<br />

อาจารย์สิงหา ผาง อาจารย์ประจำวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลช่วยเป็นล่ามแปลภาษา<br />

เมื่อผู้สื่อข่าวสถานีข่าวช่อง TNN24 ถามนางสาคล อุยถึงความรู้สึกในการมาใส่บาตรครั้งนี้<br />

เธอตอบคำถามผู้สื่อข่าวด้วยใบหน้ามีความสุขว่า “การได้มางานบุญนี้มีจิตใจดีมีความสุข<br />

มาก ปกติทำบุญบ่อย แต่ทำบุญใหญ่ขนาดนี้นานๆ ได้ทำที บุญที่พระสงฆ์ ๕ แผ่นดินมานี้<br />

เป็นครั้งแรก บุญทำให้จิตใจสงบดีในการใช้ชีวิตประจำวัน”<br />

เมื่อพิธีใส่บาตรเสร็จสิ้นแล้ว คนที่มาร่วมพิธีก็ช่วยกันถวายภัตตาหารเช้าแด่พระสงฆ์<br />

คณะสงฆ์ให้พร จากนั้นฝ่ายฆราวาสก็รับประทานอาหารร่วมกัน<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์พร้อมคณะ ได้ถ่ายรูปร่วมกับชาวบ้านเป็นที่ระลึก แม้จะคุยผ่าน<br />

ภาษาพูดไม่ได้ แต่ความอิ่มเอิบแห่งบุญใหญ่ที่ได้รับเช้านี้คำพูดก็ไม่ใช่สิ่งจำเป็น ทุกคนต่างมี<br />

ใบหน้ายิ้มแย้ม พูดคุยหัวเราะ ถ่ายรูปร่วมกันอย่างเบิกบาน เหมือนพี่น้องมิตรรักจากแดน<br />

ไกลมาเยี่ยมเยือน


164 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 165<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - กําปงธม โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พระสงฆ์ ๕ แผ่นดินเจริญพระพุทธมนต์<br />

หลังจากฉันภัตตาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย คณะธรรมยาตราพร้อมด้วยคณาจารย์<br />

นักเรียนนักศึกษา และประชาชนชาวกำปงธมพร้อมเพรียงกันที่อาคาร<br />

อเนกประสงค์ชั้น ๒ เพื่อรับฟังการเจริญพระพุทธมนต์และสวดมนต์ร่วมกัน<br />

กับพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน โดยมีพระสงฆ์ผู้เป็นผู้แทน ๕ แผ่นดินในพิธี คือ พระ<br />

อาจารย์ใหญ่มหาบุญมา สิมมาพม รองประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนา<br />

สัมพันธ์ลาว พระธรรมวรนายก ประธานโครงการส่งเสริมพระสงฆ์ไปศึกษา<br />

และปฏิบัติธรรมเชิงลึก ณ แดนพุทธภูมิ อินเดีย-เนปาล จากประเทศไทย<br />

พระครูสมุห์ปญฺญา ปชฺโชโต เฮง ฮุน เจ้าอาวาสวัดโพธิ์แก้ว เปรี้ยะเนตรเปรี้ยะ<br />

แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระอีนต๊ะป่าละ ติปิตะกะตะยา ธัมบานทะ<br />

ผู้ทานพระไตรปิฎกลำดับ ๑๑ ผู้เป็นหนึ่งในจำนวนทั้งหมด ๑๔ รูปแห่ง<br />

สหภาพเมียนมา พระนาคะทีปะ เจ้าอาวาสวัดไจทีเซา สหภาพเมียนมา<br />

พระมหาการุญ การุณิโก รองเจ้าอาวาสวัดธรรมจักรการาม เมืองเว้ ประเทศ<br />

เวียดนาม<br />

พล.อ. วาภิรมย์ มนัสรังสี ประธานคณะกรรมการอำนวยการโครงการ<br />

พระราชทานความช่วยเหลือแก่ราชอาณาจักรกัมพูชา จุดธูปเทียนบูชาพระ<br />

รัตนตรัย<br />

พระเมธีวรญาณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์นำพระสงฆ์<br />

๕ แผ่นดินเจริญพระพุทธมนต์<br />

สำหรับการเจริญพระพุทธมนต์นั้นมีจุดเริ่มต้นมาจากความต้องการที่จะ<br />

จดจำและสืบต่อคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระสงฆ์สาวก<br />

สมัยพุทธกาลจึงได้นำพระสูตรต่างๆ มาสวดสาธยายในรูปแบบการบริกรรม<br />

ภาวนาให้เกิดเป็นสมาธิ จึงเรียกว่าพระพุทธมนต์


166 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 167<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - กําปงธม<br />

วันที่ ๓ ซัวสเด - กัมพูชา<br />

ในวันนี้คณะสงฆ์ธรรมยาตราก็ร่วมกันเจริญพระพุทธมนต์<br />

เฉกเช่นในอดีตกาล เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ผู้มาร่วมมหาบุญ<br />

ในวันนี้และเพื่อความเจริญรุ่งเรืองแห่งแผ่นดินพุทธลุ่มน้ำโขง<br />

เมื่อเจริญพระพุทธมนต์เสร็จ พล.อ. วาภิรมย์นำคณะ<br />

ถวายเครื่องไทยธรรมแด่พระสงฆ์ ๑๐ รูป คณะร่วมถวายมี<br />

รายนามดังนี้ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยา<br />

วิชชาลัย ๙๘๐ ดร.คิน ฉ่วย มหาอุบาสกผู้มีบทบาทสำคัญต่อ<br />

การอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาแห่งสหภาพเมียนมา นายแพทย์<br />

ภูษิต เฟื่องฟู ดร.กรรณิการ์ สัจจกุล คุณพูมลัย แสนค ำพร ผู้แทน<br />

จากศูนย์กลางแนวลาวสร้างชาติ คุณกิติภัทร จันทรุจิรากรจาก<br />

สถานีข่าวสปริงนิวส์ คุณตวงพร อัศววิไลจากสถานีข่าว Voice<br />

TV คุณฐานิดา สง่างามจากสถานีข่าว TNN24 และคุณยุทธยา<br />

ตุ้มมีจากสถานีข่าวไทยรัฐทีวี<br />

จากนั้นคณะพระสงฆ์ธรรมยาตราให้พรเป็นภาษาบาลี<br />

พระอาจารย์ใหญ่มหาบุญมา สิมมาพม ประพรมน้ำพระ<br />

พุทธมนต์ คณะพระสงฆ์สวดชยันโตเพื่อความเป็นสิริมงคลแด่<br />

ทุกท่าน ขจัดอุปสรรคอันตราย กระทําการสิ่งใดก็ประสบความ<br />

สําเร็จ<br />

หลังจากนั้น ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการชมรม<br />

โพธิคยา ๙๘๐ มอบเงินสนับสนุนแด่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

ในนามมูลนิธิวีระภุชงค์ โดยมีอาจารย์เป๊ก เซียง ผู้อำนวยการ<br />

วิทยาลัยเป็นผู้แทนรับมอบเงินสนับสนุน


168 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 169<br />

“นักศึกษาวิทยาลัยกําปงเฌอเตียลแต่งกายด้วยชุดคล้ายนางอัปสรา<br />

นางฟ้าแห่งสรวงสวรรค์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความดีงาม ร่ายรําอวยชัย<br />

สื่อถึงสรรพมงคลความดีงามจงมีแด่ทุกท่าน ได้รับความสนใจเป็นอันมาก<br />

เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมอันเป็นมรดกลํ้ำค่าของชาติ”


170 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 171<br />

วันที่ ๓ ซัวสเด - กัมพูชา วันที่ ๓ ซัวสเด - กัมพูชา<br />

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต้นไม้แห่งผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน<br />

เสียงจากวงมโหรีบรรเลงดนตรีอันเป็นมรดกทางภูมิปัญญาของกัมพูชาตลอดงาน<br />

พิธีการปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์นับเป็นต้นที่ ๖ แล้ว โดยหน่อโพธิ์นี้ได้นำมาจาก<br />

เมืองคยา ประเทศอินเดีย สถานที่ตรัสรู้ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่ปลูก<br />

ที่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียลตั้งชื่อว่า “โพธิคยา” เพื่อเป็นความทรงจำว่าครั้งหนึ่งมีขบวนคณะ<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินได้ผ่านมา และได้มาร่วมชุมนุมทำมหากุศลร่วมกัน<br />

สถานที่ที่จัดไว้สำหรับปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์อยู่บริเวณด้านหน้าอาคารอเนกประสงค์<br />

โดยคณะธรรมยาตราผู้ร่วมพิธีปลูกนำโดยพระธรรมวรนายก พร้อมด้วยคณะพระสงฆ์ ๕<br />

ประเทศ พล.อ. วาภิรมย์ มนัสรังสีเป็นประธานฝ่ายฆราวาส คณาจารย์ คณะผู้บริหารสถาบัน<br />

โพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พร้อมผู้นำองค์กรภาคีเครือข่าย ๕ แผ่นดิน นักเรียนนักศึกษา และ<br />

ชาวบ้านกำปงธมร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ เสียงสวดชยันโตจากพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

เป็นภาษาบาลี ภาษาห่อพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าดังทั่วบริเวณ ชาวบ้านค่อยๆ<br />

ทยอยเข้ามาโปรยดอกไม้และรดน้ำต้นโพธิ์ ร่วมกันอธิษฐานจิตและอนุโมทนาบุญ กล่าว<br />

สาธุการด้วยยินดีในมหาบุญครั้งนี้


172 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 173<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - กําปงธม โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ก่อนเสร็จสิ้นพิธีนักเรียนหญิงจากสถาบันร่ายรำระบำอัปสรชุด “อวยชัย” อย่าง<br />

อ่อนช้อยงดงามในชุดแต่งกายคล้ายนางอัปสรา นางฟ้าแห่งสรวงสวรรค์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์<br />

แห่งความดีงาม ประคองพานดอกมะลิโปรยปรายสื่อถึงการอวยชัยสรรพมงคลจงมีแด่<br />

ทุกท่าน<br />

อาจารย์เป๊ก เซียง ผู้อำนวยการวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลได้กล่าวถึงความรู้สึกใน<br />

การมาเยือนของคณะธรรมยาตราและการได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ว่า “เป็นเรื่องยากมากที่จะมีพระสงฆ์ ๕ ประเทศมาที่นี่ได้ รู้สึกเป็นบุญเป็นกุศลอย่าง<br />

มากที่ได้ถวายการต้อนรับพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน และได้ร่วมทำบุญกับคณะธรรมยาตราใน<br />

ครั้งนี้ด้วยนะครับ ได้เรียนรู้ถึงวิธีการใช้ธรรมนำทางชีวิต แล้วก็เป็นเส้นทางสู่ความสงบสุข<br />

ของชาติด้วย”<br />

คุณสีดา ปาง นักเรียนวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล หนึ่งในผู้ร่วมมหาบุญครั้งนี้กล่าวถึง<br />

ความรู้สึกว่า “กิจกรรมนี้สำคัญต่อชาวกัมพูชามาก นับเป็นเกียรติแก่ประเทศ เป็นครั้งแรกใน<br />

โรงเรียนที่เกิดเหตุการณ์นี้ ดิฉันคิดว่าพระสงฆ์เป็นบุคคลสำคัญของพระพุทธศาสนา ถ้าเรา<br />

ศึกษาหลักธรรม เราจะจัดการกับความรู้สึกที่เกิดภายในใจของเราทำให้เกิดความสงบได้”<br />

เฌอเตียลทุกท่านที่ได้ร่วมมหาบุญนี้อย่างเต็มกำลังกายกำลังใจ แสดงให้เห็นถึงพลัง<br />

ความสามัคคีของพี่น้องชาวพุทธที่ปรารถนาความสุขสงบด้วยพุทธธรรม<br />

ออกเดินทางสู่กรุงพนมเปญ<br />

ตามกำหนดคณะธรรมยาตราจะมุ่งสู่กรุงพนมเปญโดยรถบัสและอีกราวๆ ๔ ชั่วโมงจะถึง<br />

จุดหมาย เพื่อเตรียมตัวร่วมพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันรุ่งขึ้นที่โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ<br />

โภคีธรา (Sofitel Phnom Penh Phokeethra) พักค้าง ๒ คืนที่กรุงพนมเปญก่อนเดินทาง<br />

ต่อไปยังเวียดนาม<br />

กำหนดการวันนี้คณะพระสงฆ์ปักกลดพักแรมที่วัดโบตุมโวเด็ย<br />

วัดโบตุมโวเด็ยหรือเรียกภาษาไทยว่า วัดปทุมวดีราชวราราม เป็นวัดเก่าแก่ที่สำคัญแห่งราช<br />

อาณาจักรกัมพูชา มีบรรยากาศความสงบแม้อยู่ท่ามกลางความอึกทึกของกรุงพนมเปญ<br />

อำลากำปงเฌอเตียล<br />

เวลาประมาณ ๑๐.๐๐ น. คณะธรรมยาตราจะออกเดินทางจากกำปงธม คณาจารย์และ<br />

นักเรียนวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลจัดเตรียมข้าวกล่องเพื่อถวายพระคุณเจ้าให้ฉันเพล และคณะ<br />

ได้รับประทานอาหารกลางวันบนรถบัสระหว่างทางเพื่อความสะดวก ไม่ต้องจัดหาสถานที่<br />

ถวายเพลและรับประทานอาหาร<br />

คณะธรรมยาตราอำลาจากกำปงธมด้วยความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จ<br />

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงพระเมตตาดูแลคณะธรรมยาตราอย่าง<br />

เรียบร้อย และขอขอบคุณพล.อ. วาภิรมย์ พร้อมด้วยคณาจารย์และนักเรียนวิทยาลัยกำปง-


174 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 175<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ชื่อเดิมของวัดนี้คือวัดปอปตายาง (Khpop Ta Yang หรือ Tayawng) สร้างขึ้นในสมัย<br />

พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ) จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ย้าย<br />

เมืองหลวงมาที่พนมเปญ จึงนิมนต์สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) คณะธรรมยุติกนิกาย<br />

จากวัดศาลาคูหรือวัดอ็อมปึลเบ็ยมาประทับที่วัดนี้ ซึ่งในขณะนั้นเป็นวัดร้าง พระนโรดมให้<br />

มีการบูรณะขึ้นใหม่ และได้ปลูกบัวไว้ในคูของวัดถึง ๓ มุม และพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัด<br />

โบตุมโวเด็ยหรือวัดปทุมวดีราชวราราม ภายในวัดมีพระเจดีย์ ๑๓ ลักษณะธุตังคเจดีย์ คือ<br />

สรรเสริญคุณของธุดงควัตร ๑๓ ประการ<br />

เมื่อคณะเดินทางถึงกรุงพนมเปญได้ส่งคณะสงฆ์เข้าปักกลดจำวัดที่วัดโบตุมโวเด็ย<br />

เรียบร้อย ฆราวาสเดินทางเข้าที่พัก ณ โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา (Sofitel Phnom<br />

Penh Phokeethra) และช่วงค่ำ ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์และคุณเสริมเกียรติ ไกรทองสุข<br />

หัวหน้าหน่วยรถพยาบาลฉุกเฉินและส่งต่อ ในนามของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี<br />

ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมคณะสงฆ์ เพื่อสอบถามอาการเจ็บป่วยและรักษาพยาบาลคณะสงฆ์<br />

สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ เลี้ยงต้อนรับคณะธรรมยาตรา<br />

เวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น. คณะธรรมยาตรามารวมตัวพร้อมกันที่ล็อบบี ้โรงแรมโซฟิเทล<br />

พนมเปญ โภคีธรา เพื่อออกเดินทางไปงานเลี้ยงต้อนรับคณะธรรมยาตราที่สถานเอกอัครราชทูต<br />

ณ กรุงพนมเปญ จัดโดยนายณัฏฐวุฒิ โพธิสาโร เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงพนมเปญ<br />

ในงานนี้ได้จัดให้มีพิธีมอบเสาธรรมจักร โดยมี ดร.สุภชัย วีระภุชงค์เป็นตัวแทนสถาบัน<br />

โพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ มอบเสาธรรมจักรให้นายณัฏฐวุฒิ โพธิสาโร เอกอัครราชทูตไทย<br />

ประจำกรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา พร้อมมอบธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ธง<br />

ฉัพพรรณรังสี และมอบเข็ดกลัดตราสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์กล่าวถึงงานธรรมยาตราในราชอาณาจักรกัมพูชาว่า “ผมขอ<br />

ขอบคุณสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ รวมไปถึงรัฐบาลกัมพูชาที่ให้ความช่วยเหลือ


176 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 177<br />

วันที่ ๕ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ในการดำเนินการอย่างดีจนทำให้การจัดธรรม-<br />

ยาตราครั้งนี้เดินหน้าไปอย่างราบรื่น ได้รับการ<br />

ต้อนรับจากชาวพุทธอย่างล้นหลามจนเป็น<br />

บันทึกประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของการธรรม-<br />

ยาตราที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน”<br />

พิธีต้อนรับอย่างอบอุ่นสง่างามที่สถาน<br />

เอกอัครราชทูตได้จัดให้วันนี้ ทำให้ความ<br />

เหนื่อยล้าผ่อนคลาย ทั ้งด้วยอาหารรสชาติ<br />

อร่อยแบบไทยแท้ บรรยากาศแห่งมิตรไมตรี<br />

อบอวล ค่ำคืนนี้คณะฆราวาสพักค้างโรงแรม<br />

โซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา (Sofitel Phnom<br />

Penh Phokeethra) โดยมีมูลนิธิวีระภุชงค์<br />

เป็นเจ้าภาพ พรุ่งนี้วันศุกร์ที่ ๒๖ พฤษภาคม<br />

พ.ศ. ๒๕๖๐ จะมีงานใหญ่ มีผู้แทนรัฐบาล ๕<br />

ประเทศ พร้อมผู้นำองค์กรภาคีเครือข่ายเข้า<br />

ร่วมพิธีเปิดอย่างเป็นทางการที่โรงแรมโซฟิเทล<br />

พนมเปญ โภคีธรา (Sofitel Phnom Penh<br />

Phokeethra)


วันที่ ๖ กัมพูชา<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ ประชาชนพุทธ ๕ แผ่นดิน ตกลงจับมือกันเป็นภาคีเครือข่ายเชื่อมสัมพันธ์ลุ่มน้ำโขง<br />

สามัคคีธรรม<br />

และวันนี้มีการประกาศความร่วมมือในพิธีเปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง งานยิ่งใหญ่ระดับนานาชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

จัดขึ้นที่โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา ในงานมีคณะผู้นำสงฆ์และผู้นำรัฐบาล<br />

๕ ประเทศ มาร่วมงานอย่างสามัคคีพร้อมเพรียง”<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

วันศุกร์ที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


180 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 181<br />

ซัวซะเด็ย<br />

กัมพูชา


182 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 183<br />

ประกาศความร่วมมือ ๕ แผ่นดินพระพุทธศาสนา<br />

อ<br />

รุณซัวซะเด็ยที่กรุงพนมเปญ วันนี้มีพิธีเปิดโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอย<br />

พระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง งานยิ่งใหญ่ระดับนานาชาติของราชอาณาจักรกัมพูชาที่โลก<br />

จับตาจัดขึ้นที่โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา โดยสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

ชมรมโพธิคยา ๙๘๐ และมูลนิธิวีระภุชงค์<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชาได้รับวัฒนธรรมจากประเทศอินเดียมาตั้งแต่โบราณกาล และหนึ่ง<br />

ในวัฒนธรรมที่รับมานั้นก็คือหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา มีหลักฐานว่าประเทศกัมพูชา<br />

เป็นดินแดนแรกๆ ที่รับอิทธิพลพระพุทธศาสนาเมื่อครั้งพระธรรมทูตมาเผยแผ่สู่สุวรรณภูมิ<br />

เชื่อมสัมพันธ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

และในวันนี้กัมพูชาก็ได้บันทึกประวัติศาสตร์หน้าใหม่ไว้ว่า ขบวนธรรมยาตราได้เดินทางมา<br />

จากไทยสู่ลาว และเคลื่อนผ่านเข้าสู่กัมพูชาจากสตึงแตรง กำปงธม มาถึงกรุงพนมเปญ และ<br />

ได้มีการจัดงานพิธีเปิดธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำโขงขึ้นอย่าง<br />

เป็นทางการ ซึ่งเป็นงานที ่มีชาวพุทธจำนวนมากมาชุมนุมกันเพื่อแสดงพลังความสามัคคี<br />

นำโดยคณะสงฆ์และรัฐบาลระดับผู้นำ นักธุรกิจ มหาอุบาสกอุบาสิกาทั้ง ๕ ประเทศใน<br />

กลุ่มลุ่มน้ำโขง รวมตัวกันแสดงเจตนารมณ์เชื่อมไมตรีชาวลุ่มน ้ำโขง แผ่นดินสุวรรณภูมิให้<br />

เรืองรองด้วยพุทธธรรม มุ่งเป้าหมายสร้างสันติภาพให้ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข


184 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 185<br />

วันที่ ๖ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

บุคคลสำคัญและแขกผู้มีเกียรติทยอยเข้างาน<br />

พิธีเปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ โดยสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

และมูลนิธิวีระภุชงค์ จัดให้มีขึ้นที่ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา<br />

เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. แขกผู้มีเกียรติและสื่อมวลชนจาก ๕ ประเทศทยอยเข้าร่วมงาน<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พร้อมคณะทำงานได้เตรียม<br />

การต้อนรับแขกผู้มีเกียรติและบุคคลสำคัญที่ทยอยเดินทางเข้ามา มีรายนามดังนี้<br />

ประธานพระสงฆ์ ๕ ประเทศ คือ<br />

u สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดีเทพวงศ์ สมเด็จพระมหาสังฆราชแห่ง<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

u พระอาจารย์ใหญ่พระมหาบุญมา สีมาพม รองประธานศูนย์กลางองค์การ<br />

พุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว<br />

u พระธรรมวรนายก ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑ ประเทศไทย<br />

u พระทิกเทียนตัม รองประธานสมัชชาสงฆ์แห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม<br />

u พระติปิตะกะ ตะยะ บัดดันดะ เอนดะป่าละ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา<br />

ประธานฆราวาส ๕ ประเทศ รายนามดังนี้<br />

u ฯพณฯ ฮอ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

u ฯพณฯ พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย<br />

u ดร.คิน ฉ่วย ประธานสมาพันธ์พุทธศาสนิกชนเถรวาท สาธารณรัฐแห่ง<br />

สหภาพเมียนมา<br />

u คุณประสิทธิ์ ไซยประสิทธิ์ เอกอัครราชทูต สปป.ลาว<br />

u คุณเหวียน จั๊ก ถ่วน อุปทูตสถานเอกอัครราชทูตเวียดนามประจำกัมพูชา<br />

นอกจากนี้ภายในงานมีคณะสงฆ์จากประเทศทั้ง ๕<br />

เข้าร่วมงานประมาณ ๕๐ รูป แขกกิตติมศักดิ์มาร่วมงาน<br />

กันอย่างมากมาย เช่น ฯพณฯ ฮุน มานี สมาชิกรัฐสภาและ<br />

ประธานสหพันธ์ยุวชนแห่งชาติกัมพูชา ฯพณฯ ลงวิซา โล<br />

เอกอัครราชทูตกัมพูชาประจำประเทศไทย ฯพณฯ ณัฐวุฒิ<br />

โพธิสาโร เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงพนมเปญ พลเอก วิชิต<br />

ยาทิพย์ นายกสมาคมมิตรภาพไทย-กัมพูชา นายสุรพล มณีพงษ์<br />

อุปนายกและเลขาธิการสมาคมมิตรภาพไทย-กัมพูชา พร้อม<br />

ด้วยนักธุรกิจไทย-กัมพูชา และสื่อมวลชนจาก ๕ ประเทศ และ<br />

ผู้นำชาวพุทธภาคีเครือข่าย ๕ ประเทศ<br />

พร้อมด้วยคณะผู้จัดงาน ได้แก่ ดร.วินัย วีระภุชงค์ ประธาน<br />

มูลนิธิวีระภุชงค์ คุณชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการและคณะทำงานสถาบัน<br />

โพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ คุณเกษม มูลจันทร์ รองเลขาธิการ<br />

ดร.อัจฉราวดี แมนชาติ ดร.พารณี เจียรเกียรติ ผู้ช่วยเลขา-<br />

ธิการ พร้อมด้วยคณะทำงานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ นพ.ศุภชัย<br />

ถนอมทรัพย์ ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์ คุณดำฤทธิ์ วิริยะกุล<br />

ผศ.ลักขณา บรรพกาญจน์ คุณเด่นชัย เด่นชัยประดิษฐ์ คณะ<br />

สื่อมวลชนจาก ๕ ประเทศ และแขกผู้เกียรติรวมแขกที่มาร่วม<br />

งานวันนั้นประมาณกว่า ๒๐๐ ท่าน


186 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 187<br />

“การจัดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ใช้เวลาเตรียมการนานกว่า ๑ ปีครึ่ง<br />

เดินทางพบปะทั้งผู้นําสงฆ์ ผู้นํารัฐบาล และภาคประชาชนทั้ง ๕ ประเทศ<br />

งานนี้จัดขึ้นมาได้เพราะได้รับความร่วมมือจากภาครัฐ เอกชน และประชาชน<br />

ของทั้ง ๕ ประเทศลุ่มนํ้ำโขง มีเป้าหมายเป็นแรงกระตุ้นให้ประชาชนในภูมิภาคนี้นํา<br />

พุทธธรรมคําสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาปรับใช้ในการดําเนินชีวิต<br />

และนําไปปรับใช้ในองค์สํานักงานทุกภาคส่วน”


188 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 189<br />

วันที่ ๖ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

๐๙.๐๐ น. บุคคลสำคัญเดินทางเข้าสู่ห้องแกรนด์บอลรูม คณะผู้นำสงฆ์และคณะสงฆ์ทั้งหมด<br />

นั่งอยู่บนเวที บรรยากาศดำเนินไปอย่างเป็นทางการ พิธีกรแจ้งลำดับพิธี กล่าวแนะนำคณะ<br />

ผู้นำสงฆ์และประธานฝ่ายฆราวาสจาก ๕ ประเทศ และเมื่อทุกท่านอยู่ในงานพร้อมเพรียง<br />

ดีแล้ว พิธีกรได้เรียนเชิญ ฯพณฯ ฮอ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย แขกผู้มีเกียรติยืนขึ้นพนมมือ น้อมจิตระลึกถึงพระคุณอัน<br />

ประเสริฐของพระรัตนตรัยท่ามกลางความเงียบสงบครู่หนึ่ง<br />

จากนั้นได้เปิดวีดิทัศน์แนะนำงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่ม<br />

น้ำโขง ลำดับเรื่องราวมาตั้งแต่จุดเริ่มแรกจากการจุดประกายขึ้นโดยอดีตพระอาจารย์ใหญ่<br />

ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก อดีตประธานศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว จนเป็น<br />

ที่มาอันทำให้เกิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงขึ้นมา<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ กล่าวรายงานและ<br />

ขอบพระคุณทุกภาคส่วน เริ่มจากคณะสงฆ์ ภาครัฐบาล ภาคประชาชน องค์กรภาคีชาวพุทธ<br />

ทุกเครือข่าย ๕ ประเทศ ที่ทำให้งานธรรมยาตราฯ เกิดขึ้นจริง และได้รับการต้อนรับจาก<br />

ชาวพุทธอย่างล้นหลามเกินความคาดหมาย ดร.สุภชัยยังได้กล่าวขยายเรื่องงานธรรมยาตราฯ<br />

พอสรุปได้ว่า …ที่มาของการจัดงานหลักๆ แล้วเริ่มจากการประชุมสงฆ์นานานาชาติครั้งแรก<br />

เมื่อวันที่ ๑๗-๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ในหัวข้อ “พุทธพลิกสุวรรณภูมิ ธรรมวิชัยพลิก<br />

ปัญหาสู่มรรคา” ที่เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา และครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๙-๑๓<br />

กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ในหัวข้อ “พุทธพลิกสุวรรณภูมิ สามัคคีธรรม แผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง”<br />

ผลการเสวนาเห็นตรงกันว่า วิถีพุทธเป็นวิถีเดียวที่นำมาซึ่งสันติภาพในลุ่มน้ำโขงอย่างแท้จริง<br />

ซึ่งตรงกับปณิธานอันแน่วแน่ของพระอาจารย์ใหญ่ ดร.พระมหาผ่อง สะมาเลิก อดีตประธาน<br />

องค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว ท่านต้องการเห็นการสร้างสันติภาพให้มวลมนุษย์ด้วย<br />

หลักธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โครงการธรรมยาตราฯ จึงเกิดขึ้นด้วย<br />

ความปรารถนาจะเห็นสันติภาพ เพื่อให้เกิดความร่วมกันในการนำเอาวิถีพุทธที่แท้จริงและ<br />

ถูกต้องมาใช้เพื่อประสานความร่วมมือในด้านต่างๆ ทุกมิติในกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง<br />

สำหรับการจัดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ใช้เวลาเตรียมการนานกว่า ๑ ปีครึ่ง<br />

เพื่อพบปะทั้งผู้นำสงฆ์ ผู้นำรัฐบาล และภาคประชาชนทั้ง ๕ ประเทศ งานนี้จัดขึ้นมาได้<br />

เพราะความร่วมมือจากภาครัฐ เอกชน และประชาชนของทั้ง ๕ ประเทศลุ่มน้ำโขง ซึ่งล้วน<br />

มีความตั้งใจเดียวกันที่ปรารถนาจะเห็นโครงการนี้เป็นจริง โดยมีเป้าหมายเป็นแรงกระตุ้น<br />

ให้ประชาชนลุ่มน้ำโขงนำพุทธธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาปรับใช้<br />

ในการดำเนินชีวิต และปรับใช้ในองค์สำนักงานต่างๆ ทุกภาคส่วน”


190 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 191<br />

วันที่ ๖ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินครั้งนี้จะไม่ใช่ครั้งสุดท้าย<br />

ฯพณฯ ฮอ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาคาดหวังว่าจะมีการสานต่อ<br />

จัดโครงการธรรมยาตราในครั้งต่อๆ ไป และแสดงความชื่นชมเลขาธิการสถาบันโพธิคยา<br />

วิชชาลัย ๙๘๐ ที่เป็นแกนหลักในการจัดโครงการจนสำเร็จลุล่วง โดยใช้ขบวนธรรมยาตรา<br />

กระตุ้นเตือนให้พุทธศาสนิกชนในประเทศแถบลุ่มน้ำโขงมีศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา “การ<br />

ร่วมมือกันของแต่ละประเทศครั้งนี้ถือเป็นการนำพระพุทธศาสนาเชื่อมโยงกันระหว่างประเทศ<br />

ทั้งระดับรัฐบาล เอกชน และประชาชน โครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินครั้งนี้จะไม่ใช่ครั้ง<br />

สุดท้าย เพราะมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อทุกคนใน ๕ ประเทศลุ่มน้ำโขงเพื่อให้ประชาชนได้<br />

เห็นว่า ความศรัทธาในคำสอนและพุทธศาสนามีความสำคัญในการสร้างสันติภาพและความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างกันได้”<br />

พุทธศาสนาสานสัมพันธ์ระหว่างประเทศทุกระดับ<br />

โครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ถือเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ที่ใช้ “พุทธศาสนา” เชื่อม<br />

ความสัมพันธ์ของประเทศแถบลุ่มน้ำโขง กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม ไทย (CLMVT)<br />

ทำให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างภาคประชาชน-เอกชน-รัฐบาล เมื่อใช้พระพุทธศาสนาเป็น<br />

มิตินำจะทำให้เกิดปัญญาในการก้าวเดินไปข้างหน้า<br />

พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรีกล่าวชื่นชมการจัดงานธรรมยาตราว่า<br />

นอกจากเป็นการสืบสานพระพุทธศาสนาทางหนึ่งแล้ว ยังเป็นการสานสัมพันธ์ระหว่างประเทศ<br />

ให้มีความใกล้ชิดในระดับประชาชน ระดับเอกชน และระดับรัฐบาล ทั้ง ๕ ประเทศก็มีความ<br />

ใกล้ชิดสนิทสนมอยู่แล้ว งานครั้งนี้ทำให้ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น พระสงฆ์ผู้ใหญ่ สมเด็จพระสังฆราช<br />

แห่งราชอาณาจักรกัมพูชามาเป็นองค์ประธานร่วมกับพระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ของแต่ละประเทศ<br />

นับเป็นมงคล เสมือนเป็นเครื่องยืนยันว่าเราจะร่วมกันประกอบคุณงามความดี ก้าวไปข้างหน้า<br />

อย่างมั่นคง มีศาสนาเป็นหลักยึดเหนี่ยว


192 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 193<br />

วันที่ ๖ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ<br />

วันที่ ๓ ซัวสเด - กัมพูชา<br />

ท่านรองนายกรัฐมนตรีของไทยขอบคุณรัฐบาลราชอาณาจักรกัมพูชาที่สนับสนุนการ<br />

จัดโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน และร่วมอนุโมทนาบุญกับสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

และคณะพระสงฆ์จาก ๕ ประเทศที่ร่วมขบวนธรรมยาตรา และพร้อมสนับสนุนการจัด<br />

โครงการธรรมยาตราครั้งต่อไปในอนาคต<br />

มีความสุขมากที่ได้ร่วมงาน<br />

ดร.คิน ฉ่วย ประธานสหพันธ์พุทธเถรวาทเมียนมาได้เดินทางมาจากเมียนมาและเข้าร่วม<br />

โครงการธรรมยาตราตั้งแต่เริ่มต้น ท่านกล่าวชื่นชมการจัดขบวนธรรมยาตราเดินทางไปยัง<br />

๕ ประเทศลุ่มน้ำโขง และกล่าวว่ามีความสุขมากที่ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในขบวนธรรมยาตรา<br />

ได้ร่วมเดินทางมาตั้งแต่จังหวัดอุบลราชธานี เข้าลาว ถึงกัมพูชา พอเสร็จงานพิธีเปิดแล้วต้อง<br />

เดินทางกลับเมียนมา จำเป็นต้องแยกกลับไปก่อนเพื่อไปเตรียมความพร้อมต้อนรับขบวน<br />

ธรรมยาตราและจัดงานธรรมยาตราที่เมียนมา ทั้งนี้คณะธรรมยาตราจะเดินทางไปเมียนมา<br />

โดยผ่านทางด่านแม่สอด จังหวัดตาก<br />

ฯพณฯ ฮอนัม ฮง รองนายกรัฐมนตรี<br />

แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา, ฯพณฯ<br />

พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รอง<br />

นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักร<br />

ไทย, ดร.คิน ฉ่วย ประธานสมาพันธ์<br />

พุทธศาสนิกชนเถรวาท สาธารณรัฐ<br />

แห่งสหภาพเมียนมาให้สัมภาษณ์<br />

กับสื่อมวลชน ๕ ประเทศ เกี่ยวกับ<br />

ความร่วมมือของ ๕ ประเทศชาว<br />

พุทธที่กระชับแน่นแฟ้นขึ้นจาก<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง


194 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 195<br />

วันที่ ๖ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ก่อนพิธีเปิดจะสิ้นสุด<br />

พิธีกรเรียนเชิญประธานร่วมฝ่ายฆราวาส<br />

จาก ๕ ประเทศถวายของที่ระลึกแด่<br />

ผู้แทนคณะสงฆ์ระดับสูง ๕ ประเทศ<br />

คณะผู้แทนสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย<br />

๙๘๐ ถวายเครื่องไทยธรรมแด่พระสงฆ์<br />

๑๒ รูป<br />

ดร.วินัย วีระภุชงค์ ประธานมูลนิธิ<br />

วีระภุชงค์มอบของที่ระลึกแด่ประธาน<br />

ร่วมฝ่ายฆราวาสจาก ๕ ประเทศ<br />

จากนั้นเป็นการถ่ายภาพหมู่เป็น<br />

ที่ระลึก โดยมีผู้แทนคณะสงฆ์ระดับ<br />

สูง และเชิญประธานร่วมฝ่ายฆราวาส<br />

จาก ๕ ประเทศ ลำดับต่อไปคณะสงฆ์<br />

โครงการธรรมยาตราพร้อมผู้ติดตาม<br />

แขกผู้มีเกียรติ และคณะทำงานชมรม<br />

โพธิคยา ๙๘๐ ถ่ายภาพร่วมกัน<br />

เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหาร<br />

เพลแด่คณะพระสงฆ์ และแขกผู้มี<br />

เกียรติรับประทานอาหารกลางวัน<br />

พิธีเปิดอย่างเป็นทางการได้จบ<br />

ลงท่ามกลางใบหน้าปีติยิ้มแย้มของ<br />

ผู้ร่วมงาน


196 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 197<br />

วันที่ ๖ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เตรียมตัวมุ่งหน้าสู่เวียดนาม<br />

ช่วงบ่ายวันนี ้เป็นช่วงเวลาที่เปิดให้คณะธรรมยาตราได้เดินทางไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์และ<br />

ทัศนศึกษาตามอัธยาศัยภายในกรุงพนมเปญ เมืองหลวงของราชอาณาจักรกัมพูชาซึ่งครั้ง<br />

หนึ่งเคยได้ชื่อว่าไข่มุกแห่งเอเชีย มีสถานที่สำคัญให้เยี่ยมชมหลายแห่ง เช่น วัดอุณาโลม<br />

วัดพระแก้วมรกต พระบรมราชวังจตุรมุขสิริมงคล วัดโบตุมโวเด็ย วัดพนม ฯลฯ<br />

ค่ำคืนนี้คณะสงฆ์จำวัดที่วัดโบตุมโวเด็ย คณะแพทย์เดินทางตรวจเยี่ยมคณะพระ<br />

ธรรมยาตราที่วัดโบตุมโวเด็ย คณะฆราวาสพักค้างที่โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา คณะ<br />

ธรรมยาตราจะพักค้างอยู่ที่กรุงพนมเปญในค่ำคืนนี้อีก ๑ คืน วันรุ่งขึ้นคณะสงฆ์มีกำหนดการ<br />

ไปรับบาตรและฉันภัตตาหารเช้าที่สถานเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงพนมเปญ จากนั้น<br />

ออกเดินทางมุ่งสู่ประเทศเวียดนาม


วันที่ ๗ กัมพูชา เวียดนาม<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ ซาบซึ้งจิตศรัทธาชาวพุทธกัมพูชาร่วมส่งคณะธรรมยาตราท่วมท้นท่ามกลางสายฝน<br />

พลังปวงชน<br />

ที่จังหวัดก็อมโปต ระหว่างทางสู่ด่านตรวจคนเข้าเมืองแปรกจาก<br />

ส่งคณะธรรมยาตราข้ามเข้าสู่ประเทศเวียดนามที่ด่านข้ามแดนนานาชาติ<br />

รวมดวงใจเป็นหนึ่ง<br />

เกื่อเขิ่วกวกเต๋ฮาเตียน จังหวัดเกียนซาง ก่อนอำลาราชอาณาจักรกัมพูชาด้วย<br />

ดวงใจอิ่มบุญ และเมื่อคณะเดินทางถึงเวียดนาม คณะสงฆ์จังหวัดเกียนซาง<br />

ได้ต้อนรับคณะธรรมยาตราอย่างอบอุ่นและทรงเกียรติ”<br />

วันเสาร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


200 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 201<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ศรัทธากัมพูชาท่วมท้น<br />

ส่งคณะธรรมยาตราสู่เวียดนาม<br />

ซ<br />

าบซึ้งจิตศรัทธาชาวพุทธกัมพูชา ร่วมส่งคณะธรรมยาตราท่วมท้นที่จังหวัดก็อมโปต<br />

(Kampot) ระหว่างทางสู่ด่านตรวจคนเข้าเมืองแปรกจาก (Prek Chak International<br />

Border Check Point ) ก่อนข้ามเข้าสู่ประเทศเวียดนามที่ด่านข้ามแดนนานาชาติเกื่อเขิ่ว<br />

กวกเต๋ฮาเตียน (Cửa Khẩu Quốc Tế Hà Tiên) จังหวัดเกียนซาง (Kiên Giang Province)<br />

เช้าตรู่ก่อนที่คณะธรรมยาตราเดินทางออกจากโรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ หรืออีกฐานะหนึ่งคือรองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยนครพัฒนา<br />

จำกัด เจ้าของโรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา ได้อาราธนานิมนต์คณะสงฆ์นำโดย<br />

พระเดชพระคุณพระธรรมวรนายก เจริญพระพุทธมนต์ที่ต้นโพธิ์ซึ่งเกิดขึ้นเองภายในบริเวณ<br />

โรงแรมเพื่อความเป็นสิริมงคล จากนั้น ดร.สุภชัยก็นำคณะเดินทางไปสมทบกับคณะสงฆ์<br />

ที่พักค้างอยู่ที่วัดโบตุมโวเด็ย เพื่อเดินทางไปยังสถานที่จัดพิธีทำบุญตักบาตรแด่พระสงฆ์ ซึ่ง<br />

จัดโดยสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ ร่วมกับสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ชมรม<br />

โพธิคยา ๙๘๐ มูลนิธิวีระภุชงค์ และสมาคมมิตรภาพไทย-กัมพูชา<br />

หัวใจอิ่มบุญตักบาตรพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

พิธีทำบุญตักบาตรอาหารเช้าแด่พระสงฆ์จาก ๕ ประเทศ กัมพูชา ลาว เมียนมา ไทย<br />

เวียดนาม ในโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง นายณัฏฐวุฒิ<br />

โพธิสาโร เอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ กัมพูชา เป็นประธานดำเนินการจัดงาน มีแขก<br />

ผู้เกียรติและประชาชนชาวไทยที่พำนักอาศัยในราชอาณาจักรกัมพูชามาร่วมงานเป็นจำนวน<br />

มากตั้งแต่เวลา ๐๗.๐๐ น. ณ อาคารอเนกประสงค์ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ<br />

ซัวซะเด็ย<br />

กัมพูชา<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางถึงสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญตั้งแต่เช้าตรู่ เพื่อร่วมพิธี<br />

ทำบุญตักบาตรเนื่องในโอกาสเยือนกรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

คณะสงฆ์เดินทางถึงสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ เมื่อเวลาประมาณ ๐๗.๑๕ น.<br />

นายณัฏฐวุฒิ โพธิสาโรและคณะเจ้าหน้าที่ถวายการต้อนรับและนิมนต์คณะสงฆ์ขึ้นสู่อาสน์สงฆ์<br />

ด้านในอาคาร แขกผู้เกียรติและประชาชนเข้าสู่งานพิธี เมื่อทุกท่านพร้อมเพรียงดีแล้ว พิธีกร<br />

กล่าวเรียนเชิญนายณัฏฐวุฒิ เอกอัครราชทูตฯ ประธานในพิธีจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา


202 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 203<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พระรัตนตรัย แขกผู้มีเกียรติพนมมือสำรวมจิตนึกถึงคุณพระศรีรัตนตรัย จากนั้นตั้งนะโมและ<br />

อาราธนาศีล พุทธบริษัทรับศีลเรียบร้อยแล้วกล่าวคำอาราธนาพระปริตรเป็นภาษาบาลีอันมี<br />

ความหมายว่า ขอพระสงฆ์ทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันเป็นมงคลเพื่อป้องกันความวิบัติ<br />

ทั้งปวง เพื่อยังสมบัติทั้งปวงให้สำเร็จ เพื่อให้ทุกข์ภัยโรคทั้งปวงพินาศไป<br />

เมื่อสิ้นเสียงคำอาราธนา คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินร่วมกันเจริญพระพุทธมนต์ จากนั้นพุทธ<br />

บริษัทถวายปัจจัยไทยธรรม และเครื่องสังฆทานแด่พระสงฆ์ พระสงฆ์ให้พรเป็นภาษาบาลี<br />

พร้อมร่วมกันกรวดน้ำอุทิศกุศล<br />

เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน ที่พำนักอยู่ในกัมพูชาได้ร่วม<br />

กันตักบาตรพระสงฆ์ที่ด้านหน้าอาคารอเนกประสงค์ ข้าวปลาอาหารคาวหวานจัดเตรียม<br />

ตักบาตรไว้ด้วยอาหารสดใหม่ที่สามารถฉันได้เลยในเช้าวันนั้น และสิ่งของถวายสังฆทาน<br />

คัดสรรมาเฉพาะสิ่งที่พระสงฆ์สามารถพกพาได้สะดวก<br />

เมื่อตักบาตรเสร็จสิ้นแล้ว เวลาประมาณ ๐๘.๓๐ น. ประธานในพิธีได้อาราธนาคณะ<br />

สงฆ์เข้าสู่อาคารอเนกประสงค์อีกครั้งเพื่อถวายภัตตาหารเช้าแด่พระสงฆ์ เป็นอันเสร็จสิ้น<br />

พิธีทำบุญตักบาตรด้วยหัวใจอิ่มบุญ<br />

ความทรงจำประทับใจที่กรุงพนมเปญ<br />

เวลาประมาณ ๐๙.๓๐ น. ถึงเวลาลาจากนครหลวงกรุงพนมเปญ เมืองศูนย์กลางธุรกิจ<br />

การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา ความประทับใจบรรยากาศกระชับมิตรชาวพุทธใน<br />

พิธีเปิดงานธรรมยาตราอย่างเป็นทางการยังแนบแน่น ผลที่ได้รับสมความตั้งใจมุ่งหมาย ด้วย<br />

เชื่อมั่นว่าการเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมต้องนำแนวทางขององค์สมเด็จพระสัมมา-<br />

สัมพุทธเจ้ามาใช้เพื่อเป็นวิธีแก้ไขปัญหาต่างๆ อันจะทำให้ทุกระดับสังคมเดินไปอย่างไม่หลง<br />

ทิศทาง ลดการสิ้นเปลืองทั้งเวลาและทรัพยากร และหากทุกภาคส่วนในประเทศลุ่มน้ำโขง<br />

หรือสังคมในโลกนี้สามารถนำแนวทางคำสอนของพระพุทธองค์มาปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตได้


่<br />

204 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 205<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - พนมเปญ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล ย่อมทำให้เกิดแนวพลัง<br />

เสมือนรั้วอันแข็งแกร่งแก่สังคม ป้องกันภัยต่างๆ ที่จะเกิด<br />

ขึ้นมาได้<br />

การจัดงานพิธีเปิดครั้งนี้ ทุกฝ่ายทั้งภาคคณะสงฆ์ ภาค<br />

รัฐบาล และภาคประชาชน ต่างร่วมสนับสนุนให้มีการจัด<br />

งานธรรมยาตราจนได้ผลเกินความคาดหมาย และหวังว่า<br />

จะมีการจัดธรรมยาตราขึ้นอีกในครั้งต่อไป ด้วยมีจุดมุ่งหมาย<br />

เดียวกันคือ การกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนนำแนวทางของ<br />

พระพุทธศาสนามาใช้ และปรารถนาที่จะเห็นความสงบสุข<br />

และสันติภาพในกลุ่มลุ่มน้ำโขง อันจะเป็นเหตุสู่การพัฒนา<br />

เพื่อให้เกิดความเจริญสุขเชื่อมโยงทุกมิติ ซึ่งสอดคล้องกับ<br />

นโยบายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic<br />

Community หรือ AEC) ด้วย<br />

สำหรับการวางแผนการเดินทางวันนี้ เพื่อบริหารเวลา<br />

ให้เป็นไปตามกำหนดการ ทางคณะได้จัดอาหารกล่องไว้<br />

ถวายคณะสงฆ์ และจัดให้ฆราวาสรับประทานบนรถบัส<br />

บรรยากาศภายในรถบัสมีการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้<br />

ตลอดเส้นทาง เป็นวิถีปฏิบัติของสถาบันโพธิคยาฯ และชมรม<br />

โพธิคยาฯ คณะธรรมยาตราได้ใช้เวลาบนรถบัสเป็นเวทีแลก<br />

เปลี่ยนเรียนรู้เคลื่อนที่ เสนอข้อคิดมุมมองต่างๆ ด้วยว่า<br />

บุคคลในคณะทำงานธรรมยาตราล้วนแต่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

และผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ทั้งสิ้น จึงนับเป็นโอกาสดีที<br />

ได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเช่นนี้


206 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 207<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - อังกอร์ไจย<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ชาวอังกอร์ไจยศรัทธาแรงกล้าส่งคณะธรรมยาตราท่ามกลางสายฝน<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางมุ่งหน้าสู่ประเทศเวียดนาม ตามเส้นทางหมายเลข ๓ สู่ด่านตรวจ<br />

คนเข้าเมืองแปรกจาก จังหวัดก็อมโปต ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา<br />

ห่างจากกรุงพนมเปญประมาณ ๑๕๐ กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางโดยรถบัสประมาณ ๓ ชั่วโมง<br />

จังหวัดก็อมโปตเป็นเมืองติดทะเล มีแม่น้ำก็อมโปตไหลผ่านลงสู่อ่าวไทย มีธรรมชาติ<br />

อุดมสมบูรณ์ จึงเป็นเมืองท่องเที่ยวพักผ่อนสำคัญที่ผู้คนไปชมธรรมชาติซึ่งยังคงเงียบสงบ<br />

ในอดีตที่นี่เคยเป็นเมืองท่าสำคัญสมัยฝรั่งเศสปกครอง<br />

การเดินทางวันนี้ท้องฟ้ามืดครึ้มสลับกับฝนตกหนักบ้างเบาบ้าง แต่ไม่เป็นอุปสรรค<br />

ใดๆ ในการเดินทางของคณะธรรมยาตรา จากประสบการณ์เดินทางที่ผ่านมาถึงวันที่ ๗ แล้ว<br />

ทางคณะตั้งข้อสังเกตได้ว่า แม้ว่าการเดินทางจะมีฝนตกเป็นปกติตามฤดูกาล แต่ทุกครั้งที่<br />

คณะธรรมยาตราทำกิจกรรมที่ใดฝนจะหยุด หรือบางช่วงแดดจัดก็มีเมฆเคลื่อนมาบังแสง<br />

อาทิตย์ไว้ มีลมพัดอ่อนให้คณะธรรมยาตราทำกิจกรรมกันได้พอสบาย<br />

เมื่อเราเข้าเขตจังหวัดก็อมโปต ผ่านทิวทัศน์ท้องนาเขียวชอุ่ม ผ่านไร่พริกไทย ผ่าน<br />

หมู่บ้านและตัวเมืองบ้างเป็นระยะ ที่ประทับใจจำได้ไม่ลืมคือช่วงที่รถยนต์เคลื่อนผ่าน<br />

สายฝนไม่อาจกั้นสายบุญชาวพุทธที่เกาะเกี่ยวกันอย่างแนบแน่น ชาวอังกอร์ไจยศรัทธาแรงกล้า<br />

ตากแดดตากฝนรอคอยส่งคณะธรรมยาตราข้ามแดนสู่ประเทศเวียดนาม


208 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 209<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - อังกอร์ไจย<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เข้าสู่อำเภออังกอร์ไจย หรือนครไจย (Angkor Chey)<br />

ขณะนั้นมีฝนตกไม่เบาเลย ระหว่างทางสังเกตเห็นว่ามี<br />

คณะสงฆ์กัมพูชาและผู้คนมายืนแถวรอใส่บาตรท่าม-<br />

กลางสายฝน โบกธงชาติกัมพูชาและธงฉัพพรรณรังสี<br />

ให้ขบวนรถหยุดเพื่อรับบาตร เหตุการณ์นี้อยู่นอกเหนือ<br />

ความคาดหมายและไม่มีอยู่ในกำหนดการ คณะทำงาน<br />

จึงให้รถนำขบวนหยุด และนิมนต์พระสงฆ์เดินรับบาตร<br />

สวดมนต์และประพรมน ้ำมนต์ให้ประชาชนที่รอคอย<br />

เมื่อรถจอดคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินตั้งแถวออกรับบาตร<br />

ชาวบ้านที่ตั้งโต๊ะรอคอยพระธรรมยาตราเมื่อเห็นขบวน<br />

รถหยุดคงรู้สึกปีติใจไม่น้อย<br />

มหาบุญธรรมยาตราเกิดมาไม่เคยเห็น<br />

ย้อนไปสัก ๑ สัปดาห์ชาวบ้านได้รู้ข่าวจากสื่อมวลชน<br />

และพระสงฆ์ที่วัดในพื้นที่แจ้งข่าวด้วย ได้ยินเสียงตาม<br />

สายประกาศบอกบุญ แล้วปากต่อปากก็บอกต่อๆ กัน<br />

ไปว่า…วันเสาร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะสงฆ์<br />

๕ แผ่นดินจะยาตราผ่านจังหวัดก็อมโปต มหาบุญผ่าน<br />

มาถึงบ้าน…<br />

ครั้งนี้ชาวก็อมโปตจะเป็นตัวแทนคนกัมพูชาทั้ง<br />

ประเทศส่งคณะธรรมยาตราสู่ประเทศเวียดนาม ภาพ<br />

ที่เห็นคือผู้คนมาทำบุญกันอุ่นหนาฝาคั่งยาวเหยียดจน<br />

มองไม่เห็นปลายแถว ประชาชนยกกันมาทั้งครอบครัว<br />

ที่สุดแห่งภาษาคือภาษาใจ พี่น้องชาวพุทธ ๕ ประเทศสื่อสารกันด้วยภาษาใจ ไม่มีกำแพงภาษา<br />

ระหว่างพี่น้องชาวพุทธ ด้วยพวกเรามีพ่อคนเดียวกันคือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า


210 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 211<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - อังกอร์ไจย<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

คณะสงฆ์เดินบิณฑบาตพร้อม<br />

สวดมนต์ไปตลอดเส้นทางกว่า<br />

๑ กิโลเมตร ด้วยความปลื้มปีติที่เห็น<br />

ศรัทธาประชาชนอย่างล้นหลาม<br />

ตั้งแต่ปู่ย่า ลุงป้าน้าอา พ่อแม่ลูกเล็กเด็กแดง ทุกคนตากฝนกันถ้วนหน้า แต่ไม่มีใครกลัวฝน<br />

ไม่กลัวตัวร้อนเป็นไข้ ต่างมารอคอยกันอยู่หลายชั่วโมงจนคณะธรรมยาตรามาถึง ประชาชน<br />

ชาวกัมพูชาแสดงศรัทธาต่อพระสงฆ์ หนึ่งในที่พึ่งอันสูงสุดซึ่งตั้งอยู่ในใจของชาวพุทธ ด้วย<br />

การตั้งโต๊ะบูชา มีแจกันดอกไม้ ที่ปักธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยพร้อมถวายเครื่องสักการะ<br />

จัดวางไว้บนโต๊ะตั้งข้าวของใส่บาตร เตรียมน้ำปานะ น้ำดื่ม และปัจจัย บางคนไม่มีโต๊ะก็ช่วย<br />

กันหอบข้าวของพะรุงพะรัง ของทั้งหมดที่ขนกันมาวันนี้ล้วนตั้งใจเตรียมไว้ถวายพระสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดินอย่างเต็มที่<br />

วันนี้เป็นวันมหาบุญมหากุศล ตั ้งแต่เกิดมาไม่เคยมีไม่เคยเห็นมาก่อน วันนี้จึงมากัน<br />

ทั้งครอบครัวเพื่อมาใส่บาตรพระจากแดนไกลจาก ๕ แผ่นดินให้ได้ นับเป็นบุญเสริมบุญดี<br />

เพิ่มพูนสิริมงคลให้ตัวเอง คุณลุงคนหนึ่งบอกว่า “ชอบมากได้มาใส่บาตร ไม่เคยเห็นการมา<br />

ของธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินมาก่อน ทำบุญแล้ววันนี้อธิษฐานขอพรให้ตัวเองมีความสุขสบาย<br />

อายุยืน”<br />

คณะสงฆ์เดินบิณฑบาตพร้อมสวดมนต์ไปตลอดเส้นทางกว่า ๑ กิโลเมตร ด้วยความ<br />

ปลื้มปีติที่เห็นศรัทธาประชาชนอย่างล้นหลาม หลังจากใส่บาตรเสร็จชาวอำเภออังกอร์ไจย<br />

ยังได้เตรียมน้ำอบน้ำหอม น้ำลอยดอกไม้ไว้ให้พระสงฆ์ใช้เป็นน้ำมนต์ประพรมให้พรเพื่อขจัด<br />

อุปสรรคขัดข้อง และเพื่อความเป็นสิริมงคลให้มีแต่ความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ตนเองและครอบครัว<br />

แถวใส่บาตรยังไม่ทีท่าจะสิ้นสุดลง แต่ทางคณะก็ตัดสินใจนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นรถบัส เพื่อรักษา<br />

เวลาให้เป็นไปตามกำหนดการ เมื่อรถยนต์ค่อยๆ เคลื่อนผ่านแถวของชาวบ้านอ ำเภออังกอร์ไจย<br />

ประชาชนที่ไม่สามารถใส่บาตรได้ ต่างก็พยายามยื่นสิ่งของเข้ามาในรถยนต์ให้ได้มากที่สุด<br />

จนพระอาจารย์ฮุนเฮงพระธรรมทูตสายกัมพูชาต้องขอให้คนขับรถปิดประตูรถงดรับสิ่งของ<br />

เนื่องจากเกรงจะเกิดอันตรายแก่ประชาชนผู้มาใส่บาตร<br />

รถค่อยๆ เร่งระดับความเร็วเป็นปกติ ทิ้งประชาชนที่เตรียมข้าวของมาใส่บาตรไว้<br />

เบื้องหลัง...พระสงฆ์สนทนากันอย่างต่อเนื่องเรื่องศรัทธาประชาชนกัมพูชาที่ท่วมท้น


212 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 213<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - บ็อนเตียย์เมียส โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ชาวบ็อนเตียย์เมียส<br />

ปีติล้นได้ร่วมมหาบุญ<br />

รถยนต์วิ่งไปอีกระยะหนึ่ง คณะธรรม<br />

ยาตรายังสนทนาพูดคุยถึงบรรยากาศ<br />

ของศรัทธาประชาชน...เหลืออีกไม่ถึง<br />

๓๐ กิโลเมตรจะถึงด่านแปรกจาก พอ<br />

เข้าเขตช่วงอำเภอบ็อนเตียย์เมียส (Banteay<br />

Meas) หรือบันทายมาศในภาษา<br />

ไทย ก็มีเหตุการณ์เช่นเดียวกับที่อำเภอ<br />

อังกอร์ไจย ประชาชนรอใส่บาตรเป็น<br />

จำนวนมากเช่นเดียวกัน พระสงฆ์ป่าว<br />

ประกาศโทรโข่ง ข้าวของประดามีเตรียม<br />

ไว้มากมายเพื่อใส่บาตรพระสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดิน ขบวนรถเคลื่อนผ่านคณะสงฆ์<br />

และชาวบ้านทุกวัย ผู้เฒ่าไปจนถึงลูกเล็ก<br />

ต่าง มายืนนั่งรอข้างทางใส่บาตร แม้ว่า<br />

ฝนตก แต่ด้วยศรัทธาที่แรงกล้า ผู้คนยัง<br />

ยืนอยู่รอให้ขบวนรถหยุดเพื่อร่วมบุญส่ง<br />

คณะธรรมยาตราในครั้งนี้<br />

ขบวนรถธรรมยาตราหยุดอีกครั้ง<br />

หนึ่ง คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินฉลองศรัทธา<br />

ที่มีอยู่อย่างท่วมท้นของพุทธบริษัท ฝน<br />

ที่ตกหนักเมื่อครู่ทำให้ประชาชนต่าง<br />

เปียกปอน คณะสงฆ์ก้าวลงจากรถบัส สายฝน<br />

โปรยปรายแต่เพียงปรอยๆ จากภาพที่เห็น<br />

ประเมินได้ว่า วันนี้ชาวอำเภอเมืองบ็อนเตียย์-<br />

เมียสคงไม่มีใครอยู่บ้านหรือไปเรียนไปทำงาน<br />

เพราะขณะนี้ทุกคนต่างมารวมกันอยู่ที่ริม<br />

ถนนเพื่อรอคอยคณะธรรมยาตรามาเยือน<br />

คณะสงฆ์ได้รับสิ่งของที่ประชาชนขนมาถวาย<br />

มากมาย ปีติชื่นใจกันถ้วนหน้า คณะสงฆ์ต่าง<br />

ซาบซึ้งในศรัทธาประชาชนที่มีต่อพระสงฆ์<br />

ผู้ดำรงพระพุทธศาสนาประกาศสัจธรรม<br />

บรรยากาศเช่นเดียวกับอำเภออังกอร์ไจย<br />

การเตรียมใส่บาตรของชาวอำเภอบ็อนเตียย์-<br />

เมียสมีโต๊ะตั้งของใส่บาตร ตั้งดอกไม้ จุดธูป<br />

เทียนบูชาพระรัตนตรัยแก้วอันประเสริฐ ๓<br />

ประการ พร้อมเตรียมน้ำปานะ น้ำดื่ม และ<br />

ปัจจัยมากมายกะให้เพียงพอสำหรับพระสงฆ์<br />

ในคณะ และน้ำลอยดอกไม้เพื่อเตรียมให้พระ<br />

สงฆ์พรมน้ำมนต์<br />

พระสงฆ์ธรรมยาตราเดินรับบาตร ขบวน<br />

แถวยาวไม่สิ้นสุด เสียงสวดมนต์ พรมน้ำมนต์<br />

พุทธบริษัทหัวใจปีติสุข วันนี้...บรรยากาศการ<br />

ใส่บาตรเหมือนเป็นการรวมญาติ ผู้คนยิ้มแย้ม<br />

ดังเป็นพ่อแม่พี่น้องจากแดนไกลผู้จากบ้าน


214 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 215<br />

วันที่ ๗ ซัวซะเด็ย - บ็อนเตียย์เมียส<br />

ไปนานแล้วเพิ่งได้โอกาสกลับมาเยือน ด้วยเรามีพ่อเดียวกันคือองค์<br />

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทว่าเมื่อมีพบก็ต้องมีจาก ยังมีกำหนดการ<br />

ที่รออยู่ข้างหน้าที่ประเทศเวียดนาม คณะจึงต้องเดินทางต่อไป รถยนต์<br />

ออกตัวเคลื่อนผ่านไปช้าๆ พระอาจารย์ฮุนเฮงพระธรรมทูตสายกัมพูชา<br />

ทำหน้าที่เช่นเดิมประกาศกล่าวลาและให้พรชาวบ้านเป็นภาษากัมพูชา<br />

ชาวบ้านพยายามจับของขึ้นบนรถยนต์ขณะรถเคลื่อนไปจึงจำเป็นต้อง<br />

ปิดประตูรถเพื่อความปลอดภัย และเดินทางต่อไปตามกำหนดการ<br />

หัวใจศรัทธาอันยิ่งใหญ่<br />

หัวใจศรัทธาอันยิ่งใหญ่ของประชาชนก็อมโปตปรากฏให้ประทับไว้ใน<br />

ใจ ตลอดสองข้างทางที่รถบัสเคลื่อนผ่านแลเห็นประชาชนที่มารอคอย<br />

ใส่บาตรท่ามกลางสายฝนเฝ้ามองขบวนคณะธรรมยาตราที่ผ่านไป<br />

ช่วงอำเภอกำปงตราก (Kampong Trach) มีประชาชนยืนแถวรอ<br />

จำนวนมากมาย คณะทำงานตัดสินใจไม่หยุดขบวนรถ เนื่องจากไม่<br />

สามารถประเมินจำนวนคนมาใส่บาตรได้ พระสงฆ์หลายรูปลุกยืน<br />

ชะเง้อโบกมือกล่าวให้พร บางท่านกล่าวรำพึง “ทำยังไงดีหนอ ศรัทธา<br />

ของชาวบ้านมากมาย ปลาบปลื้มใจ เสียใจไม่อาจรับมาได้ทั้งหมด”<br />

คณะธรรมยาตราต้องเดินทางต่อไปเพื่อให้ทันข้ามด่านและเวลา<br />

นัดหมายที่บีบกระชั้นเข้ามาเพราะพิธีการต้อนรับที่เวียดนามกำลังรอ<br />

อยู่ ภาพประชาชนแหงนมองรถบัสเคลื่อนผ่านไปกลางสายฝนนับเป็น<br />

ภาพประวัติศาสตร์ที่ควรบันทึกไว้อีกวาระหนึ่งว่าหัวใจของคณะศรัทธา<br />

ประชาชนชาวก็อมโปตนั้นแรงกล้าและยิ่งใหญ่เพียงใด


216 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 217<br />

“หัวใจศรัทธาอันยิ่งใหญ่ของประชาชนกัมพูชาเป็นภาพประทับกุศลไว้ในดวงจิต<br />

ชาวบ้านผู้เฒ่าแม่แก่ ลูกเล็กเด็กแดง พร้อมใจกันมาอยู่ที่ถนนเพื่อบําเพ็ญทานกับ<br />

คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน ผลทานของชาวบ้านในวันนี้จะพาชีวิตเรืองรองผ่องอําไพ<br />

ด้วยปฏิบัติตามมรรคที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงชี้ทางไว้”


218 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 219<br />

วันที่ ๗ ซินจ่าว - เกียนซาง<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ซินจ่าว-เวียดนาม<br />

เวลาประมาณ ๑๖.๐๐ น. คณะธรรมยาตรา<br />

ผ่านด่านแปรกจากข้ามเข้าสู่ประเทศเวียดนาม<br />

ที่ด่านข้ามแดนนานาชาติเกื่อเขิ่วกวกเต๋ฮา<br />

เตียน (Cửa Khẩu Quốc Tế Hà Tiên) จังหวัด<br />

เกียนซาง (Kiên Giang Province) เคลื่อนเข้า<br />

สู่ประเทศที่ ๔ ของการเดินทางของคณะธรรม-<br />

ยาตรา โดยมีพระทิกเทียนตัม รองประธาน<br />

สมัชชาสงฆ์แห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม<br />

สังฆสภาเวียดนาม และเจ้าอาวาสวัดโฝมินห์<br />

(Most Ven. Dr. Thich Thien Tam, Vice<br />

President of The Executive Council of<br />

VBS, Vietnam, Deputy Head of the<br />

International Buddhist Department of<br />

VBS.) เดินทางมารับคณะธรรมยาตราที่กรุง<br />

พนมเปญ และร่วมต้อนรับคณะธรรมยาตรา<br />

ที่เวียดนามพร้อมคณะสงฆ์จังหวัดเกียนซาง<br />

เจ้าหน้าที่ภาครัฐบาล และภาคเอกชน จาก<br />

ด่านข้ามแดนคณะธรรมยาตรานั่งรถบัสต่อ<br />

ไปอีกประมาณ ๔ กิโลเมตร มีจุดหมายใน<br />

วันนี้ที่วัดเทียนจุ๊ก หรือชื่อภาษาบาลีว่า วัด<br />

ทิพพเวฬุวนาราม เป็นวัดพุทธนิกายเถรวาท<br />

อยู่ในอำเภอฮาเตียน จังหวัดเกียนซาง ซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยวขึ้นชื่อในเขตลุ่มน้ำโขง ตั้ง<br />

อยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงและเป็นเมืองติดทะเล มีป่าดงดิบอันอุดมสมบูรณ์และ<br />

แหล่งประวัติศาสตร์ มีเมืองหลักคือ สักซ้า (Rạch Giá) เคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคม<br />

อินโดจีนของฝรั่งเศส อาณานิคมโคชินไชนา (Cochinchina) ก่อนจะมาเป็นสาธารณรัฐ<br />

สังคมนิยมเวียดนาม<br />

ซินจ่าว<br />

เวียดนาม


220 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 221<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ต้อนรับอบอุ่นและทรงเกียรติ<br />

รถบัสของคณะธรรมยาตราเดินทางสู่ถนนเฟืองถั่น แขวงบิ่นห์ซาน<br />

อำเภอฮาเตียน จังหวัดเกียนซาง อันเป็นสถานที่ตั้งของวัดสำคัญเก่าแก่<br />

ชื่อวัดเทียนจุ๊ก มีพระธรรมวิจิตหรือชื่อเวียดนามว่า พระเถระฟาบถาว<br />

เป็นเจ้าอาวาส วัดนี้เป็นวัดที่พุทธบริษัทนิยมมาบำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา<br />

มีที่พักให้ นับเป็นสถานที่สัปปายะ บรรยากาศโปร่งสบายเกื้อหนุนคณะ<br />

สงฆ์ สามเณร แม่ชีให้สงบสำรวม ภายในวัดสะอาดเรียบร้อยดูงามตา<br />

งามใจในวิถีปฏิบัติแห่งธรรม<br />

พระธรรมวิจิตนำคณะสงฆ์ สามเณร แม่ชี พร้อมชาวบ้าน ช่วยกัน<br />

เตรียมงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ณ แผ่นดินเวียดนาม พร้อมเตรียม<br />

ต้อนรับพระธรรมทูตจาก ๕ แผ่นดินผู้เดินทางไกลผ่านมาแล้ว ๓ ประเทศ<br />

และเวียดนามเป็นประเทศที่ ๔ เวลาที่รอคอยก็มาถึง ขบวนรถคณะ<br />

ธรรมยาตราเดินทางมาแล้ว คณะสงฆ์ทยอยลงจากรถยนต์ ตั้งขบวนตาม<br />

ลำดับ พระธรรมวรนายกผู้มีพรรษากาลเดินนำไม่ปรากฏความเหนื่อยล้า<br />

สีหน้าบ่งบอกแต่ความยินดีปรีดาที่ได้พบพุทธบริษัทที่มาเฝ้ารอ คณะสงฆ์<br />

ชาวเวียดนาม สามเณร แม่ชี ถวายการต้อนรับ และให้การต้อนรับคณะ<br />

ฆราวาส บรรยากาศเปี่ยมล้นไปด้วยน้ำใจไมตรี<br />

...จากปากทางติดถนนจนถึงวัด ธงชาติเวียดนามและธงฉัพพรรณ<br />

รังสีโบกสะบัด ถนนถูกปิดไม่มีรถยนต์สัญจร บนถนนมีเครื่องลาดปูพื้น<br />

เป็นทางให้คณะพระสงฆ์เดินดูเป็นขบวนเกียรติยศงดงาม มียุวชนหญิง<br />

เวียดนามแต่งกายในชุดอ๊าวหย่ายอัญเชิญพานดอกไม้สีเหลืองแดง<br />

เดินนำขบวน ตามด้วยพระสงฆ์เวียดนามอัญเชิญพานดอกไม้สีเหลือง<br />

แดง ลำดับถัดไปในขบวน คุณสุรพล มณีพงษ์อัญเชิญเสาธรรมจักร


222 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 223<br />

วันที่ ๗ ซินจ่าว - เกียนซาง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์อัญเชิญธงสัญลักษณ์<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล<br />

อัญเชิญธงฉัพพรรณรังสี คณะสงฆ์เวียดนามอัญเชิญ<br />

ฉัตรกางกั้นพระมหาเถระ ๕ ประเทศ คุณชัช ชลวร<br />

ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

คุณเกษม มูลจันทร์ นายแพทย์ศุภชัย ถนอมทรัพย์ และ<br />

คณะทำงานธรรมยาตรา ร่วมเดินในขบวนเกียรติยศ<br />

ประชาชนเวียดนามตั้งแถวสองข้างต้อนรับ หลายคน<br />

แต่งกายชุดอ๊าวหย่าย หลายคนแต่งกายด้วยเสื้อสีแดง<br />

ยืนพนมมือโค้งกายลงถวายความเคารพคณะสงฆ์<br />

โค้งกายลงคำนับคณะผู้ใหญ่ บ้างยืนโบกธงชาติ ธง<br />

ฉัพพรรณรังสี บ้างโปรยกลีบดอกไม้สีเหลืองแดง เป็น<br />

เช่นนี้ตลอดสองข้างทาง พุทธบริษัทพบกันก็แสดง<br />

ความเคารพกันและกันด้วยกิริยานอบน้อมงดงาม<br />

สัมผัสได้ถึงดวงจิตอันผ่องใสเบิกบาน<br />

กงล้อพระธรรมจักรขับเคลื่อนที่วัดเทียนจุ๊ก<br />

วัดเทียนจุ๊กตามประวัติไม่ปรากฏปีที่สร้าง สันนิษฐาน<br />

ว่าน่าจะมีมาก่อนคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ วัดเทียนจุ๊ก<br />

มีโบราณวัตถุศักดิ์สิทธิ์สำคัญและล้ำค่าที่ชาวบ้าน<br />

เคารพบูชา ได้แก่ พระพุทธรูปองค์ใหญ่ปางสมาธิ<br />

สูงประมาณกว่า ๒ เมตร หน้าตักกว้าง ๑ เมตร ๖๐<br />

เซนติเมตร มีระฆังขนาดใหญ่ที่สลักภาษาจีนให้รู้<br />

ว่ามีพระมหาเถระฝ่ายมหายานจากเมืองจีนชื่อพระ<br />

เอิ้นดามเดินทางเข้ามาเผยแผ่พระธรรมในเวียดนาม<br />

และเป็นผู้ถวายระฆังนี้ไว้<br />

ในช่วงที่เวียดนามเกิดสงครามวัดนี้เคยร้างไม่มี<br />

พระสงฆ์ ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๓ พระติชฟาน<br />

เกียนได้มาวัดนี ้ สักการะพระพุทธรูปองค์ใหญ่ จาก<br />

นั้นได้มีจิตศรัทธาจึงร่วมบูรณะ และมีส่วนร่วมสำคัญ<br />

ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและปลูกฝังพุทธศาสนิก-<br />

ชนในอำเภอฮาเตียนให้มีศรัทธาต่อพระรัตนตรัย จน<br />

มีผู้เข้ามาบวชเป็นพระภิกษุและปฏิบัติธรรมจำนวน<br />

มาก เมื่อพระติชฟานเกียนละสังขาร พระธรรมวิจิต<br />

ได้รับภาระหน้าที่เจ้าอาวาส ท่านเคยฝึกปฏิบัติกัมมัฏ-<br />

ฐานมาจากประเทศเมียนมา ท่านได้เผยแผ่พระธรรม<br />

คำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างเต็ม<br />

กำลัง เป็นผู้นำพุทธบริษัทบำเพ็ญทาน รักษาศีล ฝึก<br />

วิปัสสนากัมมัฏฐานเจริญสติเพื่อการพ้นทุกข์<br />

ปะรำพิธีภายในวัดเทียนจุ๊กจัดไว้อย่างทรงเกียรติ<br />

สง่างดงามเพื่อทำพิธีมอบเสาธรรมจักร ธงฉัพพรรณ-<br />

รังสี และธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน รวมถึง<br />

ปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๗ ที่คณะธรรมยาตรา<br />

ได้อัญเชิญหน่อมาจากเมืองคยา สาธารณรัฐอินเดีย<br />

ต้นไม้มหามงคลที่พุทธบริษัทรักและเทิดทูน เพื่อเป็น<br />

สัญลักษณ์แห่งการมาเยือน ทำมหากิจกุศลร่วมกัน


224 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 225<br />

วันที่ ๗ ซินจ่าว - เกียนซาง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

หนุนเสริมการเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนา<br />

งานในวันนี้มีพระมหาเถระระดับผู้ใหญ่ เจ้าคณะ<br />

จังหวัดเกียนซาง ผู้อำนวยการกรมการศาสนาเวียดนาม<br />

พุทธสมาคมเวียดนาม ผู้นำชาวพุทธเวียดนาม และประชาชน<br />

มาร่วมงานกันอย่างพร้อมเพรียง โดยมีพระทิกเทียนตัม<br />

เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระธรรม<br />

วรนายกเป็นประธานในพิธีร่วมฝ่ายสงฆ์<br />

พระสงฆ์เวียดนามผู้เป็นพิธีกรในงานประกาศแนะนำ<br />

คณะสงฆ์กิตติมศักดิ์แห่งจังหวัดเกียนซาง ประเทศเวียดนาม<br />

ให้ผู้ร่วมงานรับทราบ แปลเป็นภาษาไทยโดยพระมหา<br />

การุญ การุณิโก (ชื่อเวียดนาม: Ven. Tuong Nhan, Phap<br />

Luan Temple) รองเจ้าอาวาสวัดธัมมจักการาม เมืองเว้<br />

ประเทศเวียดนาม จากนั้น ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการ<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ได้กล่าวถึงที่มาและ<br />

วัตถุประสงค์ของโครงการ กล่าวรายงานถึงงานธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดินจากจุดเริ่มต้นจะเดินทางเข้าถึงเวียดนามเป็น<br />

ประเทศที่ ๔<br />

คุณชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ และคณะร่วมพิธีถวายเสาธรรมจักร<br />

แด่พระมหาเถระยันเหยือง เจ้าคณะจังหวัดเกียนซางและ<br />

ส่งมอบธงฉัพพรรณรังสีและธง ๕ แผ่นดินแด่พระธรรม<br />

วิจิตเจ้าอาวาสวัดเทียนจุ๊ก<br />

จากนั้นคณะพระมหาเถระจากเวียดนามกับคณะ<br />

สงฆ์ธรรมยาตราร่วมกันสวดชยันโต คณะผู้บริหารสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พร้อม<br />

ด้วยผู้นำองค์กรภาคีเครือข่ายชาวพุทธ ๕ ชาติร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ โปรยดอกไม้<br />

รดน้ำ พร้อมอธิษฐานจิต ตามด้วยประชาชนชาวเวียดนามทยอยเข้ามาร่วมพิธีด้วย


226 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 227<br />

วันที่ ๗ ซินจ่าว - เกียนซาง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พิธีศักดิ์สิทธิ์ในวันนี้ได้เสร็จสิ้นลง พระธรรมวิจิต<br />

เจ้าอาวาสวัดเทียนจุ๊กกล่าวตอนหนึ่งว่า “อาตมามี<br />

ความสุขมากที่มีโอกาสได้ให้การต้อนรับคณะพระสงฆ์<br />

จาก ๕ ประเทศ แม้ว่าการสื่อสารด้วยหลายภาษา<br />

เหมือนเป็นอุปสรรค แต่ท่าทางและรอยยิ้มที่เป็นกันเอง<br />

จากคณะพระสงฆ์ผู้มาเยือน ทำให้อาตมารู้สึกเหมือน<br />

ได้อาบน้ำในแหล่งลำธารอันเย็นฉ่ำ”<br />

ค่ำคืนนี้คณะสงฆ์ธรรมยาตราพักค้างที่วัดเทียน-<br />

จุ๊กทำศาสนากิจ ทำวัตรเย็น บำเพ็ญภาวนาร่วมกัน<br />

ฆราวาสรับประทานอาหารเย็น ณ ร้านอาหารริม<br />

แม่น้ำฮาเตียน และเข้าที่พัก ณ โรงแรมแม่น้ำฮาเตียน<br />

(River Ha Tien Hotel) พักผ่อนร่างกายเตรียม<br />

ตื่นรับกุศลเช้าวันใหม่ พรุ่งนี้พระสงฆ์ ๕ แผ่นดินจะ<br />

เดินบิณฑบาตบริเวณจัตุรัสที่ว่าการอำเภอฮาเตียน<br />

จังหวัดเกียนซาง ปิดถนนทำกิจกุศลอันประเสริฐ<br />

ร่วมกัน


วันที่ ๘ เวียดนาม กัมพูชา<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ ภาพประวัติศาสตร์สิริมงคล ครั้งแรกที่กรมการศาสนา<br />

สิริมงคล<br />

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามอนุญาตให้พระสงฆ์จำนวน ๑๘๘ รูป<br />

เดินรับบิณฑบาตโดยปิดถนนกลางเมืองหน้าจัตุรัสอำเภอฮาเตียน<br />

อริยธรรมรุ่งเรือง<br />

จังหวัดเกียนซาง ประชาชนชาวเวียดนามร่วมใส่บาตรกันเนืองแน่น จากนั้นหลังเพล<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางออกจากเวียดนาม เพื่อมุ่งสู่วัดสมุทเธียราม<br />

วันอาทิตย์ที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

หรือวัดปากคลอง อำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา”


230 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 231<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ซินจ่าว<br />

ซินจ่าว<br />

เวียดนาม<br />

เวียดนาม<br />

มิตรไมตรี พลังแห่งสันติภาพ<br />

ห<br />

นึ่งในภาพประวัติศาสตร์ที่ต้องบันทึกไว้ ครั้งแรกที่กรมการศาสนา<br />

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามอนุญาตให้พระสงฆ์จำนวน ๑๘๘ รูป<br />

เดินบิณฑบาตโดยปิดถนนกลางเมืองหน้าจัตุรัสอำเภอฮาเตียน จังหวัด<br />

เกียนซาง ประชาชนชาวเวียดนามร่วมใส่บาตรกันเนืองแน่น จากนั้นหลังเพล<br />

มุ่งสู่วัดสมุทเธียรามหรือวัดปากคลอง อำเภอมณฑลสีมา (Mondol Seima)<br />

จังหวัดเกาะกง (Koh Kong) ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

เช้าวันใหม่ที่วัดเทียนจุ๊ก พุทธสมาคมจังหวัดเกียนซาง ประเทศเวียดนาม<br />

จัดพิธีต้อนรับกระชับมิตรกับคณะธรรมยาตราอย่างเป็นทางการ มิตรไมตรี<br />

ที่คณะสงฆ์และคณะทำงานจากรัฐบาลเวียดนามได้มอบให้คณะธรรมยาตรา<br />

ในครั้งนี้ ทำให้ต่างอิ่มใจปีติกันถ้วนหน้าทั้งคณะผู้มาเยือนและผู้ต้อนรับ<br />

พระทิกเทียนตัม รองประธานสมัชชาสงฆ์แห่งสาธารณรัฐสังคมนิยม<br />

เวียดนามกล่าวพอสรุปได้ว่า “รัฐบาลและส ำนักพุทธศาสนาเวียดนามเตรียมพร้อม<br />

สำหรับการมาเยือนครั ้งแรกของคณะธรรมยาตราพระสงฆ์ ๕ ประเทศ ซึ่ง<br />

เปรียบได้กับครั้งที่พระอรหันต์เดินธรรมยาตรามายังดินแดนสุวรรณภูมิเป็น<br />

รุ่นแรก เพื ่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาสั่งสอนให้พุทธศาสนิกชนใช้หลักธรรมใน<br />

การดำเนินชีวิต อาตมาเชื่อว่าการร่วมมือทางพุทธศาสนาเช่นนี้ จะสร้างสันติภาพ<br />

ให้เกิดขึ้นได้ในดินแดนสุวรรณภูมิ”<br />

สำหรับงานพิธีต้อนรับอย่างเป็นทางการในครั้งนี้มีพระมหาเถระยันเหยือง<br />

รองประธานสงฆ์พุทธสมาคมประเทศเวียดนาม เจ้าคณะจังหวัดเกียนซางเป็น<br />

ประธานฝ่ายสงฆ์ พระธรรมวรนายกเป็นประธานร่วมฝ่ายสงฆ์ธรรมยาตรา<br />

คุณชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส


232 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 233<br />

วันที่ ๗ ซินจ่าว - เกียนซาง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เมื่อจุดเทียนบูชาพระรัตนตรัยแล้ว คณะพระสงฆ์จังหวัดเกียนซางและพระสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดินได้ร่วมกันเจริญพระพุทธมนต์เพื่อเป็นความสิริมงคล จากนั้นมีพิธีมอบของที่ระลึก<br />

เพื่อแสดงถึงมิตรไมตรีและความทรงจำแห่งการมาเยือนของคณะธรรมยาตรา<br />

พิธีถวายและมอบของที่ระลึกเริ่มลำดับจาก<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ถวายพระพุทธเมตตาแด่พระธรรมวิจิต เจ้าอาวาสวัดเทียนจุ๊ก<br />

คุณเกษม มูลจันทร์มอบของที่ระลึกแด่รองนายอำเภอฮาเตียน<br />

คุณสุรพล มณีพงษ์ถวายพระพุทธเมตตาแด่พระมหาเถระยันเหยือง รองประธานสงฆ์<br />

ประเทศเวียดนาม เจ้าคณะจังหวัดเกียนซาง<br />

คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูลถวายสังฆทานเวชภัณฑ์แด่พระเถระทิกมินเหยิน รอง<br />

เจ้าคณะจังหวัดเกียนซาง นายแพทย์ศุภชัย ถนอมทรัพย์ถวายสังฆทานเวชภัณฑ์แด่<br />

พระธรรมวิจิต เจ้าอาวาสวัดเทียนจุ๊ก<br />

จากนั้นคณะพระสงฆ์แห่งเวียดนามถวายและมอบของที่ระลึกเป็นภาพศิลปะเวียดนาม<br />

แด่คณะธรรมยาตรา ดังนี้<br />

พระมหาเถระยันเหยือง รองประธานสงฆ์พุทธสมาคมเวียดนาม เจ้าคณะจังหวัด<br />

เกียนซางถวายแด่พระธรรมวรนายก<br />

คณะผู้แทนพระมหาเถระขิปปปัญโญจากประเทศออสเตรเลียถวายแด่พระธรรม<br />

วรนายก<br />

พระเถระยันโด๋ง รองเจ้าคณะจังหวัดเกียนซางมอบให้ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

พระมหาเถระยันยวน รองเจ้าคณะจังหวัดเกียนซางมอบให้คุณเกษม มูลจันทร์<br />

พระมหาเถระยันลัน รองเจ้าคณะจังหวัดเกียนซางมอบให้คุณสุรพล มณีพงษ์<br />

พระเถระทิกมินเหยิน รองเจ้าคณะจังหวัดเกียนซาง (ฝ่ายมหายาน) มอบให้คุณสุรศักดิ์<br />

ตรีรัตน์ตระกูล<br />

คุณเหวียนกวางอัน ผู้อำนวยการกรมการศาสนา จังหวัดเกียนซางมอบให้ ทพ.มณฑล<br />

สุวรรณนุรักษ์<br />

จากนั้นถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน และเตรียมพร้อมออกเดินทางสู่หน้าจัตุรัสอำเภอฮาเตียน<br />

เพื่อบิณฑบาต


234 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 235<br />

วันที่ ๗ ซินจ่าว-เวียดนาม โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ปิดถนนกลางเมือง<br />

พระสงฆ์บิณฑบาตที่ฮาเตียน<br />

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในเวียดนาม<br />

ผ่านมายาวนานกว่า ๑,๐๐๐ ปี เริ่มเข้าสู่<br />

ผืนแผ่นดินเวียดนามโดยทางน้ำและทางบก<br />

ปัจจุบันประเทศเวียดนามมีประชากรจำนวน<br />

มากเกือบ ๙๐ ล้านคน ๕๔ กลุ่มชาติพันธุ์ มี<br />

ภาษา ๓ ตระกูล จึงมีความหลากหลายเรื่อง<br />

ความเชื่อและเรื่องศาสนา ประชาชนนับถือ<br />

ศาสนาอยู่ทั้งสิ้น ๑๒ ศาสนา และหนึ่งในจำนวน<br />

นั้นคือพระพุทธศาสนา หลังจากผ่านพ้นสภาวะ<br />

สงคราม ประเทศเวียดนามก็ได้เข้ามามีบทบาท<br />

ร่วมเผยแผ่พระพุทธศาสนาและมีบทบาทใน<br />

การจัดงานศาสนาระดับโลกหลายครั้ง ในส่วน<br />

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาก็ได้เผยแผ่ตามหลัก<br />

พระธรรมคำสั่งสอน พาพุทธศาสนิกชนศึกษา<br />

ปฏิบัติตามรอยองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

ทั้งด้านคันถธุระและวิปัสสนาธุระ ปัจจุบัน<br />

ประเทศเวียดนามมีพระสงฆ์กว่า ๔๐,๐๐๐ รูป<br />

มีวัดกว่า ๑๗,๐๐๐ แห่ง<br />

สำหรับเมืองฮาเตียนอดีตเคยเป็นชุมชน<br />

เก่าแก่สืบสายมาจากกลุ่มชนที่เริ่มรับวัฒนธรรม<br />

มาจากอินเดีย และหนึ่งในวัฒนธรรมเก่าแก่ที่


236 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 237<br />

วันที่ ๘ ซินจ่าว - ฮาเตียน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

รับมาคือพระพุทธศาสนา ในวันนี้ประวัติศาสตร์ของ<br />

ชาวพุทธเมืองฮาเตียนก็ได้บันทึกไว้อีกครั้ง ด้วยว่ามี<br />

ประชาชนชาวเวียดนามจำนวนนับพันคนมารอใส่บาตร<br />

พระสงฆ์ธรรมยาตราและพระสงฆ์ในเกียนซางรวมแล้ว<br />

๑๘๘ รูป พิธีตักบาตรในครั้งนี้จัดขึ้นโดยได้รับอนุญาต<br />

จากรัฐบาล<br />

พระธรรมวิจิต เจ้าอาวาสวัดเทียนจุ๊กกล่าวว่า “ใน<br />

จังหวัดเกียนซางมีพระสงฆ์บิณฑบาตกันบ้างแต่ไม่ใช่<br />

คณะใหญ่และไม่เดินบิณฑบาตบนถนนเหมือนอย่าง<br />

ครั้งนี้ โดยทั่วไปจะบิณฑบาตกันในบริเวณวัดเท่านั้น”<br />

ฝูงนกส่งเสียงร้องดังราวบอกความดีใจ<br />

เวลาประมาณ ๐๙.๐๐ น. คณะธรรมยาตราเดินทาง<br />

มาถึงบริเวณหน้าจัตุรัสอำเภอฮาเตียน ณ บริเวณนี้เป็น<br />

จุดริมฝั่งแม่น้ำโขง ด้วยอำเภอฮาเตียนตั้งอยู่บริเวณ<br />

สามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ห่างจากชายแดนกัมพูชา<br />

ราว ๗ กิโลเมตร และห่างจากเมืองเจ๊าดก หรือคนไทย<br />

เรียกว่าเมืองโชดกราว ๑๐๐ กิโลเมตร เคยเป็นเมืองท่า<br />

และเป็นเส้นทางสำคัญในยุคการค้าและการเดินเรือ<br />

ทะเล<br />

วาระนี้จึงนับเป็นวาระพิเศษของอำเภอฮาเตียน<br />

นกจำนวนมากส่งเสียงร้องดังตลอดเวลาเหมือนเปิดเครื่อง<br />

ขยายเสียงประกอบไว้ ราวกับเหล่านกจะบอกความดีใจ<br />

ที่มีมหาบุญเกิดขึ้น ฝนโปรยบางเบา แดดครึ้มอากาศสบาย รัฐบาลได้สั่งการให้ปิดถนน<br />

กลางเมืองเปิดให้คณะพระสงฆ์บิณฑบาตเพื่อให้ประชาชนได้มาร่วมมหาบุญมหากุศลนี้<br />

ใบหน้ายิ้มแย้มของชาวฮาเตียนบ่งบอกถึงความยินดีปรีดาที่ได้ตักบาตรพระ ๕ ประเทศ<br />

พระสงฆ์จำนวนร้อยกว่ารูปเดินแถวบิณฑบาต พร้อมชายหนุ่มจิตอาสาใส่เสื้อยืดโปโลสีขาว<br />

ใหม่เอี่ยมที่เตรียมการไว้สำหรับงานนี้โดยเฉพาะ มาเดินช่วยอุปัฏฐากพระสงฆ์ ๑ รูปต่อ<br />

จิตอาสา ๑ คน ดูมีระบบเป็นระเบียบงามตา ประชาชนแต่งกายด้วยชุดอ๊าวหย่ายหรือ<br />

แต่งกายด้วยเสื้อผ้าแบบสุภาพอันแสดงถึงความเคารพต่อพระสงฆ์ พบว่าคนมาใส่บาตร<br />

วันนี้ไม่ได้มีแค่ชาวพุทธเท่านั้น ยังมีนักบวชชาวคริสต์มาร่วมใส่บาตรด้วย พระสงฆ์เดินรับ<br />

บิณฑบาตเป็นระยะทางกว่า ๑ กิโลเมตร บรรยากาศเต็มไปด้วยความสุขแห่งการให้<br />

พระเตื่องเยิญพระเวียดนามที่เดินทางร่วมกับคณะธรรมยาตราได้พูดคุยกับญาติโยม<br />

ว่า “วันนี้โยมเวียดนามมากมายเอาของมาใส่บาตรด้วยความปีติยินดี อาตมาพูดเวียดนาม


238 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 239<br />

วันที่ ๘ ซินจ่าว - ฮาเตียน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

กับเขา ชาวบ้านทุกคนบอกว่าดีใจจนเกือบน้ำตาไหล ไม่เคยเห็นพระสงฆ์<br />

เยอะขนาดนี้และยังเป็นพระสงฆ์ ๕ ประเทศซึ่งอยู่ในลุ่มน้ำโขงก็เหมือน<br />

พี่ๆ น้องๆ ญาติๆ กัน”<br />

พระเงิน อุปสนฺโต พระธรรมทูตโพธิคยาสายเวียดนามได้ให้<br />

ความเห็นว่า “งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่ม<br />

น้ำโขงนี้เป็นครั้งแรกในประวัติพระพุทธศาสนาของประเทศเวียดนาม<br />

เพราะในสมัยก่อนถึงปัจจุบันนี้อาตมาภาพยังไม่เคยได้เห็นได้ยินใคร<br />

พูดถึงว่ามีพระสงฆ์ทั้ง ๕ ประเทศเดินธรรมยาตราไปเวียดนามมาก่อน<br />

ดังนั้นนับเป็นจุดสําคัญน่าระลึกนึกถึงเสมอ ชาวพุทธที่เวียดนามได้<br />

รับประโยชน์มากในการจัดงานครั้งนี้ เพราะคนที่ยังไม่เกิดศรัทธา เขา<br />

จะเกิดศรัทธา รัฐบาลก็เปิดใจต้อนรับ หลายคนไม่รู้จักพระพุทธศาสนา<br />

ฝ่ายเถรวาทเป็นอย่างไร เมื่อเขาได้เห็น พวกเขาอาจหันมานับถือพุทธ-<br />

ศาสนาตามเป็นต้น สิ่งที่เกิดขึ้นนี้นับเป็นโอกาสดีแก่พระสงฆ์และญาติ<br />

โยมทั้ง ๕ ประเทศ ได้รู้จักใกล้ชิดกันจะได้เกิดความสามัคคีกันระหว่าง<br />

ชาวพุทธ”<br />

คุณจันทิมาวชาวพุทธในอำเภอฮาเตียนพูดถึงความรู้สึกในวัน<br />

มหาบุญวันนี้ว่า “ฉันและเพื่อนๆ พวกเรารู้สึกเหมือนกันคือดีใจที่ได้<br />

ต้อนรับคณะธรรมยาตราในครั้งนี้ หวังว่าในอนาคตจะได้ต้อนรับคณะ<br />

ธรรมยาตราเช่นนี้อีก”<br />

พี่น้องมิตรชาวพุทธต่างออกมาร่วมมหาบุญกุศลกันอย่างท่วมท้น<br />

มากมายทุกเพศทุกวัยด้วยความรู้สึกตื่นเต้นปีติยินดีในสิริมงคลครั้งนี้<br />

เป็นครั้งแรกในชีวิตที่ได้ร่วมมหาบุญกับคณะสงฆ์กว่า ๑๐๐ รูปที่เดิน<br />

เป็นแถวยาวเหยียดสุดตา เชื่อมั่นว่าทุกคนคาดหวังสิ่งเดียวกันคือขอให้


240 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 241<br />

วันที่ ๘ ซินจ่าว - ฮาเตียน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

มีการจัดธรรมยาตราขึ้นมาอีก และได้กลับมาพบ<br />

กันใหม่ การกุศลที่อิ่มใจครั้งนี้นับว่าเป็นประวัติ-<br />

ศาสตร์อีกหนึ่งเรื่องของชาวพุทธเวียดนามที่จะ<br />

เป็นเรื่องเล่าขานต่อไป<br />

พระธรรมวิจิต เจ้าอาวาสวัดเทียนจุ๊ก ได้น ำ<br />

คณะพุทธบริษัทถวายภัตตาหารเพลคณะสงฆ์<br />

ธรรมยาตรา และจัดเลี้ยงส่งคณะธรรมยาตราที่<br />

วัดเทียนจุ๊กด้วยอาหารนานาชนิดแทบล้นโต๊ะ<br />

กลมออกมา อาหารเวียดนามเป็นอาหารที่ขึ้นชื่อ<br />

ว่าอร่อย ดีต่อสุขภาพ มื้อนี้โดดเด่นด้วยอาหาร<br />

หม้อไฟ (hot pot) วัตถุดิบเน้นอาหารทะเลและ<br />

ผักสดกับน ้ำจิ้มหลายชนิด อาหารของจังหวัด<br />

เกียนซางได้รับอิทธิพลจากอาหารอินเดียและ<br />

อาหารกัมพูชา เนื่องจากฮาเตียนเป็นเมืองท่า<br />

และเป็นเมืองที่มีชายแดนติดประเทศกัมพูชา<br />

เคยมีชาวกัมพูชาอาศัยอยู่ และปัจจุบันก็ยังมี<br />

ชาวเวียดนามเชื้อสายกัมพูชาอาศัยอยู่<br />

งานเลี้ยงต้องมีวันเลิกรา...มีพบต้องมีจาก<br />

เป็นสัจธรรม คณะธรรมยาตราเก็บสัมภาระเพื่อ<br />

เตรียมพร้อมออกเดินทางข้ามกลับไปยังประเทศ<br />

กัมพูชา ประชาชนเวียดนามยืนส่งคณะ มือโบก<br />

ธงชาติเวียดนามและธงฉัพพรรณรังสี...ลาก่อน<br />

จนกว่าจะพบกันใหม่


242 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 243<br />

“พี่น้องมิตรชาวพุทธต่างออกมาร่วมมหาบุญกุศลกันอย่างท่วมท้นมากมายทุกเพศทุกวัย<br />

ด้วยความรู้สึกตื่นเต้นปีติยินดีในสิริมงคลครั้งนี้ เป็นครั้งแรกในชีวิตที่ได้ร่วมมหาบุญกับ<br />

คณะสงฆ์กว่า ๑๐๐ รูปที่เดินเป็นแถวยาวเหยียดสุดตา เชื่อมั่นว่าทุกคนคาดหวัง<br />

สิ่งเดียวกันคือขอให้มีการจัดธรรมยาตราขึ้นมาอีก และได้กลับมาพบกันใหม่”


244 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 245<br />

วันที่ ๘ ซัวซะเด็ย - เกาะกง<br />

จุดหมายต่อไปจังหวัดเกาะกง<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

ค<br />

คณะเดินทางจากวัดเทียนจุ๊กโดยรถบัสรวมระยะทางประมาณ ๖ กิโลเมตร เพื่อ<br />

ออกจากประเทศเวียดนามที่ด่านพรมแดนนานาชาติฮาเตียนเกื่อเขิ่วกวกเต๋ ฮาเตียน<br />

ฮาเตียน (Cửa Khẩu (Cửa Quốc Khẩu Quốc Tế Hà Tế Tiên) Hà Tiên) เพื่อเข้าด่านตรวจคนเข้าเมืองแปรกจาก เดินทางสู่<br />

สู่จุดหมายที่อำเภอมณฑลสีมา จุดหมายที่อำเภอมณฑลสีมา (Mondol Seima) จังหวัดเกาะกง ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

จังหวัดเกาะกงของราชอาณาจักรกัมพูชานี้ในอดีตคนไทยเคยเรียกว่า ปัจจันตคีรีเขตร<br />

มีคำแปลว่าปลายชายเขตแดนที่ภูเขา มีคำแปลว่าปลายชายเขตแดนที่ภูเขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ<br />

พระราชทานชื่อเมืองนี้ไว้คู่กับเมืองประจวบคีรีขันธ์ที่อยู่แนวเส้นรุ้งเดียวกัน จังหวัดเกาะกง<br />

มีเมืองหลักคือเมืองเขมรภูมินทร์ ซึ่งได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระนโรดม<br />

สีหนุ แต่ชื่อนี้ไม่นิยมเรียก คนชอบเรียกว่าเกาะกงมากกว่า เกาะกงมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล<br />

ตั้งอยู่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา ประชาชนมีเชื้อสายเขมรและไทย คนเกาะ<br />

กงจำนวนไม่น้อยพูดไทยได้ กงจำนวนไม่น้อยพูดไทยได้ อาหารการกินมีความใกล้เคียงกับอาหารไทยมากทีเดียว ปัจจุบัน<br />

ชาวบ้านนิยมทำอาชีพประมง ชาวบ้านนิยมทำอาชีพประมง ประกอบธุรกิจท่องเที่ยว มีนิคมอุตสาหกรรม นับได้ว่าคนที่นี่<br />

มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจดีทีเดียว<br />

จุดหมายวันนี้อยู่ที่วัดสมุทเธียรามหรือวัดปากคลอง ที่คนไทยเรียกว่าวัดหลวงพ่อหมึก<br />

อำเภอมณฑลสีมา อำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง จากด่านชายแดนกัมพูชา-เวียดนาม สภาพอากาศฝนตก<br />

มีทางลาดชัน ถนนขรุขระบ้าง คณะธรรมยาตราใช้เวลาเดินทาง ๖ ชั่วโมง เป็นเส้นทาง<br />

สำหรับรถยนต์ที่สามารถขับมาจากเวียดนามผ่านกัมพูชาเข้าประเทศไทยและเชื่อมต่อสู่<br />

สำหรับรถยนต์ที่สามารถขับมาจากเวียดนามผ่านกัมพูชาเข้าประเทศไทยและเชื่อมต่อสู่<br />

ประเทศเมียนมาได้เลย<br />

ระยะเวลา ๖ ชั่วโมงผ่านไปไม่รู้สึกว่านานสักเท่าไร ด้วยระหว่างอยู่บนรถยนต์มี<br />

ซัวซะเด็ย<br />

กัมพูชา<br />

การสนทนาแสดงความคิดเห็นต่างๆ ของคณะพระสงฆ์ ผ่านมุมมองความคิดของคณะ<br />

พระสงฆ์ทั้ง ๕ ประเทศ และคณะทำงานองค์กรภาคีเครือข่าย ๕ ประเทศตลอดเส้นทาง<br />

หลวงพ่อหมึก เกจิผู้เป็นที่พึ่ง<br />

วัดสมุทเธียราม (Sakmothearam Pagoda) เป็นวัดสำคัญของจังหวัดเกาะกง ชาวบ้าน<br />

เรียกว่าวัดปากคลองหรือวัดหลวงพ่อหมึก (ก๋งหมึก) หลวงพ่อหมึกอดีตเจ้าอาวาสเป็นเกจิดัง<br />

ที่ชาวบ้านทั้งไทยและกัมพูชาเคารพนับถือมาก ท่านมีชื่อเสียงทางด้านบุญฤทธิ์ มีปาฏิหาริย์<br />

ต่างๆ ให้คนได้อัศจรรย์ใจอยู่เสมอ เมื่อครั้งท่านยังมีชีวิตอยู่ท่านเมตตาช่วยชาวบ้านทั้ง<br />

ประเทศกัมพูชาและคนภาคตะวันออกของไทย โดยเฉพาะในช่วงสงครามเขมรแดง พ.ศ.<br />

๒๕๑๘–๒๕๒๒ วัดสมุทเธียรามถูกใช้เป็นที่หลบภัย ถึงแม้หลวงพ่อหมึกได้มรณภาพไปนาน<br />

แล้ว แต่บารมีธรรมของท่านยังคงเป็นที่เคารพเลื่อมใสศรัทธาอย่างมากจนทุกวันนี้ ปัจจุบัน<br />

พระธีอำพล ปิยธมฺโมเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้บูรณปฏิสังขรณ์และนำศรัทธาญาติโยมทำบุญ<br />

ทำกุศล วัดสมุทเธียรามจึงเป็นวัดที่ชาวบ้านทั้งฝั่งไทยและฝั่งกัมพูชาศรัทธาเสมอมา


246 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 247<br />

วันที่ ๘ ซัวซะเด็ย - เกาะกง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เดินทางถึงจุดหมาย<br />

วัดสมุทรเธียรามตั้งอยู่ริมหาดทรายมองเห็นทะเลสุดตา เมื่อ<br />

มาถึงวัดฝนตกหนักเพิ่งซาเม็ดเหลือเพียงฝนปรอย จากประตูซุ้ม<br />

ทางเข้าวัดเห็นรูปปั้นหลวงพ่อหมึกเด่นตระหง่านสะดุดตา<br />

มีรูปปั้นพระสีทองยืนพนมมือนับร้อยองค์เรียงต่อกันเป็น<br />

แถวยาว พระธีอำพล ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสได้นำพุทธบริษัท<br />

ถวายการต้อนรับคณะสงฆ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน มีชาวบ้าน<br />

และนักเรียนมาต้อนรับจำนวนมาก ต่างโบกธงฉัพพรรณรังสี<br />

ธงพระพุทธศาสนาตลอดทางที่คณะพระสงฆ์เดินผ่าน คณะ<br />

ธรรมยาตราทยอยเข้ามาในศาลาวัด ภายในศาลาเนืองแน่น<br />

ไปด้วยศรัทธาสาธุชนที่มานั่งรออยู่จำนวนมาก<br />

จากนั้นมีพิธีต้อนรับและมอบเสาธรรมจักร พร้อมด้วย<br />

ธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา และธงฉัพพรรณรังสี<br />

คณะธรรมยาตราถวายความเคารพพระธีอำพล<br />

ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสมุทเธียราม<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยา<br />

๙๘๐ กล่าวถึงที่มาและวัตถุประสงค์ของงานธรรมยาตรา<br />

นายบุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

เกาะกงกล่าวต้อนรับ<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์มอบเสาธรรมจักร คุณสุรศักดิ์<br />

ตรีรัตน์ตระกูลมอบธงฉัพพรรณรังสี และทพ.มณฑล สุวรรณ-<br />

นุรักษ์มอบธงธรรมยาตราให้แด่นายบุญเลิศ พราหมณ์เกสร<br />

ผู้ว่าราชการจังหวัดเกาะกง


248 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 249<br />

วันที่ ๘ ซัวซะเด็ย - เกาะกง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ถวายพระพุทธเมตตา<br />

แด่พระธีอำพล ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสมุทเธียราม<br />

นายเกษม มูลจันทร์มอบพระพุทธเมตตาให้<br />

แด่นายบุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

เกาะกง<br />

นายสุรพล มณีพงษ์ถวายพระพุทธเมตตาให้<br />

แด่เจ้าคณะจังหวัดเกาะกง<br />

จากนั้นยุวชนกัมพูชารำอวยพรตามแนวนาฏศิลป์<br />

กัมพูชา ท่วงท่าร่ายรำอ่อนช้อยงดงามมากพร้อมโปรย<br />

ดอกไม้อวยพร<br />

คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินนำคณะศรัทธาญาติโยม<br />

ทำวัตร แผ่เมตตา เจริญจิตภาวนาร่วมกัน พระสงฆ์<br />

ให้พร<br />

พิธีเสร็จเรียบร้อย พระสงฆ์ปักกลดจำวัดที่วัด<br />

สมุทเธียราม ๑ คืน ส่วนคณะฆราวาสพักโรงแรม<br />

คณะแพทย์ตรวจสุขภาพของพระสงฆ์หลังจาก<br />

ผ่านมา ๗ วัน ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์ แพทย์จาก<br />

โรงพยาบาลรามาธิบดีกล่าวว่า สุขภาพโดยรวมของ<br />

คณะพระสงฆ์แข็งแรงดี<br />

ทุกคนพักผ่อนร่างกาย พรุ่งนี้หลังจากพระสงฆ์<br />

บิณฑบาตเสร็จ จะมีพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ก่อนเดินทางเข้าสู่ประเทศไทยเพื่อไปยังเมียนมา<br />

ต่อไป


250 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 251<br />

วันที่ ๗ ซินจ่าว-เวียดนาม<br />

“วัดสมุทรเธียรามตั้งอยู่ริมหาดทรายมองเห็นทะเลสุดตา<br />

เมื่อคณะเดินทางมาถึงวัด ฝนตกหนักเพิ่งซาเม็ดเหลือเพียงฝนปรอย<br />

พิธีต้อนรับคณะธรรมยาตราคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน พระธีอําพล ปิยธมฺโม<br />

เจ้าอาวาสนําอุบาสกอุบาสิกาเตรียมการทุกอย่างไว้อย่างพรักพร้อม<br />

ชาวพุทธโชคดีมีสมบัติแห่งธรรม ได้มากได้น้อยอยู่ที่บําเพ็ญ”


วันที่ ๙ กัมพูชา ไทย<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ ชื่นชมศรัทธาแรงใจหลังฝนของชาวบ้านอำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง<br />

ธรรมบำเพ็ญ<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา ประชาชนทั้งผู้เฒ่าและหนุ่มสาวตั้งแถวเตรียมใส่บาตรคณะสงฆ์<br />

ธรรมยาตราเป็นจำนวนมาก จากนั้นจึงร่วมพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

มหาบุญ ๕ แผ่นดิน<br />

ก่อนออกเดินทางจากราชอาณาจักรกัมพูชาเข้าสู่ราชอาณาจักรไทยไปจังหวัดจันทบุรี<br />

และเดินทางสู่จุดหมาย ค่ำนี้คณะสงฆ์จะปักกลดจำวัดที่วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม<br />

ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”<br />

วันจันทร์ที<br />

่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


254 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 255<br />

วันที่ ๙ ซัวซะเด็ย - เกาะกง<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พุทธสัมพันธไมตรียั่งยืนนาน<br />

ชื่นชมศรัทธาแรงใจหลังฝนของชาวบ้านอำเภอมณฑลสีมา<br />

จังหวัดเกาะกง ราชอาณาจักรกัมพูชา ประชาชนทั้งผู้เฒ่า<br />

และหนุ่มสาวตั้งแถวเตรียมใส่บาตรคณะสงฆ์ธรรมยาตราเป็น<br />

จำนวนมาก จากนั้นจึงร่วมพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ก่อนออก<br />

เดินทางจากราชอาณาจักรกัมพูชาเข้าราชอาณาจักรไทยไปจังหวัด<br />

จันทบุรีและเดินทางสู่จุดหมาย ค่ำนี้คณะสงฆ์จะปักกลดจำวัดที่<br />

วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

ไมตรีแห่งการให้และความเกื้อกูล<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ฯ ดำเนินมา<br />

ถึงวันที่ ๙ แล้ว งานนี้นับเป็นงานมหาบุญมหากุศลแห่งการ<br />

กระชับมิตรชาวพุทธ ๕ ประเทศ เพื่อหาความร่วมมือในการ<br />

ขับเคลื่อนรณรงค์ให้เห็นความสำคัญและคุณค่าในการนำคำสอน<br />

ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปใช้ในทุกภาคส่วน อัน<br />

จะยังผลให้ผืนแผ่นดินกัมพูชา ลาว ไทย เมียนมา และเวียดนาม<br />

สงบเย็นเป็นสุข ผูกพันแน่นแฟ้นด้วยไมตรีแห่งความเกื้อกูล เอื้อเฟื้อ<br />

และเผื่อแผ่<br />

เช้าตรู่วันนี้เวลา ๐๖.๓๐ น. งานมหาบุญ ๕ แผ่นดิน<br />

เริ่มต้นด้วยการให้ ด้วยการถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสงฆ์<br />

๕ แผ่นดิน อุบาสกอุบาสิกาเตรียมงานกันไว้ตั้งแต่เมื่อคืน และ<br />

ซัวซะเด็ย<br />

กัมพูชา


256 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 257<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ตื่นขึ้นมาตั้งแต่ตีสามตีสี่ช่วยกันอย่างเต็มกำลังกายและใจ มีแม่ครัวใหญ่เป็นผู้ปรุงอาหาร<br />

ส่วนที่นำมาจากบ้านก็มีทั้งผัด ทอด แกง ต้ม ซุป ครบรสหวาน เปรี้ยว เค็ม ขม จัดมาเป็น<br />

สำรับ รวมขนมผลไม้ ด้วยเป็นเมืองชายแดนติดประเทศไทย อาหารจึงมีรสชาติและการ<br />

จัดสำรับใกล้เคียงกับอาหารไทยแต่เผ็ดน้อยกว่า นิยมใช้พริกไทยในการปรุงอาหาร และใน<br />

สำรับอาหารนิยมจัดพริกแห้ง พริกสด พริกดองมาพร้อมให้เลือกปรุงตามใจชอบ นอกจาก<br />

นี้ยังมีก๋วยเตี๋ยวด้วย<br />

เมื่อสำรับอาหารเตรียมพร้อม คณะสงฆ์ประจำที่เรียบร้อย คุณบุญเลิศ พราหมณ์เกสร<br />

ผู้ว่าราชการจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา พร้อมด้วยคุณชาญนะ เอี่ยมแสง ผู้ว่าราชการ<br />

จังหวัดตราด และดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัยฯ พร้อมคณะ<br />

อุบาสกอุบาสิกาเกาะกงได้ร่วมกันถวายภัตตาหารเช้าคณะสงฆ์ธรรมยาตรา มิตรสัมพันธ์ ๕<br />

ประเทศ จากนั้นคณะสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์เป็นภาษาบาลีสำเนียงกัมพูชา เมื่อจบแล้ว<br />

คณะอุบาสกอุบาสิกากล่าวคำถวายภัตตาหาร ถวายอาหารเรียบร้อยแล้ว คณะสงฆ์ให้พร<br />

คุณชาญนะ เอี่ยมแสงกล่าวว่า “เรื ่องศาสนาเป็นความเชื่อ เมื่อคนเรามีความเชื่อ<br />

เหมือนๆ กัน อะไรต่างๆ ก็ง่ายขึ้นเยอะ เราเคารพในคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมา-<br />

สัมพุทธเจ้าซึ่งสอนให้ทุกคนรู้จักให้และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน...”<br />

และวันนี้บุญแห่งการให้ทาน ธรรมบำเพ็ญ มหาบุญของ ๕ แผ่นดินสำเร็จลงแล้ว<br />

สาธุชนอิ่มใจกันทั่วหน้า รับอานิสงส์การให้ทาน เป็นผู้มีจิตตั้งมั่นในคุณของพระรัตนตรัย<br />

โดยไม่เปลี่ยนแปลงตลอดชีวิต<br />

“งานนี้นับเป็นงานมหาบุญมหากุศลแห่งการกระชับมิตรชาวพุทธ ๕ ประเทศ<br />

เพื่อหาความร่วมมือในการขับเคลื่อนรณรงค์ให้เห็นความสําคัญและคุณค่า<br />

ในการนําคําสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปใช้ในทุกภาคส่วน”


258 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 259<br />

วันที่ ๙ ซัวซะเด็ย - เกาะกง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พิธีมอบสัญลักษณ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

เมื่อคณะสงฆ์ฉันภัตตาหารเรียบร้อยแล้ว พระธีอำพล ปิยธมฺโม<br />

เจ้าอาวาสวัดสมุทเธียรามได้จัดให้มีพิธีต้อนรับกระชับมิตรชาว<br />

พุทธ โดยมีพระธีอำพล ปิยธมฺโมเป็นประธานสงฆ์ ดร.สุภชัย<br />

วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยาฯ กล่าวถึงที่มาและวัตถุประสงค์<br />

ของโครงการฯ ความตอนหนึ่งว่า<br />

“ขบวนธรรมยาตราเดินทางผ่าน ๔ แผ่นดินแล้ว ผลที่ได้<br />

รับเหนือความคาดหมาย ทั้งที่ สปป.ลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม แม้แต่ ฯพณฯ ฮอ นัมฮง<br />

รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชา และพลเอก ธนศักดิ์ ปฏิมาประกร<br />

รองนายกรัฐมนตรีประเทศไทยก็พร้อมสนับสนุนการจัดธรรม-<br />

ยาตรา ๕ แผ่นดินในครั้งต่อไป<br />

“แม้พระสงฆ์จะมาจาก ๕ ประเทศที่พูดกันคนละภาษา<br />

แต่ ‘บาลี’ ถือเป็นภาษาสากลของผู้ศึกษาพระพุทธศาสนา ดังนั้น<br />

ผมมองว่าพวกเราต้องช่วยปลูกฝังให้พุทธบริษัทรักและสามัคคี<br />

กัน และตระหนักร่วมกันว่าเรามี ‘พระตถาคต’ องค์เดียวกัน<br />

เราปฏิบัติตามคำสอนเดียวกันคือ คำสอนขององค์สมเด็จพระ<br />

สัมมาสัมพุทธเจ้า นับได้ว่าเราเป็นญาติกันโดยธรรมแล้ว หรือมี<br />

ความเป็นญาติธรรมที่ผูกพันกัน สานสัมพันธ์โดยพุทธศาสนา<br />

และคำสอนของพระพุทธองค์ช่วยเราและสังคมที่เราอยู่ให้สงบ<br />

สุขได้จริง”<br />

ต่อจากนั้นคุณบุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

เกาะกง ประเทศกัมพูชา กล่าวต้อนรับ<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์มอบเสาธรรมจักร คุณสุรศักดิ์<br />

ตรีรัตน์ตระกูลมอบธงฉัพพรรณรังสี ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์<br />

มอบธงธรรมยาตราให้แด่คุณบุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่าราชการ<br />

จังหวัดเกาะกง<br />

คุณบุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่าราชการจังหวัดเกาะกง<br />

มอบตราสัญลักษณ์ธรรมยาตราทั้งเสาธรรมจักรและธงฉัพพรรณ<br />

รังสีแด่คุณชาญนะ เอี่ยมแสง ผู้ว่าราชการจังหวัดตราดประเทศไทย<br />

ลำดับต่อไปเป็นพิธีมอบของที่ระลึกคือพระพุทธเมตตา<br />

สีทองซึ่งจำลองมาจากพระพุทธรูปในวัดพระมหาโพธิ์ ตำบล<br />

พุทธคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย<br />

ศิลปะสมัยปาละ และสร้างในสมัยนั้นด้วยหินแกรนิตสีดำมีอายุ<br />

กว่า ๑,๔๐๐ ปี โดยมีคุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล อธิบดีอัยการ<br />

สำนักงานสอบสวนถวายแด่พระลึมเปา รกฺขิตธมฺโม เจ้าคณะ<br />

อำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง คุณสุรพล มณีพงษ์ อุปนายก<br />

และเลขาธิการสมาคมมิตรภาพไทย-กัมพูชา ถวายแด่พระธีอำพล<br />

ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสมุทเธียราม<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์มอบแด่คุณบุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่า<br />

ราชการจังหวัดเกาะกง ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์มอบแด่คุณ<br />

ชาญนะ เอี่ยมแสง ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด และนายแพทย์ศุภชัย<br />

ถนอมทรัพย์ถวายสังฆทานเวชภัณฑ์แด่เจ้าอาวาสวัดสมุทเธียราม<br />

เมื่อเสร็จสิ้นแล้วคณะสงฆ์และฆราวาสถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน<br />

ลำดับต่อไปคณะสงฆ์เตรียมออกรับบิณฑบาต พร้อมๆ กับฟ้าฝน<br />

ที่ตกลงมาเมื่อครู่ได้หยุดลงแล้ว


260 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 261<br />

วันที่ ๙ ซัวซะเด็ย - เกาะกง<br />

กุศลเจตนาตั้งมั่น พระพิรุณเบิกฟ้า<br />

ณ วัดสมุทเธียราม ฝนตกติดต่อมาหลายวัน คืนที่ผ่านมา<br />

ฝนก็ตกเกือบตลอด เต็นท์ผูกผ้าสีสดเตรียมการนับสิบเต็นท์<br />

เปียกน้ำชุ่มโชก บริเวณพื้นดินทรายหลายจุดมีน้ำขัง แต่ด้วย<br />

พลังกุศลเจตนาตั้งมั่นดีแล้วของทุกท่านที่ตั้งใจมาร่วมมหาบุญ<br />

ครั้งนี้ พระพิรุณคงเป็นใจหยุดฝนไว้ให้ทำพิธีเสร็จสิ้นก่อน<br />

พื้นดินทรายชายทะเลเปียกเละเป็นทรายโคลน มีหิน<br />

ลูกรังและเศษหินปะปน แต่ทั้งพระทั้งฆราวาสไม่มีใครเห็นเป็น<br />

อุปสรรค ชาวบ้านตั้งแถวถอดรองเท้ารอคณะสงฆ์ธรรมยาตรา<br />

จะเดินผ่าน ข้าวของอาหารแห้งและปัจจัยเป็นสิ่งของหลักที่<br />

คนเตรียมมาใส่บาตร ของที่นำมาถวายพระต้องเป็นสิ่งที่ดีที่สุด<br />

เสมอ ชาวบ้านจึงจัดเตรียมทานที่ดีที่สุดตามกำลังที่หาได้ ก่อน<br />

พระมาก็ตั้งจบยกขึ้นจรดหน้าผากกล่าวคำอธิษฐาน<br />

พระธรรมวรนายกพร้อมด้วยพระธีอำพล ปิยธมฺโม นำ<br />

คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน เมียนมา กัมพูชา ลาว ไทย เวียดนาม<br />

ตั้งแถวประคองบาตรเดินรับบิณฑบาตด้วยกิริยาสำรวม คุณ<br />

บุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่าราชการจังหวัดเกาะกง ประเทศ<br />

กัมพูชา และคุณชาญนะ เอี่ยมแสง ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด<br />

นำประชาชนใส่บาตร วันนี้ต่างอิ่มใจในกุศล ปลื้มใจ และนับ<br />

เป็นบุญชีวิตที่ได้มีโอกาสใส่บาตรพระธรรมยาตรา


262 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 263<br />

วันที่ ๙ ซัวซะเด็ย - เกาะกง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

บุญชีวิต...พุทธวิถีใส่บาตร<br />

นายยิน งานธงชาวเกาะกงกล่าวว่า “คนไทย พม่า ลาว เวียดนามเป็นเพื่อนบ้านกัน มีพุทธ-<br />

ศาสนาเหมือนกัน ชอบทำบุญ การเดินธรรมยาตรานั้นเมื่อก่อนไม่มี ดีใจที่ได้มาร่วมบุญนี้”<br />

ชาวเกาะกงก็เช่นเดียวกับชาวพุทธทุกคนที่นิยมใส่บาตรตอนเช้า และเช้านี้ยิ่งเป็น<br />

เช้าอันพิเศษล้ำค่าได้ใส่บาตรพระสงฆ์จาก ๕ แผ่นดิน มหาบุญแห่งการให้ในครั้งนี้ตามหลัก<br />

พระพุทธศาสนากล่าวไว้ว่า ผู้ให้ย่อมเป็นที่รักของผู้คนทั้งหลาย การใส่บาตรช่วยให้จิตใจ<br />

อยู่กับความดี นับเป็นการฝึกจิตใจให้อยู่กับกุศลซึ่งย่อมนำความสุขมาให้ และเป็นการลด<br />

ความตระหนี่ ลดความโลภ ลดความเห็นแก่ตัว เป็นผู้เสียสละ ได้อุทิศส่วนกุศลให้แก่บุคคล<br />

อันเป็นที่รักที่ล่วงลับไปแล้วเป็นการแสดงความกตัญญูต่อผู้มีคุณ<br />

นอกจากนี้การใส่บาตรยังเป็นการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอัน<br />

ดีงามของชาวพุทธ เป็นแบบอย่างแห่งความดี เพื่อให้ลูกหลานมีแบบอย่างในการทำความดี<br />

เป็นการสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา ช่วยให้พระสงฆ์สามเณรอยู่ได้ มีกำลังกายและใจศึกษา<br />

พระธรรมคำสอน ที่สำคัญการใส่บาตรเป็นการสร้างความสามัคคีในหมู่ชาวพุทธ ช่วยให้<br />

สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ผลดีจากการใส่บาตรมีคุณค่ามากมาย และเป็นการสั่งสมอริยทรัพย์<br />

เป็นความอิ่มสุขที่หาค่าไม่ได้ ประจักษ์พยานแห่งความอิ่มสุขยืนยันได้จากใบหน้าอันอิ่มบุญ<br />

อิ่มใจของชาวบ้านชาวมณฑลสีมาที่ยิ้มแย้มแจ่มใสกันในเช้าวันนี้<br />

ปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต้นไม้คู่บุญแห่งพระพุทธองค์<br />

ความมีจิตใจผูกผัน ความเคารพเลื่อมใสในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นคือพลัง<br />

อันแน่นแฟ้นเด็ดเดี ่ยว สิ่งใดที่เป็นสหชาติแห่งพระพุทธองค์ก็เป็นที่รักเคารพสุดหัวใจของ<br />

ชาวพุทธดุจเดียวกัน การเดินทางปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์อันเป็นหนึ่งในสหชาติแห่ง<br />

องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ แผ่นดินแห่งนี้ที่วัดสมุทเธียรามนับเป็นหน่อต้นพระ<br />

ศรีมหาโพธิ์ลำดับที่ ๘


264 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 265<br />

วันที่ ๙ ซัวซะเด็ย - เกาะกง<br />

วันนี้หลังบิณฑบาตแล้วเสร็จ อากาศครึ้มพอสบาย พิธีปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

จากเมืองคยา ประเทศอินเดียก็เริ่มขึ้นในตอนสาย นำโดยพระธรรมวรนายก พระธีอำพล<br />

ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสมุทเธียราม ฝ่ายฆราวาสนำโดยคุณบุญเลิศ พราหมณ์เกสร ผู้ว่า<br />

ราชการจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา คุณชาญนะ เอี่ยมแสง ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด<br />

ประเทศไทย พร้อมด้วยคณะธรรมยาตรานำโดย ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ คุณเกษม มูลจันทร์<br />

คุณสุรพล มณีพงษ์ คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล นพ.ศุภชัย ถนอมทรัพย์ ทพ.มณฑล สุวรรณ-<br />

นุรักษ์ ผศ.ลักขณา บรรพกาญจน์ เป็นต้น<br />

คณะสงฆ์ ๕ ประเทศเจริญพระพุทธมนต์เพื่อความเป็นสิริมงคล จากนั้นร่วมกัน<br />

ปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๘ ณ บริเวณใกล้รูปปั้นหลวงพ่อหมึก คณะฆราวาสตลอด<br />

จนพี่น้องประชาชนชาวเกาะกงได้ทยอยเข้าร่วมกันปลูกต้นโพธิ์ซึ่งจะเป็นเสมือนตัวแทน<br />

ความทรงจำในคุณความดีที่คณะพุทธบริษัทร่วมกันทำในงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินได้<br />

สำเร็จงอกงาม


266 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 267<br />

“ผู้ให้ย่อมเป็นที่รักของผู้คนทั้งหลาย การใส่บาตรช่วยให้จิตใจอยู่กับความดี นับเป็น<br />

การฝึกจิตใจให้อยู่กับกุศลซึ่งย่อมนําความสุขมาให้ และเป็นการลดความตระหนี่<br />

ลดความโลภ ลดความเห็นแก่ตัว เป็นผู้เสียสละ ได้อุทิศส่วนกุศลให้แก่บุคคลอันเป็นที่รัก<br />

ที่ล่วงลับไปแล้วเป็นการแสดงความกตัญญต่อผู้มีคุณ”


268 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 269<br />

วันที่ ๙ สวัสดี - จันทบุรี<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ออกเดินทางต่อไปเข้าสู่ราชอาณาจักรไทย<br />

คณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ๕ แผ่นดินฯ ออกเดินทางต่อไปหลังจากเยือน ๔ ประเทศ ๔ ประเทศ ลาว กัมพูชา ลาว<br />

เวียดนาม กัมพูชา รวมทั้งประเทศไทย เวียดนาม รวมทั้งประเทศไทย พลังความศรัทธาสามัคคีชาวพุทธทุกประเทศที่ผ่านมา<br />

ที่ผ่านมานั้นได้สร้างความประทับใจให้แก่ผู้ร่วมอยู่ในเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในทุกสถานที่<br />

นั้นได้สร้างความประทับใจให้แก่ผู้ร่วมอยู่ในเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในทุกสถานที่ที่คณะ<br />

ที่คณะธรรมยาตราได้ไปเยือน จุดหมายต่อไปคณะธรรมยาตราออกเดินทางมุ่งสู่จุดผ่านแดน<br />

่งสู ่จุดผ่านแดนที่บ้าน<br />

ที่บ้านจามเยียม อำเภอมณฑลสีมา อำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง เพื่อเข้าพิธีการตรวจคนออกเมืองชายแดน<br />

กัมพูชา-ไทย ณ บ้านหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ซึ่งเป็นจุดผ่านแดนถาวรเป็น<br />

จุดตรวจทางบุคคลและพาหนะทางบกที่เดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักร ณ จุดนี้ถือเป็นประตู<br />

การค้าระหว่างไทย-กัมพูชา เชื่อมกับเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดฝั่งไทย เพื่อรองรับการ<br />

ลงทุนเน้นอุตสาหกรรมเบาและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว<br />

ขบวนรถเดินทางออกจากเกาะกง ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยวหลากหลายทั้งน้ำตกและทะเล<br />

ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยวหลากหลายทั้งน้ำตกและทะเล<br />

จากตัวจังหวัดเกาะกงไปถึงด่านเป็นระยะทางประมาณ ๘ กิโลเมตร จากนั้นเข้าสู่จุดข้าม<br />

แดนไปยังประเทศไทย เมื่อขบวนรถผ่านเข้ามายังบ้านหาดเล็ก บริเวณใกล้ด่านจะมีตลาด<br />

ชายแดนบ้านหาดเล็กเป็นตลาดสินค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา<br />

จวนผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี<br />

จากนั้นจุดหมายต่อไปมุ่งสู่จวนผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี โดยเดินทางจากบ้านหาดเล็ก<br />

ด่านพรมแดนเข้าสู่จวนผู้ว่าระยะทางประมาณ ๑๖๐ กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางร่วม ๓<br />

ชั่วโมงก็มาถึงจวนผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี คุณวิทูรัช ศรีนาม ผู้ว่าราชการจังหวัดและ<br />

ภริยา พร้อมด้วยข้าราชการเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพลและเลี้ยงอาหารแด่<br />

คณะธรรมยาตรา<br />

จวนผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรีสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๓ พระยาตรังคภูมาภิบาล<br />

(ถนอม บุณยะเกตุ) สมุหเทศาภิบาลมณฑลจันทบุรีเป็นผู้ดำริ<br />

สร้างขึ้น ใช้เงินงบประมาณแผ่นดินเป็นค่าวัสดุก่อสร้าง ส่วน<br />

แรงงานใช้นักโทษเรือนจำจังหวัดจันทบุรีก่อสร้างขึ้น เดิมจัดเป็น<br />

บ้านพักสมุหเทศาภิบาลมณฑลจันทบุรี ต่อมาเมื่อยุบมณฑล<br />

แล้วก็ได้ใช้เป็นบ้านพักผู้ว่าราชการจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้<br />

จวนผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรีเป็นเรือนไม้สองชั้นสร้าง<br />

ด้วยสถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่างเรือนปั้นหยาและเรือน<br />

มนิลา สวยงามประณีตและทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ นับ<br />

เป็นโบราณสถานที่มีชีวิต ได้รับการบำรุงรักษาซ่อมแซมอย่างดี<br />

มีหน้ามุขตกแต่งให้ดูอ่อนหวานด้วยลวดลายฉลุไม้เหนือประตู<br />

หน้าต่าง ลายประกอบเป็นดอกไม้ หยดน้ำ หยาดน้ำฝน สำหรับ<br />

เป็นช่องลม อากาศเย็นสบาย กันสาดหน้าต่างระบายชายด้วย<br />

ลายฉลุหยดน้ำ ชมแล้วทำให้คณะธรรมยาตราคลายเหนื่อยล้า<br />

ไปได้มาก<br />

ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพร้อมภริยา และคณะเจ้าหน้าที่<br />

ได้จัดเตรียมอาหารคาวหวาน ผลไม้ ขนมอันลือชื่อของจังหวัด<br />

จันทบุรี สำหรับถวายคณะสงฆ์และจัดเลี้ยงคณะธรรมยาตรา<br />

อย่างเพียบพร้อม อีกทั้งยังได้จัดเตรียมห้องรักษาพยาบาลไว้<br />

มีคณะแพทย์และพยาบาลให้การตรวจรักษาด้วย คณะสงฆ์และ<br />

ฆราวาสจึงได้เข้าไปรับบริการ นอกจากนี้ยังมอบยารักษาโรค<br />

เพิ่มเติมให้แก่คณะธรรมยาตราเพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป<br />

เมื่อเรียบร้อยจากภัตตาหารเพลและอาหารกลางวันแล้ว<br />

ได้จัดให้มีการถ่ายภาพหมู่หน้าจวนผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย


270 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 271<br />

วันที่ ๙ สวัสดี - อยุธยา<br />

ไว้เป็นที่ระลึก เป็นความทรงจำแห่งการเคลื่อนผ่านของคณะ<br />

ธรรมยาตราซึ่งได้แวะพักที่จังหวัดจันทบุรี<br />

สุดท้ายท่านผู้ว่าราชการจังหวัดยังได้มอบทุเรียน มะม่วง<br />

และขนมขบเคี้ยว ของดีเมืองจันทบุรีจำนวนมากเพียงพอสำหรับ<br />

คณะธรรมยาตรา เพื่อเก็บเป็นเสบียงระหว่างการเดินทางสู่<br />

จุดหมายต่อไป<br />

วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

จากจังหวัดจันทบุรีมุ่งสู่พระนครศรีอยุธยาเพื่อไปวัดไก่เตี้ย<br />

พฤฒาราม ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด<br />

พระนครศรีอยุธยาใช้เวลาเดินทางร่วม ๗ ชั่วโมง เมื่อมาถึง<br />

วัดไก่เตี้ยฯ เวลาก็ค่ำแล้ว แต่พุทธศาสนิกชนชาวพระนคร<br />

ศรีอยุธยาก็มาต้อนรับคณะธรรมยาตรากันเป็นจำนวนมาก<br />

นำโดยพระมหา ดร.ไชยณรงค์ ภทฺทมุนี เจ้าอาวาสวัดไก่เตี้ย<br />

พฤฒารามและ ดร.สุจินต์ ไชยชุมศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

พระนครศรีอยุธยา สถานที่ตกแต่งอย่างสมถะเรียบง่าย เต็มไป<br />

ด้วยความอบอุ่นด้วยดวงจิตอันเป็นกัลยาณมิตร<br />

พระมหา ดร.ไชยณรงค์นิมนต์คณะสงฆ์ธรรมยาตรา<br />

ขึ้นอาสน์สงฆ์บริเวณลานหินโค้งที่สร้างขึ้นโดยน้ำพักน้ำแรง<br />

ของคณะสงฆ์และชาวบ้าน จากนั้นเปิดโอกาสให้คณะศรัทธา<br />

ชาวพระนครศรีอยุธยาถวายพวงมาลัย สักการะคณะสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดิน พร้อมถวายน้ำปานะ<br />

พิธีต้อนรับคณะธรรมยาตราในลำดับต่อมานำโดย


272 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 273<br />

วันที่ ๙ สวัสดี - อยุธยา โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ดร.สุจินต์ ไชยชุมศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์กล่าวถึงที่มาและวัตถุประสงค์ของ<br />

โครงการ จากนั้นเป็นพิธีมอบธงสัญลักษณ์ธรรมยาตรา เสา<br />

ธรรมจักร และธงฉัพพรรณรังสี<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ถวายธงฉัพพรรณรังสี และคุณ<br />

สุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล อธิบดีอัยการส ำนักงานสอบสวนถวาย<br />

ธงธรรมยาตราแด่พระมหา ดร.ไชยณรงค์ ภทฺทมุนี ดร.อภัย<br />

จันทนะจุลกะ รองประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐ มอบเสาธรรมจักร<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินแด่ ดร.สุจินต์ ไชยชุมศักดิ์ ผู้ว่าราชการ<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

วัดไก่เตี้ยฯ ย้อนรอยพุทธสัมพันธ์มอญ-ไทย<br />

วัดไก่เตี้ยฯ เป็นวัดที่มีอายุเก่าแก่ ตามบันทึกบอกว่าเป็นวัดสมัย<br />

อยุธยาตอนปลาย สร้างโดยชาวมอญในอยุธยา ตั้งชื่อว่าวัด<br />

ไก่เตี้ยเหมือนชื่อวัดในเมืองหงสาวดี สัญลักษณ์ที่บ่งบอกชัดเจน<br />

ว่าวัดไก่เตี้ยฯ นี้สร้างขึ้นโดยชาวมอญก็คือเสาหงส์ เพราะ<br />

“หงส์” เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ที่ชนชาติมอญให้ความสำคัญและ<br />

มีความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนา ดังระบุไว้ในตำนานเมือง<br />

หงสาวดีว่า หลังองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้ได้ ๘<br />

พรรษาได้เสด็จจาริกมาถึงเมืองหงสาวดี พระพุทธองค์ทอด<br />

พระเนตรเห็นหงส์ทองสองตัวลงเล่นน้ำ จึงทรงมีพุทธทำนาย<br />

ว่าบริเวณนี้จะเกิดเป็นมหานครชื่อหงสาวดีและเป็นสถานที่<br />

ประดิษฐานของพระพุทธศาสนา ในกาลต่อมาเมื่อชาวมอญ


274 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 275<br />

วันที่ ๙ สวัสดี - อยุธยา โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ได้สร้างเมืองหงสาวดีขึ้น จึงนิยมสร้างเสาหงส์ไว้ที่วัดด้วยเสมอเพื่อเป็นพุทธบูชาและสัญลักษณ์<br />

ของเมือง ปัจจุบันเราจะพบเห็นเสาหงส์ได้ทั่วไปตามวัดต่างๆ ที่สร้างโดยชาวมอญ รวมทั้ง<br />

เสาหงส์ที่วัดไก่เตี้ยฯ ด้วย<br />

ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ขุนนางชื่อพระยา<br />

พฤฒาธิบดีได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดไก่เตี้ยฯ และให้ชื่อว่า “วัดไก่เตี้ยพฤฒารามราษฎร์บ ำรุง” แต่<br />

ชาวบ้านยังคงนิยมเรียกว่า “วัดไก่เตี้ย” จากนั้นวัดไก่เตี้ยฯ ก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมา<br />

จวบจนปัจจุบัน มีเจ้าอาวาสปกครองวัดทั้งหมด ๑๐ รูป รูปที่ ๑๐ คือ พระมหา ดร.ไชยณรงค์<br />

ภทฺทมุนี และมีการบูรณปฏิสังขรณ์อีกใน พ.ศ. ๒๕๕๘ โดย<br />

พระมหา ดร.ไชยณรงค์ ภทฺทมุนี เจ้าอาวาสเป็นผู้นำศรัทธา<br />

ชักชวนพระสงฆ์นำอิฐคนละก้อนมาก่อลานหินโค้งคล้ายที่สวน<br />

โมกข์ช่วยกันลงมือทำกับชาวบ้าน แนวทางของวัดไก่เตี้ยฯ เน้น<br />

การเจริญกุศลครบวงจรคือนำให้พุทธศาสนิกชนบำเพ็ญทาน<br />

ศีล ภาวนา โดยเฉพาะเรื่องภาวนาทางวัดให้ความสำคัญมาก<br />

ภายในวัดจึงมีการจัดแบ่งพื้นที่กว้างขวางและสัปปายะเหมาะ<br />

แก่การเจริญจิตภาวนาเพื่อรองรับญาติโยมได้จำนวนมาก<br />

นอกจากนี้ภายในพระอุโบสถมีพระประธานชื่อพระรอด<br />

เป็นพระปางสะดุ้งมารที่ตั้งชื่อในสมัยรัชกาลที่ ๒ เป็นพระ<br />

ศักดิ์สิทธิ์คู่วัดและเป็นที่พึ่งของชาวบ้าน มีรอยพระพุทธบาท<br />

จำลอง มีเชิงตะกอนเก่า ที่คาดว่าสร้างใน พ.ศ. ๒๔๗๔–๒๔๗๙<br />

ใช้งานครั้งสุดท้ายเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

การเดินทางมาวัดไก่เตี้ยฯ ของคณะธรรมยาตราในครั้งนี้<br />

นับเป็นการย้อนรอยประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา เห็นความ<br />

มั่นคงศรัทธาแห่งชาวมอญ แม้ว่าต้องอพยพมาจากบ้านเกิด<br />

เมืองนอนจากเมืองหงสาวดี ก็ยังมีจิตศรัทธาในพระรัตนตรัย<br />

สร้างวัดเพื่อบำเพ็ญกิจกุศลในวิถีธรรมชาวพุทธเป็นนิจ ในอดีต<br />

วัดไก่เตี้ยฯ เริ่มต้นจากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของ<br />

ชาวมอญ มาถึงวันนี้วัดไก่เตี้ยฯ ยังคงสืบทอดต่อศรัทธาจาก<br />

ชาวมอญสู่ชาวไทย นับเป็นพุทธสัมพันธไมตรีที่เจริญด้วย<br />

ศรัทธาในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเฉกเดียวกันไม่ว่า<br />

จะเป็นชนชาติใด


วันที่ ๑๐ ไทย<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

กุศลมั่นคง<br />

ให้การต้อนรับคณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ด้วยไมตรีธรรม เช้าตรู่คณะสงฆ์ออก<br />

บิณฑบาต คณะศรัทธาถวายภัตตาหารเช้า ผู้ตั้งอยู่ในกุศลมุ่งเผยแผ่สารธรรมแห่ง<br />

เผยแผ่สารธรรม<br />

องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต่อจากนั้นร่วมปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ก่อนเดินทาง<br />

ผ่านจังหวัดนครสวรรค์ พักฉันเพล และมุ่งสู่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เมืองที่<br />

พระมหากษัตริย์ในอดีต ๔ พระองค์เคยเสด็จมาชุมนุมกองทัพปกป้องดินแดนไทย”<br />

วันอังคารที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


พุทธศรัทธาบนแผ่นดินประวัติศาสตร์<br />

วั<br />

ดไก่เตี้ยพฤฒาราม ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

ให้การต้อนรับคณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ด้วยไมตรีธรรม เช้าตรู่คณะสงฆ์ออก<br />

บิณฑบาต คณะศรัทธาถวายภัตตาหารเช้า และร่วมปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ก่อนเดินทางผ่าน<br />

จังหวัดนครสวรรค์ พักฉันเพล และมุ่งสู่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เมืองที่พระมหากษัตริย์<br />

ในอดีต ๔ พระองค์เคยเสด็จมาชุมนุมกองทัพปกป้องดินแดนที่นี่<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 279<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ณ พระนครศรีอยุธยา<br />

วัดไก่เตี้ยฯ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อันเป็นผืนแผ่นดินที่มี<br />

ประวัติศาสตร์เก่าแก่ เคยเป็นราชธานีของอาณาจักรอยุธยามาถึง ๔๑๗ ปี แม้เกิดสงคราม<br />

จนเสียกรุงไป แต่เมืองนี้ก็ไม่เคยร้างจากผู้คนที่รักถิ่นเกิด มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์<br />

ที่แสดงให้เห็นว่าแผ่นดินนี้มีความเจริญรุ่งเรืองด้วยมหากุศลศรัทธาของชาวพุทธเป็นอย่าง<br />

มาก ในอดีตกรุงศรีอยุธยามีพระมหากษัตริย์ปกครอง ๓๓ พระองค์ ทุกพระองค์ทรงนับถือ<br />

พระพุทธศาสนา และประกาศตนเป็นพุทธมามกะ มีพุทธศรัทธาเต็มเปี่ยม ทรงอุปถัมภ์บำรุง<br />

วัดวาอารามอย่างจริงจัง วัด พระสงฆ์ และชาวบ้านต่างเกื้อกูลอาศัยกัน วิถีวัดกับวิถีบ้าน<br />

ผูกพันกันมาอย่างแนบแน่น ชาวบ้านอุปถัมภ์ดูแลพระสงฆ์ไม่ให้ลำบากขัดสน เพื่อได้มีเวลา<br />

ศึกษาพระธรรมคำสอนอย่างเต็มที่ พระสงฆ์ปฏิบัติตนให้เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน วัดในสมัย<br />

นั้นทำหน้าที่หลายอย่าง นอกจากเป็นสถานที่บำเพ็ญทาน ศีล ภาวนาแล้ว ยังเป็นแหล่งพุทธ<br />

วัฒนธรรมประเพณี เป็นโรงเรียน โรงพยาบาล เป็นศาล เป็นที่พักค้างแรมยามเดินทาง<br />

สมัยอาณาจักรอยุธยาได้นำพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็นลำดับตลอดมา มีผู้รู้<br />

พระไตรปิฎก มีการศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างต่อเนื่อง มีพระปฏิบัติกัมมัฏฐาน และมีการ<br />

สืบค้นรอยพระพุทธบาทที่จังหวัดสระบุรี จนเกิดประเพณีเทศกาลไหว้พระพุทธบาทจวบจน<br />

ทุกวันนี้ อย่างไรก็ดีแม้พระพุทธศาสนาจะเจริญอย่างเข้มข้น แต่ก็ไม่ปิดกั้นศาสนาอื่น ยืนยัน<br />

ได้จากการประกาศในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถว่า “บุคคลใดจะนับถือศาสนาใดก็ได้<br />

ไม่ทรงบังคับในการที่ประชาชนของพระองค์จะนับถือศาสนาใด”<br />

พระนครศรีอยุธยาในอดีตและปัจจุบันมีวัดวาอารามจำนวนมาก อันเป็นเครื่องหมาย<br />

ถึงความเจริญรุ่งเรืองแห่งศรัทธามหาชนที่มีต่อพระพุทธศาสนา และวัดที่สำคัญก็มีอยู่<br />

หลายแห่ง เช่น วัดพุทไธศวรรย์ วัดใหญ่ชัยมงคล วัดมหาธาตุ วัดภูเขาทอง วัดวรเชษฐาราม<br />

ภายในวัดมีพระปรางค์ พระสถูปเจดีย์ รวมถึงพระพุทธรูปสำคัญจำนวนไม่น้อยที่ได้รับ<br />

การทำนุบำรุงรักษาไว้ให้เราได้สักการบูชาจวบจนวันนี้


280 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 281<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - อยุธยา<br />

ใส่บาตรยามเช้าร่วมมหากุศล<br />

วันนี ้ของคณะธรรมยาตราจึงนับเป็นมหากุศลที่ได้<br />

มาทำร่วมกันในแผ่นดินที่เจริญรุ่งเรืองด้วยอารยธรรม<br />

พระพุทธศาสนา ณ วัดไก่เตี้ยฯ มีพระมหา ดร.<br />

ไชยณรงค์ ภทฺทมุนี เจ้าอาวาสต้อนรับด้วยไมตรี<br />

ธรรม ฝ่ายฆราวาสมีคุณสุจินต์ ไชยชุมศักดิ์ ผู้ว่า<br />

ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยานำคณะข้าราชการ<br />

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

ได้แก่ นางสมทรง พันธ์เจริญวรกุล นายก อบจ.<br />

นายสมศักดิ์ เจริญไพฑูรย์ นอภ.พระนครศรีอยุธยา<br />

นายศักราช อัมวงษ์ นายก อบต.เกาะเรียน และ<br />

คณะชมรมคุณธรรม พร้อมกับคณะชาวบ้านให้การ<br />

ต้อนรับอย่างอบอุ่น<br />

คณะธรรมยาตราเริ่มกิจกุศลกันตั้งแต่พระ<br />

อาทิตย์เริ่มทอแสงเหนือแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นเวลา<br />

ได้อรุณประมาณ ๐๖.๓๐ น. ตรงกับที่นัดหมายกัน<br />

ไว้ คณะสงฆ์เดินออกรับบิณฑบาต ญาติ โยมเตรียม<br />

ข้าวสุกและอาหารคาวหวานมาใส่ครบเครื่อง ตั้ง<br />

แถวเป็นแนวยาวจากบริเวณหน้าพระอุโบสถไปจน<br />

เกือบถึงท่าน้ำเจ้าพระยา<br />

ชาวพุทธที่นี่ไม่ได้แตกต่างกับชาวพุทธลาว<br />

กัมพูชา หรือเวียดนาม ด้วยสืบสานพุทธประเพณี<br />

มาจากบรรพบุรุษ จนมีวิถีปฏิบัติเจริญรอยตามมรรค


282 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 283<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - อยุธยา<br />

แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเฉกเช่นเดียวกัน<br />

ดังนั้นเมื่อรับรู้ข่าวคณะพระสงฆ์ ๕ แผ่นดินมาปักกลด<br />

พักค้างและมีกำหนดออกเดินบิณฑบาตก็ได้ร่วมแรง<br />

ร่วมใจตระเตรียมงานต้อนรับกันเต็มกำลังใจและกาย<br />

ด้วยรับรู้ถึงมหากุศลที่จะเกิดขึ้น<br />

ภาพบรรยากาศเช้านี้ในขณะคณะพระสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดินเดินทางมาสงเคราะห์ศรัทธาญาติโยม ชาว<br />

บ้านผู้มีใจพุทธทั้งหลายต่างมารอคอยเวลากันคับคั่ง<br />

ตระเตรียมข้าวปลาอาหารมาใส่บาตร แต่งตัวสุภาพ<br />

งดงามอย่างชาวพุทธ เสื้อสีขาวนุ ่งซิ่น เด็กหลายคน<br />

แต่งชุดนักเรียนมาใส่บาตรก่อนค่อยไปโรงเรียน มอง<br />

ไปทางไหนก็เห็นแต่ใบหน้ายิ้มแย้มเปิดใจรับกุศล<br />

คุณสมทรง พันธเจริญวรกุล นายก อบจ.<br />

พระนครศรีอยุธยากล่าวว่า “ประทับใจ ภูมิใจที่เรา<br />

ได้มีส่วนร่วมบุญกับคณะธรรมยาตรา ขออนุโมทนา<br />

สาธุบุญกับพวกเราทุกคนที่มาร่วมบุญกันในครั้งนี้<br />

ด้วย”<br />

คุณสุภาภรณ์ จันทรสุนทร ชาวบ้านบ้านรุน<br />

เปิดใจว่า “รู้สึกดีใจ ปลื้มใจ เป็นเกียรติกับชาวบ้านรุน<br />

วัดไก่เตี้ยฯ ที่มีโอกาสได้ทำบุญใหญ่ขนาดนี้”<br />

คุณถวิล ยิ่งตระกูล ชาวบ้านบ้านรุนอีกคนบอก<br />

ว่า “วันนี้ทำหลนเต้าเจี้ยวมาใส่บาตรร่วมบุญกันกับ<br />

ทุกคนที่มาจาก ๕ ประเทศ ดิฉันภูมิใจมากค่ะ”


284 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 285<br />

“มหากุศลที่ได้บำเพ็ญร่วมกันในแผ่นดินที่เจริญ<br />

รุ่งเรืองด้วยอารยธรรมพระพุทธศาสนา ณ วัดไก่เตี้ยฯ<br />

มีพระมหา ดร.ชัยณรงค์ ภทฺทมุนี เจ้าอาวาสต้อนรับด้วย<br />

ไมตรีธรรม ฝ่ายฆราวาสมีคุณสุจินต์ ไชยชุมศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

นำคณะข้าราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นางสมทรง พันธ์เจริญวรกุล<br />

นายก อบจ. นายสมศักดิ์ เจริญไพฑูรย์ นอภ. พระนครศรีอยุธยา นายศักราช อัมวงษ์ นายก อบต. เกาะเรียน<br />

และคณะชมรมคุณธรรม พร้อมกับคณะชาวบ้านให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น”


286 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 287<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - อยุธยา โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ถวายภัตตาหารเช้าคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

พิธีบิณฑบาตเสร็จสิ้นลง ชาวบ้านตระเตรียมถวายภัตตาหารเช้าแด่คณะ<br />

พระสงฆ์ พร้อมรับฟังพระธรรมเทศนาจากหลวงพ่อพระธรรมวรนายก ได้<br />

บุญใหญ่ที่รอคอย ได้อานิสงส์จากการฟังธรรมและจากการถวายภัตตาหาร<br />

เพราะการถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์นั้นได้ชื่อว่าบำรุงพระพุทธศาสนา และ<br />

ครั้งนี้ได้บำรุงพระพุทธศาสนาถึง ๕ แผ่นดิน ขอบเขตกุศลขยายวงกว้างไกล<br />

รับกุศลกันทั่วหน้า จิตใจผ่องใสเกิดปีติโสมนัสด้วยยินดี ลดความตระหนี่<br />

เห็นแก่ตัว นับเป็นการชำระกิเลสให้กลายมาเป็นคนมีจิตใจโอบอ้อมอารี<br />

เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่จึงเป็นสุขด้วยความอิ่มใจ<br />

หลังถวายภัตตาหารคณะสงฆ์เรียบร้อย วัดไก่เตี้ยฯ เปิดโอกาสให้คณะ<br />

ศรัทธาชาวบ้านรุน พระนครศรีอยุธยาได้ร่วมมหากุศลสร้างบารมีในครั้งนี้<br />

ด้วยการทำข้าวปลาอาหาร มีอาหารคาวหวาน น้ำพริกผัก แกงไทยๆ จำนวน<br />

มากมายจัดเรียงไว้บนเรือที่นำมาจอดอยู่บนบก สื่อถึงวิถีของชาวบ้าน<br />

พระนครศรีอยุธยาที่อยู่ใกล้ชิดกับน้ำ คุ้นเคยกับเรือ ใช้คลองและแม่น้ำแทน<br />

ถนน เรือจึงเปรียบเป็นสัญลักษณ์ของเมืองนี้ไปโดยปริยาย<br />

คณะธรรมยาตรา ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน เรียงแถวกันตักอาหาร<br />

และรับประทานอาหารร่วมกันอิ่มใจอิ่มกายพร้อมเสร็จสมบูรณ์ การให้ทาน<br />

อาหารเป็นมหากุศลเก่าแก่ที่ประพฤติปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ตัวอย่าง<br />

ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีหรือสุทัตตอนาถปิณฑิกคฤหบดี นามของท่านมี<br />

ความหมายว่าเศรษฐีผู้เป็นที่พึ่งของคนยาก หรือเศรษฐีผู้มีก้อนข้าวให้แก่คน<br />

ยากจน ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีเป็นผู้มีจิตใจเมตตา มีโรงทานสำหรับบริจาค<br />

ทานแก่คนยากจนทุกวัน ชื่อเสียงแห่งการให้ของท่านขจรหอมฟุ้งมาจวบจน<br />

ปัจจุบัน


288 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 289<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - อยุธยา โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ


290 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 291<br />

ปลูกศรัทธาธรรมต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ตามกำหนดการประจำของคณะธรรมยาตราเมื่อยาตราไปถึงถิ่นใด เครื่องหมายแห่งการไป<br />

เยือนคือการร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ อันเสมือนหนึ่งเป็นพระเจดีย์สื่อสัญลักษณ์แห่ง<br />

การสักการบูชา เพื่อน้อมจิตระลึกนึกถึงพระคุณอันประเสริฐยิ่งใหญ่ขององค์สมเด็จพระ-<br />

สัมมาสัมพุทธเจ้า เรื่องการปลูกหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์นี้มีปรากฏมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล<br />

เมื่อครั้งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีพุทธานุญาตให้พระอานนท์ ผู้เป็นพุทธอุปัฏฐาก<br />

ดำเนินการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ไว้ที่วัดเชตวันมหาวิหารซึ่งสร้างโดยท่านอนาถบิณฑิก<br />

เศรษฐี เหตุแห่งการปลูกนั้นด้วยว่าความคิดถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในเวลาที่<br />

พระพุทธองค์มิได้ประทับอยู่ที่วัดเชตวันมหาวิหาร พระอานนท์จึงได้เป็นผู้จัดการและดูแล


292 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 293<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - อยุธยา โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

การปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ เรียกต้นพระศรีมหาโพธิ์นี้ว่า<br />

“อานนท์โพธิ” เพื่อถือเป็นเจดีย์แห่งการสักการะบูชาน้อมระลึก<br />

นึกถึงพระคุณขององค์สมเด็จพระศาสดา ยังมีบันทึกอีกว่า<br />

การปลูกหรือร่วมพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธินี้มีอานิสงส์มาก<br />

ด้วยการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์นั้นเป็นศูนย์รวมใจอันเป็นมงคล<br />

และมหากุศล ประกอบด้วยจิตศรัทธา มีพุทธานุสติน้อมนึก<br />

ถึงพระคุณอันประเสริฐยิ่งใหญ่ของพระพุทธองค์ เป็นการปลูก<br />

ความดีงามลงในแผ่นดินพุทธศาสนา ร่วมกันอธิษฐานจิตเพื่อ<br />

สืบทอดพระพุทธศาสนาให้มีอายุยาวนานต่อไป<br />

พระธรรมวรนายกนำปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๙<br />

หน้าพระอุโบสถวัดไก่เตี้ยฯ คณะสงฆ์สวดชยันโต ท้องฟ้าแจ่มใส<br />

ปลอดโปร่ง ผู้ร่วมพิธีทุกคนผลัดกันโปรยดอกไม้มงคล และรด<br />

น้ำนมขาวบริสุทธิ์<br />

พิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ ์ พิธีปลูกศรัทธาธรรมลง<br />

ในแผ่นดินพุทธศาสนาให้มั่นคงดำรงไว้ตราบนานเท่านานได้<br />

เสร็จลงแล้ว ด้วยความปรารถนาให้เป็นสื่อเชื่อมโยงถึงคุณของ<br />

พระรัตนตรัย อันยังผลให้โลกนี้สงบสันติตามพุทธประสงค์แห่ง<br />

องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

เสร็จพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ สายฝนโปรยปรายบาง<br />

เบาดุจเทพบุตรเทพธิดาร่วมให้พรและอนุโมทนาบุญ จากนั้น<br />

คณะประกาศรวมตัวกันขึ้นรถลาจากวัดไก่เตี้ยฯ เพื่อมุ่งหน้า<br />

ต่อไป


294 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 295<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - นครสวรรค์ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

บึงบอระเพ็ด...ทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในไทย<br />

เวลาประมาณ ๐๘.๓๐ น. ขบวนธรรมยาตราเดินทางออกจากวัดไก่เตี้ยฯ จังหวัดพระนคร<br />

ศรีอยุธยา มุ่งสู่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ไปบนเส้นทางหลวงสายเอเชีย แวะพักฉันเพล<br />

ระหว่างทาง ณ อาคารต้อนรับนักท่องเที่ยวบึงบอระเพ็ด ตำบลแควใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัด<br />

นครสวรรค์<br />

คณะสงฆ์ ข้าราชการ ประชาชนรอต้อนรับ นำโดยพระเทพปริยัติเมธี เจ้าคณะจังหวัด<br />

นครสวรรค์ วัดนครสวรรค์ (พระอารามหลวง) พระราชมงคลโสภณ วัดแสงธรรมสุทธาราม<br />

อ.ชุมแสง เจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ (ธ) คุณธนาคม จงจิระ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์<br />

คุณอภิสรรค์ สง่าศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ คุณอุษณีย์ จงจิระ นายกเหล่า<br />

กาชาดจังหวัดนครสวรรค์ พร้อมหัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ หน่วยงาน<br />

องค์กรภาคเอกชน พุทธศาสนิกชนชาวจังหวัดนครสวรรค์ร่วมกันต้อนรับ มีจิตศรัทธาถวาย<br />

ภัตตาหารเพลและเลี้ยงอาหารแด่ขบวนธรรมยาตรา เนื่องในโอกาสที่ขบวนธรรมยาตราได้<br />

เดินทางผ่านบึงบอระเพ็ด บึงทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ซึ่งเป็นแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวอันสวยงามครอบคลุมพื้นที่สามอำเภอของจังหวัดนครสวรรค์ กลางบึงมีตำหนัก<br />

แพที่สร้างขึ้นครั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินแปรพระ-<br />

ราชฐานมาประทับ<br />

การต้อนรับในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนองค์การบริหารส่วนจังหวัด<br />

นครสวรรค์ สำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดนครสวรรค์มอบหมายให้คุณจรรยา รัตนเลขา<br />

หัวหน้าคณะทำงานนำข้าราชการพระพุทธศาสนาจังหวัดนครสวรรค์ปฏิบัติหน้าที่ บรรยากาศ<br />

เป็นไปด้วยความเรียบร้อยชื่นใจในกุศลกันทั่วหน้าก่อนลาจาก จุดหมายปลายทางของ<br />

ขบวนธรรมยาตราวันนี้อยู่ที่ “วัดโพธิคุณ” หรือ “วัดห้วยเตย” ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด<br />

จังหวัดตาก<br />

วัดโพธิคุณสงบงามกลางป่า<br />

การเดินทางวันนี้ระยะทางกว่า ๔๐๐ กิโลเมตร จากตัวเมืองจังหวัดตากมุ่งสู่อำเภอแม่สอด<br />

ผ่านถนนลาดชัน สภาพพื้นที่บางส่วนเป็นภูเขาสูงชันซับซ้อนสลับกับหุบเขา ถนนบนภูเขา<br />

ยังอยู่ระหว่างก่อสร้าง ฝนตกหนักระหว่างทางเป็นระยะ กว่าจะเดินทางถึงจุดหมายในวันนี้<br />

ใช้เวลาร่วม ๘ ชั่วโมง ในที่สุดก็มาถึงวัดโพธิคุณ บ้านห้วยเตย ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด<br />

จังหวัดตากอย่างปลอดภัย<br />

วัดโพธิคุณหรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกว่าวัดห้วยเตย ตั้งอยู่ใกล้ถนนสายเอเชียตาก-แม่สอด<br />

ริมทางหลวงหมายเลข ๑๐๕ หลักกิโลเมตรที่ ๖๙ ตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภอแม่สอด ๑๑<br />

กิโลเมตรพอดี นับเป็นพุทธสถานที่งดงามด้วยพุทธศิลป์ ตั้งอยู่กลางป่าอย่างกลมกลืนกับ<br />

ธรรมชาติ เมื่อขบวนธรรมยาตรามาถึง พระครูสุธีวุฒิคุณ เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ ตัวแทนคณะ<br />

สงฆ์จังหวัดตาก พร้อมด้วยคุณสุทธา สายวาณิชย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก ปฏิบัติราชการ<br />

แทนผู้ว่าราชการจังหวัดตากเป็นตัวแทนจังหวัดตาก พลเอก วิชิต ยาทิพย์ นายกสมาคม


296 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 297<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - ตาก<br />

วันที่ ๙ สวัสดี-นครสวรรค์<br />

วัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-เมียนมา คุณทวีกิจ จตุรเจริญคุณ<br />

ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก ร่วมถวายการต้อนรับคณะ<br />

สงฆ์ ๕ แผ่นดิน และให้การต้อนรับคณะธรรมยาตราพร้อมด้วย<br />

ส่วนข้าราชการจากสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดตาก สำนักงาน<br />

คุมประพฤติจังหวัดตาก สำนักงานคุมประพฤติแม่สอด สำนักงาน<br />

วัฒนธรรมจังหวัดตาก อำเภอเมืองตาก พ่อค้า และประชาชนได้<br />

ร่วมในการต้อนรับด้วย<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์พร้อมด้วยคณะธรรมยาตราถวาย<br />

ความเคารพพระครูสุธีวุฒิคุณ เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ จากนั้นพระครู<br />

สุธีวุฒิคุณพร้อมด้วยพระลูกวัดโพธิคุณนำคณะธรรมยาตราเดิน<br />

ประคองอัญชลี กระทำประทักษิณเวียนขวารอบพระอุโบสถ ๓<br />

รอบพร้อมสวดมนต์ระลึกถึงพระคุณอันประเสริฐยิ่งใหญ่แห่ง<br />

พระรัตนตรัย เสียงสวดมนต์เป็นภาษาบาลีดังขึ้นในความสงบ<br />

ท่ามกลางราวป่า เมื่อครบ ๓ รอบแล้วพระครูสุธีวุฒิคุณนำคณะ<br />

ขึ้นมาบนพระอุโบสถซึ่งออกแบบให้มีลักษณะคล้ายเรือลำใหญ่<br />

สามชั้นสวยงามประณีตละเอียดอ่อนรวมพุทธศิลป์สมัยสุโขทัย<br />

อยุธยาและเพชรบุรีไว้ด้วยกัน ออกแบบและดูแลก่อสร้างโดย<br />

คุณศมประสงค์ ชาวนาไร่ ใช้เวลาถึง ๑๘ ปี ทุ่มเทชีวิตจิตใจในการ<br />

ออกแบบและก่อสร้างจนแล้วเสร็จเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา สถานที่<br />

ทำพิธีอยู่บริเวณชั้นที่สอง พระประธานในอุโบสถชั้นสองชื่อพระ<br />

ทศพลญาณ (พระผู้มีญาณเป็นกำลัง ๑๐ ประการ) และพระ<br />

ประธานในอุโบสถชั้นสามชื่อ พระตรีโลกเชษฐ์ (พระผู้ประเสริฐ<br />

ที่สุดในโลกทั้ง ๓)


298 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 299<br />

“พระครูสุธีวุฒิคุณพร้อมด้วยพระลูกวัดโพธิคุณนําคณะธรรมยาตรา<br />

ประคองอัญชลี กระทําประทักษิณเวียนขวารอบพระอุโบสถ ๓ รอบ<br />

พร้อมสวดมนต์ระลึกถึงพระคุณอันประเสริฐยิ่งใหญ่แห่งพระรัตนตรัย<br />

เสียงสวดมนต์เป็นภาษาบาลีดังขึ้นในความสงบท่ามกลางราวป่า”


300 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 301<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี - ตาก<br />

วันที่ ๙ สวัสดี-นครสวรรค์<br />

เมื่อทุกฝ่ายพร้อมแล้วพิธีต้อนรับและมอบตราสัญลักษณ์<br />

ธงธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ธงฉัพพรรณรังสีก็ได้เริ่มขึ้น ดร.สุภชัย<br />

วีระภุชงค์ถวายพระพุทธเมตตาแด่เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ คุณเกษม<br />

มูลจันทร์มอบพระพุทธเมตตาแด่ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

ตาก คุณสุรพล มณีพงษ์ถวายพระพุทธเมตตาแด่เจ้าคณะจังหวัด<br />

ตาก ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์มอบพระพุทธเมตตาแด่คุณทวีกิจ<br />

จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก<br />

จากนั้นเป็นพิธีมอบเสาธรรมจักร ธงฉัพพรรณรังสี ธง<br />

ธรรมยาตรา พระธรรมวรนายกถวายธงฉัพพรรณรังสี และธง<br />

ธรรมยาตราแด่เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ<br />

พลเอก วิชิต ยาทิพย์ มอบเสาธรรมจักรแด่ท่านรองผู้ว่า<br />

ราชการจังหวัด<br />

จากนั้นเจ้าอาวาสวัดโพธิคุณบรรยายธรรม สวดมนต์ และ<br />

เจริญจิตภาวนาร่วมกัน<br />

สถานที่สัปปายะ เจริญจิตภาวนา<br />

วัดโพธิคุณนับเป็นสถานที่สัปปายะ คือมีสิ่งแวดล้อมเหมาะสม<br />

เกื้อกูลต่อการประพฤติปฏิบัติธรรม สงบ สะอาด ไม่พลุกพล่าน<br />

การเดินทางสะดวกสบาย แม้อยู่กลางป่าแต่ไปมาสะดวก มีผู้คน<br />

สนทนาธรรม มีพระอาจารย์คอยชี้แนะเรื่องปฏิบัติธรรม มีอาหาร<br />

อากาศร่มรื่น ร่มเย็น อาณาบริเวณกว้างขวางไม่อึดอัดระหว่าง<br />

ปฏิบัติธรรม นับว่าเหมาะสำหรับผู้ใฝ่การปฏิบัติกัมมัฏฐานยิ่ง<br />

คณะสงฆ์ธรรมยาตรากางกลดพักที่หอภูมิทัศไนย์เจริญจิต<br />

ภาวนาตามอัธยาศัย คณะฆราวาสแยกไปรับประทานและพักในสถานที่พัก โดยมีคุณทวีกิจ<br />

จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตากเป็นเจ้าภาพเลี้ยงรับรอง ในยามค่ำคืน<br />

ผ่อนคลายความเหนื่อยล้า เติมกำลังด้วยอาหารรสชาติอร่อยและที่พักสะอาดสบาย เพื่อ<br />

พรุ่งนี้ทั้งคณะพร้อมจะออกเดินทางเข้าสู่ประเทศเมียนมาอันเป็นประเทศที่ ๕ และเป็น<br />

ประเทศสุดท้ายก่อนปิดโครงการ<br />

ค่ำคืนนี้แผ่เมตตาอุทิศกุศลทั้งมวลให้สรรพสัตว์จงเป็นสุขและพ้นจากทุกข์ทั้งปวง<br />

ด้วยเทอญ


วันที่ ๑๑ ไทย เมียนมา<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ ขบวนธรรมยาตราข้ามเข้าสู่สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาที่จังหวัดเมียวดี<br />

พุทธมิตร<br />

ทางการไทย-เมียนมาปิดสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร่วมมหาบุญ<br />

เมียนมาประกาศเป็นวันหยุดราชการเปิดโอกาสให้ชาวพุทธร่วมสามหมื่นคน<br />

ออกมาต้อนรับคณะธรรมยาตราและร่วมตักบาตรคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

บรรยากาศอบอุ่นตื่นตาตื่นใจที่เห็นพุทธมิตรเป็นปึกแผ่นด้วยมรรคธรรม”<br />

ปึกแผ่นมรรคธรรม<br />

วันพุธที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


304 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 305<br />

วันที่ ๑๑ สวัสดี - ตาก<br />

พุทธมิตรโชติช่วงที่เมียนมา<br />

ขบวนธรรมยาตราข้ามเข้าสู่สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาที่จังหวัดเมียวดี (Myawaddy)<br />

ทางการไทย-เมียนมาปิดสะพานร่วมมหาบุญ เมียนมาประกาศเป็นวันหยุดราชการ เปิด<br />

โอกาสให้ชาวพุทธร่วมสามหมื่นคนออกมาต้อนรับคณะธรรมยาตราและร่วมตักบาตรคณะสงฆ์<br />

๕ แผ่นดิน บรรยากาศอบอุ่นตื่นตาตื่นใจจนบางคนถึงกับบอกว่า “จะจดจ ำภาพนี้ไว้จนวันตาย”<br />

ไอดินกลิ่นป่าเช้านี้ที่วัดโพธิคุณ ธรรมชาติเกื้อกูลให้รู้สึกอยู่เย็นเป็นสุข เสียงสวดมนต์<br />

ภาษาบาลีจากพระอุโบสถชั้นสามดังแทรกมาท่ามกลางความสงัดของผืนป่าในเวลาย่ำรุ่ง<br />

คณะสงฆ์ทำวัตรเช้าเข้าเฝ้าองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้าเหมือนดังเช่นปกติ เสร็จ<br />

แล้วเตรียมตัวเก็บสัมภาระและออกบิณฑบาตโปรดพุทธศาสนิกชนจังหวัดตาก<br />

บำเพ็ญทานเพิ่มพูนอริยทรัพย์<br />

เวลาประมาณ ๐๖.๓๐ น. อากาศสดชื่นเย็น<br />

สบาย พระธรรมวรนายกนำคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

ออกบิณฑบาตเดินสงบสำรวมเรียงเป็นแถวลง<br />

มาจากเนินเขาร่วมกับพระเทพสิทธาคมเจ้าคณะ<br />

จังหวัดตาก พระครูสุธีวุฒิคุณเจ้าอาวาสวัดโพธิ-<br />

คุณ พร้อมคณะสงฆ์วัดโพธิคุณ จำนวนพระสงฆ์<br />

ออกบิณฑบาตในวันนี้ร่วม ๘๐ รูป<br />

พุทธศาสนิกชนรอใส่บาตรตลอดทาง<br />

มหาบุญนี้ที่รอคอยได้ตักบาตรพระสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดิน คุณสุทธา สายวาณิชย์ รองผู้ว่าราชการ<br />

จังหวัดตาก พร้อมข้าราชการจังหวัดตาก ได้แก่<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย


306 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 307<br />

วันที่ ๑๑ สวัสดี - ตาก โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สำนักงานพระพุทธศาสนา สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดตาก สำนักงานคุมประพฤติสาขา<br />

แม่สอด สำนักงานวัฒนธรรม และสำนักงานที่ว่าการอำเภอเมืองตาก พร้อมด้วยนักธุรกิจ<br />

นำโดยคุณทวีกิจ จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก พ่อค้า ประชาชน ร่วม<br />

ใส่บาตรกันอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง ข้าวปลาอาหารคาวหวานทั้งอาหารสด อาหารแห้ง ดอกไม้<br />

ธูปเทียน ตั้งเรียงเต็มโต๊ะเตรียมมาใส่บาตรกัน ต่างคนต่างตั้งใจบำเพ็ญทานสั่งสมอริยทรัพย์<br />

และเมื่อใส่บาตรเสร็จแล้วได้ร่วมกันถวายภัตตาหารเช้าแด่คณะสงฆ์ ในการนี้คุณทวีกิจ<br />

จตุรเจริญคุณมีจิตศรัทธาร่วมเป็นเจ้าภาพภัตตาหารถวายคณะพระสงฆ์และเลี้ยงอาหาร<br />

คณะธรรมยาตราด้วย<br />

เสร็จกิจกุศลแรกแต่เช้าตรู่แล้วต่างอิ่มท้องอิ่มใจ มีอริยทรัพย์เพิ่มพูนกันถ้วนหน้า


308 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 309<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

เวลาฤกษ์งามยามสะดวกประมาณ ๐๘.๐๐ น. คณะพุทธบริษัทได้มา<br />

ประชุมกัน ณ สถานที่ที่ทางวัดโพธิคุณได้จัดเตรียมไว้สำหรับปลูกต้นพระ<br />

ศรีมหาโพธิ์คือด้านข้างพระอุโบสถ พระธรรมวรนายกพร้อมคณะสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดิน ร่วมกับพระเทพสิทธาคม เจ้าคณะจังหวัดตาก พระครูสุธีวุฒิคุณ<br />

เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ พร้อมด้วยคณะอุบาสกอุบาสิกานำโดยคุณสุทธา<br />

สายวาณิชย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน<br />

ส่วนคณะธรรมยาตรานำโดย ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ และคณะธรรมยาตรา<br />

พลเอก วิชิต ยาทิพย์ นายกสภาเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทย-เมียนมา<br />

คุณทวีกิจ จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก ร่วมกัน<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ท่ามกลางเสียงสวดมนต์ชยันโตจากคณะสงฆ์<br />

๕ แผ่นดิน เพื่อความงอกงามด้วยสิริมงคล ต้นพระศรีมหาโพธิ์นี ้ตั้งใจ<br />

อัญเชิญมาจากเมืองคยา ประเทศอินเดีย เพื่อมาปลูกในแผ่นดินทุกสถานที่<br />

ที่คณะธรรมยาตราไปเยือน เป็นเครื่องหมายประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่า<br />

ขบวนธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินเคลื่อนผ่าน เพื่อประกาศเจตนารมณ์ไป<br />

ชั่วลูกชั่วหลานถึงความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างประเทศชาวพุทธใน<br />

ดินแดนสุวรรณภูมิหรือดินแดนลุ่มน้ำโขง และเป็นสิ่งแทนความตั้งมั่น<br />

ในการบูชาพระคุณอันประเสริฐยิ่งใหญ่แห่งพระรัตนตรัย เป็นการประกาศ<br />

ความตั้งใจของชาวคณะธรรมยาตราในการทำงานมุ่งหนุนเสริมและปกป้อง<br />

พระพุทธศาสนา รณรงค์ให้ทุกภาคส่วนนำพระธรรมคำสอนมาปฏิบัติ<br />

จริง และนำไปแก้ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อความสงบสันติในภาคพื้น<br />

แผ่นดินสุวรรณภูมิหรือแผ่นดินลุ่มน้ำโขง เหมือนดินแดนแห่งอดีตที่เคย<br />

เป็นสุวรรณภูมิ แผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง


310 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 311<br />

วันที่ ๑๑ สวัสดี - ตาก<br />

อำลาวัดโพธิคุณ วัดชายแดนไทย-เมียนมา<br />

อำลาจากวัดโพธิคุณ วัดกลางป่าชายแดนไทย-เมียนมา<br />

ด้วยความทรงจำประทับใจจากการต้อนรับอันอบอุ่นเปี่ยม<br />

กุศลจิตของทุกท่านผู้มีศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา<br />

พระครูสุธีวุฒิคุณ เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณได้เผยถึงความ<br />

รู้สึกเกี่ยวกับการมาเยือนของคณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ<br />

ว่า “รู ้สึกปีติที่ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของงานธรรมยาตรา ๕<br />

แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์<br />

ในการสร้างความมั่นคงและความเป็นปึกแผ่นของพระพุทธ-<br />

ศาสนา ซึ่งสอดคล้องกับงานของวัดโพธิคุณ ด้วยวัดนี้เป็นวัด<br />

ชายแดน อาตมาตั้งใจสานต่อความแน่นแฟ้นระหว่างพระสงฆ์<br />

ไทยและพระสงฆ์เมียนมา ผ่านการจัดโครงการแลกเปลี่ยน<br />

พระสงฆ์เพื่อศึกษาแนวปฏิบัติธรรมระหว่างกัน อาตมามี<br />

ความมั่นใจว่า เมื่อพุทธบริษัทเราสามารถมาพบปะกัน แม้<br />

ต่างภาษา แต่ข้อปฏิบัติชาวพุทธมีความคล้ายคลึงกันมาก<br />

ในเรื่องทำวัตรสวดมนต์ นั่งสมาธิ หรือการปฏิบัติต่อพระสงฆ์<br />

ก็มีความใกล้เคียงกัน การศึกษาแนวทางปฏิบัติธรรมระหว่าง<br />

กันอาจไม่ต้องใช้ภาษาพูด ใช้เพียงภาษากายก็สามารถศึกษา<br />

เรียนรู้แลกเปลี่ยนเรื่องการปฏิบัติธรรมระหว่างกันได้”<br />

ก่อนลาจากวัดโพธิคุณ คณะธรรมยาตราได้ถ่ายภาพ<br />

หมู่เป็นที่ระลึกโดยมีฉากหลังเป็นพระอุโบสถที่งดงามสง่า<br />

สงบ จากนั้นออกเดินทางสู่ด่านพรมแดนแม่สอด ตั้งอยู่ที่<br />

ตำบลท่าสายลวด สุดทางหลวงหมายเลข ๑๐๕ (สายตาก–<br />

แม่สอด) เพื่อเข้าสู่ประเทศเมียนมา ประเทศที่ ๕ ซึ่งเป็นประเทศสุดท้ายของการธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดิน ตามกำหนดการคณะธรรมยาตราจะลงรถบัสที่ด่านพรมแดนแม่สอดและตั้ง<br />

ขบวนเดินเท้าเข้าสู่ประเทศเมียนมา ตามเส้นทางสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา สะพานข้าม<br />

แม่น ้ำเมยระหว่างอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก กับจังหวัดเมียวดี ประเทศเมียนมา ซึ่งเป็น<br />

จังหวัดที่มีตลาดการค้าชายแดนที่สำคัญ เมียนมาจัดไว้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน<br />

สำหรับสะพานนี้สร้างขึ้นเพื่อเชื่อมถนนสายเอเชียจากประเทศไทยสู่สหภาพเมียนมา ตลอด<br />

จนภูมิภาคเอเชียใต้ถึงตะวันออกกลางและยุโรป เป็นประตูสู่อินโดจีนและอันดามัน


312 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 313<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

“ขบวนธรรมยาตรากับขบวนพุทธบริษัทเมียนมารวมกัน<br />

ณ เส้นแบ่งพรมแดนระหว่างไทยกับเมียนมา<br />

บนสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมากลางแม่นํ้ำเมย” มีนกะลาบา<br />

เมียนมา<br />

พุทธมิตร ๕ แผ่นดิน<br />

โชติช่วงที่เมียนมา<br />

เมื่อคณะเดินทางมาถึงบริเวณด่านพรมแดนแม่สอด<br />

จังหวัดตาก ขบวนธรรมยาตรานำโดยพระธรรม<br />

วรนายก พระเทพสิทธาคม เจ้าคณะจังหวัดตาก<br />

พระครูสุธีวุฒิคุณ เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ และคณะ<br />

สงฆ์ ๕ แผ่นดิน พร้อมด้วยคณะธรรมยาตราร่วม<br />

๑๐๐ รูป/คน นำโดย ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการ<br />

สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ พลเอก วิชิต ยาทิพย์<br />

นายกสภาเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทย-เมียนมา<br />

ฝ่ายข้าราชการจังหวัดตากนำโดยคุณสุทธา สาย-<br />

วาณิชย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก พร้อมหน่วยงาน<br />

สำนักงานพระพุทธศาสนา สำนักงานคุมประพฤติ<br />

จังหวัดตาก และสำนักงานคุมประพฤติสาขาแม่สอด<br />

สำนักงานวัฒนธรรม และสำนักงานที่ว่าการอำเภอ<br />

เมืองตาก พร้อมด้วยนักธุรกิจนำโดยคุณทวีกิจ<br />

จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด<br />

ตาก ขบวนธรรมยาตราเดินกันไปเป็นแถว มองไปที่<br />

จุดแบ่งแดนไทย-เมียนมาเห็นคณะชาวพุทธเมียนมา<br />

ยืนรอคอยต้อนรับ


“นักเรียนและประชาชนจํานวนมากยืนเป็นแถวหน้ากระดานต่อกันยาว<br />

หลายกิโลเมตร โบกธงต้อนรับคณะธรรมยาตรา ภาพความประทับใจ<br />

จากนํ้ำใจของชาวเมืองยากเกินจะบรรยาย เมืองเมียวดีวันนี้ประกาศ<br />

ให้เป็นวันหยุดราชการ รวมทั้งห้างร้านก็หยุดการค้าขาย<br />

ราวกับผู้คนทั้งเมืองปิดเมืองรอต้อนรับ”


316 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 317<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมียวดี<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา-เมียนมา<br />

ณ จุดเส้นข้ามแดนคณะพุทธบริษัทเมียนมาจำนวน<br />

มากกว่า ๒,๕๐๐ คน นำโดยพระติปิตะกะ ทานะ พุทธันตะ<br />

(Most Ven.Tipitaka Daya Buddanta) พระภัททันตะ<br />

นาคะทีปะ (Most Ven. Baddana Naga Dipa, Sayadow<br />

Bhaddanta Naginda Agga Maha Sadhama Jotikadaja<br />

Kyalk) เจ้าอาวาสวัดไจทีเซา (Kyaik Htee Saung Pagoda)<br />

พร้อมคณะสงฆ์เมียนมา ฝ่ายฆราวาสเมียนมานำด้วย ดร.คิน<br />

ฉ่วย (Dr. Khin Shwe) มหาอุบาสก ประธานสหพันธ์พุทธ<br />

เถรวาทเมียนมา พร้อมด้วยนายพันตรี มู่ตง (Mutong) ผู้นำ<br />

ทหารรัฐกะเหรี่ยง และขบวนมหาอุบาสกอุบาสิกา ข้าราชการ<br />

พ่อค้าประชาชนชาวเมียนมาจำนวนมาก ร่วมต้อนรับคณะ<br />

ธรรมยาตราในบรรยากาศอบอุ่น<br />

ขบวนธรรมยาตรากับขบวนพุทธบริษัทเมียนมารวม<br />

กันเป็นหนึ่ง ณ เส้นแบ่งพรมแดนไทยกับเมียนมาบนสะพาน<br />

มิตรภาพไทย-เมียนมากลางแม่น้ำเมย หรือเรียกเป็นภาษา<br />

เมียนมาว่าแม่น้ำต่องยิน จัดให้มีพิธีมอบสัญลักษณ์ธรรม<br />

ยาตราอย่างยิ่งใหญ่ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ และท่านรองผู้ว่า<br />

ราชการจังหวัดตากได้มอบเสาธรรมจักร ธงธรรมยาตรา ๕<br />

แผ่นดิน และธงฉัพพรรณรังสี โดยมีนายอูคินซุ่ย ประธาน<br />

คณะกรรมการฝ่ายการดูแลศาสนาพุทธ ประเทศเมียนมา<br />

เป็นผู้รับมอบ พร้อมนายพันตรี มู่ตง ผู้นำทหารจากรัฐ<br />

กะเหรี่ยง ผู้ว่าราชการจังหวัดเมียวดี หัวหน้าส่วนราชการ<br />

และประชาชนในจังหวัดเมียวดี เดินทางมาร่วมพิธีมอบตรา<br />

สัญลักษณ์และร่วมต้อนรับในครั้งนี้อย่างสามัคคีพร้อมเพียง พร้อมกันนี้ทางผู ้นำรัฐกะเหรี่ยง<br />

ได้มอบเสื้อประจำรัฐกะเหรี่ยงให้ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ จากนั้น ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ได้สวม<br />

เสื้อประจำรัฐกะเหรี่ยงเข้าร่วมในขบวนพิธีต้อนรับ จังหวัดเมียวดีเป็นเมืองใหญ่อันดับสองของ<br />

รัฐกะเหรี่ยงในประเทศเมียนมา การมอบเสื้อประจำรัฐกะเหรี่ยงจึงเสมือนการกระชับมิตร<br />

อย่างเต็มพิธี พิธีการยิ่งใหญ่ดำเนินไปอย่างเรียบง่าย ผู้นำเมียนมาอัญเชิญเสาธรรมจักร ธง<br />

ธรรมยาตรา และธงฉัพพรรณรังสีเข้าประเทศเมียนมา สัญลักษณ์ความสมานฉันท์แห่งพุทธมิตร<br />

เพื่อความสงบสันติแห่งแผ่นดินลุ่มน้ำโขงกระชับแน่นแฟ้น


318 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 319<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี-อยุธยา<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ริ้วขบวนต้อนรับวิจิตรตระการตา<br />

เมื่อฝ่ายเมียนมารับสัญลักษณ์ธรรมยาตราเรียบร้อย<br />

ริ้วขบวนก็เริ่มยาตรา ดนตรีเมียนมาบรรเลงสด ผู้<br />

อัญเชิญพระพุทธรูปสีทองคำศักดิ์สิทธิ์ของประเทศ<br />

เมียนมาเดินเป็นลำดับหน้า ต่อมาเป็นผู้อัญเชิญธรรม-<br />

จักร ธงธรรมยาตรา ธงฉัพพรรณรังสี ตามด้วยขบวน<br />

หนุ่มสาวที่แต่งกายคล้ายเทพบุตรเทพธิดา ประหนึ่ง<br />

เปรียบเทพบุตรเทพธิดาในดินแดนทั้งโลกสวรรค์ก็มา<br />

ต้อนรับคณะธรรมยาตราด้วย ในขบวนยังมีเด็กๆ และ<br />

หนุ่มสาวที่แต่งตัวดูน่าตื่นตาตื่นใจด้วยสีสันของเสื้อผ้า<br />

เครื่องแต่งกายที่แสดงถึงเอกลักษณ์ประเพณีของชาติ<br />

นักเรียนและประชาชนจำนวนมากยืนเป็นแถวหน้า<br />

กระดานต่อกันยาวหลายกิโลเมตร โบกธงต้อนรับคณะ<br />

ธรรมยาตรา ภาพแห่งความประทับใจจากน้ำใจของ<br />

ชาวเมืองยากเกินจะบรรยาย เมืองเมียวดีวันนี้ประกาศ<br />

ให้เป็นวันหยุดราชการ รวมทั้งห้างร้านก็หยุดการค้า<br />

ขาย ราวกับผู้คนทั้งเมืองปิดเมืองรอต้อนรับเรา ชาว<br />

พุทธจำนวนหลายหมื่นคนที่มาร่วมงานในวันนี้ต่างส่ง<br />

เสียงต้อนรับคณะพระธรรมทูตจาก ๕ แผ่นดิน บ้าง<br />

ก็ร่ายรำตามจังหวะเพลงประจำเผ่า บ้างก็ร้องเพลง<br />

พื้นเมือง บ้างก็สวดมนต์ซึ่งล่ามได้ช่วยแปลความหมาย<br />

ให้ว่า ขอท่านเดินทางปลอดภัยและขอให้ท่านสุขภาพ<br />

แข็งแรง


320 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 321<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมียวดี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ในขบวนชาวเมียนมาแต่งกายด้วยชุดประจำชาติที่เรียกว่าลองยี (Longyi) ผ้าโสร่งที่<br />

นุ่งได้ทั้งชายและหญิง ผู้ชายใส่เสื้อเชิ้ตคอปกจีนและเสื้อคลุมไม่มีปก บางคนโพกผ้าที่ศีรษะ<br />

เรียกว่ากองบอง (Guang Baung) บางคนห่มสไบ ส่วนหญิงสาวสวมเสื้อติดกระดุมหน้าเรียก<br />

ว่ายินซี (Yinzi) หรือเสื้อติดกระดุมข้างเรียกว่ายินบอน (Yinbon) และห่มผ้าคลุมไหล่ทับ<br />

นอกจากนี้ยังมีการแต่งกายประจำชาติพันธุ์ต่างๆ เช่น แบบชาวมอญผู้ชายสวมผ้านุ่งยาว<br />

เสื้อคอกลมผ่าอก แขนกระบอก กระดุมผ้า สาวมอญสวมผ้านุ่ง สวมเสื้อตัวในคอกลมแขน<br />

กุดตัวสั้นแค่เอวรัดรูปพอดี สวมทับด้วยเสื้อลูกไม้ฉลุแขนยาวทรงกระบอก ห่มผ้าสไบที่เรียก<br />

ว่าหยาดโด๊ด สาวๆ นิยมเกล้าผมมวยค่อนต่ำประดับด้วยดอกไม้หรือผ้าคลุมมวยผมสีสดใส<br />

สำหรับชุดประจำชาติพันธุ์กะเหรี่ยงเป็นเสื้อทรงคล้ายกระสอบตัดเย็บด้วยผ้าฝ้ายที่ย้อมและ<br />

ทอเอง<br />

ส่วนใบหน้าของหญิงสาวรวมไปถึงเด็กต่างแต่งหน้ากันมาพร้อม ส่วนใหญ่ประแป้งหน้า<br />

ขาวมาด้วย การประแป้งเช่นนี้ไม่ได้ทำเพื่อรักษาผิวพรรณความงามเท่านั้น แต่เพื่อแสดง<br />

ความศรัทธาด้วยเพราะแป้งที่นำมาทาคือแป้งที่ทำจากไม้ทานาคา ชาวเมียนมาเชื่อว่าแป้ง<br />

ทานาคาคือเศษดินที่ติดอยู่ใต้พระบาทขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงนิยมนำมา<br />

ทาหน้าด้วยความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนานั่นเอง<br />

เมียนมาบัญญัติให้ “ศาสนาพุทธ” เป็นศาสนาประจำชาติเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยมี<br />

ประชากรเมียนมานับถือศาสนาพุทธร้อยละ ๙๐ ในการต้อนรับและร่วมบุญที่เมียวดีครั้งนี้<br />

จึงเห็นพลังพุทธสามัคคีอย่างชัดเจน แม้ว่าเมียนมามีความแตกต่างเรื่อง “ชาติพันธุ์” แต่วันนี้<br />

ความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้รวมทุกชาติพันธุ์ไว้เป็นหนึ่งเดียว คือรวมด้วย<br />

พลังแห่งความมั่นคงในพระรัตนตรัย ฝักใฝ่ทำบุญทำทานเป็นเนืองนิจ ทำให้พวกเราทุก<br />

เผ่าพันธุ์เชื้อชาติได้มาทำบุญทำกุศลร่วมกันในงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินครั้งนี้<br />

คุณสุทธา สายวานิชย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตากกล่าวว่า “ประชาชนที่นี่เคร่งครัดใน<br />

พระพุทธศาสนามาก ทุกวันพระชาวไทยและชาวเมียนมาจะเข้าวัดฟังธรรม ทำบุญตักบาตร


322 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 323<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมียวดี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ความสัมพันธ์จึงแน่นแฟ้นมาตลอด เมื่อมีการจัดประชุมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาครั้งใด<br />

ประชาชนทั้งสองฝั่งจะพร้อมใจกันมาก จนมีการจัดทำบุญบนสะพานมิตรภาพบ่อยครั้ง<br />

และมีชาวไทยกับชาวเมียนมาร่วมงานคับคั่ง ยิ่งครั้งนี้มีพระสงฆ์จาก ๕ ประเทศจัดขบวน<br />

ธรรมยาตราเข้ามาก็จะทำให้ความสัมพันธ์ดีเพิ่มมากขึ้นไปอีก”<br />

คุณทวีกิจ จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตากกล่าวว่า “ด้าน<br />

ความสัมพันธ์โดยเฉพาะในแง่ธุรกิจมีการให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันด้วยดีทั้ง<br />

ชาวแม่สอดและชาวเมียวดี โดยเฉพาะนโยบายการเชื่อมโยงด้านศาสนาถือเป็นตัวช่วยให้<br />

บังเกิดความสัมพันธ์ที่ดี ยิ่งมีขบวนธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินเคลื่อนเข้ามาเช่นนี้จะทำให้<br />

บรรยากาศแห่งความร่วมมือดีขึ้นไปอีก เพราะได้รับความสนใจและสร้างความปลาบปลื้ม<br />

ใจให้ประชาชน ๒ ประเทศเป็นอย่างมาก”<br />

ชาวเมียนมารอใส่บาตรแน่นขนัด<br />

ทันทีที่คณะเดินทางผ่านด่านข้ามเข้าไปสู่เมืองเมียวดีที่ชาวพื้นเมืองเรียกว่า “บะล้ำบะตี๋”<br />

ดร.คิน ฉ่วย มหาอุบาสกผู้นำคณะต้อนรับได้นิมนต์พระสงฆ์จากคณะธรรมยาตราไปบิณฑบาต<br />

ที่ตลาดเมืองเมียวดี ย่านเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเมียนมา-ไทย วันนี้ร้านค้าส่วนใหญ่ปิด<br />

เพื่อให้คนมาร่วมทำบุญ มีชาวเมียนมาปักหลักรอใส่บาตรกันอยู่จำนวนมาก บรรยากาศที่<br />

ร่มรื่น ท้องฟ้าแจ่มใสเป็นใจกับน้ำใจศรัทธาประชาชนที่มากล้น ทำให้การเดินทางไกลหลาย<br />

กิโลเมตรเพื่อใส่บาตรในวันนี้เต็มไปด้วยความแช่มชื่น แม้แถวใส่บาตรจะแน่นขนัดจน<br />

ค่อนข้างเบียดเสียด แต่สีหน้าบ่งบอกถึงความตั้งใจทำบุญนั้นคือกุศลจิตที่ชาวเมียนมามี<br />

อย่างท่วมท้น ข้าวปลาอาหารแห้งเงินทองเตรียมมามากเพียงพอสำหรับถวายพระสงฆ์<br />

ทุกรูป มีการวางแผนการใส่บาตรอย่างดี จึงเห็นว่าทุกระยะจะมีผู้ชายปีนขึ้นไปบนโต๊ะคอย<br />

โบกพัดให้คณะสงฆ์เพื่อบรรเทาความร้อนระหว่างเดินรับบิณฑบาตตลอดทาง<br />

พุทธศาสนิกชนชาวเมียนมารู้สึกดีใจและเป็นบุญที่ได้ตักบาตรคณะพระสงฆ์ธรรมยาตรา


324 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 325<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมียวดี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

คุณบัวนวลและคุณมากาเร็ต สาวชาวเมียนมาเล่าว่า “คนที่นี่ส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธ เคร่งครัด<br />

ในพระพุทธศาสนา เตรียมตัวต้อนรับคณะธรรมยาตรากันอย่างดี ยังไม่เคยเห็นภาพแบบนี้<br />

มาก่อน รู้สึกปลื้มใจ มีความสุข เป็นบุญ ชาวเมียนมาชอบทำบุญอยู่แล้ว และบุญแบบนี้<br />

ไม่ได้มีบ่อยๆ ครั้งนี้เป็นครั้งแรกในชีวิต”<br />

ในส่วนของเงินที่ประชาชนนำมาใส่บาตรนั้น คณะพระสงฆ์ตกลงกันว่าจะนำไปรวม<br />

กันและให้วัดแต่ละประเทศสำหรับทะนุบำรุงพระพุทธศาสนาสืบไป<br />

พิธีต้อนรับที่วัดส่วยมินวุ่น จังหวัดเมียวดี<br />

ดร.คิน ฉ่วยนำคณะมาที่วัดส่วยมินวุ่น (Shwe Myinn Wun Pagoda) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่ง<br />

ว่าเจดีย์ชเวเมียนโหว่นเซตี้ ส่วนคนไทยนิยมเรียกว่าวัดเจดีย์ทอง เมื่อคณะเดินทางมาถึงพบ<br />

ประชาชนชาวเมียนมาจำนวนมากมาชุมนุมรอคอยบนศาลา ครั้นทุกฝ่ายพร้อมพิธีต้อนรับก็<br />

เริ่มขึ้นด้วยการกล่าวต้อนรับอย่างเป็นทางการโดย Most Ven. Pyin Nar Narda เจ้าคณะจังหวัด<br />

เมียวดี Mr. Htoo Lwin ผู้ว่าราชการจังหวัดเมียวดี Mr. Phyo Zaw Koko นายอำเภอเมือง


326 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 327<br />

วันที่ ๑๐ สวัสดี-นครสวรรค์<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เมียวดี Mr. Lol Mue Tol, Mr. Than Zin Auda สมาชิกสภาผู้แทน<br />

ราษฎรจังหวัดเมียวดี พร้อม ดร.คิน ฉ่วยและท่านผู้ทรงคุณวุฒิเมือง<br />

เมียวดีมาร่วมงานอย่างพร้อมเพรียง จากนั้นเป็นพิธีมอบของที่ระลึก<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิเมืองเมียวดีร่วมถวายพระพุทธรูปแด่ผู้แทนคณะสงฆ์ทั้ง<br />

๕ ประเทศ ผู้ว่าราชการจังหวัดเมียวดีมอบของที่ระลึกแด่ ดร.สุภชัย<br />

วีระภุชงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิเมืองเมียวดีมอบของที่ระลึกแด่ตัวแทนฆราวาส<br />

ทั้ง ๕ ประเทศ จากนั้นผู้นำสงฆ์เมียนมากล่าวสัมโมทนียกถา ผู ้นำ<br />

สงฆ์เมียนมานำประชาชนสวดมนต์เป็นภาษาบาลีสำเนียงเมียนมา<br />

ประชาชนนั่งเรียบร้อยในชุดประจำชาติเต็มรูปแบบสวดมนต์ออก<br />

เสียงเต็มพลังเสียง บรรยากาศศักดิ์สิทธิ์พร้อมเพรียงมาก เมื่อสวดมนต์<br />

เสร็จก็รับพรและอุทิศบุญกุศล เรียบร้อยแล้วจึงช่วยกันลำเลียงอาหาร<br />

ถวายพระ โดยจัดอาหารเป็นสำรับ พระสงฆ์นั่งล้อมวงกันฉันภัตตาหาร<br />

วัดส่วยมินวุ่นอยู่ห่างจากจุดผ่านแดนราวๆ ๑.๕ กิโลเมตร<br />

เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของเมืองเมียวดี สันนิษฐานว่าสร้างมาก่อน<br />

สมัยอยุธยา ภายในประดิษฐานพระมหามุนีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์<br />

พระมหามุนีองค์นี้มีลักษณะคล้ายกับพระพุทธรูปซึ่งประดิษฐานที่<br />

เมืองมัณฑะเลย์ ส่วนองค์เจดีย์สีทองเป็นศิลปะมอญ-เมียนมา มียอด<br />

ฉัตรเป็นทองคำประดับด้วยอัญมณี มีความพิเศษคือเจดีย์นี้ไม่มีเงา<br />

ด้วยการออกแบบที่น่าอัศจรรย์อันมาจากความศรัทธาเลื่อมใสต่อ<br />

พระรัตนตรัยอย่างสูงที่สุด เจดีย์ทองแห่งนี้ประชาชนทั้งชาวไทยและ<br />

ชาวเมียนมานิยมมากราบสักการบูชาเพื่อความเป็นสิริมงคล จากนั้น<br />

คณะธรรมยาตราได้กราบสักการบูชาพระพุทธรูปและเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์<br />

คู่บ้านคู่เมืองก่อนออกเดินทางไปยังจุดหมายต่อไป


328 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 329<br />

“พิธีต้อนรับที่วัดส่วยมินวุ่น จังหวัดเมียวดี อุบาสกอุบาสิกา<br />

มาร่วมงานอย่างคับคั่ง นับเป็นพยานแห่งกุศลศรัทธาที่มั่นคง<br />

ที่ชาวเมียนมามีต่อพระพุทธศาสนา”


330 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 331<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พระมหาเจดีย์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากผู้ปกครองท้องถิ่น พร้อมทั้งพระราชาโอกกะละปา<br />

(Okkalapa) ต่อมาพระมหาเจดีย์ถูกทิ้งร้างไว้จนทรุดโทรม และได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์จน<br />

พระมหาเจดีย์มีความสูงถึง ๔๐ เมตร ต่อมาได้กลายเป็นสถานที่แสวงบุญอันมีชื่อเสียงและ<br />

เป็นศูนย์รวมใจของพุทธศาสนิกชนในเมียนมาและชาวพุทธทั่วโลก ความศรัทธาต่อองค์<br />

เจดีย์ชเวดากองที่เมืองย่างกุ้งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดเจดีย์ชเวดากองจำลองขึ้นที่นี่ เมื่อ<br />

ขึ้นไปสักการะพระเจดีย์จะมองเห็นทิวทัศน์เมืองเมียวดีได้ทั้งเมืองและเห็นสีทองอร่ามของ<br />

เจดีย์ในวัดต่างๆ ในเมืองเมียวดี อันแสดงว่าชาวเมียนมามีความเลื่อมใสต่อพระพุทธศาสนา<br />

มองไปทางไหนก็พบมหาศรัทธาที่ชาวพุทธได้อุทิศเสียสละสร้างวัดวาอารามทำนุบำรุงพระพุทธ<br />

ศาสนา<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ เจดีย์ชเวดากองจำลองแห่งเมียวดี<br />

คณะธรรมยาตราได้เดินทางต่อไปยังวัดที่คนไทยนิยมเรียกว่า วัดเจดีย์ชเวดากองจำลอง<br />

(Maharkana Ka Swal) เพื่อทำพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ทันทีที่คณะธรรมยาตราลงจาก<br />

รถบัส ภาพที่เห็นคือประชาชนชาวเมียนมาแต่งชุดประจ ำชาติพันธุ์รอคอยต้อนรับอยู่เนืองแน่น<br />

ผู้คนตั้งใจเดินทางมากันอย่างล้นหลาม เพื่อร่วมบุญร่วมกุศลปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ท่ามกลาง<br />

เปลวแดดที่ร้อนระอุ<br />

วัดเจดีย์ชเวดากองจำลองนี้ชาวบ้านนิยมมากราบสักการบูชานับถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

องค์เจดีย์ตั้งบนเนินเขา สร้างเป็นรูปทรงเจดีย์โดยจำลองมาจากเจดีย์ชเวดากองที่เมืองย่างกุ้ง<br />

อันเป็นมหาเจดีย์ที่ชาวเมียนมาเลื่อมใสศรัทธา ตำนานบันทึกว่าเจดีย์ชเวดากองสร้างขึ้น<br />

ไม่น้อยกว่า ๒,๖๐๐ ปีมาแล้ว หลังจากพี่น้องพ่อค้า ๒ คนคือ ตปุสสะ และภัลลิกะได้ไปเข้าเฝ้า<br />

พระพุทธเจ้า พระองค์ประทานพระเกศาให้พ่อค้าทั้งสองมา ๘ เส้น ภายหลังพ่อค้าทั้งสอง<br />

กลับมายังเมียนมา ได้มายังบริเวณเนินเขาเชียงกุตรเพื่อนำพระเกศามาประดิษฐานไว้ที่


332 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 333<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมียวดี โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

การมาเยือนของคณะธรรมยาตรา ๕<br />

แผ่นดินฯ ในครั้งนี้แม้ไม่ได้เยือนเจดีย์ชเวดาก<br />

อง ณ เมืองย่างกุ้ง แต่วันนี้ถือเป็นมงคลสูงยิ่ง<br />

ที่ได้มาเยือนเจดีย์ชเวดากองจำลอง ได้เดินทาง<br />

ไปสถานที่ที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเมียนมา<br />

ในการนี้ทางวัดได้จัดสถานที่ปลูกต้นพระศรี<br />

มหาโพธิ์ ไว้บริเวณใกล้พระเจดีย์ชเวดากอง<br />

จำลอง มีการกางฉัตรสีขาวประดับด้วยใบโพธิ์<br />

ทองให้คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินอัญเชิญหน่อ<br />

พระศรีมหาโพธิ์ เมื่อมาถึงแล้วคณะสงฆ์เจริญ<br />

พุทธมนต์คาถา ผู้นำสงฆ์ ๕ แผ่นดิน พร้อม<br />

ผู้นำสงฆ์ฝ่ายเมียนมา พระนาคะทีปะ และ<br />

คณะสงฆ์วัดพระธาตุเขี้ยวแก้ว ดร.คิน ฉ่วย<br />

นายพันตรี มู่ตง ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ พร้อม<br />

คณะร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๑๑<br />

ตลอดจนศรัทธามหาชนก็ได้ร่วมปลูกด้วย เมื่อ<br />

เสร็จสิ้นพิธีแล้วออกเดินทางต่อไปยังจังหวัด<br />

พะอัน เมืองหลวงของรัฐกะเหรี่ยง การปกครอง<br />

ของรัฐกะเหรี่ยงมี ๓ จังหวัด คือจังหวัดพะอัน<br />

จังหวัดเมียวดี และจังหวัดกอกาเร็ก เพื่อต่อ<br />

ไปยังเมืองเมาะลำเลิงหรือมะละแหม่งซึ่งเป็น<br />

เมืองหลวงของรัฐมอญสู่จุดหมายต่อไปคือวัด<br />

วินเซนตอยะ<br />

“การมาเยือนของคณะธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ในครั้งนี้แม้ไม่ได้<br />

เยือนเจดีย์ชเวดากอง ณ เมืองย่างกุ้ง แต่วันนี้นับเป็นมงคลสูงยิ่งที่ได้<br />

มาเยือนเจดีย์ชเวดากองจําลอง และได้ร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ณ เจดีย์ชเวดากองจําลองแห่งเมียวดีกับศรัทธามหาชนจํานวนมาก”


334 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 335<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมาะลําเลิง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ตามรอยพระอริยสงฆ์พระภัททันตะ เกสระ วัดวินเซนตอยะ (Win Sein Taw Ya)<br />

ขบวนธรรมยาตรามีรถทหารติดอาวุธครบนำขบวน รถทหารอัญเชิญธงธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

และธงฉัพพรรณรังสีโบกสะบัด ขับนำหน้ารถบัส ๓ คัน ถัดไปเป็นรถคณะทำงานของเมียนมา<br />

ขบวนธรรมยาตรามุ่งไปยังเมืองมูดง (Mudon) ปลายทางของรถไฟสายมรณะในช่วง<br />

สงครามโลกครั้งที่ ๒ มีจุดหมายที่วัดวินเซนตอยะ เมืองเมาะลำเลิงหรือมะละแหม่งหรือ<br />

“มอละมไยง์” (Mawlamyine) ในภาษาทางการเมียนมา คนไทยคุ้นเคยชื่อเมืองมะละแหม่ง<br />

จากตำนานรักต้องห้ามระหว่างมะเมียะสาวแม่ค้าเมืองมะละแหม่งกับเจ้าอุตรการโกศล<br />

(เจ้าน้อยศุขเกษม ณ เชียงใหม่) ที่มาศึกษาวิชาการป่าไม้ที่โรงเรียนเซนต์แพทริกในเมือง<br />

มะละแหม่ง<br />

เมืองเมาะลำเลิงหรือมะละแหม่งเป็นเมืองหลวงของรัฐมอญ เป็นเมืองใหญ่อันดับที่สี่<br />

ของประเทศเมียนมา เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ จึงพบอาคารบ้านเรือนที่มีสถาปัตยกรรม<br />

ศิลปะแนวตะวันตกให้ได้เห็น แต่ถึงเคยเป็นอาณานิคมเมืองนี้ก็เป็นดินแดนที่พระพุทธศาสนา<br />

ประดิษฐานอย่างมั่นคง มีมหาวิทยาลัยสงฆ์ มีวัดวาอารามสำคัญและเก่าแก่จำนวนมาก<br />

และวัดสำคัญวัดหนึ่งที่คณะธรรมยาตราจะไปเยือนก็คือวัดวินเซนตอยะ<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางมาถึงจุดหมายในเวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น. ตามเวลาท้องถิ่น<br />

พระอาทิตย์กำลังจะตก ทราบภายหลังจากพระญาณิสฺสร (Ven Nyanissara) พระสงฆ์มอญ<br />

ซึ่งเป็นพระนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และได้อาสาเข้ามาช่วยเป็นล่าม<br />

ภาษาไทย-เมียนมา-มอญให้คณะธรรมยาตราว่า ชาวบ้านจำนวนมากมายที่เห็นนั้นมารอคณะ


336 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 337<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมาะลําเลิง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ธรรมยาตราตั้งแต่เช้าก็มี เที่ยงก็มี ชาวบ้าน<br />

ศรัทธาในพระพุทธศาสนามาก การรอคอย<br />

นานเท่าไรจึงไม่เป็นเรื่องยุ่งยากหรือลำบาก<br />

แต่ประการใด กลับเป็นเวลาแห่งการบำเพ็ญ<br />

ขันติบารมีไปพร้อมกัน<br />

เมื่อขบวนธรรมยาตราผ่านถนนสวย<br />

งามที่สองข้างทางปลูกต้นปาล์มไว้อย่างเป็น<br />

ระเบียบ ผ่านประตูวัดเข้ามาก็เห็นรูปปั้น<br />

พระสงฆ์อุ้มบาตรจำนวนมากทราบจากข้อมูล<br />

ว่ามีถึง ๒๕๐ องค์ ประชาชนรอคอยอย่าง<br />

แน่นขนัด ทันทีที่คณะสงฆ์เดินลงจากรถ<br />

คณะสงฆ์และอุบาสกอุบาสิกาก็เข้ามาต้อนรับ<br />

และนิมนต์ให้ขึ้นบนวิหารพระภัททันตะ เกสระ<br />

อภิธชะอัคคมหาสัทธัมมะโชติกะ พระวิหาร<br />

สร้างอย่างสง่างดงาม มีหงส์ตัวใหญ่อันเป็น<br />

สัญลักษณ์ของชาวมอญตั้งตระหง่าน ตลอด<br />

ทางเดินที่ผ่านมาพุทธศาสนิกชนชาวมอญ<br />

ต่างร้องรำทำเพลงครึกครื้นรื่นเริงเฉลิมฉลอง<br />

การมาเยือนของคณะธรรมยาตรา<br />

จากนั้นเมื่อประจำที่ในพระวิหาร<br />

เรียบร้อย พักถวายน้ำปานะแด่พระสงฆ์ และ<br />

เลี้ยงอาหารว่างคณะฆราวาส ต่อไปเป็นลำดับ<br />

พิธีการคณะสงฆ์เมียนมานำสวดมนต์พร้อม<br />

อุบาสกอุบาสิกาที่แต่งกายชุดประจำรัฐมอญ<br />

เสียงสวดมนต์ดังก้องทั่วอาคาร จากนั้นคณะสงฆ์<br />

ผู้นำชั้นปกครองของรัฐมอญรวมทั้งพระสงฆ์<br />

ที่ชาวมอญเคารพนับถือได้นำคณะธรรมยาตรา<br />

กราบสักการะพระสรีระอดีตเจ้าอาวาส พระ<br />

ภัททันตะ เกสระ (Ven. Baddanta Kethara)<br />

พระภัททันตะ เกสระมรณภาพเมื่อวันที่ ๒๖<br />

เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ สิริรวมอายุ ๙๕ ปี<br />

พรรษา ๔๕ สังขารยังคงสภาพเป็นที่อัศจรรย์<br />

ด้วยบารมีธรรมที่สั่งสมมา บารมีธรรมของ<br />

พระภัททันตะ เกสระนั้นเป็นที่เลื่องลือ ทั้ง<br />

ชาวมอญและชาวไทยต่างก็เคารพศรัทธา ท่าน<br />

เป็นพระที่เคร่งครัดในการปฏิบัติกัมมัฏฐาน<br />

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล<br />

อดุลยเดช บรมนาถบพิตรทรงพระกรุณาโปรด<br />

เกล้าฯ พระราชทานผ้าพระกฐินมาถวายที่<br />

วัดนี้ ๓ ปีติดต่อกัน เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคต<br />

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช<br />

กุมารีจึงได้พระราชทานผ้าพระกฐินมาถวาย<br />

วัดนี้ต่อ พระภัททันตะ เกสระยังมีความผูกพัน<br />

กับหลวงพ่อพระราชอุดมมงคล (เอหม่อง<br />

อุตฺตมรมฺโภ) หรือหลวงพ่ออุตตมะ เจ้าอาวาส<br />

วัดวังก์วิเวการาม ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี


338 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 339<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมาะลําเลิง<br />

จังหวัดกาญจนบุรีโดยนับเป็นพระพี่ชาย ด้วยว่าทั้งสองท่าน<br />

มีความผูกพันนับถือกัน และยังเป็นพระนักเดินธุดงค์ มักออก<br />

เดินธุดงค์ไปบำเพ็ญธรรมอยู่ในป่าเขาเช่นเดียวกัน แม้ท่าน<br />

มรณภาพไปแล้ว แต่คุณความดีของท่านยังอยู่ในหัวใจของ<br />

เหล่าผู้ศรัทธาและคณะศิษยานุศิษย์ตราบนานเท่านาน จึงนับ<br />

เป็นบุญกุศลที่คณะธรรมยาตราได้เดินทางมากราบสักการะ<br />

สรีรสังขารท่านในโอกาสตามรอยพระอริยสงฆ์ ณ สถานที่<br />

แห่งนี้<br />

วัดวินเซนตอยะ ท่องเที่ยวทางธรรม<br />

วัดวินเซนตอยะเป็นวัดที่คนนิยมมาสักการบูชาและท่องเที่ยว<br />

ทางธรรม ด้วยความเมตตาของพระภัททันตะ เกสระ อดีต<br />

เจ้าอาวาสซึ่งท่านเป็นผู้ออกแบบและควบคุมดูแลรวมทั้งลงมือ<br />

ปฏิบัติเอง เพื่อสร้างให้วัดแห่งนี้เป็นแหล่งเรียนรู้ ปฏิบัติ และ<br />

ท่องเที่ยวทางธรรมสำหรับทุกระดับผู้คนทุกระดับบุญบารมี<br />

วัดวินเซนตอยะอยู่ห่างจากตัวเมืองมอละมไยง์ซึ่งเป็น<br />

เมืองที่มีชาวมอญอาศัยอยู่มากไปทางทิศใต้ประมาณ ๒๐<br />

กิโลเมตร มีพระนอนยาวที่สุดในโลกที่ยังสร้างไม่เสร็จชื่อว่า<br />

“พระนอนวัดวินเซนตอยะ” พระนอนนี้เป็นพระพุทธรูปลักษณะ<br />

บรรทมตะแคงเบื้องขวา ลืมพระเนตร ประดับขนตาอ่อนช้อย<br />

พระเศียรหนุนพระเขนย พระหัตถ์ซ้ายทอดทาบไปตามพระ<br />

วรกาย พระหัตถ์ขวาวางหงายอยู่ข้างพระเขนย พระบาทซ้าย<br />

ทับซ้อนพระบาทขวา พระนขาที่พระบาทเป็นสีชมพู พระนอน


340 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 341<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมาะลําเลิง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

วินเซนตอยะเป็นพระนอนที่ยาวที่สุดในโลก ด้วยขนาด<br />

ยาว ๒๐๐ เมตร สูง ๓๔ เมตร สร้างใน พ.ศ. ๒๕๓๔<br />

ภายในองค์พระแบ่งเป็นชั้นรวม ๘ ชั้น แต่ละชั้นมีรูปปั้น<br />

แสดงพุทธประวัติและแสดงพุทธธรรมคำสอน ออกแบบ<br />

สำหรับพระเณรอยู่จำพรรษา ฆราวาสปฏิบัติพิธีกรรมทาง<br />

ศาสนา นอกจากนี้ยังสามารถออกไปยืนตรงบริเวณพระ-<br />

พักตร์พระนอนเพื่อชมทิวทัศน์และองค์พระนอนได้เต็มตา<br />

ส่วนด้านล่างตรงฐานพระนอนบริเวณทางขึ้นมีสไลเดอร์<br />

เปิดให้ประชาชนมาเล่นน้ำกัน เห็นได้ว่าเป็นการเปิดกว้าง<br />

เพื่อต้อนรับพุทธศาสนิกชนให้เข้ามาใกล้วัดใกล้พระ<br />

นอกจากนี้จุดเด่นที่น่าสนใจยังมีพระอุปคุตหรือ<br />

พระอุปคุปต์หรือพระบัวเข็มปางอุ้มบาตร เงยหน้ามองฟ้า<br />

องค์ใหญ่ พระอุปคุตเป็นพระภิกษุสำคัญรูปหนึ่งในสมัย<br />

พระเจ้าอโศกมหาราช ชื่อ “อุปคุต” แปลว่าผู้คุ้มครองรักษา<br />

พระอุปคุตเป็นพระที่ชาวอินเดียและมอญเคารพนับถือ<br />

เมื่อคณะกราบสักการะสรีรสังขารของพระภัททันตะ<br />

เกสระเรียบร้อยแล้ว คณะสงฆ์ธรรมยาตราได้ตั้งแถวออก<br />

มารับบาตรประชาชนที่รอคอยกันมายาวนานเกินกว่า ๕<br />

ชั่วโมง พระอาทิตย์ตกแล้ว แต่ศรัทธาสาธุชนยังเนืองแน่น<br />

คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินฉลองศรัทธาเดินแถวรับบาตรจน<br />

สิ้นสุด ทุกท่านได้ทำบุญทำกุศลสมจิตปรารถนา อิ่มเอม<br />

กันถ้วนหน้า น้อมส่งบุญกุศลไปโลกวิญญาณ อธิษฐาน<br />

บุญกุศลถึงพระนิพพานเทอญ


342 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 343<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - เมาะลําเลิง โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

“อุบาสกอุบาสิกาแต่งกายสวยงามด้วยชุดประจําชาติ รอคอยพระสงฆ์มา<br />

ยาวนานเกินกว่า ๕ ชั่วโมง แต่ไม่ย่อท้อ ครั้งหนึ่งในชีวิตที่จะได้ใส่บาตร<br />

พระสงฆ์ซึ่งมาจากทิศทั้ง ๔ มาจาก ๕ แผ่นดิน”


344 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 345<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - บีลีน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

มุ่งหน้าสู่วัดไจทีเซา<br />

พระอาทิตย์ตกดินแล้ว คณะธรรมยาตราเดินทางต่อไป รถยนต์<br />

ทหารอาวุธครบนำหน้า ธงธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินคู่กับธง<br />

ฉัพพรรณรังสีปลิวสะบัด จุดหมายมุ่งหน้าวัดเจดีย์ไจทีเซา<br />

(Kyaik Htee Saung Pagoda) เมืองบีลีน (Bilin Township)<br />

ณ หมู่บ้านโซะโตะ (Zoke Thoke) รัฐมอญ<br />

ระหว่างเดินทางไปวัดไจทีเซาขบวนธรรมยาตราได้<br />

ขับผ่านสะพานข้ามแม่น้ำตาน-ลวีน (Thanlwin) หรือแม่น้ำ<br />

สาละวิน สะพานนี้เคยมีชื่อเสียงว่าเป็นสะพานที่ยาวที่สุด<br />

ในเมียนมา แต่ปัจจุบันยาวเป็นอันดับสองรองจากสะพาน<br />

ข้ามแม่น้ำอิรวดีที่เมืองปะโกกู เขตมักกวย ขบวนธรรมยาตรา<br />

ผ่านสะพานนี้ในเวลาค่ำ ใช้เวลาขับรถยนต์ข้ามราว ๕ นาที<br />

ด้วยมีความยาวประมาณ ๓ กิโลเมตร และมีรางรถไฟควบคู่<br />

อยู่บนสะพานด้วย แม่น้ำสาละวินเป็นแม่น้ำนานาชาติสาย<br />

สำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไหลจากที่ราบสูง<br />

ทิเบตลงสู่มณฑลยูนนาน ประเทศจีน และไหลเข้าเมียนมา<br />

ที่รัฐฉาน รัฐคะเรนนี รัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ เป็นพรมแดน<br />

ไทยพม่าบริเวณอำเภอแม่สะเรียงและอำเภอสบเมย จังหวัด<br />

แม่ฮ่องสอน มีความยาวทั้งสิ้น ๒,๘๐๐ กิโลเมตร สะพานนี้<br />

เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการพัฒนาในรัฐมอญกับรัฐกะเหรี่ยง<br />

กับเขตตะนาวศรี ซึ่งมีชายแดนติดกับประเทศไทย<br />

การเดินทางยาวนานของวันนี้สิ้นสุดในเวลาประมาณ<br />

๒๒.๓๐ นาฬิกาตามเวลาท้องถิ ่น คณะได้เดินทางมาถึง


346 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 347<br />

วันที่ ๑๑ มีนกะลาบา - ปิลิน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

วัดไจทีเซา เมื่อเข้าใกล้วัดก็ต้องตื่นตาตื่นใจกับผู้คนที่มาคอยต้อนรับอย่างเนืองแน่น ตั้งแต่<br />

ก่อนทางเข้าวัด ประชาชนสองฝั่งถนนยืนประคองเทียนไว้ในมือดูสว่างไสว พอเข้าถึงวัด<br />

ภายในวัดตกแต่งประดับอย่างสวยงาม ผู้คนแน่นขนัด มีการละเล่นพื้นเมืองต่างๆ หลายคณะ<br />

มาฟ้อนรำบ้าง ร้องเพลงบ้าง เชิดสิงโตก็มี ท่วงทำนองดนตรีเป็นไปในทำนองสนุกสนานรื่นเริง<br />

ปรีดา<br />

ความเนื่องแน่นของผู้คนตลอดเส้นทางในเมียนมาที่ได้พบในวันนี้เป็นประจักษ์<br />

พยานแห่งกุศลศรัทธาที่มั่นคงต่อพระพุทธศาสนา การต้อนรับที่เปี่ยมด้วยความกระตือรือร้น<br />

ใบหน้ายิ้มแย้มในทุกที่ที่ไปเยือน ช่วยละลายความเหนื่อยล้าจากการเดินทางได้เป็นปลิดทิ้ง<br />

ค่ำคืนนี้คณะสงฆ์ปักกลดจำวัดที่วัดไจทีเซา พรุ่งนี้เริ่มเช้าใหม่ ณ รัฐมอญแผ่นดินที่<br />

เจริญรุ่งเรืองด้วยธรรม


วันที่ ๑๒ เมียนมา<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

“ พุทธบริษัทในประเทศเมียนมาเลื่อมใสศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างเต็มจิตใจ<br />

สุขไพบูลย์<br />

มีบันทึกว่าแผ่นดินนี้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่โบราณกาล มีเมืองสะเทิม<br />

หรือสุธรรมวดี อาณาจักรมอญตอนใต้เป็นเมืองหลักที่พระพุทธศาสนาเถรวาท<br />

ย้อนรอยสุวรรณภูมิ<br />

ประดิษฐานอยู่ เช้าวันนี้คณะธรรมยาตราย้อนรอยอดีตที่วัดไจทีเซา เมืองบีลีน<br />

หมู่บ้านโซะโตะ รัฐมอญ ประเทศเมียนมา ก่อนออกเดินทางสู่<br />

พระธาตุอินทร์แขวนเพื่อเจริญพระพุทธมนต์ยามค่ำคืน”<br />

วันพฤหัสบดีที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐


มีนกะลาบา<br />

เมียนมา<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 351<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ย้อนรอยสุวรรณภูมิที่วัดไจทีเซา<br />

พทธบริษัทที่ประเทศเมียนมาเลื่อมใสศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างเต็มจิตใจ<br />

มีบันทึกว่าแผ่นดินนี้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่โบราณกาล มีเมืองสะเทิม<br />

หรือสุธรรมวดี อาณาจักรมอญตอนใต้เป็นเมืองหลักที่พระพุทธศาสนาเถรวาทประดิษฐาน<br />

อย่างมั่นคง เช้าวันนี้คณะธรรมยาตราย้อนรอยอดีตที่วัดไจทีเซา (Kyaik Htee Saung Pagoda)<br />

เมืองบีลีน (Bilin) หมู่บ้านโซะโตะ (Zoke Thoke) รัฐมอญ ประเทศเมียนมา ก่อนออกเดินทาง<br />

สู่พระธาตุอินทร์แขวนเพื่อเจริญพระพุทธมนต์ยามค่ำคืน<br />

วัดไจทีเซามีพระเจดีย์สีทองอร่ามเป็นศูนย์รวมศรัทธาของพุทธบริษัท มีพระบรม<br />

สารีริกธาตุบรรจุอยู่เป็นจำนวนมาก ทั่วบริเวณวัดมีซากหินศิลาแลงโบราณจำนวนมหาศาล<br />

พระพุทธรูป รูปปั้นเทพบุตรเทพธิดา และสิ ่งก่อสร้างภายในวัดจำนวนมากสร้างจาก<br />

หินศิลาแลงโบราณอายุกว่าสองพันปี วัดไจทีเซาเป็นวัดสำคัญของประเทศเมียนมา ตั้งอยู่<br />

ใกล้แม่น้ำบีลีนมีประวัติยาวนาน เป็นแผ่นดินที่รุ่งเรืองด้วยธรรมมาตั้งแต่อดีตกาล ปัจจุบัน<br />

มีพระภัททันตะ นาคะทีปะ (Ven. Bhaddanta Naga Dipa) เป็นเจ้าอาวาสต่อจาก<br />

หลวงพ่อไจทีเซาหรือพระภัททันตะ ปัญญาทีปะ อภิธชะอัคคมหาสัทธัมมะโชติกะที่ได้<br />

มรณภาพไป<br />

วันนี้ชาวบ้านชาวเมืองเต็มแน่นขนัดวัดตั้งแต่เช้าตรู่ ผู้คนแต่งกายด้วยชุดพื้นเมือง<br />

หรือชุดลองยี (Longyi) แบบเต็มยศดูเรียบร้อยงามตา ไม่มีใครใส่รองเท้าหรือแม้แต่ถุงเท้า<br />

เข้ามาในบริเวณวัด เพราะถือกันว่าเป็นการกระทำที่ไม่เคารพพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์<br />

ชาวเมียนมาให้ความเคารพต่อพุทธสถานและยกให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ทุกวันชาวบ้าน<br />

ในหมู่บ้านจะเข้าวัดสวดมนต์กันเนืองนิตย์ วิถีพุทธที่นี่ดำเนินไปอย่างเคร่งครัดตั้งใจ<br />

อีกไม่นานพิธีต้อนรับและเปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินจะเริ่มขึ้น วันที่รอคอย<br />

มาถึงแล้ว หลังจากได้รับข่าวและเร่งเตรียมงาน ต่างคนต่างรู้สึกดีใจและภูมิใจที่ได้เป็น<br />

ส่วนหนึ่งในงานธรรมยาตรา สำหรับกำหนดการที่วัดไจทีเซาวางไว้คือหลังจากพิธีเปิดงาน<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน อุบาสกอุบาสิการ่วมใส่บาตรพระสงฆ์ ๕ แผ่นดินและปลูกต้น<br />

พระศรีมหาโพธิ์ซึ่งอัญเชิญหน่อมาจากเมืองคยา ประเทศอินเดีย บุญใหญ่เช่นนี้ยังไม่เคย<br />

ปรากฏ บรรยากาศแห่งความปรีดาปราโมทย์ของประชาชนในวันนี้เห็นได้ชัดเจน ข้าราชการ<br />

นักธุรกิจ พ่อค้า ประชาชนต่างมาร่วมมหาบุญมหากุศลนี้กันอย่างล้นหลาม<br />

สิริมงคล...กราบสรีรสังขารหลวงพ่อไจทีเซา<br />

เช้าตรู่วันนี้พระภัททันตะ นาคะทีปะ เจ้าอาวาสวัดไจทีเซานำคณะธรรมยาตราเข้ากราบ


352 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 353<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - บีลีน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สักการะสรีรสังขารอดีตเจ้าอาวาสวัดไจทีเซา พระภัททันตะ ปัญญาทีปะ หรือหลวงพ่อ<br />

ไจทีเซาของเหล่าศิษยานุศิษย์<br />

หลวงพ่อไจทีเซาเป็นพระสงฆ์องค์สำคัญในประเทศเมียนมา เป็นที่เคารพของผู้นำ<br />

ประเทศและพุทธศาสนิกชนจำนวนมาก หากจะกล่าวว่าหลวงพ่อไจทีเซาและวัดไจทีเซา<br />

เป็นศูนย์รวมศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวเมียนมาก็ว่าได้<br />

สรีรสังขารท่านบรรจุอยู่ในโลงแก้วตั้งอยู่ชั้นบนของพระวิหาร แม้หลวงพ่อจาก<br />

ไปแล้ว จวบจนวันนี้สังขารท่านที่ปรากฏตรงหน้ามองคล้ายท่านหลับ เนื้อหนังไม่เน่าเปื่อย<br />

ลูกศิษย์ท่านเล่าว่า เล็บของท่านยังคงงอกยาวขึ้นราวกับมีชีวิตอยู่ ทางวัดได้เก็บรักษา<br />

สรีรสังขารท่านเป็นอย่างดี รวมทั้งของใช้ส่วนตัวและถ้ำปฏิบัติที่หลวงพ่อไจทีเซาเคยใช้<br />

เป็นสถานที่ปลีกวิเวก นั่งวิปัสสนากรรมฐาน ทั้งนี้เพื่อให้พุทธบริษัทได้เรียนรู้ปฏิปทาของ<br />

ท่านครั้งมีชีวิต และไม่เฉพาะคนเมียนมาเท่านั้นที่รักบูชาบารมีธรรมของหลวงพ่อไจทีเซา<br />

คนไทยก็มีความผูกพันกับหลวงพ่อด้วย ครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙<br />

ทรงเจริญชนมพรรษา ๘๔ พรรษา หลวงพ่อไจทีเซาได้ทูลเกล้าฯ ถวายพระบรมสารีริกธาตุ<br />

ไปประดิษฐาน ณ พระมหาเจดีย์ ๘๔ พรรษาราชนครินทร์ที่วัดธาตุทอง<br />

ในครั้งนั้นหนังสือพิมพ์คมชัดลึกฉบับวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้พาดหัวข่าว<br />

ว่า พม่าถวายพระบรมสารีริกธาตุ พร้อมผอบหยกทรงเจดีย์หนึ่งเดียวในโลก ค่านับล้านบาท<br />

มาประดิษฐานที่พระมหาเจดีย์ ๘๔ พรรษาราชนครินทร์ที่วัดธาตุทอง ถวายเป็นพระราช<br />

กุศลแด่ในหลวง-พระพี่นางฯ พร้อมเชื่อมความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของทั้งสอง<br />

ประเทศ<br />

ในรายละเอียดของข่าวหลวงพ่อไจทีเซาได้ให้สัมภาษณ์กับคมชัดลึกว่า “การถวาย<br />

พระบรมสารีริกธาตุไปประดิษฐานยังประเทศไทยครั้งนี้ ถือเป็นการถวายเป็นพระราชกุศล<br />

แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง<br />

นราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุของอรหันตสาวกเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

เนื่องจากในดินแดนเมียนมาแห่งนี้พระพุทธองค์ได้เคยเสด็จมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ทั้งนี้<br />

ในวันที่พระมหาเจดีย์องค์นี้สร้างเสร็จสมบูรณ์ หลวงพ่อไจทีเซาจะเดินทางจากเมียนมาไป<br />

ยังประเทศไทย ร่วมพิธียกฉัตรพระมหาเจดีย์องค์นี้ด้วย<br />

“ทั้งสองประเทศเป็นพี่น้องกัน เพราะเรานับถือพระพุทธศาสนาเหมือนกันตั้งแต่อดีต<br />

จนถึงปัจจุบัน การที่อาตมาได้มอบพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

และพระธาตุของพระอัครสาวก จะทำให้เกิดความเป็นสิริมงคลต่อประเทศไทย” หลวงพ่อ<br />

ไจทีเซากล่าว<br />

ณ วันนี้บารมีธรรมของหลวงพ่อประทับอยู่ในจิตใจเป็นศูนย์รวมใจของเหล่าศิษยานุศิษย์<br />

พุทธศาสนิกชนจึงหลั่งไหลมากราบสักการบูชาพระคุณท่านอย่างไม่ขาดสาย เช่นเดียวกับ<br />

คณะธรรมยาตราในวันนี้ พระธรรมวรนายกพร้อมคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน ดร.สุภชัย วีระภุชงค์<br />

และคณะธรรมยาตราได้เดินทางมากราบสักการบูชาบารมีธรรมของท่าน<br />

หลวงพ่อไจทีเซาเป็นแบบอย่างของพระสงฆ์ผู้อุทิศเสียสละทุ่มเทกับภารธุระในพระ<br />

พุทธศาสนา ท่านนำคณะศรัทธาชาวเมียนมาบุกเบิกบูรณะวัดไจทีเซาตั้งแต่เป็นที่ดินรกร้าง<br />

มีเพียงซากเจดีย์ปรากฏให้เห็น บูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมาจนเห็นเป็นวัดไจทีเซาอันสง่าสวยงาม<br />

ในวันนี้ มีพระเจดีย์สีทองอร่ามบรรจุพระบรมสารีริกธาตุประวัติความเป็นมาเก่าแก่กว่า<br />

สองพันปี นอกจากนี้ยังมีวัดและพระเจดีย์อื่นๆ ที่หลวงพ่อไจทีเซาได้สร้างและบูรณปฏิสังขรณ์<br />

รวมแล้วประมาณ ๖๗ แห่ง หลวงพ่อไจทีเซาเป็นผู้เคร่งในพระธรรมวินัย มีมหาเมตตาต่อ<br />

สรรพสัตว์ ท่านยกวัดนี้และวัดในการปกครองของท่านให้เป็นเขตอภัยทานอย่างสมบูรณ์<br />

อาหารเครื่องขบฉันงดเว้นการปรุงจากเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ทำจากสัตว์ทุกชนิด<br />

ภายใต้การปกครองของหลวงพ่อไจทีเซา และสืบทอดต่อมาสู่การปกครองดูแลของ<br />

พระภัททันตะ นาคะทีปะ ผู้เป็นศิษย์ซึ่งได้เจริญรอยตามปฏิปทาของหลวงพ่อไจทีเซา<br />

ปกครองดูแลพุทธบริษัทให้ปฏิบัติตนบำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา และวัดไจทีเซาแห่งนี้ก็เป็นวัด<br />

ที่ชาวบ้านมาสวดมนต์กันทุกวันทั้งกลางวันและกลางคืนไม่ขาด


354 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 355<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

ยิ่งใหญ่อลังการ<br />

พิธีเปิดงานธรรมยาตราฯ ได้จัดขึ้นใน<br />

ช่วงเช้าอย่างยิ่งใหญ่อลังการ คณะสงฆ์<br />

เมียนมานำโดยพระ Tipitaka Daya<br />

Buddanta พระผู้ทรงพระไตรปิฎก<br />

พระภัททันตะ นาคะทีปะ เจ้าอาวาสวัด<br />

ไจทีเซา พระธรรมวรนายกและคณะสงฆ์<br />

ธรรมยาตรา ๕ ประเทศ ฝ่ายฆราวาสมี<br />

ท่านอ่องโก รัฐมนตรีว่าการกระทรวง<br />

ศาสนาและวัฒนธรรมแห่งสหภาพ<br />

เมียนมาเป็นประธานในพิธี และดร.คิน<br />

ฉ่วย ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ พร้อมด้วย<br />

คณะอุบาสกอุบาสิกาจากโครงการธรรม-<br />

ยาตราฯ ตลอดจนชาวพุทธเมียนมานับ<br />

พันร่วมพิธี นอกจากนี้ยังมีพระโสภณ<br />

วชิราภรณ์ รองอธิการบดีฝ่ายต่างประเทศ<br />

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย<br />

คณะสงฆ์มหายานจากประเทศเกาหลี<br />

พร้อมคณะที่เดินทางมาเข้าร่วมเป็น<br />

แขกกิตติมศักดิ์ ในพิธีถวายปริญญาดุษฎี<br />

บัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่พระภัททันตะ<br />

นาคะทีปะด้วย


356 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 357<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - บีลีน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เมื่อฤกษ์งามยามดีมาถึง เสียงเพลงจากวงดนตรีพื้นเมืองเมียนมาเริ่มบรรเลง การ<br />

ร่ายรำโลดแล่นอยู่ในจังหวะครึกครื้น คณะผู้นำเมียนมาและคณะผู้นำ ๕ ประเทศตัดริบบิ้น<br />

ปล่อยลูกโป่งหลายร้อยลูกขึ้นบนท้องฟ้า และกดปุ่มเปิดม่านงานพิธีธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน<br />

พร้อมเพรียงกัน สัญลักษณ์เสาธรรมจักรธรรมยาตราได้รับการยกชูขึ้นโดยนายพันตรี มู่ตง<br />

ผู้นำทหารรัฐกะเหรี่ยง พร้อมธงธรรมยาตราและธงฉัพพรรณรังสีโบกสะบัด งานธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดิน ณ วัดไจทีเซาเริ ่มแล้วอย่างเป็นทางการ ยินดีต้อนรับพุทธมิตร ๕ ประเทศ<br />

ผู้มาเยือนจากแดนไกล<br />

ร่วมเฉลิมฉลองปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์<br />

เวลา ๑๐.๐๐ น. คณะธรรมยาตรา พระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน และ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ พร้อม<br />

คณะ เข้าร่วมพิธีถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ที่คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา<br />

ลงกรณราชวิทยาลัยนำมาถวายแด่พระภัททันตะ นาคะทีปะ ผู้มีบทบาทสำคัญในการทำ<br />

คุณประโยชน์เกื้อกูลต่อพระพุทธศาสนาและรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชาติ ตลอดจน<br />

งานพระพุทธศาสนาสัมพันธ์กับนานาชาติ<br />

พระภัททันตะ นาคะทีปะปัจจุบันอายุ ๖๒ ปี พรรษา ๔๒ ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส<br />

วัดไจทีเซา เป็นพระเถราจารย์ด้านวิปัสสนาธุระ ส่งเสริมและเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้ง<br />

ปริยัติธรรมและวิปัสสนากรรมฐาน จัดตั้งบริหารศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนาในเครือข่ายของวัด<br />

ไจทีเซาจำนวน ๖๗ ศูนย์ เป็นพระนักเทศน์ที่มีชื่อเสียงและเทศนาออกอากาศประจำทาง<br />

สถานีวิทยุโทรทัศน์ของเมียนมา นอกจากนั้นยังเป็นผู้ปฏิบัติศาสนกิจทั้งด้านศาสนสงเคราะห์<br />

แก่พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนทั่วไป พร้อมทั้งเป็นผู้นำในการบูรณปฏิสังขรณ์วัด ศาสน-<br />

สถาน เจดีย์สำคัญในรัฐมอญและเมืองต่างๆ ในประเทศเมียนมา อีกทั้งได้จัดกิจกรรมส่งเสริม<br />

พระพุทธศาสนา ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและสานสัมพันธไมตรีไทยและ<br />

เมียนมาในมิติพุทธศาสนา เช่น กิจกรรมงานวันสำคัญทางพุทธศาสนา และกิจกรรมสวดมนต์


358 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 359<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - บีลีน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ข้ามปี ภาวนาทั่วโลกเพื่อสันติภาพใน พ.ศ. ๒๕๖๑ และในงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตาม<br />

รอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

ในการนี้พระโสภณวชิราภรณ์ (ไสว โชติโก) รองอธิการบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศ<br />

ผู้อำนวยการวิทยาลัยพระธรรมทูต พร้อมด้วยพระมหาชะเอม สุวีโร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย<br />

กิจการต่างประเทศ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระ ดร.แสง<br />

เฮือง นรินฺโท ผู้อำนวยการกองวิเทศสัมพันธ์ และคณาจารย์วิทยาลัยพระธรรมทูต ร่วมงาน<br />

ฉลองปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ที่ถวายแด่พระภัททันตะ นาคะทีปะ เจ้าอาวาสวัด<br />

ไจทีเซา รัฐมอญ ประเทศเมียนมา<br />

ภายในปะรำพิธี หลวงพ่อพระภัททันตะ นาคะทีปะนั่งเด่นสง่าอยู่บนธรรมาสน์ปิดทอง<br />

พนักพิงลายนกยูงรำแพน มีพญานาค ๒ ตัวสีเขียวและสีแดงโอบอุ้มอยู่ ธรรมาสน์ประดับ<br />

ตกแต่งด้วยดอกไม้อย่างงดงาม อุบาสกอุบาสิกานั่งด้านล่าง เริ่มด้วยคณะแม่ชี คณะธรรม<br />

ยาตรา ถัดไปเป็นอุบาสกอุบาสิกาแต่งกายชุดประจำชาติและชุดพื้นเมือง<br />

ลำดับพิธีเริ่มต้นด้วยพระโสภณวชิราภรณ์กล่าวสรรเสริญเกียรติคุณเจ้าอาวาสวัดไจทีเซา<br />

และถวายเครื่องสักการะเพื่อแสดงมุทิตา ลำดับต่อไปท่านอ่องโกรัฐมนตรีว่าการกระทรวง<br />

ศาสนา และ ดร. คิน ฉ่วยได้กล่าวประกาศเกียรติคุณ จากนั้นพระภัททันตะ นาคะทีปะ<br />

นำเจริญพระพุทธมนต์ จากนั้นรับชมวีดิทัศน์รวบรวมงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอย<br />

พระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงตั้งแต่วันแรกจวบจนเดินทางมาถึงวัดไจทีเซา<br />

ในงานเฉลิมฉลองมุทิตาสักการะคุณความดีของพระภัททันตะ นาคะทีปะครั้งนี้มี<br />

ผู้ร่วมงานจำนวนหลายพันคน


360 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 361<br />

“พิธีต้อนรับคณะธรรมยาตรายิ่งใหญ่อลังการ คณะสงฆ์เมียนมานําโดย<br />

พระ Tipitaka Daya Buddanta พระผู้ทรงพระไตรปิฎก พระภัททันตะ นาคะทีปะ<br />

เจ้าอาวาสวัดไจทีเซา พระธรรมวรนายกและคณะสงฆ์ธรรมยาตรา ๕ ประเทศ<br />

ฝ่ายฆราวาสมีท่านอ่องโก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศาสนาและวัฒนธรรม<br />

แห่งสหภาพเมียนมา”


362 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 363<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - บีลีน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ริ้วขบวนอัญเชิญหน่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ ประชาชนเดินเรียง<br />

กันเป็นแถวยาวไปยังสถานที่ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ด้วยความ<br />

สำรวม ธงธรรมยาตรา ธงฉัพพรรณรังสี และธงนานาชาติโบก<br />

สะบัด นำโดยพระภัททันตะ นาคะทีปะ และคณะสงฆ์เมียนมา<br />

พระธรรมวรนายก พร้อมด้วยคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน ฝ่ายฆราวาส<br />

นำโดยท่านอ่องโก รัฐมนตรีกระทรวงศาสนาและวัฒนธรรมแห่ง<br />

สหภาพเมียนมา มุขมนตรีแห่งรัฐมอญ ดร.คิน ฉ่วย ดร.สุภชัย<br />

วีระภุชงค์ และคณะ สำหรับการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๑๒<br />

ในครั้งนี้ ทางคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช-<br />

วิทยาลัย ได้เข้าร่วมพิธีอันเป็นมหามงคลด้วย นำโดยพระโสภณ<br />

วชิราภรณ์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศ<br />

ขณะปลูกหน่อต้นศรีมหาโพธิ์ลงบนดินที่จัดเตรียมไว้ เสียง<br />

สวดมนต์แบบเมียนมาดังกังวาน ต่างรวมจิตตั้งมั่นช่วยกันปลูก<br />

กุศลอันเกิดขึ้นแล้วต่อนี้ไปขอถวายเป็นพุทธบูชา ข้าวตอกดอกไม้<br />

รวมทั้งสรรพสิ่งอันเป็นมงคลได้รับการบรรจงโปรยเพื่อปลูกต้นไม้<br />

มิ่งมงคลนี้ จากนั้นรดด้วยน้ำนมขาวบริสุทธิ์<br />

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ สัญลักษณ์แห่งการมาเยือนของคณะ<br />

ธรรมยาตราได้ประดิษฐานไว้แล้วอย่างมั่นคงในแผ่นดินพระพุทธ<br />

ศาสนา ณ วัดไจทีเซา รัฐมอญแห่งเมียนมา ความสัมพันธ์แห่ง<br />

พุทธมิตรจะผูกพันแน่นแฟ้น ส่งทอดต่อไปยังลูกหลานตราบนาน<br />

เท่านาน<br />

ภาพกุศลประทับใจเมื ่อเห็นชาวเมียนมาได้เข้ามาร่วมพิธี


364 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 365<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - บีลีน โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์อย่างท่วมท้น กุศลอันเราร่วมทำบุญกันในครั้งนี้ที่ได้ปลูกหรือได้<br />

ดูแลต้นพระศรีมหาโพธิ์ต่อไป ย่อมเปรียบเหมือนการทำนุบำรุงพุทธศาสนา อานิสงส์ที่ได้รับ<br />

นั้นยิ่งใหญ่และจะตามติดดวงจิตนี้ไปทุกภพชาติ<br />

ก่อนอำลาวัดไจทีเซาเพื่อเดินทางยาตราต่อไป คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินออกรับบิณฑบาต<br />

รับศรัทธาคณะญาติโยมที่ยืนเป็นแถวยาวเหยียดไกลลิบสุดตา ชาวบ้านต่างเตรียมเงินทอง<br />

ข้าวของมาใส่บาตรกันอย่างเนืองแน่น ใบหน้าแจ่มใสเบิกบานบุญกันทั่วหน้า ทุกครั้งไม่ว่า<br />

ที่ไหนชาวบ้านจำนวนมากมายต่างก็หลั่งไหลมาเพื่อได้รับบุญนี้ ใส่บาตรพระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

ที่มาจากทิศทั้ง ๔ เพราะโอกาสมหาบุญอย่างนี้ไม่มีใครปล่อยให้หลุดลอย


366 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - บีลีน<br />

ภายในเจดีย์กีรต้า บรรจุพระเกศาธาตุของ<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 367<br />

วันที่ ๙ สวัสดี-นครสวรรค์<br />

องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ เชื่อว่า<br />

เจดีย์นี้สร้างมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลและ<br />

บูรณะต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน<br />

สุขไพบูลย์ตามรอยพระโสณเถระ<br />

และพระอุตตรเถระ<br />

ช่วงบ่ายคณะธรรมยาตราออกเดินทางตาม<br />

รอยพระธรรมทูตสายที่ ๘ พระโสณเถระและ<br />

พระอุตตรเถระ ซึ่งมีพระเจ้าอโศกมหาราช<br />

แห่งประเทศอินเดียทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการ<br />

เดินทางเพื่อไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดิน-<br />

แดนสุวรรณภูมิ ชาวเมียนมาเชื่อว่าผืนแผ่นดิน<br />

สุวรรณภูมินี้พระพุทธศาสนารุ่งเรืองเป็นแผ่นดิน<br />

ทองมีอาณาเขตกว้างใหญ่ รวมประเทศในคาบ<br />

สมุทรอินโดจีน เช่น เมียนมา ไทย ลาว กัมพูชา<br />

เวียดนาม เป็นต้น สันนิษฐานว่าเมืองสะเทิม<br />

อาณาจักรสะเทิม (ตะโท่ง) หรือนครสุธรรม<br />

อาณาจักรสุธรรมวดี หรือเมืองบีลีนในปัจจุบันเป็น<br />

เมืองแรกที่พระโสณเถระและพระอุตตเถระได้<br />

ขึ้นจากเรือที่เมืองท่าแห่งนี้ และใช้เมืองสะเทิม<br />

เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน<br />

ดินแดนสุวรรณภูมิ<br />

ความรุ่งเรืองแห่งอารยธรรมพระพุทธ<br />

ศาสนาในรัฐมอญมีร่องรอยให้ศึกษามากมาย<br />

บ่ายวันนี้คณะจะเดินทางไปตามรอยพระโสณ<br />

เถระและพระอุตตรเถระที่เจดีย์กีรต้าและเจดีย์<br />

กุสินารา


368 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 369<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - บีลีน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สักการะเจดีย์กีรต้าและเจดีย์กุสินารา พระธาตุพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ<br />

คณะธรรมยาตราเปลี่ยนรถบัสมาเป็นรถตู้เพื่อขึ้นสู่ยอดเขาสูง ถนนลาดชันเส้นทางแคบ<br />

และคดเคี้ยว เพื่อไปสักการะเจดีย์กีรต้าที่บรรจุพระเกศาธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัม<br />

พุทธเจ้าไว้ เชื่อกันว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลและบูรณะต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน<br />

พระภัททันตะ นาคะทีปะนำคณะธรรมยาตรา พระธรรมวรนายก และคณะสงฆ์ ๕<br />

แผ่นดิน ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ และคณะ น้อมกราบสักการะพระเจดีย์ และเวียนประทักษิณ<br />

เพื่อแสดงความเคารพและน้อมรำลึกถึงพระคุณอันประเสริฐแห่งพระรัตนตรัย<br />

พระเจดีย์กีรต้าอยู่บนยอดเขาสูง มองเห็นทะเลไกลสุดตา ณ จุดนี้เองที่ชาวเมียนมา<br />

เชื่อมั่นว่าความเจริญรุ่งเรืองและศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต้องเริ่มที่นี่ เพราะ<br />

เส้นทางที่ต่อตรงมาจากประเทศอินเดียโดยสะดวกน่าจะขึ้นบกที่เมืองนี้ ด้วยในอดีตที่นี่<br />

เคยเป็นเมืองท่ามาก่อน อ้างอิงจากหลักฐานที่เมียนมาอยู่ในระหว่างศึกษาวิจัย<br />

พระภัททันตะ นาคะทีปะอธิบายและชี้ให้คณะมองไปยังวิวที่อยู่ไกลลิบ วันนี้ท้องฟ้า<br />

เปิดทำให้ชาวคณะธรรมยาตรามองเห็นทะเลชัดเจน จึงพาให้จินตนาการย้อนไปถึงสมัยที่<br />

เมืองบีลีนยังเป็นเมืองท่าสำคัญ<br />

จากนั้นคณะธรรมยาตราก็เดินทางต่อไป ลงจากภูเขาลูกนี้ขับรถต่อไปไม่ไกลเพื่อ<br />

เดินทางไปสักการะพระเจดีย์กุสินารา ซึ่งมีพระธาตุของพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ<br />

บรรจุอยู่ เส้นทางแคบลาดชันและตั้งอยู่บนภูเขาสูง เจดีย์แห่งนี้ประดิษฐานพระพุทธรูป<br />

ปางไสยาสน์ และมีรูปปั้นของพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ เป็นที่เคารพบูชาของชาว<br />

เมียนมา นับเป็นพุทธโบราณสถานที่เก่าแก่และเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นจุดหมายของ<br />

ชาวเมียนมาว่าต้องเดินทางมากราบไหว้บูชาอย่างน้อยสักครั้งในชีวิต เพื่อความเป็นสิริมงคล<br />

อันจะนำมาซึ่งชีวิตที่รุ่งโรจน์<br />

พระภัททันตะ นาคะทีปะและพระธรรมวรนายกนำคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินพร้อมด้วย<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ และคณะเจริญพระพุทธมนต์เป็นภาษาบาลี พร้อมนำเวียนประทักษิณ<br />

เจดีย์กุสินารามีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ และมีรูปปั้นของพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ<br />

นับเป็นพุทธโบราณสถานเก่าแก่และเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นจุดหมายของชาวเมียนมา<br />

เวียนขวาเพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณอันประเสริฐแห่งพระรัตนตรัย<br />

จากนั้นเดินทางลงเขาเพื่อมุ่งหน้าสู่พระธาตุอินทร์แขวนหรือพระธาตุไจทีโย (Kyaiktiyo<br />

Pagoda) หรือที่ฝรั่งรู้จักกันดีในนาม Golden Rock เจดีย์สำคัญของชาวพุทธที่ตั้งอยู่ใน<br />

รัฐมอญ ประเทศเมียนมา


370 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 371<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - สะเทิม โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พลบค่ำที่พระธาตุอินทร์แขวน<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางมุ่งสู่พระธาตุอินทร์แขวน จุดหมาย<br />

สุดท้ายแห่งค่ำคืนนี้<br />

พระธาตุอินทร์แขวนตั้งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างอำเภอ<br />

ไจโท จังหวัดสะเทิม รัฐมอญ กับอำเภอชเวจีน จังหวัดพะโค<br />

เขตพะโค ใกล้ชายฝั่งตะนาวศรีตอนเหนือ องค์พระธาตุตั้งอยู่<br />

บนยอดเขาไจทีโย หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าเขาเคลาซา อยู่บน<br />

สันเขาปองลองของทิวเขาโยมาตะวันออก ห่างจากนครย่างกุ้ง<br />

ประมาณ ๒๑๐ กิโลเมตร และห่างขึ้นมาจากเมาะลำเลิงอันเป็น<br />

เมืองหลักของรัฐมอญ ๑๔๐ กิโลเมตร<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางมาถึงหมู่บ้านกีนปูน (Kinpun<br />

Base Camp) บริเวณด้านล่างหรือฐานของภูเขาไจทีโย ซึ่งเป็น<br />

จุดที่คณะต้องเปลี่ยนไปขึ้นรถบรรทุกเพื่อขึ้นสู่ยอดเขาไจทีโย<br />

รถยนต์อื่นๆ ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้น เว้นแต่ต้องขออนุญาตเฉพาะ<br />

รายไป<br />

คณะธรรมยาตราทั้งหมดขึ้นบนรถบรรทุกพร้อมเดินทางสู่<br />

ยอดเขาซึ่งอยู่ที่ระดับความสูง ๑,๑๐๐ เมตรเหนือระดับน้ำทะเล<br />

ปานกลาง การจราจรบนภูเขาบริหารจัดการเป็นอย่างดี เวลา<br />

ผ่านไปราวครึ่งชั่วโมงตลอดระยะทางประมาณ ๑๑ กิโลเมตร<br />

เส้นทางสูงชันคดเคี้ยวและหวาดเสียวมาก และแล้วคณะธรรม-<br />

ยาตราก็มาถึงยาเตตองสถานีสุดท้าย คณะลงจากรถบรรทุก<br />

จากนั้นขบวนต้อนรับก็นิมนต์คณะสงฆ์ขึ้นเสลี่ยง กางฉัตรสีขาว<br />

ประดับด้วยใบโพธิ์ทอง เสลี่ยงพระสงฆ์เป็นแถวขบวนยาว


372 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 373<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - สะเทิม<br />

เป็นภาพที่น่าชื่นใจและเป็นที่สนใจของผู้พบเห็น<br />

ตลอดสองข้างทางเดินเท้าจากจุดลงรถไปถึงทาง<br />

ขึ้นพระธาตุมีร้านค้าขนาดเล็กเรียงราย ผู้คนเดินกัน<br />

เบียดเสียดขวักไขว่ คนเดินทางมาที่นี่ทั้งกลางวันและ<br />

กลางคืน ต่างมีจุดหมายเดียวกันคือจาริกบุญ สวดมนต์<br />

บำเพ็ญภาวนาที่พระธาตุอินทร์แขวนดินแดนศักดิ์สิทธิ์<br />

ความสว่างไสว ณ พระธาตุอินทร์แขวน<br />

ตะวันตกดินไปนานแล้ว บริเวณพระธาตุอินทร์แขวน<br />

สว่างไสวงดงาม คณะธรรมยาตราเดินผ่านรูปปั้นชินเต<br />

ลักษณะคล้ายสิงโตขนาดใหญ่สองตัวคอยเฝ้าประตู<br />

ทางเข้าพระธาตุฯ เมื่อขึ้นสู่ยอดเขาภาพที่ปรากฏคือ<br />

ก้อนหินสีทองสุกสกาวสว่างไสว มีปุยขาวของก้อนเมฆ<br />

หมอกผ่านมาเป็นระยะๆ สายฝนโปรยบางเบา<br />

พระธาตุอินทร์แขวนมีพระเจดีย์สร้างอยู่บนก้อน<br />

หิน ที่บันทึกว่ารูปร่างคล้ายกับศีรษะของฤๅษี ปิดด้วย<br />

ทองคำเปลวจากคณะศรัทธาชาวพุทธทั่วสารทิศ พระ<br />

ธาตุแห่งนี้เป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุขององค์สมเด็จ<br />

พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ความศักดิ์สิทธิ์อัศจรรย์ปรากฏ<br />

ด้วยว่าหินก้อนนี้ตั้งอยู่บนหน้าผาสูงชันอย่างหมิ่นเหม่<br />

เชื่อกันว่าเป็นหินที่พระอินทร์นำมาแขวนไว้ ส่วนเจดีย์<br />

ที่สร้างอยู่บนก้อนหินนั้นผู้สร้างตั้งใจจำลองให้เป็นพระ-<br />

เกศแก้วจุฬามณี ชาวพุทธมากมายตั้งใจมาสวดมนต์ที่นี่


374 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 375<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - สะเทิม<br />

สะท้อนถึงความศรัทธาอันเปี่ยมล้นของ<br />

ชาวพุทธ แม้พระธาตุอินทร์แขวนจะอยู่<br />

ไกลและสูงแค่ไหน แต่ก็ไม่พ้นใจที่ศรัทธา<br />

มุ่งมั่น การสวดมนต์ของชาวพุทธและ<br />

ชาวเมียนมานิยมสวดในเวลาเย็นถึงเช้า<br />

ของวันรุ่งขึ้นแล้วเดินทางกลับ<br />

ณ ค ่ำคืนนี้ในประเทศเมียนมา<br />

คณะสงฆ์ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน พระ<br />

ธรรมวรนายก พร้อมด้วย ดร.สุภชัย<br />

วีระภุชงค์ และคณะได้ร่วมสวดมนต์<br />

เจริญจิตภาวนาที่ลานพระธาตุอินทร์<br />

แขวน เสียงสวดมนต์ดังไปทั่วบริเวณ<br />

ความสงบเกิดขึ้นในดวงใจ การขวนขวาย<br />

ในหนทางแห่งอริยมรรค ยิ่งปฏิบัติมาก<br />

ยิ่งได้ผลมาก<br />

ค่ำคืนนี้คณะธรรมยาตราพักค้าง<br />

บนยอดเขาไจทีโย ก่อนเดินทางต่อใน<br />

เช้าวันพรุ่งนี้ เพื่อกลับไปสู่พิธีปิดที่<br />

ประเทศไทย<br />

“คณะธรรมยาตราได้ร่วมสวดมนต์เจริญจิตภาวนาที่ลานพระธาตุอินทร์แขวน<br />

เสียงสวดมนต์ดังไปทั่วบริเวณ ความสงบเกิดขึ้นในดวงใจ การขวนขวายใน<br />

หนทางแห่งอริยมรรค ยิ่งปฏิบัติมาก ยิ่งได้ผลมาก”


วันที่ ๑๓<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

เมียนมา<br />

ไทย<br />

เมียนมาคารวตา<br />

แดนธำรงธรรม<br />

วันศุกร์ที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

“ อากาศเย็นฉ่ำบนยอดเขาสูงชิดฟ้าท่ามกลางเมฆหมอก พระธาตุอินทร์แขวนงดงาม<br />

ล้ำค่า สถานที่แห่งนี้ชาวเมียนมาเทิดทูนไว้เป็นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ดุจสวรรค์<br />

ในโลกมนุษย์ แสงไฟฟ้าเปิดส่องตลอดคืนอำนวยความสะดวกแก่พุทธศาสนิกชน<br />

ผู้มาสวดมนต์เจริญจิตภาวนา ณ เวลานี้รอเวลาพระอาทิตย์ขึ้น คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินใกล้<br />

ออกเดินบิณฑบาต อุบาสกอุบาสิกาเมียนมาเนืองแน่นรอคอยบำเพ็ญมหาทาน<br />

และร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๑๓ เสร็จสิ้นกิจกุศลจาก<br />

พระธาตุอินทร์แขวนแล้ว คณะธรรมยาตราจะเดินทางจาริกต่อไปมุ่งข้ามแดน<br />

สู่อำเภอแม่สอด อำลาแดนธำรงธรรม เมียนมาคารวตา”


ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง 379<br />

วันที่ ๑๒ มิงกะลาบา – ปิลิน<br />

มีนกะลาบา<br />

เมียนมา<br />

จิตศรัทธานับหมื่นร่วมบําเพ็ญทาน<br />

อ<br />

ากาศเย็นฉ่ำบนยอดเขาสูงชิดฟ้าท่ามกลางเมฆหมอก<br />

พระธาตุอินทร์แขวนงดงาม<br />

ล้ำค่า สถานที่แห่งนี้ชาวเมียนมาเทิดทูนไว้เป็นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ดุจสวรรค์ในโลกมนุษย์<br />

แสงไฟฟ้าเปิดส่องตลอดคืนอำนวยความสะดวกแก่พุทธศาสนิกชนผู้มาสวดมนต์เจริญจิต<br />

ภาวนา ณ เวลานี้รอเวลาพระอาทิตย์ขึ้น คณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินใกล้ออกเดินบิณฑบาต อุบาสก<br />

อุบาสิกาเมียนมาเนืองแน่นรอคอยบำเพ็ญมหาทาน และร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

ต้นที่ ๑๓ เสร็จสิ้นกิจกุศลจากพระธาตุอินทร์แขวนแล้ว คณะธรรมยาตราจะเดินทางจาริก<br />

ต่อไปมุ่งข้ามแดนสู่อำเภอแม่สอด อำลาแดนธำรงธรรม เมียนมาคารวตา<br />

พลังศรัทธาอันยิ่งใหญ่ของพุทธศาสนิกชนปรากฏให้เห็นวันนี้บนลานธรรมหน้าพระธาตุ<br />

อินทร์แขวนศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธ คลื่นมหาชนคณะศรัทธารอใส่บาตรเป็นแถวยาว<br />

ตลอดลานบนยอดเขา หนุ่มสาวผู้เฒ่าเยาวชนแต่งกายชุดประจำชาติงามสง่า สาวๆ บรรจง<br />

แต่งหน้าประแป้งทานาคางดงามตามประเพณีนิยม


380 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 381<br />

วันที่ ๑๒ มิงกะลาบา – ปิลิน<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พระอาทิตย์ฉายแสงขึ้นฟ้า...พระภัททันตะ นาคะทีปะ พระธรรมวรนายก<br />

เดินนำแถวคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินจำนวนประมาณ ๕๐ รูปออกเดินบิณฑบาตเป็น<br />

ริ้วขบวน ชาวเมียนมาอัญเชิญธงธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินและธงฉัพพรรณรังสี<br />

ขึ้นนำหน้าขบวนพระ ตามด้วยวงดนตรีพื้นเมืองชาวเมียนมา อุบาสกชาวเมียนมา<br />

ใส่เสื้อขาวแขนยาวนุ่งผ้าโสร่งสีแดง กางฉัตรสีขาวประดับใบโพธิ์ทองให้พระ<br />

สงฆ์ทุกรูป คณะสงฆ์ทยอยรับบาตรคณะศรัทธาสาธุชนทุกวัยหลายชนเผ่าจำนวน<br />

มากตั้งแต่องค์พระธาตุอินทร์แขวนไปจนถึงทางขึ้นพระธาตุ ประชาชนต่างตั้งใจ<br />

รอคอยเตรียมข้าวสารอาหารแห้งคาวหวาน น้ำปานะ พร้อมปัจจัยมาตักบาตร<br />

พระสงฆ์ ๕ แผ่นดิน งานนี้มีรายงานจากผู้สื่อข่าวว่าจำนวนศรัทธาสาธุชนที่มา<br />

ทำบุญกันมีจำนวนนับหมื่นคน พระอาจารย์ญาณิสฺสร พระสงฆ์มอญให้สัมภาษณ์<br />

ว่า “ประชาชนรู้ข่าวการมาของคณะธรรมยาตราผ่านทางออนไลน์ล่วงหน้าแค่<br />

เพียง ๒ วัน วันนี้คนพากันมามากมาย คนเมียนมาชอบทำบุญ ยิ่งบุญใหญ่<br />

แบบนี้หาทำได้ยาก พวกเขาต้องการมาร่วมบุญมาสั่งสมบารมี”<br />

เยาวชนเมียนมาที่พอพูดไทยได้และมีโอกาสร่วมบุญในวันนี้บอกความ<br />

รู้สึกสั้นๆว่า “ดีใจที่เห็นคนมาทำบุญมากมาย ไม่เคยเห็นภาพแบบนี้ ทำให้รู้สึก<br />

ใจสงบ”<br />

ท่ามกลางบรรยากาศแห่งกุศลงอกงาม ด้วยอำนาจแห่งทานที่เพิ่มพูนของ<br />

ทุกท่านในครั้งนี้ มหาทานบารมีที่ได้ร่วมบุญร่วมกุศลกันบนแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์<br />

แห่งพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ และสังฆานุภาพ อันมาจากความมุ่งมั่นตั้งใจใน<br />

การทำงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง เพื่อประกาศ<br />

เจตนาให้เห็นความสำคัญของภูมิภาคลุ่มน้ ำโขงอันเป็นแผ่นดินสุวรรณภูมิ แผ่นดิน<br />

ธรรมแผ่นดินทองด้วยพระธรรมแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่พวกเรา<br />

ชาวพุทธโดยกำเนิด โดยเผ่าพันธุ์ และโดยบุญบารมีบำเพ็ญมาร่วมกัน


382 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 383<br />

วันที่ ๑๒ มิงกะลาบา – ปิลิน<br />

“คณะพระสงฆ์ ๕ แผ่นดินออกบิณฑบาตทุกเช้า เป็นกิจวัตรอันประเสริฐ<br />

ที่พระพุทธเจ้าทรงกําหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ตั้งแต่สมัยพุทธกาล<br />

การออกบิณฑบาตนั้นนับว่าเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทางหนึ่ง”


384 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 385<br />

วันที่ ๑๓ มีนกะลาบา - สะเทิม<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ดร.คิน ฉ่วยกล่าวว่า “รู้สึกภูมิใจและซาบซึ้งที่<br />

ได้ร่วมขบวนธรรมยาตราในครั้งนี้ ได้เป็นส่วนหนึ่งใน<br />

การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาทั้งในประเทศเมียนมา<br />

และในประเทศเพื่อนบ้านอีก ๔ ประเทศ จำนวน<br />

ประชาชนที่มาต้อนรับและร่วมทำบุญตั้งแต่สะพาน<br />

มิตรภาพไทย-เมียนมาที ่เมียวดี ถือเป็นการแสดง<br />

ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาของประชาชนเมียนมาได้<br />

เป็นอย่างดี งานธรรมยาตราฯ แสดงให้เห็นถึงพลังของ<br />

ชาวพุทธใน ๕ ประเทศ งานนี้จะช่วยให้เกิดการร่วมมือ<br />

กันและก่อให้เกิดงานโครงการต่างๆ ในอนาคตทั้งไทย<br />

และเมียนมา และประเทศอื่นๆ ในกลุ่มลุ่มน้ำโขง<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบันโพธิคยา<br />

วิชชาลัย ๙๘๐ กล่าวว่า “ความราบรื่นของงานธรรม<br />

ยาตราฯ ในแต่ละประเทศพิสูจน์ว่าการเป็นชาวพุทธ<br />

เหมือนกันทำให้การประสานงานได้รับความร่วมมือจาก<br />

ชาวพุทธแต่ละประเทศเป็นอย่างดี เราอยากเห็นชาว<br />

พุทธสามัคคีกัน ลุ่มแม่น้ำโขงเป็นแหล่งกำเนิดของพระ<br />

อริยสงฆ์ในภูมิภาคนี้มากว่าสองพันปี เริ่มจากเมื่อครั้ง<br />

พระโสณเถระและพระอุตตรเถระได้มาเผยแผ่ศาสนา<br />

ภาพที่เราเห็นจากงานธรรมยาตราฯ หลายวันที่ผ่านมา<br />

จนถึงวันนี้รู้สึกเป็นปีติมากเป็นแรงผลักดันให้ผมและ<br />

ดร.คิน ฉ่วย ที่ผมนับถือเป็นพี่ชายได้ทำงานตรงนี้ต่อไป<br />

จนกว่าชีวิตจะหาไม่”


386 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 387<br />

“ประชาชนชาวเมียนมาแสดงศรัทธาอย่างท่วมท้นต่อพระพุทธศาสนา<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินนี้เป็นพลังของชาวพุทธใน ๕ ประเทศ<br />

สามัคคีร่วมมือร่วมใจกันจนงานสําเร็จเป็นอย่างดีเกินความคาดหมาย”


388 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 389<br />

วันที่ ๑๒ มีนกะลาบา - สะเทิม<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ร่วมปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์<br />

เมื่อคณะสงฆ์บิณฑบาตเสร็จสิ้น พระภัททันตะ นาคะทีปะ คณะสงฆ์เมียนมา พระธรรมวรนายก<br />

พร้อมคณะธรรมยาตราร่วมกันปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นที่ ๑๓ บนยอดเขา ตั้งอยู่ในจุดที่<br />

มองเห็นองค์พระธาตุอินทร์แขวน เสียงสวดมนต์ดังก้อง รากพระศรีมหาโพธิ์หยั่งลงบนผืนดิน<br />

ศักดิ์สิทธิ์ รากกุศลศรัทธางอกงามในดวงใจของชาวพุทธทุกท่านที่ได้บำเพ็ญบุญกุศลร่วมกัน<br />

จากนี้ไปพุทธมิตรภาพที่เริ่มไว้จะมีต้นพระศรีมหาโพธิ์เป็นพยาน ให้ชาวเมียนมาดูแลรักษา<br />

ให้เจริญเติบโต<br />

เมื่อปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์เสร็จเรียบร้อยก็ได้เวลาเดินทางกลับ ลูกหาบขนสัมภาระ<br />

ไปรออยู่เบื้องหน้า คณะธรรมยาตรากราบอำลาพระธาตุอินทร์แขวน ถ่ายภาพประทับใจ<br />

เก็บไว้เป็นความทรงจำ จากนั้นคณะได้ทยอยขึ้นรถบรรทุกเดินทางลงเขา ผ่านภูเขาหลาย<br />

สิบลูกคดเคี้ยวขึ้นสูงสลับลาดชันดิ่งลง ความหวาดกลัวหนทางอันตรายอันตรธานไป แทนที่<br />

ด้วยความผาสุกจากกุศลที่ได้รับอย่างเต็มอิ่ม วันนี้เป็นวันสุดท้ายของการเยือนประเทศ<br />

เมียนมา แผ่นดินธำรงธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัด<br />

จากวิถีชีวิตจารีตแห่งพุทธซึ่งยังคงเจริญรุ่งเรืองมิเสื่อมคลาย<br />

คณะธรรมยาตราลงจากรถบรรทุกไปขึ้นรถบัสมุ่งหน้าสู่พรมแดนเมียนมาและไทย<br />

กุศลทั้งมวลที่บำเพ็ญมานี้ขอน้อมถวายเป็นรัตนตยาภิบูชา การบูชาอย่างยิ่งแด่พระรัตนตรัย


390 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 391<br />

วันที่ ๑๓ มีนกะลาบา - ไจโต โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

พระไฝเลื่อน พระศักดิ์สิทธิ์สองพันปี<br />

จุดหมายต่อไปคณะธรรมยาตราเดินทางสู่วัดไจปอลอ (Kyaikpawlaw)<br />

เพื่อกราบสักการะพระไฝเลื่อน พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของเมียนมา<br />

ซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองไจโต (Kyaikto) เมืองเล็กๆ ทางเหนือของเมืองพะโค<br />

หรือหงสาวดี องค์พระไฝเลื่อนงดงามสูงค่าสร้างอย่างวิจิตรบรรจง<br />

ตามแนวพุทธศิลป์เมียนมา เมื่อคณะธรรมยาตราเดินทางมาถึงหน้า<br />

องค์พระ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์นำจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย พระ<br />

ธรรมวรนายกนำเจริญพระพุทธมนต์ จากนั้นคณะเวียนประทักษิณ<br />

๓ รอบเพื่อแสดงความเคารพต่อองค์พระไฝเลื่อน และระลึกถึงคุณ<br />

ของพระรัตนตรัย เมื่อเวียนประทักษิณเสร็จแล้ว อุบาสกไต่บันได<br />

ขึ้นกราบองค์พระไฝเลื่อนและขอพร<br />

มีเรื่องเล่าต่อๆ กันมาว่าในอดีตบริเวณวัดไจปอลอเป็นป่า<br />

ชายเลน พระไฝเลื่อนเป็นพระพุทธรูปหินแกะสลักอายุเก่าแก่กว่า<br />

๒,๐๐๐ ปีลอยน้ำมาจากลังกา พระพุทธรูปมาเข้าฝันชาวบ้านให้ไป<br />

ดูพระ ชาวบ้านไปตามความฝันก็พบพระจริงๆ ครั้งนั้นมีพระพุทธรูป<br />

ลอยน้ำมาทั้งหมดถึง ๔ องค์ ชาวบ้านช่วยกันนำพระพุทธรูปขึ้นมา<br />

องค์หนึ่งไปประดิษฐานที่วัดชินโมทิพญา วัดโบราณที่เมืองทวาย<br />

องค์ที่สองอยู่วัดไจกะมีเยเล (kyaikkami Yele Pagoda) เมือง<br />

ตาน-บยูซะยะ เป็นวัดที่มีลักษณะพิเศษคือตั้งอยู่ในทะเล เมื่อเวลา<br />

น้ำขึ้นพื้นที่บางส่วนของวัดจะถูกน้ำทะเลท่วม องค์ที่สามอยู่เมือง<br />

พะสิม (Pathein) เมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขต<br />

เอยาวะดีหรืออิรวดี องค์ที่สี่คือพระไฝเลื่อนอยู่ที่วัดไจปอลอ ที่คณะ<br />

ธรรมยาตรามากราบสักการะในวันนี้


392 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 393<br />

วันที่ ๑๓ มีนกะลาบา - ไจโต วันที่ ๑๓ มิงกะลาบา – ไจโถ<br />

ที่มาของชื่อพระไฝเลื่อนเนื่องจากว่ามีการนำพระพุทธรูปมาลงรักปิดทอง แต่ไม่ว่า<br />

ลงรักปิดทองกี่ครั้งที่หางคิ้วก็ปรากฏจุดดำคล้ายไฝให้เห็นอยู่ตลอด จึงไม่ได้ปิดทองตรงที่<br />

ตำแหน่งไฝอีก นี่เป็นเหตุให้ขนานนามพระพุทธรูปองค์นี้ว่า พระไฝเลื่อน ส่วนตำแหน่งไฝ<br />

ชาวบ้านเล่าว่าบางปีก็เคลื่อนไปอยู่กลางหน้าผาก บางปีไฝก็อยู่ตรงขมับซ้าย ปีนี้ไฝเลื่อนมา<br />

อยู ่ตรงขมับขวา คนที่เคยสัมผัสไฝบอกว่าอัศจรรย์มาก เพราะไฝมีลักษณะนุ ่มเหมือนเนื้อไม่<br />

เหมือนเนื้อหิน ความอัศจรรย์ไม่ได้มีแค่ไฝ ชาวบ้านเล่าว่าในวันพระบางครั้งดวงพระเนตร<br />

ก็กะพริบได้ บางคืนมีแสงสุกสว่างราวกับเรืองแสง มองเห็นองค์พระชัดเจนโดยไม่ต้องเปิด<br />

ไฟ เรื่องราวองค์พระไฝเลื่อนเล่าลือไปไกล ผู้คนหลั่งไหลมากราบสักการะองค์พระไฝเลื่อน<br />

เพื่อสิริมงคลแก่ชีวิตและขอพรให้สิ่งที่ตนปรารถนาสำเร็จผล และไม่เพียงแต่ชาวเมียนมา<br />

เท่านั้น ชาวไทยก็นิยมมากราบสักการะด้วยเช่นกัน<br />

จากนั้นคณะธรรมยาตราฯ เข้ากราบสักการะพระนอนที ่วิหารซึ่งอยู่ถัดไปภายในวัด<br />

ไจปอลอ พระนอนองค์นี้มีลักษณะงดงามไม่แพ้พระพุทธไสยาสน์เจาทัตยี (Kyauk Htat Gyi<br />

Reclining Buddha) หรือที่คนไทยนิยมเรียกว่าพระนอนตาหวานซึ่งเป็นพระพุทธรูปปาง<br />

ไสยาสน์ที่ใหญ่มากองค์หนึ่งในเมียนมา พระนอนที่วัดไจปอลอเป็นพระนอนในอิริยาบถ<br />

พักผ่อน ลักษณะนอนเท้าศอก พระพักตร์และการครองจีวรงดงามด้วยพุทธศิลป์แบบ<br />

เมียนมา นอกจากนี้ภายในวัดไจปอลอยังมีพระมหาเจดีย์พุทธคยาจำลองให้ประชาชนได้<br />

กราบสักการะบูชาด้วย<br />

เมียนมาคารวตา แดนธำรงธรรม<br />

ได้เวลาอำลาเมียนมาด้วยความเคารพในวิถีชาวพุทธที่เข้มแข็งจริงจังในการรักษาพระธรรม<br />

วินัยและวัตรปฏิบัติของพุทธบริษัทผู้ตั้งมั่นอยู่ในมรรค บำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา เสริมคุณค่า<br />

จิตใจจนธำรงรักษาพระธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ได้อย่างมั่นคง อารยธรรม<br />

พระพุทธศาสนาในเมียนมาสืบทอดต่อเนื่องมายาวนาน มีหลักฐานทางโบราณคดีและ<br />

พระไฝเลื่อน วัดไจปอลอ (Kyaikpawlaw)


394 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 395<br />

วันที่ ๑๓ มีนกะลาบา - ไจโต โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ตามมุขปาฐะว่า ทางหนึ่งที่อารยธรรมพระพุทธศาสนาเข้ามาในเมียนมานั้นเริ่มตั้งแต่สมัย<br />

พระเจ้าอโศกมหาราช โดยมีพระธรรมทูตสายที่ ๘ คือพระโสณเถระและพระอุตตรเถระเป็น<br />

หัวหน้า มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสะเทิมหรืออาณาจักรรัฐมอญ จากนั้นประชาชนก็รับอารยธรรม<br />

พระพุทธศาสนาไว้จวบจนวันนี้ ประชาชนเมียนมาเกือบทั้งประเทศนับถือพระพุทธศาสนา<br />

วันนี้คณะธรรมยาตราใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนรถยนต์ เดินทางรอนแรมผ่านหมู่บ้าน<br />

ใหญ่น้อย ผ่านพระเจดีย์และวัดวาอารามมากมายแสดงถึงศรัทธาอันยิ่งใหญ่ของประชาชน


396 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 397<br />

วันที่ ๑๓ มีนกะละบา - ไจโต<br />

วันที่ ๙ สวัสดี-นครสวรรค์<br />

ไม่จำกัดว่าฐานะมั่งมีหรือขาดแคลน สังเกตเห็นว่า ทุกหมู่บ้าน<br />

มีวัด มีเจดีย์ ชาวเมียนมานิยมสร้างพระเจดีย์ไว้บนภูเขา<br />

ด้วยพระเจดีย์เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุซึ่งเป็น<br />

สิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด<br />

ขบวนธรรมยาตรามุ่งตรงสู่จังหวัดเมียวดี มีรถกอง<br />

กำลังทหารคุ้มกันนำหน้าเพื่อประสานงานและรักษาความ<br />

ปลอดภัย ธงธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินและธงฉัพพรรณรังสี<br />

โบกสะบัด ก่อนค่ำวันนี้คณะธรรมยาตรามีกำหนดข้ามพรมแดน<br />

เข้าประเทศไทยให้ทันก่อนด่านปิด<br />

เมื่อขบวนรถธรรมยาตราเดินทางผ่านเข้าสู่รัฐกะเหรี่ยง<br />

ไม่นาน นายพันตรี มู่ตงได้นำคณะธรรมยาตราเยือนวัดเล็กๆ<br />

ในรัฐกะเหรี่ยง มีกองกำลังทหารกะเหรี่ยงและชาวบ้านคอย<br />

ต้อนรับเพื่อทำพิธีปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นสุดท้ายใน<br />

ประเทศเมียนมา พระธรรมวรนายกนำคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดิน<br />

เจริญพระพุทธมนต์ คณะธรรมยาตรา กองกำลังทหารรัฐ<br />

กะเหรี่ยง พร้อมด้วยอุบาสกอุบาสิกาเมียนมาร่วมกันปลูก<br />

ต้นโพธิ์ต้นที่ ๑๔ โปรยดอกไม้มงคล รดน้ำต้นโพธิ์ด้วยน้ำนม<br />

สุดท้ายถ่ายภาพหมู่ไว้เป็นที่ระลึก มีต้นโพธิ์สัญลักษณ์แห่ง<br />

ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นพยานของพุทธมิตรภาพ ๕ แผ่นดิน<br />

ผูกพันไว้ด้วยกุศลในชาตินี้ ที่ร่วมกันสานเจตนาในการหนุน<br />

เสริมการเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนาในแผ่นดินลุ่ม<br />

น้ำโขง ให้แผ่นดินสุวรรณภูมิเรืองรองด้วยผู้ปฏิบัติธรรมตาม<br />

มรรคาแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

“ชาวบ้านและกองกําลัง<br />

ทหารกะเหรี่ยงนําโดย<br />

นายพันตรี มู่ตง ตั้งแถว<br />

คอยต้อนรับ เพื่อทําพิธี<br />

ปลูกต้นโพธิ์ต้นที่ ๑๔ ซึ่ง<br />

เป็นต้นสุดท้ายในแผ่นดิน<br />

เมียนมา”


398 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 399<br />

วันที่ ๑๓ มีนกะลาบา - ไจโต โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ส่งคณะธรรมยาตราข้ามแดนกลับไทย<br />

ภาพนายพันตรี มู่ตงยืนชูเสาธรรมจักรสัญลักษณ์ธรรมยาตรา โบกมืออำลาอยู่จุดกึ่งกลาง<br />

สะพานชายแดนเมียนมาเส้นแบ่งเขตระหว่างเมียนมากับไทย ภายในรถคณะธรรมยาตรา<br />

หลายท่านลุกขึ้นยืนชะเง้อมอง โบกมืออำลาท่านนายพันตรี มู่ตงและกองทหารกะเหรี่ยง<br />

ด้วยความประทับใจสุดบรรยาย<br />

๒ คืนในเมียนมาสร้างความประทับใจด้วยมิตรไมตรีและกุศลธรรมที่ร่วมกันบำเพ็ญ<br />

เริ่มตั้งแต่คณะเมียนมาเดินทางมาจากประเทศเมียนมา นำโดยพระภัททันตะ นาคะทีปะ คณะ<br />

ฆราวาสเมียนมานำโดย ดร.คิน ฉ่วย นายพันตรี มู่ตงพร้อมคณะจำนวน ๑ คันรถบัสเข้ามา<br />

ร่วมเดินทางกับคณะธรรมยาตราตั้งแต่ที่จังหวัดอุบลราชธานี เดินทางต่อไปยังสปป.ลาว<br />

และข้ามแดนเข้าสู่ประเทศกัมพูชาร่วมพิธีเปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระ<br />

อริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงอย่างเป็นทางการที่โรงแรมโซฟิเทล พนมเปญ โภคีธรา เมื่อเสร็จพิธีเปิด<br />

คณะเมียนมานำโดยพระภัททันตะ นาคะทีปะ ดร.คิน ฉ่วย รวมทั้งท่านนายพันตรี มู่ตงพร้อม<br />

คณะบางส่วนได้เดินทางกลับเมียนมาก่อนเพื่อเตรียมการพิธีต้อนรับและจัดงานธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดินฯ ณ เมียนมา ระหว่างรอคณะธรรมยาตราเดินทางเข้าสู่เวียดนามที่เมืองเกียนซาง<br />

แล้วย้อนกลับมาประเทศกัมพูชาอีกครั้งและพักค้างที่เกาะกง ก่อนกลับเข้าประเทศไทยไป<br />

อำเภอแม่สอดเดินทางเข้าสู่เมียนมาที่จังหวัดเมียวดี<br />

ณ จุดแบ่งเขตแดนไทย-เมียนมา คณะธรรมยาตราเมียนมานำโดยพระภัททันตะ<br />

นาคะทีปะ พร้อมคณะสงฆ์เมียนมา ดร.คิน ฉ่วย นายพันตรี มู่ตงได้มาคอยต้อนรับ พร้อมจัด<br />

พิธีต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่และอบอุ่น เช่นเดียวกันวันนี้เวลากล่าวค ำอำลามาถึง คณะธรรมยาตรา<br />

เมียนมาเดินทางมาคุ้มครองและส่งคณะของเรากลับประเทศไทยอย่างปลอดภัย พวกเรา<br />

โบกมือลากันและกัน ความรู้สึกถึงความเป็นญาติมิตรผู้มีความรักเทิดทูนในพระพุทธศาสนา<br />

เช่นเดียวกัน มีบิดาองค์เดียวกันคือสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า การจากในวันนี้จึงเป็น<br />

การจากเพื่อพบกันอีกในวันหน้า ขอผลบุญที่กระทำร่วมกันไว้ดีแล้วจงปกปักรักษาพี่น้อง<br />

นายพันตรี มู่ตงส่งคณะธรรมยาตราอย่างเรียบร้อยปลอดภัย<br />

ณ จุดสิ้นสุดเขตแดนเมียนมา เป็นภาพประทับใจสุดบรรยาย<br />

ญาติมิตรเมียนมาให้เจริญสุขเจริญใจในบวรแห่งพระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระศาสดา<br />

ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานเทอญ


400 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 401<br />

วันที่ ๑๒ มิงกะลาบา – สะเทิม วันที่ ๑๒ มิงกะลาบา – สะเทิม<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย<br />

ประชาชนล้นหลามร่วมฟังธรรมและสวดมนต์เย็น<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางกลับไทยโดยสวัสดิภาพ ผ่านพรมแดนอำเภอแม่สอดอย่างสะดวก<br />

จุดหมายต่อไปในค่ำคืนนี้คือศาลาปฏิบัติธรรม ณ บริษัท ที.เค. การ์เม้นท์ จ ำกัด คุณทวีกิจ<br />

จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก และเจ้าของบริษัทฯ ได้อาราธนาพระ<br />

ภัททันตะ นาคะทีปะและคณะสงฆ์ ๕ แผ่นดินมาพักฉันน้ำปานะ และเจริญพระพุทธมนต์<br />

ส่งท้ายวันนี้ด้วยการแสดงพระธรรมเทศนาโดยพระภัททันตะ นาคะทีปะ


402 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 403<br />

วันที่ ๑๓ สวัสดี - แม่สอด<br />

เมื่อคณะธรรมยาตราเดินทางมาถึงศาลา<br />

ปฏิบัติธรรม ณ บริษัท ที.เค. การ์เม้นท์ จำกัด<br />

ภาพที่เห็นคือมีคนมานั่งรอที่ศาลาแน่นขนัด มี<br />

ชาวเมียนมามาร่วมบุญจำนวนมาก สังเกตได้จาก<br />

ชุดแต่งกายประจำชาติและการทาแป้งทานาคา<br />

เมื่อถึงเวลาพระภัททันตะ นาคะทีปะ แสดงพระ<br />

ธรรมเทศนา เสียงสวดมนต์เป็นภาษาเมียนมา<br />

ดังขึ้นฟังดูหนักแน่นพร้อมเพรียง เป็นบรรยากาศ<br />

ที่น่าเลื่อมใสศรัทธามาก เมื่อเสร็จสิ้นการแสดง<br />

พระธรรมเทศนา ประชาชนที่มาฟังธรรมทั้งไทย<br />

และเมียนมาต่างร่วมทำบุญเป็นปัจจัยกันตาม<br />

ศรัทธา จากนั้นร่วมส่งคณะพระสงฆ์ธรรมยาตรา<br />

ขึ้นรถบัสเพื่อไปปักกลดพักค้างที่วัดโพธิคุณ ส่วน<br />

ฆราวาสพักค้างที่อำเภอแม่สอด โดยมีคุณทวีกิจ<br />

เป็นเจ้าภาพดูแลอาหารเย็นและที่พักค้าง<br />

การเยือน ๕ ประเทศเสร็จสิ้นลงแล้ว เวลา<br />

๑๓ วันผ่านไปอย่างรวดเร็ว ความรู้สึกอบอุ่นเป็น<br />

สุข เหมือนได้กลับไปเยี่ยมญาติมิตรที่จากกัน<br />

มานาน ชาวพุทธไม่ว่าจะอยู่ดินแดนไหน หากได้<br />

ประพฤติปฏิบัติตามมรรคแห่งองค์สมเด็จพระ<br />

สัมมาสัมพุทธเจ้าเฉกเช่นเดียวกันแล้ว ย่อมมีแต่<br />

ความเป็นมิตรอันอุดมด้วยกุศลสามัคคีธรรม


วันที่ ๑๔<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

ไทย<br />

สามัคคีธรรม<br />

นำความสำเร็จ<br />

วันเสาร์ที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

“ การเดินทางธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา ได้สิ้นสุดลง<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินเกิดผลสำเร็จลุล่วงด้วยสามัคคีธรรมของชาวพุทธลุ่มน้ำโขง<br />

วันนี้คณะธรรมยาตราวางแผนเดินทางโดยรถยนต์เป็นระยะทางกว่า ๕๐๐ กิโลเมตร<br />

จากอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีจุดหมายอยู่ที่วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙<br />

จังหวัดสมุทรปราการ วัดในสายงานพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล”


406 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 407<br />

วันที่ ๑๔ สวัสดี - กําแพงเพชร โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย<br />

สามัคคีธรรมนําความสําเร็จ<br />

ก<br />

ารเดินทางธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดิน ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา ได้สิ้นสุดลง<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินเกิดผลสำเร็จลุล่วงด้วยสามัคคีธรรมของชาวพุทธลุ่ม<br />

น้ำโขง วันนี้คณะธรรมยาตราวางแผนเดินทางโดยรถยนต์เป็นระยะทางกว่า ๕๐๐ กิโลเมตร<br />

จากอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีจุดหมายอยู่ที่วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙ จังหวัด<br />

สมุทรปราการ วัดในสายงานพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล<br />

คณะธรรมยาตราออกเดินทางจากอำเภอแม่สอด จังหวัดตากตั้งแต่เวลาเช้าตรู่<br />

คุณทวีกิจ จตุรเจริญคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก พร้อมด้วยฝ่ายบริหารและ<br />

พนักงานบริษัท ที.เค. การ์เม้นท์ จำกัด ซึ่งรับเป็นเจ้าภาพอาหารและที่พักตลอดเวลาที่คณะ<br />

ธรรมยาตราพำนักอยู่ที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้เป็นผู้ส่งคณะธรรมยาตราเดินทางสู่<br />

วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙ จังหวัดสมุทรปราการ<br />

๑๔ วันผ่านไปพร้อมการเดินทางใกล้สิ้นสุด ความตั้งใจอันเป็นกุศลของประชาชนชาว<br />

พุทธ ๕ แผ่นดินบรรลุวัตถุประสงค์ตามเจตนารมณ์ ย้อนรอยอดีตความมั่นคงแห่งแผ่นดิน<br />

พระพุทธศาสนาอันยั่งยืนเป็นเวลานานกว่า ๒,๐๐๐ ปี งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ใน<br />

ครั้งนี้จึงนับเป็นการเยี่ยมเยือนพี่น้องญาติมิตรชาวพุทธครั้งสำคัญ ความปีติสุขที่ได้รับจาก<br />

การต้อนรับด้วยน้ำใจอันอบอุ่นเกินความคาดหมาย<br />

การประกาศความดีงามพระพุทธศาสนาในครั้งนี้จึงนับเป็นความสำเร็จที่เกิดขึ้นด้วย<br />

พลังสามัคคีธรรม ด้วยทุกฝ่ายมีความเห็นตรงกัน มีเจตนาเดียวกันคือร่วมกันเชิดชูการนำ<br />

พุทธธรรมมาใช้ในองค์กรตั้งแต่ภาครัฐจนถึงระดับประชาชนทุกภาคส่วน เพื่อความสงบ<br />

สันติสุขร่มเย็นแห่งภูมิภาคลุ่มน้ำโขง<br />

สุขสงบด้วยธรรม<br />

ตลอดระยะเวลาการเดินทางหลายพันกิโลเมตรที่รอนแรมใน ๕ ประเทศ คณะธรรมยาตรา<br />

รวมทั้งภาคีเครือข่ายจาก ๕ ประเทศ ตลอดจนคณะทำงานพร้อมคณะสื่อมวลชน ๕ แผ่นดิน<br />

พวกเราต่างอยู่ร่วมกันด้วยความเบิกบานใจโดยใช้หลักธรรมของพระพุทธเจ้าที่ได้วางไว้ คือ<br />

มีเมตตากรุณาช่วยเหลือดูแลกัน แบ่งปันเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แสดงไมตรีจิตบำเพ็ญประโยชน์ต่อ<br />

หมู่คณะ มีความพร้อมเพรียงของหมู่คณะ ตั้งใจทำงานร่วมกันด้วยความเสียสละ ช่วยกันคิด<br />

สร้างสรรค์ความเจริญให้เกิดแก่ส่วนรวม ไม่คิดเพื่อประโยชน์ส่วนตัว ให้ความเคารพให้เกียรติ<br />

ซึ่งกันและกันในฐานะเป็นพุทธมิตรดุจครอบครัวเดียวกัน จึงไม่มีปัญหาใดๆ อันก่อให้เกิด


408 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 409<br />

วันที่ ๑๔ สวัสดี - กําแพงเพชร<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ความขัดแย้งขึ้น ปัญหาอุปสรรคใดๆ ย่อมมีเกิดขึ้นบ้างตามปกติ<br />

แต่คณะธรรมยาตราก็ได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้ลุล่วงไปด้วยดี<br />

เวลา ๑๔ วันจึงผ่านไปด้วยสันติเกื้อกูลสมานฉันท์ ด้วยคุณธรรม<br />

ชาวพุทธ จึงสำเร็จผลเกิดประโยชน์ทั้งส่วนตนและส่วนรวม<br />

กำแพงเพชร อารยธรรมพระพุทธศาสนารุ่งเรือง<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางถึงจังหวัดกำแพงเพชรเวลาประมาณ<br />

๑๑.๐๐ น. กำแพงเพชรเป็นนครเก่าแก่ของราชอาณาจักรไทย<br />

เจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยทวารวดี วันนี้คณะธรรมยาตรามีจุดหมาย<br />

พักฉันภัตตาหารเพลที่กำแพงเพชร เมืองแห่งประวัติศาสตร์ซึ่งมี<br />

อารยธรรมพระพุทธศาสนารุ่งเรือง<br />

สำหรับภัตตาหารเพลวันนี้ คณะศรัทธาในนามที่ว่าการจังหวัด<br />

กำแพงเพชรรับเป็นเจ้าภาพภัตตาหารเพลและเลี้ยงอาหารแก่คณะ<br />

ธรรมยาตราทุกท่าน คณะธรรมยาตราได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจาก<br />

คณะสงฆ์ นำโดยพระธรรมภาณพิลาส เจ้าคณะจังหวัดกำแพงเพชร<br />

เจ้าอาวาสวัดคูยางพระอารามหลวงถวายการต้อนรับคณะสงฆ์ธรรม-<br />

ยาตราฯ พร้อมผู้แทนผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร คุณกุลดา<br />

พันธ์เตี้ย รองผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร คุณสมนึก ปาปะเค<br />

วัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร คุณสุรพล กรีถาวร ผู้อำนวยการ<br />

สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกำแพงเพชร และหัวหน้าส่วน<br />

ราชการ เจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกำแพงเพชร<br />

สำนักงานจังหวัด และสื่อมวลชนจังหวัดกำแพงเพชรให้การต้อนรับ<br />

กันอย่างอบอุ่นคับคั่ง


คณะธรรมยาตราได้รับการต้อนรับจากพระธรรมภาณพิลาส<br />

410 ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 411<br />

เจ้าคณะจังหวัดกำแพงเพชร เจ้าอาวาสวัดคูยางพระอาราม<br />

วันที่ ๑๒ มิงกะลาบา – ปิลิน<br />

หลวง พร้อมผู้แทนผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร<br />

คุณกุลดา พันธ์เตี้ย รองผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร<br />

คุณสมนึก ปาปะเค วัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร<br />

คุณสุรพล กรีถาวร ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนา<br />

จังหวัดกำแพงเพชร และหัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่<br />

สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกำแพงเพชร สำนักงาน<br />

จังหวัดและสื่อมวลชนจังหวัดกำแพงเพชร


412 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 413<br />

วันที่ ๑๔ สวัสดี - กําแพงเพชร<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร<br />

เมืองกำแพงเพชรมีความรุ่งเรืองแห่งอารยธรรมพระพุทธศาสนา งดงามทรงคุณค่าจน<br />

ได้รับประกาศให้เป็น “มรดกโลก” ด้วยเวลาจำกัดจึงใช้รถไฟฟ้าเป็นพาหนะในการเยี่ยมชม<br />

อุทยานประวัติศาสตร์อันกว้างใหญ่ แวะลงบ้างเป็นบางจุด กำแพงเพชรเป็นเมืองเก่าแก่ที่<br />

เปี่ยมด้วยพลังศรัทธาของมหาชนชาวพุทธซึ่งปรากฏให้พบเห็นอยู่ทั่วไปในเมืองโบราณ ตั้งแต่<br />

ซากกำแพงเมืองกำแพงเพชรที่ตอนบนก่อด้วยศิลาแลงเป็นเชิงเทิน พบใบเสมาอันเป็น<br />

สัญลักษณ์สำคัญทางพระพุทธศาสนาที่แสดงให้เห็นว่ามีการกำหนดขอบเขตหรือหลักเขต<br />

สำคัญว่าบริเวณนี้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ตลอดเส้นทางที่คณะธรรมยาตราเคลื่อนผ่านพบพุทธ-<br />

โบราณสถานปรากฏอยู่จำนวนไม่น้อย เช่น วัดพระแก้ว วัดพระบรมธาตุ วัดซุ้มกอ วัดเจดีย์<br />

กลางทุ่ง วัดหนอง วัดพระนอน วัดพระสี่อิริยาบถ หรือวัดพระยืน วัดพระสิงห์ วัดช้างรอบ<br />

วัดอาวาสใหญ่ ฯลฯ นอกจากนี้ยังพบความผูกพันระหว่างชาวพุทธเมียนมาและไทยปรากฏ<br />

ให้เห็นด้วย ตามคำบอกเล่าว่า ที่วัดพระบรมธาตุเดิมเป็นเจดีย์ที่พญาลิไทเสด็จมาสถาปนา<br />

และบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้เมื่อ พ.ศ. ๑๙๐๐ ศิลปะเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ๓ องค์<br />

ต่อมาประมาณร่วม ๑๐๐ ปีที่ผ่านมามีพ่อค้าไม้ชาวกะเหรี่ยงได้ปฏิสังขรณ์เป็นเจดีย์ศิลปะ<br />

เมียนมา<br />

ด้วยเวลาอันจำกัดในครั้งนี้จึงเป็นการชมเมืองเก่าโดยคำบอกเล่าของผู้นำทางในระยะ<br />

เวลาสั้น แต่ก็ได้รับความปีติสุขด้วยเห็นร่องรอยศรัทธาอันมั่นคงแห่งบรรพบุรุษที่ร่วมกันสละ<br />

ทรัพย์และแรงกายแรงใจสร้างพระพุทธสถานทำนุบำรุงให้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง<br />

สืบทอดต่อมาถึงยุคเรา<br />

เมื่อเวลามาถึง คณะธรรมยาตรากล่าวอำลาและเดินทางมุ่งสู่วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี<br />

๙๘๙ ปักกลดพักค้างคืนสุดท้าย รุ่งเช้าเข้าร่วมพิธีปิดงานธรรมยาตราฯนั้น ตามดำริของพระ<br />

ธรรมโพธิวงศ์ ผู้อำนวยการสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศ<br />

อินเดีย-เนปาล


414 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 415<br />

“อุทยานประวัติศาสตร์เมืองกําแพงเพชรรุ่งเรืองด้วยอารยธรรม<br />

“อุทยานประวัติศาสตร์เมืองกำแพงเพชรรุ่งเรืองด้วยอารยธรรม<br />

พระพุทธศาสนาทรงคุณค่างดงามจนได้รับประกาศให้เป็น “มรดกโลก”<br />

มีอาณาบริเวณกว้างใหญ่ เป็นเมืองเก่าแก่ที่เต็มด้วยพลังศรัทธาของมหาชน<br />

ชาวพุทธปรากฏให้พบเห็นอยู่ทั่วไปในเมืองโบราณ ตั้งแต่ซากกําแพง ตั้งแต่ซากกำแพง<br />

เมืองกําแพงเพชรตอนบนก่อด้วยศิลาแลงเป็นเชิงเทิน เมืองกำแพงเพชรตอนบนก่อด้วยศิลาแลงเป็นเชิงเทิน พบใบเสมาอันเป็น<br />

สัญลักษณ์สําคัญทางพระพุทธศาสนาที่แสดงให้เห็นว่ามีการกําหนด<br />

สัญลักษณ์สำคัญทางพระพุทธศาสนาที่แสดงให้เห็นว่ามีการกำหนด<br />

ขอบเขตหรือหลักเขตสําคัญว่าบริเวณนี้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ขอบเขตหรือหลักเขตสำคัญว่าบริเวณนี้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ”


416 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 417<br />

วันที่ ๑๔ สวัสดี - สมุทรปราการ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ยามเย็นที่วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙<br />

ขณะดวงตะวันกำลังลดแสงลงในยามเย็น คณะธรรมยาตราเดินทางมาถึง<br />

วัดสุวรรณภูมิฯ ซึ่งตั้งอยู่บนถนนวัดศรีวารีน้อย ซอยลาดกระบัง ๕๔ เมื่อรถ<br />

เลี้ยวเข้าวัดก็ต้องตื่นตากับดอกบัวที่บานสะพรั่งเต็มสระดูละลานตานับ<br />

พันดอก รู้ภายหลังว่าเป็นดอกบัวที่มีสายพันธุ์มาจากทั่วโลก<br />

วัดสุวรรณภูมิฯ ยังอยู่ในระหว่างก่อสร้าง ด้วยศรัทธาอันแรงกล้าและ<br />

มุ่งมั่นของพระเดชพระคุณพระธรรมโพธิวงศ์ ผู้อุทิศทุ่มเททำงานเผยแผ่<br />

พระพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดีย-เนปาล รวมกับคณะศรัทธาสาธุชนที่มีความ<br />

รักต่อประเทศอินเดียอันเป็นดินแดนถิ่นกำเนิดพระพุทธศาสนา จึงได้ดำริ<br />

สร้างวัดนี้ขึ้นและก่อสร้างพระมหาเจดีย์พุทธคยาจำลองขึ้นเป็นลำดับแรก<br />

คณะรถยนต์ตั้งขบวนจอดไม่ไกลจากสถานที่ก่อสร้างพระมหาเจดีย์<br />

พุทธคยา ซึ่งดูน่าตื่นตาตื่นใจแม้ยังสร้างไม่แล้วเสร็จ ทันทีที่รถยนต์จอด<br />

คณะสงฆ์วัดสุวรรณภูมิฯ ซึ่งเป็นผู้แทนพระธรรมโพธิวงศ์ได้ถวายการต้อนรับ<br />

คณะสงฆ์ ๕ ประเทศ และต้อนรับคณะธรรมยาตรา<br />

ผ่านการเดินทางยาวนานของวันนี้ คณะเดินทางมาถึงวัดสุวรรณภูมิฯ<br />

โดยสวัสดิภาพ พระอาทิตย์สาดส่องแดดพอสบาย ภาพพระเจดีย์จำลอง<br />

พุทธคยาที่กำลังก่อสร้างให้ความอบอุ่นใจยิ่งนัก หลังจากฉันน้ำปานะที่ทาง<br />

วัดสุวรรณภูมิฯ จัดถวายแล้ว คณะสงฆ์ธรรมยาตราก็เตรียมปักกลดพักค้าง<br />

คืนนี้เป็นคืนสุดท้าย<br />

พรุ่งนี้ทุกท่านจะเข้าร่วมพิธีปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอย<br />

พระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง ครั้งที่ ๑ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ กันอย่างพร้อมเพรียง<br />

ในวันอาทิตย์ที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐


วันที่ ๑๕<br />

xxxxx กัมพูชา<br />

ไทย<br />

ลุ่มน้ำโขง<br />

สุวรรณภูมิ<br />

แผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง<br />

วันอาทิตย์ที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

“ คณะธรรมยาตราเดินทางกลับสู่ราชอาณาจักรไทย<br />

พร้อมแล้วสำหรับพิธีปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

ในวันนี้ที่วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙ ตำบลศีรษะจระเข้น้อย อำเภอบางเสาธง<br />

จังหวัดสมุทรปราการ รวมระยะเวลาเดินทาง ๕ ประเทศ ทั้งหมด ๑๕ วัน<br />

เพื่อมุ่งประกาศคุณพระรัตนตรัย สมบัติพุทธธรรมให้แผ่ขยายไปทั่ว<br />

ดินแดนลุ่มน้ำโขง สุวรรณภูมิแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง”


420 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 421<br />

วันที่ ๑๕ สวัสดี - สมุทรปราการ<br />

สุวรรณภูมิ<br />

แผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางกลับสู่ราชอาณาจักร<br />

ไทย พร้อมแล้วสำหรับพิธีปิดงานธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงในวันนี้ที่<br />

วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙ ตำบลศีรษะจระเข้<br />

น้อย อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ รวม<br />

ระยะเวลาเดินทาง ๕ ประเทศ ทั้งหมด ๑๕ วัน เพื่อ<br />

มุ่งประกาศคุณพระรัตนตรัย สมบัติพุทธธรรมให้แผ่<br />

ขยายไปทั่วดินแดนลุ่มน้ำโขง สุวรรณภูมิแผ่นดินธรรม<br />

แผ่นดินทอง<br />

วัดสุวรรณภูมิฯ จุดเชื่อมพุทธภูมิ-สุวรรณภูมิ<br />

คณะสงฆ์ธรรมยาตราปักกลดพักค้างที่วัดสุวรรณภูมิฯ<br />

ตั้งแต่เมื่อคืน เพื่อเตรียมตัวเข้าร่วมพิธีปิดซึ่งจัดขึ้น<br />

ตามดำริของพระเดชพระคุณพระธรรมโพธิวงศ์<br />

ผู้อำนวยการหลักสูตรสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐<br />

หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย-เนปาล ประธาน<br />

ฝ่ายสงฆ์ผู้จัดงานธรรมยาตราฯ ในครั้งนี้ สำหรับวัด<br />

สุวรรณภูมินั้นเป็นวัดสำคัญในสายงานพระธรรมทูต<br />

อินเดีย-เนปาล ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างก่อสร้าง<br />

สวัสดี<br />

ประเทศไทย


422 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 423<br />

วันที่ ๑๕ สวัสดี - สมุทรปราการ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

มีวัตถุประสงค์ก่อสร้างเพื่อเป็นพุทธานุสรณ์<br />

สถานแห่งการฉลองพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ปี<br />

แห่งการตรัสรู้ขององค์สมเด็จพระสัมมา-<br />

สัมพุทธเจ้า ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระ-<br />

บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ และ<br />

เพื่อสร้างพระมหาเจดีย์พุทธคยาสัตต-<br />

มหาสถาน สังเวชนียสถานทั้ง ๔ นอกจากนี้<br />

วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙ ยังออกแบบ<br />

มาให้เป็นอาวาสสำหรับรับรองคณะพระ<br />

ธรรมทูตที่ปฏิบัติศาสนกิจในประเทศต่างๆ<br />

และพระสงฆ์นานาชาติมาร่วมทำกิจกรรม<br />

ทางศาสนา และเป็นศูนย์กลางประสานงาน<br />

และส่งเสริมการปฏิบัติธรรม ศึกษาเรียนรู้<br />

พระพุทธศาสนาภายในสังเวชนียสถานใน<br />

กลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขงสุวรรณภูมิและกลุ่ม<br />

ประชาคมอาเซียน AEC<br />

และที่สำคัญที่นี่เป็นศูนย์ช่วยเหลือ<br />

ดูแลผู้ไปจาริกแสวงบุญ ณ ประเทศอินเดีย-<br />

เนปาลก่อนเดินทางไปในดินแดนพุทธภูมิ<br />

วัดสุวรรณภูมิฯ แห่งนี้เมื่อสร้างเสร็จแล้วจะ<br />

เป็นศูนย์ประสานงานกับสำนักงานกำกับดูแล<br />

พระธรรมทูตไปต่างประเทศ และเป็นสถานที่<br />

ตั้งสถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ด้วย<br />

วัดสุวรรณภูมิฯ เป็นผลแห่งการ<br />

เรียนรู้จากประสบการณ์มายาวนานกว่า<br />

๓๐ ปีในแผ่นดินอินเดียและเนปาลของ<br />

พระเดชพระคุณพระธรรมโพธิวงศ์ ผู้มีอีก<br />

ภาระหน้าที่หนึ่งคือ การเป็นประธานก่อสร้าง<br />

วัดสุวรรณภูมิฯ ท่านได้นำสิ่งที่เรียนรู้จาก<br />

อินเดีย-เนปาลกลับมาสู่ประเทศไทย ผ่าน<br />

ความร่วมมือของพุทธบริษัท ๔ ร่วมกันสร้าง<br />

วัดแห่งนี้ขึ้นเพื่อประโยชน์ของการเชื่อมต่อ<br />

และความร่วมมือในการทำงานพระพุทธ-<br />

ศาสนาระหว่างประเทศในภาคพื้นแผ่นดิน<br />

สุวรรณภูมิกับแผ่นดินพุทธภูมิ อินเดีย-เนปาล<br />

อีกประการหนึ่งคือวัดนี้จะเป็นสถานที่ให้<br />

พุทธศาสนิกชนที่ไม่มีโอกาสได้เดินทางไป<br />

แสวงบุญที่อินเดีย-เนปาลได้มาชมสังเวช-<br />

นียสถานจำลอง หรือคนที่เคยไปแล้วคิดถึง<br />

สังเวชนียสถานที่ไม่มีโอกาสกลับไปเยือนก็<br />

กลับมาชมสังเวชนียสถานจำลองได้ที่นี่<br />

สำหรับการก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน<br />

๕-๑๐ ปีนี้ ปัจจุบันกำลังก่อสร้างพระมหา<br />

เจดีย์พุทธคยาจำลองขนาดเท่าจริงเพื่อให้<br />

เป็นสัญลักษณ์ของความรุ่งเรืองแห่งพระพุทธ<br />

ศาสนาจากแดนพุทธภูมิสู่สุวรรณภูมิ


424 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 425<br />

วันที่ ๑๒ มิงกะลาบา – ปิลิน<br />

“ตักบาตร พุทธประเพณีสั่งสมความสุข เช้าตรู่ ณ วัดสุวรรณภูมิฯ<br />

คณะศรัทธาญาติโยม มีจุดนัดพบอยูที่เสาอโศกจําลองด้านหน้าวัด<br />

ต่างยืนต่อแถวเป็นแนวยาวรอคณะสงฆ์ธรรมยาตรากันอย่างพร้อมเพรียง”


426 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 427<br />

วันที่ ๑๔ สวัสดี - กําแพงเพชร<br />

โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ตักบาตร...พุทธประเพณีสั่งสมความสุข<br />

เช้าตรู่ ณ วัดสุวรรณภูมิฯ คณะศรัทธาญาติโยมมีจุดนัดพบอยู่ที่เสาอโศกจำลองด้านหน้าวัด<br />

เสาอโศกหรือเสาหินพระเจ้าอโศกมหาราช ยอดเสาสิงโตของพระเจ้าอโศกเป็น<br />

ประติมากรรมสิงโต ๔ ตัวยืนหันหลังให้กัน ตั้งตระหง่านอยู่ด้านหน้าวัดสุวรรณภูมิฯ เพื่อเป็น<br />

เครื่องระลึกถึงพระคุณอันยิ่งใหญ่ของพระเจ้าอโศกมหาราชในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา<br />

พระองค์ทรงสร้างวัดวาอารามสถูปพระมหาเจดีย์จำนวนมากมาย และส่งคณะพระธรรมทูต<br />

มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแผ่นดินลุ่มน้ำโขง ซึ่งเรียกขานว่าแผ่นดินสุวรรณภูมิ จนพระพุทธ-<br />

ศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาจวบจนทุกวันนี้ เสาอโศกจำลองที่วัดสุวรรณภูมิฯ จึงเสมือนหนึ่ง<br />

เครื่องหมายสถานที่ที่วัดสุวรรณภูมิฯ สร้างขึ้นเพื่อให้พุทธศาสนิกชนในไทยและประเทศ


428 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 429<br />

วันที่ ๑๕ สวัสดี - สมุทรปราการ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

เพื่อนบ้านได้ศึกษา เป็นสื่อกลางเชื่อมโยงแผ่นดินสุวรรณภูมิและพุทธภูมิ<br />

อินเดีย-เนปาล<br />

จุดนัดพบของคณะศรัทธาญาติโยมเพื่อรอคอยใส่บาตรพระสงฆ์<br />

นับเป็นบรรยากาศที่ตื่นใจ เสาหินพระเจ้าอโศกมหาราชตั้งตระหง่าน<br />

บริเวณถัดไปเป็นบึงบัวล้อมคณะศรัทธาไว้ ดอกบัวตูมดอกบัวบานชูช่อ<br />

สะพรั่ง คณะศรัทธาตั้งแถวรอคอยคณะสงฆ์ แม้เมื่อคืนฝนจะตกหนัก<br />

พื้นที่เฉอะแฉะไม่สะดวก แต่ผู้คนจำนวนไม่น้อยก็ยังรอคอยที่จะใส่บาตร<br />

ด้วยความเลื่อมใสศรัทธาโดยไม่ท้อถอย<br />

เวลาประมาณ ๐๗.๐๐ นาฬิกา คณะสงฆ์นำโดยพระธรรมวรนายก<br />

นำแถวคณะสงฆ์ออกรับบิณฑบาตด้วยกิริยาสงบสำรวม มีคุณวินัยและ<br />

คุณนวลลออ วีระภุชงค์ ประธานมูลนิธิวีระภุชงค์เป็นประธานในพิธีใส่บาตร<br />

พร้อมด้วย ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการ และครอบครัววีระภุชงค์ คณะ<br />

ทำงานภาคีเครือข่าย ๕ ประเทศ ศรัทธาสาธุชนร่วมกันใส่บาตรกันอย่าง<br />

อิ่มใจ เมื่อพระสงฆ์ออกรับบิณฑบาตเรียบร้อยแล้วจากนั้นพิธีล้างเท้าพระ<br />

ด้วยความศรัทธาเลื่อมใสต่อพระสงฆ์คณะธรรมยาตราที่เดินทางรอนแรม<br />

มาเป็นระยะทางไกล อุบาสกอุบาสิกาได้รวมตัวนัดหมายแต่งกายด้วยชุด<br />

ไทยอย่างสวยงาม ตั้งแถวรอคณะพระสงฆ์เพื่อบรรจงล้างเท้าพระด้วย<br />

ความเคารพ ประเพณีล้างเท้าพระนี้ที่นิยมปฏิบัติกันมานานตั้งแต่สมัย<br />

โบราณและยังคงสืบทอดมาจวบจนวันนี้ เมื่อเสร็จพิธีก็พากันแยกย้าย<br />

ไปถวายภัตตาหารเช้าคณะสงฆ์ เช้านี้ต่างได้เติมบุญเติมกุศลเริ่มต้น<br />

วันใหม่ด้วยจิตใจแจ่มใส มีกำลังใจที่เข้มแข็ง มีบุญเกื้อหนุนอยู่ในจิตใจ<br />

แล้ว ด้วยกุศลผลบุญจากการตักบาตรและร่วมพิธีล้างเท้าพระ ช่วยกัน<br />

รักษาพุทธประเพณีอันดีงามไว้เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา


430 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 431<br />

วันที่ ๑๕ สวัสดี - สมุทรปราการ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

ศรัทธาสามัคคีพิธีปิดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ<br />

พิธีปิดโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยอริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำโขงเริ่มต้นขึ้นในเวลา<br />

ประมาณ ๐๙.๐๐ นาฬิกา ทุกท่านอยู่ในพิธีพร้อมเพรียงกัน ประธานสงฆ์ พระธรรมปัญญาบดี<br />

นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์<br />

ราชวรมหาวิหาร พร้อมด้วยผู้แทนคณะสงฆ์ ๕ ประเทศ พระธรรมวรนายก ที่ปรึกษาเจ้าคณะ<br />

จังหวัดนครราชสีมา พระนาคะทีปะ เจ้าอาวาสวัดไจทีเซา ประเทศเมียนมา พระบุญปอน<br />

ศรศักดิ์สิทธิ์ รองเจ้าคณะแขวงจำปาสัก ประเทศ สปป.ลาว พระครูอธิการปัญญาปโชโต<br />

ฮุนเฮง เจ้าอาวาสวัดโพธิ์แก้ว ประเทศกัมพูชา และพระมหาการุญ รองเจ้าอาวาสวัดธรรมจักร<br />

การาม เมืองเว้ ประเทศเวียดนาม พร้อมคณะสงฆ์ธรรมยาตรา คณะสงฆ์วัดสุวรรณภูมิฯ คณะ<br />

ฆราวาส หน่วยภาคีเครือข่าย ๕ ประเทศ คณะทำงานสถาบันโพธิคยาฯ และชมรมโพธิคยาฯ<br />

ภายในงานมีแขกผู้มีเกียรติมาร่วมพิธีจำนวนมาก เช่น ดร.วินัย วีระภุชงค์ ประธาน<br />

มูลนิธิวีระภุชงค์ พร้อมภรรยานางนวลลออ วีระภุชงค์ พลเอก วิชิต ยาทิพย์ นายกสมาคม<br />

มิตรภาพไทย-กัมพูชา และนายกสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-เมียนมา ดร.แยอ่อง<br />

รองประธานสมาคมศาสนทนุกกะหะแห่งสหภาพเมียนมา นายมานัส ทารัตน์ใจ อธิบดี<br />

กรมการศาสนา นายชาติชาย อุทัยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวประภา<br />

แพงไท ผู ้อำนวยการสำนักงานพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรปราการ นายโกวิท ผกามาศ<br />

วัฒนธรรมจังหวัดสมุทรปราการ พร้อมด้วยผู้มีเกียรติ เช่น พลเอก ยศนันท์ หร่ายเจริญ<br />

ดร.ชัยยงค์ สัจจิมานนท์ อดีตอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา คุณธนาชัย ธีรพัฒนวงศ์<br />

ประธานกรรมการ Spring News คุณนิวัติ แจ้งอริยวงศ์ คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล อธิบดี<br />

อัยการสำนักงานการสอบสวน คุณณรงค์ฤทธิ์ เอี่ยมเจริญยิ่ง ประธานมูลนิธิวัดไทยกุสินารา<br />

เฉลิมราชย์ อดีตเอกอัครราชทูตสุรพล มณีพงษ์ คุณเกษม มูลจันทร์ นายแพทย์สุภชัย<br />

ถนอมทรัพย์ ทันตแพทย์มณฑล สุวรรณนุรักษ์ และแขกผู้มีเกียรติอีกมากมาย<br />

เมื่อเวลาอันเป็นมงคล ประธานฝ่ายฆราวาส ฯพณฯ พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร<br />

รองนายกรัฐมนตรี จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ เลขาธิการสถาบัน


432 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 433<br />

วันที่ ๑๕ สวัสดี - สมุทรปราการ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

โพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ กล่าวรายงานสรุปโครงการและนิมนต์ผู้แทนคณะสงฆ์ระดับสูง<br />

๕ ประเทศกล่าวสัมโมทนียกถา จากนั้นเป็นพิธีถวายและมอบของที่ระลึก ประธานร่วม<br />

ฝ่ายฆราวาสจาก ๕ ประเทศถวายของที่ระลึกแด่ผู้แทนคณะสงฆ์ระดับสูง ๕ ประเทศ และ<br />

ดร.วินัย วีระภุชงค์ ประธานมูลนิธิวีระภุชงค์ มอบของที่ระลึกแด่ประธานร่วมฝ่ายฆราวาส<br />

จาก ๕ ประเทศ<br />

พลเอก ธนศักดิ์ ปฏิมาประกร กล่าวว่า โครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดินฯ ได้ช่วย<br />

เสริมสร้างความสัมพันธ์ใน ๕ ประเทศให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เห็นได้จากช่วงการเดินทางมี<br />

พุทธศาสนิกชนมาต้อนรับอย่างคับคั่งไม่ว่าจะฝนตกขนาดไหนก็ตาม ถือว่าประสบความ<br />

สำเร็จ ขอชื่นชมว่าเป็นโครงการที่ดีและยืนยันว่ารัฐบาลยินดีให้การสนับสนุนในครั้งต่อไป<br />

และจัดให้ยิ่งใหญ่ขึ้น เพราะเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยสร้างชาติ สร้างความรักความสามัคคีในหมู่<br />

๕ ประเทศอาเซียนนี้ประสบผลสำเร็จรุ่งเรือง<br />

ดร.วินัย วีระภุชงค์กล่าวว่า ในนามมูลนิธิวีระภุชงค์ผมคิดอยู่เสมอว่า ทำอย่างไรพวก<br />

เราจะช่วยกันเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นสิ่งที่ดี ทำให้ทุกคนระลึกถึงว่าเรามี<br />

พระพุทธเจ้าองค์เดียวกัน และพระองค์ได้สั่งสอนอบรมให้ทุกคนเป็นคนดี โครงการนี้ยอมรับ<br />

ว่าคณะทำงานเหนื่อยมากจากการต้องเตรียมงานมาเกือบ ๒ ปีแต่เมื่อได้เห็นประชาชนทุก<br />

ประเทศที่คณะธรรมยาตราผ่านออกมาทำบุญตักบาตรกันอย่างล้นหลามก็เป็นที่พึงพอใจ<br />

เพราะทำให้ประชาชนมีความสุข หันมานึกถึงพระพุทธเจ้าองค์เดียวกันทั้ง ๕ ประเทศ นี่คือ<br />

ความปลาบปลื้มใจ<br />

ดร.สุภชัย วีระภุชงค์กล่าวว่า สถาบันโพธิคยาฯ ยืนยันจะจัดต่อเนื่องแบบนี้ ปีเว้นปี<br />

และเปลี่ยนเส้นทาง ส่วนจะเป็นเส้นทางใด คณะกรรมการสถาบันโพธิคยาฯ จะประชุมสรุป<br />

กันอีกครั้ง โดยเน้นเมืองศูนย์กลางหรือเมืองเก่าของแต่ละประเทศ เพื่อเชิดชูพุทธวัฒนธรรม<br />

และพุทธประเพณีของแต่ละประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง เพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว<br />

สำคัญทางพระพุทธศาสนาในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงต่อไป<br />

หลังจากนั้นคณะสงฆ์และแขกผู้มีเกียรติทุกท่านได้ร่วมพลังกันนำวิถีพุทธมาเผยแผ่<br />

ปกป้องพระพุทธศาสนา เชื่อมโยงการสร้างความผูกพันระหว่างชาวพุทธเพื่อการอยู ่ร่วมกัน<br />

อย่างสงบสุขและสันติ และเพื่อความร่วมมือในทุกด้านของแผ่นดินลุ่มน้ำโขง ดินแดน<br />

สุวรรณภูมิ และชาวประชาคมอาเซียน


434 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 435<br />

วันที่ ๑๕ สวัสดี - สมุทรปราการ โดย ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์ แมนชาติ<br />

อัญเชิญจีวรห่มพระมหาเจดีย์<br />

และปลูกต้นพระศรีมหาโพธิต้นสุดท้าย<br />

พิธีอัญเชิญจีวร ผ้ากาสาวพัสตร์อันเป็นธงชัยพระอรหันต์ ห่มพระมหาเจดีย์<br />

พุทธคยาจำลอง เพื่อเป็นสื่อแทนหัวใจรักในพระพุทธศาสนา คณะสงฆ์<br />

และแขกผู้มีเกียรติทุกท่านบรรจงเขียนชื่อตนเองและบุคคลอันเป็น<br />

ที่รักลงบนผ้าจีวรที่เย็บต่อกันยาวถึง ๔๕ เมตร เป็นตัวเลขแทน ๔๕<br />

พรรษาที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศศาสนา น้อมรำลึก<br />

ถึงพระบริสุทธิคุณ พระปัญญาธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์<br />

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านผ้าจีวรผืนยาวสุดตา เมื่อถึงเวลา<br />

ทุกรูปทุกท่านได้ร่วมกันอัญเชิญผ้าจีวรผืนนี้ขึ้นห่มรอบองค์พระ<br />

มหาเจดีย์พุทธคยา ชูธงชัยมุ่งรับใช้พระพุทธศาสนาตามรอยพระอริย-<br />

สงฆ์ พระอรหันตเจ้า และองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

พิธีการสุดท้ายคณะสงฆ์พร้อมฆราวาสได้ร่วมปลูกต้นพระศรี-<br />

มหาโพธิ์บริเวณหน้าพระมหาเจดีย์พุทธคยาจำลอง ณ เวลานั้นความ<br />

อัศจรรย์ก็ปรากฏ พระอาทิตย์ขึ้นทรงกลด เสียงเจริญพระพุทธมนต์<br />

ดังขณะทุกฝ่ายร่วมปลูกและรดน้ำต้นพระศรีมหาโพธิ์ งานธรรมยาตรา<br />

๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขงเสร็จสิ้นสำเร็จลงแล้วอย่าง<br />

สมบูรณ์ เชื่อว่ากุศลศรัทธาที่ทุกท่านร่วมสร้างในวันนี้จักเป็นสิริมงคล<br />

ปกป้องคุ้มครองท่าน ให้ท่านสมปรารถนาดังดวงใจที่มุ่งมั่นในการทำงาน<br />

รับใช้หนุนเสริมการเผยแผ่และปกป้องพระพุทธศาสนาให้เจริญสืบไป<br />

ตลอดกาลเทอญ<br />

พบกันใหม่ใน พ.ศ. ๒๕๖๒ งานธรรมยาตรา ๖ แผ่นดิน เมียนมา<br />

กัมพูชา จีน สปป.ลาว ไทย และเวียดนาม


436 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 437<br />

กาลานุกรมพระพุทธศาสนาจากพุทธภูมิ-อินเดียสู่ลุ่มนํ้ำโขงสุวรรณภูมิ<br />

โดย ดร.พารณี เจียรเกียรติ<br />

พ.ศต.ที่<br />

๓ พ.ศ. ๒๒๒<br />

v พระเจ้าอโศกมหาราชและการเกิดของพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิเมื่อ<br />

พ.ศ.<br />

๒๒๒ หลังจากพระเจ้าอโศกมหาราชตีแคว้นกลิงคะได้ ทรงสลดพระทัยต่อความทุกข์-<br />

ยากของประชาชน จึงได้หันมานับถือวิถีแห่งสันติและเมตตาของพระพุทธศาสนาโดย<br />

ประกาศละเลิกสังคามวิชัย แล้วเปลี่ยนมาดำเนินนโยบายธรรมวิชัย เน้นการสร้างสิ่ง<br />

สาธารณูปโภคบำรุงความสุขและศีลธรรมของประชาชน อุปถัมภ์บำรุงพระสงฆ์ สร้าง<br />

วิหาร (วัด) ๘๔,๐๐๐ แห่งเป็นศูนย์กลางศึกษา และทำศิลาจารึกซึ่งนักปราชญ์ทั้งหลาย<br />

เรียกว่า “อโศกธรรม” เป็นการสื่อสารเสริมธรรมแก่ประชาชน ประกาศหลักการแห่ง<br />

เสรีภาพแบบสมัครสมานทางศาสนา และที่สำคัญทรงอุปถัมภ์สังคายนาครั้งที่ ๓ จากนั้น<br />

ใน พ.ศ. ๒๓๕ ได้ส่งพระสมณทูต ๙ สายไปประกาศพระศาสนาในแดนห่างไกล ดังนี้<br />

๑. พระมัชฌันติกะ ไป กัสมีร-คันธารรัฐ<br />

๒. พระมหาเทวะ ไป มหิงสกมณฑล<br />

๓. พระรักขิตะ ไป วนวาสี (รัฐ)<br />

๔. พระโยนกธรรมรักขิต ไป อปรันตกะ (รัฐ)<br />

๕. พระมหาธรรมรักขิต ไป มหารัฐ<br />

๖. พระมหารักขิต ไป โยนกรัฐ<br />

๗. พระมัชฌิมะ ไป เทศภาคแห่งหิมวันต์<br />

๘. พระโสณะและอุตตระ ไป สุวรรณภูมิ<br />

๙. พระมหินทะ ไป ตัมพปัณณิทวีป (ลังกา)<br />

ที่มา : หนังสือกาลานุกรมพระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) หน้า ๓๘-๓๙<br />

(ยุโรปตะวันออก)<br />

โยนก<br />

(กรีก)<br />

อียิปต<br />

อาหรับ<br />

อปรันดา<br />

กัษมีระ<br />

คันธาระ<br />

ชมพูทวีป<br />

มหารัฐ<br />

ปาฏลีบุตร<br />

มหิสสกะ<br />

ทวีปเอเชีย<br />

แสดงการแผ่ขยายของพุทธศาสนายุคอโศกมหาราช<br />

(พ.ศ. ๒๓๖-๒๗๐) พุทธศาสนาเถรวาทแผ่ออก<br />

นอกชมพูทวีป และไปถึงยุโรปเป็นครั้งแรก เมื่อ<br />

อโศกมหาราช ถวายการอุปถัมภ์การสังคายนา<br />

ครั้งที่ ๓ ที่ปาฏลีบุตร (ปัตนะ) จนเสร็จสิ้นแล้ว<br />

โดยทรงมอบพระบรมสารีริกธาตุให้พระธรรมทูต<br />

ทุกๆ สายอัญเชิญไปยังดินแดน (ประเทศ) นั้นๆ<br />

ด้วย เช่น สุวรรณภูมิ (นครปฐม) เป็นต้น<br />

ลังกา<br />

หิมวันตประเทศ<br />

สุวรรณภูมิ<br />

(นครปฐม)<br />

อินทรปุระ<br />

จัมปา<br />

วิชัยปุระ<br />

ตามพรลิงค (นครศรี)<br />

ศรีวิชัย<br />

สิงหปุระ


438 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 439<br />

พ.ศต.ที่<br />

๖-๑๑<br />

ฟูนัน (กัมพูชา)<br />

รูปปั้นและ<br />

เงินตราสมัย<br />

อาณาจักรฟูนัน<br />

พ.ศ. ๖๑๒ พ.ศ. ๖๒๑<br />

ศรีโคตรบูรณ์ (ลาว)<br />

v พ.ศ. ๖๑๒ ชาวลาวอพยพ<br />

จากจีนมาอยู่ในอาณาจักร<br />

อ้ายลาว นับถือพระพุทธศาสนา<br />

รูปแบบเฉพาะตน<br />

v อาณาจักรฟูนัน พราหมณ์ชาวอินเดีย (โกณฑัญญะ)<br />

ที่เดินทางมาทางทะเลได้ขึ้นฝั่งบริเวณชายฝั่งพื้นที่อินโดจีน<br />

ได้แต่งงานกับนางพญาขอม และเผยแผ่อิทธิพลของอินเดีย<br />

ที่เห็นได้ชัด ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ และ<br />

ศิลปกรรมสาขาต่าง ๆ ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ ๘<br />

พระพุทธศาสนาแบบมหายานเจริญรุ่งเรืองมาก<br />

v พระมหากษัตริย์เปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา<br />

ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง มีภิกษุสามเณร<br />

จำนวนมาก<br />

ทวารวดี (ไทย)<br />

v ประมาณ<br />

พ.ศ. ๖๒๑<br />

พระเจ้ามิ่งตี้<br />

(ราชวงศ์ฮั่น) ทรงส่งทูต<br />

สันถวไมตรีมายัง<br />

ขุนหลวงเม้ากษัตริย์ไทยแห่ง<br />

อาณาจักรอ้ายลาว (มณฑล<br />

ยูนนานทางตอนใต้ของจีน)<br />

คณะทูตได้นำพระพุทธ<br />

ศาสนาเข้ามาด้วย ทำให้หัว<br />

เมืองไทยทั้ง ๗๗ ซึ่งมีราษฎรประมาณ<br />

๕๕๓,๗๐๐ คนหันมานับถือ<br />

พระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก<br />

ศรีเกษตร<br />

วัฒนธรรมทวารวดี<br />

แผนที่สุวรรณภูมิ<br />

พ.ศ. ๖๐๐<br />

ศรีโคตรบูรณ<br />

ฟูนัน<br />

จีน<br />

จามปา<br />

พ.ศต.ที่<br />

๗-๑๑<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v เวียดนามตกอยู่<br />

ภายใต้อำนาจของจีน<br />

และรับอิทธิพลจากจีน<br />

(พุทธศตวรรษที่ ๗-๑๑)<br />

พระธรรมาจารย์ (พระสงฆ์จีน)<br />

เมื่อเดินทางไปอินเดียจะหยุดพัก<br />

ที่เวียดนามก่อน และพระสงฆ์จาก<br />

อินเดียเมื่อเดินทางไปจีนก็จะหยุดพัก<br />

ที่เวียดนามก่อนเช่นกัน<br />

v เมื่อพระสงฆ์จากอินเดียแวะพัก<br />

ที่เวียดนามก่อนไปจีนก็มักจะทิ้ง<br />

ร่องรอยการทำหน้าที่เผยแผ่<br />

พระพุทธศาสนาไว้เป็นหลักฐาน<br />

v เวียดนามตกอยู่ภายใต้อำนาจ<br />

ของจีน พระพุทธศาสนาที่เข้ามาสู่<br />

เวียดนามในยุคแรกจึงเป็นพระพุทธศาสนา<br />

แบบมหายาน มีข้อสันนิษฐานว่า ท่านเมียวโป<br />

(Meou-Po) เดินทางจากจีนเข้ามาเผยแผ่พระ-<br />

สัทธรรมคำสอนในเวียดนาม จึงทำให้เวียดนามรับเอา<br />

พระพุทธศาสนาจากจีน รวมทั้งคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา<br />

ก็เป็นภาษาจีน


440 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 441<br />

ประมาณ<br />

๗๔๓ พ.ศ.<br />

พ.ศต.ที่<br />

๘<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v คณะธรรมาจารย์หลวงจีนเดินทางไปยังเวียดนาม สถาปนา<br />

มหายานและนิกายอื่นๆ ณ ดินแดนแห่งเดียวนี้ที่รับอิทธิพล<br />

มหายานจากจีน<br />

v ภิกษุชาวอินเดียชื่อ มหาชีวกะ มาประกาศพระพุทธศาสนาใน<br />

เวียดนามก่อนเดินทางต่อไปยังจีน<br />

v ภิกษุขวองตังหอย (Khuong Tang Hoi) ชาวเมือง Seadiane<br />

ผู้มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย หลังจากศึกษาพระพุทธศาสนาจบตาม<br />

หลักสูตรจึงได้เดินทางไปประกาศพระพุทธศาสนาในจีนตอนใต้<br />

และในเวียดนาม<br />

v ภิกษุฉิโจงโหลง (Chi Cuong Luong) (บ้างก็เรียกว่า กัลยาณรุจิ)<br />

เดินทางไปจีนเพื่อแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนาแล้วจึงกลับมาที่<br />

เวียดนามเพื่อแปลคัมภีร์นั้นต่อไปในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๘<br />

v อาณาจักรลินยี่ (Lin-yi) เกิดขึ้นราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๘-๑๙<br />

เป็นของชนชาติจาม อาณาจักรนี้นับถือศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวะ<br />

ปะปนกับลัทธิไวษณพ<br />

พ.ศต.ที่<br />

๙<br />

พ.ศ.<br />

พ.ศต.ที่<br />

๙๐๐ พ.ศ.<br />

อาณาจักรยะไข่<br />

ศรีเกษตร (เมียนมา)<br />

v อาณาจักรยะไข่ (Ava)/อา<br />

รกัน (Arakan) เมืองหลวงใน<br />

ปัจจุบันคือสิตตเว (Sittwe) หรือ<br />

ซิตตุ่ย เจริญรุ่งเรืองในพุทธ<br />

ศตวรรษที่ ๙ รัฐนี้ติดกับประเทศ<br />

บังคลาเทศและ<br />

รัฐเบงกอลของอินเดีย จึงทำให้<br />

รับอารยธรรมอินเดียได้ง่ายทั้ง<br />

ศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา<br />

๑๐ ๙๖๖<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๐ ศาสนา<br />

พุทธเข้าสู่เวียดนามอีกครั้ง โดยมีพระโพธิ<br />

ธรรม-เถระ (ภาษาเวียดนามเรียกชื่อว่า โตะดัก<br />

หม้า) เป็นผู้นำเข้าไป ในสมัยของพระเจ้าลี้หว่า<br />

ตง-<br />

หว่างเต๊ ซึ่งตรงกับแผ่นดินพระเจ้าเหลียงอู่ตี้<br />

ของจีน พระพุทธศาสนาจึงประดิษฐานอย่าง<br />

มั่นคงในแผ่นดินเวียดนาม<br />

วัฒนธรรมทวารวดี<br />

ศรีโคตรบูรณ<br />

ฟูนัน<br />

แผนที่อาณาจักรฟูนัน<br />

ฟูนัน (กัมพูชา)<br />

และอาณาจักรจามปา<br />

v พระคุณวรมัน หัวหน้าคณะสงฆ์เดินทางจากแคว้น<br />

คันธาระไปสุวรรณทวีปหรือหมู่เกาะชวาในแถบอินโดนีเซีย<br />

เชื่อว่าก่อนที่จะเดินทางไปยังหมู่เกาะนั้น<br />

คณะสงฆ์ชุดนี้ได้เดินทางมายังปากแม่น้ำโขงของอาณาจักร<br />

ฟูนัน (สถาปนาขึ้นตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๖) ซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรือง<br />

สูงสุด อาณาจักรฟูนันจึงได้รับพระพุทธศาสนาและ<br />

ศาสนาฮินดูไว้ในราชอาณาจักร ดังที่มีจารึกของกษัตริย์ฟูนันกล่าวถึงพระคุณว<br />

รมันเป็นอักษรสันสกฤต (คืออักษรคฤนถ์) ในสมัยราชวงศ์ปัลลวะ<br />

ของอินเดียใต้<br />

จามปา


442 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 443<br />

พ.ศต.ที่<br />

พ.ศ.<br />

๑๑ ๑๐๐๒<br />

๑๑๐๐ -<br />

ศรีเกษตร (เมียนมา)<br />

v พ.ศ. ๑๐๔๓ มีจารึกพระพุทธศาสนาลัทธิอารีครั้งแรกใน<br />

เมียนมาที่ตำบลมะยิงยาน<br />

ฟูนัน (กัมพูชา)<br />

v พระสังฆปาละ (พ.ศ. ๑๐๐๒-๑๐๖๕)<br />

ผู้เชี่ยวชาญในพระอภิธรรมได้เดินทาง<br />

ไปจีน และศึกษาเพิ่มเติมจากพระภิกษุ<br />

อินเดียชื่อ คุณภัทร จนมีความแตกฉาน<br />

ในพระพุทธศาสนาและเป็นที่เคารพ<br />

ศรัทธาของพระเจ้าเหลียงอู่ตี้ (พ.ศ.<br />

๑๐๔๖-๑๐๙๒) พระองค์ทรงอาราธนา<br />

พระสังฆปาละให้แปลคัมภีร์พระพุทธ-<br />

ศาสนาเป็นภาษาจีน เช่น คัมภีร์<br />

“วิมุตติมรรค” และสอนธรรมะใน<br />

ราชสำนัก นับว่าท่านเป็นพระชาว<br />

ฟูนันที่มีชื่อเสียงรูปหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักใน<br />

ระดับนานาชาติ<br />

v พระโพธิธรรม (ปรมาจารย์ตั๊กม้อ)<br />

จาริกมาบริเวณลุ่มแม่น้ำโขงและวาง<br />

รากฐานพระพุทธศาสนาไว้ในดินแดนนี้<br />

ท่านใช้เวลาเผยแผ่อยู่ ๓ ปีก่อนเดินทาง<br />

ไปเผยแผ่ที่จีนในสมัยพระเจ้าเหลียงอู่ตี้<br />

พระเจ้าเหลียงอู่ตี้<br />

กับปรมาจารย์ตั๊กม้อ<br />

๑๐๕๐ พ.ศ.<br />

พ.ศ.<br />

ฟูนัน (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าอนุรุทธวรมัน<br />

(กษัตริย์องค์สุดท้ายที่ปรากฏ<br />

พระนามในยุคฟูนัน) มีพระ-<br />

ราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา<br />

อย่างแรงกล้า ทรงประกาศ<br />

ถวายพระองค์เป็นอุบาสก<br />

และทรงมีพระเกศธาตุเส้นหนึ่ง<br />

ไว้เป็นที่สักการบูชา<br />

พระโพธิธรรม<br />

ปรมาจารย์ตั๊กม้อ<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๒ ๑๑๒๓<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v ภิกษุอินเดียชื่อ วินีตรุจิ ผู้เป็น<br />

ศิษย์ของภิกษุตังซัน (Tang San)<br />

ในจีน ท่านได้เดินทางมายัง<br />

จามปาเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา<br />

แบบมหายาน ได้แปลหนังสือ<br />

ตองตรี (Tong Tri) และถ่ายทอด<br />

ปัญญาญาณ (Intuitive Method)<br />

ให้ภิกษุฟับเหียน (Phap Hien)<br />

จึงเป็นจุดเริ่มต้นการประดิษฐาน<br />

พระพุทธศาสนาแบบมหายาน<br />

เป็นครั้งแรกในเวียดนาม<br />

๑๑๔๖ พ.ศ.<br />

๑๑๙๒ -<br />

อันนัม<br />

(เวียดนาม)<br />

v เวียดนามตกอยู่<br />

ภายใต้อำนาจของจีน<br />

ครั้งที่ ๓ พระพุทธ-<br />

ศาสนาในเวียดนามที่<br />

รับมาจากจีนยังคงเจริญ<br />

รุ่งเรือง มีการศึกษาปฏิบัติ<br />

อย่างกว้างขวาง มีการศึกษา<br />

ภาษาบาลี ประชาชนสมัยนั้น<br />

รู้จักอักษรเจียมทันห์ (Chiem<br />

Thanh Script) ซึ่งมีมูลราก<br />

แบบเดียวกับภาษาบาลี<br />

ศรีเกษตร<br />

๑๑๙๓ พ.ศ.<br />

๑๒๕๖ -<br />

นานเจา<br />

วัฒนธรรมทวารวดี<br />

แผนที่สุวรรณภูมิ<br />

สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๑<br />

พ.ศ. ๑๑๙๓<br />

ละโว<br />

ลังกาสุระ<br />

เจนละ<br />

จีน<br />

เจนละ (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าชัยวรมันที่ ๑ นับถือ<br />

พระพุทธศาสนา เป็นช่วงเวลาที่<br />

พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก<br />

มีศิลาจารึกที่วัดไพรเวียรใกล้เมือง<br />

วยาธปุระ<br />

จามปา


444 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 445<br />

พ.ศ. ๑๒๐๐<br />

พุกาม (เมียนมา)<br />

v สมัยรัชกาลพระเจ้านรปติ-<br />

จัญสู (นรปติชาญสุระ) แห่ง<br />

อาณาจักรพุกาม พระธรรม-<br />

วิสาละ (นามเดิมว่า สารีบุตร)<br />

เป็นพระเถระผู้มีบทบาททาง<br />

พระพุทธศาสนา หลังจาก<br />

บรรพชาเป็นสามเณรแล้ว<br />

เมื่ออายุครบ ๒๐ ปีจึงได้ไป<br />

ขออุปสมบทในสำนักของ<br />

พระอานนทเถระ (ชาวลังกา,<br />

สิงหล) ศึกษาปริยัติธรรมกับ<br />

ท่านจนแตกฉานพระธรรมวินัย<br />

เป็นพหูสูต<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๓<br />

เจนละ (กัมพูชา)<br />

v พ.ศ. ๑๒๐๗ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๑ ทรงให้สร้างวัดถวายกษัตริย์<br />

สองพี่น้องที่บวชในพระพุทธศาสนา จากหลักฐานข้อบันทึกของ<br />

หลวงจีนอี้จิงที่เดินทางไปอินเดียและผ่านทะเลใต้บอกว่า สมัยนั้น<br />

พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก มีวัดตั้งอยู่ทั่วไปทุกหนทุกแห่ง<br />

ศาสนาพราหมณ์และพุทธอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข ประชาชน<br />

นิยมบวชในพระพุทธศาสนา<br />

ละโว้ (ไทย)<br />

v อาณาจักรละโว้ (พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๘) ภายใต้อิทธิพลขอม<br />

พระพุทธศาสนานิกายมหายานและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู<br />

มีบทบาทในละโว้แทนพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทสมัยพระเจ้า<br />

ชัยวรมันที่ ๗ (พ.ศ. ๑๗๒๔-๑๘๖๑) มีการสร้างสถาปัตยกรรมและ<br />

ประติมากรรมตามความเชื่อในศาสนาเหล่านี้ เช่น พระปรางค์-<br />

สามยอด ปรางค์แขก เทวรูปพระโพธิ์สัตว์อวโลกิเตศวร<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พ.ศ. ๑๒๙๐ เมื่อถูกจีนรุกรานชาวลาวจึงอพยพ<br />

มาอยู่ในเมืองล้านช้างและนับถือผีสางเทวดา<br />

หริภุญชัย (ไทย)<br />

v อาณาจักรหริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๙)<br />

คือจังหวัดลำพูนในปัจจุบัน พระพุทธศาสนาใน<br />

อาณาจักรหริภุญชัยบางส่วนได้รับอิทธิพลมาจาก<br />

ศิลปะอินเดียสมัยคุปตะผ่านวัฒนธรรมทวารวดี<br />

และศิลปะอินเดียแบบปาละผ่านทางเมียนมา<br />

ผสมผสานกับคตินิยมของชาวพื้นเมือง จึงปรากฏ<br />

รูปแบบพระพิมพ์ที่มีลักษณะแตกต่างไปจาก<br />

ต้นแบบเดิมซึ่งกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย<br />

หริภุญชัย<br />

ศิลปะหริภุญชัย<br />

ศรีเกษตร<br />

วัฒนธรรมทวารวดี<br />

นานเจา<br />

หริภุญชัย เชียงทอง สิบสองจุไท<br />

ละโว<br />

เจนละ<br />

จีน<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v ราชวงศ์ดินห์ขึ้นครองอำนาจ พระพุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟู<br />

อย่างจริงจังจึงค่อยๆ พัฒนาเรื่อยมา มีพระชาวอินเดียชื่อ ตินีตะรุจิ<br />

(บางตำราเรียกว่า พระวินีตรุจี) ซึ่งเป็นสาวกที่บรรลุธรรมของท่าน<br />

เส่งจัน (Zeng Can) ท่านได้ไปศึกษานิกายเซน/เธียร/ธยาน (Thien)<br />

ในจีนจนแตกฉานแล้วจึงเดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกาย<br />

เธียร/ธยาน หรือเซน ซึ่งเป็นนิกายแรกของเวียดนาม<br />

แผนที่สุวรรณภูมิ<br />

ตั้งอาณาจักรล้านช้าง<br />

เชียงทอง พ.ศ. ๑๓๐๐<br />

ลังกาสุระ<br />

จามปา<br />

ศรีวิชัย


446 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 447<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๔<br />

เจนละ (กัมพูชา)<br />

v กัมพูชารับเอาพระพุทธ-<br />

ศาสนามหายานเข้ามา แต่ไม่มี<br />

อิทธิพลมากนักเหมือนเถรวาท<br />

ตามบันทึกของหลวงจีนอี้จิง<br />

กล่าวว่าดินแดนแห่งนี้มีนิกาย<br />

พระพุทธศาสนามาก เช่น<br />

นิกายมูลสรรวาสติวาทินซึ่งใช้<br />

ภาษาสันสกฤต<br />

มอญ (เมียนมา)<br />

v อาณาจักรมอญที่สะเทิม/<br />

ตะโทง (Thaton) มีความเจริญ<br />

สูงสุดยิ่งกว่าอาณาจักรใดๆ<br />

ในบริเวณใกล้เคียง ทั้งทางด้าน<br />

วัฒนธรรม ศาสนา และการค้า<br />

๑๓๔๕ พ.ศ.<br />

พ.ศ.<br />

เจนละ (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าชัยวรมันที่ ๒ ย้าย<br />

พระนครจากเจนละมาตั้งที่<br />

มเหนทรบรรพต (เขาพนม-<br />

กุเลน) พระองค์ทรงนับถือ<br />

ศาสนาพราหมณ์ แต่พระพุทธ-<br />

ศาสนาก็ยังเป็นที่เคารพนับถือ<br />

กันอยู่ในหมู่ประชาชน<br />

ศรีเกษตร<br />

แผนที่สุวรรณภูมิ<br />

พ.ศ. ๑๓๐๐ เศษ<br />

ตั้งอาณาจักรมอญ<br />

มอญ<br />

นานเจา<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๓๖๓ พ.ศ.<br />

ศรีวิชัย<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v นิกายฉาน (เซน) ที่ ๒<br />

ของชาวเวียดนาม (The<br />

2 nd Ch’an Sect) ได้รับ<br />

การสถาปนาขึ้นโดยท่าน<br />

โวงอนถอง (Vo Ngon Thong<br />

หรือ Wu Yan Tong) พระจีน<br />

ที่เดินทางมายังเวียดนาม<br />

สิบสองจุไท<br />

โยนก<br />

เชียงทอง<br />

หริภุญชัย<br />

ละโว<br />

เจนละ<br />

จีน<br />

จามปา<br />

๑๕ ๑๔๕๐<br />

ไดโกเวียต (เวียดนาม)<br />

v นับถือพระพุทธศาสนา<br />

มหายานแต่เพียงครั้งเดียว<br />

ในสมัยดงเดืองประมาณ<br />

พ.ศ. ๑๔๕๐<br />

v เมื่อไดโกเวียต (เวียดนาม)<br />

ได้รับเอกราชจากจีนจึงมี<br />

อาณาจักรไดโกเวียตแห่ง<br />

เวียดนามขึ้นใหม่ แต่ก็เกิดการ<br />

แย่งชิงอำนาจกันเองประมาณ<br />

๓๐ ปี ระยะนี้พระพุทธศาสนา<br />

ซบเซาขาดการทำนุบำรุง<br />

ตาหลี่<br />

จีน<br />

พุกาม<br />

ยะไข<br />

โยนก ไดโกเวียต<br />

เชียงทอง<br />

หริภุญชัย แพร<br />

วัฒนธรรมทวารวดี<br />

ศรีจนาศะ<br />

ละโว<br />

เจนละ<br />

จันทราบุรี<br />

แผนที่สุวรรณภูมิ<br />

อาณาจักรไดโกเวียต<br />

แยกตัวจากจีน<br />

ตามพรลิงค<br />

ศรีวิชัย


448 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 449<br />

แมน้ำอิรวดี<br />

พ.ศ. ๑๔๗๓<br />

อาณาจักรพุกาม<br />

แมน้ำสาละวิน<br />

เชียงรุง<br />

อาณาจักร<br />

โยนกเชียงแสน<br />

เชียงแสน<br />

หริภุญชัย<br />

อาณาจักรสุโขทัย<br />

อาณาจักรสิบสองจุไท<br />

แมน้ำโขง<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๖ ๑๕๑๑<br />

๑๕๒๒<br />

พ.ศ. -<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v ยุครุ่งเรืองหรือยุคทองของอาณาจักร พระพุทธศาสนากลับมา<br />

เจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง และมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของประชาชนเป็น<br />

อย่างมาก<br />

v มีการจัดตั้งองค์การปกครองคณะสงฆ์ขึ้น โดยรวมเอานักบวช<br />

เต๋าและพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาเข้าในระบบฐานันดรศักดิ์<br />

โดยพระเจ้าจักรพรรดิเวียดนามทรงเป็นผู้สถาปนา<br />

v พระเจ้าจักรพรรดิเวียดนามทรงสถาปนาพระภิกษุง่อฉั่นหลูเป็น<br />

ประมุขสงฆ์ของจามปาและแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาของพระองค์<br />

พ.ศ. ๑๕๔๕<br />

ปราสาทพระวิหาร<br />

ขอม (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑<br />

(นิพพานบท) เป็นปฐมกษัตริย์<br />

ที่ยกพระพุทธศาสนามหายานเป็น<br />

ศาสนาแห่งรัฐอย่างเป็นทางการ<br />

แผนที่อาณาจักร<br />

โยนกเชียงแสน<br />

โยนกเชียงแสน (ไทย)<br />

v อาณาจักรโยนกเชียงแสนแบ่งเป็น ๒ ระยะ ระยะแรกเริ่มตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๘ เรียกว่า<br />

สมัยเชียงแสนรุ่นแรก ระยะที่ ๒ เริ่มตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๘-๒๑ เรียกว่า สมัยเชียงแสนรุ ่นหลัง<br />

มีศูนย์กลางอยู ่ที่เมืองเชียงแสน (อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย)<br />

ปราสาทตาแก้ว


450 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 451<br />

๑๕๔๘ พ.ศ.<br />

๑๕๕๑ -<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v กษัตริย์องค์ที่ ๒ แห่งรา<br />

ชวงศ์เล<br />

ของจามปาส่งพระภิกษุสงฆ์ไป<br />

ขอพระไตรปิฎกจากจีน ๑ ชุด<br />

และทรงแนะนำให้ประชาชน<br />

เลิกนับถือผีสางเทวดาแล้วหัน<br />

มานับถือพระพุทธศาสนาแทน<br />

แต่ประชาชนก็ยังนับถือผีสาง<br />

เทวดาควบคู่กับนับถือพระพุทธ-<br />

ศาสนาด้วย<br />

v ปรับปรุงนิกายใหม่เป็นนิกาย<br />

ฉาน (เซน) ที่ ๓ นิกายนี้ส่งเสริม<br />

ให้การพัฒนาพระพุทธศาสนา<br />

ภายใต้ราชวงศ์ตรันและราชวงศ์<br />

ลี้ของเวียดนามเป็นไปด้วยดี<br />

เป็นอย่างมาก นับตั้งแต่ต้น<br />

พุทธศตวรรษที่ ๑๑ จนสิ้น<br />

พุทธศตวรรษที่ ๑๔ ตลอดช่วง<br />

เวลาอันเป็นประวัติศาสตร์ที่<br />

สำคัญนี้พระพุทธศาสนาได้<br />

กลายเป็นศาสนาประจำชาติ<br />

ตั้งแต่ในตอนนั้น<br />

๑๕๗๑ พ.ศ.<br />

๑๕๘๘ -<br />

จามปา (เวียดนาม)<br />

v พระเจ้าไลไทต๋อง<br />

(เวียดนาม) ทรงทำนุบำรุง<br />

พระพุทธศาสนาโดยโปรดให้<br />

สร้างวิหารจำนวน ๙๕ แห่ง ใน<br />

สมัยราชวงศ์ไล (๒๑๕ ปี)<br />

พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง<br />

สูงสุด พระเจ้าอโศกแห่งจาม<br />

ปาทรงใส่พระทัยดูแลบ้านเมือง<br />

และประชาชนโดยทรงดำเนิน<br />

ตามรอยพระเจ้า<br />

อโศกมหาราช มีการสงเคราะห์<br />

ประชาชนผู้ทุกข์ยากเป็นต้น<br />

พระเจ้าอโนรธามังช่อ<br />

๑๕๘๗ พ.ศ.<br />

๑๖๐๐ -<br />

พุกาม<br />

มอญ หริภุญชัย แพร<br />

ศรีวิชัย<br />

นานเจา<br />

โยนก<br />

เชียงทอง<br />

ละโว<br />

จันทราบุรี<br />

พุกาม (เมียนมา)<br />

v พระเจ้าอนุรุทธมหาราช<br />

(พระเจ้าอโนรธามังช่อ) ครอง<br />

ราชย์ที่พุกาม (พ.ศ. ๑๕๘๗)<br />

ทรงรวบรวมอาณาจักรให้เป็น<br />

หนึ่งเดียวได้สำเร็จ ทรงยกทัพ<br />

ศรีโคตรบูรณ<br />

เจนละ<br />

จีน<br />

ไปตีเมืองสะเทิมของ<br />

มอญ ทรงอาราธนา<br />

พระสงฆ์และอัญเชิญ<br />

พระไตรปิฎกจาก<br />

เมืองสะเทิม ทรงส่ง<br />

สมณทูตไปลังกา และ<br />

รับพระไตรปิฎกฉบับ<br />

สมบูรณ์มาจากลังกา<br />

v ทรงทำให้นิกายเถรวาทแพร่<br />

หลายโดยความช่วยเหลือจาก<br />

พระภิกษุมอญชื่อ ชินอรหันต์<br />

v ทรงสร้างเจดีย์ที่สำคัญหลาย<br />

แห่ง เช่น มหาเจดีย์ชเวดากอง<br />

โดยสร้างเสริมเจดีย์องค์เดิมซึ่ง<br />

เป็นประเพณีที่สืบทอดมายาว<br />

นานว่าพระเจ้าแผ่นดินทุก<br />

พระองค์ต้องทรงทำนุบำรุง<br />

พระเจดีย์องค์นี้<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๗ ๑๖๐๑ พ.ศ.<br />

พุกาม (เมียนมา)<br />

v มีการจารึกเป็นภาษา<br />

เมียนมาเป็นครั้งแรก<br />

พม่า<br />

มอญ<br />

ปยู<br />

๑๖๑๔ พ.ศ.<br />

๑๖๑๕ -<br />

พระเจ้าอโนรธามังช่อและคณะพระสงฆ์<br />

ลังกา (ศรีลังกา)<br />

v สมณวงศ์ในลังกาที่เกือบ<br />

สิ้นสูญกลับฟื้นคืนมาอีกครั้ง<br />

พระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๑ ศิริสังฆ-<br />

โพธิ์ทรงกอบกู้อิสรภาพและขึ้น<br />

ครองราชย์ ทรงเริ่มงานชำระ<br />

พระศาสนา ทว่าเวลานั้น<br />

ไม่มีพระภิกษุสงฆ์ที่บริสุทธิ์<br />

พระองค์จึงส่งราชทูตไป<br />

อาราธนาพระสงฆ์จากพุกาม<br />

ในรัชกาลพระเจ้าอนุรุทธ-<br />

มหาราชจำนวน ๒๐ รูป<br />

สมณวงศ์ในลังกาจึงกลับ<br />

มีขึ้นมาใหม่


452 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 453<br />

๑๖๓๓ พ.ศ.<br />

๑๖๕๖ พ.ศ.<br />

๑๖๘๗ พ.ศ.<br />

พุกาม (เมียนมา)<br />

v พระเจ้าจันสิทธะสร้างวัด<br />

อนันดา และทรงส่งสมณทูต<br />

เมียนมาไปพุทธคยา<br />

วัดอนันดา<br />

สร้างโดยพระเจ้าจันสิทธะ<br />

ชาวขอมโบราณกำลังก่อสร้าง<br />

ปราสาทหินนครวัด<br />

ขอม (กัมพูชา)<br />

พุกาม (เมียนมา)<br />

v พระเจ้าอลองสิธูทรงสร้าง<br />

วิหารธาตุพยินยูหรือวิหาร<br />

สัพพัญญู<br />

v พระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ (ครองราชย์ พ.ศ. ๑๖๕๖-๑๖๙๓) ทรงนับถือ<br />

ศาสนาพราหมณ์ และทรงสร้างปราสาทนครวัดขึ้นเพื่อบูชาพระวิษณุ<br />

๑๖๙๗ พ.ศ.<br />

๑๗๓๐ -<br />

ลังกา (ศรีลังกา)<br />

v พระเจ้าปรักกรมพาหุ<br />

(ลังกา) ทรงเป็นพุทธ<br />

ศาสนูปถัมภก ทรงอาราธนาให้<br />

พระมหากัสสป-<br />

เถระเป็นประธานทำสังคายนา<br />

พระธรรมวินัย (นับในตำนาน<br />

ฝ่ายใต้ว่าเป็นสังคายนาครั้งที่<br />

๗) แล้วจัดวางระเบียบข้อวัตร<br />

ปฏิบัติแห่งสงฆ์นานาสังวาส<br />

ให้กลับคืนเป็นนิกายเดียวกัน<br />

ลังกาเป็นศูนย์กลางการศึกษา<br />

พระพุทธศาสนา<br />

v พระภิกษุจากไทย เมียนมา<br />

มอญ ออกเดินทางไปศึกษา<br />

พระพุทธศาสนาของลังกาวงศ์<br />

แต่พระภิกษุเหล่านี้จะศึกษาได้<br />

ก็ต้องแปลงเป็นนิกายลังกาวงศ์<br />

อันเดียวกันเสียก่อน เมื่อศึกษา<br />

แล้วจึงนำกลับมาเผยแผ่ใน<br />

ดินแดนของตน<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๘<br />

พ.ศ. ๑๗๐๑<br />

ปราสาทบายน นครธม<br />

ขอม (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ปกครองอาณาจักรมหานคร<br />

ในกัมพูชา รับสั่งให้สร้างปราสาทบายนที่อังกอร์<br />

ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา สร้างวัดวาอาราม<br />

พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗<br />

สร้างปราสาทและพระพุทธรูปจำนวนมาก สถาปนา<br />

ปราสาทตาพรหมเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ มีพระมหาเถระเป็น<br />

ศาสตราจารย์ใหญ่ ๑๘ องค์ อาจารย์รอง ๒,๗๔๐ องค์ ทั้งยังส่ง<br />

พระราชกุมารไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่ลังกาด้วย<br />

v พระพุทธศาสนามหายานเจริญรุ่งเรืองพร้อมกับศาสนาพราหมณ์<br />

ส่วนพระพุทธศาสนาเถรวาทยังคงเป็นที่นับถือในหมู่ประชาชนทั่วไป<br />

v ชนชั้นสูงในราชสำนักนับถือพระพุทธศาสนามหายานและพราหมณ์<br />

ยุคนี้มีธรรมเนียมว่าพระราชากับปุโรหิตต้องถือศาสนาคนละอย่าง<br />

ถ้าพระราชาเป็นพุทธ ปุโรหิตเป็นพราหมณ์ เป็นธรรมเนียมประเพณี<br />

ที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาหลายร้อยปี


454 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 455<br />

พ.ศ. ๑๗๒๙ พ.ศ. ๑๗๓๓ พ.ศ. ๑๗๕๔ พ.ศ. ๑๘๐๐<br />

ปราสาทตาพรหม<br />

ขอม (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงสร้าง “ปราสาทตาพรหม” เพื่อเป็น<br />

ที่ประดิษฐานภาพสลักศิลาของพระมารดา (พระนางศรีชัยราช-<br />

จุฑามณี) ในรูปของ “พระโพธิสัตว์ปรัชญาปารมิตา” สัญลักษณ์<br />

ของปัญญา และทรงสร้าง “ปราสาทชัยศรี” เพื่อเป็นที่ประดิษฐาน<br />

ภาพสลักศิลาของพระบิดา (พระเจ้าธรณันทรวรมัน) ในรูปของ<br />

“พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร” สัญลักษณ์ของความกรุณาตามคติ<br />

ความเชื่อของพระพุทธศาสนามหายาน<br />

v อาณาจักรกัมพูชาพลิกโฉมกลายเป็นอาณาจักรแห่งพระพุทธ-<br />

ศาสนา แต่เมื่อบ้านเมืองเกิดภาวะสงคราม เรื่องทางศาสนาก็หยุด<br />

ชะงักลง ครั้นบ้านเมืองสงบสุขพระพุทธศาสนาก็กลับมาเจริญ<br />

รุ่งเรืองขึ้นอีก<br />

มอญ (เมียนมา)<br />

v พระอุตตรชีวะ บุตรของ<br />

ชาวเมืองสุธรรม (สะเทิม)<br />

รามัญประเทศ มีนามเดิมว่า<br />

ธรรมทัสสี และเด็กชาวมอญ<br />

คนหนึ่งชื่อ ฉปัท ซึ่งบวชเป็น<br />

สามเณรติดตามท่านเดินทาง<br />

ไปลังกาเพื่อศึกษาพระธรรม-<br />

วินัย สามเณรได้อุปสมบทใน<br />

ลังกาวงศ์ ต่อมาภายหลังได้<br />

เดินทางกลับเมียนมาพร้อมกับ<br />

พระภิกษุอีก ๔ รูป แล้วตั้ง<br />

นิกายใหม่ในเมียนมาคือนิกาย<br />

เป็นลังกาวงศ์ซึ่งยุคแรกเรียกว่า<br />

ฉปทาวงศ์<br />

วัดติโลมินโล<br />

วัดมหาโพธิ์<br />

พุกาม (เมียนมา)<br />

v สมัยพระเจ้านันดองมยะ/<br />

ติโลมินโล ทรงสร้างวัดวิจิตร<br />

เลียนแบบพุทธคยา ๒ แห่งคือ<br />

วัดติโลมินโล และวัดมหาโพธิ์<br />

v พระองค์ทรงอุทิศเวลาทั้งหมด<br />

ให้การบำรุงพระศาสนา<br />

สุโขทัย (ไทย)<br />

v อาณาจักรสุโขทัยที่เจริญขึ้น<br />

มาเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. ๑๘๐๐<br />

v พ่อขุนรามคำแหงมหาราชรับ<br />

พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์มา<br />

เผยแผ่ที่อาณาจักรสุโขทัย<br />

อาณาจักรสุโขทัย<br />

Lan Na<br />

Phayao<br />

Kingdom of<br />

Sukhothai<br />

Lopburi<br />

Kingdom<br />

Gulf of<br />

Siam<br />

Dai Viet<br />

Gulf of<br />

Tonkin<br />

Angkor Empire<br />

South China<br />

Sea<br />

แผนที่ตั้งอาณาจักร<br />

สุโขทัย พ.ศ. ๑๘๐๐<br />

Champa


456 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 457<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๙ ๑๘๓๐ พ.ศ.<br />

ราว<br />

๑๘๓๙ พ.ศ.<br />

๑๘๔๓ พ.ศ.<br />

พุกาม (เมียนมา)<br />

v ราชอาณาจักรพุกามใน<br />

เมียนมาถูกโจมตีโดยมองโกล<br />

จึงถึงกาลอวสานของอาณาจักร<br />

ที่พระพุทธศาสนาเถรวาทจาก<br />

อินเดียและลังกามีความยิ่งใหญ่<br />

ขอม (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าอินทรวรมันที่ ๓ พระราชทานที่ดินสร้างวัดพระพุทธ-<br />

ศาสนาฝ่ายเถรวาทลังกาวงศ์ ศิลาจารึกสมัยนี้เปลี่ยนมาเป็น<br />

ภาษาบาลีและเทวสถานต่างๆ ของฮินดูก็กลายมาเป็นวัดทาง<br />

พระพุทธศาสนา<br />

v คณะทูตจีนนำโดยเจาตากวนซึ่งเดินทางมาถึงเมืองพระนคร<br />

ใน พ.ศ. ๑๘๓๙ บันทึกไว้ว่า ทุกคนบูชาพระพุทธเจ้าและพูดถึง<br />

จูกู (หมายถึงพระภิกษุสงฆ์เถรวาท) พร้อมทั้งบรรยายลักษณะ<br />

การครองผ้า การดำเนินชีวิต และสภาพวัด มีบันทึกบอกด้วยว่า<br />

พวกเจ้านายชอบมาปรึกษาหารือกับพวกจูกูในเรื่องต่างๆ<br />

หลักฐานนี้ชี้ให้เห็นชัดว่าพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์<br />

เป็นศาสนาหลักของอาณาจักรขอม<br />

พ.ศ. ๑๘๘๐<br />

ขอม (กัมพูชา)<br />

v พระเจ้าชัยวรมันปรเมศวร<br />

(พระบรมลำพงษ์ราชา) และ<br />

ทั้งราชสำนักพร้อมกันประกาศ<br />

ตนเป็นพุทธศาสนิกชนฝ่าย<br />

เถรวาทแบบลังกาวงศ์ทั้งหมด<br />

มีหลักฐานปรากฏว่าพระองค์<br />

สนพระทัยถึงขั้นว่าจะเป็นธุระ<br />

ให้กษัตริย์ล้านช้าง (พระเจ้า<br />

ฟ้างุ้ม) ที่ขณะนั้นลี้ภัยอยู่ใน<br />

ขอมเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี<br />

มองโกลส่งกองทัพเข้าพิชิต<br />

อาณาจักรพุกาม<br />

ล้านนา (ไทย)<br />

v พญามังรายมหาราชทรงสร้างนคร<br />

เชียงใหม่ขึ้นเป็นราชธานี นิกายเถรวาท<br />

แบบลังกาวงศ์แผ่อิทธิพลจากสุโขทัยและ<br />

จากมอญขึ้นมาสู่ล้านนา แต่ยังมิสู้จะเป็น<br />

หลักฐานมั่นคงนัก<br />

พญามังราย ๑<br />

เจดีย์ประธานทรงลังกาที่วัดช้างล้อม<br />

ลังกา (ศรีลังกา)<br />

v พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ (Sri Lankan Tradition) หลังจาก<br />

การปฏิรูปใหญ่ในลังกาแล้วก็มีการส่งพระสงฆ์ลังกาเข้ามาเผยแผ่<br />

พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ เมื่อพระสงฆ์จากประเทศ<br />

เหล่านั้นได้ไปศึกษาในลังกาก็กลับมาเผยแผ่ในดินแดนของตน


458 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 459<br />

พ.ศ. ๑๘๙๖ พ.ศ.<br />

พระเจ้าฟ้างุ้ม<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พระพุทธศาสนาจากอาณาจักร<br />

หลังมหานคร (กัมพูชา) เข้าสู่<br />

อาณาจักรล้านช้าง (ลาว) โดย<br />

พระนางแก้วยอดฟ้า พระมเหสี<br />

ของพระเจ้าฟ้างุ้ม พระนางทรง<br />

ทูลขอให้พระราชาส่งทูตไป<br />

อาราธนาพระสงฆ์นิกายเถรวาท<br />

จากขอมเข้ามาเผยแผ่ในล้านช้าง<br />

ราว<br />

พ.ศต.ที่<br />

พ.ศต.ที่<br />

๑๘๙๘ ๑๙๐๒ พ.ศ.<br />

๑๙๐๔ พ.ศ.<br />

๑๙๐๗ พ.ศ.<br />

อาณาจักรล้านนา<br />

และเงินตราสมัยล้านนา<br />

ล้านนา (ไทย)<br />

v พระพุทธศาสนาเถรวาท<br />

แบบลังกาวงศ์เข้าสู่ล้านนา<br />

แผนที่ล้านช้าง<br />

๑๙<br />

อยุธยา (ไทย)<br />

v พระพุทธศาสนาเถรวาท<br />

แบบลังกาวงศ์ตั้งมั่นรุ่งเรืองขึ้น<br />

มีพระสงฆ์ชาวเชียงใหม่หลาย<br />

รูปและพระสงฆ์ชาวมอญ<br />

ชาวอยุธยา ชาวขอม พากันไป<br />

อุปสมบทศึกษาพระธรรมวินัย<br />

ที่ลังกา เมื่อกลับมาแล้วก็แยก<br />

ย้ายกันไปบำเพ็ญศาสนกิจตาม<br />

ชาติภูมิของตน<br />

๒๐<br />

พระบาง<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พระมหาปาสามานเถระ<br />

และพระมหาเทพลังกา พร้อม<br />

คณะอีก ๒๐ รูป เดินทางออก<br />

จากกัมพูชาตามคำอาราธนา<br />

ของพระเจ้าฟ้างุ้มแห่งอาณาจักร<br />

ล้านช้าง พร้อมนำพระพุทธรูป<br />

ปางห้ามญาติชื่อพระบางและ<br />

พระไตรปิฎกมาถวายแด่พระเจ้า<br />

ฟ้างุ้มกับพระมเหสี และกระทำ<br />

กิจเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนมี<br />

ความเจริญรุ่งเรือง<br />

๑๙๑๓ ๒๐๑๓<br />

ล้านนา (ไทย)<br />

v จารึกวัดป่ามะม่วงกล่าวว่า<br />

พ.ศ. ๑๙๐๔ พญาลิไทยทรง<br />

อาราธนาพระมหาสามีสังฆราช<br />

จากนครพัน ซึ่งศึกษาพระ-<br />

ไตรปิฎกจบจากลังกาทวีป<br />

มาจำพรรษาอยู่ที่อารามป่า<br />

มะม่วง และพญาลิไทยทรง<br />

พระราชศรัทธาผนวชเป็น<br />

สามเณร<br />

อังวะและพะโค (เมียนมา)<br />

v อาณาจักรอังวะ (Ava<br />

Kingdom) และพะโค (Pegu<br />

Kingdom)/หงสาวดี ระหว่าง<br />

พ.ศ. ๑๙๐๗ ถึง พ.ศ. ๒๐๙๘<br />

มีการฟื้นฟูศิลปะและพระพุทธ-<br />

ศาสนาให้กลับมายิ่งใหญ่<br />

เหมือนสมัยอาณาจักรพุกาม<br />

แต่ไม่สามารถทำได้มากเพราะ<br />

กษัตริย์ในราชวงศ์นี้ยังไม่มีองค์<br />

ใดที่มีเดชานุภาพมากนัก<br />

Arakan<br />

(Mrauk-U)<br />

แผนที่อาณาจักรอังวะ<br />

และอาณาจักรพะโค<br />

Nearer<br />

Shan States<br />

อังวะ<br />

พะโค<br />

Chinese<br />

Shan States<br />

Farther Shan<br />

States (รัฐฉาน)<br />

ลานนา<br />

สยาม


460 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 461<br />

๑๘๙๘ พ.ศ.<br />

๑๙๒๐ -<br />

พญากือนาธรรมิกราช<br />

ล้านนา (ไทย)<br />

v พญากือนาธรรมิกราชทรงส่ง<br />

ทูตไปอาราธนาพระอุทุมพร-<br />

มหาสวามี คณาจารย์ลังกาวงศ์<br />

ที่เมืองนครพัน (เมืองเมาะตะมะ)<br />

ในอาณาจักรมอญเพื่อมาตั้ง<br />

ลังกาวงศ์ที่เชียงใหม่ พร้อมกัน<br />

นั้นได้ทรงส่งทูตมาอาราธนา<br />

พระสุมนเถระชาวไทยสุโขทัย<br />

ซึ่งเป็นศิษย์ของพระอุทุมพร-<br />

มหาสวามีเหมือนกันให้ช่วยกัน<br />

ไปตั้งลังกาวงศ์จำพรรษาที่วัด<br />

พระยืน จังหวัดลำพูน และต่อ<br />

มาได้อาราธนาให้ไปจำพรรษา<br />

ที่วัดสวนดอกในนครเชียงใหม่<br />

ซึ่งถือเป็นการเผยแผ่นิกาย<br />

ลังกาวงศ์เป็นครั้งแรกในล้านนา<br />

พ.ศ. ๑๙๕๗ พ.ศ. ๑๙๗๔ พ.ศ. ๑๙๙๕<br />

ได๋เวียต (เวียดนาม)<br />

v พระพุทธศาสนาเสื่อมลงมากเนื่อง<br />

จากตกเป็นเมืองขึ้นของราชวงศ์หมิง<br />

ของจีนตั้งแต่ พ.ศ. ๑๙๕๗-๑๙๗๔<br />

เป็นเวลา ๑๗ ปี เพราะนโยบายของ<br />

จีนเน้นส่งเสริมแต่ลัทธิขงจื๊อและเต๋า<br />

และยังมีนิกายตันตระของทิเบตเข้า<br />

มาด้วย ทางการจีนทำลายวัดเก็บเอา<br />

ทรัพย์สินและคัมภีร์พระพุทธศาสนา<br />

ไปหมด ยุคนี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อพระเจ้า<br />

โฮคุยลี (Ho Quy Ly) แย่งชิงอำนาจ<br />

จากพระเจ้าตรันเทียเด (King Tran Thieu De) กษัตริย์องค์สุดท้าย<br />

ของราชวงศ์ตรัน เมื่อราชวงศ์ตรันล่มสลาย พระเจ้าโฮคุยลีทรง<br />

สนพระทัยในศาสนาขงจื๊อ พระพุทธศาสนาจึงมีบทบาทลดลง<br />

เมื่อกองทัพจีนบุกอาณาจักรได๋เวียตใน พ.ศ. ๑๙๕๗ เวียดนามก็<br />

ตกเป็นเมืองขึ้นของจีนอีกครั้ง พระพุทธศาสนาถูกทำลายโดยรัฐ<br />

ศักดินาของจีน พระสงฆ์จำนวนมากถูกส่งไปลี้ภัยในจีน พระพุทธ-<br />

ศาสนาถูกควบคุมอย่างเคร่งครัด พระพุทธศาสนาจึงเสื่อมลงจนถึง<br />

พุทธศตวรรษที่ ๒๒<br />

ได๋เวียต (เวียดนาม)<br />

v ยุคเสื่อมของพระพุทธ<br />

ศาสนา หลังจากที่ได๋เวียตได้<br />

เอกราชกลับคืนมา ทว่า<br />

กษัตริย์หรือผู้นำรัฐสูงสุดของ<br />

ราชวงศ์ใหม่ก็มิได้มีนโยบายส่ง<br />

เสริมอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา<br />

แต่กลับเข้าแทรกแซงกิจการ<br />

พระพุทธศาสนาด้วย<br />

v ในระยะนี้เกิดนิกายตินห์โด<br />

พระเจ้าโฮคุยลี วัดเจดีย์เจ็ดยอดหรือวัดโพธารามมหาวิหาร สถานที่สังคายนา<br />

ซึ่งมีที่มาจากจีนขึ้นในได๋เวียต<br />

พระไตรปิฎก ครั้งที่ ๘ ของโลกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๒๐<br />

ต่อมานิกายนี้ได้ผสมผสานเข้า<br />

กับนิกายเดิมคือนิกายเธียร ล้านนา (ไทย)<br />

จนเกิดเป็นพระพุทธศาสนา<br />

แบบหนึ่งขึ้นมาที่ปฏิบัติกัน<br />

อยู่ตามโรงเจดีย์ (Chua) ใน<br />

ปัจจุบัน<br />

v พระเจ้าติโลกราชทรงเลื่อมใสและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา อีกทั้ง<br />

ทรงผนวชในนิกายสิงหลด้วยเป็นเวลา ๗ วัน ทรงสถาปนาพระ-<br />

เมธังกรขึ้นเป็นพระสังฆราชแห่งล้านนา สร้างวัดใหม่ขึ้นโดยจำลอง<br />

แบบวิหารพุทธคยา โลหะปราสาทรัตนมาลีชื่อว่า วัดโพธาราม-<br />

มหาวิหารหรือวัดเจดีย์เจ็ดยอด


462 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง<br />

กาลานุกรมพระพุทธศาสนาจากพุทธภูมิ-อินเดียสู่ลุ่มนํ้ำโขงสุวรรณภูมิ<br />

พ.ศต.ที่<br />

๒๑ ๒๐๑๙ พ.ศ.<br />

๒๐๒๐ พ.ศ.<br />

๒๐๔๓ พ.ศ.<br />

เจดีย์ไจ๊ปุ่นหรือพระสี่ทิศ เมืองหงสาวดี<br />

มอญ (เมียนมา)<br />

v สมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์ (พ.ศ. ๒๐๑๕-๒๐๓๕) อาณาจักรมอญ<br />

เจริญสูงสุด<br />

v พระภิกษุคณะหนึ่งจากมอญไปรับการอุปสมบทที่ลังกาและนำ<br />

คัมภีร์ภาษาบาลีเท่าที่มีไปด้วย<br />

v มอญรวมสงฆ์ที่เคยแตกแยกเป็น ๖ คณะ ทรงให้คณาจารย์ทั้ง<br />

๖ สำนักนั้นมาประชุมกัน และไปอุปสมบทใหม่ในลังกาเพื่อให้เกิด<br />

ความเสมอภาคกัน คณะสงฆ์เห็นชอบจึงเดินทางไปอุปสมบทใหม่ที่<br />

ลังกา ประกอบด้วยพระคณาจารย์ ๒๒ รูป พระอนุจรอีก ๒๒ รูป<br />

เมื่อกลับมาสู่เมืองหงสาวดีแล้ว พระเจ้าธรรมเจดีย์ประกาศ<br />

ราชโองการให้พระสงฆ์ทั่วแผ่นดินสึกให้หมดแล้วบวชใหม่กับ<br />

คณะสงฆ์ที่บวชจากลังกา แล้วเรียกคณะใหม่ว่า คณะกัลยาณี<br />

ในครั้งนั้นมีพระบวชในคณะกัลยาณีถึง ๑๕,๖๖๖ รูป คณะสงฆ์<br />

เมืองหงสาวดีจึงเป็นปึกแผ่นอีกครั้ง แต่หลังจากพระเจ้าธรรมเจดีย์<br />

เสด็จสวรรคตสงฆ์ก็แตกแยกกันอีก<br />

พระเจ้าติโลกราช นครวัด วัดวิชุลราช<br />

ล้านนา (ไทย)<br />

v พระเจ้าติโลกราชทรงอุปถัมภ์<br />

การสังคายนาพระไตรปิฎก<br />

ครั้งแรกที่วัดโพธารามมหาวิหาร<br />

ในเชียงใหม่<br />

ขอม (กัมพูชา)<br />

v วัดในนิกายวิษณุที่อังกอร์วัด<br />

(ซึ่งสถาปนาในพุทธศตวรรษที่<br />

๑๒ เป็นแหล่งฮินดูสถาน) ถูก<br />

เปลี่ยนมาเป็นศูนย์กลางของ<br />

พระพุทธศาสนาแทน<br />

๒๐๔๔ พ.ศ.<br />

๒๐๖๓ -<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พระเจ้าวิชุลราชาธิปัตทรง<br />

ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาโดย<br />

สร้างวัด เช่น วัดบรมมหาราชวัง<br />

เวียงทอง วัดวิชุลราชเพื่ออัญเชิญ<br />

พระบางจากเวียงคำมาประดิษฐาน<br />

ต่อมาทรงสร้างวัดโพธิ์สบเพื่อ<br />

เป็นอนุสรณ์รำลึกถึงพระราช<br />

ธิดาที่สิ้นพระชนม์ไป<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 463<br />

๒๐๖๓ พ.ศ.<br />

๒๐๙๐ -<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v รัชสมัยพระเจ้าโพธิสารราช<br />

พระองค์ทรงเป็นผู้เคร่งครัดใน<br />

พระพุทธศาสนา มีพระราช<br />

โองการให้พลเมืองเลิกนับถือ<br />

ผีสางเทวดา เลิกทรงเจ้าเข้าผี<br />

ทั่วพระราชอาณาจักร ทรงให้<br />

รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมือง<br />

ทรงเมือง และให้เปลี่ยนมา<br />

นับถือพระพุทธศาสนาแทน<br />

ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกขึ้น<br />

แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือ<br />

ผีนั้นมีมานานมาก และเป็น<br />

ความเชื่อที่ฝังรากลึกในหมู่<br />

ประชาชนทั่วไปจึงยากที่<br />

จะเลิกได้อย่างเด็ดขาด


464 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 465<br />

พ.ศ. ๒๐๗๖<br />

เวียดนาม<br />

v เวียดนามแตกแยกเป็น<br />

๒ อาณาจักร คือ อาณาจักร<br />

ฝ่ายเหนือ “ตังเกี๋ย” ปกครองโดย<br />

ราชวงศ์ตรินห์ (Trinh) และอาณาจักร<br />

ฝ่ายใต้ “แคว้นอานัม” ปกครองโดย<br />

ราชวงศ์เหงียน (Nguyen) ทั้ง ๒ อาณาจักร<br />

ต่างทำสงครามกันยืดเยื้อเป็นเวลาถึง<br />

๒๗๐ ปี<br />

v ยุค ๒ อาณาจักรนี้พระพุทธศาสนาได้รับ<br />

การส่งเสริมจึงมีการสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์<br />

วัดวาอารามมากมาย<br />

North Vietnam<br />

Hanoi<br />

Haiphong<br />

Vinh<br />

Quang Binh<br />

Lao Bao<br />

แผนที่เวียดนาม<br />

๒ อาณาจักร<br />

Gulf of<br />

Tonkin<br />

Saigon<br />

China<br />

Demilitarized<br />

Quang Tri<br />

Hue<br />

Da Nang<br />

Kontum<br />

Pleiku<br />

Qui Nhon<br />

Cam Ranh<br />

South Vietnam<br />

South<br />

China Sea<br />

Hainan<br />

(China)<br />

๒๐๙๑ พ.ศ.<br />

๒๑๑๔ -<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ.<br />

๒๐๙๑-๒๑๑๔) ทรงทำนุบำรุง<br />

ส่งเสริมพระพุทธศาสนา<br />

ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกต<br />

ไปประดิษฐานที่เวียงจันทน์<br />

และทรงสร้างพระธาตุหลวงขึ้น<br />

พ.ศต.ที่<br />

๒๒- ๒๓<br />

เวียดนาม<br />

v ชาวตะวันตกเริ่มเดินทางมา<br />

ติดต่อกับเวียดนามโดยการ<br />

ค้าขายและการเผยแผ่ศาสนา<br />

คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก<br />

นำโดยโปรตุเกส ฮอลันดา<br />

ฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ<br />

พระธาตุหลวง<br />

พ.ศ. ๒๑๐๙<br />

ละแวก (กัมพูชา)<br />

กรุงละแวกนี้พระพุทธศาสนารุ่งเรือง ประชาชนมีความเคารพ<br />

ศรัทธาต่อพระสงฆ์ แม้มีมิชชันนารีต่างชาติชาวโปรตุเกสชื่อ<br />

กาสปาร์ ดากรูซเดินทางมากรุงละแวกเพื่อเผยแผ่ศาสนาคริสต์<br />

แต่ก็ไม่เป็นผลต้องเดินทางกลับไปเพราะไม่อาจเปลี่ยนใจชาว<br />

พื้นเมืองได้ เนื่องจากประชาชนมีความศรัทธาต่อพระสงฆ์อย่างมาก<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชย้าย<br />

เมืองหลวงจากเมืองเชียงทอง<br />

มาอยู่ที่เวียงจันทน์ ประดิษฐาน<br />

พระแก้วมรกตและพระแซกคำ<br />

ไว้ที่เวียงจันทน์ เรียกว่า<br />

เวียงจันทน์ล้านช้าง แต่พระบาง<br />

ประดิษฐานที่เมืองเชียงทอง<br />

เรียกว่าล้านช้างหลวงพระบาง<br />

และสร้างวัดเป็นที่ประดิษฐาน<br />

พระแก้วขึ้นเป็นพิเศษ และ<br />

สร้างพระธาตุหลวงอันเป็น<br />

สถาปัตยกรรมชิ้นเยี่ยมของ<br />

ลาวขึ้น<br />

พระแซกคำ<br />

เวียดนามในอดีต<br />

พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช


466 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 467<br />

๒๑๓๔ พ.ศ.<br />

๒๑๗๐ พ.ศ.<br />

๒๑๘๐ พ.ศ.<br />

๒๒๑๙ พ.ศ.<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พระสงฆ์เถระลาวมีบทบาท<br />

ด้านการเมืองเพราะมีการประชุม<br />

กันและลงมติให้ทูตไปเชิญเจ้าชาย<br />

หน่อแก้วโกเมนที่เป็นตัวประกัน<br />

อยู่เมียนมากลับมาครองราชย์<br />

เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์<br />

ใน พ.ศ. ๒๑๓๕ ก็ได้ประกาศ<br />

อิสรภาพไม่ขึ้นกับเมียนมาอีก<br />

ต่อไป<br />

อยุธยา (ไทย)<br />

v ไทยจัดทำพระไตรปิฎก<br />

อักษรไทยฉบับสมบูรณ์ขึ้นเป็น<br />

ครั้งแรกสมัยพระเจ้าทรงธรรม<br />

ล้านช้าง (ลาว)<br />

v พระเจ้าสุริยวงศา (King<br />

Souligna Vongsa) ทำให้ลาว<br />

มีวัฒนธรรมรุ่งเรือง ศิลปกรรม<br />

ดนตรี ประติมากรรมต่างๆ เจริญ<br />

แพร่หลาย พระพุทธศาสนายุค<br />

นี้มีศูนย์กลางอยู่ที่เวียงจันทน์<br />

พระสงฆ์จากต่างประเทศ เช่น<br />

กัมพูชา เมียนมา ฯลฯ ต่างมุ่ง<br />

หน้ามาศึกษาพระพุทธศาสนา<br />

ที่เวียงจันทน์ ซึ่งได้ชื่อว่าเป็น<br />

ศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธ-<br />

ศาสนาในภูมิภาคนี้<br />

พะโค (เมียนมา)<br />

v สมัยของพระเจ้าสิริมหาสีหสูร<br />

สุธรรมราชา พระคุณาภิลังการะ<br />

สั่งให้สามเณรห่มจีวรลดไหล่<br />

หรือเปิดไหล่ขวาและปิดไหล่<br />

ซ้ายเวลาเข้าไปในบ้าน ในขณะที่<br />

คณะสงฆ์ทั่วไปนั้นห่มคลุมไหล่<br />

ทำให้คณะสงฆ์ส่วนใหญ่คัดค้าน<br />

จึงมีความแตกแยกจนเกิดเป็น<br />

นิกายใหม่ขึ้นเรียกว่า นิกาย<br />

ตุนนคณะ<br />

๒๒๗๖ พ.ศ.<br />

๒๓๐๑ -<br />

พ.ศ. ๒๒๙๓<br />

วัดพระศรีสรรเพชญ์ อดีตวัดหลวงประจำพระราชวังโบราณอยุธยา<br />

ภาพโดยวิลเลียม ฮันท์<br />

พระพุทธรูปสมัยล้านช้างตอนปลาย<br />

เศียรพระศรีสรรเพชญ์<br />

พระพุทธรูปสำคัญครั้งกรุงเก่า<br />

อยุธยา (ไทย)<br />

v สมัยพระเจ้าบรมโกศ<br />

อารยธรรมสยามเจริญรุ่งเรือง<br />

อยุธยาได้รับการยอมรับใน<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ<br />

เอเชียใต้ในฐานะศูนย์กลาง<br />

พระพุทธศาสนาอันสำคัญ<br />

อยุธยา (ไทย)<br />

v พระอุบาลีเถระและคณะ<br />

สงฆ์ไทยไปให้การช่วยเหลือ<br />

ลังกาโดยอุปสมบทให้แก่<br />

สามเณรสรณังกรที่ลังกา<br />

อันเป็นจุดกำเนิดของนิกาย<br />

สยามวงศ์


468 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 469<br />

พ.ศต.ที่<br />

๒๔ ๒๓๓๑ พ.ศ.<br />

๒๓๔๕ พ.ศ.<br />

๒๓๔๖ พ.ศ.<br />

พระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่<br />

จัดทำขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๓๑<br />

ลังกา<br />

v ชาวลังกาเดินทางไป<br />

อุปสมบทที่เมืองอมรปุระซึ่ง<br />

เป็นเมืองหลวงของเมียนมา<br />

ในขณะนั้น เพื่อกลับไป<br />

สถาปนานิกายอมรปุระใน<br />

ศรีลังกา<br />

๒๓๗๐ พ.ศ.<br />

๒๔๐๑ -<br />

เวียดนาม<br />

v เวียดนามปราบปรามผู้ที่เข้ารีต<br />

ศาสนาคริสต์และนักสอนศาสนา<br />

ด้วยการสังหารซึ่งกล่าวกันว่า<br />

เป็นจำนวนนับแสน จนเกิด<br />

ความขัดแย้งกับประเทศฝรั่งเศส<br />

ทำให้ฝรั่งเศสเข้ายึดเวียดนาม<br />

พ.ศ. ๒๓๗๒ พ.ศ. ๒๓๗๖<br />

สยาม (ไทย)<br />

v เจ้าฟ้ามงกุฎ (ภายหลัง<br />

เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว<br />

รัชกาลที่ ๔) ขณะผนวชทรง<br />

สถาปนาธรรมยุติกนิกายขึ้น<br />

สยาม (ไทย)<br />

v พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงพระ<br />

กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์<br />

วัดโพธิ์เพื่อรวบรวมสรรพวิชา<br />

ทุกแขนงจนเปรียบได้ว่าเป็น<br />

มหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธ-<br />

ยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑<br />

สยาม (ไทย)<br />

v รัชกาลที่ ๑ ทรงพระกรุณา<br />

โปรดเกล้าฯ ให้มีการทำสังคายนา<br />

ที่วัดมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร<br />

เวียดนาม<br />

v พระเจ้าตรันไทต๋อง กษัตริย์<br />

องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทรง<br />

สนพระทัยการบำเพ็ญธรรม<br />

ฝึกสมาธิจนเสด็จออกผนวชและ<br />

สละราชสมบัติให้พระราชธิดา<br />

ทรงนิพนธ์หนังสือว่าด้วยเรื่อง<br />

การปฏิบัติกรรมฐานหรือทาง<br />

ไปสู่ธยานะและหลักธรรม<br />

พระราชนัดดาของพระองค์<br />

ครองราชย์ได้สักระยะหนึ่งก็สละ<br />

ราชสมบัติออกผนวช พระองค์<br />

ได้รับการขนานนามจากชาว<br />

เวียดนามว่าเป็นปฐมสังฆราช<br />

แห่งนิกายเวฬุวัน (ป่าไผ่)<br />

Amarapura Palace<br />

วัดโพธิ์ มหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย


470 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 471<br />

พ.ศ. ๒๓๘๔<br />

อุดง (กัมพูชา)<br />

v ในสมัยพระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดีทรงเสวยราชย์ในกรุงอุดรเมียรชัย<br />

มีพระสงฆ์ชาวกัมพูชาเดินทางมาศึกษายังกรุงเทพมหานคร เพื่อกลับไป<br />

ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในกัมพูชา พระมหาวิมลธรรม (ทอง) จัดการ<br />

ศึกษาตามแบบสงฆ์ไทยโดยตั้ง “ศาลาบาลีชั้นสูง” ในกรุงพนมเปญ<br />

ซึ่งปัจจุบันคือ “พุทธิกวิทยาลัย”<br />

เมียนมา<br />

v พระเจ้ามินดงมหาราชองค์<br />

สุดท้ายของเมียนมาขึ้นครอง<br />

ราชย์โดยยึดอำนาจจากพระเจ้า<br />

ปะกันมินซึ่งเป็นพระเชษฐาได้<br />

สำเร็จ แล้วสถาปนาพระองค์เป็น<br />

กษัตริย์ของอาณาจักรเมียนมา<br />

ทำสังคายนาครั้งที่ ๕ ในเมียนมา<br />

สร้างวัดกุโสดาเพื่อประดิษฐาน<br />

หินอ่อนจารึกพระไตรปิฎก<br />

๗๒๙ แผ่น<br />

จารึกพระไตรปิฎกที่อยู่ในวัดกุโสดา<br />

พ.ศต.ที่ ๒๔๐๒ พ.ศ.<br />

๒๔๒๖<br />

๒๕ -<br />

เวียดนาม<br />

v เวียดนามตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส พระพุทธศาสนาในเวียดนาม<br />

ได้รับผลกระทบและค่อยๆ เสื่อมโทรมลง<br />

v พระสงฆ์และประชาชนทั่วไปถูกกีดกันทางการศึกษา<br />

v ชาวพุทธเวียดนามถูกจำกัดสิทธิ์ ถูกเบียดเบียนจากพวกฝรั่งเศสซึ่ง<br />

นับถือศาสนาคริสต์ เช่น ห้ามสร้างวัดเว้นแต่จะได้รับอนุญาต จำกัดสิทธิ์<br />

ของพระสงฆ์ในการรับถวายปัจจัยสิ่งของ จำกัดจำนวนพระภิกษุ ฯลฯ<br />

v ต้องนับถือศาสนาคริสต์ก่อนจึงจะได้<br />

เป็นผู้บริหารระดับสูง และต้องโอน<br />

สัญชาติเป็นฝรั่งเศสด้วย จึงทำให้ชาว<br />

พุทธไม่ได้มีส่วนร่วมในการบริหารและ<br />

ไม่มีสิทธิ์ไม่มีเสียงอะไรในแผ่นดิน<br />

v ชาวเวียดนามพยายามรวม<br />

ตัวกันเพื่อลุกขึ้นสู้กอบกู้เอกราช<br />

แต่ก็ถูกปราบปรามอย่างรุนแรง<br />

พระพุทธศาสนาซึ่งมีแนวโน้มว่า<br />

จะสิ้นสูญกลับตื่นตัวฟื้นฟูขึ้นมา<br />

อีกครั้งเพราะชาวพุทธสามัคคีกัน<br />

เมียนมา<br />

v การสังคายนาครั้งที่ ๕ ฝ่าย<br />

เถรวาทจัดขึ้นที่กรุงย่างกุ้ง<br />

อาณาจักรเมียนมา<br />

วัดกุโสดา


472 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 473<br />

๒๔๙๗ พ.ศ.<br />

๒๔๙๘ พ.ศ.<br />

พ.ศ.<br />

เวียดนาม<br />

v ขบวนการพุทธใหม่ใน<br />

เวียดนามเริ่มขึ้นโดยปัญญาชน<br />

เวียดนาม เจ้าหน้าที่รัฐ มีการ<br />

จัดตั้งสหภาพฆราวาสขึ้นมุ่ง<br />

เผยแผ่พุทธธรรม มีการเขียน<br />

คำสอนเถรวาทและสร้างเจดีย์<br />

จนกระทั่งพระพุทธศาสนา<br />

เถรวาทพัฒนาอย่างรวดเร็วใน<br />

หมู่ชาวเวียดนามระหว่าง<br />

สงครามเวียดนาม<br />

กัมพูชา<br />

v พระบาทสมเด็จพระนโรดม<br />

สีหนุสละราชสมบัติให้พระบิดา<br />

ขึ้นครองราชย์แทนเป็นพระบาท<br />

สมเด็จพระนโรดม สุรามฤต<br />

v พระบาทสมเด็จพระนโรดม<br />

สีหนุทรงนำหลักพุทธธรรม<br />

มาประยุกต์ใช้กับการเมือง<br />

ชื่อว่า ทฤษฎีพุทธสังคมนิยม<br />

(Buddhist Socialism) เพื่อ<br />

ต่อสู้กับลัทธิคอมมิวนิสต์ที่เริ่ม<br />

แผ่อิทธิพลเข้ามาในกัมพูชา<br />

ทรงตั้งพรรคการเมืองสังคม<br />

ราษฎร์นิยมและได้รับเลือก<br />

เป็นนายกรัฐมนตรี<br />

๒๔๙๙ ๒๕๐๐ พ.ศ.<br />

พ.ศ.<br />

กัมพูชา<br />

v รัฐบาลออกกฎหมายรับรอง<br />

ให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนา<br />

ประจำชาติ พ.ศ. ๒๕๐๐<br />

ไทย<br />

v ฉลองพุทธชยันตี ๒๕ พุทธศตวรรษ/๒,๕๐๐ ปี สร้างพุทธมณฑล<br />

ด้วยการพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยครบชุดฉบับแรก<br />

พุทธอาเซียน + ศรีลังกา<br />

v คณะสมณทูตจากประเทศไทย ศรีลังกา เมียนมา เดินทางไป<br />

เผยแผ่<br />

พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศมาเลเซีย<br />

v ระหว่างดำรงตำแหน่ง พ.ศ. ๒๕๐๐ โงดินห์เดียม ประธานาธิบดี<br />

คนแรกของเวียดนามใต้ยังคงใช้คำสั่งหมายเลข ๑๐ ตัดวันประสูติ<br />

ของพระพุทธเจ้าออกจากปฏิทินวันหยุดแห่งชาติ<br />

ไทย<br />

v สร้างวัดพุทธไทยในต่างประเทศระดับนานาชาติ<br />

พ.ศ. ๒๕๐๓ สร้างวัดไทยพุทธคยาในอินเดีย<br />

พ.ศ. ๒๕๐๙ สร้างวัดไทยพุทธปทีปขึ้นในลอนดอนเป็นวัดไทย<br />

แห่งแรกในยุโรป<br />

พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างวัดไทยลอสแอนเจลิสขึ้นในนครลอสแอนเจลิส<br />

พ.ศต.ที่<br />

๒๖ ๒๕๐๓<br />

เวียดนาม<br />

v พระภิกษุทิกกว๋างดึ๊กเสีย<br />

สละชีวิตด้วยการเผาตัวเองทั้ง<br />

เป็นเพื่อประท้วงโงดินห์เดียม<br />

ทำให้<br />

มีผู้ปฏิบัติตามท่านจนกระทั่ง<br />

นำไปสู่การโค่นล้มรัฐบาลของ<br />

โงดินห์เดียม ที่นับถือศาสนา<br />

คริสต์นิกายคาทอลิก และ<br />

ชาวพุทธก็ได้พยายามฟื้นฟู<br />

พระพุทธศาสนาขึ้นมาใหม่


474 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 475<br />

พ.ศ. ๒๕๑๐ พ.ศ. ๒๕๑๘ พ.ศ. ๒๕๒๓ พ.ศ. ๒๕๒๔<br />

เวียดนาม<br />

v หลังจากวันเรียกร้องเอกราช<br />

ของเวียดนามใต้ก็มีกระบวนการ<br />

เคลื่อนไหวนำโดยพระทิกตรีทู<br />

(Thich Tri Thu) เพื่อรวม<br />

นิกายและสมาคมชาวพุทธ<br />

ในเวียดนาม<br />

กัมพูชา<br />

v เขมรแดงบังคับขู่เข็ญประชาชนอย่างทารุณไร้ความเมตตาปรานี<br />

ประชาชนถูกสังหารประมาณ ๒ ล้านคนรวมทั้งพระภิกษุและ<br />

สามเณรด้วย พระพุทธศาสนาถูกล้มล้าง ไม่มีกิจกรรมทางศาสนา<br />

เวียดนาม<br />

v ภายหลังจากเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้รวมประเทศอย่าง<br />

เป็นทางการ คณะสงฆ์เวียดนามมีสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนา<br />

(Viet Nam Buddhist Academy in Ha Noi) ซึ่งนักศึกษาที่จะ<br />

สอบเพื่อเข้ามาศึกษานั้นต้องจบขั้นพื้นฐานด้านพระพุทธศาสนา<br />

ตามหลักสูตรที่ทางคณะสงฆ์กำหนดไว้ก่อนจึงจะมีสิทธิ์เข้ามาศึกษา<br />

ต่อในระดับอุดมศึกษา ทั้งหมดมี ๑ สถาบัน ๓ วิทยาเขต คือ<br />

๑. สถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนา ส่วนกลางที่ฮานอย<br />

๒. สถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนา วิทยาเขตเว้<br />

๓. สถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนา วิทยาเขตโฮจิมินห์<br />

๔. สถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนา วิทยาเขตเกินเธอและ<br />

มีโรงเรียนพระพุทธศาสนาระดับมัธยมปลาย ๓๐ โรงเรียน<br />

เวียดนาม<br />

v คณะสงฆ์เริ่มเคลื่อนไหวในการรวมชาวเวียดนามทางภาคเหนือ<br />

และภาคใต้มาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีพระภิกษุและภิกษุณี<br />

จำนวนมาก รวมทั้งคฤหัสถ์จำนวนนับไม่ถ้วนจากองค์กรชาวพุทธ<br />

๙ องค์กร และกลุ่มชาวพุทธที่นับถือนิกายเดียวกันปฏิบัติหน้าที่<br />

เป็นตัวแทนอย่างเป็นทางการของทางราชการ นำไปสู่การรวมตัว<br />

กันเป็นผู้แทนแห่งสภาคองเกรส ทำหน้าที่เป็นฐานรองรับของ<br />

คณะสงฆ์ชาวพุทธแห่งประเทศเวียดนามเมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน<br />

พ.ศ. ๒๕๒๓ ที่วัดกวานสือ (Quan Su Pagoda) ในกรุงฮานอย<br />

(Hanoi) สภาสูงคองเกรส (The General Congress) ยอมรับแผน<br />

ปฏิบัติงานของคณะสงฆ์ชาวพุทธแห่งประเทศเวียดนาม<br />

เวียดนาม<br />

v ก่อตั้งสถานศึกษาทาง<br />

พระพุทธศาสนาระดับอุดม-<br />

ศึกษาที่โฮจิมินห์ สำหรับ<br />

ให้การศึกษาอบรมภิกษุและ<br />

ภิกษุณีรุ่นใหม่อย่างมีคุณภาพ<br />

เพื่อสนองงานคณะสงฆ์<br />

เวียดนามในด้านต่างๆ


476 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 477<br />

v องค์กรพระสงฆ์เวียดนาม<br />

(Vietnamese Buddhist Sangha)<br />

ได้จัด<br />

ตั้งขึ้น นำโดยสังฆราชทิกดึกหงวน<br />

(Thich Duc Nhuan) มีเอกลักษณ์<br />

การรวมกันของเถรวาท มหายาน<br />

และนิกายคักซี หลังจากได้รวม<br />

พระพุทธศาสนาเวียดนาม สมาคม สังฆราชทิกดึกหงวน<br />

ทางพระพุทธศาสนา ๙ แห่งได้<br />

สร้างองค์กรทางศาสนาเป็นหนึ่งเดียวกันภายใต้ชื่อ “Vietnamese<br />

Buddhist Sangha” โดยมีกฎบัตรที่ออกเป็นระเบียบ คือ ความ<br />

สามัคคีมีเอกภาพเป็นพลังและการกระทำ ความเป็นหนึ่งเดียวของ<br />

ภาวะผู้นำและองค์กร ขณะเดียวกันก็เคารพทำนุบำรุงประเพณี<br />

ปฏิบัติของทุกนิกาย สนับสนุนสถานศึกษา และสร้างช่องทาง<br />

ปฏิบัติสัทธรรม มีการ<br />

ก่อตั้งสถานศึกษาทางพระพุทธศาสนาระดับอุดมศึกษาที่ฮานอย<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๕<br />

ลาว<br />

v มีความพยายามฟื้นฟู<br />

พระพุทธศาสนาในลาวขึ้น<br />

อีกครั้ง มีพระสงฆ์และคฤหัสถ์<br />

ชาวไทยเข้าไปสังเกตสภาพ<br />

บ้านเมืองในประเทศลาวเป็น<br />

ครั้งคราว ฝ่ายลาวส่งพระสงฆ์<br />

ลาว ๗ รูปพร้อมด้วยคฤหัสถ์<br />

๓ ท่านมาไทยระหว่างวันที่<br />

๒๕ พฤศจิกายน-๓ ธันวาคม<br />

๒๕๓๐ เพื่อศึกษาแนวทางจาก<br />

พระชั้นผู้ใหญ่ของไทยในการ<br />

ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาขึ้นใน<br />

ประเทศลาว<br />

กัมพูชา<br />

v หลังสงครามกลางเมืองสิ้นสุด ภาครัฐบาลและประชาชนกัมพูชา<br />

ต่างช่วยกันฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้กลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง เช่น<br />

- รัฐบาลส่งเสริมให้ชาวกัมพูชาได้รับการอุปสมบท<br />

- พิธีกรรมของทางราชการจะต้องมีพระสงฆ์เข้าร่วม<br />

- ปฏิบัติศาสนกิจในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาซึ่งกำหนด<br />

เป็นวันหยุดราชการ<br />

- เร่งฟื้นฟูบูรณะวัดวาอารามสำคัญ<br />

- ส่งพระภิกษุสงฆ์ชาวกัมพูชาเดินทางเข้ามาศึกษาพระธรรมวินัย<br />

ในประเทศไทย ฟื้นฟูมหาวิทยาลัยสงฆ์คือ “มหาวิทยาลัย<br />

พุทธศาสนาพระสีหนุราช”<br />

กัมพูชา<br />

v กระทรวงธรรมการและ<br />

ศาสนา (Ministry of Cult<br />

and Religion) เริ่มก่อตั้ง<br />

พุทธศาสนบัณฑิต (Buddhist<br />

Institute) ขึ้นมาใหม่เพื่อเป็น<br />

ศูนย์กลางทางการศึกษาค้นคว้า<br />

ทางศาสนา วัฒนธรรม และ<br />

ประเพณีของกัมพูชาเช่นในอดีต


478 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 479<br />

๒๕๕๐ พ.ศ.<br />

๒๕๕๕ -<br />

กัมพูชา<br />

v วิทยาลัยสงฆ์กัมพูชามี พ.ร.บ. รับรองอย่างสมบูรณ์ มีสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล<br />

เวียดนาม<br />

v การสำรวจสถิติวัดเถรวาทเวียดนามประจำปีใน พ.ศ. ๒๕๕๑ มีวัดเถรวาทในประเทศเวียดนาม<br />

รวมทั้งสิ้น ๕๒๙ แห่ง ประกอบด้วยวัดเถรวาทเชื้อสายเขมรจำนวน ๔๕๒ แห่ง และวัดเถรวาท<br />

เวียดนามอีก ๗๗ แห่ง<br />

v จากรายงานขององค์กร Vietnam Buddhist Sangha พ.ศ. ๒๕๕๐ มีพระเถรวาทประมาณ<br />

๘,๙๑๙ รูป แบ่งเป็นพระเถรวาทเขมร ๘,๕๗๔ รูป และพระเถรวาทเวียดนาม ๓๔๕ รูป<br />

๒๕๕๖ พ.ศ.<br />

๒๕๕๗ พ.ศ.<br />

ไทย<br />

v ฉลองพุทธชยันตีครบรอบ<br />

๒,๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้<br />

เวียดนาม<br />

v คณะสงฆ์และชาวพุทธเวียดนามได้เป็นเจ้าภาพจัดกองประชุม<br />

พระพุทธศาสนานานาชาติเนื่องในวันวิสาขบูชาโลกที่หอประชุม<br />

ใหญ่มี่ดิ้น ณ กรุงฮานอย มีพระสงฆ์เข้าร่วม ๗๒ ประเทศ<br />

ไทย<br />

v มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเริ่มเป็นเจ้าภาพจัด<br />

ประชุมวิสาขบูชานานาชาติ ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

กัมพูชา<br />

v มีวัดทั่วราชอาณาจักร ๔,๒๓๗ วัด มีพระภิกษุ<br />

สามเณร ๕๗,๓๕๐ รูป โรงเรียนมัธยมทาง<br />

พระพุทธศาสนา ๑๒ แห่ง<br />

เวียดนาม<br />

v พระพุทธศาสนาเวียดนามตามรายงานของ Vietnam<br />

Buddhist Sangha เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ มีวัด<br />

ทั่วประเทศ ๑๔,๗๗๘ แห่ง วัดมหายาน ๑๓,๗๑๐ แห่ง<br />

วัดเถรวาท ๕๒๗ แห่ง และวัดนิกายคักซี ๕๔๑ แห่ง<br />

Headquarters of the Buddhist Sangha of Vietnam<br />

at Quan Su Temple, Hanoi<br />

การประชุมชาวพุทธนานาชาติเนื่องในวันวิสาขบูชา


480 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 481<br />

พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

เมียนมา<br />

v เมียนมาตรากฎหมาย ๔<br />

ฉบับที่เกี่ยวกับความมั่นคงทาง<br />

พระพุทธศาสนา เช่น ห้ามสตรี<br />

ชาวเมียนมาแต่งงานกับชาย<br />

มุสลิม ฯลฯ โดยการผลักดัน<br />

ของขบวนการมะทะบา ที่นำ<br />

โดยอูวิรทู พระสงฆ์ชาตินิยม<br />

ในเมียนมา กฎหมายทั้ง ๔<br />

ฉบับนี้ถูกต่อต้านจากองค์กร<br />

สิทธิมนุษยชนมากเพราะถือว่า<br />

เป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพ<br />

ของประชาชนโดยเฉพาะสตรี<br />

เวียดนาม<br />

v สถาบัน Khmer Theravada Buddhist Academy for<br />

Buddhist Studies Pôthisomrôn Temple สถาปนาขึ้น<br />

อย่างเป็นทางการวันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ในเมืองจันโท<br />

(Can Tho) และเกิดวิทยาลัยทางพระพุทธศาสนาเถรวาท<br />

(Theravada Buddhist College (Intermediate Level)<br />

ขึ้นที่เมืองเว้<br />

ไทย<br />

v สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ จัดงานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง<br />

โดยเดินทางไป ๕ ประเทศ คือ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา มีเส้นทางดังนี้<br />

วันที่ ๑ อุบลราชธานี - ไทย - วันอาทิตย์ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

พิธีเปิดจุดเริ่มเดินทางคณะธรรมยาตรา ณ สถานที่ก่อสร้างอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ ตำบลกุศกร<br />

อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี<br />

วันที่ ๒ อุบลราชธานี - สปป.ลาว - วันจันทร์ที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

ขบวนธรรมยาตราเริ่มต้นที่วัดโพธิ์สระปทุม ผ่านสถานที่ก่อสร้างพระอริยธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ<br />

พักที่วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว ก่อนเดินทางมุ่งสู่ด่านช่องเม็กเข้าสู่เมืองลาว มุ่งหน้าวัดสีสะหว่างวง<br />

เมืองโพนทอง พักค้างที่วัดพูส่าเหล้า เมืองจำปาสัก<br />

วันที่ ๓ ลาว - กัมพูชา - วันอังคารที่ ๒๓ พฤษภาคม<br />

พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

บิณฑบาตที่วัดหลวงปากเซ เรียนรู้อารยธรรมที่วัดพู<br />

แขวงจำปาสัก จากนั้นเดินทางต่อไปวัดโปธิเญียน<br />

จังหวัดสตรึงแตรง ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

วันที่ ๔ สตรึงแตรง - กำปงธม - วันพุธที่ ๒๔ พฤษภาคม<br />

พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

จากจังหวัดสตึงแตรงมุ่งสู่วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล<br />

ชมอารยธรรมปราสาทสมโบร์ไพรกุก จังหวัดกำปงธม<br />

วันที่ ๕ กำปงธม - พนมเปญ - วันพฤหัสบดีที่ ๒๕<br />

พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

จากวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล มุ่งสู่วัดโบตุมโวเด็ย (หรือ<br />

วัดปทุมวดีราชวราราม) กรุงพนมเปญ เมืองหลวงแห่ง<br />

ราชอาณาจักรกัมพูชา


482 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 483<br />

วันที่ ๖ พนมเปญ - วันศุกร์ที่ ๒๖<br />

พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

พิธีเปิดโครงการธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอย<br />

พระอริยสงฆ์ลุ่มน้ำโขง ที่โรงแรมโซฟิเทล<br />

พนมเปญ โภคีธรา<br />

วันที่ ๗ พนมเปญ - เวียดนาม - วันเสาร์ที่<br />

๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

จากกรุงพนมเปญสู่ด่านตรวจคนเข้าเมือง<br />

แปรกจาก ข้ามเข้าสู่ประเทศเวียดนามที่ด่าน<br />

ข้ามแดนนานาชาติเกื่อเขิ่วกวกเต๋ฮาเตียน<br />

จังหวัดเกียนซาง<br />

วันที่ ๘ เวียดนาม - กัมพูชา - วันอาทิตย์ที่<br />

๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามอนุญาตให้<br />

พระสงฆ์จำนวน ๑๘๘ รูปเดินบิณฑบาต ปิดถนนกลางเมืองหน้าจัตุรัสอำเภอฮาเตียน จังหวัดเกียนซาง<br />

ออกเดินทางต่อมุ่งสู่วัดสมุทเธียรามหรือวัดปากคลอง อำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง ราชอาณาจักรกัมพูชา<br />

วันที่ ๙ กัมพูชา - ไทย - วันจันทร์ที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดปากคลอง อำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง ก่อนเดินทางเข้าราชอาณาจักรไทย<br />

มุ่งสู่จังหวัดจันทบุรี และเดินทางไปยังวัดไก่เตี้ยพฤฒาราม ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

วันที่ ๑๐ ไทย - วันอังคารที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พักฉันเพลที่นครสวรรค์ มุ่งสู่วัดโพธิคุณ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก<br />

วันที่ ๑๑ ไทย - เมียนมา - วันพุธที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

จากชายแดนแม่สอดเข้าสู่สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาที่จังหวัดเมียวดี ทางการไทย-เมียนมาปิดสะพาน<br />

ร่วมมหาบุญ จัดพิธีต้อนรับที่วัดส่วยมินวุ่น จังหวัดเมียวดี จากนั้นปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ เจดีย์ชเวดากองจำลอง<br />

แห่งเมียวดี ออกเดินทางตามรอยพระภัททันตะ เกสระ ที่วัดวินเซนตอยะ มุ่งหน้าสู่วัดไจทีเซาเพื่อปักกลดพักค้าง<br />

วันที่ ๑๒ วัดไจทีเซา - พระธาตุอินทร์แขวน - วันพฤหัสบดีที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดไจทีเซา เมืองบีลีน หมู่บ้านโซะโตะ รัฐมอญ ประเทศเมียนมา<br />

ก่อนออกเดินทางสู่พระธาตุอินทร์แขวนเพื่อเจริญพระพุทธมนต์ยามค่ำ<br />

วันที่ ๑๓ เมียนมา - ไทย - วันศุกร์ที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พระธาตุอินทร์แขวน ออกเดินทางต่อไปสักการะพระไฝเลื่อน จุดหมายต่อไปปลูก<br />

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่ชุมชนรัฐกะเหรี่ยงก่อนข้ามแดนเข้าไทย<br />

ที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก<br />

วันที่ ๑๔ ตาก - สมุทรปราการ -<br />

วันเสาร์ที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

ออกเดินทางจากอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก<br />

พักฉันเพลที่จังหวัดกำแพงเพชรแล้วมุ่งสู่<br />

วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี ๙๘๙ จังหวัด<br />

สมุทรปราการ<br />

วันที่ ๑๕ สมุทรปราการ - ประเทศไทย -<br />

วันอาทิตย์ที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑<br />

คณะธรรมยาตราเดินทางกลับไทย ทำพิธีปิดงาน<br />

ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์<br />

ลุ่มน้ำโขงที่วัดสุวรรณภูมิ พุทธชยันตี ๙๘๙<br />

อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ รวมระยะเวลาเดินทาง ๕ ประเทศ ทั้งหมด ๑๕ วัน


484 | ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยะสงฆ์ลุ่มแม่นํ้ำโขง | 485<br />

แผนที่ทวีปเอเชียโบราณ แผนที่ทวีปเอเชียปัจจุบัน


486 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 487<br />

ธรรมยาตราในสื่อมวลชน โดย คณะสื่อมวลชน<br />

ธรรมยาตราในสื่อมวลชน


488 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 489<br />

ธรรมยาตราในสื่อมวลชน โดย คณะสื่อมวลชน


490 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 491<br />

ขออนุโมทนาบุญ<br />

งานธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์สำเร็จเรียบร้อยเป็นอย่างดี สืบเนื่องด้วยการร่วมแรง<br />

ร่วมใจในการดำรงและทำนุบำรุง ตลอดจนช่วยเผยแผ่พุทธศาสนาของคณะชมรมโพธิคยา ๙๘๐ สถาบัน<br />

โพธิคยาวิชชาลัย ๙๘๐ ขอขอบพระคุณและขออนุโมทนาคณะกรรมการบริหารงาน คณะที่ปรึกษา ชมรม<br />

โพธิคยา ๙๘๐ คณะธรรมยาตรา และองค์กรภาคีเครือข่าย ๕ ประเทศทุกท่าน ดังมีรายนามดังนี้<br />

คณะกรรมการบริหารงาน ชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

๐๑ นายชัช ชลวร ประธานชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

๐๒ นายอภัย จันทนจุลกะ รองประธานชมรมฯ<br />

๐๓ พลเอกวิชิต ยาทิพย์ รองประธานชมรมฯ<br />

๐๔ พลตํารวจเอกจักรทิพย์ ชัยจินดา รองประธานชมรมฯ<br />

๐๕ คุณสุภชัย วีระภุชงค์ เลขานุการชมรมฯ<br />

๐๖ คุณเกษม มูลจันทร์ เหรัญญิก<br />

๐๗ พ.ต.ท. อัฑฒาสิษฏฐ์ พุ่มเกตุแก้ว นายทะเบียน<br />

๐๘ คุณสมาน สุดโต กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และเผยแผ่<br />

๐๙ คุณณัฐวุฒิ โพธิสาโร กรรมการฝ่ายต่างประเทศ<br />

๑๐ คุณวิวรรธน์ ไกรพิสิษฐ์กุล กรรมการฝ่ายจัดหารายได้<br />

๑๑ คุณวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ กรรมการฝ่ายกิจกรรมและวิเทศสัมพันธ์<br />

๑๒ คุณกิตติชัย อินทร์นุรักษ์ กรรมการฝ่ายวิชาการ<br />

๑๓ คุณกรพจน์ อัศวินวิจิตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๑๔ คุณนิวัตน์ แจ้งอริยวงศ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๑๕ คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๑๖ ศ.ดร.กําชัย จงจักรพันธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๑๗ คุณชัชชัย สุเมธโชติเมธา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๑๘ พลเอกยศนันท์ หร่ายเจริญ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๑๙ คุณไพบูล ต้นกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๒๐ คุณชื่นชีวี เฉลิมภัทรกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๒๑ รศ.นายแพทย์ สรณ บุญใบชัยพฤกษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๒๒ คุณอภิศักดิ์ ธนเศรษฐกร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๒๓ คุณเด่นชัย เด่นชัยประดิษฐ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

๒๔ คุณทิพย์วรรณ วีระภุชงค์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

คณะที่ปรึกษา ชมรมโพธิคยา ๙๘๐<br />

๐๑ คุณประทีป เฉลิมภัทรกุล ประธานที่ปรึกษา<br />

๐๒ คุณกมล สกลเดชา<br />

๐๓ คุณกรรณภว์ ธนภรรคภวิน<br />

๐๔ คุณกิตติพงษ์ กิตยารักษ์<br />

๐๕ คุณเกื้อกูล นุชตเวช<br />

๐๖ ดร.คมคาย อุดรพิมพ์<br />

๐๗ คุณครรชิต ลิขิตธนสมบัติ<br />

๐๘ คุณจรัญ วิวัฒน์เจษฎาวุฒิ<br />

๐๙ คุณจันทนา สุทธิเรืองวงศ์<br />

๑๐ คุณจีระศักดิ์ ธเนศนันท์<br />

๑๑ นพ.เจษฎา โชคดำรงสุข<br />

๑๒ คุณฉันทวัธน์ วรทัต<br />

๑๓ คุณชัชวาลย์ คุณค้ำชู<br />

๑๔ ดร. ชัยยงค์ สัจจิพานนท์<br />

๑๕ คุณชาลี ทัพภวิมล<br />

๑๖ คุณชาย นครชั<br />

๑๗ พล.ต.ต ชาญ วัฒนธรรม<br />

๑๘ คุณฐากูร บุนปาน<br />

๑๙ คุณณัฐจักร ปัทมสิงห์<br />

๒๐ คุณดำฤทธิ์ วิริยะกุล<br />

๒๑ คุณตวงพร อัศววิไล<br />

๒๒ คุณตวงศักดิ์ สินธุวล<br />

๒๓ คุณธนาชัย ธีรพัฒน์วงศ์<br />

๒๔ คุณธนกร บุญรงค์<br />

๒๕ คุณธิดา ชลวร<br />

๒๖ คุณธีทัต แพ่งสภา<br />

๒๗ ดร. นริศ ชัยสูตร<br />

๒๘ คุณนาตยา เนตรรัตน์<br />

๒๙ พลเอกนินนาท เบี้ยวไข่มุก<br />

๓๐ พลโทบุญชู เกิดโชค<br />

๓๑ คุณบวร กุลทนันท์<br />

๓๒ คุณบุญชู เรืองกิจ<br />

๓๓ คุณบุญส่ง กุลบุปผา<br />

๓๔ นพ. ปิยะมิตร ศรีธรา<br />

๓๕ คุณประกิต ลิ้มสกุล<br />

๓๖ คุณประหยัด คูณสมบัติ<br />

๓๗ คุณประวิช รัตนเพียร<br />

๓๘ คุณผดุงพันธ์ จันทโร<br />

๓๙ คุณพงศ์ฤทธิ์ ศรีสมิต<br />

๔๐ คุณพรเทพ อัมพรกลิ่นแก้ว<br />

๔๑ คุณพรศักดิ์ ศรีณรงค์<br />

๔๒ คุณพรหม มีสวัสดิ์<br />

๔๓ คุณหญิงพันเครือ ยงใจยุทธ<br />

๔๔ คุณพิชัย ศิริจันทนันท์<br />

๔๕ พลเอกพอพล มณีรินทร์<br />

๔๖ คุณภัทชา ณิลังโส<br />

๔๗ คุณมงคล สิมะโรจน์<br />

๔๘ นพ. มณฑล สุวรรณนุรักษ์<br />

๔๙ คุณมาริษ เสงี่ยมพงศ์


492 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 493<br />

๕๐ ดร.ยิ่งยศ อุดรพิมพ์<br />

๕๑ คุณลิขสิทธิ์ ปานสมจิตร์<br />

๕๒ ผศ. ลักขณา บรรพกาญจน์<br />

๕๓ คุณวรยุกต์ เจียรพันธุ์<br />

๕๔ คุณวรวิทย์ ศรีอนันตรักษ์<br />

๕๕ คุณวันชัยย์ เอื้อสุวรรณกูล<br />

๕๖ คุณวโรดม วีระภุชงค์<br />

๕๗ คุณวัชรกิตติ วัชโรทัย<br />

๕๘ คุณวิลาศ ชลวร<br />

๕๙ พลตำรวจเอกวาสนา เพิ่มลาภ<br />

๖๐ พล.ต.ท. วรรณรัตน์ คชรักษ์<br />

๖๑ คุณวิทวัส บุญญสถิตย์<br />

๖๒ คุณวิโรจน์ กิจกุลอนันตเอก<br />

๖๓ คุณศิระ อินทรกำชัย<br />

๖๔ คุณสกุณา ประยูรศุข<br />

๖๕ พลเอกสราวุธ ชลออยู่<br />

๖๖ คุณสวาสดิ์ อินทวังโส<br />

๖๗ คุณสันติ วิริยะรังสฤษฎิ์<br />

๖๘ คุณสัญชัย จงวิศาล<br />

๖๙ ดร.สุนันท์ สิงห์สมบุญ<br />

๗๐ ผศ.สันติรักษ์ ประเสริฐสุข<br />

๗๑ คุณสุชาติ ศรีสุวรรณ<br />

๗๒ คุณสุทธิลักษณ์ สำราญอยู่<br />

๗๓ คุณสุธน ศักดิ์วิทย์<br />

๗๔ นพ.สุพจน์ ตุลยเดชานนท์<br />

๗๕ คุณสุเมธ รอยกุลเจริญ<br />

๗๖ คุณสุรพล มณีพงษ์<br />

๗๗ คุณสุรพล ปลื้มอารมย์<br />

๗๘ คุณสุนันท์ ชะอุ่มพานิช<br />

๗๙ คุณสุวรรณา บุญคุณศักดิ์<br />

๘๐ คุณอารีย์ เตชะหรูวิจิตร<br />

๘๑ พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ<br />

๘๒ พลตำรวจตรีอดิศร์ งามจิตสุขศรี<br />

๘๓ คุณอดิศักดิ์ ทิมมาศ<br />

๘๔ คุณอนัญญา เที่ยงแท้<br />

๘๕ คุณอนุชาติ คงมาลัย<br />

๘๖ คุณอนุสรณ์ ฟูเจริญ<br />

๘๗ คุณอนุศักดิ์ อินทรภูวศักดิ์<br />

๘๘ พญ.อภิรมย์ เวชภูติ<br />

๘๙ คุณอรรถวุฒิ แดนทอง<br />

คณะธรรมยาตรา<br />

รายชื่อคณะเดินทางธรรมยาตราตลอดเส้นทาง<br />

คณะทำงาน ๒๒ ท่าน สื่อมวลชนไทย ๑๖ ท่าน สื่อมวลชนเวียดนาม ๑ ท่าน<br />

สื่อมวลชนกัมพุชา ๒ ท่าน คณะเดินทางเมียนมา ๙ ท่าน<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

คณะทำงาน ๐๑ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ Dr. Supachai Verapuchong<br />

๐๒ คุณสุรพล มณีพงษ์ Mr. Surapol Maneepong<br />

๐๓ คุณเกษม มูลจันทร์ Mr. Kasem Moonjan<br />

๐๔ คุณสุทธิลักษณ์ สำราญอยู่ Mr. Suttiluk Samranyoo<br />

๐๕ คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล Mr. Surasak Threerattrakul<br />

๐๖ ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์ Mr. Monthol Suwannuraks<br />

๐๗ นพ.ศุภชัย ถนอมทรัพย์ Mr. Supachai Tanomsup<br />

๐๘ คุณเสริมเกียรติ ไกรทองสุข Mr. Sermkiat Kritongsuk<br />

๐๙ คุณตวงศักดิ์ ชื่นสินธุวล Mr. Thuangsak Chuensindhuvol<br />

๑๐ คุณนวพล เกษมโสภา Mr. Navapol Kasemsopa<br />

๑๑ คุณลักขณา บรรพกาญจน์ Ms. Lakana Banpakan<br />

๑๒ คุณกัญญ์ปภาสุข ดีคง Ms. Kanprapasuk Deekong<br />

๑๓ คุณตวงพร อัศววิไล Ms. Tuangporn Asvavilai<br />

๑๔ คุณขนิษฐา โควหกุล Ms. Kanitha Kowhakul<br />

๑๕ ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์แมนชาติ Dr. Acharawadi Stockmann Maenchaad<br />

๑๖ ดร.พารณี เจียรเกียรติ Dr. Paranee Chiarakiat<br />

๑๗ คุณอันนา สุขสุกรี Ms. Anna Suksukree<br />

๑๘ คุณสุภาพ มั่งสันเทียะ Ms. Supap Mangsanthia<br />

อนุศาสนาจารย์ ๑๙ คุณอ่อนตา อ่อนวิจารณ์ Mr. Onta Onwijan<br />

๒๐ คุณสมอาจ อิ่มเอม Mr. Som-Arch Im-Em<br />

๒๑ พ.ท. บุญเรือง จันทรวิมล Lt.col. Boonruang Chantarawimol<br />

๒๒ ร.ต. นพดล พันธุ์หลง Plt.off. Noppadon Panlong


494 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 495<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

Thairath ๒๓ คุณยุทธยา ตุ้มมี Mr. Yutthaya Tummee<br />

๒๔ คุณอดิศักดิ์ อ้วนศรี Mr. Adisak Aunsri<br />

๒๕ คุณศราวุธ ธูปเหลือง Mr. Sarawut Thuplueang<br />

Spring News ๒๖ คุณกิติภัทร จันทรุจิรากร Mr. Kitipat Chantruchirakorn<br />

๒๗ คุณจิระพงษ์ วงศ์จีน Mr. Jirapong Wongcheen<br />

๒๘ คุณภานุวัฒน์ วุฒิกร Mr. Panuwat Wuttikorn<br />

๒๙ คุณศศิวรรณ อินทรชัย Ms. Sasiwan Intarachai<br />

TNN 24 ๓๐ คุณฐานิดา สง่างาม Ms. Thanida Sanga-Ngam<br />

๓๑ คุณกัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์ Ms. Kanlayawee Waewklayhong<br />

๓๒ คุณพรรษนันท์ ช่างคิด Ms. Patsanan Changkid<br />

๓๓ คุณอัครพัชร์ ตระกูลเพชรไกร Mr. Akkrapat Tragoonpecchkrai<br />

๓๔ คุณกรณ์ ตุลยศิลป์ Mr. Korn Tulyasil<br />

๓๕ คุณพัชรพงษ์ พันสวัสดิ์ Mr. Phratcharapong Phansawat<br />

๓๖ คุณเปี่ยมศักดิ์ จารุธานิยานนท์ Mr. Piamsak Jaruthaniyanon<br />

๓๗ คุณสราวุธ พินธุรักษ์ Mr. Sarawut Pinturak<br />

๓๘ คุณอภิชัย ณรงค์ศักดิ์สกุล Mr. Apichai Narongsaksakul<br />

Cambodia ๓๙ Mr. Hoeun Sao<br />

๔๐ Mr. Sovuty Chum<br />

Vietnam ๔๑ Mr. Le Dinh Tuyen<br />

Myanmar ๔๒ Dr. Kyaw Hein<br />

๔๓ Khun Hla Thaung<br />

๔๔ Khun Tun Ye@Min New Soe<br />

๔๕ Khun San Win<br />

๔๖ Khun Ngwe Ngwe Soe<br />

๔๗ Khun Htin Linn Kyaw<br />

๔๘ Khun Khin Maung Win<br />

๔๙ Khun Tun Maung<br />

๕๐ Khun Aung Bo Bo Latt<br />

รายชื่อคณะเดินทางเข้าเวียดนาม<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

Thailand ๐๑ ดร.สุภชัย วีระภุชงค์ Dr. Supachai Verapuchong<br />

๐๒ คุณสุรพล มณีพงษ์ Mr. Surapol Maneepong<br />

๐๓ คุณสุทธิลักษณ์ สำราญอยู่ Mr. Suttiluk Samranyoo<br />

๐๔ คุณสุรศักดิ์ ตรีรัตน์ตระกูล Mr. Surasak Threerattrakul<br />

๐๕ ทพ.มณฑล สุวรรณนุรักษ์ Mr. Monthol Suwannuraks<br />

๐๖ นพ.ศุภชัย ถนอมทรัพย์ Mr. Supachai Tanomsup<br />

๐๗ คุณเสริมเกียรติ ไกรทองสุข Mr. Sermkiat Kritongsuk<br />

๐๘ พ.ต.ท. อัฑฒาสิษฐ์ พุ่มเกตุแก้ว Pol.lt.col Atthasit Phumketkaew<br />

๐๙ คุณตวงศักดิ์ ชื่นสินธุวล Mr. Thuangsak Chuensindhuvol<br />

๑๐ คุณอ่อนตา อ่อนวิจารณ์ Mr. Onta Onwijan<br />

๑๑ คุณสมอาจ อิ่มเอม Mr. Som-Arch Im-Em<br />

๑๒ พ.ท. บุญเรือง จันทรวิมล Lt.col. Boonruang Chantarawimol<br />

๑๓ คุณนวพล เกษมโสภา Mr. Navapol Kasemsopa<br />

๑๔ คุณลักขณา บรรพกาญจน์ Ms. Lakana Banpakan<br />

๑๕ คุณกัญญ์ปภาสุข ดีคง Ms. Kanprapasuk Deekong<br />

๑๖ คุณอันนา สุขสุกรี Ms. Anna Suksukree<br />

๑๗ คุณตวงพร อัศววิไล Ms. Tuangporn Asvavilai<br />

๑๘ คุณขนิษฐา โควหกุล Ms. Kanitha Kowhakul<br />

๑๙ คุณสุภาพ มั่งสันเทียะ Ms. Supap Mangsanthia<br />

๒๐ คุณยุทธยา ตุ้มมี Mr. Yutthaya Tummee<br />

๒๑ คุณอดิศักดิ์ อ้วนศรี Mr. Adisak Aunsri<br />

๒๒ คุณศราวุธ ธูปเหลือง Mr. Sarawut Thuplueang<br />

๒๓ คุณเกษม มูลจันทร์ Mr. Kasem Moonjan<br />

๒๔ คุณกิติภัทร จันทรุจิรากร Mr. Kitipat Chantruchirakorn<br />

๒๕ คุณจิระพงษ์ วงศ์จีน Mr. Jirapong Wongcheen<br />

๒๖ คุณภานุวัฒน์ วุฒิกร Mr. Panuwat Wuttikorn


496 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 497<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

๒๗ คุณอัครพัชร์ ตระกูลเพชรไกร Mr. Akkrapat Tragoonpecchkrai<br />

๒๘ คุณกรณ์ ตุลยศิลป์ Mr. Korn Tulyasil<br />

๒๙ คุณพัชรพงษ์ พันสวัสดิ์ Mr. Phratcharapong Phansawat<br />

๓๐ คุณเปี่ยมศักดิ์ จารุธานิยานนท์ Mr. Piamsak Jaruthaniyanon<br />

๓๑ คุณสราวุธ พินธุรักษ์ Mr. Sarawut Pinturak<br />

๓๒ คุณอภิชัย ณรงค์ศักดิ์สกุล Mr. Apichai Narongsaksakul<br />

๓๓ ดร.อัจฉราวดี สต็อคมันน์แมนชาติ Dr. Acharawadi Stockmann Maenchaad<br />

๓๔ ดร.พารณี เจียรเกียรติ Dr. Paranee Chiarakiat<br />

๓๕ คุณศศิวรรณ อินทรชัย Ms. Sasiwan Intarachai<br />

๓๖ คุณฐานิดา สง่างาม Ms. Thanida Sanga-Ngam<br />

๓๗ คุณกัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์ Ms. Kanlayawee Waewklayhong<br />

๓๘ คุณพรรษนันท์ ช่างคิด Ms. Patsanan Changkid<br />

Cambodia ๓๙ Mr. Hoeun Sao<br />

๔๐ Mr. Sovuty Chum<br />

Vietnam ๔๑ Mr. Le Dinh Tuyen<br />

รายชื่อพระสงฆ์ที่เดินทางเข้าประเทศเวียดนาม<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

Thailand ๐๑ พระเมธีวรญาณ Phramethivorayan Hongpangjit<br />

๐๒ พระมหาวินัย วิเศษ Phramaha Winai Wised<br />

๐๓ พระมหาอุทัย สายบุญ Phramaha Uthai Saiboon<br />

๐๔ พระปลัดเฉลิมชาติ ชาติวโร Phra Chalermchart Ittharong<br />

๐๕ พระปลัดวรัญญู ยอดเพ็ชร Phrapalad Waranyu<br />

๐๖ พระประวัติ ปวตโต Phraprawat Inchamnan<br />

๐๗ พระธรรมวรนายก โรจนฉิมพลี Phradhamvoranayok<br />

๐๘ พระสวาท สืบพันธ์ Phra Sawat Subphan<br />

๐๙ พระครูศรีปริยัติวิสุทธิ์ Phrakhrusripariyatwisut<br />

๑๐ พระมหานิเวช จงแจ้งกลาง Phramaha Niwet Jongjaengklang<br />

๑๑ พระครูสุธรรมธีรานุยุต Phrakhrusuthamthiranuyut<br />

๑๒ พระครูโอภาสกิจจานุกูล Phrakruopaskitjanukool<br />

๑๓ พระครูสุตวีรากร เคียงสันเทียะ Phrakhrusutaveerakon<br />

๑๔ พระครูวิจิตรธรรมาภิยุติ ขึ้นโพธิ์ Phrakhruwijitthammaphiyut Khuenpho<br />

๑๕ พระครูวรธรรมานุกิจ Phrakhruvaradhammanukij<br />

๑๖ พระสมุห์ธีรนพ ญาณวีโร Phra Teeranop Samakkaew<br />

๑๗ พระใส จำปาทอง Phra Sai Jampathong<br />

๑๘ พระครูประภัศรปัญญาวุธ Phrakhrupraphatpanyawut<br />

๑๙ พระอธิการสมชาติ ฐิตปัญโญ Phraathikan Somchart<br />

(ผู้แทนภาคเหนือ)<br />

๒๐ พระครูสุวิชานสุตสุนทร Phrakhrusuwichansutasunthon<br />

(พระผู้แทนภาคเหนือ)<br />

๒๑ พระเชาวน์พิทย์ ทิพย์สุนทรพงษ์ Phra Chaowaphit Thipsuntornpong<br />

๒๒ พระมหาสมัคร ส่องแสง Phramaha Samak Songsang<br />

(ผู้แทนภาคกลาง)<br />

๒๓ พระปลัดประดิษฐ์ จันทรมณี Phrapalad Pradit Chantaramanee<br />

(ผู้แทนภาคใต้)


498 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 499<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

Cambodia ๒๔ Ven. Hun Heng<br />

๒๕ Ven. Chhuon Kim Leang<br />

๒๖ Ven. Heang Sokosal<br />

๒๗ Ven. Kith Sophal<br />

Vietnam ๒๘ Mr. Hoàng Dung<br />

๒๙ Mr. Hô Xuân Nhuý<br />

รายชื่อพระที่เดินทางไม่ตลอดเส้นทาง<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

Thailand ๐๑ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ Somdejphrabuddhachinnawong<br />

๐๒ พระธรรมโพธิวงศ์ Phradhambhodiwong<br />

๐๓ พระครูนรนาถเจติยารักษ์ ชูศรี Phrakhrunoranartjetiyaphirak<br />

๐๔ พระมหาชัยณรงค์ เสริมแก้ว Phramaha Chainarong Sermkaew<br />

๐๕ พระครูสุภาจารุคุต Phrakhrusupajarukut<br />

Myanmar ๐๖ Khun Eindapala<br />

๐๗ Khun Nageinda<br />

Lao ๐๘ Khun Thongseum Sibounheuang<br />

๐๙ Khun Sisouk Salirmkhoun<br />

๑๐ Khun Phonesavanh Sengsuriyavong<br />

๑๑ Khun Boonthavy Vilaichakr


500 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 501<br />

รายชื่อแขกที่เดินทางไม่ตลอดเส้นทาง<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

Thailand ๐๑ คุณอภัย จันทนจุลกะ Khun Apai Chandanachulaka<br />

๐๒ คุณชัช ชลวร Khun Chut Chonlavor<br />

๐๓ คุณวิศาล วุฒิศักดิ์ศิลป์ Khun Wisan Wuthisaksilp<br />

Spring News ๐๔ คุณชนิกา เสลานนท์ Khun Chanika Selanon<br />

๐๕ คุณศราวุธ แป้นศิริมงคลกุล Khun Pansirimonkolgul<br />

๐๖ คุณเด่นชัย เด่นชัยประดิษฐ์ Khun Denchai Denchaipradit<br />

๐๗ คุณนันทา เด่นชัยประดิษฐ์ Khun Nantar Denchaipradit<br />

๐๘ คุณไพบูลย์ กิตติวรภัทร Khun Phaiboon Kittivorapat<br />

๐๙ คุณยุพิน กิตติวรภัทร Khun Yupin Kittivorapat<br />

๑๐ คุณธนพัฒน์ ชัยเสนา Mr. Thanapat Chaisena<br />

๑๑ คุณสมหมาย สุภาษิต Mr. Sommai Suphasit<br />

๑๒ คุณสมาน สุดโต Mr. Smarn Sudto<br />

๑๓ พลเอก วิชิต ยาทิพย์ Gen. Vichit Yathip<br />

Myanmar ๑๔ Khun Kyaw Hein<br />

๑๕ Khun Hla Thaung<br />

๑๖ Khun Tun Ye@Min New Soe<br />

๑๗ Khun San Win<br />

๑๘ Khun Ngwe Ngwe Soe<br />

๑๙ Khun Htin Linn Kyaw<br />

๒๐ Khun Khin Maung Win<br />

๒๑ Khun Tun Maung<br />

๒๒ Khun Aung Bo Bo Latt<br />

๒๓ Khun Sukhon Niamphoon<br />

๒๔ Khun Kyaw Aung<br />

Country No. Thai Name English Name<br />

๒๕ Khun Than Htike<br />

๒๖ Khun Khin Shwe<br />

๒๗ Khun Chan Sein<br />

๒๘ Khun Chit Oo<br />

๒๙ Khun Hla Hpay<br />

๓๐ Khun Kyaw Win<br />

๓๑ Khun Min Yu<br />

๓๒ Khun Moe Kyaw<br />

๓๓ Khun Wai Phyo Lwin<br />

๓๔ Khun Win Han<br />

๓๕ Khun Win Win Than<br />

๓๖ Khun Ye Moe Hein<br />

๓๗ Khun Chan Myae Aung<br />

๓๘ Khun Thet Tun Lwin<br />

๓๙ Khun Minn Thaik Tun<br />

๔๐ Khun Pbone Kyaw<br />

๔๑ Khun Zaw Naing Oo


502 ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง ธรรมยาตรา ๕ แผ่นดิน ตามรอยพระอริยสงฆ์ลุ่มนํ้ำโขง 503<br />

บรรณานุกรม<br />

บรรณานุกรม<br />

บรรณานุกรม<br />

กรมศาสนา. (๒๕๕๗). ศาสนาในอาเซียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.<br />

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (๒๕๓๒). มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในอดีต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ<br />

ราชวิทยาลัย.<br />

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (๒๕๕๔). ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์. กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิก<br />

จำกัด.<br />

ชิตมโน. (๒๕๓๓). พุทธศาสนาในนานาประเทศ. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.<br />

เชษฐ์ ติงสัญชลี. ผศ. ดร. (๒๕๕๘). ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ ฯ : เอ็น<br />

อาร์ ฟิล์ม.<br />

ทรงวิทย์ แก้วศรี. (๒๕๓๐). ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา เล่ม ๑๐ พุทธศาสนาในอินโดจีน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์<br />

การศาสนา.<br />

บังอร ปิยะพันธุ์. (๒๕๓๗). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ : โอเดียน์สโตร์.<br />

พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ). (๒๕๓๖). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหา<br />

มกุฏราชวิทยาลัย.<br />

พระปัญญาสามี. แปลโดย แสง มนวิฑูร. (๒๕๐๖). ศาสนวงศ์หรือประวัติศาสนา. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.<br />

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (๒๕๔๐). พระพุทธศาสนาในอาเซีย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์<br />

ธรรมสภา.<br />

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (๒๕๕๘). กาลานุกรมพระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก. พิมพ์<br />

ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ผลิตธัมม์.<br />

พระมหาวิชาธรรม (เรืองเปรียญ). (๒๕๔๗). รามัญสมณวงศ์. กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ์.<br />

พระมหาสมเสียม แสนขัติ. สยามวงศ์ในลังกา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.<br />

พระมหาอุทัย ธมฺมสาโร. (๒๕๑๖). พุทธศาสนาและโบราณคดีในเอเชีย. กรุงทพ : เฟื่องอักษร.<br />

ฟื้น ดอกบัว. รศ. (๒๕๕๔). ประวัติพระพุทธศาสนาในนานาประเทศ. กรุงเทพฯ : บูรพาสาสน์.<br />

วงเดือน และเอกญารัตน์ ทองเจียว. (๒๕๕๖). ประวัติศาสตร์ ๑๐ ประเทศอาเซียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์<br />

แสงดาว.<br />

วิไลเลขา บูรณศิริ และสิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. (๒๕๔๓). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๑ (History of<br />

Southeast Asia). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.<br />

วศิน อินทสระ. (๒๕๓๕). ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียและประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร.<br />

ศิวพร ชัยประสิทธิกุล. ผศ. ดร. (๒๕๔๓). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป (Historycal<br />

Survey of Southeast Asia). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.<br />

สุภัทรดิศ ดิศกุล. ศ. หม่อมเจ้า. (๒๕๕๖). ประวัติศาสตร์ศิลปะประเทศใกล้เคียง อินเดีย ลังกา ชวา จาม ขอม<br />

พม่า ลาว. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.<br />

เสถียร โพธินันทะ. (๒๕๓๕). ประวัติพระพุทธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.<br />

เสถียร โพธินันทะ. (๒๕๔๓). พระพุทธศาสนาในราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.<br />

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (๒๕๔๖). เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. พิมพ์ครั้ง<br />

แรก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.<br />

อาณัติ อานันตภาค. (๒๕๕๘). ประวัติศาสตร์กัมพูชา : จากอาณาจักรโบราณสู่แผ่นดินแห่งน้ำตา. กรุงเทพฯ<br />

: สำนักพิมพ์ยิปซี.<br />

วิทยานิพนธ์<br />

กรรณิการ์ ถนอมปัญญารักษ์. (๒๕๔๗). พุทธสาสนากับพม่าในอาณาจักรพุกาม (ค.ศ. ๑๒๘๗-๑๐๕๗).<br />

วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.<br />

เอกสารประกอบการสอน<br />

ศรัญญา ประสพชิงชนะ. (๒๕๔๗). เอกสารประกอบการสอนวิชา ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.<br />

ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.<br />

ข้อมูลออนไลน์<br />

http : //bmsm. org. my<br />

http : //www. sujiwongthes. com/suvarnabhumi<br />

http : //www. tci-thaijo. org/index. php/HUSO/article/view/6150<br />

http : //saophal. blogspot. com/04/2012/blog-post_2477. html

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!