02.08.2017 Views

2

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

จัดท าโดย<br />

ห้อง 74<br />

เสนอ<br />

อาจารย์ สยมภู รณชิตพานิชยกิจ<br />

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม<br />

สาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ 1 (ส 33101) ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : พิกุล<br />

สถานที่ปลูก : หน้าตึกวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 24 กรกฎาคม พ.ศ.2560<br />

ความเป็นมาของชื่อพิกุล<br />

1. การก าหนดหัวข้อ : ชื่อต้นพิกุลมีความเป็นมาอย่างไร<br />

2. การรวบรวมหลักฐาน :<br />

2.1 ค้นคว้าจาก ราชบัณฑิตยสถาน (WWW.ROYIN.GO.TH/DICTIONARY) พบว่า<br />

น. ชื่อไม้ต้นชนิด MIMUSOPS ELENGI L. ในวงศ์ SAPOTACEAE กลีบดอกจักแหลม กลิ่นหอมและหอมอยู่<br />

จนแห้ง ใช้ท ายาได้, พายัพเรียก แก้ว, ปักษ์ใต้เรียก กุล<br />

2.2 จาก HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/WEBPHATHNAKARSUKSA/THIMA-LAEA-KHWAM-SAKHAY<br />

พบว่า<br />

ค าว่า “พิกุล” มาจากภาษาอินเดีย แต่ในภาษาบาลีและสันสกฤต ออกเสียง “พิกุล” ว่า “พกุล” จาก<br />

หนังสือมหาชาติค าหลวง กัณฑ์มหาพน ที่แต่งขึ้นในสมัยอยุธยา รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ<br />

(พ.ศ.๒๐๒๕) ได้กล่าวถึงตอนอจุตฤาษี พรรณนาถึงต้นไม้ในป่าให้ชูชกฟังว่า “ปงกุรา พกุล เสลา ไม้<br />

พกุลศุรกรมก็มี” แสดงให้เห็นว่าในสมัยอยุธยายังคงเรียก “พกุล” กันอยู่ แต่ต่อมาภายหลังได้


กลายเป็น “พิกุล” ซึ่งเป็นการแปลงค าแบบไทย โดยพระยาศรีสุนทรโวหาร ได้อธิบายไว้ว่า “พกุลค า<br />

ในบาลี ไทยใช้พาที เติมอิเป็นพิกุลไป”<br />

2.3 ค้นคว้าจากเว็บไซต์ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

(HTTP://CLGC.AGRI.KPS.KU.AC.TH/INDEX.PHP/LINKOLDFRAGRANT/239-MIMUSOPS) พบว่า<br />

พิกุล หรือ กุน (ภาคใต้) แก้ว (ภาคเหนือ) ซางดง (ล าปาง) พิกุลเถื่อน (นครศรีธรรมราช) พิกุลป่า (สตูล)<br />

พิกุลเขา ถิ่นก าเนิด คือ เอเชียแถบประเทศอินเดีย พม่า มาเลเซีย ไทย เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ทรงพุ่ม<br />

กลม ออกดอกตลอดปี ดอกหอมตลอดวันตลอดคืน เป็นพันธุ์ไม้ประจ าจังหวัดลพบุรี เพื่อเป็นสิริมงคล<br />

แก่บ้านและผู้อาศัยควรปลูกต้นพิกุลทองทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผู้ปลูกควรปลูกในวันจันทร์หรือวัน<br />

เสาร์ เพราะคนโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เพื่อเอาคุณทั่วไปให้ปลูกในวันเสาร์ถ้าจะให้เป็นสิริมงคลแก่<br />

ตัวเอง ผู้ปลูกควรเป็นสุภาพสตรีเพราะพิกุลเป็นชื่อที่เหมาะส าหรับสุภาพสตรี<br />

3. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน :<br />

จากหลักฐานข้างต้น พิกุล ถิ่นอื่นเรียกว่ากุล หรือ กุน มาก่อนเหมือนกัน หลักฐานในข้อที่ 2.2<br />

น่าเชื่อถือจากการที่มีแหล่งที่มาของค าว่า “พกุล” จากหนังสือมหาชาติค าหลวง แต่ต่อมาภายหลังได้<br />

กลายเป็น “พิกุล” ซึ่งเป็นการแปลงค าแบบไทย<br />

4. การวิเคราะห์และตีความหลักฐาน :<br />

เห็นได้ว่าพิกุลชื่อเรียกที่แตกต่างกันตามสถานที่ เช่น ภาคใต้ ภาคเหนือ พิกุลเป็นค าที่ไทยรับมา<br />

จากภาษาอื่นแล้วน ามาแผลงค าอีกครั้ง<br />

5. การน าเสนอ :<br />

ต้นพิกุลมีชื่อเรียกแตกต่างกันตามสถานที่นั้นๆ ค าว่าพิกุล มาจากภาษาอินเดีย แต่ในภาษาบาลี<br />

สันสกฤตออกเสียงว่า พกุล พบการใช้ในสมัยอยุธยาจากหนังสือมหาติค าหลวง ภายหลังกลายมาเป็น<br />

พิกุลอีกครั้งดังที่ใช้ในปัจจุบัน<br />

กันยณัฐ พัฒนาอุดมสินค้า ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 1


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ ตระแบก<br />

สถานที่ปลูก หน้าตึก2<br />

วันที่ถ่ายภาพ 2สค.60


1.ก าหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา<br />

ที่มาของชื่อต้นตะแบก<br />

วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

2.รวบรวมหลักฐาน<br />

ตะแบกนา (Lagerstroemia Floribunda Jack)<br />

Floribunda เป็นค าในภาษาละตินที่เกิดจากการผสมกันของค าว่า Florri หมายถึง ดอกไม้ หรือ<br />

การออกดอก (Flower, blossom) กับค าว่า abundans แปลว่า จ านวนมาก (many) แปลรวมๆแล้วก็<br />

แปลว่า “ออกดอกเยอะมาก” เนื่องจากตะแบกเวลาออกดอกจะเห็นช่อดอกเยอะและแน่น เห็นเด่นชัด<br />

ดอกมีขนาดเล็กกว่าอินทนิล คือมีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 2.5-3.5 ซ.ม. ไล่โทนสีตั้งแต่สีชมพูถึงม่วงอ่อน<br />

เช่นเดียวกัน แต่ขนาดช่อดอกยาวใกล้เคียงกันคือ 30-40 ซ.ม. ผลรูปทรงรีมีขนาดเล็กประมาณ 1.5-2 ซ.<br />

ม. ใบก็มีขนาดเล็กกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอินทนิล คือกว้าง 5-8 เซนติเมตร ยาว 12-20 เซนติเมตร แต่<br />

ต้นสูงใหญ่มาก คือสูงประมาณ 15-30 เมตร นับได้ว่าเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ดังนั้น<br />

ในช่วงฤดูออกดอก คือช่วงตั้งแต่เดือนกรกฎาคม –กันยายน ต้นตะแบกนาจะออกดอกแลดู มีจ านวน<br />

หนาแน่น สะดุดตามาแต่ไกล Jack มาจากชื่อของนักพฤกษศาสตร์ชาวสก๊อต วิลเลี่ยม แจค (William<br />

Jack) มีชีวิตอยู่ในช่วง พ.ศ. 2338 – 2465 เขาเกิดที่ประเทศอังกฤษ ได้ร่วมท างานกับบริษัท อีสต์<br />

อินเดีย ในฐานะของศัลยแพทย์ และได้เดินทางไปหมู่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย จนกระทั่งได้<br />

ศึกษาค้นคว้าด้านพฤกษศาสตร์ที่นั่น<br />

ที่มาของชื่อทางพฤกษศาสตร์ นี้เกิดจากการตั้งชื่อของนักพฤกษศาสตร์ชาวยุโรป ในยุคสมัยแห่ง<br />

การล่าอาณานิคม การตั้งชื่อพฤกษศาสตร์บ้างก็มีที่มาจากสถานที่ หรือบุคคล ที่ได้ท าการเก็บตัวอย่าง<br />

เป็นครั้งแรก และมีที่ตั้งชื่อตามลักษณะเด่นของพันธุ์ไม่นั้นๆ<br />

นอกจากนี้ยังมีชื่ออื่นๆอีกได้แก่ กระแบก (สงขลา), ตราแบกปรี้ (เขมร), ตะแบกไข่ (ราชบุรี, ตราด),<br />

ตะแบกนา ตะแบก (ภาคกลาง, นครราชสีมา), บางอตะมะกอ (มลายู-ยะลา, ปัตตานี), บางอยะมู<br />

(มลายู-นราธิวาส), เปื๋อยนา (ล าปาง), เปื๋อยหางค่าง (แพร่)<br />

3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน<br />

เนื้อหานี้น ามาจากเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และจัดท าโดยบุคลากรภายในของมหาวิทยาลัย<br />

และได้มีที่มาอย่างชัดเจนว่าได้น าข้อมูลมาจากเว็บไซต์และหนังสือเล่มใด<br />

นอกจากนี้ยังไม่ได้มีโฆษณาแอบแฝงใดๆ<br />

ได้มีการอ้างถึงนักวิทยาศาสตร์ชาวสก๊อตที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์อีกด้วย<br />

4.การวิเคราะห์สังเคราะห์<br />

ข้อมูลนี้มีจุดมุ่งหมายคือให้ความรู้ และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับที่มาของชื่อ ไม่มีโฆษณาแอบแฝง<br />

ไม่มีความคิดเห็นแอบแฝงอยู่ มีความยุติธรรมและมีความเป็นกลาง


5.การรวบรวมข้อมูลและการน าเสนอ<br />

Floribunda เป็นค าในภาษาละตินที่เกิดจากการผสมกันของค าว่า Florri หมายถึง ดอกไม้ หรือ<br />

การออกดอก (Flower, blossom) กับค าว่า abundans แปลว่า จ านวนมาก (many) แปลรวมๆแล้วก็<br />

แปลว่า “ออกดอกเยอะมาก” เนื่องจากตะแบกเวลาออกดอกจะเห็นช่อดอกเยอะและแน่น ตั้งชื่อโดย<br />

นักพฤกษ์ศาสตร์ชาวสก๊อตแลนด์ชื่อว่าWilliam Jackโดยเขาได้ไปที่เกาะสุมาตราประเทศอินโดนีเซีย<br />

และได้เริ่มศึกษาที่นั่น<br />

นางสาวกิตติ์ธัญญา เธียไพรัตน์ ม.6/74 เลขที่ 2


การศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการ<br />

ทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ ต้นชงโค<br />

สถานที่ปลูก บริเวณตึก 9<br />

วันที่ถ่ายภาพ วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560


1) ก าหนดหัวข้อ : ชื่อของต้นชงโคมีที่มาอย่างไร<br />

2) รวบรวมข้อมูล :<br />

https://medthai.com กล่าวไว้ว่า “…ชื่อชงโคนั้นมาจากใบชงโคมีลักษณะเป็นใบแฝดติดกันคล้าย<br />

รอยเท้าวัว…” และ “…ชงโคมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆว่า ดอกตีนวัว…”<br />

http://puechkaset.com กล่าวไว้ว่า “… ค าว่า ชงโค น่าจะเป็นชื่อเรียกที่ตั้งมาจากลักษณะของใบที่<br />

คล้ายกีบเท้าวัว…”<br />

http://www.the-than.com/FLower/Fl-1/24/24.html กล่าวไว้ว่า “...สันนิษฐานว่าเหตุที่ใช้ชื่อชงโค<br />

อาจจะมาจากลักษณะใบแฝดติดกัน คล้ายรอยเท้าวัวก็เป็นได้...”<br />

จาก http://d-dokmai.blogspot.com/2013/08/?m=1 พบว่าชื่อชงโคปรากฏอยู่ในวรรณคดีไทยตั้งแต่<br />

สมัยอยุธยา เรื่อง นิราศธารทองแดง ของเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) ด้วยดังที่ว่า<br />

“…ชงโคตะโกขบหว้า ต้นกุมกากาฝากลง ชอบกลต้นมหาหงส์ มะเดื่อดูกลู<br />

กนมแมว…”<br />

3) วิเคราะห์ข้อมูล : จากนิราศธารทองแดงที่ปรากฏชื่อชงโคอยู่ในกาพย์ ต้นฉบับนิราศนั้นมีอยู่จริงดังนั้น<br />

จึงเป็นหลักฐานที่เชื่อถือได้ และจาก 3 แหล่งข้อมูลออนไลน์ได้ให้ข้อมูลตรงกัน ดังนั้นจึงค่อนข้าง<br />

น่าเชื่อถือ แต่ไม่อาจสรุปได้ว่าข้อมูลข้างต้นเป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นเพียงข้อคิดเห็นของผู้เขียนสื่อนั้น<br />

เพราะไม่มีหลักฐานรองรับ<br />

4) ตีความข้อมูล : จากนิราศธารทองแดงที่ปรากฏชื่อชงโคอยู่ในกาพย์ แสดงว่าชื่อชงโคเป็นที่รู้จักกันมา<br />

นานมากแล้ว และจาก 3 แหล่งข้อมูลออนไลน์ซึ่งไม่มีหลักฐานใดรองรับอาจเพราะว่าชื่อชงโคนั้นได้ถูก<br />

ตั้งและเรียกกันมานานมากแล้ว ท าให้ไม่สามารถสรุปได้ว่าชื่อชงโคมีที่มาเช่นนั้นจริงๆ กล่าวได้เพียงว่า<br />

มีข้อสันนิษฐานว่าชื่อ ชงโค อาจมาจากรูปร่างของใบที่เหมือนรอยเท้าวัว เท่านั้น<br />

ชื่อชงโคได้ถูกเรียกขานกันมานานมากแล้ว เพราะในสมัยอยุธยาตอนปลายชื่อชงโคนั้นก็เป็นที่<br />

รู้จักกันอยู่แล้วดังมีปรากฏในกาพย์ห่อโคลงนิราศธารทองแดงที่เจ้าฟ้ากุ้งทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในสมัย<br />

อยุธยาตอนปลาย ท าให้ไม่มีหลักฐานชี้ชัดว่าชื่อ “ชงโค” นั้นมีที่มาอย่างไร เพียงแต่สันนิษฐานได้ว่า<br />

อาจมาจากรูปร่างของใบที่เหมือนกับรอยเท้าของวัว(โค)<br />

5) น าเสนอ : น าเสนอผ่าน Flipbook เพจ Aj.yomyom<br />

น.ส. กีรตา หวนถนอม ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 3


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการทาง<br />

ประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ หมากนวล<br />

สถานที่ปลูก ด้านหน้าตึก 1<br />

วันที่ถ่ายภาพ 2 ก.ค. 2560


ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์มีอยู่ 5 ขั้นตอน คือ<br />

1.การก าหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา<br />

หัวข้อคือ ความเป็นมาของชื่อ “หมากนวล”<br />

2.การรวบรวมหลักฐาน<br />

คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นหมากนวลประจ าบ้าน จะท าให้มีความอ่อนน้อม ความมีน้ าใจ เพราะ<br />

หมากนวลมีการแตกใบที่สวยงาม ลักษณะที่มีความนิ่มนวล อ่อนไหว นอกจากนี้ลักษณะแตกใบของหมากนวล<br />

ยังมีลักษณะที่โดดเด่น สง่า นอกจากนี้ มีการเปรียบเทียบหมากนวลไว้ว่าเป็นชื่อหมากชนิดหนึ่งที่ใช้รับประทาน<br />

ในสมัยโบราณ คือหมากรง ให้ในพิธีต้อนรับแขกที่ไปมาหาสู่กัน ดังนั้นจึงแสดงถึงการมีน้ าใจที่ดี มีน้ าใจงาม<br />

ที่มาข้อมูล http://202.143.128.88/gradent/index.php/joomlaorg/133-2014-05-09-08-59-01<br />

จัดเป็น หลักฐานชั้นรอง (Secondary Sources)<br />

ลักษณะใบ ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม.ยาว 45-75 ซม.<br />

ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบสีเขียว<br />

ที่มาข้อมูล https://sites.google.com/site/swnphvssastrsanpatxngwithyakhm/khi-xmul-phanthmi/hmak-nwl<br />

3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน<br />

ข้อมูลดังกล่าว กล่าวตรงกันในแต่ละแหล่งที่ข้าพเจ้าได้ศึกษา รวมทั้งลักษณะทั่วไปของต้นหมากนวลก็ตรง<br />

ตามที่กล่าวทุกประการ ดังนั้นหลักฐานที่กล่าวมามีความน่าเชื่อถือ<br />

4.การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล<br />

ข้อมูลดังกล่าว ไม่ได้มีเพื่อการโฆษณาชวนเชื่อ ท าให้หลงผิด หรือเพื่อเหตุผลทางการเมือง การค้า ประกอบกับ<br />

นิสัยของคนไทย ภาษามีอิทธิพลต่อการด าเนินชีวิตอยู่มาก การตั้งชื่อ หมากนวล ตามลักษณะของต้นไม้ที่<br />

ปรากฏ และตั้งเพื่อเสริมความเป็นสิริมงคลจึงมีความเป็นไปได้<br />

5.การเรียบเรียงหรือการน าเสนอ<br />

ที่มาของชื่อต้น “หมากนวล” คือ หมากนวลมีการแตกใบที่สวยงาม ลักษณะที่มีความนิ่มนวล อ่อนไหว โดด<br />

เด่น สง่า ดังนั้นคนเลยเรียกต้นไม้นี้ว่า หมากนวล<br />

นางสาวชญานิษฐ์ ยรรยงยุทธ์ ห้อง 74 เลขที่ 4


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : ต้นจามจุรี<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณหลังตึกสอง<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 31 กรกฎาคม พ.ศ.2560


1.ก าหนดเป้าหมาย<br />

2.รวบรวมหลักฐาน<br />

เพื่อศึกษาความเป็นมาของชื่อต้นจามจุรี<br />

มิสเตอร์เอ็ชเสลด (Mr. H. Slade) ที่ตอนนั้นด ารงต าแหน่งอธิบดีกรมป่าไม้คนแรกของไทย<br />

โดยน าไปทดลองปลูกตามข้างถนนของที่ท าการกรมป่าไม้ จังหวัดเชียงใหม่ และบางส่วนได้น าไปปลูกที่จังหวัด<br />

กระบี่ ซึ่งสมัยนั้นยังเรียกชื่อต้นจามจุรีว่า “ต้นกิมบี้” ปัจจุบันต้นจามจุรีมักเรียกเป็นชื่ออื่น เช่น ภาคเหนือ และ<br />

ภาคอีสานมักเรียก ต้นฉ าฉา/ส าสา หรือ ต้นก้ามปู และชื่ออื่น เช่น สารสา ก้ามกุ้ง ลัง<br />

http://puechkaset.com/ต้นจามจุรี<br />

จามจุรี ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกมีเกสรคล้ายขนจามจุรี, บางทีเรียก ก้ามปู (เหมือน จามรี)<br />

http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-pleang/จามจุรี<br />

จามจุรีเป็นพืชตระกูลถั่ว (Family Leguminosae) อนุวงศ์สะตอ (Sub-Family<br />

Mimosaceae) มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Samanea saman Jacq Merr. ส่วนชื่อที่เป็นที่รู้จักในประเทศไทย<br />

ได้แก่ จามจุรี ก้ามกลาม จามจุรีแดง ก้ามปู ก้ามกุ้ง (ไทย) ฉ าฉา สารสา ส าลา ตุ๊ดตู่ ลัง (พายัพ) ในภาษาอังกฤษ<br />

ชื่อที่เรียกกันแพร่หลาย คือ Rain tree ซึ่งน่าจะมาจากนิสัยของต้นไม้ชนิดนี้โตเร็วผิดกับต้นไม้อื่นๆ คือ เมื่อฤดู<br />

ฝนผ่านไปครั้งหนึ่งต้นไม้ชนิดนี้จะโตเร็วผิดกับต้นไม้อื่นๆ อย่างสังเกตเห็นได้ชัด<br />

http://www.raiporjai.com/raintree.php?no=31&pg=1<br />

เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านสาขามาก มีใบขนาดเล็ก ดอกสีชมพู มีผลเป็นฝัก เมล็ดแข็ง<br />

ผลมีเนื้อสีชมพู รสหวาน จามจุรีเป็นไม้ผลัดใบโตเร็ว เรือนยอดแผ่กว้างคล้ายรูปร่ม เปลือกสีด า แตกและร่อน<br />

ลักษณะเนื้อไม้มีลวดลายสวยงาม<br />

3. วิเคราะห์หลักฐาน<br />

http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=7900<br />

จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่า ชื่อจามจุรี มีที่มาอย่างไร แต่มีอยู่หนึ่ง<br />

หลักฐานที่เป็นไปได้ คือ จามจุรี เป็นชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ที่ดอกมีเกสรคล้ายขนจามรี ซึ่งค าว่า จามจุรี มีความ<br />

คล้ายคลึงกับค าว่า จามรี ดังนั้นข้าพเจ้าคิดว่ามีความเป็นไปได้ที่หลักฐานนี้เป็นหลักฐานที่เชื่อถือได้<br />

4. สรุปข้อเท็จจริง<br />

5. น าเสนอ<br />

ชื่อต้นจามจุรีมีการตั้งชื่อมาจากการที่ดอกของมันมีเกสรคล้ายลักษณะของขนจามรี<br />

รวบรวมงานเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์<br />

นางสาว ชญานี เหลืองภัทรวงศ์ เลขที่ 5 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : มณโฑ<br />

สถานที่ปลูก : หลังตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 1 สิงหาคม 2560


วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1.ก าหนดหัวข้อที่จะศึกษา<br />

ชื่อต้นมณโฑมีที่มาจากอะไร และมีความหมายว่าอย่างไร<br />

2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูล<br />

1) ดอกไม้ทิพย์แห่งเมืองสวรรค์ที่ชื่อ “มณฑารพ” หรือ “มณฑา” นั้น ในพระไตรปิฎกกล่าวไว้ว่า ก่อนที่<br />

พระพุทธองค์จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ได้ตรัสกับพระอานนท์ว่า<br />

“ดูกรอานนท์ ไม้สาละทั้งคู่ เผล็ดดอกบานสะพรั่งนอกฤดูกาล ร่วงหล่นโปรยปราย ลงยังสรีระของตถาคต<br />

เพื่อบูชา แม้ดอกมณฑารพอันเป็นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ ดอกมณฑารพเหล่านั้น ร่วงหล่นโปรยปราย<br />

ลงยังสรีระของตถาคตเพื่อบูชา แม้จุณแห่งจันทน์อันเป็นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ จุณแห่งจันทน์<br />

เหล่านั้น ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังสรีระของตถาคตเพื่อบูชา ดนตรีอันเป็นทิพย์เล่า ก็ประโคมอยู่ในอากาศ เพื่อ<br />

บูชาตถาคต แม้สังคีตอันเป็นทิพย์ก็เป็นไปในอากาศเพื่อบูชาตถาคต ดูกรอานนท์ ตถาคตจะชื่อว่าอันบริษัท<br />

สักการะ เคารพ นับถือ บูชา นอบน้อม ด้วยเครื่องสักการะประมาณเท่านี้หามิได้ ผู้ใดแลจะเป็นภิกษุ ภิกษุณี<br />

อุบาสก หรืออุบาสิกาก็ตาม เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตามธรรมอยู่ ผู้นั้นย่อมชื่อว่า<br />

สักการะ เคารพ นับถือ บูชาตถาคต ด้วยการบูชาอย่างยอด เพราะเหตุนั้นแหละอานนท์ พวกเธอพึงส าเหนียก<br />

อย่างนี้ว่า เราจักเป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรมอยู่ ดังนี้ ฯ”<br />

ในเวลาที่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว ทุกหนแห่งในเมืองกุสินาราเต็มไปด้วยดอกมณฑารพ “...<br />

สมัยนั้น เมืองกุสินาราเดียรดาษไปด้วยดอกมณฑารพโดยถ่องแถวประมาณแค่เข่า จนตลอดที่ต่อแห่งเรือน บ่อ<br />

ของโสโครกและกองหยากเยื่อ ครั้งนั้นพวกเทวดาและพวกเจ้ามัลละเมืองกุสินารา สักการะ เคารพ นับถือ บูชา<br />

พระสรีระพระผู้มีพระภาค ด้วยการฟ้อนร า ขับร้อง ประโคมมาลัยและของหอม ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็น<br />

ของมนุษย์...”<br />

หลังจากพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว พระมหากัสสปะเถระซึ่งอยู่ที่เมืองปาวา แคว้นมัลละ ได้<br />

ทราบข่าวว่าองค์พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาประทับที่เมืองกุสินาราเป็นเวลาหลายวันแล้ว จึง<br />

ตั้งใจจะไปเข้าเฝ้าพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์บริวาร 500 รูป ขณะที่ก าลังเดินทางไปเมืองกุสินาราอยู่นั้น ได้หยุด<br />

พักหลบแสงแดดอยู่ใต้ร่มไม้ข้างทาง ได้เห็นนักบวชนอกศาสนาคนหนึ่ง (อาชีวกะ) ซึ่งมาจากเมืองกุสินารา ถือ<br />

“ดอกมณฑารพ” ที่ผูกติดกับกิ่งไม้ต่างร่ม เดินสวนทางมา<br />

พระมหากัสสปะซึ่งเวลานั้นยังไม่ทราบว่าพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว ก็นึกสังหรณ์ใจ เพราะ<br />

ดอกมณฑารพเป็นดอกไม้ทิพย์ที่จะมีก็แต่ในแดนสวรรค์ ไม่มีในโลกมนุษย์ และจะปรากฏมีในโลกมนุษย์ก็<br />

เฉพาะตอนที่มีสิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นกับพระพุทธเจ้า เช่น ในวันที่พระโพธิสัตว์เสด็จลงสู่พระครรภ์ของพระมารดา<br />

, วันประสูติ, วันตรัสรู้, วันปลงอายุสังขาร, วันเสด็จดับขันธปรินิพพาน, วันจาตุรงคสันนิบาต, วันที่ทรงแสดง<br />

พระธัมมจักกัปปวัตนสูตร (ประกาศพระธรรมจักร), วันที่เสด็จลงจากเทวโลก และวันที่ทรงแสดงอิทธิฤทธิ์ยมก<br />

ปาฏิหาริย์ เป็นต้น หรือผู้มีฤทธิ์บางท่านแผลงฤทธิ์ ซึ่งเทพเทวดาจะบันดาลให้ดอกมณฑารพตกลงมาจากเท


วโลก พระมหากัสสปะจึงได้สอบถามข่าวคราวของพระพุทธองค์จากนักบวชนอกศาสนาผู้นั้น ซึ่งได้รับค าตอบ<br />

ว่าพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานมา 7 วันแล้ว และดอกมณฑารพนี้ก็ได้เก็บมาจากบริเวณที่พระพุทธ<br />

องค์เสด็จดับขันธปรินิพพานนั่นเอง เมื่อได้ยินดังนั้นพระมหากัสสปะจึงรีบเร่งน าพระภิกษุสงฆ์บริวารออก<br />

เดินทางไปยังเมืองกุสินารา<br />

ที่มา : หนังสือพิมพ์ธรรมลีลา<br />

2) ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน<br />

มณฑา (มนทา) น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Magnolia liliifera (L.) Baill. ในวงศ์ Magnoliaceae ใบใหญ่ ดอกสี<br />

เหลืองนวล กลิ่นหอม น. ชื่อต้นไม้ในเมืองสวรรค์,<br />

ที่มา : ราชบัณฑิตยสถาน<br />

3)ไม้มงคลอีกชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า ต้นมณฑา ปลูกต้น มณฑา ไว้ประจ าบ้านจะท าให้มีความศักดิ์สิทธิ์เพราะ<br />

ดอกมณฑาเป็นดอกไม้ทิพย์ที่ อยู่บนสวรรค์และได้บันดาลตกลงมาสู่โลกมนุษย์นอกจากนี้ยังมีความเชื่ออีกว่า<br />

บ้านใดปลูกต้นมณฑาไว้ประจ าบ้านจะท าให้เกิดความงดงาม ชวนมอง เพราะ ดอกมณฑา เวลาบานนั้น ดอกมี<br />

สีเหลืองนวล หอมได้นานดูแล้วงามแพรวพราวจับใจซึ่งมีลักษณะพิเศษเหมือนกับดอกมณฑาทิพย์ เพื่อเป็นสิริ<br />

มงคลแก่บ้านและผู้อาศัยควร ปลูกต้นมณฑา ไว้ทางทิศตะวัตตกเฉียงเหนือผู้ที่ปลูกควรปลูกในวันพุธเพราะ<br />

โบราณ เชื่อว่าการปลูกไม้เพื่อเอาประโยชน์ทางดอกให้ปลูกในวันพุธถ้าจะให้เป็นมงคล มากยิ่งขึ้นผู้ปลูกควร<br />

เป็นผู้ที่เกิดในวันพฤหัสบดีเพราะมณฑาเป็นดอกไม้ประจ า ของนากิริณีเทวีซึ่งเป็นนางประจ าวันพฤหัสบดี นิยม<br />

ปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้าน ต้องการแสงแดดอ่อน ร าไร หรือแสงแดดปานกลางต้องการปริมาณ<br />

น้ าปานกลางชอบดินร่วนซุย มีความชื้นสูงการตอนกิ่ง การเพาะเมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดี คือ การตอน ไม่<br />

ค่อยมีปัญหาเรื่องโรคและศัตรู เพราะเป็นไม้ที่ทนทานต่อสภาพธรรมชาติพอสมควร<br />

ที่มา : www.rukbarn.com<br />

3.การวิเคราะห์ และตีความข้อมูล<br />

1)แต่เดิมดอกมณฑา อาจจะมีชื่อเรียกเดิมว่าดอกมณฑารพ เป็นต้นไม้บนสวรรค์ และจะหล่นลงมาบนโลก<br />

มนุษย์เมื่อเกิดเหตุการณ์ส าคัญเกิดขึ้นกับพระพุทธเจ้าเท่านั้น<br />

2)ต้นมณฑาเป็นต้นไม้ที่มีสีเหลืองนวล และมีกลิ่นที่หอม จึงอาจเป็นที่มาที่ของเรื่องเล่าที่ว่า ต้นมณฑานั้นมา<br />

จากสวรรค์<br />

3)ต้นมณฑาเชื่อว่าเป็นไม้มงคล เพราะความสวยงาม และกลิ่นที่หอมของมัน<br />

4.การคัดเลือกและประเมินข้อมูล<br />

จากข้อมูลที่กล่าวมา จะสรุปได้ว่า ต้นมณโฑนั้นเป็นต้นไม้ที่มีดอกสีเหลืองนวล และมีกลิ่นหอม จึงมีความ<br />

เชื่อที่ว่าต้นไม้ต้นนี้เป็นต้นไม้จากสวรรค์ ซึ่งมีเรื่องราวของต้นไม้ต้นนี้ปรากฏอยู่ในพุทธประวัติ<br />

5.การเรียบเรียงและน าเสนอข้อมูล


มีความเชื่อที่ว่าต้นมณโฑเป็นดอกไม้ทิพย์ หรือดอกมณฑารพที่อยู่บนสวรรค์ และได้ลงมาสู่โลกมนุษย์เมื่อ<br />

เกิดเหตุการณ์ส าคัญเกิดขึ้นกับพระพุทธเจ้า โดยมีกลิ่นที่หอม และเวลาบานนั้น ดอกมีสีเหลืองนวลสวยงาม คน<br />

ไทยจึงนิยมปลูกไว้เป็นสิริมงคลแก่บ้าน และผู้อยู่อาศัย<br />

ชนิกานต์ นาถึง เลขที่ 6 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1. การก าหนดเป้าหมาย<br />

ศึกษาความเป็นมาของชื่อต้นกันเกรา<br />

ชื่อพรรณไม้ กันเกรา<br />

สถานที่ปลูก ตึก 1<br />

วันที่ถ่ายภาพ 2 สิงหาคม 2560<br />

2. การรวบรวมหลักฐาน<br />

แหล่งข้อมูลที่1<br />

ต้นกันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายน<br />

ถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ต าเสา มะซู<br />

ไม้ต้น นอกจากนี้ต้นกันเกราเป็นต้นไม้ประจ า มหาวิทยาลัยนครพนม และเป็นต้นไม้ประจ าจังหวัดนครพนม ด้วย<br />

กันเกรามีชื่อเรียกต่างกันไปคือ ภาคกลาง เรียก กันเกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา ส่วน<br />

ภาคใต้ เรียก ต าแสง หรือต าเสา ซึ่งถือเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง อันมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์


คือชื่อกันเกรา หมายถึง กันสิ่งชั่วร้ายทั้งหลายไม่ให้มาท าอันตรายใดๆ ชื่อต าเสา คือ จะเป็นมงคลแก่เสาบ้านไม่ให้<br />

ปลวก มอด แมลงต่างๆเจาะกิน ชื่อมันปลา น่าจะเป็นลักษณะของดอกที่เหมือนกับไขมันของปลาเมื่อลอยน้ าไขมัน<br />

ของปลาในถ้วยน้ าแกง โดยเฉพาะช่วงข้าวใหม่ปลามันที่ปลาจะมีความมันและเอร็ดอร่อยเป็นที่สุด นอกจากนี้ต้น<br />

กันเกราเป็นต้นไม้ประจ า มหาวิทยาลัยนครพนม และเป็นต้นไม้ประจ าจังหวัดนครพนม ด้วย<br />

อ้างอิง http://nongtomotop1.blogspot.com/<br />

แหล่งข้อมูลที่ 2<br />

ต้นกันเกรา ต้นไม้ประจ าจังหวัดนครพนม ชื่อกันเกราเป็นที่รู้จักจากกลิ่นหอมเย็นๆ ของมัน และด้วย<br />

ความที่เป็นต้นไม้หายาก และเป็น 1 ใน 9 ไม้มงคลที่น ามาใช้ประกอบพิธีเวลาสร้างบ้านเพื่อความสิริมงคล คน<br />

สมัยก่อนเชื่อกันว่าบ้านไหนมีต้นกันเกราอยู่ที่บ้าน จะช่วยปัดเป่าอันตราย คล้ายๆ กันสิ่งไม่ดีไม่ให้เข้ามาในบ้าน<br />

ประมาณนั้นล่ะค่ะ แต่ถ้าไปเห็นปลูกอยู่ที่ภาคเหนือ หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขาจะเรียกกันว่าต้นมันปลา ว่า<br />

กันว่าดอกของมันสีเหมือนไขมันปลาที่ออกเหลืองๆ ขาวๆ ส่วนภาคใต้จะเรียกว่า ต าแสงหรือต าเสา เพราะว่าไม้<br />

กันเกราเป็นไม้เนื้อแข็ง นิยมน ามาเสาบ้าน เสาสะพาน<br />

อ้างอิง http://community.akanek.com/th/green/plant-proflie/tembusu-tree<br />

แหล่งข้อมูลที่ 3<br />

กันเกรามีเนื้อไม้สีเหลืองอ่อน ละเอียด แข็ง ทนทาน ป้องกันปลวกได้ดี คนไทยรู้จักกันเกราเป็นอย่างดีทุก<br />

ภาค เพราะเป็นต้นไม้พื้นบ้านดั้งเดิมที่มีถิ่นก าเนิดในประเทศไทยนี้เอง ในหนังสืออักขราภิธานศรับท์ พ.ศ.๒๔๑๖<br />

กล่าวถึงกันเกราว่า "กันเตรา : ต้นไม้อย่างหนึ่ง แก่นท าเสาทนนัก ใช้ท ายาแก้โรคบ้าง มีอยู่ในป่า" น่าสังเกตว่าใน<br />

หนังสืออักขราภิธานศรับท์ เรียกกันเกราว่า กันเตรา แต่สุนทรภู่เรียกชื่อในนิราศพระบาทว่ากันเกรา เช่นเดียวกับใน<br />

ลิลิตตะเลงพ่าย พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ภาคเหนือและอีสานเรียก มันปลา<br />

ภาคใต้เรียก ต าเสา หรือท าเสา ส่วนภาษาอังกฤษเรียก Tembusu<br />

ในประเทศไทยถือว่ากันเกราเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง แม้ไม่ระบุให้ใช้ปลูกรอบบ้านเรือนที่อยู่อาศัย แต่ใช้เป็นไม้เสาเข็ม<br />

ในพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร ซึ่งเสาเข็มนี้มีไม้ ๙ ชนิด ไม้กันเกราเป็นไม้มงคลอันดับที่ ๓ เชื่อว่ากันเกราช่วยปกป้อง<br />

คุ้มครองและป้องกันภยันตรายต่างๆ ได้ กันเกราเป็นต้นไม้ที่ไม่ผลัดใบ รูปทรงพุ่มงดงาม กล่าวคือ เมื่อยังไม่โตเต็มที่<br />

ทรงพุ่มเป็นรูปกรวยปลายมน เมื่อโตเต็มที่แล้วทรงพุ่มค่อนข้างกลม ใบเขียวเข้มเป็นมัน ปลูกง่ายแข็งแรงทนทาน<br />

เหมาะปลูกในบริเวณบ้านหรือที่สาธารณะ ประกอบกับดอกที่มีกลิ่นหอมแรง ส่งกลิ่นไปไกล ทั้งยังหอมสดชื่นไม่ฉุน<br />

จึงน่าปลูกอย่างยิ่ง แม้กันเกราจะค่อนข้างโต้ช้า แต่หากผู้ปลูกเอาใจใส่บ้างพอสมควรก็จะได้ชื่นชม รูปทรง ร่มเงา และ<br />

กลิ่นหอม ภายในเวลาไม่เกิน ๑๐ ปี แล้วหลังจากนั้นก็จะได้รับคุณค่าดังกล่าวจากกันเกราไปอีกนานแสนนาน<br />

อ้างอิง https://www.doctor.or.th/article/detail/1654<br />

แหล่งข้อมูลที่ 4<br />

กันเกรา คือ ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Fagraea fragrans Roxb. ในวงศ์ Gentianaceae<br />

ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะทั่วไปในป่าดิบ ใบสีเขียวแก่ ค่อนข้างหนา ยาวราว ๕-๗ เซนติเมตร ดอกดก สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็น<br />

สีเหลือง หอมมาก ออกเป็นช่อคล้ายช่อดอกเข็ม ผลเท่าเมล็ดถั่วลันเตา เมื่อสุกสีแดง เนื้อไม้สีเหลืองละเอียด แน่น<br />

เป็นมัน แข็งและทนทาน นิยมใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ, ต าเสา หรือ มันปลา ก็เรียก.<br />

อ้างอิง http://www.royin.go.th/dictionary/


3. การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

1. จากแหล่งข้อมูลที่1 ถึง 4 ต่างบอกตรงกันว่ากันเกรามีชื่อเรียกต่างกันไปตามภาค คือ ภาคกลาง เรียก<br />

กันเกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา เพราะว่ากันว่าดอกของมันสีเหมือนไขมันปลาที่ออก<br />

เหลืองๆ ขาวๆ ส่วนภาคใต้ เรียก ต าแสง หรือต าเสา เพราะว่าไม้กันเกราเป็นไม้เนื้อแข็ง นิยมน ามาเสาบ้าน เสา<br />

สะพาน<br />

2. จากแหล่งข้อมูลที่ 1 บอกว่า กันเกรา หมายถึง กันสิ่งชั่วร้ายทั้งหลายไม่ให้มาท าอันตรายใดๆ และเป็นไม้<br />

มงคลชนิดหนึ่ง อันมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์ และแหล่งข้อมูลที่ 2 และ 3 ก็ต่างบอกว่า<br />

กันเกราเป็นหนึ่งในไม้มงคล 9 ชนิดซึ่งอยู่ในอันดับที่ 3 ไม้มงคนี้น ามาใช้เป็นไม้เสาเข็มในพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร เพื่อ<br />

ความศิริมงคล และยังเชื่อกันว่ากันเกราช่วยปกป้องคุ้มครองและป้องกันภยันตรายต่างๆ ได้<br />

3. จากแหล่งข้อมูลที่ 1 และ 2 ต่างบอกตรงกันว่าต้นกันเกราเป็นต้นไม้ประจ าจังหวัดนครพนม<br />

4. การสรุปข้อเท็จจริง<br />

กันเกราเป็นต้นไม้ประจ าจังหวัดนครปฐม มีชื่อเรียกต่างกันไปตามภาค เช่น ภาคกลาง เรียก กันเกรา , ภาค<br />

ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา และ ภาคใต้ เรียก ต าแสง หรือ ต าเสา และ กันเกรา หมายถึง กันสิ่งชั่ว<br />

ร้ายทั้งหลายไม่ให้มาท าอันตรายใดๆ และน ามาใช้เป็นไม้เสาเข็มในพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร เพื่อความศิริมงคล ตามความหาย<br />

ของกันเกราที่สามารถป้องกันอันตรายต่างๆ อีกทั้งกันเกราเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง เพราะมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีใน<br />

การใช้ประโยชน์<br />

5. การน าเสนอ<br />

จัดท าและรวบรวมเป็นรูปเล่มรายงาน<br />

ชมพูนุช โชติอภิสิทธิ์กุล เลขที่ 7 ม.6 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์<br />

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้: ต้นมะละกอ<br />

สถานที่ปลูก: หน้าโรงยิม ระหว่างตึก๒และตึก๓<br />

วันที่ถ่ายภาพ: วันที่ ๒๗ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๖๐


วิธีทางประวัติศาสตร์<br />

วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง วิธีการสืบค้นเรื่องราวในอดีตเพื่อใช้ในการศึกษา<br />

ค้นคว้า และเรียบเรียงเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ โดยมีห้าขั้นตอน เริ่มจากขั้นตอนแรก คือก าหนดเรื่องที่จะศึกษา เรื่องที่<br />

ดิฉันจะศึกษา คือที่มาของชื่อต้นมะละกอ<br />

ขั้นตอนที่สอง ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล โดยดิฉันได้รวบรวมข้อมูลจากเวปไซต์ต่างๆ:<br />

http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/plants/webcontent3/interactive_key/key/describ/malako.htm<br />

https://pokpokpapaya.wordpress.com/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%<br />

88%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8<br />

%94%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD/<br />

https://www.dek-d.com/board/view/1566849/<br />

http://www.sujitwongthes.com/suvarnabhumi/2014/12/suvarnabhumi-societyculture25122557/<br />

https://sites.google.com/site/khorngnganmisxymalakxkancha/prawati-malakx<br />

ขั้นที่สาม ตรวจสอบและประเมินคุณค่าหลักฐาน จากการศึกษาหลักฐานที่รวบรวมมาได้นั้น พบว่า ทุกหลักฐานมี<br />

ความคล้ายคลึงกันที่แหล่งก าเนิดของต้นมะละกอ มะละกอมีถิ่นก าเนิดอยู่ในอเมริกาตอนกลางและตอนใต้ โดยสเปนเอาพันธุ์<br />

มะละกอมาจากฝั่งทะเลแคริบเบียนของปานามา และโคลัมเบียมาเผยแพร่ในแถวเอเชียตะวันออก เมื่อถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์<br />

ชาวสยามถึงเริ่มรู้จักผลไม้ชนิดนี้ซึ่งได้พันธุ์จากเมืองมะละกา จึงเรียกผลไม้ชนิดนั้นว่า มะละกา แต่เพี้ยน เป็น มะละกอ จน<br />

มาถึงปัจจุบัน ส่วนข้อแตกต่างนั้น ขอมูลที่รวบรวมมีแตกต่างกันเล็กน้อย เช่น บางเวปไซต์บอกว่า สเปนและโปรตุเกสเป็นสอง<br />

ประเทศแรกที่น ามะละกอเข้ามาปลูกในเอเชียตะวันออก แต่บางเวปไซต์ระบุเพียงสเปนประเทศเดียว ผู้เขียนเป็นนัก<br />

พฤกษศาสตร์ข้อมูลจึงมีความน่าเชื่อถือ<br />

ขั้นตอนที่สี่ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการจัดหมวดหมู่ข้อมูล มะละกอเป็นพืชท้องถิ่นของแม็กซิโกตอนใต้และได้<br />

มีการกระจายพันธุ์จากชายฝั่งทะเลเหนือปานามาไปยังคาเรียน และต่อไปยังหมู่เกาะอื่นๆในหมู่เกาะอินเดียตะวันตก มะละกอ<br />

ได้เข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยพ่อค้าชาวสเปนในราว คริสต์ศตวรรษที่ 16 และมีการปลูกขยายพันธุ์จนแพร่หลาย<br />

เนื่องจากประเทศไทยได้พันธุ์ผลไม้ชนิดนี้มาจาก มะละกา จึงเป็นที่มาของค าว่า มะละกอ<br />

ขั้นตอนสุดท้าย การเรียบเรียงน าเสนอ มะละกอเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของทวีปอเมริกา มีถิ่นก าเนิดอยู่ในแม็กซิ<br />

โกตอนใต้ ชาวสเปนน ามะละกอไปปลูกในเมืองมะนิลาประเทศฟิลิปปินส์ประมาณตอนกลางพุทธศตวรรษที่ 21 หลังจากนั้นไม่<br />

นาน ชาวฮอลันดาน าผลมะละกอจากประเทศฟิลิปปินส์ ไปยังหมู่เกาะมะละกา ชาวสเปนเป็นผู้น าพันธุ์มะละกอเข้ามาปลูกใน<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในราวศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นพันธุ์จากเมืองมะละกา คนไทยจึงเรียกพืชชนิดนั้นว่า มะละกา<br />

แต่ในภายหลังก็ได้เพี้ยน เป็นค าว่า มะละกอ ที่เรารู้จักจนมาถึงปัจจุบันนี้<br />

น.ส. ณญาดา ธรรมรังรอง เลขที่ 8 ห้อง 74


ต้นประดู ่<br />

1. การก าหนดเป้าหมาย<br />

การศึกษาประวัติของต้นประดู ่และที่มาของชื่อต้นประดู ่<br />

2. การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐานต่างๆ<br />

-การค้นคว้าจาก<br />

เว็บไซต์https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%<br />

94%E0%B8%B9%E0%B9%88 พบว่า<br />

ประดู ่เป็นพรรณไม้พื ้นเมืองในอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ, พม่า, ลาว และเวียดนาม และเป็น<br />

พรรณไม้พื ้นบ้านดั ้งเดิมของไทย ในไทยพบตามป่ าเบญจพรรณและป่ าเต็งรังในทุกภาค ยกเว้น<br />

ภาคใต้ (ประดู ่บ้านจะพบในป่ าเบญจพรรณทางภาคใต้ด้วย) โดยขึ ้นในที่สูงจากระดับน ้าทะเล<br />

100-600 เมตร ส่วนในพม่าพบขึ ้นอยู ่ตามพื ้นที่ราบหรือเนินสูงต ่า และพบขึ ้นในที่สูงจาก<br />

ระดับน ้าทะเลประมาณ 750 เมตร<br />

-การค้นคว้าจากเว็บไซต์http://kalokwan70.blogspot.com/ พบว่า


ประดู ่เป็นพรรณไม้ของอินเดีย ชอบแสงแดดจัดดังนั ้นจึงเห็นปลูกกันตามริมถนนใน กทม. ทั่วไปคน<br />

ไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นประดู ่ไว้ประจ าบ้านจะท าให้เกิดพลังแห่งความยิ่งใหญ่เพราะ<br />

ประดู ่ คือ ความพร้อม ความร่วมือ ร่วมใจสามัคคี มีพลังเป็ฯอันหนึ่งอันเดียวกัน นอกจากนี ้ดอก<br />

ของประดู ่ยังมีลักษณะที่ระดมกันบานเต็มต้นดูลานตา ดังนั ้นคนโบราณจึงได้เลือกเอาต้นประดู ่<br />

เป็นไม้ประจ ากอง กองทัพเรือ และคนไทยโบราณยังเชื่ออีกว่า ส่วนของแก่นไม้ยังใช้เป็นศิลปะการ<br />

ดนตรี ที่ส าคัญของคนพื ้นเมืองในสมัยโบราณอีกด้วย คือใช้ท าเป็นเครื่องเสียงพวกระนาด นั่นก็<br />

หมายถึง ความแข็งแกร่ง แข็งแรง<br />

-การค้นคว้าจากเว็บไซต์https://www.doctor.or.th/article/detail/1675พบว่า<br />

ประดู ่ที่พบเห็นทั่วไป คือ ต้นที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pterocarpus indicus Willd. วงศ์<br />

Papilionoideae เช่นเดียวกัน ประดู ่ชนิดนี ้มีแหล่งก าเนิดในประเทศอินเดีย แต่น ามาปลูกใน<br />

ประเทศไทยนานมาแล้ว ลักษณะทั่วไปคล้ายประดู ่ มีความสูงราว ๒๐-๒๕ เมตร แตกกิ่งก้านเป็น<br />

ทรงพุ ่มกว้างกว่า และปลายกิ่งห้อยลง เปลือกสีเทาเป็นร่องไม่มีน ้ายางสีแดง ใบขนาดเล็กกว่านิด<br />

หน่อย ดอกช่อเล็กกว่า ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ออกดอกดกกว่าชนิดแรก สีเหลืองและกลิ่น<br />

หอมแรงเช่นเดียวกัน บานและร่วงพร้อมกันทั ้งต้นเหมือนกัน ประดู ่ชนิดนี ้คนไทยนิยมน ามาปลูก<br />

ชื่อเรียกประดูชนิดนี ้คือ ประดู ่บ้าน ประดู ่กิ่งอ่อน (ภาคกลาง) ดู ่บ้าน (ภาคเหนือ) ภาษาอังกฤษ<br />

เรียก Angsana Norra และ Malay Padauk<br />

3. การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

การวิเคราะห์หลักฐานพบว่าหลักฐานจากเว็บไซต์สุดท้ายน่าจะมีความน่าเชื่อถือมากที่สุดเพราะผู ้เขียน<br />

เป็นอาจารย์ผู ้มีความรู ้ และวิเคราะห์ส่วนของหลักฐานที่เขียนตรงกันในแต่ละเว็บไซต์<br />

4. การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

-ประดู ่เป็นพรรณไม้พื ้นเมืองในอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ, และเป็นพรรณไม้พื ้นบ้านดั ้งเดิมของ<br />

ไทย<br />

-คนไทยนิยมปลูกประดู ่เพื่อเป็นไม้มงคล<br />

-ประดู ่มีชื่อพื ้นเมืองหลายชื่อ เช่น ประดู ่กิ่งอ่อน ดู ่บ้าน


5. การสรุปและการน าเสนอ<br />

ต้นประดู ่มีถิ่นก าเนิดในประเทศอินเดียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และได้เข้ามาสู ่ไทยเมื่อนาน<br />

มาแล้ว คนไทยมักปลูกประดู ่ไว้ตามท้องถนน หรือในบ้าน เพราะมีคามเชื่อว่าประดู ่เป็นไม้มงคล<br />

และจะน าเองโชคลาภมาให้ นอกจากนี ้ดอกของประดู ่ยังมีลักษณะที่บานเต็มต้นดูสวยงาม แสดง<br />

ถึงความร่วมมือร่วมใจ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ดังนั ้นคนโบราณจึงได้เลือกเอาต้นประดู ่เป็น<br />

ไม้ประจ ากอง กองทัพเรือ และประดู ่ยังมีความหมายถึงหมายถึง ความแข็งแกร่ง แข็งแรงอีกด้วย<br />

นางสาวณัชชา เล้าชัยวัฒน์ ม.6 ห้อง 74 เลขที่9


ประวัติความเป็นมาของชื่อต้นไม้<br />

ชื่อ-นามสกุล: นางสาว นันท์นภัส เขมะนุเชษฐ์<br />

ชั้น: ม.6 ห้องเรียน: 74 เลขที่: 10<br />

ชื่อพรรณไม้: ต้นบุนนาค<br />

สถานที่ตั้ง: บริเวณตึก 60 ปี ใกล้เรือนเกษตร<br />

วันที่ถ่ายภาพ: 23 มิถุนายน 2560<br />

น าเสนอ: อาจารย์สยมภู รณชิตพานิชยกิจ


ขั้นตอนที่ 1: ก าหนดปัญหา<br />

ต้องการทราบว่า ชื่อของต้นบุนนาคมีที่มาเป็นอย่างไร<br />

ขั้นตอนที่ 2: รวบรวมหลักฐาน<br />

หลักฐานที่ 1<br />

ต้นไม้สัญลักษณ์ : บ้านคนไทยโบราณที่มีบริเวณกว้างขวาง นิยมปลูกต้นบุนนาค ไว้ประจ า<br />

บ้าน ไม่เพียงเพราะดอกสวยและหอมเท่านั้น แต่ยังมีความเชื่อว่านาค ในที่นี้หมายถึง พญานาค ซึ่ง<br />

ถือเป็นสัตว์มงคลชนิดหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในพุทธประวัติ เมื่อครั้งพระพุทธเจ้านั่ง บ าเพ็ญเพียรอยู่ใน<br />

ป่า พญานาคได้แ ปลงกายมาเป็นมนุษย์เพื่อขอให้พระพุทธเจ้าแสดง ธรรมเทศนา จนเกิดความปีติ<br />

และซาบซึ้งในรสพระธรรม เมื่อฝนตกลงมาพญานาคได้แสดง ความกตัญญูโดยแผ่พังพานเสมือน<br />

เป็นร่มก าบังฝนแด่พระพุทธเจ้า จึงมีพระพุทธรูปปางนาคปรก ซึ่งกลายมาเป็นพระประจ าวันของ<br />

คนที่เกิดวันเสาร์ พญานาคถือเป็นสัตว์ประเสริฐและมีบุญ ทั้งยังมีความศักดิ์สิทธิ์และมีพลังอ านาจ<br />

ช่วยปกป้อง คุ้มครองพิษภัยต่างๆได้ ใบของต้นบุนนาคก็สามารถน าไปปรุงเป็นยารักษาพิษต่างๆ<br />

เช่น พิษงู คนโบราณจึงเชื่อกันว่า บ้านใดปลูกต้นบุนนาคไว้ทางทิศตะวันตกจ าท าให้คนในบ้าน<br />

เป็นผู้ประเสริฐและมีบุญ และยังช่วยป้องกันพิษภัยจากสัตว์เลื้อยคลานได้อีกด้วย ค าว่า “บุนนาค”<br />

เป็นนามสกุลพระราชทานในรัชกาลที่ 6 และมีผู้ใช้นามสกุลนี้สืบทอดกันมายาวนานสู่รุ่นลูกหลาน<br />

จนถึงปัจจุบัน<br />

http://treeofthai.com/tag/ต้นบุนนาค/<br />

หลักฐานที่ 2<br />

ต้นบุนนาค กับความเชื่อคนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นไม้ชนิดนี้ ไว้เป็นไม้ประจ า<br />

บ้าน จะช่วยท าให้เป็นผู้มีความประเสริฐและมีบุญ (พ้องกับความหมายของชื่อ) และค าว่านาคยัง<br />

หมายถึง พญานาคที่มีแสนยานุภาพ ที่จะช่วยปกป้องคุ้มครองภัย นอกจากนี้ยังเชื่อว่าจะช่วย<br />

ป้องกัน ภัยอันตรายต่าง ๆ จากภายนอกได้ด้วย เนื่องจากใบของบุนนาคสามารถช่วยรักษาพิษต่าง<br />

ๆ ได้ โดยจะนิยมปลูกต้นบุนนาค ไว้ทางทิศตะวันตกของบ้าน และปลูกกันในวันเสาร์เพื่อเอาคุณ<br />

https://medthai.com/บุนนาค/


หลักฐานที่ 3<br />

บุนนาค มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า “สารภีป่า” ชื่อภาษา ไทใหญ่ว่า “ก้ ําก่อ” ชื่อภาษาอังกฤษ คือ<br />

Iron wood, Indian rose chestnut มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mesua ferrea Lnn. ในวงศ์<br />

GUTTIFERAE<br />

คนไทยมีความเชื่อกันมาแต่โบราณว่าชื่อ “บุนนาค” แสดง ความเป็นมงคล บ่งบอกถึง<br />

ความสุข ความประเสริฐ มีแต่สิ่ง ที่ดีงาม โชคลาภ และโภคทรัพย์หลั่งไหลเข้ามาหาอย่าง ไม่ขาด<br />

สาย และยังมีอ านาจในการป้องภัยจากสัตว์รัายและศัตรู ขับไล่สิ่งอุบาทว์และความอัปมงคล ออก<br />

จากชีวิตของเจ้าของ<br />

ชาวล้านนานิยมปลูกต้นบุนนาคไว้ในบริเวณบ้านโดยเฉพาะทิศตะวันตก และมักปลูกใน วัน<br />

เสาร์เพื่อความเป็นสิริมงคลตามความเชื่อ ในคติทางพระพุทธศาสนาได้ให้ความส าคัญ กับดอก<br />

บุนนาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถวาย ดอกบุนนาคเป็นพุทธบูชาจะได้อานิสงส์มหาศาล<br />

พระไตรปิฎก ฉบับธรรมทาน หัวข้อ “ปุนนาคปุปผิยเถราปทาน” ได้กล่าวถึงผลแห่งการ<br />

ถวาย ดอกบุนนาคของพระปุนนาคปุปผิยเถระว่า “เราเป็นพรานเข้าไปยังป่าใหญ่ เราได้พบต้น<br />

บุนนาค มีดอกบาน จึงระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ได้เลือกเก็บดอกบุนนาคนั้น เอาแต่ที่มี<br />

กลิ่น หอมสวยงาม แล้วก่อสถูปบนเนินทราย บูชาแดพระพุทธเจ้าในกัปป์ที่ ๙๒ แต่กัปป์นี้เราได้<br />

บูชา พระพุทธเจ้าด้วยดอกไม้ใด ด้วยการบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชาใน<br />

กัปป์ ที่ ๙๑ แต่กัปป์นี้ได้มีพระเจ้าจักรพรรดิ์พระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า “ตโมนทะ” ทรง<br />

สมบูรณ์ ด้วยแก้ว ๗ ประการ มีพละมาก คุณวิเศษเหล่านี้คือปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์๘ และอภิญญา<br />

๖ เราท าให้แจ้งชัดแล้ว พระพุทธศาสนาเราได้ท าเสร็จแล้วดังนี้<br />

ในพระไตรปิฎก ฉบับเดียวกัน หัวข้อ “คิริปุนนาคิย เถระปทาน” กล่าวถึงผลแห่งการถวาย<br />

ดอกบุนนาคของ พระคิริปุนาคิยเถระว่า “ครั้งนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าโสภิตะ<br />

ประทับอยู่ที่ภูเขาจิตตกูฏ เราได้ ถือเอาดอกบุนนาค เข้ามาบูชาในพระสยัมภู ในกัปป์ที่ ๙๔ แต่<br />

กัปป์นี้เราได้บูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผล แห่งพุทธบูชา<br />

เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว พระพุทธศาสนาเราได้ท าเสร็จแล้ว ดังนี้<br />

อนึ่งชาวล้านนาถือว่าต้นบุนนาค เป็นต้นไม้โพธิฤกษ์ คือเป็นต้นไม้ที่เป็นที่ตรัสร้ของ<br />

พระพุทธเจ้า ที่มีพระนามว่า “สุมังคลพุทธเจ้า” จึงนิยมปลูกต้นบุนนาคไว้ในวัดวาอารามโดยทั่วไป<br />

นอกจากนี้ ยังพบว่ามีการน าเอายอดอ่อนของบุนนาคไปเป็นเครื่องสักการะคู่กับยอดอ่อนของต้น<br />

หว้า ถวายเป็น พุทธบูชาอีกด้วย


จากเรื่องราวที่เชื่อมโยงกันดังกล่าว ถือได้ว่าต้นบุนนาคเป็นต้นไม้ที่มีประวัติความเป็นมา<br />

และมีความหมายต่อพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาที่ตั้งมั่นอยู่ในดินแดนล้านนาแห่ง<br />

นี้<br />

http://www.archives.mju.ac.th/files/northclipping/North%20Clipping-2555-<br />

00092.pdf<br />

หลักฐานที่ 4<br />

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑<br />

ปุนนาคปุปผิยเถราปทานที่ ๓ (๓๓๓)<br />

ว่าด้วยผลแห่งการถวายดอกบุนนาค<br />

[๓๓๕] เราเป็นพรานเข้าไป (หยั่งลง) ยังป่าใหญ่ เราได้พบต้นบุนนาคมีดอกบาน จึงระลึกถึง<br />

พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ได้เลือกเก็บดอกบุนนาคนั้น เอาแต่ที่มีกลิ่นหอมสวยงามแล้ว ก่อสถูป<br />

บนเนินทราย บูชาแด่พระพุทธเจ้าในกัลปที่ ๙๒ แต่กัลปนี้เราได้บูชาพระพุทธเจ้าด้วยดอกไม้ใด<br />

ด้วยการบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัลปที่ ๙๑ แต่กัลปนี้ ได้มีพระเจ้า<br />

จักรพรรดิพระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า ตโมนุทะ ทรงสมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ มีพลมาก คุณ<br />

วิเศษเหล่านี้ คือปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ เราท าให้แจ้งชัดแล้ว พระพุทธศาสนา<br />

เราได้ท าเสร็จแล้ว ดังนี้.<br />

ทราบว่า ท่านพระปุนนาคปุปผิยเถระได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้แล.<br />

จบ ปุนนาคปุปผิยเถราปทาน.<br />

http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=32&A=6889&Z=6901


หลักฐานที่ 5<br />

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕<br />

ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก<br />

คิริปุนนาคิยเถราปทานที่ ๗<br />

ว่าด้วยผลแห่งการถวายดอกบุนนาคบูชา<br />

[๖๗] ครั้งนั้น พระสัมพุทธเจ้าพระนามว่าโสภิตะ ประทับอยู่ที่ภูเขาจิตตกูฏ<br />

เราได้ถือเอาดอกบุนนาคเข้ามาบูชาพระสยัมภู ในกัปที่ ๙๔ แต่กัปนี้<br />

เราได้บูชาพระสัมพุทธเจ้า ด้วยการบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย<br />

นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ... เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ... พระพุทธศาสนา<br />

เราได้ท าเสร็จแล้ว ดังนี้.<br />

ทราบว่า ท่านพระคิริปุนนาคิยเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้แล.<br />

จบ คิริปุนนาคิยเถราปทาน.<br />

http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=33&A=1413&Z=1421


ขั้นตอนที่ 3: วิเคราะห์หลักฐาน<br />

จากหลักฐานที่ 1 และหลักฐานที่ 2 พบว่าคนไทยได้มีความเชื่อว่าต้นบุนนาคจะน าความ<br />

มงคล สิ่งที่ดีงามให้แก่ชีวิตโดยคาดว่าชื่อมาจากค าว่า “บุญ” และค าว่า “นาค” ในส่วนของ<br />

“นาค” ก็มีการอ้างอิงของความกตัญญูของนาคในสมัยพุทธกาลซึ่งสื่อว่าต้นบุนนาคอาจมีความ<br />

เกี่ยวข้องกับ<br />

สมัยพุทธกาล<br />

จากหลักฐานที่ 3 ก็พบว่าชาวล้านนาก็มีความเชื่อเรื่องต้นบุนนาคเหมือนในปัจจุบันและ<br />

เชื่ออีกว่าการถวายต้นบุนนาคจะได้อานิสงส์ มหาศาลและอ้างอิงจากพระไตรปิฎกเกี่ยวกับการ<br />

ถวายต้นบุนนาคหรือดอกบุนนาคสองครั้ง จากหลักฐานที่ 4 และ 5<br />

ก็ยืนยันชัดเจนว่าต้นบุนนาคมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล<br />

จากหลักฐานที่รวบรวมมาทั้งหมดจึงวิเคราะห์ได้ว่า จากหลักฐานที่ 3 และจากหลักฐานที่<br />

4 กับ 5 ซึ่งเป็นบทความที่น าจากพระไตรปิฎกซึ่งเป็นลายลักษณ์อักษร กล่าวว่ามีการน าต้น<br />

บุนนาคบูชาพระพุทธเจ้าสองครั้ง<br />

ขั้นตอนที่ 4: สรุปข้อมูล<br />

จากการวิเคราะห์หลักฐาน หลักฐานที่ 3,4 และ 5 เป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือที่สุดเพราะ<br />

เป็นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ปรากฎในพระไตรปิฎกว่า<br />

มีการน าต้นบุนนาคเป็นพุทธบูชาจึงสรุปได้ว่า “ต้นบุนนาค” เป็นชื่อที่ปรากฎมาตั้งแต่สมัย<br />

พุทธกาลและ<br />

เรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน โดยไม่มีความเชื่อด้านความสิริมงคลของ ต้นบุนนาคมาเกี่ยวข้อง<br />

แล้วค่อยเกิดความเชื่อต่างๆเกี่ยวกับต้นบุนนาคในภายหลัง<br />

ส่วนหลักฐานที่ 1 และ 2 จะกล่าวถึงเกี่ยวกับความเชื่อเพื่อความเป็นสิริมงคลที่คนมีต่อ<br />

ต้นบุนนาคเท่านั้น


ขั้นตอนที่ 5: น าเสนอข้อมูล<br />

จะน าเสนอโดยเผยแพร่ไปในเพจเฟซบุ๊คของอาจารย์สยมภู รณชิตพานิชยกิจ<br />

โดยมีลิงค์คือ https://www.facebook.com/ajyomyom/?ref=br_tf<br />

นางสาว นันท์นภัส เขมะนุเชษฐ์ ห้องเรียน: 74 เลขที่: 10


ชื่อพรรณไม้ : ต้นฝรั่ง<br />

สถานที่ปลูก : หลังตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 2 สิงหาคม พ.ศ.2560<br />

ศึกษาด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ 5 ขั ้นตอน ดังนี ้<br />

1. ก าหนดหัวข้อที่จะศึกษา<br />

ศึกษาเรื่องที่มาของชื่อต้นฝรั่ง<br />

2. รวบรวมข้อมูล<br />

ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ค าจ ากัดความของค าว่า ‘ฝรั่ง’ เอาไว้หลาย<br />

อย่างด้วยกัน เช่น ชื่อต้นไม้ขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Psidium guajava L. ในวงศ์ Myrtaceae ผลกินได้<br />

มีหลายพันธุ ์ หรือจะเป็นชื่อเพลงไทยจ าพวกหนึ่ง มีชื่อขึ ้นต้นด้วยค าว่า ฝรั่ง เช่น ฝรั่งควง ฝรั่งกลาย ฝรั่งจร<br />

กา<br />

และสุดท้ายซึ่งเป็นนิยามของ ‘ฝรั่ง’ ที่เกี่ยวเนื่องกับค าถามคือ ชนชาติผิวขาว; ค าประกอบชื่อสิ่งของ<br />

บางอย่างที่มาจากต่างประเทศ เช่น ขนมฝรั่ง ละมุดฝรั่ง มันฝรั่ง เป็นต้น<br />

นอกจากนั ้น ในเว็บไซต์สารานุกรมชื่อดังแห่งหนึ่งยังได้กล่าวถึงค าว่า ‘ฝรั่ง’ ในภาษาไทยเอาไว้ว่า “ฝรั่ง<br />

เป็นค าไทยทั่วไปที่ใช้เรียกชาวต่างชาติผิวขาว และในบางครั ้งเราจะเรียกชาวต่างชาติที่มีผิวด าว่า ‘ฝรั่งด า’<br />

และแม้ว่าฝรั่งจะมีความหมายเป็นกลาง แต่บางครั ้งก็อาจจะใช้ในความหมายเชิงดูถูกได้ขึ ้นอยู ่กับบริบท<br />

เช่น ฝรั่งตาน ้าข้าว


กระนั ้น เนื่องว่าฝรั่งเป็นค าที่ใช้เรียกผลไม้ ดังนั ้นการที่ชาวต่างชาติทานฝรั่งในประเทศไทยจึงอาจจะ<br />

เป็นเรื่องตลกส าหรับคนไทยได้ ‘ฝรั่งกินฝรั่ง’ ส่วนชาวต่างชาติที่มีท่าทีขี ้งกและไม่เรียบร้อยนั ้นจะถูกเรียกว่า<br />

‘ฝรั่งขี ้นก’ ได้ อย่างไรก็ตาม ในภาษาภาคอีสานของไทย ค าว่า ‘บักสีดา’ ซึ่งหมายถึงฝรั่งนั ้น ยังสามารถ<br />

หมายถึงชาวต่างชาติได้ด้วยเช่นกัน”<br />

ทั ้งนี ้ส าหรับที่มาของการเรียกชาวต่างชาติว่า ‘ฝรั่ง’ นั ้นยังคงไม่เป็นที่แน่ชัด แต่ก็มีผู ้พยายามอธิบาย<br />

ถึงที่มาเอาไว้หลายประเด็นด้วยกัน โดยค าอธิบายแรกนั ้นอธิบายไว้ว่า ‘ฝรั่ง’ มาจากค าว่า ฝรั่งเศส ซึ่งเป็น<br />

ค าที่คนไทยใช้เรียกชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นหนึ่งในชนชาติยุโรปแรกๆ ที่เข้ามาสร้างความสัมพันธ์กับประเทศ<br />

ไทยในศตวรรษที่ 17 ด้วยเหตุนี ้ในสมัยนั ้นคนผิวขาวและคนฝรั่งเศสจึงมีความหมายเหมือนกัน<br />

อีกค าอธิบายหนึ่งก็คือ ในสมัยอยุธยานั ้นได้มีการยกที่ดินให้กับพ่อค้าชาวโปรตุเกสเพื่อท ากิจการ<br />

ค้าขาย โดยใช้ชื่อว่า “บ้านฝรั่ง” เนื่องจากมีการปลูกต้นฝรั่งเอาไว้เป็นจ านวนมาก และอีกค าอธิบายหนึ่งนั ้น<br />

กล่าวว่า ‘ฝรั่ง’ มาจากการที่พ่อค้าอาหรับเดินทางมายังเอเชียตะวันออก และเผยแพร่ภาษาอาหรับออกไป<br />

เช่น ค าว่า ‘ชาวตะวันตก’ นั ้นได้แก่ค าว่า ‘ฟะรอน์จิ’ ซึ่งเดิมที่จะใช้เรียกชาวโปรตุเกส ก่อนที่ต่อมาจะใช้เรียก<br />

คนผิวขาวทั ้งหมด<br />

แหล่งที่มา : http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9480000110689<br />

คนไทยเรียกคนผิวขาวว่า "ฝรั่ง" มานาน ดังจะมีส านวนว่า "ฝรั่งมังค่า" หรือ "ฝรั่งตาน ้าข้าว" ค านี ้<br />

เคยมีเพื่อนฝรั่งสันนิษฐานว่า ชะรอยคนไทยจะรู ้จักคนฝรั่งเศสเป็นชาติแรก โดยเพี ้ยนค าว่า "ฟรองซ์" เป็น<br />

"ฝรั่ง" แต่มันก็ขัดกับข้อมูลที่เรารู ้กันมา ว่าฝรั่งชาติแรกที่เข้ามาติดต่อกับสยามคือโปรตุเกส ส่วนฝรั่งเศสเพิ่ง<br />

จะเข้ามาในยุคท้ายๆ ของอยุธยา คือในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คนไทยรู ้จักคนผิวขาวมานาน<br />

กว่านั ้น แต่จะว่าไป อิทธิพลฝรั่งเศสในสมัยพระนารายณ์ ก็ชวนให้คล้อยตาม ว่าถึงแม้จะไม่ใช่ชาติแรก แต่ก็<br />

อาจมีอิทธิพลมากพอก็เป็นได้ ก็เลยเก็บความสงสัยอยู ่เรื่อยมา<br />

ในหนังสือ อภิธานศัพท์ค าไทยที่มีที่มาจากภาษาต่างประเทศของกรมศิลปากรบอกว่า ค าว่า<br />

"ฝรั่ง" มีรากศัพท์มาจากภาษาอาหรับว่า "ฟารานจิ" (Faranji) และแผลงเป็นค าว่า "ฟิ ริงกิ" (Firingi) ในภาษา<br />

เปอร์เซีย<br />

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ ได้ทรงให้ข้อสันนิษฐานไว้ว่า "ชาวยุโรป<br />

แรกเข้ามาอยู ่ในประเทศสยาม มีแต่โปรตุเกสชาติเดียวตลอดเวลาเกือบร้อยปี แต่ไทยเรียกว่า 'ฝรั่ง' ตาม<br />

อย่างพวกชาวอินเดีย ซึ่งเรียกชาวยุโรปไม่ว่าชาติใดๆ ว่า 'ฟรังคีส' ไทยจึงเรียกว่า 'ฝรั่ง' ทั ้งยุโรปและอเมริกา<br />

มาจนทุกวันนี"<br />

้<br />

หนังสือบรรยายต่อไปว่า ฝรั่งโปรตุเกสเข้ามาในสยามตั ้งแต่ พ.ศ. ๒๐๕๔ ในแผ่นดินสมเด็จพระ<br />

รามาธิบดีที่ ๒ หลังจากที่อัลฟอนโซ ดัลบูเคอร์ก ตีเมืองมะละกา ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ ้นของไทยมาก่อนได้ จึง


ส่งทูตเข้ามาแจ้งและขอท าสัมพันธไมตรีด้วย จนท าสัญญาต่อกันในปี พ.ศ. ๒๐๕๙ และหลังจากนั ้น ชาว<br />

โปรตุเกสก็เข้ามาพ านักอาศัยในสยามเพิ่มขึ ้น ในศึกสงคราม เช่น ในสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช ก็มี<br />

"ฝรั่งวิลาศโปรตุเกส" อยู ่ในกองทัพ และท าความดีความชอบหลายครั ้ง<br />

ฝรั่งชาติที่สองที่เข้ามาในสยาม ก็คือสเปน ใน พ.ศ. ๒๑๔๑ สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช<br />

หลังโปรตุเกสถึง ๘๒ ปี ซึ่งในตอนนั ้นสเปนได้ผนวกโปรตุเกสเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร จึงพยายาม<br />

ติดต่อประเทศที่โปรตุเกสเคยติดต่อด้วย<br />

ถัดมาเป็นชาวฮอลันดา ซึ่งได้เข้ามาถวายปืนใหญ่แด่สมเด็จพระนเรศวรในปี ๒๑๔๗ และบริษัท<br />

อินเดียตะวันออกของฮอลันดาได้เข้ามาตั ้งสถานีในสยามในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ<br />

ถัดมาคืออังกฤษ ซึ่งเข้ามาใน พ.ศ. ๒๑๕๕ สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม เพื่อติดต่อการค้า แต่ก็<br />

ยังสู ้อิทธิพลของฮอลันดาไม่ได้<br />

ถัดมาจึงเป็นฝรั่งเศส เป็นชาติสุดท้ายที่เข้ามาในสมัยอยุธยา เข้ามาในปี ๒๒๐๕ สมัยสมเด็จ<br />

พระนารายณ์มหาราช โดยฝรั่งเศสนั ้น มีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิก ซึ่งปรากฏ<br />

ว่า สยามและฝรั่งเศสมีการแลกเปลี่ยนทูตกันหลายครั ้ง ชาวฝรั่งเศสเองก็มีอิทธิพลในราชส านักมากกว่า<br />

ชาติอื่นๆ จนในรัชกาลต่อมา สมเด็จพระเพทราชาต้องทรงพยายามลดทอนอ านาจฝรั่งเศส ด้วยการขับไล่<br />

บาทหลวงฝรั่งเศสออกนอกประเทศ ส่วนฝรั่งชาติอื่นๆ เข้ามาสยามในสมัยรัตนโกสินทร์<br />

ฝรั่งโปรตุเกสที่เข้ามาช้านานนั ้น ได้ทิ ้งร่องรอยทางวัฒนธรรมไว้หลายอย่าง เช่น ขนมฝอยทอง<br />

หรือแม้แต่ผลไม้ที่เรียกว่า "ฝรั่ง" ที่มีถิ่นก าเนิดที่หมู ่เกาะอินเดียตะวันตกจนถึงเปรูนั ้น ก็มีผู ้สันนิษฐานว่าจะ<br />

เป็นชาวโปรตุเกสน าเข้ามาปลูก แล้วคนไทยก็เรียกชื่อผลไม้ของ "ฝรั่ง" ว่า "ฝรั่ง" ไปด้วย<br />

แหล่งที่มา : http://lang4fun.blogspot.com/2004/12/blog-post_19.html?m=1<br />

ฝรั่งมีถิ่นก าเนิดในแถบร้อนของทวีปอเมริกา พบมากในประเทศ บราซิล เม็กซิโก เปรู ต่อมาได้ขยาย<br />

เข้ามาสู ่ประเทศอินเดียและประเทศไทย ฝรั่งนั ้นสามารถปลูกได้ดีในเขตร้อนหรือประเทศที่มีอากาศ<br />

ค่อนข้างอบอุ ่นแต่จะไม่ทนทานต่ออากาศที่เย็นจัด ส าหรับประเทศไทยมีการเพาะปลูกกันมาเกือบ 40 ปี<br />

ตั ้งแต่ประเทศไทยเริ่มมีสัมพันธไมตรีกับประเทศอเมริกาและพวกคณะมิชชันนารีได้น าพันธุ ์ฝรั่งเข้ามา<br />

เผยแพร่ท าให้คนไทยเรียกผลไม้ชนิดนี ้ว่า “ ฝรั่ง “และยังได้มีการน าพันธุ ์เข้ามาจากประเทศจีน อินเดีย<br />

รวมทั ้งเวียดนาม มาเพาะปลูกกันแพร่หลายจนกลายเป็นผลไม้พื ้นบ้านของประเทศไทย ส่วนฝรั่งใน<br />

สมัยก่อนๆอาจจะมีขนาดที่ไม่ใหญ่โตเหมือนฝรั่งในสมัยนี ้ที่มีทั ้งขนาดผลเล็กๆเช่น ฝรั่งขี ้นก ฝรั่งจีน เป็นต้น<br />

แหล่งที่มา : https://guavass55.wordpress.com/การเกษตร-2/ประวัติฝรั่ง-2/


3. ประเมินคุณค่าของข้อมูล<br />

- ประเทศฝรั่งเศสได้เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศไทยในศตวรรษที17 จริง โดยตรงกับสมัยพระเจ้า<br />

หลุยส์ที่14 และ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช<br />

- ส าหรับค าว่า‘ฟะรอน์จิ’ มีรากศัพท์มาจากถาษาอาหรับ ซึ่งเดิมที่จะใช้เรียกชาวโปรตุเกส ก่อนที่ต่อมาจะใช้<br />

เรียกคนผิวขาวทั ้งหมด เป็นไปได้เพราะ ชาวโปรตุเกสเป็นชนชาติแรกที่เข้ามาท าการค้าขายกับไทย<br />

- ไทยเรียกว่า 'ฝรั่ง' ตามอย่างพวกชาวอินเดีย ซึ่งเรียกชาวยุโรปไม่ว่าชาติใดๆ ว่า 'ฟรังคีส' เป็นไปได้เพราะ<br />

อินเดียเป็นชาติที่เค้ามาค้าขายกับไทย และ มีอิทธิพลด้านต่างๆมาก<br />

4. วิเคราะห์และตีความข้อมูล<br />

ประเทศฝรั่งเศสมีชื่อเรียกว่า"ฟรานซ์" บางคนก็เรียกว่า"ฟรองซ์"จนอาจเพี ้ยนเป็น "ฝรั่ง" แต่มันก็ขัด<br />

กับข้อมูลที่เรารู ้กันมาว่าฝรั่งชาติแรกที่เข้ามาติดต่อกับสยามคือโปรตุเกส ส่วนฝรั่งเศสเพิ่งจะเข้ามาในยุค<br />

ท้ายๆของอยุธยา คือในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อาจถือเป็นชื่อเรียกล่าสุด หรือฝรั่งเศสมี<br />

ความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทยมากที่สุดจึงเรียกแบบนั ้นมาจนถึงปัจจุบัน<br />

ชาวยุโรปแรกเข้ามาอยู ่ในประเทศสยาม มีแต่โปรตุเกสชาติเดียวตลอดเวลาเกือบร้อยปี จึงสมควรที่<br />

เราจะมีชื่อเรียกชาวโปรตุเกส โดยเราเรียกว่า 'ฝรั่ง' ตามอย่างพวกชาวอินเดีย ซึ่งเรียกชาวยุโรปไม่ว่าชาติ<br />

ใดๆว่า 'ฟรังคีส' ไทยจึงเรียกว่า 'ฝรั่ง' ทั ้งยุโรปและอเมริกามาจนทุกวันนี ้สนับสนุนได้จากประวัติของต้นฝรั่ง<br />

ที่มีถิ่นเกิดอยู ่ในประเทศแถบร้อนจนได้ขยายเข้ามาสู ่ประเทศอินเดียและต่อมาก็ได้เข้ามาในไทย และมีการ<br />

สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสได้น าผลไม้ชนิดนีเข้ามาปลูกในไทยอีกด้วย ้<br />

จึงคิดว่าที่มาของค านี ้น่าเชื่อถือและ<br />

เป็นไปได้มากที่สุด<br />

จากข้อมูลบอกว่าค าว่า'ฝรั่ง'มาจากค าว่า‘ฟะรอน์จิ’ นั ้นดูไม่มีข้อความสนับสนุนมากพอ จึงยังไม่<br />

น่าเชื่อถือเท่ากับอีก2ค าที่กล่าวไป<br />

5. เรียบเรียงและน าเสนอข้อมูล<br />

ค าว่า"ฝรั่ง"นั ้นมาจากการที่คนไทยเรียกชาวโปรตุเกสว่า"ฟรังคีส"ตามชาวอิเดีย จนสุดท้ายกลายมาเป็นค า<br />

ว่า"ฝรั่ง"ในปัจจุบัน โดยเรียกชื่อผลไม้ที่ชาวโปรตุเกสเข้ามาปลูกว่า"ฝรั่ง"อีกด้วย<br />

นส.นันทนัช นภาโชติศิริ ม.6/74 เลขที่ 11


1.ก ำหนดเป้ำหมำยหรือประเด็นค ำถำมที ่ต้องกำรศึกษำ<br />

- ศึกษาประวัติและที่มาของต้นอินทนิลน ้า<br />

2.กำรค้นหำและรวบรวมหลักฐำน<br />

ที่มา : www.e-managev1.mju.ac.th<br />

ชื่อสกุล Lagerstroemia<br />

คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) เป็นผู ้ตั ้งชื่อสกุล Lagerstroemia นี ้ใน ปี พ.ศ. 2302 หรือ เมือ 232 ปี<br />

มาแล้ว โดยตั ้งชื่อให้เป็นเกียรติแก่ แมคนัส ลาเกอสตรอม (Magnus Lagerström, พ.ศ. 2234–2312) ซึ่งป็นพ่อค้าและ<br />

นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดน ในปี พ.ศ.. 2286-2288 ขณะนั ้นเขาท างานในบริษัท อีสต์ อินเดีย (Swedish East India<br />

Company) ในต าแหน่งเลขานุการ เขาได้มีโอกาสร่วมการเดินทางกับบริษัทไปยังประเทศจีน ในตอนขากลับ เขาได้น า<br />

ตัวอย่างพรรณไม้บางชนิด ที่เขาได้เก็บสะสมไว้ระหว่างการเดินทาง ซึ่งยังไม่เป็นที่รู ้จัก กลับมาให้แก่ คาโรลัส ลินเนียส<br />

นักพฤษศาสตร์เพื่อนร่วมชาติ เพื่อท าการวิเคราะห์ ต่อมาในภายหลังพรรณไม้ชนิดนี ้ได้ถูกตั ้งชื่อพฤกษศาสตร์ว่า<br />

Lagerstroemia indica Linn. (ซึ่งก็คือยี่เข่งของบ้านเรานี่เอง) โดยใช้ชื่อสกุลตามชื่อของผู ้เก็บตัวอย่างพรรณไม้ และนี่จึง<br />

เป็นการใช้ชื่อวงศ์ Lagerstroemia เป็นครั ้งแรก พืชในสกุล Lagerstroemia มีอยู ่ประมาณ 50 ชนิด มีความหลากหลาย<br />

มาก คือมีทั ้งไม้ประเภทผลัดใบ ไม่ผลัดใบ ไม้ยืนต้นและไม้พุ ่ม มีต้นก าเนิดอยู ่ในแถบทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

แถบตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย และบางส่วนของหมู ่เกาะในทะเลแปซิฟิ ก ชื่อสามัญของพันธุ ์ในสกุลได้แก่ “Crape<br />

myrtle” หรือ “Crepe myrtle” มาจากค าว่า “crepe” (กระดาษย่น) เนื่องมาจากลักษณะของกลีบดอกที่ยับย่น กับค าว่า<br />

“myrtle” ซึ่งเป็นค าที่นิยมใช้ในการตั ้งชื่อพันธุ ์ไม้ที่มีดอกสวยงามดึงดูดใจมาแต่สมัยกรีก โรมันโบราณ จึงมีรากศัพท์มา<br />

จากภาษาโบราณ ทั ้ง ภาษาอังกฤษในยุคกลาง (myrtillus) และภาษาละติน (myrtose) ผู ้คนในสมัยนั ้นถือกันว่าดอกไม้


เหล่านั ้นเป็นตัวแทนของเทพีอโฟร์ไดท์ ซึ่งเป็นเทพีแห่งความรัก ปัจจุบันนี ้มีพันธุ ์ไม้หลายหลายชนิดที่มีดอกสวยงามที่มีชื่อ<br />

เรียกว่า “Myrtle” รวมทั ้ง “Crepe Myrtle” นี ้ด้วย<br />

โดยต้นอินทนิลน ้าก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของต้นไม้ในสกุลนี ้<br />

อินทนิลน ้า (Lagerstroemia specioca L.)<br />

ค าว่า Specioca เป็นค าในภาษาละติน แปลว่า “โอ้อวด” หรือ “น่าประทับใจ” เนื่องจากอินทนิลน ้า ที่ออกดอก<br />

ในช่วงฤดูร้อนที่โดดเด่น จึงมีชื่อสามัญว่า “Queen’s Crepe Myrtle” หรือ “Pride of India” เป็นไม้ยืนต้นที่มีโครงสร้าง<br />

ใหญ่กว่า ยี่เข่ง ต้นสูงโดดเด่น อาจสูงได้ถึง 20 ม. ใบมีรูปไข่มีความยาว 8-15 กว้าง – 5 ซม. ผลมีขนาด 2-2.5 ซ.ม. มีดอก<br />

ขนาดใหญ่ ช่อดอกตั ้ง ยาว 20-40 ซ.ม. ขนาดดอกเมื่อบานจะมีขนาด 5 ซ.ม.สีโทนชมพูไปถึงม่วง ดอกดกสวยงามมาก สม<br />

ชื่อ Specioca ดังนั ้นถ้าเห็นพืชพันธุ ์ในสกุลนี ้ที่มีลักษณะสง่างาม ออกดอกดกสวยงามจนต้องเหลียวมอง อาจเป็น<br />

อินทนิลน ้าก็ได้ ส่วน L.นั ้นเป็นอักษรย่อของ คาโรลัส ลินเนียส (พ.ศ. 2250-2321) ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว<br />

ที่มา : www.il.mahidol.ac.th<br />

อินทนิลน ้า<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagerstroemia speciosa Pers.<br />

ชื่อสามัญ: Queen's Flower, Queen's Crape Myrtle, Pride of India<br />

ชื่ออื่น: ตะแบกอินเดีย (กรุงเทพฯ), อินทนิล (ภาคกลาง, ภาคใต้) บางอบะซา (มาเลย์-ยะลา นราธิวาส), บาเย บาเอ<br />

(มาเลย์-ปัตตานี)<br />

วงศ์: LYTHRACEAE<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:<br />

ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-25 ม. เรือนยอดแผ่กว้าง คลุมต ่า เปลือกค่อนข้างเรียบ มีรอยด่างเป็นดวงสีขาว<br />

ใบ ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม ใบเดี่ยวรูปขอบขนานแกมรูปรี กว้าง 6-10 ซม. ยาว 11-26 ซม. ปลายใบแหลม<br />

เป็นติ่งเล็ก โคนใบกลมหรือมน<br />

ดอก ดอกสีม่วงสด ม่วงปนชมพู หรือชมพู ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง เมื่อบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.0-7.5 ซม. กลีบเลี ้ยงรูป<br />

ถ้วย มีสันนูนตามยาวเห็นชัดเจน และมีขนสั ้นประปราย กลีบดอกบาง ขอบย้วย เกสรเพศผู ้จ านวนมาก<br />

ผล ผลเกือบกลม ผิวเกลี ้ยง แข็ง ยาว 2-3 ซม. ผลแห้งแตกตามยาว 6 พู เมล็ดมีปีกจ านวนมาก


ที่มา : www.panmai.com<br />

ดอกอินทนิลน ้า<br />

ชื่อดอกไม้ : ดอกอินทนิลน ้า<br />

ชื่อสามัญ : Queen’s Flower, Queen’s Crape Myrtle, Pride of India<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lagerstroemia speciosa Pers.<br />

วงศ์ : LYTHRACEAE<br />

ชื่ออื่น : ฉ่วงมู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ตะแบกด า (กรุงเทพฯ), บางอ บะซา (มลายู-ยะลา, นราธิวาส), บาเอ บาเย<br />

(ปัตตานี), อินทนิล (ภาคกลาง), อินทนิลน ้า (ภาคกลาง, ภาคใต้)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

เป็นไม้ยืนต้นสูง 10–15 เมตร ล าต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ ่มกลม ผิวเปลือกนอกสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปไข่<br />

แกมขอบขนาน ปลายใบมน ดอกย่อยขนาดใหญ่ กลีบดอกสีชมพู สีม่วงแกมชมพู หรือสีม่วง ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-<br />

มิถุนายน ผลเป็นผลแห้ง มีขนาดใหญ่<br />

การขยายพันธุ ์ : โดยการเพาะเมล็ด<br />

สภาพที่เหมาะสม : ดินทุกชนิด เป็นไม้กลางแจ้ง<br />

ถิ่นก าเนิด : ที่ราบลุ ่มริมน ้า ป่ าเบญจพรรณชื ้นและป่ าดิบทั่วไป<br />

3.กำรวิเครำะห์หลักฐำน<br />

www.e-managev1.mju.ac.th<br />

ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเว็บไซต์ดังกล่างนั ้นค่อนข้างครบถ้วนสมบูรณ์มีที่มาความเป็นไปและประวัติที่ชัดเจน มีความ<br />

ต่อเนื่องและเป็นเหตุเป็นผลกัน ท าให้หลักฐานนี ้ดูค่อนข้างน่าเชื่อถือ อีกทั ้งยังมีประวัติที่ค่อนข้างละเอียดมากกว่าหลักฐาน<br />

ชิ ้นอื่นๆท าให้มีประโยชน์ต่อการรวบรวมหลักฐานและหาข้อมูลอื่นๆอันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาได้เป็นอย่างดี แต่<br />

เนื่องจากไม่ได้มีที่มาที่ชัดเจนของข้อมูลในเว็บไซต์ดังกล่าว จึงอาจท าให้ความน่าเชื่อถือของหลักฐานชื ้นนี ้ลดลงไปบ้าง


www.il.mahidol.ac.th<br />

เป็นอีกแหล่งข้อมูลที่ค่อนข้างมีความน่าเชื่อถือเนื่องจากเป็นเว็บไซต์ที่เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลของมหาลัยที่มีชื่อเสียงอย่าง<br />

มากในประเทศไทยและข้อมูลมีการเรียบเรียงมาเป็นอย่างดี<br />

www.panmai.com<br />

เว็บไซต์นี เป็นเว็บไซต์ที่จัดตั ้<br />

้งขึ ้นมาเพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับเรื่องพันธุ ์ไม้ประจ าจังหวัดโดยเฉพาะ จึงเป็นอีกหนึ่งเว็บไซต์ที่ดูมี<br />

ความน่าเชื่อถือ เนื่องจากผู ้ที่ได้ท าการรวบรวมหลักฐานเหล่านี ้น่าจะมีความสนใจในเรื่องเกี่ยวกับพันธุ ์พืชมากพอสมควร<br />

จึงได้จัดท าเว็บไซต์นี ้ขึ ้น ข้อมูลที่ได้จากแหล่งนี ้จึงดูมีความน่าเชื่อถือ แต่เนื่องจากเนื ้อหานั ้นไม่ละเอียด ชัดเจนมากนักอีก<br />

ทั ้งยังไม่มีที่มาของบทความเหล่านี ้จึงลดความน่าเชื่อถือลง<br />

4.กำรสรุปข้อเท็จจริงเพื ่อตอบค ำถำม<br />

ชื่อสกุล Lagerstroemia<br />

คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) เป็นผู ้ตั ้งชื่อสกุล Lagerstroemia นี ้ใน ปี พ.ศ. 2302 หรือ เมือ 232 ปี<br />

มาแล้ว โดยตั ้งชื่อให้เป็นเกียรติแก่ แมคนัส ลาเกอสตรอม (Magnus Lagerström, พ.ศ. 2234–2312) ซึ่งป็นพ่อค้าและ<br />

นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดน ในปี พ.ศ.. 2286-2288 ขณะนั ้นเขาท างานในบริษัท อีสต์ อินเดีย (Swedish East India<br />

Company) ในต าแหน่งเลขานุการ เขาได้มีโอกาสร่วมการเดินทางกับบริษัทไปยังประเทศจีน ในตอนขากลับ เขาได้น า<br />

ตัวอย่างพรรณไม้บางชนิด ที่เขาได้เก็บสะสมไว้ระหว่างการเดินทาง ซึ่งยังไม่เป็นที่รู ้จัก กลับมาให้แก่ คาโรลัส ลินเนียส<br />

นักพฤษศาสตร์เพื่อนร่วมชาติ เพื่อท าการวิเคราะห์<br />

อินทนิลน ้า (Lagerstroemia specioca Pers.)<br />

ชื่อดอกไม้ : ดอกอินทนิลน ้า<br />

ชื่อสามัญ : Queen’s Flower, Queen’s Crape Myrtle, Pride of India<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lagerstroemia speciosa Pers.<br />

วงศ์ : LYTHRACEAE<br />

ชื่ออื่น : ฉ่วงมู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ตะแบกด า (กรุงเทพฯ), บางอ บะซา (มลายู-ยะลา, นราธิวาส), บาเอ บาเย<br />

(ปัตตานี), อินทนิล (ภาคกลาง), อินทนิลน ้า (ภาคกลาง, ภาคใต้)<br />

ค าว่า Specioca เป็นค าในภาษาละติน แปลว่า “โอ้อวด” หรือ “น่าประทับใจ” เนื่องจากอินทนิลน ้า ที่ออกดอก<br />

ในช่วงฤดูร้อนที่โดดเด่น จึงมีชื่อสามัญว่า “Queen’s Crepe Myrtle” หรือ “Pride of India” เป็นไม้ยืนต้นที่มีโครงสร้าง<br />

ใหญ่ โดยค าว่าอินทนิลในภาษาไทยนั ้นก็มาจาก “อินทร์ , อินทร” ที่แปลว่าผู ้เป็นใหญ่นั ้นเอง


ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:<br />

ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-25 ม. เรือนยอดแผ่กว้าง คลุมต ่า เปลือกค่อนข้างเรียบ มีรอยด่างเป็นดวงสีขาว<br />

ใบ ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม ใบเดี่ยวรูปขอบขนานแกมรูปรี กว้าง 6-10 ซม. ยาว 11-26 ซม. ปลายใบแหลม<br />

เป็นติ่งเล็ก โคนใบกลมหรือมน<br />

ดอก ดอกสีม่วงสด ม่วงปนชมพู หรือชมพู ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง เมื่อบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.0-7.5 ซม. กลีบเลี ้ยงรูป<br />

ถ้วย มีสันนูนตามยาวเห็นชัดเจน และมีขนสั ้นประปราย กลีบดอกบาง ขอบย้วย เกสรเพศผู ้จ านวนมาก<br />

ผล ผลเกือบกลม ผิวเกลี ้ยง แข็ง ยาว 2-3 ซม. ผลแห้งแตกตามยาว 6 พู เมล็ดมีปีกจ านวนมาก<br />

5.กำรน ำเสนอข้อมูล<br />

ที่มาของพืชสกุล Lagerstroemia มาจากคาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) เป็นผู ้ตั ้งชื่อสกุล<br />

Lagerstroemia นี ้ใน ปี พ.ศ. 2302 หรือ เมือ 232 ปีมาแล้ว โดยตั ้งชื่อให้เป็นเกียรติแก่ แมคนัส ลาเกอสตรอม (Magnus<br />

Lagerströmซึ่งป็นพ่อค้าและนักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดน ผู ้น าตัวอย่างพรรณไม้บางชนิด ที่เขาได้เก็บสะสมไว้ระหว่าง<br />

การเดินทาง ซึ่งยังไม่เป็นที่รู ้จัก กลับมาให้แก่ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤษศาสตร์เพื่อนร่วมชาติ เพื่อท าการวิเคราะห์<br />

ชื่อ : อินทนิลน ้า<br />

ชื่อสามัญ : Queen’s Flower, Queen’s Crape Myrtle, Pride of India<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lagerstroemia speciosa Pers.<br />

ที่มาของชื่ออินทนิลน ้านี ้ก็มาจากค าว่า Specioca เป็นค าในภาษาละติน แปลว่า “โอ้อวด” หรือ “น่าประทับใจ” เนื่องจาก<br />

อินทนิลน ้า ที่ออกดอกในช่วงฤดูร้อนที่โดดเด่น จึงมีชื่อสามัญว่า “Queen’s Crepe Myrtle” หรือ “Pride of India” เป็น<br />

ไม้ยืนต้นที่มีโครงสร้างใหญ่เป็นไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-25 ม. เรือนยอดแผ่กว้าง คลุมต ่า เปลือกค่อนข้างเรียบ มีรอยด่างเป็น<br />

ดวงสีขาว โดยค าว่าอินทนิลในภาษาไทยนั ้นก็มาจาก “อินทร์ , อินทร” ที่แปลว่าผู ้เป็นใหญ่นั ้นเอง<br />

ปพิชญา โกยแก้วพริ ้ง ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 12


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : จ าปา<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณหน้าตึก 1<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 27 กรกฎาคม 2560


ขั้นตอนที่ 1 การตั้งประเด็นที่จะศึกษา<br />

“จ าปา” ชื่อนี้มีที่มาจากอะไร<br />

ขั้นตอนที่ 2 การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล<br />

จาก www.royin.go.th ส านักราชบัณฑิตยสภา ได้ให้ความหมายของ จ าปา ไว้ว่า “จ าปา (13<br />

กรกฎาคม 2552) ที่คนส่วนใหญ่รู้จักเป็นชื่อเรียกดอกไม้ชนิดหนึ่งมีสีเหลืองอมส้ม มีกลิ่นหอม หรือเมื่อเห็นสี<br />

เหลืองอมส้มอย่างดอกจ าปาเราจะเรียกว่า สีดอกจ าปา”<br />

จาก sangkae.wordpress.com ได้กล่าวว่า “ไทยเราเองก็เรียกสีเหลืองทองสุกปลั่งว่า “สีดอก<br />

จ าปา” ดังบทมโหรีสมัยกรุงศรีอยุธยาว่า “สีเนื้อเจ้าจ าปาทอง ใต้ฟ้าเลียบจบ ทั้งแผ่นพิภพไม่มีสอง เนื้อเจ้า<br />

จ าปาทอง ใต้ฟ้าจะหายากเอยฯ”... ดอกจ าปานี้มีความส าคัญทางวัฒนธรรมอย่างมากส าหรับชาวเอเชีย<br />

โดยเฉพาะชาวอินเดีย ซึ่งกล่าวถึงจ าปาในวรรณคดีและต านานพื้นบ้านหลายเรื่อง ถือเป็นไม้ชั้นสูงอีกชนิดหนึ่ง<br />

ภาษาสันสกฤตเรียกว่า จัมปกะ บ้านเราและหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็เรียกคล้ายๆ กันนี้ เช่น<br />

มาเลเซียเรียกว่า เจิมปากา แสดงว่าประเทศเหล่านี้รับเอาจ าปามาจากอินเดียในยุคโบราณ จึงสืบทอดทั้งชื่อ<br />

และการใช้ประโยชน์จากไม้ชนิดนี้มาพร้อมกันด้วย ชาวฮินดูนิยมปลูกไม้ชนิดนี้ไว้ในปูชนียสถาน เพื่อจะได้เก็บ<br />

ดอกมาบูชาพระกฤษณะ องค์อวตารของพระนารายณ์ ทั้งยังเป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระลักษมี มเหสีของพระ<br />

นารายณ์ ชาวฮินดูเชื่อว่าพระลักษมีเป็นเทวีผู้อ านวยโชคและความมั่งคั่ง ใครที่มีต้นจ าปาไว้ประดับบ้านก็เชื่อว่า<br />

จะท าให้ร่ ารวยทรัพย์สมบัติเงินทอง แม้แต่ชาวอินเดียยังถือว่าไม้ชนิดนี้เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ แต่ก็น่าแปลกเมื่อได้<br />

ทราบว่าคนไทยสมัยนี้กลับไม่ค่อยนิยมปลูกต้นจ าปาประดับบ้านมากเท่าจ าปี”<br />

จาก www.doctor.or.th ได้กล่าวว่า “จ าปา : พระยาแห่งดอกไม้ของคนไทยสมัยก่อน เชื่อกันว่า<br />

จ าปามีถิ่นก าเนิดในประเทศอินเดีย เพราะชื่อวิทยาศาสตร์ของจ าปามีค าลงท้ายว่า Champaka ซึ่งเป็นชื่อของ<br />

จ าปาในประเทศอินเดีย ภาษาฮินดีเรียกจ าปาว่า จัมปา คนไทยคงเรียกชื่อจ าปาตามคนอินเดียนี่เอง ส่วนภาษา<br />

สันสกฤตเรียก จัมปกะ แสดงว่าชื่อวิทยาศาสตร์ของจ าปามาจากภาษาสันสกฤต คนอินเดียคงน าจ าปามา<br />

เมืองไทยพร้อมๆ กับการติดต่อค้าขายและเผยแพร่อารยธรรมมานับพันปีแล้ว นางสาวปวีณ์นุช ความนิยมและความเชื่อของคน<br />

กิตติสัตยกุล ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 13<br />

อินเดียที่มีต่อจ าปาก็คงถ่ายทอดมาสู่คนไทยมาตั้งแต่โบราณกาลแล้วเช่นเดียวกัน<br />

ในอินเดียถือว่าต้นจ าปาเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ จึงมักจะปลูกไว้ตามสถานที่เคารพ นิยมน าดอกจ าปาไปบูชาเทวดา<br />

สิ่งศักดิ์สิทธิ์และพระสงฆ์ รวมทั้งนิยมน ามาทัดหู ห้อยผม ท าพวงมาลัย ฯลฯ คนไทยสมัยก่อนก็ปฏิบัติ<br />

เช่นเดียวกับชาวอินเดีย นอกจากนั้นยังห้อยประดับมงกุฎเมื่อเล่นโขน ละคร และเป็นไม้เสี่ยงทายด้วย<br />

ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยากล่าวว่า พันบุตรศรีเทพส่งดอกจ าปาไปให้ท้าวศรีสุดาจันทร์และมีประเพณี<br />

น าดอกจ าปามาให้คณะทูตเป็นการต้อนรับ ต้นจ าปานั้นได้รับการยกย่องนับถือทั้งในศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู)


และศาสนาพุทธเช่นเดียวกับต้นโพธิ์ ต้นไทร ในหนังสือเรื่องอนาคตพระพุทธเจ้ากล่าวว่า ในอนาคตพระเทวเท<br />

โวจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าที่โคนต้นจ าปา”<br />

จาก www.sites.google/phensirikm ได้กล่าวว่า “ในสมัยราชวงศ์เมารยะ ประมาณ 321-184 ปี<br />

ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นสมัยหลังสมัยพุทธกาล พระเจ้าจันทรคุปต์ได้รวบรวมอาณาจักรในดินแดนชมพูทวีป<br />

ให้เป็นปึกแผ่น พระพุทธศาสนาได้รับการอุปถัมภ์ให้เจริญรุ่งเรือง โดยเฉพาะในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ได้<br />

เผยแพร่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนทั้งใกล้และไกล รวมทั้งดินแดนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่ง<br />

เผยแพร่เข้าสู่แผ่นดินไทยในยุคสมัยที่ยังเป็นอาณาจักรทวารวดี”<br />

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน<br />

จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าแหล่งข้อมูลที่ 2 และ 3 ให้ข้อมูลเรื่องถิ่นก าเนิดของจ าปาตรงกัน คือ<br />

จ าปามีถิ่นก าเนิดมาจากอินเดีย ข้อมูลคนไทยรับจ าปามาจากอารยธรรมของอินเดียและเผยแพร่เข้าสู่ไทยที่ว่านี้<br />

จึงมีความน่าเชื่อถือ<br />

จากแหล่งข้อมูลที่ 4 ได้ให้ข้อมูลว่า อินเดียได้เผยแพร่อารยธรรมเข้ามาในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียง<br />

ใต้ในช่วงที่ไทยยังเป็นทวารวดี ประมาณ 321-184 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งตรงกับพ.ศ. 222-359 และจาก<br />

แหล่งข้อมูลที่ 2 และ 3 ได้พบหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับจ าปาในสมัยกรุงศรีอยุธยา จากการเรียบเรียงเวลาของ<br />

เหตุการณ์ทั้งหมดจึงมีความเป็นไปได้<br />

ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์และตีความหลักฐาน<br />

1. จ าปาเป็นดอกไม้สีเหลืองอมส้ม มีกลิ่นหอม<br />

2. จ าปามีถิ่นก าเนิดจากอินเดีย และได้เผยแพร่เข้ามาที่ไทย จากหลักฐานที่ว่าในอินเดียใช้ภาษาฮินดูและ<br />

สันสกฤต เรียกว่า จัมปา หรือ จัมปกะ จึงสันนิษฐานว่าไทยน่าจะเพี้ยนเสียงกลายมาเป็น จ าปา ไทยนั้นสืบทอด<br />

ทั้งชื่อและวัฒนธรรมเกี่ยวกับดอกไม้ชนิดนี้มาด้วย<br />

3. จ าปาเข้ามาในประเทศไทยในสมัยที่ไทยยังเป็นทวารวดี แต่เราพบหลักฐานในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะบท<br />

มโหรี หรือแม้กระทั่งพระราชพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยาก็ได้กล่าวถึง จึงสันนิษฐานว่าวิถีชีวิตคนไทยในสมัย<br />

นั้นน่าจะมีความคุ้นเคยและใกล้ชิดกับจ าปาเป็นอย่างมาก


4. จ าปาในอินเดียได้ชื่อว่าเป็นไม้ชั้นสูง น าไปใช้ในการเคารพบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น<br />

น่าจะได้รับอิทธิพลจากอินเดียและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูอย่างมาก จึงยกย่องต้นจ าปาจนกลายเป็นสัญลักษณ์<br />

แสดงการต้อนรับให้แก่คณะทูต แต่ในประเทศไทยปัจจุบันไทยกลับไม่นิยมปลูกไว้ในบ้าน สันนิษฐานว่ามีสาเหตุ<br />

มาจากอิทธิพลของภาษา คือ ค าว่า ปา มีความหมายไปในทางอวมงคล คนส่วนใหญ่จึงไม่นิยมปลูกไว้ในบ้าน<br />

ขั้นตอนที่ 5 การเรียบเรียงและน าเสนอข้อมูล<br />

จ าปา เป็นดอกไม้สีเหลืองอมส้ม มีกลิ่นหอม ซึ่งมีถิ่นก าเนิดจากอินเดีย ในขณะที่อินเดียก าลังติดต่อ<br />

ค้าขายและแผ่ขยายอารยธรรมมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จ าปาจึงได้เข้ามาในไทยเมื่อสมัยทวารวดี ค าว่า<br />

“จ าปา” จึงน่าจะเพี้ยนมาจาก “จัมปกะ” ซึ่งเป็นชื่อของจ าปาในอินเดีย และไทยยังได้รับความเชื่อเกี่ยวกับ<br />

ต้นไม้นี้จากอินเดียอีกว่าจ าปานั้นเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ สมัยกรุงศรีอยุธยาจึงยกย่องจ าปาเช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าใน<br />

ปัจจุบันความเชื่อนี้จะเลือนหายไปแล้วก็ตาม<br />

นางสาวปวีณ์นุช กิตติสัตยกุล ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 13


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ ชวนชม<br />

สถานที่ปลูก บริเวณตึก 2<br />

วันที่ถ่ายภาพ 31 กรกฎาคม 2560


วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1.ก าหนดเป้าหมายหรือประเด็นค าถามที่ต้องการศึกษา<br />

ต้องการศึกษาที่มาของชื่อต้นไม้ “ชวนชม”<br />

2.ศึกษาและรวบรวมหลักฐาน<br />

1.) ชวนชม (Desert Rose; Impala Lily; Mock Azalea) เป็นชื่อของพรรณไม้ที่มีสีสันของดอกสวยงาม เป็น<br />

ไม้ที่ปลูกเลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพแห้งแล้งมาก จนได้รับสมญาว่า Desert Rose (กุหลาบทะเลทราย) นอกจากนี้<br />

ตามความเชื่อของคนไทยชื่อ "ชวนชม" ยังเป็นชื่อที่มีความไพเราะเป็นศิริมงคล และชาวจีนว่า "ปู้กุ้ยฮวย" ซึ่ง<br />

แปลว่า ดอกไม้แห่งความร่ ารวย แต่ดอกชวนชมมีสาร abobioside, echubioside ตรงน้ ายางสีขาว ถ้าน้ ายาง<br />

ถูกผิวหนังจะท าให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง ถ้าเข้าตา ตาจะอักเสบ กินเข้าไปจะเป็นพิษ แต่น้ ายางมีรสขมมาก<br />

โอกาสกินมีน้อย ถ้ากินจะมีผลต่อหัวใจ อาการเบื้องต้นจะท าให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ตาพร่า<br />

หัวใจเต้นอ่อน ความดันลดลงอาจตายได้<br />

ประวัติของชวนชม<br />

ถิ่นก าเนิดของชวนชมมีการค้นพบครั้งแรกโดยนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ P. Forskal ทางภาคตะวันออก<br />

ของทวีปแอฟริกาแถบประเทศแทนซาเนียและเคนย่า ในปี พ.ศ. 2305 แต่ตอนนั้นเชื่อว่าเป็นเพียงลั่นทมพันธุ์<br />

ใหม่ ต่อมาปี พ.ศ. 2357 นายโจเซฟ ออกัสต์ ซูลตส์ (Josef August Schultes) นักพฤกษศาสตร์ชาวออสเตรีย<br />

ได้อธิบายความแตกต่างระหว่างชวนชมกับลั่นทมจนเป็นที่ยอมรับ ส่วนในประเทศไทย มีการพบชวนชมตั้งแต่<br />

ประมาณสมัยรัชกาลที่ 6 แต่ก็ไม่ทราบว่ามีการน าเข้ามาในประเทศไทยเมื่อไร<br />

ที่มา http://tangmolovelove.blogspot.com/2012/11/blog-post.html<br />

2.) ชวนชม เป็นพรรณไม้ที่มีสีสันของดอกสวยงามสะดุดตา มีรูปทรงของต้นและกิ่งก้านที่สวยงามและอ่อนช้อย<br />

นุ่มนวล เป็นไม้ที่ปลูกเลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพแห้งแล้งจนได้รับสมญาว่า Desert Rose หรือ "กุหลาบ<br />

ทะเลทราย" นอกจากนี้ชวนชมยังเป็นชื่อที่มีความไพเราะเป็นสิริมงคลตามความเชื่อของคนไทย แม้แต่ชาวจีน<br />

ซึ่งเรียกชวนชมว่า "ปู้กุ้ยฮวย" หรือ ดอกไม้แห่งความร่ ารวยก็ยังมีความหมายไปในทางสิริมงคลเช่นกัน<br />

ส าหรับในประเทศไทยไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่ามีผู้น าชวนชมเข้ามาปลูกเลี้ยงตั้งแต่เมื่อใด แต่จากหลักฐาน<br />

พอสันนิษฐานได้ว่า มีการน าชวนชมเข้ามาปลูกเลี้ยงในประเทศไทยไม่ต่ ากว่า 70 ปีแล้ว โดยผ่านทางราชส านัก<br />

หลังการเสด็จประพาสต่างประเทศ เพราะมีการพบเห็นชวนชมปลูกอยู่ในเขตพระราชวังและวังเจ้านายทั่วไป<br />

จากการสืบค้นของ อาจารย์วิชัย อภัยสุวรรณ (ผู้เขียนหนังสือ "ไม้ดอกและประวัติไม้ดอกเมืองไทย") ทราบว่า<br />

อย่างน้อยที่สุดคนไทยรู้จักเล่นชวนชมมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 โดยพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระมเหสีองค์ที่ 2<br />

ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้านายพระองค์แรกที่ได้ทรงน าพันธุ์ชวนชมเข้าไปปลูกในพระ


ต าหนักลักษมีวิลาศ แต่ไม่มีผู้ใดทราบว่าทรงน าต้นชวนชมมาจากแหล่งใด แต่ที่ปรากฏแน่ชัดคือ พระองค์<br />

ประทานชื่อดอกไม้นี้ว่า "ชวนชม"<br />

http://panmai.com/DesertRose/DesertRose.shtml<br />

3.) ความเชื่อ-ความหมายที่เป็นมงคล<br />

ชวนชมเป็นไม้ต่างถิ่นที่น าเข้ามาปลูกในประเทศไทยกว่า 70 ปีแล้ว กล่าวกันว่าชวนชมเป็นไม้ดอกที่<br />

ปลูกอยู่ในเขตพระราชวังมาตั้งแต่สมัยราชกาลที่ 6 โดยพระนางเธอลักษมีลาวัณในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏ<br />

เล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้านายพระองค์แรกทีทรงน าชวนชมมาปลูกไว้ในพระต าหนักลักษมีวิลาส และประทานชื่อ<br />

ดอกไม้ชนิดนี้ว่า "ชวนชม"<br />

คนจีนเรียกชวนชมว่า "ปู้กุ้ยฮัว" แปลว่า ดอกไม้แห่งความร่ ารวย ส าหรับคนไทยเชื่อว่าชวนชมเป็นไม้<br />

มงคลชนิดหนึ่ง เพราะมีชื่อไพเราเป็นสิริมงคล และเคยปลูกในเขตวังหลวงมาก่อนจึงนิยมปลูกชวนชมไว้ประจ า<br />

บ้าน เพื่อให้คนในบ้านได้รับความนิยมชมชอบและเกิดเสน่ห์ดึงดูดใจให้ชวนมองชวนชมนั่นเอง<br />

http://patcharaporn54123590104.blogspot.com/p/blog-page_3370.html<br />

4.) คนไทยรู้จักชวนชมมามากกว่า 70 ปี ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าผู้ใดน าเข้ามา มีแต่ข้อสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นไม้<br />

น าเข้าจากอินโดนีเซียหรือชวา เพราะแต่เดิมเคยเรียกว่า "ลั่นทมยะวา" ชื่อลั่นทม อาจจะเรียกตามความเข้าใจ<br />

ของคนในสมัยนั้น ที่คิดว่าชวนชมอยู่สกุลของลั่นทมเพราะมีดอกคล้ายกัน ส่วนค าว่ายะวาเพี้ยนจากชื่อเมือง<br />

ชวา ตามความเป็นจริงแล้วชวนชมก็ไม่ใช่พื้นเมืองของชวา แต่อาจจะน าเข้ามาจากฮอลแลนด์ เพราะครั้งนั้น<br />

ชวาถูกปกครองโดยชาวดัชอยู่ ซึ่งขึ้นชื่อว่าเป็นกลุ่มของนักสะสมรวบรวมพันธุ์ไม้ทั่วโลกที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง<br />

เพราะถิ่นเดิมชวนชมอยู่ในอาฟริกา และต่อมาพระนางเธอลักษมีลาวัณ ในรัชกาลที่ 6 ได้เปลี่ยนชื่อโดยตาม<br />

ความเหมาะสม มีความรู้สึกที่ดีเป็น "ชวนชม" ต้องตามลักษณะของต้นไม้ในสมัยเดียวกันนั้นเอง<br />

http://winnah2.exteen.com/20090522/entry-2<br />

5.) ชวนชม (Mock Azalea) จัดเป็นไม้ประดับต้น และประดับดอก ที่นิยมปลูกมากเป็นอันดับต้นของคนปลูก<br />

ไม้ประดับ เนื่องจาก ล าต้นมีลักษณะแปลก ฐานล าต้นแตกอวบออกเป็นพูพอน แตกกิ่งน้อย แต่ออกดอก<br />

จ านวนมาก ดอกมีสีสันสวยงาม ทั้งสีแดง สีขาว และสีชมพู ปัจจุบัน จึงเป็นไม้ดอกไม้ประดับที่มีราคาแพงที่สุด<br />

http://puechkaset.com/%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%A1/<br />

3.การวิเคราะห์หลักฐาน(การประเมินคุณค่าของหลักฐาน)<br />

จากการรวบรวมหลักฐานประวัติชื่อชวนชมและการน าเข้าชวนชมครั้งแรกจากที่มาของชื่อต้นไม้ “ชวนชม”นั้น<br />

หลักฐานที่เกี่ยวข้องจากทั้ง 5 แหล่งกล่าวตรงกัน อีกทั้งหลักฐานประกอบจากช่วงเวลาที่คาบเกี่ยวกันและ<br />

ประวัติการปกครองของประเทศอินโดนีเซียที่มีความสมเหตุสมผลกับหลักฐานข้างต้น<br />

จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล จะท าให้เห็นว่า ชวนชมถูกน ามาปลูกเลี้ยงไม่ต่ ากว่า


70 ปี คาดว่าน าเข้ามาจากประเทศอินโดนีเซีย เพราะแต่เดิมเคยเรียก “ลั่นทมชวา”<br />

ชวนชมเป็นไม้ดอกที่ปลูกอยู่ในเขตพระราชวังมาตั้งแต่สมัยราชกาลที่ 6 โดยพระนางเธอลักษมีลาวัณ<br />

เป็นเจ้านายพระองค์แรกทีทรงน าชวนชมมาปลูกไว้ในพระต าหนักลักษมีวิลาส และพระนางเธอลักษมีลาวัณ ได้<br />

เปลี่ยนชื่อโดยตามความเหมาะสม มีความรู้สึกที่ดีเป็น "ชวนชม" ต้องตามลักษณะของต้นไม้ในสมัยเดียวกัน<br />

นั้นเอง จากการวิเคราะห์ หลักฐานมีความสอดคล้อง เนื่องจากต้นชวนชมเป็นไม้ประดับต้น และประดับดอก<br />

ออกดอกจ านวนมาก ดอกมีสีสันสวยงาม จึงท าให้ชวนชม น่ามอง<br />

4.การสรุปข้อเท็จจริง<br />

จึงได้ข้อสรุปว่าที่มาของชื่อชวนชมมาจากพระนางเธอลักษมีลาวัณ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ประทานชื่อ “ชวนชม”<br />

ให้แก่ดอกไม้ชนิดนี้ ตามความเหมาะสม มีความรู้สึกที่ดีเป็น "ชวนชม" ต้องตามลักษณะของต้นไม้<br />

5.การเรียบเรียงหรือน าเสนอ<br />

น าเสนอในรูปของร้อยแก้วและเรียงล าดับเหตุการณ์ตั้งแต่การเรียกขานชื่อลั่นทมชวาจนได้มีชื่อว่าดอกชวนชม<br />

น.ส.ปารัช แซ่อึ้ง เลขที่ 14 ห้อง74


ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์<br />

1.การก าหนดเป้าหมาย<br />

ศึกษาประวัติความเป็นมาของต้นชมพูพันธุ์ทิพย์<br />

2.การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐานต่างๆ<br />

อ้างอิงจากเว็บไซต์ http://www.komchadluek.net<br />

ในไทยนั้นต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า “Tabebuia heterophylla” อยู่ในวงศ์<br />

Bignoniaceae ชาวต่างชาติจะเรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า ต้นทรัมเป็ตชมพู (Pink Trumpet Tree) แต่ชื่อไทยว่า<br />

ชมพูพันธุ์ทิพย์นั้นได้มาจากชื่อของ ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์ บริพัตร ผู้น าต้นไม้ชนิดนี้เข้ามาในประเทศเป็นท่านแรก<br />

กรณีการตั้งชื่อต้นไม้ชนิดใหม่ตามชื่อของผู้ที่น าเข้าไปในประเทศหนึ่งๆนี้ก็มีเกิดขึ้นกับต้นคริสมัส ที่มีชื่อทางการ<br />

ว่า Poinsettia ได้มาจากชื่อของอดีตทูตอเมริกันประจ าเม็กซิโก Joel Poinsett ผู้น าต้นคริสมัสจากเม็กซิโกไป<br />

ยังสหรัฐอเมริกา บางครั้งมีการเรียกต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ว่า “ตาเตบูย่า” (Tatebullá) ซึ่งเป็นชื่อเรียกเพี้ยนมา<br />

จากชื่อวิทยาศาสตร์ หรือบ้างก็เรียกง่ายๆว่า “ทรัมเป็ตชมพู” จากลักษณะของดอก<br />

อ้างอิงจากเว็บไซต์ http://www.thaigoodview.com/node/110596<br />

ต้นก าเนิดของชมพูพันธุ์ทิพย์ อยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้ ต่อมาได้ถูกน าไปปลูกในเขตร้อน<br />

ทวีปต่างๆ อย่างแพร่หลายรวมทั้งประเทศไทย ส าหรับประเทศไทยมีบันทึกเป็นหลักฐานว่า เป็นผู้น าเข้ามาใน<br />

ประเทศครั้งแรกคือ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิ์พินิต และ ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์ บริพัตร จึงตั้งชื่อตามสีดอก และ<br />

เป็นเกียรติแก่ผู้น าเข้าว่า ชมพูพันธุ์ทิพย์ ชื่อเดิมคือ ตาเบบูย่า มีชื่ออื่นๆ คือ แตรชมพู ธรรมบูชา ชื่อใน<br />

ภาษาอังกฤษคือ Pink Trumpet Tree ตามลักษณ์ของดอกนั่นเอง<br />

อ้างอิงจากเว็บไซต์ https://www.gotoknow.org ซึ่งเป็นข้อมูลมาจากหนังสือ พรรณไม้ในสวนหลวง<br />

ร.9 หน้า 39


อ้างอิงจากเว็บไซต์ https://th.wikipedia.org<br />

ชมพูพันธุ์ทิพย์ (อังกฤษ: Pink trumpet tree; ชื่อวิทยาศาสตร์: Tabebuia rosea) เป็นพืชในวงศ์<br />

แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นก าเนิดในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ เป็นต้นไม้ประจ าชาติ<br />

เอลซัลวาดอร์หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตรเป็นผู้น าเข้ามาปลูกในประเทศไทย เมื่อ ค.ศ. 1957 ชมพู<br />

พันธุ์ทิพย์เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงใหญ่ เรือนยอดรูปไข่หรือทรงกลม แผ่กว้างเป็นชั้น ๆ เปลือกต้น<br />

เรียบสีเทาหรือสีน้ าตาล เมื่ออายุมากเปลือกแตกเป็นร่อง กิ่งเปราะหักง่าย ใบเป็นใบประกอบรูปนิ้วมือ ใบย่อย<br />

5 ใบ ก้านใบรวมยาว 5-30 เซนติเมตร ก้านใบย่อยยาว 0.5-2.5 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานหรือรูปไข่แกมรูปรี<br />

กว้าง 3-7 เซนติเมตร ยาว 7.5-16 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบมนหรือสอบ ขอบใบเรียบ<br />

แผ่นใบหนาสีเขียวเข้ม ดอกมีสีชมพูอ่อน ชมพูสดถึงสีขาว กลางดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกที่<br />

ปลายกิ่ง มีดอกย่อยจ านวนมาก โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดปลายแยกเป็น 5 แฉก คล้ายรูปแตร ยาว<br />

5-7 เซนติเมตร ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-8 เซนติเมตร มักบานพร้อมกัน ร่วงง่าย ผลเป็นผลแห้ง แตกเป็นฝักกลม<br />

ยาว 15-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดแบนสีน้ าตาล มีปีก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือตอน<br />

กิ่ง<br />

3.การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

หลักฐานจากหนังสือพรรณไม้ในสวนหลวง ร.9 เป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือที่สุดเนื่องจากผู้เขียนหนังสือ<br />

คนหนึ่งเป็นอาจารย์ประจ าภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาฯ ผู้ช่วยคณบดี ต าแหน่ง<br />

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอีกคนเป็นประธานคณะกรรมการจัดท า<br />

อนุกรมวิธานพืช ประธานคณะกรรมการจัดท าพจนานุกรมศัพท์พฤกษศาสตร์ ท าให้หลักฐานนี้มีความ<br />

น่าเชื่อถือมาก<br />

4.การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

ชื่ออังกฤษ: Pink trumpet tree ชื่อวิทยาศาสตร์: Tabebuia rosea<br />

ชื่อเดิม: ตาเบบูย่า มีชื่ออื่นๆ: แตรชมพู ธรรมบูชา<br />

มีถิ่นก าเนิดในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้<br />

ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์ บริพัตร ผู้น าต้นไม้ชนิดนี้เข้ามาในประเทศเป็นท่านแรก


ชมพูพันธุ์ทิพย์เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ใบเป็นใบประกอบรูปนิ้วมือ ใบย่อย 5 ใบ<br />

5.การสรุปและการน าเสนอ<br />

ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ ชื่ออื่นๆคือแตรชมพู ธรรมบูชา มีชื่ออังกฤษว่า Pink trumpet tree และวิทยาศาสตร์<br />

ว่า Tabebuia rosea มีชื่อเดิมว่า ตาเบบูย่า มีถิ่นก าเนิดในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ในประเทศไทย<br />

นั้นม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์ บริพัตร ผู้น าต้นไม้ชนิดนี้เข้ามาในประเทศเป็นท่านแรก จึงตั้งชื่อตามสีดอกและเป็นเกียรติ<br />

แก่ผู้น าเข้าว่า “ชมพูพันธุ์ทิพย์”<br />

ชมพูพันธุ์ทิพย์เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงใหญ่ ใบเป็นใบประกอบรูปนิ้วมือ ใบย่อย 5 ใบ ปลายใบ<br />

แหลมหรือเรียวแหลม โคนใบมนหรือสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาสีเขียวเข้ม ดอกมีสีชมพูอ่อน ชมพูสดถึงสี<br />

ขาว กลางดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง มีดอกย่อยจ านวนมาก มักบานพร้อมกัน ร่วงง่าย<br />

ผลเป็นผลแห้ง แตกเป็นฝักกลม ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือตอนกิ่ง<br />

นางสาวพรชนิตว์ ข าวรุณ ชั้น ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 15


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : ต้นอโศกอินเดีย<br />

สถานที่ปลูก : รอบสนามฟุตบอลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 31 กรกฎาคม 2560


1.ก าหนดเป้าหมาย<br />

เพื่อศึกษาที่มาของชื่อต้นอโศกอินเดีย<br />

2.ค้นคว้าและรวบรวมหลักฐาน<br />

อโศกอินเดียหรืออโศกเซนต์คาเบรียลมีที่มาตามบันทึกทางประวัติศาสตร์ นักบวชในคริสต์ศาสนา<br />

นิกายโรมันคาทอลิกได้น าต้นอโศกชนิดนี้เข้ามาเมื่อปี พ.ศ. 2459 และน ามาปลูกไว้ที่หน้าวัดนักบุญฟรังซิสเซ<br />

เวียร์ต้นหนึ่ง และที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียลอีกต้นหนึ่ง ต่อมาโรงเรียนเซนต์คาเบรียลได้ขยายพันธุ์และปลูกไว้ใน<br />

โรงเรียนเป็นจ านวนมาก รวมทั้งมีการแจกจ่ายไปยังสถานที่ต่าง ๆ ชาวบ้านจึงเรียกต้นนี้ว่า<br />

อโศกเซนต์คาเบรียล<br />

(อ้างอิง : http://www.wikiwand.com/th/อโศกอินเดีย)<br />

ถิ่นก าเนิด ประเทศอินเดียและศรีลังกา<br />

(อ้างอิง : https://sites.google.com/site/cwk270755/xsok-xindeiy)<br />

ค าว่า “อโศกอินเดีย” แต่แรกมาจากเมืองอื่นปลูกเด่นที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เรียกกันว่า “อโศก<br />

เซนต์คาเบรียล” ชื่อทางการบอกสัญชาติว่าเป็น “อินดิก้า ซาราก้า” (อินดิก้า คืออินเดีย ซาราก้าคือ ไม้พวก<br />

อโศก)<br />

(อ้างอิง : http://www.thaigoodview.com/node/154072)<br />

3.การประเมิณค่าหลักฐาน<br />

หลักฐานที่น ามามีความน่าเชื่อถือเพราะมีแหล่งอ้างอิงชัดเจน และได้รับการยืนยันจากผู้รู้<br />

4.การวิเคราะห์และตีความหลักฐาน<br />

ต้นอโศกอินเดียมีถิ่นฐานเดินอยู่ในประเทศอินเดียและศรีลังกา ได้ถูกน าเข้ามาที่ไทยโดยนักบวชชาว<br />

คริสต์นิการโรมันคาทอลิก โดยน ามาปลูกไว้ที่วัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์และโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ซึ่งต่อมาทาง<br />

โรงเรียนได้มีการแจกจ่ายต้นอโศกนี้ ท าให้ได้ชื่ออโศกอินเดียจากถิ่นก าเนิด และชื่ออโศกเซต์คาเบรียลจากการ<br />

แจกจ่ายครั้งแรกโดยโรงเรียน<br />

เซนต์คาเบรียล<br />

5.การน าเสนอข้อมูล<br />

รวบรวมข้อมูลจัดท าเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์<br />

นางสาวภัทรกันย์ รุ่งเรืองอนันต์ ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 16


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : ต้นทองกวาว<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณหน้าตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 8 มิถุนายน พ.ศ.2560


1. ก าหนดเป้าหมาย<br />

เพื่อศึกษาความเป็นมาของชื่อต้นทองกวาว<br />

2. ค้นคว้าและรวบรวมหลักฐาน<br />

https://my.dek-d.com/yakamihikari/writer/viewlongc.php?id=880823&chapter=133<br />

ทองกวาวมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดอกจาน เนื่องจากเป็นค าพ้องเสียงของภาษาอีสาน มาจากค าว่า<br />

จารย์ (จารย์ = ค าใช้เรียกบุคคลที่อาวุโสกว่าที่คุ้นเคยกันมากแบบกึ่งเคารพกึ่งเป็นกันเอง)<br />

https://www.doctor.or.th/article/detail/3049<br />

ชื่อเรียกทองกวาวมีมากมาย เช่น ทอง ทองต้น ทองกวาว กวาวต้น ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ<br />

(ภาคกลาง) กวาว กว๋าว ก๋าว (เหนือ) จาน (อีสาน) จ้า (สุรินทร์) เป็นต้น ภาษาอังกฤษ เรียกว่า Flame of the<br />

forest, Bastard teak Bengal Kino tree<br />

ผู้เขียนยังจ าได้ว่าเมื่อเป็นเด็กยังพบเห็นต้นทองกวาวขึ้นอยู่ตามทุ่ง นาน้ าท่วมถึงของจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่ง<br />

ชาวบ้านเรียกว่าต้นทอง<br />

http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=12409<br />

ต้นทองกวาว มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า “Butea monosperma Kuntze.” ในภาษาบาลีเรียกว่า “ต้น<br />

กิงสุกะ” มีถิ่นก าเนิดอยู่ในประเทศอินเดีย มักพบในทุกส่วนของประเทศ มีชื่อเรียกในภาษาสันสกฤตว่า “ปา<br />

รัช” (Palasha) ซึ่งแปลว่า “ทอง”<br />

ในประเทศอินเดียเรียกต้นทองกวาวว่า “Kamarkas” มีความหมายว่า กล้ามเนื้อหลังที่แข็งแรงและ<br />

ยืดหยุ่น เพราะสมัยก่อนผู้หญิงอินเดียทั่วไปมักจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อหลังในระหว่างมีประจ าเดือน ตั้งครรภ์<br />

หรือหลังคลอดบุตร จึงได้ใช้สรรพคุณทางยาของทองกวาวเป็นยาบ ารุงร่างกายโดยเฉพาะกระดูกเชิงกรานและ<br />

กล้ามเนื้อหลัง นอกจากนี้ยังช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายจากความเจ็บไข้ได้ป่วย รวมทั้งการกลับมามีรูปร่างดังเดิม<br />

หลังคลอด รวมทั้งน ามาใช้ในการบ ารุงรักษาผิวพรรณ เพื่อเพิ่มความงาม<br />

คนไทยโบราณเชื่อว่า หากบ้านใดปลูกต้นทองกวาวไว้ จะท าให้มีทองมากเพราะชื่อทองกวาวเป็นมงคล<br />

นาม นอกจากนี้ดอกยังมีความสวยงามเรืองรองดั่งทองธรรมชาติ ยิ่งถ้าผู้ปลูกเป็นผู้ที่ประกอบแต่คุณงามความดี<br />

แล้วละก็นับว่าเป็นสิริมงคลแก่ผู้อยู่อาศัยยิ่งนัก<br />

http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?bot<br />

anic_id=811


ไม้ขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร ล าต้นส่วนมากจะคดงอ และแตกกิ่งต่ า เปลือกสีเทาคล้ า แตกระแหง<br />

เป็นร่องตื้น ๆ ใบ เป็นใบประกอบที่ออกจาก จุดปลายก้านเดียวกัน 3 ใบ ติดเรียงเวียนสลับ แน่นบริเวณปลาย<br />

กิ่ง ใบย่อยรูปป้อม โคนเบี้ยว ปลายมน ลักษณะคล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใบกลางจะมีก้านใบยาวและ<br />

ใหญ่ที่สุด ดอก ออกเป็นช่อ ตามกิ่งเหนือรอยแผลใบและตามปลายกิ่ง ส่วนฐานรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย<br />

ดอกสีแสดที่เป็นสีเหลืองหายาก ลักษณะเป็นดอกถั่วขนาดใหญ่มี 5 กลีบ เกสรผู้มี 10อัน แยกเป็นอิสระ 1 อัน<br />

อีก 9 อัน โคนก้านเชื่อม ติดกันเป็นหลอด ผล เป็นฝักแบน กว้างประมาณ 3.5 ซม. ยาวถึง 14 ซม. มีขนคลุม<br />

แน่น ภายในมีเมล็ดแบน ๆมีเมล็ดเดียว<br />

3. วิเคราะห์หลักฐาน<br />

จากข้อมูลที่บอกว่า ดอกจาน เป็นค าพ้องเสียงของภาษาอีสานจากค าว่าจารย์ จะเห็นได้ว่าไม่มี<br />

ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน จึงเป็นหลักฐานที่ไม่มีน้ าหนักมากพอที่จะเชื่อถือได้<br />

จากข้อมูลที่บอกว่าทองกวาวมีชื่อเรียกมากมายตามแต่ละท้องถิ่น โดยแต่ละชื่อนั้นมักจะมีค าว่า<br />

“ทอง” ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับชื่อทองกวาว แสดงให้เห็นว่าชื่อทองกวาวน่าจะมาจากลักษณะเด่นบางอย่างของต้น<br />

จากข้อมูลที่บอกว่าทองกวาวมีชื่อเรียกในภาษาสันสกฤตว่าปารัช ซึ่งแปลว่าทอง เป็นหลักฐานอีกอย่าง<br />

ที่ช่วยสนับสนุนว่าชื่อทองกวาวน่าจะมาจากลักษณะเด่นบางอย่างของต้น ซึ่งตามข้อมูลได้บอกว่าเป็นลักษณะ<br />

ของดอกที่สวยงามดั่งทองธรรมชาติ<br />

จากข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นทองกวาว จะเห็นได้ว่าดอกของทองกวาวมีสีแสดที่เป็นสีเหลืองหา<br />

ยาก เป็นหลักฐานสนับสนุนอีกอย่างว่าสีของดอกทองกวาวมีสีคล้ายสีทองจึงมีการน ามาตั้งเป็นชื่อต้นไม้ว่าต้น<br />

ทองกวาว<br />

ดังนั้นจะเห็นได้ว่าแหล่งข้อมูลหลายแห่งได้ให้ข้อมูลไปในทิศทางเดียวกันว่าต้นทองกวาวมีการตั้งชื่อมา<br />

จากลักษณะของดอกทองกวาวที่มีสีแสดที่เป็นสีเหลืองหายากคล้ายสีทอง จึงเป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือได้<br />

4. สรุปข้อเท็จจริง<br />

5. น าเสนอ<br />

ชื่อต้นทองกวาวมีการตั้งชื่อมาจากลักษณะของดอกที่มีสีแสดที่เป็นสีเหลืองหายาก คล้ายสี<br />

ทองธรรมชาติ<br />

รวมรวมข้อมูลท าเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์<br />

น.ส.มันตา ยนตร์เปี่ยม เลขที่ 17 ห้อง 74


ต้นเพกา<br />

ขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์<br />

1.ก าหนดเป้าหมายหรือประเด็นที่ต้องการศึกษา<br />

ต้นเพกาเป็นไม้ยืนต้นที่สูง ปลูกในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แต่คนรู้จักไม่มาก มีดอกรูปร่างแปลกตา<br />

ดิฉันจึงต้องการศึกษาประวัติความเป็นมาของต้นเพกา<br />

2.ค้นหาและรวบรวมหลักฐาน<br />

เพกา เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆดังนี้: ดอก๊ะ ด๊อกก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เบโด<br />

(มาเลเซีย-นราธิวาส) มิลิดไม้ มะลิ้นไม้ (เหนือ) ลิ้นฟ้า (เลย) เพกาเป็นค ามาจากประเทศพม่า<br />

เพกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นก าเนิดดั้งเดิมในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย โดยพบขึ้นอยู่<br />

ตามธรรมชาติในป่าเบญจพรรณและป่าชื้นทั่วๆไป แม้เพกาจะขึ้นอยู่ในหลายประเทศ แต่ดูเหมือนจะมีแต่ชาว<br />

ไทยเท่านั้นที่น าเพกามากินเป็นผัก เพกาเป็นผักที่อยู่ในหมวดดอกฝัก<br />

เป็นไม้ยืนต้น กึ่งผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ สูง 5-12 เมตร เรือนยอดเล็ก กิ่งเปราะหักง่าย แตกกิ่งก้านน้อย ต้นที่มี<br />

อายุน้อยมีกิ่งใหญ่ตรงกลางกิ่งเดียว เปลือกเรียบ มีใบเป็นกลุ่มตรงกลาง คล้ายกับต้นปาล์ม ภายหลังจากออก


ดอก ล าต้นจะแยกเป็นกิ่งระเกะระกะ เปลือกต้น สีน้ าตาลครีมอ่อน หรือเทาอ่อน แตกเป็นสะเก็ดสี่เหลี่ยม และ<br />

แผลของใบยาวถึง 150 เซนติเมตร เกิดจากใบที่ร่วงไปแล้ว ล าต้นและกิ่งก้านมีรูระบายอากาศ กระจายอยู่<br />

ทั่วไป เปลือกล าต้นเรียบสีเทา มีรอยแผลเป็น จากการหลุดร่วงของใบ ใบประกอบแบบขนนก 3 ชั้น ปลายคี่<br />

ใบขนาดใหญ่ ยาว 60-200 เซนติเมตร เรียงตรงข้ามกันอยู่บริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่ หรือรูปไข่แกมวงรี<br />

กว้าง 4-8 เซนติเมตร ยาว 6-12 เซนติเมตร ปลายยาว ขอบใบเรียบ ฐานใบสอบแคบ ใบเกลี้ยง หรือมีขนสีขาว<br />

สั้นๆ ด้านล่าง ท้องใบนวล ก้านใบบนสุดแยกออก 1 ครั้ง ก้านใบกลางแยก 2 ครั้ง และก้านใบล่างแยก 3 ครั้ง<br />

ท าให้เห็นใบทั้งหมดเป็นรูปสามเหลี่ยม ก้านใบย่อยยาว 5-8 มิลลิเมตร ก้านใบข้าง และก้านใบร่วมโค้งพอง<br />

ออกที่ฐานและที่ข้อ ก้านใบยาว 0.5-2 เมตร ดอกช่อขนาดใหญ่แบบกระจะ ออกที่ปลายยอดเป็นกระจุก มีดอก<br />

ย่อย 20-35 ดอก จะบานพร้อมกันคราวละ 2-3 ดอก ก้านช่อดอกยาว 60-180 เซนติเมตร ยื่นออกมานอกทรง<br />

พุ่มของยอด ดอกย่อยขนาดใหญ่ 8-12 เซนติเมตร กลีบดอกสีนวลแกมเขียวโคนกลีบเป็นหลอดสีม่วงแดง หรือ<br />

ม่วงด้านนอก หลอดกลีบดอกยาว 2-4 เซนติเมตร รูปแตร กลีบดอกหนา ขอบย่น ไม่มีพู หรือพูไม่เท่ากัน มี<br />

ต่อมกระจายอยู่ด้านนอก ด้านในมีขนหนาแน่น ดอกบานตอนกลางคืน มีกลิ่นสาบฉุน และร่วงตอนเช้า มักจะ<br />

มีดอกและผลในกิ่งเดียวกัน เกสรตัวผู้ 5 อัน ติดกับหลอดดอก โคนก้านมีขน เกสรตัวเมียมี 1 อัน กลีบเลี้ยงยาว<br />

2-4 เซนติเมตร มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นรูปทรงกระบอก ปลายไม่แยกเป็นกลีบอย่างเด่นชัด เมื่อ<br />

เป็นผล กลีบเลี้ยงนี้จะเจริญเป็นเนื้อแข็งมาก ผลเป็นฝัก แบน โค้งเล็กน้อยที่ฐาน มีสันเล็กๆที่ด้านข้าง คล้ายรูป<br />

ลิ้น ห้อยอยู่เหนือเรือนยอด กว้าง 6-10 เซนติเมตร ยาว 30-120 เซนติเมตร สีน้ าตาลเข้ม สีแดง ติดฝักยาก ฝัก<br />

เป็นรูปดาบ เมื่อแก่จะแตกเป็น 2 ซีก เมล็ดแบนสีขาว ขนาด 4-8 เซนติเมตร มีปีกบางโปร่งแสง พบบริเวณป่า<br />

เต็งรัง ป่าทุ่ง ป่าผสมผลัดใบ บริเวณ ไร่ สวน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงกรกฎาคม ยอดอ่อนรสชาติขม และ<br />

ดอก น ามาลวกกินเป็นผัก ฝักแก่ที่ยังไม่แข็งจะมีรสขมใช้ประกอบอาหารได้ แต่ต้องท าให้รสขมหมดไปโดยการ<br />

เผาไฟให้ผิวไหม้เกรียม แล้วขูดผิวที่ไฟไหม้ออก น ามาหั่นเป็นฝอย แล้วคั้นน้ าหลายๆหน แล้วจึงน ามาปรุงอ<br />

หารได้ เช่น ผัด แกง เป็นผักจิ้มน้ าพริก<br />

3.วิเคราะห์หลักฐาน และตีความหลักฐานอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีความเป็นกลางและปราศจากคติ<br />

จากข้อมูลหลากหลายแหล่งข่าว ชี้ว่าต้นเพกาเป็นไม้ยืนต้น ถิ่นก าเนิดดั้งเดิมในอินเดียและเอเชียตะวันออก<br />

เฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย เพกาเป็นภาษาพม่า โดยพบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติในป่าเบญจพรรณและป่าชื้น<br />

ทั่วๆไป และมีสรรพคุณหลากหลาย<br />

4.สรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

ต้นเพกาจัดเป็นไม้ยืนต้นและเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่งที่มีถิ่นก าเนิดในอินเดียแลเอเชียตะวันออกเฉียง<br />

ใต้และรวมถึงประเทศไทย โดยชื่อเพกามาเป็นค าที่มาจากประเทศพม่า น่าจะมาจากประเทศ<br />

อินเดียโดยพบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าชื้นทั่วไป แม้ว่าต้นเพกาจะมีอยู่ในหลาย ๆ ประเทศ<br />

แต่มีเพียงประเทศไทยเท่านั้นที่น าเพกามารับประทานเป็นผัก


5.น าเสนอเรื่องที่ศึกษา และน าเสนอได้อย่างมีเหตุมีผล<br />

น าเสนออาจารย์ผู้สอนประวัติศาสตร์ อาจารย์สยมภู รณชิตพานิชยกิจ<br />

อ้างอิง<br />

http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=84<br />

http://www.mcp.ac.th/print_text.php?mm=22&sm=49&ssm=34&id=276<br />

https://th.wikipedia.org/wiki/เพกา<br />

http://www.thaigoodview.com/node/144936<br />

น.ส.มิ่งกมล บ ารุงพนิชถาวร เลขที่18 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ นนทรี<br />

สถานที่ปลูก หน้าห้องสมุด<br />

วันที่ถ่ายภาพ 26 กรกฎาคม 2560


วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1.ก าหนดประเด็นที่ศึกษา<br />

ศึกษาความเป็นมาของชื่อต้น "นนทรี" สาเหตุที่เลือกพันธุ์ไม้นี้เพราะ นนทรีเป็นต้นไม้ที่ความส าคัญเพราะ<br />

เป็นต้นไม้ประจ าสถาบันที่ส าคัญหลายแห่ง<br />

2.การค้นหาและรวบรวมหลักฐาน<br />

หลักฐานลายลักษณ์อักษร<br />

1)https://www.technologychaoban.com<br />

ต้นนนทรีบ้าน นอกจากเป็นพันธุ์ไม้พระราชทาน เพื่อปลูกเป็นมงคลแก่จังหวัดนนทบุรีแล้ว ยังเป็นต้นไม้<br />

ประจ ามหาวิทยาลัยและโรงเรียนอีกหลายโรงเรียน คือเป็นต้นไม้ประจ ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โรงเรียน<br />

สตรีสมุทรปราการ โรงเรียนหอวัง โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย โรงเรียนนนทรีวิทยา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ และเป็น<br />

ต้นไม้ประจ าสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดสกลนคร อีกด้วยต้นนนทรีบ้านถูกเลือกให้เป็นต้นไม้ประจ า<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามที่ประชุมของอนุกรรมการพิจารณาหาต้นไม้สัญลักษณ์ประจ ามหาวิทยาลัย<br />

เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506เหตุผลคือ ต้นนนทรีบ้าน เป็นไม้ยืนต้น มีอายุยืนยาวนาน มีใบเขียวตลอด<br />

ทั้งปี ลักษณะใบเป็นฝอยคล้ายใบกระถิน ดอกสีเหลืองประปรายด้วยสีขาว ช่อดอกเป็นพวงระย้า ฝักไม่ยอมทิ้ง<br />

ต้น ทนทานในทุกสภาพอากาศของเมืองไทย สมาคมนิสิตเก่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้เลือกให้เป็น<br />

ต้นไม้ที่เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อแสดงว่านิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นั้น มีใจ<br />

ผูกพันอยู่กับมหาวิทยาลัยตลอดเวลา และสามารถจะท างานประกอบอาชีพได้ทั่วทุกหนทุกแห่ง ทั้งในไร่ นา ป่า<br />

เขา ทั่วทั้งประเทศไทย ซึ่งก็น่าจะเป็นเหตุผลเดียวกันกับสถาบันอื่นๆ ข้างต้นที่เลือกนนทรีเป็นต้นไม้ประจ า<br />

สถาบันเช่นกัน<br />

2)http://archives.psd.ku.ac.th<br />

ต่อมาในวันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด าเนิน<br />

พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงปลูกต้นนนทรี จ านวน 9 ต้น บริเวณหน้าอาคาร<br />

หอประชุม มก. และทรงมีพระมหากรุณาธิคุณร่วมทรงดนตรีที่หอประชุม มก. เป็นครั้งแรกด้วย พร้อมกันนี้ได้มี<br />

พระราชด ารัสตอนหนึ่งเกี่ยวกับต้นนนทรี ความว่า"ขอพูดอะไรสักหน่อย วันนี้ได้รับเชิญมาปลูกต้นไม้ ก็ท าให้<br />

คิดว่า การปลูกต้นไม้ก็จ าเป็นจะต้องเลือกว่าต้นอะไรจึงจะดี เหมาะส าหรับมหาวิทยาลัยต้นไม้อะไรๆ ก็สีเขียว<br />

ต้นนนทรีที่เลือกเป็นต้นไม้ของเกษตร ก็เหมาะสมที่มีสีเขียวด้วย เหมาะมากและน่ายินดีมากที่ต้นนนทรีนั้น


ปลูกได้ทั่วทุกแห่งของไทย เพราะทนแล้ง ทนแดดได้ นี่เป็นความหมายที่ดี เพราะคนไทยถ้าปลูกในแผ่นดิน<br />

ไทยก็เติบโตดีและเจริญดี<br />

3.วิเคราะห์หลักฐาน<br />

1)หลักฐานภายนอก ดูน่าเชื่อถือเพราะบทความนี้เขียนโดย ผศ. วรรณา กัลยาณะวงศ์ ณ อยุธยา ซึ่งมียศถึง<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จึงน่าจะเป็นคนที่มีความรู้พอสมควร และบทความนี้ยังมียอดคนเข้ามาอ่านถึง 9678ครั้ง<br />

หลักฐานภายใน ตัวข้อมูลดูมีความน่าเชื่อถือ เพราะสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งก็คือ นนทรีเป็นต้นไม้<br />

พระราชทานแก่จังหวัดนนทบุรีและยังเป็นต้นไม้ประจ ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสถาบันอื่นๆอีกมากมาย<br />

2)หลักฐานภายนอก มีความน่าเชื่อถือเพราะเป็นเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยตรง<br />

หลักฐานภายใน มีความน่าเชื่อถือเพราะข้อความตอนที่ยกมาเป็นพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จพระ<br />

เจ้าอยู่หัว และถือว่าเป็นหลักฐานชั้นปฐมภูมิ<br />

4.สรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

ที่มาของชื่อต้นนทรีนั้นไม่ปรากฏแน่ชัด แต่สามารถวิเคราะห์ได้ว่าต้นนนทรีนั้นเป็นไม้ยืนต้น มีอายุยืน มีใบ<br />

สีเขียวแก่ อันหมายถึง สีเขียวขจีของเกษตร และมีดอกสีเหลืองทอง อันหมายถึง สีเหลืองของคณะเกษตร ช่อ<br />

ดอกเป็นพวงระย้า ฝักไม่ยอมทิ้งต้น ทนทานในทุกสภาพอากาศของเมืองไทย ซึ่งฝักไม่ยอมทิ้งต้น หมายถึง<br />

นิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นั้น มีใจผูกพันอยู่กับมหาวิทยาลัยตลอดมา ทนทานในทุกสภาพอากาศของ<br />

เมืองไทย หมายถึง สามารถจะท างานประกอบอาชีพได้ทั่วทุกหนทุกแห่ง ทั่วทั้งประเทศไทย<br />

5.น าเสนอเรื่องที่ศึกษา<br />

น าเสนอผ่าน powerpoint หรือท าเป็นสื่อการเรียนลงในเว็บ<br />

วรางกูร ทิพย์สุข ห้อง74 เลขที่ 19


ต้นโพธิ์<br />

การศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์<br />

1. ก าหนดเป้าหมาย<br />

ชื่อต้นโพธิ์ มีที่มาอย่างไร<br />

2. รวบรวมหลักฐาน<br />

ได้รวบรวมหลักฐานจาก<br />

- วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 39 พฤษภา –สิงหาคม<br />

2557<br />

- วารสาร มฉก.วิชาการ ปีที่ 14 ฉบับที่ 27 กรกฎาคม – ธันวาคม 2553


3. วิเคราะห์หลักฐาน<br />

จากหลักฐาน ที่ได้รวบรวมมา พบว่ามีความเข้าใจเกี่ยวกับชื่อโพธิ์ในหลายแง่ เนื้อหามี<br />

ความน่าเชื่อถือ บอกถึงที่มาของชื่อได้อย่างดี และได้ข้อเท็จจริงที่ตรงกันใจหลายแหล่งข้อมูล<br />

4. การสรุปข้อเท็จจริง<br />

โพธิ์เป็นพันธุ์ไม้ตระกูลเดียวกันกับโพ ชาวพุทธถือว่าโพธิ์เป็นต้นไม้ประจ าพระพุทธศาสนา<br />

เพราะเป็นต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งในขณะที่ตรัสรู้ ชาวไทยพุทธนิยมน าโพธิ์<br />

สายพันธุ์พุทธคยามา ปลูกไว้ตามวัดวาอารามทั่วไป เพื่อระลึกถึงการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า<br />

ต้นโพธิ์ (Bodhi Tree) เป็นต้นไม้ที่มีความส าคัญต่อพระพุทธศาสนาเป็น อย่างมาก<br />

เพราะเป็นต้นไม้แห่งการตรัสรู้ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า การตรัสรู้เป็น<br />

พระพุทธเจ้าในภัทรกัปนี้ พระองค์ก็นั่งบ าเพ็ญเพียรใต้ต้นไม้ จนได้ บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิ<br />

ญาณ ซึ่งเราเรียกต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งใน วันตรัสรู้ว่า “ต้นโพธิ์” ทุกวันนี้ผู้ที่มี<br />

ความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนานอกจาก จะให้ความเคารพบูชาต่อต้นโพธิ์ต้นที่<br />

พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ยังให้ความส าคัญกับ ต้นโพธิ์ต้นอื่นๆ อีกด้วย คือจะไม่ตัด ไม่โค่นถ้าไม่<br />

จ าเป็น<br />

ต้นโพธิ์ หรือต้นพระศรีมหาโพธิ์ เดิมมีชื่อว่า อัสสัตถะ หรืออัศวัตถ์ มีชื่อทาง<br />

วิทยาศาสตร์หรือชื่อเรียกที่เป็นภาษาอังกฤษว่า Ficus Religiosa สาเหตุที่ชื่อของต้นโพธิ์มีค า<br />

ว่า religiosa อยู่ด้วยนั้นก็เป็นเพราะคณะกรรมการตั้งชื่อทางพฤกษศาสตร์ แห่ง Kew<br />

Garden ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษได้ให้เหตุผลว่า โพธิ์เป็นต้นไม้ ส าคัญทาง<br />

ศาสนา หรือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ชาวพุทธและชาวฮินดูให้ ความเคารพนับถือเป็น<br />

อย่างมาก ชาวอินเดียเรียกชื่อต้นไม้ชนิดนี้ว่า Pipal Tree และ ชาวศรีลังกาเรียกว่า Bodhi<br />

Tree<br />

พระศรีมหาโพธิ์ หมายถึง ต้นไม้ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ อาศัยประทับนั่ง<br />

บ าเพ็ญเพียรเพื่อตรัสรู้ ดังนั้น ต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งในวันตรัสรู้ ต้นไม้ต้นนั้นจะมีชื่อ<br />

อย่างไรก็ตาม ก็จะมีชื่อเรียกว่า ต้นโพธิ์เหมือนกันหมด<br />

วริยา ล้อประเสริฐกุล เลขที่ 20 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการ<br />

ทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ อินทนิลบก<br />

สถานที่ปลูก ข้างสนามฟุตบอล หน้าตึก 8<br />

วันที่ถ่ายภาพ 27 กรกฎาคม 2560<br />

เมื่อได้รับงานขั้นแรกที่ปฏิบัติคือก าหนดชื่อต้นไม้ที่จะท าการศึกษา โดยเริ่มจากคิดว่าเราอยากรู้จัก<br />

ประวัติความเป็นมาของต้นใด สนใจต้นไหนเป็นพิเศษ เมื่อได้ชื่อของต้นไม้คืออินทนิลบกแล้วจึงท าการศึกษา<br />

รวบรวมข้อมูลจากทางอินเทอร์เน็ตหรือหนังสือ โดยหาจากหลายๆแหล่งข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบหาความ<br />

เหมือน และความแตกต่างของข้อมูลได้ผลดังนี้


แหล่งข้อมูลที่ 1 จาก http://satitc.blogspot.com<br />

อินทนิล เป็นเป็นพรรณไม้ที่ทนต่อสภาพแวดล้อมและเจริญเติบโตในทุกภาคของประเทศไทย เป็นพันธ์<br />

ลักษณะที่ดี มีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรือง อายุยืนนานใบสีเขียวเข้ม ลักษณะใบเดี่ยว ดอกสีม่วง ม่วง<br />

ชมพู มีฉายานามว่าเป็น "ราชินีดอกไม้” ( Queen's Flower ) ฝักผลไม่ยอมทิ้งต้น มีสายพันธ์อีกหลายชนิด<br />

ในวงค์เดียว มีดอกเป็นลักษณะQeen's crape myrtle เช่น ตะแบก, เสลา และยี่เข่ง เป็น Qrape<br />

myrtle เหมือนกัน<br />

แหล่งข้อมูลที่ 2 จาก www.mju.ac.th<br />

ต้นไม้ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย<br />

1. ชื่อไทย ( Thai name ) อินทนิล, จ่อล่อ, จะล่อหูกวาง<br />

2. ชื่อสามัญ ( Common name ) Queen's flower, Queen's crape myrtle<br />

3. ชื่อวิทยาศาสตร์ ( Scientific name ) Lagersthoemia macrocarpa Wall.<br />

4. ชื่อวงค์ ( Family ) LYTHRACEAE<br />

5. สีดอก ดอกสีม่วง ม่วงชมพู เป็นช่อตรง ดอกออกตามปลายกิ่งหรือตามข้อกิ่ง ออกดอก ระหว่าง<br />

เดือนกุมภาพันธ์-มิถุนายน<br />

ประวัติและเหตุผล<br />

เกี่ยวกับการเลือกพันธ์ไม้นี้เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย อันเนื่องมาจากแม่โจ้ "มหาวิทยาลัยแม่โจ้"<br />

มีอายุครบ 50 ปี ในเดือนมิถุนายน 2527 คณะกรรมการศิษย์เก่าแม่โจ้และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยโดยนาย<br />

จ านงค์ โพธิสาโร อธิบดีกรมป่าไม้สมัยนั้น อุปนายกสมาคมศิษย์เก่าแม่โจ้เป็นประธานได้เสนอชื่อพรรณไม้ที่<br />

ทนต่อสภาพแวดล้อมและเจริญเติบโต<br />

ในทุกภาคของประเทศไทย เป็นพันธ์ลักษณะที่ดี มีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรือง อายุยืนนานใบสี<br />

เขียวเข้ม ลักษณะใบเดี่ยว ดอกสีม่วง ม่วงชมพู มีฉายานามว่าเป็น "ราชินีดอกไม้"( Queen's Flower ) ฝักผล<br />

ไม่ยอมทิ้งต้น มีสายพันธ์อีกหลายชนิดในวงค์เดียว มีดอกเป็นลักษณะQeen's crape myrtle เช่น ตะแบก,<br />

เสลา และยี่เข่ง เป็น Qrape myrtle เหมือนกัน<br />

คณะกรรมการได้ลงมติเลือกชื่อพรรณไม้ "อินทนิล" นี้เป็นมงคลนามต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความ<br />

หมายถึงความผูกพันกับมหาวิทยาลัย อินทนิลมีลักษณะของช่อดอกเกาะกันเป็นกลุ่มแน่น สีสวยสดเหมือน<br />

ความรัก ความสามัคคี เป็นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน ความผูกพันอยู่กับมหาวิทยาลัยของศิษย์เก่าตลอดเวลาที่<br />

ออกไปประกอบอาชีพอยู่ทุกหนทุกแห่ง<br />

อินทนิลหรือไม้ในวงค์นี้เป็นไม้เศรษฐกิจ เนื้อแข็งปานกลางจนถึงแข็ง ใช้เป็นไม้ประดับให้ร่มเงา ดอก<br />

สีสวยสดงดงาม ตลอดทั้งเปลือก ต้น ใบ ใช้เป็นยาสมุนไพร ดั่งคุณค่าของบรรดาศิษย์เก่าแม่โจ้ ที่ได้สร้าง<br />

ประโยชน์ให้กับสังคมประเทศชาติเป็นระยะเวลาอันยาวนานกว่า 50 ปี<br />

อินทนิล


อินทนิล เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงประมาณ 50 ฟุต ล าต้นตรงเปลือกค่อนข้างด าหรือน้ าตาล มีตะ<br />

คระขรุขระกิ่งแผ่กว้างใบมาแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 10 นิ้ว เนื้อใบหนาเป็นมันดอกออกเป็นช่อยาว<br />

ตามปลายกิ่ง ช่อตั้งตรง ดอกมีทั้งสีม่วง ม่วงแกมชมพู กลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 6<br />

แฉก ผลรูปไข่เกลี้ยงยาวประมาณ 9 นิ้ว ออกดอกราวเดือนมีนาคมถึงมิถุนายน การขยายพันธ์ใช้วิธีเพาะ<br />

เมล็ด<br />

อินทนิล อยู่ในสกุล Lagersthoemia นี้ตั้งให้เป็นอนุสรณ์แก่ Magnus Lagersthoem พ่อค้าชาว<br />

สวีเดน ที่ได้พันธุ์ไม้นี้ไปจากแถบเอเซีย ไม้ต้นนี้มีชื่อพ้องว่า L.flos-reginae คือ Flower of the Queen<br />

แปลว่าดอกไม้แห่งราชินี เป็นการยกย่องความงามของดอกไม้นี้อย่างสูง<br />

อินทนิล เป็นไม้สัญลักษณ์ ประจ ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่แทนความ<br />

แข็งแกร่ง บึกบึน ทรหด อดทน ของบรรดาลูกแม่โจ้ เนื่องจากอินทนิลเป็นไม้ยืนต้นที่แข็งแรง อายุยาวนาน<br />

และเจริญเติบโตได้ทุกสภาพของประเทศไทย<br />

ช่อ มีลักษณะเกาะกันเป็นกลุ่มแน่น สีสด "เหมือนความรัก ความสามัคคี และความกลมเกลียวเป็น<br />

น้ าหนึ่งของลูกแม่โจ้" ที่มิมีวันจางหายไป<br />

อินทนิล เป็นต้นไม้ที่เจริญได้ดีในทุกภาคของประเทศไทย เช่น "ลูกแม่โจ้ที่มาจากทุกหนทุกแห่ง" และ<br />

กระจายกันออกไปเจริญเติบโตก้าวหน้าอยู่ทั่วทุกภาค<br />

ทั้งต้น เปลือก ใบ ใช้เป็นยาสมุนไพร "ดุจคุณค่าของบรรดาลูกแม่โจ้" ที่ได้รับได้สร้างประโยชน์ให้กับ<br />

สังคมประเทศชาติ เป็นระยะอันยาวนานกว่าครึ่งทุกภาค<br />

อินทนิลเป็นต้นไม้สัญลักษณ์แม่โจ้ซึ่งมีความคงทนมาก<br />

(1) อินทนิลเป็นสัญลักษณ์แม่โจ้ คงทน นักแล<br />

ฉกาจแกร่งกร าแดดฝน ต่อสู้<br />

บึกบึนเช่นชาวชน<br />

ลูกแม่ โจ้นา<br />

ทุกรุ่นร่วมก าลังกู้ ชื่อก้องเกรียงไกร<br />

(2) อินทนิลเติบโตอยู่ได้ ทุกทิศ แหลมทอง<br />

พันธุ์แพร่เหมือนนิรมิต แม่โจ้<br />

ไพศาลเช่นปวงศิษย์ แยกย้าย ยืนหยัด<br />

ทุกถิ่นไทยรัฐโอ้ อ่าองสามัคคี<br />

(3) อินทนิลผลิตดอกช่อนั้น รวมกันกลีบงาม<br />

ใบชรชุ่มคลุมตลอดพรรษ์ ร่มรื่น<br />

ดุจดั่งโพธิ์ไทรอัน ทรงอยู่<br />

ลูกแม่โจ้ยึดครึกครื้น อยู่ยั้ง ยืนยง


ถอดความ<br />

(1) 1. อินทนิลเป็นต้นไม้สัญลักษณ์แม่โจ้ซึ่งมีความคงทนมาก<br />

2. มีความแข็งแกร่งทนล าบากต่อสู้แดดและฝน<br />

3. มีความอดทนไม่ท้อถอยเช่นเดียวกันกับลูกแม่โจ้<br />

4. ทุกรุ่นได้รวมก าลังกันช่วยท าให้ชื่อเสียงมั่นคงดีอย่างกึกก้อง<br />

(2) 1. อินทนิลสามารถเติบโตได้ทุกแห่งในแผ่นดินอันเป็นแหลมทอง<br />

2. การขยายพันธ์จะแพร่หลายไปได้เหมือนบันดาล ให้มีขึ้นในแม่โจ้<br />

3. ขยายกว้างไกลเช่นเดียวกับศิษย์เก่าที่แยกย้ายกันอยู่อย่างมั่นคง<br />

4. ทุกท้องที่ในแผ่นดินไทยอย่างภาคภูมิในความสามัคคี<br />

(3) 1. อินทนิลผลิตดอกชูช่อชั้นรวมกันทั้งมีกลีบดอกอันสวยงาม<br />

2. ใบเขียวสดชอุ่มคลุมให้รื่นอยู่ได้ตลอดปี<br />

3. เปรียบได้เหมือนร่มโพธิ์ร่มไทรซึ่งจะมั่นคงอยู่<br />

4. ให้ลูก (แม่โจ้) มีใจรื่นเริง สนุก เอิกเกริก อยู่ได้อย่างมั่นคง<br />

แหล่งข้อมูลที่ 3 จาก http://www.e-managev1.mju.ac.th<br />

อินทนิลบก (Largerstroemia Macrocarpa Wall. ex Kurz)<br />

อินทนิลบกเป็นพันธุ์ไม้ยืนต้นขนาดกลางที่ทุกคนควรรู้จัดเป็นอย่างดี เนื่องจากถูกเลือกให้เป็นตัวแทน<br />

สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ความสวยงามของช่อดอกที่เกาะกลุ่มกันแน่น เปรียบได้กับความรักสามัคคีในหมู่<br />

ชาวแม่โจ้ ชื่อ Macrocarpa เป็นค านามเพศหญิงในภาษาละตินของ Macrocarpus แปลว่า “ให้ผลขนาด<br />

ใหญ่” ผลของอินทนิลบกมีรูปไข่ ขนาดใหญ่มากอย่างเห็นได้ชัด ยาวประมาณ 3-4 ซ.ม. (ใหญ่เท่าลูกชิ้น<br />

ปิงปองเลย) และไม่ใช่เฉพาะผลเท่าที่ใหญ่ ไม่ว่า ใบ หรือดอก ก็มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษกว่าพืชชนิดอื่นๆในสกุล<br />

เดียวกัน ใบของอินทนิลบก กว้าง 6 - 18 ซ.ม. ยาว 14 -40 ซ.ม.(ยาวกว่าไม้บรรทัดอีก) เส้นผ่าศูนย์กลางของ<br />

ดอกบานประมาณ 7-12 ซม. ดอกออกเป็นช่อรวมกันยาวประมาณ 30 ซม. มีตั้งแต่สีชมพู ๆไล่โทนไปจนถึงสี<br />

ม่วง ต้นสูงใหญ่ขนาดประมาณ 8- 12 เมตรดังนั้นถ้าสังเกตดู ล าต้น ใบ ดอก ผล ของพันธุ์ไม้ในสกุลนี้แล้ว<br />

พบว่า ทุกอย่างมีขนาดใหญ่ไปหมด ก็ให้คาดเดาไว้ก่อนว่าน่าจะเป็น อินทนิลบก (ภาพที่ 6) Wall. ex Kurz<br />

ซึ่งต่อท้ายชื่อพฤกษศาสตร์ หมายถึงนักพฤกษศาสตร์ 2 ท่าน ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการค้นพบและจ าแนก<br />

ลักษณะของพืชชนิดนี้ ค า ex หมายถึง นักพฤกษศาสตร์ท่านที่ 2 ได้ตีพิมพ์ชื่อและอธิบายลักษณะทาง<br />

พฤกษศาสตร์ชนิดนั้นอย่างเป็นทางการ แต่อ้างอิงตามข้อมูลในการอธิบายลักษณะของนักพฤษศาสตร์ท่านแรก<br />

Wall. เป็นอักษรย่อของชื่อ นาธาเนียล วอลลิช (Nathaniel Wallich) ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วง ปี พ.ศ. 2329-2397<br />

เขาเป็นศัลยแพทย์และนักพฤกษศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ซึ่งเคยท างานด้านการแพทย์ที่ประเทศอินเดีย ต่อมาได้<br />

เขาร่วมงานกับบริษัท อีส อินเดีย และเริ่มท างานด้านพฤกษศาสตร์ เขาเป็นผู้ที่มีบทบาทในการพัฒนาสวน<br />

พฤกษศาสตร์ที่ เมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย และได้สะสมตัวอย่างพรรณไม้ของทวีปอินเดียไว้มากมาย


ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 เป็นช่วงที่เขามีผลงานตีพิมพ์ที่ส าคัญๆหลายชิ้น เกี่ยวกับพฤกษศาสตร์พันธุ์ไม้<br />

ของอินเดียKurz หมายถึง วิลเฮล์ม ซัลพิซ เคิร์ช (Wilhelm Sulpiz Kurz) ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วง ปี พ.ศ. 2377-<br />

2421 เขาเป็นนักพฤกศาสตร์ชาวเยอรมันและเคยเป็น ผู้ดูแลสวนพฤกษศาสตร์โบกอร์ เวสต์จาวา ประเทศ<br />

อินโดนีเซีย<br />

เมื่อรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็น ามานั่งอ่านเพื่อประเมินคุณค่าของหลักฐาน ตอนแรกวิเคราะห์ความ<br />

เป็นไปได้ของหลักฐานก่อนว่าน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด มีแหล่งรับรองข้อมูลหรือไม่ จากนั้นก็อ่านอย่าง<br />

ละเอียดว่าข้อมูลนี้ตรงกันน่าจะเป็นข้อมูลที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ ส่วนอันที่ไม่ตรงกันก็หาหลักฐานเพิ่มเติม<br />

จากนั้นก็ตีความว่าหลักฐานนี้เป็นของแท้จริง มีความสมบูรณ์ สามารถเชื่อถือได้ จึงน าข้อมูลที่น่าเชื่อถือและมี<br />

ความเป็นไปได้มาล าดับเหตุการณ์ จัดให้เป็นระบบ โดยเป็นกลางมากที่สุด เมื่อตีความและล าดับเหตุการณ์<br />

เรียบร้อยแล้วจึงน าข้อมูลมาเรียบเรียงและน าเสนอ ได้ความว่าอินทนิลอยู่ในสกุล Lagersthoemia นี้ตั้งให้เป็น<br />

อนุสรณ์แก่ Magnus Lagersthoem พ่อค้าชาวสวีเดนที่ได้พันธุ์ไม้นี้ไปจากแถบเอเซีย ไม้ต้นนี้มีชื่อพ้อง<br />

ว่า L.flos-reginae คือ Flower of the Queen แปลว่าดอกไม้แห่งราชินี เป็นการยกย่องความงามของ<br />

ดอกไม้นี้อย่างสูง นอกจากนี้อินทนิลเป็นเป็นพรรณไม้ที่ทนต่อสภาพแวดล้อมและเจริญเติบโตในทุกภาคของ<br />

ประเทศไทย เป็นพันธ์ลักษณะที่ดี มีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรือง และอายุยืนนาน<br />

น.ส. วริษฐา หงษ์ศรีทอง ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 21


การศีกษาต้นไม้ในสวนพฤกศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการทาง<br />

ประวัติศาสตร์<br />

ต้นพุทธรักษา<br />

ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1. ก าหนดเป้าหมายหรือประเด็นค าถามที่ต้องการศึกษา<br />

ประวัติความเป็นมาของต้นพุทธรักษา<br />

2. ค้นหาและรวบรวมหลักฐาน<br />

https://www.dmc.tv/pages/scoop/ ดอกพุทธรักษาเป็นไม้ในเขตร้อนตามบันทึกถูก<br />

พบครั้งแรกในหมู่เกาะเวสอินดี้ และแถบอเมริกาใต้ จะพบได้ทั้งในที่ลุ่มและที่ดอนในเขตต่างๆ<br />

อย่างไรก็ตามไม้นี้ถูกน ามาพัฒนา เป็นไม้ประดับและขยายพันธุ์ให้ดีขึ้นโดยชาวยุโรปในช่วงเวลา<br />

หลายปีนั้นต้นไม้ ได้มีการปรับตัวให้ทนกับทุกสภาพอากาศในประเทศต่างๆแม้ว่าสภาพอากาศใน<br />

เขตที่ หนาวจัดเป็นอุปสรรคในการปลูกแต่ถ้าสามารถเข้าใจวงจรการเจริญเติบโตของมัน แล้วการ<br />

ใช้เทคนิคต่างๆ ก็สามารถชนะธรรมชาติได้ในที่สุด<br />

ถ้าเราย้อนหลัง ไปในอดีตสักร้อยปี จะพบว่าดอกพุทธรักษาเป็นไม้ที่ได้รับความนิยมเป็น<br />

อย่างมากและถูกน ามาปลูกอย่าง แพร่หลายในสวนทั้งขนาดเล็กและใหญ่ หลังจากนั้นไม่นาน<br />

ความนิยมก็ลดลงแต่ก็ฟื้นกลับมาอีกจนกระทั่งถึงปัจจุบัน พุทธรักษาเป็นไม้ดอกระดับนานาชาติ<br />

โดยหลายๆประเทศยอมรับให้เป็นไม้หลักในการตกแต่งสถานที่ที่ส าคัญๆ ลักษณะช่อดอกที่หลาก<br />

สีสร้างความเร้าใจให้กับนักจัดสวนยุคใหม่ที่เน้นไม้ที่ ปลูกง่ายและสวยงามอยู่เสมอ<br />

ชื่อไทยของดอกพุทธรักษานั้นไม่มีการบันทึกว่าตั้งโดยผู้ใดแต่เป็นชื่อที่ไพเราะมี<br />

ความหมาย ดอกพุทธรักษาเป็นสัญลักษณ์ตัวแทนวันพ่อ เป็นพันธุ์ไม้ที่มีชื่อเป็นมงคลนาม แปลว่า<br />

พระพุทธเจ้าคอยปกป้องคุ้มครอง เหมาะกับวัฒนธรรมของบ้านเราที่มีศาสนาพุทธเป็นศาสนา


ประจ าชาติที่ชาวพุทธทุกคนควรปกป้องและรักษาไว้ แต่ชื่อสากลที่เรียกว่า แคนนาส์ (Cannas)<br />

มาจากศัพท์ของภาษากรีกที่เขียนเป็นอังกฤษว่า (Kanna) ที่หมายถึง ต้นไม้ที่มีลักษณะคล้ายต้น<br />

อ้อ มีการเรียกไม้<br />

นี้ในต่างประเทศอย่างหลากหลาย อาทิเช่น แคนนา ลิลี่ (Canna lily) อินเดียนช็อตแพล้น<br />

(Indian short plant) ฯลฯ ในประเทศสเปน ชาวบ้านน าเมล็ดที่กลมแข็งสีด ามาใช้ท าลูกปัด<br />

เครื่องดนตรีที่เรียกว่า โฮชา (Hosha) ของชาวซีมบาเว ที่ใช้ในการเขย่านั้นใช้เมล็ดพุทธรักษาเป็น<br />

ส่วนประกอบ<br />

http://oknation.nationtv.tv/blog/Pasinee/2013/12/05/entry-1 “พุทธรักษา”<br />

หมายถึง พระพุทธเจ้าทรงปกป้องคุ้มครอง ให้มีแต่ความสงบสุขร่มเย็น ซึ่งเรียกกันมากว่า 200 ปี<br />

และสีเหลืองอันเป็นสีประจ าวันพระราชสมภพขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ของปวง<br />

ชนชาวไทย<br />

https://www.dek-d.com/lifestyle/12472/<br />

"ดอกพุทธรักษา" เป็นพันธุ์ไม้ที่มีชื่อมงคล โดยชื่อนี้แปลว่า "พระพุทธเจ้าคอยปกป้อง<br />

คุ้มครอง"<br />

นอกจากนี้คนโบราณยังเชื่อว่า ถ้าบ้านไหนปลูกดอกพุทธรักษาไว้ บ้านนั้นก็จะอยู่อย่าง<br />

สงบสุข ไม่เดือดเนื้อร้อนใจ คนในครอบครัวรอดพ้นจากภัยและเรื่องราวร้ายๆที่ย่างกายเข้ามา<br />

และนิยมปลูกไว้ทางทิศตะวันตก และผู้ปลูกควรปลูกในวันพุธ เพราะโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เอา<br />

ประโยชน์ทั่วไปทางดอกให้ปลูกในวันพุธ<br />

3. วิเคราะห์หลักฐาน และตีความหลักฐาน<br />

จากข้อมูลที่ได้มา เป็นการรวบรวมมาจากหลายเว็บไซต์ ซึ่งให้ข้อมูลตรงกัน ท าให้<br />

สามารถ ตีความได้ว่าพุทธรักษาเป็นพรรณไม้ล้มลุกประกอบด้วยกลุ่มของก้านใบแผ่เป็นกาบ<br />

หุ้มประกบกันไว้ ดอกมีสีสันสดใส ชื่อเป็นมงคลสร้างความสบายตาและสบายใจให้ผู้ปลูกหรือ<br />

ผู้พบเห็น<br />

4. สรุปข้อเท็จจริง<br />

ชื่อไทยของดอกพุทธรักษานั้นไม่มีการบันทึกว่าตั้งโดยผู้ใดแต่เป็นชื่อที่ไพเราะมี<br />

ความหมาย ดอกพุทธรักษาเป็นสัญลักษณ์ตัวแทนวันพ่อ เป็นพันธุ์ไม้ที่มีชื่อเป็นมงคลนาม<br />

แปลว่า พระพุทธเจ้าคอยปกป้องคุ้มครอง<br />

5. น าเสนอเรื่องที่ศึกษา<br />

น าเสนอต่ออาจารย์ผู้สอนวิชาประวิตศาสตร์ และเพื่อนๆในห้องเรียน<br />

นางสาวศตกมล ศุภนันทิ เลขที่ 22 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : ต้นราชพฤกษ์<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณตึก 1<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 12 ก.ค. 2560


วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1.การก าหนดเป้าหมาย<br />

ต้นราชพฤกษ์มีความเป็นมาของชื่ออย่างไร<br />

2.การค้นหาและรวบรวมหลักฐาน<br />

หลักฐานที่ 1<br />

“ต้นราชพฤกษ์ หรือ ต้นคูน เป็นต้นไม้พื้นเมืองของเอเชียใต้ ตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย พม่า และศรี<br />

ลังกา โดยนิยมปลูกกันมากในเขตร้อน สามารถเจริญเติบโตได้ดีในที่โล่งแจ้ง และเป็นที่รู้จักในประเทศไทย<br />

มาหลายสิบปี โดยมีการเสนอให้ดอกราชพฤกษ์ เป็นดอกไม้ประจ าชาติไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 แต่ก็ยังไม่ได้<br />

ข้อสรุปแน่ชัด จนกระทั่งมีการลงนามให้เป็นดอกไม้ประจ าชาติไทย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2544<br />

เนื่องจาก ต้นราชพฤกษ์ ออกดอกสีเหลืองชูช่อ ดูสง่างาม อีกทั้งยังมีสีตรงกับ สีประจ าวันพระราช<br />

สมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จึงถูกตั้งชื่อว่าเป็น "ต้นไม้ของในหลวง" และมีการลงนามให้ต้น<br />

ราชพฤกษ์ เป็นหนึ่งใน 3 สัญลักษณ์ประจ าชาติไทย โดยมี 1. ช้าง เป็นสัตว์ประจ าชาติไทย 2. ศาลาไทย<br />

เป็นสถาปัตยกรรมประจ าชาติไทย และ 3. ดอกราชพฤกษ์ เป็นดอกไม้ประจ าชาติไทย<br />

เหตุผลเลือกเป็นดอกไม้ประจ าชาติไทย<br />

1. เนื่องจากเป็นต้นไม้พื้นเมืองที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย และมีอยู่ทุกภาคของประเทศไทย<br />

2. มีประวัติเกี่ยวข้องกับประเพณีส าคัญ ๆ ในไทยและเป็นต้นไม้มงคลที่นิยมปลูก<br />

3. ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น ใช้เป็นยารักษาโรค อีกทั้งยังใช้ล าต้นเป็นเสาเรือนได้ เป็นต้น<br />

4. มีสีเหลืองอร่าม พุ่มงามเต็มต้น เปรียบเป็นสัญลักษณ์แห่งพุทธศาสนา<br />

5. มีอายุยืนนาน และทนทาน<br />

ต้นราชพฤกษ์เป็นต้นไม้มงคลนิยมใช้ประกอบพิธีที่ส าคัญ เช่น พิธีเสาไม้หลักเมือง เป็นส่วนประกอบใน<br />

การท าคฑาจอมพล และ ยอดธงชัยเฉลิมพลของกองทหาร ท าพิธีปลูกบ้าน ฯลฯ คนไทยในสมัยโบราณเชื่อว่า<br />

ควรปลูกต้นราชพฤกษ์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของที่อยู่อาศัย เพื่อให้ผู้ที่อยู่อาศัยในบ้านเรือนมีความ<br />

เจริญรุ่งเรืองเป็นทวีคูณ ซึ่งความเป็นจริงคือทิศดังกล่าวจะได้รับแดดจัดตลอดช่วงบ่าย จึงควรปลูกต้นไม้ใหญ่<br />

เพื่อให้ลดความร้อนและท าให้ประหยัดพลังงานมากขึ้น<br />

คนไทยในสมัยโบราณยังมีความเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นราชพฤกษ์ไว้ประจ าบ้านจะช่วยให้มีเกียรติมีศักดิ์ศรี<br />

ด้วยคนไทยส่วนใหญ่ยอมรับว่าต้นราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ที่มีคุณค่าสูงและยังเป็นสัญลักษณ์ประจ าชาติไทยอีก<br />

ด้วย นอกจากนี้มีความเชื่อว่า ใบของต้นราชพฤกษ์เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพราะในพิธีทางไสยศาสตร์ให้ใบท าน้ า<br />

พุทธมนต์สะเดาะเคราะห์ได้ผลดีดังนั้นจึงถือว่าต้นราชพฤกษ์เป็นไม้มงคลนาม”


ที่มา<br />

http://www.forest.go.th/forestprotect_people/index.php?option=com_content&view=artic<br />

le&id=466&Itemid=521&lang=th (กรมป่าไม้)<br />

หลักฐานที่ 2<br />

ต้นราชพฤกษ์ ต้นไม้ของในหลวง<br />

"ราชพฤกษ์" ตามภาษาบาลีสันสกฤตจะมีความหมายว่า ต้นไม้ของในหลวงหรือต้นไม้ของพระราชา อันมา<br />

จาก "ราชา + พฤกษา"<br />

ที่มา<br />

https://buildsweethome.blogspot.com/2016/10/Cassia-fistula-Tree.html<br />

หลักฐานที่ 3<br />

“ชัยพฤกษ์กับราชพฤกษ์”<br />

สมัยหนึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเคยระบุว่าชัยพฤกษ์ดอกสีเหลือง ส่วนราชพฤกษ์ดอกสีชมพู<br />

แต่ฉบับปัจจุบันใช้กลับกัน และเป็นที่ตกลงกันจนคณะรัฐมนตรีประกาศ ให้ราชพฤกษ์หรือคูณซึ่ง<br />

ว่ามีดอกสีเหลืองเป็นดอกไม้ ประจ าชาติ<br />

ที่มา<br />

http://www.finearts.go.th/olddata/files/thaammaa_tbaip.pdf<br />

หลักฐานที่ 4<br />

ราชพฤกษ์ [ราดชะพฺรึก] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia fistula L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีเหลือง ฝักสี<br />

ด า เกลี้ยง ใช้ท ายาได้ คูน หรือ ลมแล้ง ก็เรียก; ดอกไม้ประจ าชาติ<br />

ด้วยชื่อที่มีความหมายโดดเด่นของราชพฤกษ์ที่แปลว่า ต้นไม้ของพระราชา และเป็นไม้ยืนต้นที่มีดอกสี<br />

เหลืองอร่ามตา ดอกราชพฤกษ์จึงเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ประจ าชาติไทย.<br />

ที่มา<br />

http://www.royin.go.th/?knowledges=%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E<br />

0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0<br />

%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4-%E0%B9%91%E0%B9%90-%E0%B8%A1%E0<br />

%B8%B4%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%99


3.การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

หลักฐานที่ 1 น่าเชื่อถือเพราะเป็นข้อมูลจากเว็บไซต์ที่จัดท าโดย กรมป่าไม้ ซึ่งเป็นองค์กรของรัฐที่เชื่อถือได้<br />

หลักฐานที่ 2 น่าเชื่อถือปานกลาง เพราะไม่ระบุชื่อผู้จัดท า แต่รายละเอียดข้อมูลต้องตรงกันกับหลักฐานอื่นๆ<br />

หลักฐานที่ 3 น่าเชื่อถือเพราะเป็นข้อมูลระบุชื่อผู้จัดท าชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ โดยเป็นข้อมูลที่มา<br />

จากนิตยสารศิลปากรซึ่งเรียบเรียงโดยวีณา โรจนราธา ,นักอักษรศาสตร์เชี่ยวชาญ ส านักวรรณกรรม<br />

และประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร<br />

หลักฐานที่ 4 น่าเชื่อถือเพราะเป็นข้อมูลจากเว็บไซต์ที่จัดท าโดย ส านักงานราชบัณฑิตยสภา ซึ่งเป็น<br />

หน่วยงานที่จัดท าพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานขึ้นใช้เป็นแหล่งอ้างอิงด้านภาษาของประเทศไทย<br />

4.การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

"ราชพฤกษ์" ตามภาษาบาลีสันสกฤตจะมีความหมายว่า ต้นไม้ของในหลวงหรือต้นไม้ของพระราชา<br />

อันมาจาก "ราชา + พฤกษา" และเป็นไม้ยืนต้นที่มีดอกสีเหลืองอร่ามตาตรงกับ สีประจ าวันพระราชสมภพของ<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ประกอบกับอีกหลายเหตุผล เช่น เป็นต้นไม้พื้นเมืองที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ,<br />

มีอยู่ทุกภาคของประเทศไทย, มีประวัติเกี่ยวข้องกับการใช้ในพิธีเสาไม้หลักเมือง , ประโยชน์ได้หลากหลาย,<br />

อายุยืนนาน และทนทาน ดอกราชพฤกษ์จึงเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ประจ าชาติไทย.<br />

5.การน าเสนอ<br />

น าเสนอในรูปแบบรายงาน<br />

น.ส.ศิรภัสสร ฉายประเสริฐกุล ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 23


ชื่อพรรณไม้ ต้นเฟื้องฟ้า หรือ ต้นตรุษจีน<br />

สถานที่ปลูก หน้าตึก 1<br />

วันที่ถ่ายภาพ 31 มิถุนายน 2560


วิธีการทางประวัติศาสตร์ กับความเป็นมาของชื่อ ต้นเฟื่องฟ้า-ตรุษจีน<br />

1.การก าหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา :ความเป็นมาของชื่อ เฟื้องฟ้า-ตรุษจีน<br />

2.การรวบรวมหลักฐาน:<br />

โดบรวบรวมจากข้อมูลทางอินเทอร์เนตที่มีความน่าเชื่อถือ พอสมควร ยกตัวอย่างข้อมูลบางส่วนจาก<br />

http://www.homedecorthai.com/articles/Fuengfah ซึ่งเป็นหลักฐานชั้นรองที่ 1<br />

‘คนไทยโบราณมีความเชื่อว่า หากบ้านใดปลูกต้นเฟื่องฟ้าไว้เป็นไม้ประจ าบ้านจะสามารถช่วยสร้างคุณค่า<br />

ของชีวิตให้สูงขึ้น เนื่องจากต้นเฟื่องฟ้าเป็นพรรณไม้ที่ได้รับสมญานามว่าเป็น “ราชินีแห่งไม้ประดับ”<br />

นอกจากนี้คนไทยโบราณยังมีความเชื่ออีกว่า ต้นเฟื่องฟ้าเป็นไม้มงคลส าคัญของเทศกาลตรุษจีน เพราะต้น<br />

เฟื่องฟ้าสามารถออกดอกได้บานสะพรั่งในช่วงเทศกาลตรุษจีน (จึงเป็นที่มาของการเรียกต้นเฟื่องฟ้าว่า “ต้น<br />

ตรุษจีน”) ดังนั้นจึงมีความเชื่อว่า เมื่อช่วงดอกเฟื่องฟ้าบานจะแสดงถึงความเบิกบาน สว่างไสว และความ<br />

รุ่งเรืองที่ก้าวไกลแห่งชีวิต และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อยู่อาศัย ควรปลูกต้นเฟื่องฟ้าไว้ทางทิศ<br />

ตะวันออก และผู้ปลูกควรปลูกในวันพุธเพื่อเอาคุณ ถ้าจะให้เป็นสิริมงคลยิ่งขึ้น ผู้ปลูกควรเป็นสตรี เพราะ<br />

เฟื่องฟ้าเป็นราชินีแห่งไม้ประดับ จึงเหมาะสมอย่างยิ่งกับสุภาพสตรี’


จากแหล่งอ้างอิงอีกแหล่งที่ 2 http://puechkaset.com/เฟื่องฟ้า/ ซึ่งเป็นหลักฐานชั้นรอง<br />

‘การเป็นมงคลเฟื่องฟ้า. คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นเฟื่องฟ้าไว้ประจ าบ้าน<br />

สามารถสร้างคุณค่าของชีวิตให้สูงขึ้น เพราะเฟื่องฟ้าเป้นพรรณไม้ ที่ได้รับสมญาว่า<br />

เป็นราชินีแห่งไม้ประดับเนื่องจากสามารถน าเฟื่องฟ้าไปใช้ประโยชน์ในด้าน<br />

สุนทรียภาพเพื่อประดับสวนอาคาร บ้านเรือนและสถานที่ส าคัญต่างๆนอกจากนี้คน<br />

ไทยโบราณยังมีความเชื่ออีกว่าเฟื่องฟ้าเป็นไม้มงคลท าส าคัญของเทศกาลตรุษจีน<br />

เพราะต้นเฟื่องฟ้าสามารถออกดอกสะพรั่งในช่วงเทศกาลตรุษจีนจึงท าให้บางคนเรียก<br />

ต้นเฟื่องว่าว่าต้นตรุษจีนดังนั้นบางคนเชื่อ ว่า เมื่อช่วงดอกเฟื่องฟ้าบานแสดงถึง ความ<br />

เบิกบาน สว่างไสว ความรุ่งเรือง ที่ก้าวไกลแห่งชีวิต<br />

ต าแหน่งที่ปลูกและผู้ปลูกเฟื่องฟ้า.<br />

เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อาศัย ควรปลูกต้นเฟื่องฟ้า ไว้ทางทิศตะวันออก ผู้ปลูก<br />

ควรปลูกในวันพุธ เพราะโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เพื่อเอาประโยชน์ทั่วไปทางด้าน ให้<br />

ปลูกในวันพุธ และถ้าจะให้เป็นสิริมงคลยิ่งขึ้น ผู้ปลูกควรเป็นสตรี เพราะเฟื่องฟ้าเป็นราชินีแห่งไม้ประดับ<br />

ดังนั้นชื่อจึงเหมาะสมอย่างยิ่งกับสุภาพสตรี’<br />

แหล่งข้อมูลที่ 3 http://www.thaikasetsart.com/การปลูกและการขยายพันธุ-2/ เป็นหลักฐานชั้นรอง<br />

‘เฟื่องฟ้าปลูกเลี้ยงได้ตั้งแต่คนจนไปจนถึงเศรษฐีหรืออภิมหาเศรษฐี เฟื่องฟ้าเป็นไม้ประดับที่มีราคาต่ าสุด<br />

ตั้งแต่กระถางละ 20 บาทขึ้นไปจนถึงโคตรแพงราคาต้นละเป็นหมื่นบาทขึ้นไปเรียกว่าใครมีเงินน้อยก็ลงทุน<br />

น้อย ใครมีเงินหนาก็ลงทุนเยอะหน่อย พูดง่าย ๆ ก็คือเป็นไม้ที่คนจนก็มีสิทธิที่จะปลูกได้<br />

ประวัติและถิ่นก าเนิดของเฟื่องฟ้า<br />

เฟื่องฟ้าเป็นไม้เลื้อยมีหนาม มีถิ่นก าเนิดดั้งเดิมในทวีปอเมริกาใต้ ได้มีผู้น าเข้าไปยังทวีปยุโรป หลังจากนั้นก็<br />

ได้มีผู้น าเฟื่องฟ้าเข้าไปในทวีปเอเซีย เช่น ประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ ส าหรับในประเทศไทยนั้น<br />

เชื่อกันว่ามีการสั่งพันธุ์เฟื่องฟ้าเข้ามาครั้งแรกจากประเทศสิงคโปร์ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2423 ซึ่งตรงกับสมัย<br />

รัชกาลที่ 5 และเนื่องจากเฟื่องฟ้านั้นส่วนใหญ่จะออกดอกบานสะพรั่งช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งตรงกับเทศกาล<br />

ตรุษจีนพอดี ชาวบ้านในระยะนั้นจึงนิยมเรียกกันว่า “ดอกตรุษจีน”<br />

ความนิยม “เฟื่องฟ้า” ในประเทศไทยนั้นบางครั้งก็โด่งดังเป็นพลุ บางครั้งก็ซบเซาเงียบเหงาเช่นเดียวกับไม้<br />

ประดับชนิดอื่น ๆ เช่น โกสน บอนสี ขึ้นอยู่กับยุคสมัย ซึ่งต่อมาในช่วงระยะหลัง ๆ นี้ ก็ได้มีผู้น าพันธุ์เฟื่องฟ้า<br />

จากต่างประเทศเข้ามามากมายหลายพันธุ์’<br />

3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน:<br />

3.1) การประเมินคุณค่าภายนอกหรือวิพากษ์วิธีภายนอก<br />

เนื่องจากแหล่งข้อมูลที่ 1 เป็นเว็บไซต์เกี่ยวกับการตกแต่งบ้าน และสวน และทางผู้เขียนได้จ าแนกบทความนี้ไว้<br />

ว่าเป็น “บทความ > จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ ป้ายแกะสลัก หินอ่อน หินแกรนิต” จึงอาจมีการบิดเพี้ยนเพื่อให้<br />

ข้อมูลเชิงบวก ซึ่งมีผลต้อยอดการสั่งจองต้นไม้ หรือยอดการสั่งซื้ออุปกรณืตกแต่ง (เป็นไปเพื่อการโฆษณา)<br />

เนื่องจากเว็บไซต์ที่ 2 เป็นเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการให้ความรู้แก่เกษตรกร จึงมีความน่าเชื่อถือในระดับหนึ่งได้ ทั้ง<br />

ยังมีข้อมูลเพื่อการติดต่อสอบถามได้ และ เมื่อลองเข้าไปส ารวจเว็บไซต์ดังกล่าวแล้วนั้นจะพบว่า มีข้อมูลอื่นๆที่


เกี่ยวกับการเกษตรอีกหลายบทความ ทั้งเขายังได้<br />

สอดแทรกความรู้ท้องถิ่น หรือความรู้ของชาวบ้าน(ภูมิ<br />

ปัญญาท้องถิ่น)<br />

เนื่องจากเว็บไซต์ที่ 3 แม้จะเป็นหลักฐานชั้นรองแต่ก็มี<br />

ความน่าเชื่อถือมากพอสมควร<br />

เนื่องจากมีข้อมูลติดต่อให้สอบถาม หรือค้นคว้าเพิ่มเติม<br />

ดังที่เห็นได้จากภาพอ้างอิงด้านล่างและ ข้อมูลอื่นๆ<br />

อย่างวิธีการปลูกก็มีความถูกต้อง แม่นย าตรงกับ<br />

นิตยสารบ้านและสวน อีกทั้งยังระบุชื่อผู้เขียนคือ<br />

คุณสันติ สันติธรรมสุนทร<br />

จึงอาจกล่าวได้ว่า หลักฐานชั้นรองที่ 3นี้มีความ<br />

น่าเชื่อถือ พอๆกับหลักฐานชั้นที่สอง<br />

(จากยอดผู้ชมที่เข้าดู นั้นเห็นได้ถึงความไว้วางใจจากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตอสม) และมากกว่าหลักฐานชั้นรองที่ 1<br />

3.2) การประเมินคุณค่าภายในหรือวิพากษ์วิธีภายใน -พิจารณา<br />

หลักฐานชั้นรองที่ 1เมื่อพิจารณาถึงรูปแบบวิธีการเขียนบทความค่อนข้างเน้นไปในเชิงวิชาการ และทาง<br />

แหล่งข้อมูลนั้นได้มีการแสดงชื่อของผู้เขียน และที่อยู่ของร้านค้าไว้อย่างชัดเจน พร้อมระบุวันที่ที่มีการเผยแพร่<br />

ออกมา ทั้งยังสามารถตรวจสอบได้ว่าข้อมูลดังกล่าวในเว็บไซต์นี้นั้นตรงกับแหล่งข้อมูลอื่นๆในอินเทอร์เน็ต แต่<br />

อย่างไรก็ตาม ควรมีการตรวจสอบ และวิเคราะห์ก่อนเชื่ข้อมูล<br />

-เมื่อพิจารณาหลักฐานชั้นรองที่ 2 และ3 ข้อมูลและ เนื้อหาค่อนข้างมีความเป็นวิชาการพอสมควร และ<br />

รูปแบบของเว็บไซต์นั้นก็ไม่ได้มีการขายของ หรือโฆษณา เพื่อขายต้นไม้อย่าง หลักฐานที่ 1 อีกทั้งมีการเปิดเผย<br />

แหล่งที่อยู่ให้ติดต่อ จึงสามารถเชื่อถือได้ในระดับหนึ่ง แต่ในหลักฐานที่ 3 จะมีข้อบกพร่องคือการมีการแสดง<br />

ความคิดเห็นของผู้เขียน อย่างเช่น ‘เฟื่องฟ้าปลูกเลี้ยงได้ตั้งแต่คนจนไปจนถึงเศรษฐีหรืออภิมหา<br />

เศรษฐี เฟื่องฟ้าเป็นไม้ประดับที่มีราคาต่ าสุดตั้งแต่กระถางละ 20 บาทขึ้นไปจนถึงโคตรแพงราคาต้นละเป็น<br />

หมื่นบาทขึ้นไปเรียกว่าใครมีเงินน้อยก็ลงทุนน้อย ใครมีเงินหนาก็ลงทุนเยอะหน่อย พูดง่าย ๆ ก็คือเป็นไม้ที่คน<br />

จนก็มีสิทธิที่จะปลูกได้<br />

ส่วนใครจะซื้อแบบกระถางเล็กหรือซื้อประเภทต้นตอเฟื่องฟ้าขนาดใหญ่ฟอร์มดี ๆ ก็ขึ้นอยู่กับฐานะทาง<br />

เศรษฐกิจในกระเป๋าของแต่ละคนว่า กระเป๋าใบโต ๆ หรือใบเล็กกระจิ๊ดริด และก็อย่างเพิ่งไปดูถูกดูแคลนพวก<br />

กระเป๋าใบจิ๋ว ๆ ก็แล้วกัน เพราะเผลอ ๆ เขาอาจจะดวงดีได้เป็นเจ้าของเงินแสนเงินล้านเพราะขายเฟื่องฟ้าให้<br />

คุณก็ได้ เรื่องอย่างนี้แล้วแต่ดวงใครดวงมัน ลงมีดวงเศรษฐีซะอย่างยังไง ๆ ก็ต้องเป็นเศรษฐีเข้าจนได้’ จึงต้อง<br />

มีการเลือกและจับประเด็นที่ใํความน่าจะเป็น หรือความถูกต้อง ซึ่งปราศจากความคิดเห็นของผู้เขียน<br />

4.การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล<br />

ค าว่า ตรุษจีนจากที่ข้อมูลที่กล่าวมานั้นว่ามักจะออกดอกบานสะพรั่งในช่วงเวลาของเทศกาลตรุษจีน หาดูตาม<br />

สายพันธุ์ตรุษจีนเวลาออกดอก คือช่วงประมาณเดือน มกราคม-เดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งตรุษจีน เป็นวันหยุดตาม<br />

ประเพณีของจีนที่ส าคัญที่สุด ในประเทศจีน ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า "เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ" นั้นก็คือช่วงเวลาผลิใบ<br />

ออกดอกของต้นไม้โดยทั่วไป ซึ่งรวมถึงต้นเฟื้องฟ้า/ตรุษจีน แต่หากท าการค้นคว้าจริงๆแล้วนั้นต้นเฟื้องฟ้านั้น


สามารถออกดอกได้ตลอดทั้งปี แต่ท าไมคนโบราณถึงเรียกชื่อโดยอิงจากช่วงเวลาสั้นๆของเทศกาลตรุษจีน<br />

เท่านั้น จากการวิเคราะห์แล้ว ตรุษจีน คือเทศกาลของชาวจีน รวมถึงชาวไทยเชื้อสายจีนอย่างที่หลักฐานทาง<br />

ประวัติศาสตร์ หลายเล่มได้กล่าวถึงชาวจีนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ว่ามีความขยันอดทน ท างาน<br />

ตลอดปี และมีความสามารถในการค้าขายอย่างมาก ซึ่งเวลาพักจากการท างานของชาวจีนที่เป็นเทศกาลเฉลิม<br />

ฉลอง พักผ่อนก็คือเทศกาลตรุษจีน ซึ่งหมายถึงว่าเขามีเวลาที่จะมานั่งพักผ่อนเพลิดเพลิน หรือ ชื่นชม<br />

สิ่งแวดล้อมรอบบ้านอย่างชัดเจน จนเห็นถึงความงามและ การผลิดอกเต็มต้นของต้นไม้หน้าบ้าน(ต้นเฟื้องฟ้า)<br />

และการที่ชาวไทยเรียกต้นไม้ต้นนี้ว่าต้องเฟื่องฟ้า อาจเนื่องจากการที่ลักษณะการออกดอกของมันไม่ได้กระจุก<br />

เพียงส่วนใดส่วนหนึ่งของต้น แต่กระจายออกไปทั่งต้น เหมือนดอกไม้ที่ออกเต็มท้องฟ้า หรือในอีกแง่ถึงคือการ<br />

ที่ต้นไม้ต้นนี้ไปปลูกบริเวณหน้าร้านค้าชาวจีน(ดังเห็นได้จากมีการเรียกชื่อว่า ต้นตรุษจีน ซึ่งค าว่าตรุษจีน ชาว<br />

ไทยแท้ๆคงไม่เรียนกัน) ที่มีความขยันอดทน รุ่งเรือง เฟื้องฟู อาจส่งผลท าให้เกิดความเชื่อว่าหากผู้ใดปลูกต้นไม้<br />

ชนิดนี้แล้วจะมีรุ่งเรืองเหมือนพ่อค้าชาวจีน หรือหาพิจารณาถึงการออกเสียงของชื่อคือ เฟื้องฟ้า-เฟื้องฟูนั่นเอง<br />

สามารถสรุปได้ว่า การที่ใช้ค าว่าค าว่าตรุษจีน หรือเฟื้องฟ้านั้นแฝงไปด้วยความเจริญรุ่งเรืองทั้งตวามสุข เงิน<br />

ทอง หน้าที่การงาน ครอบครัว จึงอาจจะมีที่มาได้จาหลากหลาย ทั้งเรื่องของเทศกาลการออกดอก สถานที่พบ<br />

เห็นได้ในอดีตอย่างปลูกบริเวณชุมชนการค้าของชาวจีน หรือแม้แต่ค าทางการออกเสียงที่คล้องกับค าว่า เฟื้อง<br />

ฟู (ในลักษณะเดียวกันกับค าว่า ขนุน มีความคล้องเสียงกับ เอื้อหนุน ค าํจุน)<br />

5.การเรียบเรียงหรือการน าเสนอ:<br />

น าเสนออกมาในรูปเล้ม หรือ flip book ส่งน าเสนอที่ หน้าwall อาจารย์ผู้สอน<br />

(คุณครูสยมภู)<br />

นางสาวสวภัทร เกริกก้องกิดาการ ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 24


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่าน<br />

วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ หางนกยูงฝรั่ง<br />

สถานที่ปลูก ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่นมาลากุล<br />

วันที่ถ่ายภาพ 31 กรกฎาคม 60<br />

1. ก าหนดเป้าหมาย<br />

ชื่อต้นหางนกยูงฝรั่งมีที่มาอย่างไร<br />

2. รวบรวมหลักฐาน<br />

ได้รวบรวมหลักฐานจากเว็บไซต์ต่างๆ ได้แก่<br />

- https://th.wikipedia.org/wiki/หางนกยูงฝรั่ง และ https://th.wikipedia.org/wiki/หางนกยูง<br />

ฝรั่ง<br />

- http://www.bloggang.com บทความ หัวข้อหางนกยูงไทย - ซอมพอ(ดอกไม้ล้านนา) โดย คน<br />

นอกลู่นอกทาง<br />

- https://www.gotoknow.org/posts/126681 บทความหัวข้อดอกซอมพอ ดอกไม้ที่ฉันรัก โดย<br />

กรรณิการ์ วิศิฏ์โชติอังกูร


- http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royalinstitute/%E0%B8%AB%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%99<br />

3. วิเคราะห์หลักฐาน<br />

หลักฐานที่รวบรวมมาได้นั้นมีความน่าเชื่อถือ ชัดเจน และมีเนื้อหาที่สอดคล้องกัน<br />

4. การสรุปข้อเท็จจริง<br />

เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นก าเนิดเดิมอยู่บนเกาะมาดากัสการ์ ทวีปแอฟริกา ค้นพบครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ. 2367<br />

โดยนักพฤกษศาสตร์ ชาวออสเตรเลีย ในประเทศไทยมีผู้น าเข้ามาปลูกเพื่อความสวยงามโดยปัจจุบันมีต้นหาง<br />

นกยูงสองชนิดคือหางนกยูงฝรั่ง และหางนกยูงไทยที่มีเป็นไม้พุ่มและดอกสีสดใสหลากสี<br />

ต้นหางนกยูงนั้นมีหลายชื่อแตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่ ได้แก่ หางนกยูง, หางนกยูงฝรั่ง, ซอมพอชม<br />

พอหลวง, ส้มพอหลวง(ภาคเหนือ), หงอนยูง(ภาคใต้) และยูงทอง(มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)<br />

ชื่อ หางนกยูง, หางนกยูงฝรั่ง นั้น ไม่มีประวัติการตั้งชื่อที่ชัดเจน แต่คาดว่ามีที่มาจากลักษณะของดอก<br />

ซึ่งมีสีสันสวยงาม มี 5 กลีบ ขอบของกลีบจะยับย่นเป็นเส้นลอนสีเหลือง สีแดง สีส้ม หรือสีชมพู เกสรอยู่กลาง<br />

ดอกเป็นเส้นงอนยาวโผล่พ้นเหนือดอกออกมา คล้ายคลึงกับหางของนกยูงตัวผู้เมื่อร าแพนออกมา<br />

ส่วนชื่อ ซอมภอ ชมพอหลวง หรือส้มพอหลวงนั้น เป็นชื่อที่คนเหนือใช้เรียกดอกหางนกยูง<br />

ซึ่งพจนานุกรมฉบับล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง ได้ให้ความหมายไว้ดังนี้ “(ชม.) น. หางนกยูงฝรั่ง --- ชื่อ<br />

เรียกพรรณไม้ยืนต้นจากต่างประเทศ ชนิด ในวงศ์ Leguminosae ล าต้นและกิ่งไม่มีหนาม ดอกสีแดงหรือแสด<br />

ออกดอกหน้าร้อนปีละครั้ง” ดอกซอมภอนับเป็นสัญลักษณ์หนึ่งของประเพณีล้านนาที่จะเอาดอกซอมพอ ใส่<br />

ขันใช้รดน้ าด าหัว มีกวีล้านนาได้เอ่ยถึงดอกไม้นี้ไว้มากมาย เช่น "ซอมพอ"กิ่งเสิ้งตังดอก"หอมไกล๋”<br />

ชื่อหงอนยูง ใช้เรียกในภาษาใต้ ประกอบด้วยค าว่าหนอกนและยูง โดยที่ หงอน หมายถึงขนหรือเนื้อที่<br />

งอกขึ้นบนหัวไก่และนกบางชนิด โดยปริยายใช้เรียกของที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ค้อนหงอน ขวานหงอน ในที่นี้<br />

น่าจะหมายถึงหงอนของนกยูงนั่นเอง นับเป็นการตั้งชื่อตามลักษณะของดอกไม้เช่นเดียวกับชื่อ หางนกยูง<br />

นอกจากนี้ หางนกยูงฝรั่งยังเป็นต้นไม้พระราชทานให้เป็นต้นไม้ประจ ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชาว<br />

ธรรมศาสตร์เรียกว่า "ต้นยูงทอง" ยูงทอง เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ล าดับที่ 36 พระบาทสมเด็จพระปรมินทร<br />

มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประพันธ์ท านองและพระราชทานให้เป็นเพลงประจ ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อ<br />

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 ชื่อ "ยูงทอง" มาจากหางนกยูงฝรั่งซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ<br />

ดุลยเดชทรงปลูกไว้ห้าต้นที่หน้าหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และต่อมาเป็นต้นไม้ประจ า<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

5. น าเสนอ<br />

น าเสนอข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ในรูปแบบรายงานร้อยแก้ว<br />

นางสาวสุจิรา ศิริกุล เลขที่ 25 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการทาง<br />

ประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : หูกวาง<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณตึกสอง<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 2 ส.ค. 2559


วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1.ก าหนดหัวข้อที่จะศึกษา<br />

ต้นหูกวางมีที่มาอย่างไร และมีความเป็นมาอย่างไร<br />

2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูล<br />

-ชื่อวิทยาศาสตร์: Terminalia catappa L.<br />

ชื่อสามัญ: Bengal Almond, Indian Almond, Sea Almond, Singapore Almond, Tropical Almond,<br />

Olive-Bark Tree, Umbrella Tree<br />

ชื่ออื่น: โคน (นราธิวาส), ดัดมือ ตัดมือ (ตรัง), ตาปัง (พิษณุโลก, สตูล), ตาแปห์ (มลายู - นราธิวาส), หลุมปัง<br />

(สุราษฎร์ธานี )<br />

วงศ์: COMBRETACEAE<br />

ในความเชื่อของจีนใบหูกวางแสดงถึงความมีบุญญาบารมีและวาสนา เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ที่อยู่ใน “ลก” คือ<br />

ความเจริญรุ่งเรือง จากอุดมคติแห่งความสุขในชีวิตชาวจีน “ฮก ลก ซิ่ว” นั่นเอง<br />

http://tucelebplants.blogspot.com/2014/01/55.html?m=1<br />

-หูกวาง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Terminalia catappa) เป็นไม้ยืนต้นประเภทผลัดใบ มีความสูงประมาณ 8-<br />

25 เมตร มีเปลือกเรียบ กิ่งแตกรอบล าต้นตามแนวนอนเป็นชั้น ๆ คล้ายฉัตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับถี่<br />

ตอนปลายกิ่ง ใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลมเป็นติ่งสั้น ๆ โคนใบสอบแคบ เว้า ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ<br />

ขนาดเล็ก มีสีขาวนวล ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ผลเป็นรูปไข่หรือรูปรีป้อม ๆ แบนเล็กน้อยคล้าย<br />

เมล็ดแอลมอนด์ มีขนาดกว้างประมาณ 2-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร มีสีเขียว เมื่อแห้งมีสี<br />

ด าคล้ า นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ<br />

https://th.m.wikipedia.org/wiki<br />

-ต้นหูกวาง เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วไปในทุกจังหวัดของไทย นิยมปลูกเพื่อวัตถุประสงค์การให้ร่มเงา และเนื้อ<br />

ไม้เป็นหลัก เนื่องจากมีใบใหญ่ สีเขียวสวยงาม โดยเฉพาะในฤดูการแตกใบใหม่ มักพบปลูกในสถานที่ราชการ<br />

หรือที่สาธารณะต่างๆ เพื่อให้มีร่มเงาบังแดด ต้นหูกวาง (Tropical Almond หรือ India Almond) มีชื่อตาม<br />

ท้องถิ่นที่เรียกกันตามจังหวัด เช่น โคน ตาแป่ห์ (นราธิวาส) ดัดมือ ตัดมือ (ตรัง) ตาปัง (พิษณุโลก และสตูล)<br />

หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางที่มีความสูงประมาณ 15-20 เมตร จัดเป็นไม้ผลัดใบ จัดอยู่ใน<br />

วงศ์ Combretaceae ชนิดที่พบในประเทศไทยคือ Terminalia ถิ่นก าเนิด - ป่าชายหาด ตามโขดหินริมทะเล<br />

http://puechkaset.com


-ชื่ออื่นๆ โคน ดัดมือ ตัดมือ , ตาปัง , ตาแปห์ , หูกวาง , หลุมปัง<br />

ถิ่นก าเนิด ป่าชายหาด ตามโขดหินริมทะเล<br />

ประเภท<br />

ไม้ยืนต้น<br />

รูปร่างลักษณะ - ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 8-20 เมตร เปลือกเรียบ แตกกิ่งตามแนวนอนเป็นชั้นๆ<br />

- ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับถี่ตอนปลายกิ่ง แผ่นใบรูปไข่กลับ กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 12-25 เซนติเมตร<br />

- ดอก เล็ก สีขาวนวล ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน<br />

- ผล รูปไข่หรือรูปรีแบนเล็กน้อย กว้าง 2-5 เซนติเมตร ยาว 3-7 เซนติเมตร<br />

การขยายพันธุ์ - ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด<br />

สภาพที่เหมาะสม - ดินร่วนปนทราย ระบายน้ าได้ดี ขึ้นตามหาดทราย และขึ้นได้ทั่วไป<br />

ประโยชน์ - เปลือกและผล มีรสฝาดมาก ใช้แก้ท้องเสีย ฟอกหนังสัตว์ ท าหมึก เมล็ดในผล รับประทานได้ ให้<br />

น้ ามันคล้ายอัลมอนด์<br />

https://sites.google.com/site/swnphvssastrm5442/tn-hukwang<br />

3.การวิเคราะห์และตีความข้อมูล<br />

ข้อมูลเขียนตรงกันทุกอันว่าต้นหูกวางเป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นก าเนิดตามป่าชายหาด ตามโขดหินริมทะเล สามารถ<br />

พบได้ทั่วไปในทุกจังหวัดของไทย และมีชื่อตามท้องถิ่นที่เรียกกันตามจังหวัด พร้อมได้ให้ตัวอย่างชื่อของต้นหู<br />

กวางในแต่ละจังหวัดมาด้วย ซึ่งทุกชื่อที่ให้มาตรงกันท าให้หลักฐานมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น<br />

4.สรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

ต้นหูกวางเป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นก าเนิดตามป่าชายหาด ตามโขดหินริมทะเล พบได้ทั่วไปในทุกจังหวัดของไทย<br />

นิยมปลูกเพื่อวัตถุประสงค์การให้ร่มเงา และเนื้อไม้เป็นหลัก เนื่องจากมีใบใหญ่ สีเขียวสวยงาม โดยเฉพาะใน<br />

ฤดูการแตกใบใหม่ มักพบปลูกในสถานที่ราชการหรือที่สาธารณะต่างๆ เพื่อให้มีร่มเงาบังแดด) มีชื่อตาม<br />

ท้องถิ่นที่เรียกกันตามจังหวัด เช่น โคน ตาแป่ห์ (นราธิวาส) ดัดมือ ตัดมือ (ตรัง) ตาปัง (พิษณุโลก และสตูล)<br />

หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี)


5.การเรียบเรียงและน าเสนอข้อมูล<br />

หูกวาง เป็นไม้ยืนต้นประเภทผลัดใบ มีความสูงประมาณ 8-25 เมตร มีเปลือกเรียบ กิ่งแตกรอบล าต้นตาม<br />

แนวนอนเป็นชั้น ๆ คล้ายฉัตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับถี่ตอนปลายกิ่ง ใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลมเป็นติ่ง<br />

สั้น ๆ โคนใบสอบแคบ เว้า ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ขนาดเล็ก มีสีขาวนวล ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-<br />

เมษายน ผลเป็นรูปไข่หรือรูปรีป้อม ๆ แบนเล็กน้อยคล้ายเมล็ดแอลมอนด์ มีขนาดกว้างประมาณ 2-<br />

5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร มีสีเขียว เมื่อแห้งมีสีด าคล้ า นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ มีถิ่น<br />

ก าเนิดตามป่าชายหาด ตามโขดหินริมทะเล พบได้ทั่วไปในทุกจังหวัดของไทย<br />

น.ส.สุฉันท์สินี โล่ห์ดาบชัย เลขที่26 ห้อง74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ ลีลาวดี , ลั่นทมขาว<br />

สถานที่ปลูก บริเวณตึกศิลปะ หน้าศาลาปิ่นหทัย<br />

วันที่ถ่ายภาพ 26 มิถุนายน 2560


การศึกษาข้อมูลผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1.ก าหนดเป้าหมาย<br />

ท าไมพันธุ์ไม้นี้ถึงมีชื่อว่า ลีลาวดี<br />

2.รวบรวมหลักฐาน<br />

ได้รวบรวมหลักฐานจาก<br />

http://www.panmai.com/Tip/Tip13/Tip13.shtml<br />

“ดอกลีลาวดี หรือชื่อเดิมก็คือ ดอกลั่นทม ซึ่งคนไทยสมัยก่อนมักเข้าใจว่า เป็นดอกไม้อัปมงคล ไม่นิยมปลูก<br />

ในบ้าน แต่มักนิยมปลูกตามวัด หรือป่าช้า รวมถึงที่สาธารณะ เพราะเหตุที่มักเข้าใจกันว่ามีชื่อใกล้ไปทางค าว่า<br />

ระทม หากปลูกจะท าให้มีแต่ความระทม ความทุกข์ ความเศร้าหมอง แต่ถ้าศึกษาด้านภาษาจริงๆ แล้ว ค าว่า<br />

ลั่นทม เป็นค าผสมจากค าว่า "ลั่น" กับค าว่า "ทม" ซึ่งค าว่า "ลั่น" นั้นมีความหมายว่า ละทิ้ง เลิก ค าว่า "ทม" มา<br />

จากค าว่า ระทม ความระทม ความเศร้าหมอง เมื่อน ามารวมกันจึงมีความหมายถึง ละทิ้งความระทม ละทิ้ง<br />

ความเศร้าหมองต่างๆ นั่นก็คือการมีแต่ความสุขสดใส นั่นเอง<br />

ปัจจุบันมีการเปลี่ยนเรียกชื่อ "ลั่นทม" ใหม่ว่า "ลีลาวดี" ซึ่งชื่อใหม่นี้มีความเป็นมาอย่างไรและเพื่อ<br />

ผลประโยชน์อันใดไม่ปรากฏแน่ชัด แต่ที่ผ่านมามีกลุ่มบุคคลแอบอ้างโดยอ้างว่าชื่อใหม่ของ "ลั่นทม" หรือ "ลีลา<br />

วดี" นั้น เป็นชื่อที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานให้เพื่อเป็นสิริมงคล<br />

เนื่องจากไม้ชนิดนี้เป็นพรรณไม้มงคล แต่กลับเรียกว่า "ลั่นทม" การแอบอ้างชื่อใหม่ของต้น "ลั่นทม" ในลักษณะ<br />

เช่นนี้ สร้างความสับสนให้กับสังคมเป็นอย่างมาก เพราะคนจ านวนไม่น้อยเข้าใจคลาดเคลื่อนและเชื่อว่าเป็นชื่อ<br />

พระราชทานจริง แม้แต่สื่อมวลชนบางคนยังเชื่อเช่นนั้นเหมือนกัน การที่แอบอ้างว่าชื่อ "ลีลาวดี" เป็นชื่อ<br />

พระราชทานนี้เอง ท าให้ธุรกิจการเพาะพันธุ์ต้น "ลีลาวดี" คึกคักเป็นอย่างมาก เพราะ "ลีลาวดี" เป็นต้นไม้ที่มี<br />

ความสวยงาม สามารถมาดัดแปลงให้เป็นไม้ดอก ไม้ประดับ ที่มีดอกหลากหลายสีได้ บางต้นมีดอกถึง 3 สีในต้น<br />

เดียวกัน จึงท าให้ทุกวันนี้ คนไทยหันมานิยมปลูกเลี้ยงต้น "ลีลาวดี" บริเวณบ้านกันมากขึ้น ทั้งที่ในอดีตมีความ<br />

เชื่อว่า ต้น "ลั่นทม" ปลูกในบ้านจะท าให้คนในบ้านมีแต่ความทุกข์ระทม เพื่อให้เป็นที่เข้าใจอย่างทั่วถึงและ<br />

เป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงมีการชี้แจงว่า "ลีลาวดี" ไม่ใช่ชื่อพระราชทานแต่อย่างใด โดยกองบ ารุงรักษา<br />

อุทยาน สวนจิตรลดา ได้ยืนยันว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไม่ได้พระราชทานนาม<br />

"ลีลาวดี" และทรงทักท้วงเกี่ยวกับเรื่องนี้มาแล้วในหลายโอกาส ฉะนั้นต่อไปนี้ ได้โปรดเข้าใจให้ถูกต้องว่า ชื่อ<br />

ใหม่ของ "ลั่นทม" ที่เปลี่ยนมาเป็น "ลีลาวดี" นั้นมีคนอื่นตั้งชื่อกันเอง ไม่ใช่ชื่อพระราชทานตามที่เข้าใจกันแต่<br />

อย่างใด...”<br />

http://www.travelthaimagazine.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=575<br />

298&Ntype=31


“ลั่นทม ความเชื่อแต่เดิมเข้าใจผิดไป ด้วยเหตุที่ออกเสียงได้พ้องกับค าว่า ระทม ซึ่งแปลว่า โศกเศร้าเสียใจ<br />

แต่ในความเป็นจริงนั้นจะหมายความได้ว่า ละซึ่งความโศกเศร้าทั้งปวง ซึ่งเป็นความหมายที่ดีมาก แต่เมื่อมีผู้คน<br />

เริ่มน ามาปลูกในบ้านหรือในโรงแรม จึงได้เรียกชื่อดอกลั่นทมใหม่เป็น ลีลาวดี ซึ่งแปลว่า ต้นดอกไม้ที่มีท่วงท่า<br />

สวยงามอ่อนช้อย<br />

ตามความเข้าใจเดิมของคนโบราณ ลั่นทม นั้นออกเสียงพ้องกับค าว่า ระทม ซึ่งหมายถึงความเศร้าโศก<br />

เสียใจ แต่มีผู้รู้ในหลักภาษาไทยได้อธิบายว่า ลั่นทม เป็นการละแล้วซึ่งความโศกเศร้า ซึ่งลั่นทมเป็นค าผสมของ<br />

ค าว่า ลั่น+ทม โดย ลั่น หมายถึง แตกหัก ละทิ้ง ส่วน ทม คือ ความทุกข์โศก เมื่อรวมความแล้ว จึงหมายถึง การ<br />

ละทิ้งความระทมทุกข์ทั้งปวง ซึ่งเป็นความหมายที่ดี ทางภาคใต้เรียกลั่นทมว่า ดอกไม้ขอม เป็นดอกไม้บูชาครู<br />

หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทางอีสานนั้นเรียก จ าปาลาว เหมือนสาธารณรัฐประประชาธิปไตยประชาชนลาว ทางภาคพื้น<br />

ตะวันตกของไทยเรียก จงป่า”<br />

http://oknation.nationtv.tv/blog/normairai/2012/07/11/entry-1<br />

“ลั่นทมนิยมปลูกในวัด ยามสายลมพลิ้วมา กลิ่นหอมของมันจะอบอวลไปทั่วอาณาบริเวณ หากที่ส าคัญ...<br />

กลิ่นนั้นช่วยลดความรู้สึกทางเพศของมนุษย์ได้โดยตรง ซึ่งตรงข้ามกับกลิ่นของว่านดอกทองอย่างสิ้นเชิง<br />

แต่ด้วยชื่อที่ไปพ้องกับค าว่า “ระทม” ซึ่งมีความหมายในเชิงอัปมงคล จึงถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ลีลาวดี”<br />

และมิได้เป็นนามพระราชทานดั่งที่ทุกคนเข้าใจ แต่เป็นเสมือนการหวังผลทางพาณิชย์ของคนบางกลุ่ม เพราะ<br />

หลังจากเปลี่ยนชื่อ ต้นไม้ชนิดนี้ก็ขายดิบขายดี มีราคาแพงขึ้นมาอย่างไม่น่าสงสัย<br />

เปลี่ยนได้ทั้งชื่อ...และค่านิยมของผู้คน<br />

ฟังแล้ว...เหมือนถูกท าลายมนต์เสน่ห์ลงอย่างราบคาบเพราะเรื่องธุรกิจ เพราะอันที่จริง “ลั่น” แปลว่าละ<br />

ทิ้ง“ทม” แปลว่า “ความทุกข์ตรม” ดังนั้น ลั่นทมจึงแปลว่า “ละทิ้งความทุกข์ตรม” ซึ่งมีความหมายเชิงบวก<br />

อย่างชัดเจน มิใช่ดั่งที่สาธารณชนเข้าใจ ท านองเดียวกับต้นไม้ที่ชื่อ “อโศก”<br />

ลั่นทม...แผลงมาจากภาษาเขมรโบราณคือค าว่า “สลันทม” แปลว่า...ดอกไม้แห่งรักอันมั่นคง จึงน่าเสียดาย<br />

ชื่อนี้มาก เพราะชื่อนี้มีมนต์ขลังส าหรับผู้มีอารมณ์ด้านศิลปะมากทีเดียว”<br />

3.การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

จากหลักฐานที่ได้รวบรวมมา พบว่าเนื้อหาบางส่วนมีความน่าเชื่อถือและน่าจะเป็น<br />

ข้อเท็จจริง เพราะเป็นข้อความที่กล่าวตรงกันในหลายๆแหล่งข้อมูล<br />

4.การสรุปข้อเท็จจริง<br />

ลีลาวดี เดิมมีชื่อว่า ลั่นทม<br />

ลีลาวาดีมีความหมายว่า ต้นดอกไม้ที่มีท่วงท่าอันอ่อนช้อย<br />

เหตุผลที่เปลี่ยนเป็นเพราะว่า ลั่นทม พ้องกับค าว่า ระทม


5. การน าเสนอ<br />

ก่อนที่ไม้พันธุ์นี้จะถูกเรียกว่า ต้นลีลาวดี อย่างทุกวันนี้นั้น เคยมีชื่อว่า ต้นลั่นทม มาก่อน<br />

เหตุผลส าหรับการเปลี่ยนชื่อนั้น เป็นเพราะว่าชื่อ “ลั่นทม” นั้น ไปพ้องกับความว่า ”ระทม” ที่มี<br />

ความหมายว่าความโศกเศร้า และไม่นิยมในการปลูกตามบ้านเรือน เพราะเชื่อว่าจะท าให้เจ้าบ้านมี<br />

แต่ความทุกข์ระทม ต่อมาจึงมีการเปลี่ยนชื่อจาก ลั่นทม เป็น ลีลาวดี ที่มีความหมายว่า ต้นดอกไม้<br />

ที่มีท่วงท่าอันอ่อนช้อยเพื่อเป็นการแก้เคล็ดจามความเชื่อ และสามารถน ามาปลูกได้ตามบ้านเรือน<br />

แทน<br />

ค าว่า ลีลาวดี นี้ คนส่วนมากมักกล่าวว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

ได้ทรงเป็นผู้พระราชทานนามให้ไม้พันธุ์นี้ แต่จากการศึกษาแล้ว พบว่า ลีลาวดี เป็นชื่อพันธุ์ไม้ที่<br />

ผู้คนเรียกๆต่อกันไปเอง ผู้อ านวยการกองบ ารุงรักษาอุทยาน สวนจิตรลดา ได้ยืนยันว่า สมเด็จ<br />

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไม่ได้พระราชทานนาม "ลีลาวดี"<br />

เหตุผลของการแอบอ้างนี้ อาจจะเป็นเหตุผลทางธุรกิจของคนบางกลุ่ม เพราะหลังจากถูก<br />

เปลี่ยนชื่อเป็นชื่อที่เรียกได้ว่า “นามพระราชทาน” ลีลาวดีหรือลั่นทมนี้ก็ได้รับความนิยมขึ้นใน<br />

ฐานะ ไม้มงคล ซึ่งการกระท านี้เป็นสิ่งที่ไม่สมควรเป็นอย่างยิ่ง<br />

นอกจากนี้ยังพบว่า แท้ที่จริงแล้ว ค าว่าลั่นทมที่ถูกใช้เรียกไม้พันธุ์นี้มาแต่เดิมนั้น ไม่ได้<br />

หมายถึงความทุกข์ระทมแต่อย่างใด เพราะค าว่า “ลั่น” ในทีนี้ มีความหมายว่า “ละทิ้ง” และ<br />

“ทม” มีความหมายว่า “ความทุกข์ตรม” ดังนั้น ลั่นทมนี้จึงมีความหมายว่าละทิ้งความทุข์ตรม ซึ่ง<br />

มีความหมายเป็นมงคลอยู่แล้ว<br />

แต่ไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้คนจะเข้าใจผิดเพราะว่าหากไม่ได้ศึกษาด้านภาษาศาสตร์อย่าง<br />

จริงจัง ลั่นทมก็ดูจะพ้องกับค าว่าระทมมากกว่าจะมีความหมายว่าละทิ้งความทุกข์ตรมอยุ่ดี จึงเป็น<br />

ที่มาของการเปลี่ยนชื่อลั่นทมเป็นลีลาวดีมาจนถึงปัจจุบัน<br />

นางสาวสุธนี ปิ่นมณีนพรัตน์ ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 27


การศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการ<br />

ทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ ต้นมะพร้าว<br />

สถานที่ปลูก ริมสระน้ าคูบัวฝั่งตึกหนึ่ง<br />

วันที่ถ่ายภาพ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2560


วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1. ก าหนดหัวข้อที่จะศึกษา: ศึกษาที่มาของชื่อ “มะพร้าว”<br />

2. รวบรวมหลักฐาน: สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนฯ เล่มที่ 19 เรื่องที่ 2 พืชน้ ามัน มะพร้าว<br />

(http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=19&chap=2&page=t19-2-infodetail03.html)<br />

ได้ให้ข้อมูลว่า คนไทยคุ้นเคยกับมะพร้าวมาเป็นเวลานาน และใช้ประโยชน์จากทุกส่วนของมะพร้าว เช่น ผลอ่อนใช้<br />

รับประทานสด (น้ าและเนื้อ) เนื้อมะพร้าวจากผลแก่น าไปปรุงอาหารและขนมหลายชนิด และใช้สกัดน้ ามัน กากที่<br />

เหลือใช้เลี้ยงสัตว์ น้ ามันมะพร้าวใช้ประกอบอาหาร เนยเทียม และสบู่ เปลือกมะพร้าวน าไปแยกเอาเส้นใยใช้ท า<br />

เชือก วัสดุท าเบาะและที่นอน ขุยมะพร้าวใช้ท าวัสดุเพาะช าต้นไม้ กะลาใช้ท าภาชนะ ตักตวงของเหลว (กระจ่า<br />

กระบวย ฯลฯ) ท ากระดุม เครื่องประดับ เครื่องดนตรี (ซออู้) เป็นต้น ไม่มีหลักฐานแน่ชัดระบุถึงถิ่นก าเนิดของ<br />

มะพร้าว แต่ยอมรับกันว่า อยู่ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย หรือหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก<br />

ในหลักการใช้ภาษาไทย (http://grammarthai.blogspot.com/2013/01/blog-post.html) มีภาษาเปลี่ยนแปลง<br />

ได้ เพราะสาเหตุหลายข้อ เช่น สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน เช่น ขายตัว ศักดินา จริต ส าส่อน แกล้ง ห่ม การพูด ได้แก่ การ<br />

กร่อนเสียง และกลมกลืนเสียง การกร่อนเสียง เช่น"หมากพร้าว" กร่อนเป็น"มะพร้าว"<br />

วิกิพจนานุกรม<br />

(https://th.wiktionary.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%9E%<br />

E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7) ได้ให้ข้อมูลว่า รากศัพท์ของหมาก + พร้าว ค าว่า<br />

“พร้าว” เทียบภาษามอญว่า ဗ ြဴ (พฺเรา) อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ<br />

จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเชีย<br />

อาคเนย์<br />

3. ประเมินคุณค่าของหลักฐาน<br />

3.1) การประเมินคุณค่าภายนอกหรือวิพากษ์วิธีภายนอก สารารานุกรมไทยได้ให้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจาก<br />

เป็นการจัดท าโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และเป็นหนังสือของที่เหมาะส าหรับ<br />

เยาวชนอ่าน ส่วนในหลักการภาษาไทยก็มีความเป็นไปได้สูง และวิกิพจนานุกรมอาจจะไม่ค่อยหน้าเชื่อถือนัก เพราะ<br />

ทุกๆ คนสามารถแก้ไขข้อมูลได้โดยง่าย<br />

3.2) การประเมินคุณค่าภายในหรือวิพากษ์วิธีภายใน สารานุกรมไทยบอกว่าคนไทยคุ้นเคยกับมะพร้าวดีมานานแล้ว<br />

และวิกิพจนานุกรมได้บอกว่าหมากพร้าว ค าว่าพร้าวมาจากภาษามอญ ซึ่งในประเทศไทยได้ค้นพบภาษามอญที่จารึก<br />

วัดโพธิ์ร้าง จึงอาจได้รับอิทธิพลมา และการกร่อนเสียงในภาษาไทย ซึ่งกร่อนจาก”หมาก”เป็น”มะ” อาจเป็นเพราะ<br />

การพูดเร็ว และดังจะเห็นได้จากค าอื่นๆ เช่น หมากขามเป็นมะขาม ต้นไคร้เป็นตะไคร้ และตัวขาบเป็นตะขาบ เป็น<br />

ต้น<br />

4. สรุปการค้นคว้า: ค าว่า ”มะพร้าว” มาจากค าว่า “หมากพร้าว” ซึ่งค าว่า ”พร้าว” มาจากภาษามอญ และเมื่อเวลา<br />

ผ่านไป การพูดที่คล่องแคล้วและเร็วท าให้เกิดการกร่อนเสียงจาก “หมาก” เป็น “มะ” จึงเรียกกันติดปากว่า<br />

“มะพร้าว” เหมือนในทุกวันนี้<br />

5. น าเสนอ: น าเสนอทาง Flipbook Page Aj.YomYom<br />

น.ส. อสมา เที่ยงภักดิ์ ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 28


งานบูรณาการวิธีทางประวัติศาสตร์กับต้นไม้ในโรงเรียน<br />

ชื่อพรรณไม้ : พญาสัตบรรณหรือต้นตีนเป็ด<br />

สถานที่ปลูก : ลานบานเย็นบริเวณหน้าตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 31 กรกฎาคม 2560


1. ก าหนดปัญหา<br />

ชื่อต้นไม้'พญาสัตบรรณ'มีที่มามาจากอะไร<br />

ต้นพญาสัตบรรณ<br />

2. รวบรวมข้อมูล<br />

- จากhttp://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=12403<br />

ในคัมภีร์ทางพุทธศาสนา ต าราชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าองค์แรก พระนาม<br />

ว่า “พระตัณหังกรพุทธเจ้า” ได้ประทับตรัสรู้ ณ ควงไม้สัตตบรรณ<br />

“ต้นสัตตบรรณ” หรือ “ต้นสัตตปัณณะ” มีชื่อเรียกในอินเดียว่า “สตฺตปณฺณรุกข” ซึ่งแปลว่า<br />

เป็นไม้ที่มี 7ใบ เป็นต้นไม้ที่ขึ้นปากถ้ าที่เมืองราชคฤห์ จึงเรียกถ้ านี้ว่า“สตฺตปณฺณคูหา” ในบริเวณนี้เป็น<br />

ที่ท าการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรก โดยพระเจ้าอชาตศัตรู ทรงรับเป็นผู้อุปการะในการ<br />

สังคายนา รวมทั้ง ได้ทรงสร้างธรรมศาลา และกุฏิส าหรับพระภิกษุสงฆ์จ านวน 500 รูป<br />

แตกกิ่งก้านสาขามากตามยอด อีกทั้งใบเป็นใบเดี่ยวมนรี ปลายใบมนโคนใบแหลมก้านใบสั้น แตกใบ<br />

ออกรอบข้อเป็นวง เรียงกันคล้ายตีนเป็ด คนไทยจึงมักเรียกกันทั่วไปว่า “ต้นตีนเป็ด”<br />

- จาก http://treeofthai.com/tag/พญาสัตบรรณ/<br />

ค าว่า “พญาสัตบรรณ” มีความหมายมงคลแยกเป็น 3 ค า คือ ค าว่า “พญา” หมายถึง ผู้มี<br />

อ านาจน่านับถือ น่ายกย่อง ผู้เป็นใหญ่ “สัต” หมายถึง 7 (เจ็ด) และ “บรรณ” หมายถึง ใบไม้ เหตุที่ชื่อ<br />

พญาสัตบรรณ เพราะเป็นต้นไม่ที่มีขนาดสูงใหญ่ รูปทรงสง่า ดูมั่นคง และน่าเกรงขามดั่งพญา พุ่มไม้เป็น<br />

ชั้นๆ คล้ายฉัตร ทั้งใบของต้นพญาสัตบรรณยังออกเป็นช่อ ช่อหนึ่งมี 7 ใบเรียงรอบก้านใบ และดอกก็ยัง<br />

ออกเป็นกลุ่ม โดยช่อหนึ่งๆจะออกประมาณ 7 กลุ่ม นอกจากนี้สัตบรรณหรือฉัตรบรรณยังมีความ<br />

หมายถึงเครื่องสูงชนิดหนึ่ง มีรูปคล้ายร่มซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้น อาจมี 3,5,7 หรือ 9 ชั้น ใช้เป็น<br />

เครื่องประดับเกียรติยศในขบวนแห่งานพระราชพิธีอีกด้วย พญาสัตบรรณจึงเป็นไม้มงคลนามอีกชนิด<br />

หนึ่งที่นิยมปลูกเพื่อเป็นสิริมงคลทางทิศเหนือขอบ้าน คนโบราณเชื่อว่าหากบ้านใดปลูกไว้จะท าให้คนใน<br />

บ้านมีเกียรติ เป็นที่เคารพนับถือและได้รับการยกย่องจากคนทั่วไป พญาสัตบรรณเป็นพันธุ์ไม้<br />

พระราชทาน เพื่อปลูกเป็นมงคลประจ าจังหวัด สมุทรสาคร


3. การตีความและประเมินค่าหลักฐาน<br />

ข้อมูลจากหลากหลายเว็บไซต์มีข้อมูลเหมือนกัน และเป็นที่มาที่น่าเชื่อถือเนื่องจากผู้เขียนเป็นนัก<br />

พฤกษศาสตร์<br />

4. การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

ในเว็บไซต์แรกเป็นที่มาของชื่อภาษาบาลีที่ซึ่งปรากฏในชินการมาลีปกรณ์เป็นคัมภีร์ของศาสนาซึ่งได้<br />

บอกว่าชื่อของพญาสัตบรรณมาจากการที่ใน 1 ชั้นมีใบทั้งหมดเจ็ดใบ ซึ่งเว็บไซต์ต่อมาก็กล่าวในท านอง<br />

เช่นเดียวกัน โดยให้ความหมายจากการแปลภาษาตรงๆตัว และเนื่องจากภาษาไทยนั้นมีรากศัพท์มาจาก<br />

ภาษาบาลีค่อนข้างมาก ดังนั้นอาจอนุมานได้ว่า ที่มาของชื่อพญาสับรรณนั้นมาจากภาษาบาลีที่แผลงไป<br />

5. การเรียบเรียงและน าเสนอ<br />

ต้นสัตตบรรณ หรือ “ต้นสัตตปัณณะ” มีชื่อเรียกในอินเดียว่า “สตฺตปณฺณรุกข” ซึ่งแปลว่าเป็นไม้ที่มี 7<br />

ใบ ซึ่งต่อมาถูกเรียกว่า สัตตบรรณ ในประเทศไทยโดยมีการเติมให้มีความหมายมงคลแยก<br />

เป็น 3 ค า คือ ค าว่า “พญา” หมายถึง ผู้มีอ านาจน่านับถือ น่ายกย่อง ผู้เป็นใหญ่ “สัต” หมายถึง 7<br />

(เจ็ด) และ “บรรณ” หมายถึง ใบไม้ เป็นต้นพญาสัตบรรณดังเช่นทุ<br />

นางสาว อัญชิสา สนใจ เลขที่ 29 ห้อง 74


มะม่วง<br />

วันที่ถ่าย 31กค2560<br />

สถานที่ ตรงข้ามตึกศิลปะ<br />

ชื่อพรรณไม้ มะม่วง


ก าหนดปัญหา:ชื่อมะม่วงมีที่มาอย่างไร<br />

ข้อมูล<br />

ส าหรับชื่อมะม่วงนั้นไม่ได้มีที่มาจากสีของผลมันในปัจจุบันที่เราเห็นมีสีเขียวหรือเหลืองนอกจากนั้น<br />

มะม่วงยังเป็นค าไทยแท้อีกด้วยจากหลักฐานศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวไว้ว่า<br />

"เมืองสุโขไทนี๋จึ่งชม สร๋างป่าหมากป่าพลูท่ววเมืองนี๋ทุกแห่ง ป่าพร๋าวก่หลายในเมืองนี๋ ป่าลาง ก่หลายในเมืองนี๋<br />

หมากม่วงก่หลายในเมืองนี๋ หมากขามก่หลายในเมืองนี๋ ใครสร๋างได๋ไว๋แก่มนน"<br />

นอกจากนี้ยังมีหลักฐานที่เป็นสมมติฐานความเป็นมาของชื่อมะม่วงอีกเช่น<br />

1) มะม่วงสมัยก่อนซึ่งมีที่มาจากประเทศอินเดียนั้นมีผลสีม่วงคนไทยจึงเรียกว่าหมากม่วงและแผลงค าเป็น<br />

มะม่วงในที่สุด ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของมะม่วงคือ Mangifera Indica Linn<br />

2) เนื่องจากใบอ่อนของมะม่วงเป็นสีม่วงคนไทยจึงอาจเรียกชื่อมะม่วงตามลักษณะใบที่เห็นได้ อ้างอิงจาก<br />

กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศกของเจ้าฟ้ากุ้งที่ว่า<br />

มะม่วงไพรใบอ่อนมี คิดผ้าสีม่วงอ่อนแทน<br />

ขลิบอ่าตาตักแตน หน้าทอทองกรองข่ายทรงฯ<br />

มะม่วงใบอ่อนเจ้า เรียมแหงน ดูนา<br />

คิดมะม่วงอ่อนอรแทน ผิดผ้า<br />

รึงขลิบตาตักแตน ริมเรื่อง<br />

ถักทองกรองข่ายหน้า ประหลาดหน้าเจ้าเคยทรงฯ<br />

3) มะม่วงมาจากค าว่า หมากม่วง และค าว่าม่วงไม่ใช่ค าไทยแต่เลียนมาจากภาษามลายูว่า manga ( มลายู<br />

manga ทมิฬ mangai โปรตุเกส manga อังกฤษ mango) ซึ่งต้องออกเสียงว่า หมากมางกา แต่ออกเสียง<br />

ยาก คนไทยจึงออกเสียงเป็น หมากม่วง<br />

ประเมินคุณค่า<br />

หลักฐานต่างๆล้วนเป็นสิ่งที่มาจากอดีตไม่มีการยืนยันแน่ชัดจึงได้แค่วิเคราะห์ว่าข้อมูลแต่ละข้อมูล<br />

น่าเชื่อถือแค่ไหน ส าหรับศิลาจารึกและกาพย์นั้นมีหลักฐานชัดเจนเป็นลายลักษณะอักษรน่าเชื่อถือแต่ศิลา<br />

จาํกนั้นแค่สนับสนุนว่าเป็นค าไทยแท้ เท่านั้น ในส่วนของกาพย์นั้นใบมะม่วงอ่อนนั้นเป็นสีม่วงก็จริงแต่มันมิใช่<br />

ลักษณะที่โดดเด่นของต้นมะม่วงซักเท่าไหร่เพราะส่วนใหญ่การเรียกชื่อผลไม้มักจะดูจากลักษณะเด่นของผล<br />

เช่นในกรณีของการเรียกว่าหมากม่วงจากผลมะม่วงในยุกแรกที่มีสีม่วงซึ่งดูน่าเชื่อถือกว่าส่วนการแผลงค านั้นดู<br />

จะเป็นไปได้ยากเพราะค าว่าหมากและม่วงล้วนเป็นค าไทยแท้อยู่แล้วซึ่งมีหลักฐานจากศิลาจารึกมาเป็นตัวค้าน<br />

อยู่แล้ว


วิเคราะห์<br />

จากข้อมูลต่างๆที่ได้มานั้นเมื่อน าข้อมูลจากศิลาจารึกและการเรียกชื่อหมากม่วงตามลักษณะผลนั้นดู<br />

จะเป็นไปได้สูงที่สุดเนื่องจากมะม่วงมีต้นก าเนิดมาจากอินเดียจริงตามชื่อวิทยาศาสตร์ว่าค้นพบที่แรกที่ไหน<br />

บวกกับหลักฐานลายลักษณะอักษรจากศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงหลักที่1ที่ล้วนเป็นค าไทยแท้จึงยากที่จะมี<br />

ภาษาอื่นมามีอิทธิพล แต่อย่างไรก็ตาม มีหลายสมมติฐานกล่าวว่าศิลาจารึกนั้นไม่ใช่ของจริงหรืออาจมีการแต่ง<br />

เติมภายหลังก็เป็นได้แต่โดยรวมแล้วถือว่ายังน่าเชื่อถือ เมื่อเทียบกับหลักฐานอื่น<br />

อ้างอิง<br />

http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/04/K7690684/K7690684.html<br />

(ข้อมูลส่วนใหญ่น ามาจากความเห็นที่12ชื่อผู้ใช้ เพ็ญชมพูบวกกับความเห็นอื่นๆที่สอดคล้องและน่าเชื่อถือพอ)<br />

นาย กรวิชญ์ เลขที่ 30 ห้อง 74


การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อหาที่มาของชื่อต้นจันผา<br />

ชื่อพรรณไม้ จันผา<br />

สถานที่ปลูก ข้างลาน 70 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ 1 สิงหาคม 2017<br />

1.ประเด็นที่ต้องการศึกษา<br />

เหตุใดต้นไม้ต้นนี้ถึงได้ชื่อว่าจันผา ( หรือจันทน์ผา หรือ จันทน์แดง )<br />

2.ขั้นตอนการรวบรวมหลักฐาน<br />

2.1 ความหมายแม่ค าของค าว่าจันทน์ผา ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน


2.1.1 จัน<br />

2.1.2 จันทน์<br />

2.1.3 จันทน์ผา<br />

2.1.4 จันทน์แดง


2.1.5 ผา<br />

ที่มา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน<br />

2.2 การจ าแนกประเภททางพฤกษศาสตร์<br />

ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/จันผา<br />

2.3 ลักษณะ<br />

ที่มา ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์


ที่มา https://medthai.com/จันทน์ผา<br />

ที่มา http://natres.psu.ac.th/radio/radio_article/radio37-38/37-380037.htm<br />

3.ขั้นตอนการวิเคราะห์หลักฐาน<br />

1.ไม่พบความสัมพันธ์จากหลักฐานค าว่า จัน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งหมายถึง<br />

Diospyros decandra Lour.ในวงศ์ Ebenaceae กับต้นจันผาที่ก าลังศึกษา<br />

2.พบความเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันของค าว่า จันทน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ซึ่ง<br />

หมายถึง พรรณไม้เนื้อหอม กับลักษณะทั่วไปของต้นจันผา (หรือจันทน์ผา) จากที่มา ฐานข้อมูลพรรณ<br />

ไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ ที่ว่าดอกของต้นจันผามีกลิ่นหอม<br />

3.พบความสัมพันธ์ของค าว่า แดง ซึ่งหมายถึงสีแดง กับลักษณะของต้นจันผา จากที่มา<br />

https://medthai.com/จันทน์ผา ที่ว่าต้นเมื่อมีอายุมากขึ้น แก่นจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีแดง<br />

4.พบความสัมพันธ์ของค าว่า ผา ซึ่งหมายถึง หินที่เขา เช่น หน้าผา เนินผา ผาลาด, ภูเขา เช่น เชิงผา<br />

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน กับลักษณะของต้นจันผา จากที่มา https://medthai.com/จันทน์ผา


และhttp://natres.psu.ac.th/radio/radio_article/radio37-38/37-380037.htm ที่ว่าต้นจันผามักจะขึ้น<br />

ตามบริเวณดินทราย หรือหินปูนตามพื้นที่เขาสูงๆ<br />

4.ขั้นตอนการสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

1. ค าว่า จัน หรือ จันทน์ น่าจะมาจากค าว่าจันทน์ ซึ่งมีความหมายว่า พรรณไม้เนื้อหอม<br />

2. ค าว่า ผา น่าจะหมายถึง ภูเขา กล่าวคือ พืชชนิดนึ้มักพบขึ้นตามภูเขาทรายและหินปูน<br />

3. ค าว่า แดง ของจันทน์แดงนั้น น่าจะหมายถึง สีแดงของแก่นไม้เมื่อต้นไม้แก่ตัว<br />

5.การน าเสนอเรื่องที่ศึกษา<br />

จัดท าเป็นรูปเล่มรายงานและ uploadใน page facebook ของอ.สยมภู<br />

คมพจน์ สุทธาสา ม.6/74 เลขที่ 31


งานบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์<br />

ชื่อพันธุ์ไม้ มะเกลือ<br />

สถานที่ปลูก สวนสมุนไพร หลังตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560


เรียบเรียงความเป็นมาของชื่อต้น “มะเกลือ” ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1. การก าหนดเป้าหมาย<br />

ต้องการศึกษาความเป็นมาของชื่อ “มะเกลือ”<br />

2. การค้นหาและรวบรวมหลักฐาน<br />

จากการสืบค้นเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ สามารถรวบรวบได้<br />

ดังนี้<br />

- จาก https://pantown.com/board.php?id=43825&area=3&name=board1&<br />

topic=1119&action=view และเอกสารที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา<br />

พบว่า ในภาษาท้องถิ่น เรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า “ผีเผา” เนื่องจากเนื้อไม้มีความหนาแน่น<br />

มาก และมีสีด า ท าให้สามารถน ามาย้อมสีผ้าได้<br />

- จากฐานข้อมูลพืชสมุนไพร มหาวิทยาลัยขอนแก่น และเอกสารที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับ<br />

ประวัติความเป็นมาพบว่า ชื่อท้องถิ่นทางภาคเหนือเรียกพืชชนิดนี้ว่า “เปือยเลือด”<br />

เนื่องจากเมื่อเปลือกไม้หลุดออกมา จะท าให้เห็นลักษณะคล้ายสะเก็ด สีคล้ายเลือดเมื่อ<br />

แห้งแล้ว เมื่อไม้ชนิดนี้ถูกพระราชทานให้เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคล<br />

ของจังหวัดสุพรรณบุรี จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “มะเกลือ”<br />

3. การวิเคราะห์ข้อมูลและหลักฐาน<br />

จากการวิเคราะห์และวิพากษ์หลักฐานพบว่า เมื่อวิพากษ์ภายในถึงความน่าเชื่อถือของ<br />

ข้อมูลความเป็นมา พบว่า ข้อมูลเกี่ยวกับ “ผีเผา” ซึ่งมาจากเว็บไซต์ pantown ที่ทุก<br />

บุคคลสามารถแก้ไขและปรับปรุงได้ มีความน่าเชื่อถือน้อยกว่าข้อมูลเกี่ยวกับ “เปือย<br />

เลือด” ซึ่งเป็นข้อมูลจากฐานข้อมูลพืชสมุนไพร มหาวิทยาลัยขอนแก่น รวมไปถึงจาก<br />

หนังสือและเว็บไซต์ต่างๆที่เป็นทางการและน่าเชื่อถือมากกว่า อีกทั้งค าว่า “เปือย” ใน<br />

ภาษาถิ่นภาคเหนือ ยังเป็นชื่อท้องถิ่นของไม้ขนาดใหญ่ เช่น ตะแบก ซึ่งมีลักษณะทาง<br />

พฤกษศาสตร์คล้ายกับ “มะเกลือ” กล่าวคือ มีลักษณะเป็นต้นไม้ขนาดใหญ่<br />

4. การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

จากการวิเคราะห์หลักฐานข้างต้น ท าให้สรุปได้ว่า “มะเกลือ” มาจากค าว่า “เปือย<br />

เลือด” ตามเหตุผลสนับสนุนดังกล่าวตามในขั้นตอนที่ 3 โดยไม่มีข้อโต้แย้งที่หักล้างได้


5. การน าเสนอข้อเท็จจริงจากการศึกษาผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อต้น “มะเกลือ” แผลงมาจากภาษาถิ่นเหนือว่า “เปือยเลือด” โดยชื่อนี้มีที่มาจาก<br />

เมื่อต้นไม้ชนิดนี้มีอายุมากขึ้น เปลือกไม้จะลอกออก ท าให้ไม้ที่เหลือมีลักษณะเป็นเกล็ดๆ<br />

สีคล้ายเลือดที่แห้งแล้ว คล้ายแผลที่แห้งตัว และมีเกล็ดเลือดเกาะตัวอยู่ แต่เมื่อต้นมะเกลือ<br />

ถูกพระราชทานเพื่อปลูกเป็นไม้มงคลของจังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ “เปื่อยเลือด” ที่มีค าที่ไม่<br />

ไพเราะนัก จึงถูกตั้งชื่อใหม่ว่า “มะเกลือ”<br />

นายจิณณวัตร ทองบุญนาค ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 32


การศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : กล้วยไม้ (orchid)<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณข้างตึก 9<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560


1. เป้าหมายที่ต้องการศึกษา : ที่มาของชื่อกล้วยไม้ ซึ่งจะศึกษาที่มาทั้งชื่อภาษาไทย และชื่อ<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

2. การค้นหาและรวบรวมหลักฐาน :<br />

https://ae8830.wordpress.com/พันธ์ของกล้วยไม้/ที่มาและความส าคัญ/<br />

http://www.orchid.kapi.ku.ac.th/index.php?option=com_content&task=view<br />

&id=29&Itemid=41<br />

ให้ข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของชื่อ กล้วยไม้ และ orchid<br />

http://pirun.ku.ac.th/~b5310102931/history.html<br />

เก็บตกข้อมูลบางส่วนให้ครบถ้วน<br />

3. วิเคราะห์หลักฐาน : หลักฐานจากเว็บไซต์แรก มีความน่าเชื่อถือ เพราะ เป็นเว็บที่ศึกษาข้อมูล<br />

เรื่องที่มาของชื่อกล้วยไม้มาจากหลายแหล่งข้อมูล ได้ผ่านการรวบรวมและวิเคราะห์มาแล้วครั้ง<br />

หนึ่ง หลักฐานจากเว็บที่สอง มีความน่าเชื่อถือสูง เพราะ เป็นเว็บที่จัดท าโดย<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งมีความน่าเชื่อถือมาก ส่วนเว็บสุดท้ายมีความน่าเชื่อถือเช่นกัน แต่<br />

ไม่ได้อธิบายเรื่องที่มาชื่อโดยตรง จึงได้ใช้เว็บนี้ในการเพิ่มเนื้อหาบางส่วนให้ครบถ้วน<br />

4. สรุปข้อเท็จจริง : ความหมายและที่มาของค าว่า orchid พบว่าเป็นค าที่มาจากรากศัพท์ภาษา<br />

กรีกว่า orchis การค้นคว้าที่มาของชื่อต้องศึกษาย้อนกลับไปถึงเอกสารเก่านับพันปี สมัยก่อน<br />

คริสต์ศักราชจนถึงสมัยนักปราชญาเมธีชาวกรีก โดยค านี้มีปรากฏอยู่ในหนังสือ Enquiry into<br />

Plants ของ Theophratus (370-285 B.C.) นักพฤกษศาสตร์ปัจจุบันจึงสันนิษฐานว่าท่านเป็นผู้<br />

ตั้งชื่อค านี้เพื่อใช้เรียกกล้วยไม้ ซึ่งในยุคนั้นใช้สะกดเป็นตัวเขียนแบบภาษากรีกว่า opxis หมายถึง<br />

ลักษณะของรากสะสมอาหารของกล้วยไม้ดินที่เป็นก้อนป่อง อวบน้ า หรือบวมพอง “In<br />

reference to the tuberoids which many species of the genus bear at the base of<br />

the stem”<br />

การมีหัวใต้ดินเป็นลักษณะที่พบได้ทั่วไปในกลุ่มของกล้วยไม้ดินโดยเฉพาะในเขตภูมิอากาศหนาว<br />

เย็นที่ต้องมีการปรับตัว สะสมน้ าและอาหารไว้ใช้ในฤดูหนาว และชื่อ Orchis ที่ได้รับการบัญญัติ<br />

ขึ้นมานับพันปีนี้ก็ได้รับการยอมรับ เป็นชื่อสกุลของกล้วยไม้ดินสกุลหนึ่ง ที่พบมากในทวีปยุโรป<br />

ทางแถบเมดิเตอเรเนียน นับแต่บัดนั้นและคงอยู่จนถึงปัจจุบัน


ในปี ค.ศ. 1753 Linnaeus ได้ทบทวนรายชื่อพืชทั้งหมดและบันทึกลงในหนังสือ Species<br />

Plantarum และยังคงชื่อสกุล “orchis” เดิมไว้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1836 John Lindley ได้<br />

ประยุกต์รวมพืชกลุ่มกล้วยไม้ทั้งหมดเป็นวงศ์ใหม่โดยเฉพาะและให้ชื่อวงศ์ว่า Orchidaceae โดย<br />

คงชื่อ Orchis ไว้เป็นชื่อของกล้วยไม้ดินสกุลหนึ่ง นับแต่นั้นมาจึงถือเป็นอันยุติชื่อวงศ์และสกุลที่<br />

ใหญ่ที่สุดในโลกของพืชกลุ่มนี้<br />

ค าว่า เอื้อง ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าใช้ก่อนค าว่า กล้วยไม้ หรือไม่ ค าว่า เอื้องมีปรากฏในเอกสาร<br />

ทั้งในสมัยอยุธยาและสุโขทัย หรืออาจเรียกกันมาแต่สมัยล้านนา จัดเป็นค าเรียกเดิมแต่ไม่สามารถ<br />

สืบค้นหาถึงที่มาได้ และนอกจากจะใช้เรียกกันโดยทั่วไปทางภาคเหนือของประเทศไทยแล้ว ชาว<br />

ไทยใหญ่ในรัฐฉานของสหภาพเมียนม่าร์ และทางแคว้นสิบสองปันนาทางตอนใต้ของประเทศจีนใน<br />

ปัจจุบัน ก็ยังใช้ค าว่าเอื้องสื่อความหมายเพื่อให้เข้าใจว่าเป็นค าที่เกิดขึ้นในช่วงต้นสมัยรัตนโกสินทร์<br />

ซึ่งพบว่ามีการบันทึกไว้ชัดเจนในเอกสารหลายเล่ม<br />

ในเรื่องนี้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานครสวรรค์วรพินิต (พ.ศ. 2460) ได้ให้อธิบายไว้ว่า ค าว่า<br />

เอื้อง ที่ใช้กันอยู่ข้างเหนือ ตรงกับฝ่ายใต้เราใช้ว่า ค าว่ากล้วยไม้ แต่มีต้นไม้อยู่อย่างหนึ่งที่เรียกว่า<br />

ต้นเอื้องซึ่งไม่ใช่ กล้วยไม้ เพราะฉะนั้นแล้วค าว่า “เอื้อง” จะไม่เหมาะเท่า “กล้วยไม้” จึงตกลงว่า<br />

ควรยกเอาค าว่า กล้วยไม้ นี้เป็นสาธารณนาม”<br />

ค าว่า “กล้วยไม้” นั้นเมื่อสืบค้นกลับไปพบว่าเป็นค าเก่าที่ได้รับการเรียกขานกันมาแต่โบราณ<br />

เช่นกัน โดยเฉพาะทางภาคกลางแต่ไม่ปรากฏถึงที่มา บันทึกในเอกสารสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) มีค าว่ากล้วยไม้ ปรากฏอยู่ในพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนา<br />

หลายตอน แต่ที่มีบันทึกไว้ชัดเจนได้แก่ข้อความที่ปรากฏในพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระ<br />

จุลจอมเกล้าฯ เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เรื่อง เสด็จประพาสจันทบุรี ว่า กล้วยไม้มีลักษณะคล้าย<br />

กล้วย ต้นไม้ต้นนี้ชื่อว่ากล้วยไม้จึงเป็นชื่อที่เหมาะสมดี<br />

นาย ชนศิษฏ์ เวชกิจวาณิชย์ ชั้น ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 33


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : ต้นเข็ม<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณหน้าตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 2 สิงหาคม 2560


1.ก าหนดเป้าหมาย<br />

เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของชื่อต้นเข็ม<br />

2.ค้นคว้าและรวบรวมหลักฐาน<br />

ลักษณะทั่วไปทางพันธุศาสตร์เข็ม<br />

ต้นเข็ม เดิมเป็นพรรณไม้พื้นเมืองของอเมริกาใต้ จัดว่าเป็นไม้พุ่ม ซึ่งมีความสูง 1-3 เมตร เข็มหอม หรือเข็มขาว<br />

มีส าต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งใกล้ผิวดินจ านวนมาก เราจึงพบว่าเข็มหอมมักอยู่กันเป็นพุ่มแน่น โดยแต่ละต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางของ<br />

ล าต้น 1-2 เซนติเมตร เปลือกสีด าหรือม่วงเข้ม ใบเป็นใบเดี่ยวรูปรีแกมขอบขนาน เรียงตรงข้าม หน้าใบมัน สีเขียวเข้ม หลังใบ<br />

สีอ่อนกว่าและเห็นเส้นใบชัดเจน ในส่วนของช่อดอก จะมีสีขาว ออกที่ปลายยอด มีเส้นผ่าศูนย์กลางช่อดอก 8-<br />

18 เซนติเมตร มีดอกย่อยจ านวนมาก ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยงสีเขียวรูปถ้วย ปลายแยกเป็นกลีบ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็น<br />

หลอดเล็ก ๆ ยาว 2.5-3 เซนติเมตรปลายหลอดมีกลีบแยกจากกันเป็น 4 กลีบ แต่ละกลีบรูปไข่กว้าง 0.3 เซนติเมตร<br />

ยาว 0.6 เซนติเมตร เมื่อดอกบานมีเส้น ผ่าศูนย์กลาง 1.2-2 เซนติเมตร ดอกย่อยภายในช่อดอกเดียวกันบานในเวลาใกล้เคียง<br />

กัน ดอกที่บานใหม่ ๆ จะมีสีขาว บริสุทธิ์ เมื่อใกล้โรยจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ า ดอกมีกลิ่นหอม และออกดอกตลอดปี<br />

การปลูกและขยายพันธุ์เข็ม<br />

ขยายพันธุ์ได้หลายวิธี เพาะเมล็ด ปักช ากิ่ง หรือตอนกิ่ง ออกรากได้ง่าย ปลูกเลี้ยงและบ ารุงรักษาง่าย<br />

ทนทาน มีอายุยืนนานหลายปี ชอบดินที่มีความชื้นสูงและชอบแดดจัด ต้นที่ปลูกในที่มีแสงน้อยหรือได้รับร่มเงาของต้นไม้อื่น<br />

จะมีกิ่งยืดยาวและไม่ค่อยออกดอก<br />

ถิ่นก าเนิด : เป็นพันธุ์ไม้หอมพื้นเมืองแถบอเมริกาใต้<br />

ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม ล าต้นสูงประมาณ 3–5 ฟุต จะแตกกิ่งก้านสาขาออกแผ่เป็นพุ่ม ล าต้น<br />

เป็นต้นเดี่ยวหรือแตกกอแผ่สาขาออกไปเป็นต้นต้นเล็กกลมขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10 เซนติเมตรล าต้นเรียบสีน้ าตาลกิ่ง<br />

ยอดมีสีเขียวแตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน<br />

ใบ ใบของดอกเข็มแข็ง และเปราะง่าย มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบจะออกเรียง<br />

สลับกันคนละทิศทาง ลักษณะใบมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดพันธุ์<br />

ดอก ดอกออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็นหลอด ตรง<br />

ปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่ 4-5กลีบ ปลายกลีบแหลม ลักษณะดอกและสีสรรแตกต่างกันไป<br />

ฝัก/ผล เป็นผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีด า<br />

ฤดูกาลออกดอก: ออกดอกตลอดปี<br />

เวลาที่ดอกหอม : หอมตลอดวัน<br />

การปลูก: - การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคารบ้านเรือน<br />

- การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวนนิยมปลูกเป็นกลุ่มตกแต่งสวนบริเวณบ้านหรือปลูก<br />

เป็นแนวรั้วก็ได้ สามารถตัดแต่ง และบังคับรูปทรงได้ตามความเหมาะสม และความต้องการของผู้ปลูก


การดูแลรักษา: ชอบอยู่กลางแจ้ง ขึ้นได้กับดินทุกชนิดแต่จะชอบดินที่ร่วนซุยมากกว่า มีความชุ่มชื้นพอดี ทนทาน<br />

ต่อความแห้งแล้ง<br />

การขยายพันธุ์: ปักช ากิ่ง เพาะเมล็ด กิ่งตอน<br />

ส่วนที่มีกลิ่นหอม: ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์<br />

การใช้ประโยชน์:<br />

- ไม้ประดับ<br />

- สมุนไพร<br />

ถิ่นก าเนิด: แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

ต าแหน่งที่ปลูกและผู้ปลูก<br />

เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อาศัย ควรปลูกต้นเข็มไว้ ทางทิศตะวันออก ผู้ปลูกควรปลูกในวันพุธ เพราะโบราณเชื่อ<br />

ว่าการปลูกไม้เพื่อเอาประโยชน์ทั่วไปทางดอก ให้ปลูกในวันพุธ<br />

การขยายพันธุ์ :<br />

การตอน ใช้เวลาในการตอน ประมาณ 30 วัน ไม่มีความจ าเป็นต้องใช้ฮอร์โมน<br />

การขุดต้นอ่อน ที่แตกขึ้นมาใหม่บริเวณโคนต้นก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ท าได้ง่าย (พบในต้นที่ปลูกลงพื้นที่แล้วอย่าง<br />

น้อย 2 - 3 ปีขึ้นไป<br />

ข้อดีของพันธุ์ไม้ :<br />

สรรพคุณ<br />

ดอกทยอยบาน ออกดอกตลอดปี<br />

การปลูกและดูแลรักษาง่าย ทนทานต่อสภาพแวดล้อม<br />

หาง่าย ราคาต้นพันธุ์ถูก<br />

ดอกเข็มขาว เป็นต้นไม้พุ่ม ใช้ดอกใส่พานบูชาพระ ให้ประโยชน์ในทางยา รากมีรสหวาน รับประทานแก้โรคตา<br />

เจริญอาหาร สามารถฆ่าพยาธิ แก้ตาแดง แก้ริดสีดวงงอกในจมูก<br />

สรรพคุณทางยา:<br />

- รากมีรสหวานใช้รับประทานแก้โรคตา เจริญอาหาร<br />

- ใบใช้เป็นยาฆ่าพยาธิ<br />

- ดอกแก้โรคตาแดง ตาแฉะ<br />

- ผลแก้โรคริดสีดวงในจมูก


การเป็นมงคล<br />

คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกเข็มไว้ประจ าบ้าน จะท าให้มีความฉลาดเฉียบแหลม เพราะเข็มคือสิ่งที่มีความ<br />

แหลมคม ดังนั้นคนไทยโบรานจึงใช้ดอกเข็มในพิธีไหว้ครูเพื่อจะได้เป็นนักปราชญ์ที่มีสติปัญญาฉลาดเฉียบแหลมนอกจากนี้ยัง<br />

ใช้ดอกเข็มเป็นเครื่องบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพิธีทางศาสนาได้เป็นสิริมงคลยิ่ง<br />

3.วิเคราะห์หลักฐาน<br />

จากหลักฐานที่พบที่ค้นหาตามในเว็บไซต์ต่างๆมีความน่าเชื่อถือพอสมควรโดยอ้างอิงจากหนังสือที่ได้รับความนิยม<br />

และรับรองเป็นอย่างดี<br />

จากข้อมูลข้างต้นจะพบว่าดอกเข็มนั้นมีคุณประโยชน์ทั้งทางด้านยา การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ความเป็น<br />

มงคล ความสวยงาม การตกแต่งต่างๆ<br />

4.สรุปข้อเท็จจริง<br />

ต้นเข็มนั้นมีที่มาจากแถบอเมริกาใต้ มีความสูงประมาณ1-3เมตร มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม นิยมน ามาปลูกเพื่อความ<br />

สวยงาม ส่งกลิ่นหอม มีสรรพคุณทางยาทั้งทางสายตา ทางเดินอาหาร จมูก อีกทั้งยังใช้ในงานมงคลต่างๆ เช่น วันไหว้ครู<br />

5.น าเสนอ<br />

การปลูกต้นเข็มมักนิยมปลูกในกระถางหรือบริเวณรอบๆบ้านไว้ตกแต่งสวนหรือปลูกตามแนวรั้ว<br />

ต้นเข็มเป็นไม้พุ่มชนิดหนึ่ง มาจากทวีปอเมริกาใต้ มีความสูง 1-3 เมตร โดยมักแตกกิ่งใกล้ผิวดิน จึงมัก<br />

พบเป็นพุ่มแน่น เปลือกมีสีด า ใบเป็นใบเดี่ยวรูปรีขอบขนาน ใบเป็นมันมีสีเขียวเข้ม มีเส้นใบที่เห็นได้ชัดเจน ส่วนดอกนั้นมีสี<br />

ขาว แตกที่ปลายยอก มักมีดอกย่อยมาก โดยมีลักษณะเป็นกลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแตกเป็นกลีบ โคนเชื่อมแน่นเป็นหลอด<br />

เดียวกัน ปลายหลอดมีกลีบแยกออกจากกัน 4 กลีบมีลักษณะเป็นรูปไข่ ในฤดูการออกดอกนั้นสามารถออกได้ตลอดทั้งปี และ<br />

ส่งกลิ่นหอมทั้งวัน การเพาะปลูกมักปลูกกระถางหรือบริเวณรอบๆบ้าน สามารถน าไปตอนกิ่งหรือปักช าเพื่อง่ายแก่การ<br />

เพาะปลูกได้ การดูแลรักษาต้นเข็มนั้นชอบอยู่ในที่แจ้ง ปลูกได้กับดินทุกชนิด มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ คนไทยโบราณมีความ<br />

เชื่อว่าควรปลูกต้นเข็มไว้ในแต่ละบ้านท าให้มีความฉลสาดหลักแหลมเพราะต้นเข็มคือสิ่งที่มีความแหลมคม ดังนั้นจึงมักใช้ใน<br />

พิธีไหว้ครูเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการเป็นนักปราชญ์ที่มีสติปัญญาหลักแหลมนอกจากนี้เข็มยังเปนเครื่องบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทาง<br />

พิธีศาสนาเพื่อเป็นสิริมงคลอีกด้วย<br />

นาย ณภัทร ภาสอาจ ม.6 เลขที่ 34 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : ต้นชบา<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณหลังตึกสอง<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 2 สิงหาคม พ.ศ.2560


1. ก าหนดเป้าหมาย<br />

เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมาของชื่อต้นชบา<br />

2. ค้นหาและรวบรวมหลักฐาน<br />

จากข้อมูลที่ค้นหามาใน internet จะได้ข้อมูลดังนี้<br />

....ธรรมเนียมเกี่ยวกับชบานั้นเราถือแบบอินเดีย ฉะนั้นชื่อดอกชบาก็น่าจะได้ชื่อมาจากอินเดียด้วย ถ้า<br />

เดาอย่างนี้จะใกล้เข้าไปอีกนิด ค าว่าชบาก็ไม่ใช่ภาษาอื่นไกลที่ไหน แต่เป็นภาษาสันสกฤตนี่เอง แต่ในอภิธาน<br />

แปลค าว่าชปา ว่า กุหลาบ และแปลค าว่า ชป (ชะปะ) ว่า กุหลาบจีน ฉะนั้นค า ว่าชบา ก็จะต้องเพี้ยนมาจาก<br />

ค าว่า ชป หรือ ชปา....<br />

http://www.vichakaset.com/%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%9<br />

A%E0%B8%B2/<br />

....เชื่อกันว่าดอกชบาเข้าประเทศไทยมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นอย่างน้อย เพราะได้รับการกล่าวถึงใน<br />

ไตรภูมิพระร่วง คาดว่าประเทศไทยได้รับดอกชบามาจากประเทศอินเดีย เพราะชื่อ ชบา มาจากภาษาสันสฤต<br />

ค าว่า ชปา เมื่อเป็นเช่นนี้ไทยจึงรับความเชื่อเรื่องของดอกชบามาจากอินเดียตามไปด้วย....<br />

http://www.homeidea.in.th/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%99/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%<br />

B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%AD<br />

%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2-<br />

%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87/<br />

....เกิดจากชื่อที่มีความหมายไปใกล้กับสิ่งไม่ดี แต่ เกิดจากวัฒนธรรม ประเพณีแต่ครั้งโบราณ ที่คน<br />

ไทยรับมาจากอินเดีย ท า ให้ดอกชบาถูกน าไปใช้เป็นสัญลักษณ์ ของความชั่วร้ายอย่างเป็นทางการมาเนิ่นนาน<br />

....<br />

https://www.doctor.or.th/article/detail/2339<br />

....ดอกชบา ฉายา Queen of Tropic Flower หรือ ราชินีแห่งไม้ดอกเมืองร้อน สักนิด ชื่อสามัญ<br />

เรียกว่า Shoe Flower เป็นดอกไม้สัญลักษณ์ของจังหวัดปัตตานี และประเทศมาเลเซียด้วย เรียกว่า บุหงารา<br />

ยา แต่ต้นตอเป็นดอกไม้เผ่าพันธุ์ดั้งเดิมของเมืองจีน ที่ชาวตะวันตกเรียกว่า China Rose.... .....ยางดอกยัง<br />

สามารถน ามาเป็นยาขัดรองเท้าให้แวววาวได้ ซึ่งอาจจะเป็นที่มาของชื่อที่เรียกว่า Shoe Flower....<br />

https://www.gotoknow.org/posts/416202


3. วิเคราะห์หลักฐานและตีความหลักฐาน<br />

จากข้อมูลที่ได้รวบรวมมาข้าพเจ้าสามารถสรุปมาได้ว่า ค าว่าชบานั้นมาจากค าว่า ชป หรือ<br />

ชปา มาจากประเทศอินเดีย เนื่องจากไทยมีความเชื่อเกี่ยวกับชบาที่เหมือนกับในประเทศอินเดีย<br />

และจากข้อมูลที่หามาค าว่าชบานั้นมาจากประเทศอินเดียทั้งหมด<br />

4. สรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

ค าว่าชบานั้นมาจากค าว่า ชป หรือ ชปา มาจากประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นภาษาสันสกฤต<br />

5. น าเสนอเรื่องที่ศึกษา<br />

น าเสนอแก่อาจารย์ สยมภู รนชิตพานิชยกิต ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์<br />

นาย ณัฐพงศ์ สุขประเสริฐ เลขที่ 35 ห้อง 74


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้: ต้นมะนาวไม่รู้โห่<br />

สถานที่ปลูก: หลังตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ: 1 สิงหาคม 2560<br />

1. การก าหนดเป้าหมาย<br />

เพื่อศึกษาความเป็นมาของชื่อต้นมะนาวไม่รู้โห่<br />

2. การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐาน<br />

สมุนไพรมะม่วงหาวมะนาวโห่ เป็นชื่อที่เพี้ยนมาจากชื่อ “มะม่วงไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้โห่” พันธุ์ไม้<br />

ชนิดนี้มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า หนามขี้แฮด (เชียงใหม่), หนามแดง (กรุงเทพฯ), มะนาวไม่รู้โห่ (ภาค<br />

กลาง), มะนาวโห่ (ภาคใต้) เป็นต้น<br />

มะม่วงหาวมะนาวโห่จัดเป็นผลไม้สมุนไพรชนิดหนึ่ง ลักษณะของผลจะมีสีแดงเรียวเล็กคล้ายกับ<br />

มะเขือเทศราชินี ส าหรับรสชาติของผลสุกจะออกหวานนุ่มลิ้น แต่ถ้ายังไม่สุกจะมีรสเปรี้ยวจี๊ดเข็ด<br />

ฟัน มีธาตุเหล็กและวิตามินซีสูง เมื่อกัดไปแล้วจะมียางเหนียว ๆ ฝาดคอ (เป็นผลไม้ในวรรณคดี<br />

เรื่องพระรถเมรี (นางสิบสอง) ใครเคยอ่านคงทราบกันดี)<br />

แหล่งที่มา : https://medthai.com/มะม่วงหาวมะนาวโห่. 2 สิงหาคม 2560<br />

หากนับย้อนอดีตไปเมื่อหลายสิบปีก่อน ละครแนวจักรๆ วงศ์ๆ เรื่อง "นางสิบสอง" และ "พระรถ<br />

เมรี" ที่ฉายให้ดูกันทางโทรทัศน์บ้านเรา นับเป็นละครยอดฮิตของผู้ชมทุกวัยตั้งแต่ลูกเด็กเล็กแดง


จนถึงปู่ย่าตายาย<br />

มะมวงหาวมะนาวโห่ หรือมะม่วงไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้โห่ บางแห่งเรียกว่า มะงั่วไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้<br />

โห่ เป็นชื่อที่มีการกล่าวถึงว่าน ามาปรุงยาได้ในนิทาน เรื่อง พระรถเมรี และมีการกล่าวว่า มะนาว<br />

ไม่รู้โห่เป็นต้นไม้ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในวรรณคดีเรื่อง สังข์ทอง และรามเกียรติ์<br />

แหล่งที่มา : https://www.สวนมะนาวโห่ลุงศิริ.com/13993939/มะม่วงหาวมะนาวโห่กับ<br />

วรรณคดีไทย. 2 สิงหาคม 2560<br />

ค ากลอนจากเรื่อง พระรถเมรี<br />

หนึ่งสวนแก้วอุทยานส าราฐยศ ปรากฎพระราชพฤกษา<br />

มะม่วงหาวมะนาวโห่อันโอฬาร เกิดส าหรับพาราเป็นเสี่ยงทาย<br />

แต่ดอกใบนั้นอย่าให้ใครจับต้อง จะเกิดกองทุกข์เข็ญเป็นเหลือหลาย<br />

ใครเข้ามาจับฆ่าเสียให้ตาย เร่งบาดหมายตรวจดูอยู่ระวัง<br />

แหล่งที่มา : https://www.สวนมะนาวโห่ลุงศิริ.com/13993939/มะม่วงหาวมะนาวโห่กับ<br />

วรรณคดีไทย. 2 สิงหาคม 2560<br />

เกี่ยวกับชื่อที่ถูกต้องของ มะม่วงไม่รู้หาว - มะนาวไม่รู้โห่ นี้ตาเชยขอก๊อปปี้ข้อความจากกระทู้เก่า<br />

ของตาเชยเอง ซึ่งได้ตั้งกระทู้ไว้ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2552 เอามาให้อ่านกันครับ<br />

... จากการที่มีผู้ตั้งกระทู้เกี่ยวกับต้น "มะม่วงไม่รู้หาว-มะนาวไม่รู้โห่" ติดๆ กันหลายกระทู้ในช่วงที่<br />

ผ่านมา ซึ่งหลายๆ ท่านก็ได้ให้ค าตอบกันไปคนละทิศคนละทาง รวมทั้งตาเชยเองด้วย<br />

พอดีเมื่อ 2-3 วันก่อนว่างๆ ก็เลยเอาหนังสือ "ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย" (ซึ่งเขียนโดย<br />

ศาสตราจารย์ ดร.เต็ม สมิตินันทน์ อันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเปรียบเสมือนเป็นพจนานุกรม<br />

ของชื่อต้นไม้ในเมืองไทยนั่นทีเดียว เพราะศาลไทยได้ใช้หนังสือเล่มนี้เป็นหลักอ้างอิงในการตัดสิน<br />

คดีที่เกี่ยวกับชื่อต้นไม้ในประเทศไทย) มานั่งอ่านทบทวนความทรงจ า อ่านจบแล้วก็มีอะไร<br />

บางอย่างที่อยากจะบันทึกไว้เผื่อจะเป็น<br />

ประโชน์แก่นักเล่นต้นไม้ทั้งหลายในห้องนี้บ้าง<br />

เรื่องแรกก็คือที่เกี่ยวกับชื่อ " มะม่วงไม่รู้หาว-<br />

มะนาวไม่รู้โห่ " นั่นเอง ตาเชยขอสรุปเป็นข้อๆ<br />

ไปเลยนะครับจะได้ไม่งง<br />

1) มะม่วงไม่รู้หาว-มะนาวไม่รู้โห่ หรือ<br />

มะม่วงหาว-มะนาวโห่ นั้น ไม่ใช่ไม้ต้น<br />

เดียวกันอย่างแน่นอน เพราะไม่ปรากฎ<br />

ว่ามีต้นไม้ชนิดใดที่มีชื่อเรียกแบบนี้อยู่<br />

เลย<br />

2) " มะม่วงไม่รู้หาว " เป็นชื่อหนึ่งในหลายชื่อท้องถิ่นของมะม่วงหิมพานต์ และไม่ปรากฎว่ามี<br />

ใช้เรียกชื่อต้นไม้ชนิดอื่นๆ อีกเลย รวมทั้งชื่อ "มะม่วงหาว" ก็ไม่มีเช่นกัน จึงสรุปว่ามะม่วง<br />

ไม่รู้หาวก็คือมะม่วงหิมพานต์อย่างแน่นอน<br />

3) " มะนาวไม่รู้โห่ " นั้นเป็นชื่อท้องถิ่นของไม้ 2 ชนิด คือหนามแดง กับมะนาวเทศ หนาม<br />

แดงนั้นยังมีชื่อท้องถิ่นว่า "มะนาวโห่" อีกชื่อหนึ่งด้วย ส่วนมะนาวเทศนั้นก็มีชื่อท้องถิ่นว่า<br />

"มะนาวพระรฐ" อีกชื่อหนึ่งเช่นกัน จึงสรุปว่ามะนาวไม่รู้โห่นั้นมีสองชนิด คือต้นหนามแดง<br />

และต้นมะนาวเทศ


4) มีไม้ที่น่าจะเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้อยู่อีกชนิดหนึ่งคือ " มะนาวเมรี " หรือที่ทางแม่ฮ่องสอน<br />

เรียกว่า มะโว่หวาน ไม้ต้นนี้ตาเชยไม่รู้จักจึงขออนุญาตงดออกความเห็นครับ..<br />

ตาเชย. แหล่งที่มา : https://pantip.com/topic/31365688. 2 สิงหาคม 2560<br />

นั่งเถียง โทรเถียง จนเหนื่อย อยากจะตะโกนดังๆๆว่า ที่นิยมปลูกกันอยู่เนี่ย เรียกว่า "มะม่วงไม่รู้<br />

หาว" อย่ามีมะนาวไม่รู้โห่พ่วงมาด้วยสิ มันเป็น 2 ชนิด ที่คล้ายกัน เท่านั้น จากวรรณคดีไทย<br />

เถียงไม่เคยชนะ มันคือ " มะม่วงไม่รู้หาว" และ "มะนาวไม่รู้โห่" ใบไม่เหมือนกัน ลูกไม่เหมือนกัน<br />

สรรพคุณก็ไม่เหมือนกัน<br />

aeangP. นี่คือมะม่วงไม่รู้หาว เท่านั้น อย่าเรียก มะม่วงไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้โห่สิ. แหล่งที่มา :<br />

https://pantip.com/topic/30552096. 2 สิงหาคม 2560<br />

เรื่องนี้ตาเชยเคยตรวจสอบจากหนังสือบัญชีรายชื่อพรรณไม้ในประเทศไทย ของศาสตราจารย์<br />

เต็ม สมิตินันท์ ซึ่งเป็นหนังสือที่ศาลไทยใช้อ้างอิงในการตัดสินคดีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องชื่อต้นไม้ใน<br />

ประเทสไทยแล้ว ได้ความว่าดังนี้..<br />

- ไม่มีไม้ชนิดใดที่มีชื่อเรียกว่า มะม่วงหาวมะนาวโห่ หรือ มะม่วงไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้โห่<br />

- มะม่วงรู้หาว หรือ มะม่วงไม่รู้หาว นั้น เป็นชื่อที่ใช้เรียก มะม่วงหิมพานต์ เพียงชนิดเดียว<br />

เท่านั้น<br />

- ไม่มีไม้ชนิดใดที่ถูกเรียกว่า มะนาวรู้โห่ แต่ มะนาวไม่รู้โห่ เป็นชื่อที่ใช้เรียกไม้ 2 ชนิด คือ หนาม<br />

แดง และ มะนาวเทศ (หนามแดง คือต้นที่อยู่เหนือค าว่ามะม่วงไม่รู้หาว และมะนาวเทศ คือต้นที่<br />

อยู่เหนือค าว่ามะนาวไม่รู้โห่ ในภาพเปิดกระทู้ข้างบนสุด)<br />

*** สรุปว่า.. มะม่วงไม่รู้หาว คือมะม่วงหิมพานต์ ส่วน มะนาวไม่รู้โห่ คือหนามแดง และมะนาว<br />

เทศ (แต่หนามแดงจะเป็นที่รู้จักและใช้เรียกกันทั่วไปมากกว่ามะนาวเทศ)<br />

ตาเชย. แหล่งที่มา : https://pantip.com/topic/30552096. 2 สิงหาคม 2560<br />

3. การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

จากข้อมูลของเว็บไซต์ต่างๆให้ความเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่าชื่อของต้นมะนาวไม่รู้โห่นั้นมีอีก<br />

หลากหลายชื่อตามท้องถิ่นต่างๆ เช่น หนามแดง มะม่วงไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้โห่ อีกทั้งยังมีชื่อปรากฎใน<br />

นิทานพื้นบ้านเรื่อง พระรถเมรี จึงสามารถสรุปได้ว่า ต้นมะนาวไม่รู้โห่เป็นสมุนไพรโบราณที่คนไทย<br />

รู้จักและน ามาใช้ประโยชน์ทางด้านการรักษาโรคมานานแล้ว<br />

จากความเห็นของคุณตาเชย ปราชญ์ต้นไม้ และคุณaeangP สมาชิกเว็บไซต์พันทิปดอทคอม ว่าไม่มี<br />

ต้นมะม่วงไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้โห่อยู่จริง มีเพียงแค่ต้นมะนาวไม่รู้โห่เท่านั้น ซึ่งแบ่งเป็นสองชนิดคือ<br />

หนามแดง หรือ มะนาวโห่ และ มะนาวเทศ หรือ มะนาวพระรฐ ส าหรับมะม่วงไม่รู้หาวถูกใช้เรียก<br />

มะม่วงหิมพานต์ในบางพื้นที่<br />

ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า ต้นมะนาวไม่รู้โห่เป็นชื่อที่มีมานานดังปรากฎในเรื่องพระรถเมรี แต่ในแต่<br />

ละพื้นที่มีชื่อเรียกที่แตกต่างกันประกอบกับต้นไม้ชนิดนี้มีหลายพันธ์ ํซึ่งมีลักษณะคล้ายกันและชื่อที่<br />

ปรากฎในเรื่องพระรถเมรีมีความคล้องจองติดหู จึงท าให้เกิดความสับสนของชื่อเรียก<br />

4. การสรุปข้อเท็จจริง<br />

ชื่อต้นมะนาวไม่รู้โห่เป็นชื่อต้นไม้ที่มีมาแต่โบราณจากลักษณะที่มีรสเปรี้ยวคล้ายมะนาว ประกอบด้วย<br />

สองชนิดคือ หนามแดง หรือ มะนาวโห่ และ มะนาวเทศ หรือ มะนาวพระรฐ


5. การน าเสนอ<br />

รวบรวมข้อมูลจัดท าเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์<br />

นายธนัท สัตตอวโล ห้อง 74 เลขที่ 36


การศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้: ยูคาลิปตัส (Eucalyptus)<br />

สถานที่ปลูก: หลังตึกปฏิบัติการวิทย์<br />

วันที่ถ่ายภาพ: 19 พฤษภาคม 2560


1) เป้าหมายที่ต้องการศึกษา: ที่มาของชื่อ “ยูคาลิปตัส” ซึ่งจะศึกษาถึงเหตุผลการตั้งชื่อและรากศัพท์<br />

ของค าที่น ามาประกอบเป็นชื่อ และข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง<br />

2) การค้นหาและรวบรวมหลักฐาน:<br />

https://www.anbg.gov.au/cpbr/cd-keys/Euclid/sample/html/history.htm<br />

ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการค้นพบยูคาลิปตัสโดยชาวยุโรป และผู้ตั้งชื่อยูคาลิปตัส<br />

https://en.m.wiktionary.org/wiki/eucalyptus#French<br />

ให้ข้อมูลเกี่ยวกับรากศัพท์ (etymology) ของค าที่น ามาประกอบเป็นชื่อยูคาลิปตัส<br />

ภานุมาศ จันทร์สุววรณ,วารสาร อวพช. มีนาคม 2551, หน้า 40<br />

ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปลูกยูคาลิปตัสในประเทศไทย<br />

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Eucalyptus<br />

เป็นเว็บไซต์รวบรวมแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับยูคาลิปตัส<br />

Gandolfo, MA; Hermsen, EJ; Zamaloa, MC; Nixon, KC; González, CC; et al.<br />

(2011). "Oldest Known Eucalyptus Macrofossils Are from South America"<br />

ให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งพบยูคาลิปตัสที่เก่าแก่ที่สุด<br />

3) วิเคราะห์หลักฐาน: หลักฐานจากเว็บไซต์แรกมีความน่าเชื่อถือสูง เพราะเป็นเว็บไซต์ของหน่วยงาน<br />

รัฐบาลออสเตรเลีย (Australian National Botanic Gardens) และเป็นเนื้อหาจากหนังสือทาง<br />

วิชาการอีกด้วย ส่วนเว็บไซต์ที่สองก็มีความน่าเชื่อถือสูงเช่นกัน เพราะข้อมูลอ้างอิงมาจาก le Trésor<br />

de la langue française informatisé ซึ่งเป็นพจนานุกรมภาษาฝรั่งเศส หลักฐานที่ได้รับจากสอง<br />

เว็บไซต์นี้ก็มีความน่าเชื่อถือ เพราะมีการอ้างอิงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และบุคคลซึ่งเคยมีชีวิต<br />

อยู่จริง มีความสอดคล้องกัน นอกจากนี้ยังมีการบอกช่วงเวลาอีกด้วย วารสารอพวช.นั้นก็ถูกจัดพิมพ์<br />

โดยองค์กรณ์ที่น่าเชื่อถือ เว็บไซต์ wikipedia อาจไม่มีความหน้าเชื่อถือมากในเรื่องของข้อมูล แต่ได้<br />

รวบรวมแหล่งข้อมูลไว้ ซึ่งสามารถศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเหล่านั้นได้ งานวิจัยฟอสซิลของยูคาลิปตัส<br />

เป็นงานวิจัยจากกลุ่มนักวิจัยต่างประเทศซึ่งได้รับการตีพิมพ์ จึงมีความน่าเชื่อถือ


4) สรุปข้อเท็จจริงและน าเสนอเรื่องที่ศึกษา:<br />

กัปตัน James Cook เป็นผู้น าชาวยุโรปกลุ่มแรกที่ค้นพบทวีปออสเตรเลีย ซึ่งในการออกส ารวจครั้งที่<br />

สามของเขาในปีค.ศ.1777 David Nelson ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะส ารวจของ James Cook ได้เก็บตัวอย่างพืช<br />

ชนิดหนึ่งจาก Bruny Island ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย กลับไปยัง British Museum<br />

ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ต่อมานักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Charles Louis L’Héritier de Brutelle ซึ่ง<br />

ท างานอยู่ที่นั่นได้ตั้งชื่อให้พืชนี้ว่า Eucalyptus obliqua ขึ้นมาจากภาษากรีกโบราณ ประกอบด้วยค าว่า εὖ<br />

(eû) แปลว่า อย่างดี และค าว่า καλυπτός (kaluptós) แปลว่า ถูกคลุม ซึ่งมากจากค าว่า καλύπτω<br />

(kalúptō) แปลว่า ฉันคลุม รวมค าทั้งสองค านี้เป็น Eucalyptus จึงหมายถึง ถูกคลุมอย่างดี ชื่อนี้ถูกสร้าง<br />

ขึ้นมาจากลักษณะของดอกอ่อนที่ก าลังพัฒนาของยูคาลิปตัสที่มีฝาปิด (operculum) โดยฝาปิดนี้จะถูกผลัก<br />

ออกโดยเกสรเพศผู้ (stamen) เมื่อดอกเจริญเต็มที่แล้ว ต่อมามีการค้นพบว่าหนึ่งในลักษณะร่วมของยูคาลิปตัส<br />

ทุกสายพันธุ์คือฝาปิดดอก ซึ่งถือเป็นเรื่องบังเอิญที่ L’Héritier ได้ใช้ลักษณะนี้มาตั้งชื่อในขณะที่ยูคาลิปตัสเพิ่ง<br />

ถูกค้นพบเป็นครั้งแรก<br />

แม้ยูคาลิปตัสจะถูกค้นพบโดยชาวยุโรปที่ออสเตรเลีย แต่ฟอสซิลยูคาลิปตัสที่เก่าแก่ที่สุดถูกค้น<br />

พบว่ามาจากประเทศอาร์เจนตินาทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งปัจจุบันทวีปอเมริกาใต้ไม่ใช่แหล่งยูคาลิปตัสธรรมชาติแล้ว<br />

จึงสรุปได้ว่ายูคาลิปตัสมีการกระจายใน Gondwana supercontinent เมื่อ 51.9 ล้านปีก่อนโดย Gondwana<br />

supercontinent ประกอบด้วยทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย และทวีปอื่นๆในปัจจุบัน หลังจากชาว<br />

ยุโรปค้นพบยูคาลิปตัส ก็ได้น าไปปลูกและกระจายไปทั่วโลก ส่วนในประเทศไทย ได้เริ่มน ายูคาลิปตัสเข้ามา<br />

ปลูกในปีพ.ศ.2444 หรือ ค.ศ.1901 ที่พระที่นั่งวิมานเมฆ ในสมัยรัชกาลที่ 5<br />

ประโยชน์ของต้นยูคาลิปตัส ได้แก่ ไม้กระดาษ (pulp wood) ซึ่งน าไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิต<br />

กระดาษ น้ ามันยูคาลิปตัส เครื่องดนตรีพื้นเมือง และอื่นๆ<br />

นาย ธีธัช อัศวรังสฤษฎ์ ชั้น ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 37


ต้นสาละลังกา<br />

ขั้นตอนที่1 : ขั้นก าหนดเป้าหมาย<br />

ต้องการศึกษาที่มาของชื่อต้นสาละลังกาในปัจจุบันว่ามีความเป็นมาอย่างไร และศึกษาว่าต้นก าเนิดมาจาก<br />

ประเทศศรีลังกาหรือไม่ เนื่องจากต้องการทราบว่าการตั้งชื่อต้นไม้ชนิดใดๆ ดูจากปัจจัยความเป็นมาอย่างไร<br />

ขั้นตอนที่2 : การค้นหาและรวบรวมหลักฐาน<br />

หลักฐาน1 : www.wikipedia.org/wiki/ลูกปืนใหญ่_(พืช)<br />

"ลูกปืนใหญ่ มีถิ่นก าเนิดอยู่ในแถบอเมริกาใต้ในประเทศเปรู , โคลัมเบีย , บราซิล และประเทศใกล้เคียง ในปี<br />

พ.ศ.2424 สวนพฤกษศาสตร์ศรีลังกาได้น าเข้าลูกปืนใหญ่จากตรินิแดดและโตเบโกต่อมาได้ขยายพันธุ์ไปทั่วศรี


ลังกา แต่ชาวศรีลังกากลับเรียกต้นลูกปืนใหญ่นี้ว่า ซาล (Sal) โดยไม่ปรากฏเหตุผลและไม่ทราบความเป็นมา<br />

ของลูกปืนใหญ่ ส่วนมากอ้างว่าน ามาจากอินเดีย และที่เรียกเพราะซาลเพราะเชื่อว่าก้านชูอับเรณูที่เชื่อมกัน<br />

เป็นรูปผืนผ้าตัวงอเป็นตัว U นอน ปุ่มตรงกลางเปรียบเสมือนพระแท่นที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน มีเกสรสี<br />

เหลืองรายล้อมเปรียบเสมือนพระสงฆ์สาวกห้อมล้อมอยู่ ส่วนด้านบนเป็นที่บังแดดและน้ าค้างประดับด้วย<br />

ดอกไม้ เนื่องจากมีดอกตลอดปีประกอบกับกลิ่นหอมที่ทนนาน ชาวศรีลังกาจึงนิยมใช้บูชาพระเช่นดอกไม้อื่นๆ<br />

ลูกปืนใหญ่มิใช่พืชพื้นเมืองของศรีลังกาและอินเดีย และต่างจากสาละอย่างสิ้นเชิงทั้งถิ่นก าเนิดและ<br />

พฤกษศาสตร์ จึงได้มีการจ าแนกชื่อที่พ้องกันเพื่อเรียกให้ถูกต้องว่าสาละ (Sal Tree) หรือสาละอินเดีย (Sal of<br />

India) และลูกปืนใหญ่ (Cannonball Tree)<br />

อนึ่ง ลูกปืนใหญ่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติแต่อย่างใดเนื่องจากลูกปืนใหญ่มีดอกและผลตลอดปี ออกเป็น<br />

งวงยาวตามล าต้นตั้งแต่โคนขึ้นไป ซึ่งผลของของลูกปืนใหญ่มีเปลือกแข็งขนาดส้มโอย่อม ๆ ซึ่งไม่เหมาะแก่การ<br />

นั่งพักหรือท ากิจได้ หากตกใส่ก็อาจท าให้บาดเจ็บได้ "<br />

หลักฐาน2 : www.watsai.net/sal_tree.php<br />

"ความสับสนระหว่างต้นไม้ 2 ชนิด คือ ลูกปืนใหญ่ (Cannon Ball Tree; Couroupita guianensis Aubl.)<br />

บางครั้งเรียกว่า สาละลังกา เป็นพันธุ์ไม้ ที่มีถิ่นก าเนิดในอเมริกาใต้ ต่อมามีผู้น าไปปลูกในดินแดนต่างๆ รวมทั้ง<br />

ประเทศศรีลังกา กระทั่งมีการน าจากศรีลังกาเข้ามาปลูกในประเทศไทย เราสามารถพบเห็นปลูกตามวัดต่างๆ<br />

ในประเทศไทย และติดป้ายว่าเป็น สาละ (Sal; Shorea robusta C.F. Gaertn.) ซึ่งผมมีโอกาสได้พบเห็น<br />

หลายครั้งทั้งวัดในกรุงเทพฯ และตามต่างจังหวัดปลูกต้นลูกปืนใหญ่ ในบริเวณลานวัด และบรรยายความรู้ว่า<br />

เป็นต้นไม้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าที่เสด็จมาประทับก่อนดับขันปรินิพพาน และเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้ผ่านเข้าไป<br />

อ่านเรื่องราวเกี่ยวข้องกับสาละ (Sal; Shorea robusta) ได้พบเห็นแต่ภาพของต้นลูกปืนใหญ่ แฝงอยู่ในชื่อ<br />

ของสาละ (Sal; Shorea robusta) มีอยู่ค่อนข้างมาก และมีภาพที่ถูกต้องจริงๆ อยู่น้อยมาก นั่นหมายถึงการ<br />

กระจายข้อมูลที่มีความคลาดเคลื่อนออกไปค่อนข้างมาก ซึ่งน่าจะเป็นผลเสียต่อผู้รับข่าวสาร และข้อมูล และ<br />

กระทบต่อความรู้ในพุทธประวัติ เรื่องนี้น่าที่จะแก้ไขให้ถูกต้องตามความจริง"<br />

หลักฐาน3 : http://oknation.nationtv.tv/blog/surasakc/2010/04/20/entry-1<br />

"๑.๒ สาละลังกา หรือ ต้นลูกปืนใหญ่ (Cannonball Tree)<br />

เป็นพืชวงศ์จิก วงศ์ Lecythidaceae (ปัจจุบันจิกอยู่ในวงศ์ Barringtoniaceae)<br />

มืชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Couroupita guianensis Aubl. ซึ่งเป็นชนิดที่ไม่เกี่ยว


เนื่องกับพุทธประวัติ (ภาษาละติน guianensis แสดงว่ามีถิ่นก าเนิดจาก<br />

ประเทศ Guiana)<br />

สาละลังกา มีถิ่นก าเนิดมาจากประเทศ Guiana และ<br />

ประเทศอื่นๆ ในแถบทวีปอเมริกาใต้ โดยเฉพาะที่ราบลุ่มแม่น้ าอเมซอน นิยม<br />

ปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไปในประเทศเขตร้อน โดยเฉพาะในสวนพฤกษศาสตร์<br />

เป็นพันธุ์ไม้น ามาจากประเทศคิวบา ศรีลังกาได้มาปลูกประมาณปี พ.ศ. ๒๔๒๒ ส่วนประเทศไทยปลูก<br />

เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๐ เป็นไม้ยืนต้น<br />

ผลัดใบสูง ๑๕-๒๕ เมตร เปลือกสีน้ าตาลแตกเป็นร่องและเป็นสะเก็ด ใบเดี่ยว<br />

ออกเวียนสลับตามปลายกิ่งรูปใบหอกกลับ กว้าง ๕-๘ ซม. ยาว ๑๕-๓๐ ซม.<br />

ปลายแหลม โคนสอบ มน ขอบใบจักตื้นๆ<br />

ดอกช่อใหญ่ ยาว ออกตามโคนต้น ดอกสีชมพูอม<br />

เหลืองและแดง กลิ่นหอมแรง ออกเป็นช่อใหญ่ตามล าต้น กลีบดอก ๔-๖ กลีบ<br />

แข็ง หักง่าย เกสรตัวผู้มีจ านวนมาก เมื่อบานเส้นผ่านศูนย์กลาง ๕-๘ ซม. โคน<br />

ของเกสรตัวผู้เชื่อมติดกันเป็นรูปโค้ง ผลกลม ใหญ่สะดุดตา ผลแห้งเปลือกแข็ง<br />

ผิวสีน้ าตาลปนแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑๐-๒๐ ซม. ผลสุกมีกลิ่นเหม็น ภายใน<br />

มีเมล็ดจ านวนมาก รูปไข่ ออกดอกเกือบตลอดปี ต้องการแสงแดดจัด ต้องการ<br />

น้ าและความชื้นปานกลาง ขึ้นได้ดีในดินทุกประเภท<br />

ชาวลังกาถือว่าเป็นต้นไม้มงคลในพระพุทธศาสนา เห็น


ว่า ดอกมีลักษณะสวยและมีกลิ่นหอม จึงน าไปถวายพระ อีกทั้งนิยมปลูกภายในวัดมากกว่าตามอาคาร<br />

บ้านเรือน(สาละลังกา ปัจจุบันปลูกอยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

วัดพระนอนจักรสีห์ สิงห์บุรี และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น) "<br />

ขั้นตอนที่3 : การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

หลักฐานทั้ง3หลักฐานกล่าวร่วมกันว่า สาละลังกาเป็นพืชเขตร้อนชื้น มีต้นก าเนิดในประเทศแถบทวีปอเมริกา<br />

ใต้และได้ถูกน ามาปลูกในประเทศศรีลังกา และสุดท้ายนั้นได้น ามาปลูกในประเทศไทย ดังนั้นจึงสันนิษฐานได้<br />

ว่าที่เรียกว่าสาละลังกาเนื่องมาจากน าพันธุ์จากศรีลังกามาปลูกในประเทศไทย อีกทั้งหลักฐาน1และ2 ได้กล่าว<br />

ไว้ว่าต้นสาละลังกานั้นเป็นพืชคนละชนิดกับต้นสาละในพุทธประวัติซึ่งมีคนเข้าใจผิดอยู่มาก ดังนั้นจึงตั้งชื่อใหม่<br />

ว่าต้นลูกปืนใหญ่ ซึ่งสันนิษฐานว่าตั้งชื่อมาจากลักษณะของผล ตามที่กล่าวลักษณะของผลไว้ในหลักฐานที่3<br />

ขั้นตอนที่4 : สรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

1.ต้นสาละลังกาที่ตั้งชื่อแบบนี้เนื่องมาจากประเทศไทยได้น าต้นสาละลังกาจากศรีลังกามาปลูกภายในประเทศ<br />

ไทย<br />

2.สาละลังกามีต้นก าเนิดอยู่ในประเทศแถบอเมริกาใต้ซึ่งมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น จากนั้นได้ถูกน ามาปลูกในศรี<br />

ลังกา และถูกน ามาปลูกในประเทศไทยอีกทีหนึ่ง<br />

ขั้นตอนมี่5 : การสรุปและการน าเสนอ<br />

ต้นสาละลังกาหรืออีกชื่อหนึ่งชื่อว่าต้นลูกปืนใหญ่ ชื่อว่าสาละลังกาสันนิษฐานมาจากการที่คนไทยได้น าต้นไม้<br />

ชนิดนี้จากศรีลังกามาปลูกในประเทศไทย คนไทยจึงต้นชื่อว่าต้นสาละลังกา เป็นเสมือนการบอกแหล่งที่มาของ<br />

ต้นไม้ชนิดนี้ ส่วนชื่อต้นลูกปืนใหญ่ตั้งชื่อมาจากลักษณะผลของต้นไม้ชนิดนี้ และเพื่อป้องกันการสับสนกับต้น<br />

สาละหรือที่เรียกว่าสาละอินเดีย ส่วนประวัติความเป็นมาของต้นสาละลังกา คือ ต้นไม้ชนิดนี้มีต้นก าเนิดอยู่ใน<br />

ประเทศในทวีปอเมริกาใต้ บริเวณลุ่มน้ าอะเมซอนซึ่งมีอากาศร้อนชื้น จากนั้นราวปี พ.ศ.2540 ประเทศศรี<br />

ลังกาได้น ามาปลูกในประเทศของตนเอง จากนั้นจึงได้แพร่กระจายไปในประเทศในแถบเอเชีย รวมถึงประเทศ<br />

ไทยซึ่งได้มีการน ามาปลูกในราวปีพ.ศ. 2500<br />

นายปรเมษฐ์ พยุงแก้ว ห้อง 74 เลขที่ 38


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการทาง<br />

ประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : บงกช,อุบลชาติ,ปทุมชาติ<br />

สถานที่ปลูก : บริเวณศาลาหน้าตึก1<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 24 มิถุนายน 2560


ขั้นตอนที่ 1 : ก าหนดปัญหา<br />

ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาที่มาของชื่อพืช<br />

-ท าไมถึงเรียกพืชชนิดนี้ว่า บงกช,อุบลชาติ,ปทุมชาติ<br />

ขั้นตอนที่ 2 : รวบรวมหลักฐาน<br />

-แหล่งที่มา: https://www.doctor.or.th/article/detail/5714<br />

บัว ได้ถูกยกย่องให้เป็นราชินีแห่งดอกไม้น้ า ด้วยความสวยงามที่ปรากฏประจักษ์แก่สายตาผู้พบเห็น<br />

เนื่องจากดอกที่ใหญ่ สีสันสะดุดตาที่ชูอยู่พ้นน้ า ใบมีขนาดใหญ่ ในภาษาสันสกฤต เรียกบัวว่า "บงกช" แปลว่า<br />

เกิดแต่ตม นั่นเป็นเพราะเป็นพันธุ์ไม้น้ าที่มีเหง้าหรือหัวอยู่ในตม ใบและดอกแตกออกมาจากเหง้าหรือหัวนี้ บัว<br />

ที่เราคุ้นเคยคือบัวหลวง (lotus) และบัวสาย (waterlily)<br />

-แหล่งที่มา: http://www.lotus.rmutt.ac.th/?p=466<br />

อุบลชาติ และปทุมชาติ ก็เป็นชื่อเรียกของบัวเช่นกัน แต่เป็นชื่อเรียกค ากลางๆ ที่มีรากศัพท์มาจาก<br />

ภาษาสันสกฤต “อุบลชาติ” แปลงมาจากค าว่า อุบล หรือ อุตฺปล ในภาษาบาลีสันสกฤต หมายถึง บัวกินสาย<br />

บัวก้านอ่อน บัวผัน บัวเผื่อน บัวขาบ ที่นักพฤกษศาสตร์จัดอยู่ในวงศ์ (Family) เดียวกัน คือ Nymphaeaceae<br />

ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษคือ Waterlily ส่วน “ปทุมชาติ” นั้น แปลงมาจากค าว่าปทุม หรือ ปทฺม ในภาษาบาลี<br />

สันสกฤต หมายถึง บัวหลวง หรือบัวก้านแข็ง นักวิทยาศาสตร์จัดอยู่ในวงศ์ (Family) คือ Nelumbonaceae<br />

ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษคือ Lotus<br />

-แหล่งที่มา: https://lotusbywuthikorn.wordpress.com/เกี่ยวกับดอกบัว/ดอกบัวกับภาษาไทย/ชื่อต่างๆ/<br />

บัว กับชื่อของคน การที่บัวได้รับความนิยมว่าเป็น ไม้มงคล ท าให้ถือว่าเป็นมงคลนาม จึงมีการน าไป<br />

ตั้งชื่อหญิงสาวทั้งในวรรณคดี และชีวิตประจ าวันมากมาย เช่น นางปัทมาวดี ในนิทานเวตาล นางปทุมเกสร ใน<br />

บทละครเรื่องพระอภัยมณี นางบัวคลี่ ในเสภาขุนช้างขุนแผน ส่วนชื่อพื้นบ้านก็ได้แก่ สายบัว บัวแก้ว บัวเผื่อน<br />

บัวผัน เป็นต้น นอกจากนี้ก็ยังมีการประยุกต์นามขึ้นใหม่โดยน าค าจากภาษาบาลีสันสกฤตมาสมาสและ สนธิจน<br />

เกิดเป็นค าที่ออกเสียงไพเราะ เหมาะที่จะใช้เป็นชื่อบุรุษและสตรี เช่น ค าว่า “ กมล ” มีความหมายว่า ใจ หรือ<br />

ขยายเป็น กมลา หมายถึง พระลักษมี คือ ผู้อยู่ในดอกบัว กมลวรรณ แปลว่า ผู้มีวรรณะดังดอกบัว โกมุท<br />

โกเมศ หมายถึง บัวสายสีขาว บงกช แปลว่า ผู้เกิดแต่ตม บุษกร หมายถึง บัวสีน้ าเงิน บุษบง บุษบัน หมายถึง<br />

ดอกบัวเผื่อน บุณฑริก หมายถึง ดอกบัวขาว ลินจง เป็นชื่อบัวสีชมพูและบัวสีแดง จงกล หรือ จงกลนี เป็นชื่อ<br />

บัวสายที่มีกลีบซ้อนกันหลายชั้นสีชมพูอ่อน สาโรธ หรือ สาโรช แปลว่า ดอกบัว อรพินท์ คือ ดอกบัว และ<br />

กรณิกา หมายถึง ฝักบัว เป็นต้น


ขั้นตอนที่ 3 : การประเมินคุณค่าของหลักฐาน<br />

จากการรวบรวมหลักฐานจากขั้นตอนที่ 2 ท าให้ทราบว่าข้อมูลที่ได้ล้วนมีความเกี่ยวโยงกันเกี่ยวกับชื่อ<br />

ของไม้พรรณนี้ ท าให้ทราบได้ว่าข้อมูลที่รวบรวมได้มีความน่าเชื่อถือ<br />

ขั้นตอนที่ 4 : การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล<br />

พรรณไม้ชนิดนี้มีชื่อสามัญทั่วไปว่า บัว ซึ่งพืชชนิดนี้ผู้คนเชื่อว่าเป็นพืชมงคล และด้วยการที่ว่าพืชชนิด<br />

นี้มีความนิยมแพร่หลายในอินเดียในอดีต ท าให้พืชชนิดนี้มีชื่อเรียกที่หลากหลายตามภาษาบาลี-สันสกฤตใน<br />

อดีต<br />

ขั้นตอนที่ 5 : การเรียบเรียงหรือการน าเสนอ<br />

จากการรวบรวมข้อมูลหลักฐานจากหลายๆแหล่ง ประกอบกับการประเมินคุณค่าของหลักฐานและ<br />

วิเคราะห์ตีความแล้ว ท าให้เราทราบว่าพืชชนิดนี้มีชื่อสามัญว่า “บัว” ซึ่งพืชชนิดนี้ได้ชื่อว่าเป็นไม้มงคล จึงท า<br />

ให้ผู้คนนิยมพืชชนิดนี้มากในอดีต ซึ่งในอดีตพืชชนิดนี้มีความนิยมในอินเดีย ท าให้พืชชนิดนี้มีชื่อเรียกที่แตกต่าง<br />

กันออกไปตามภาษาบาลี-สันสกฤตที่มีในอดีตนั่นเอง โดยที่เราเรียกบัวว่า บงกช ก็มีที่มาจากภาษาสันสกฤต ที่<br />

หมายถึง เกิดแต่ตม ซึ่งเป็นลักษณะของต้นบัวที่เกิดในน้ าใต้โคลนตมนั่นเอง ส่วนที่เราเรียกบัว ว่า อุบลชาติ<br />

และปทุมชาตินั้นก็มีที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤตเช่นกัน โดย อุบลชาติ แปลงมาจากค าว่า อุบล หรือ อุตฺปล<br />

ในภาษาบาลีสันสกฤต หมายถึง บัวกินสาย บัวก้านอ่อน บัวผัน บัวเผื่อน บัวขาบ ส่วน ปทุมชาติ นั้น แปลงมา<br />

จากค าว่าปทุม หรือ ปทฺม ในภาษาบาลีสันสกฤต หมายถึง บัวหลวง หรือบัวก้านแข็ง นอกจากชื่อทั้งสามชื่อนี้<br />

แล้ว บัวยังมีชื่อเรียกอีกมากมาย อาทิเช่น ปทุม กมลา โกมุท โกเมศ บุษกร บุษบง บุษบัน บุณฑริก ลินจง<br />

จงกล จงกลนี สาโรธ อรพินท์ กรณิกา เป็นต้น<br />

นายภรัณยู เกื้อประเสริฐกิจ ชั้น ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 39


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

ต้นสัก<br />

1) การก าหนดเป้าหมาย<br />

การศึกษาประวัติของต้นสักและที่มาของชื่อต้นสัก<br />

2) การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐานต่างๆ<br />

- การค้นคว้าจากเว็บไซต์ http://www.panmai.com/PvTree/tr_74.shtml พบว่า<br />

ต้นสักเป็นต้นไม้ประจ าจังหวัดอุตรดิตถ์ และ ในค าขวัญของจังหวัดอุตรดิตถ์มีการกล่าวถึงต้นสักว่า<br />

“เหล็กน้ าพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นไม้สักใหญ่ของโลก”<br />

- การค้นคว้าจากเว็บไซต์ https://krid17574.wordpress.com/ถิ่นก าเนิดของต้นสัก/ความเชื่อ<br />

เกี่ยวกับไม้ส/ พบว่า<br />

“ปลูกต้นสักไว้ประจ าบ้าน จะท าให้มีศักดิ์ศรี เพราะสักหรือศักดิ์ คือการมีศักดิ์ศรี มีเกียรติศักดิ์<br />

ยศถาบรรดาศักดิ์ นอกจากนี้ สัก หรือสักกะ คือ พระอินทร์ผู้มีอ านาจที่ยิ่งใหญ่ในสวรรค์ ดังนั้น สัก<br />

จึงเป็นไม้มงคลนาม เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อาศัย ควรปลูกต้นสักไว้ทางทิศเหนือผู้ปลูกควร<br />

ปลูกในวันเสาร์ เพราะโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เพื่อเอาคุณทั่วไปให้ปลูกในวันเสาร์ ถ้าจะให้เป็น<br />

มงคลมากยิ่งขึ้น ผู้ปลูกควรเป็นผู้ใหญ่ที่ควรเคารพนับถือ และเป็นผู้ที่ประกอบคุณงามความดี ก็จะ<br />

เป็นสิริมงคลยิ่งนัก”<br />

- การค้นคว้าจากเว็บไซต์ https://sites.google.com/site/pimchanoktu73/phvks-sastr-nit-x-sak<br />

/ พบว่า<br />

ให้รายละเอียดเหมือนกับเว็บไซต์ https://krid17574.wordpress.com/ โดยมีข้อมูลเพิ่มเติม<br />

เกี่ยวกับประวัติการปลูกไม้สักในไทย ได้แก่ “การปลูกสร้างสวนป่าไม้สักในประเทศไทยได้เริ่ม


ทดลองครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๙ ในท้องที่ป่าแม่ปาน อ าเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ โดยน าวิธีการ<br />

ปลูกสร้างสวนสักในพม่ามาใช้ การปลูกสร้างสวนป่าไม้สัก เพื่อการทดลอง ได้ด าเนินการต่อมาอีก<br />

ในท้องที่ต่างๆ ทั่วภาคเหนือของประเทศ จนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๔๘๔ กรมป่าไม้จึงได้วางแผน และ<br />

ปลูกสร้างสวนป่าไม้สักอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมาย เพื่อที่จะผลิตไม้สักทดแทนป่าธรรมชาติ ที่<br />

อาจหมดสิ้นไปได้ในอนาคต และปลูกสวนตัวอย่างขึ้น ในท้องที่อ าเภองาว จังหวัดล าปาง (สวนป่า<br />

แม่หวด) และในท้องที่อ าเภอลอง จังหวัดแพร่ (สวนป่าแม่ต้า) ซึ่งเป็นแหล่งไม้สักชั้นดีของประเทศ<br />

ต่อมาการปลูกสร้างสวนป่าไม้สัก ได้รับการก าหนดเป็นนโยบายหนึ่งของประเทศ โดยก าหนดไว้ใน<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นับตั้งแต่ฉบับที่ ๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นต้นมา ”<br />

- เอกสารส่วนวนวนัฒนวิจัย ส านักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้ พบว่า<br />

“ การปลูกสร้างสวนป่าไม้สักในประเทศไทยได้เริ่มมาเป็นเวลายาวนานแล้ว ตามประวัติที่<br />

ปรากฏ เมื่อปี พ.ศ.2449 พระยาวันพฤกษ์พิจารณ์ ได้ท าการทดลองปลูกสวนสักโดยอาศัย<br />

ชาวไร่ หรือที่เรียกว่า Taungya system โดยวิธีหยอดเมล็ดลงหลุมตามแบบที่พม่าใช้ได้ผล<br />

มาแล้ว จากการทดลองครั้งแรกซึ่งได้ผลเป็นที่น่าพอใจ จึงได้มีการขยายการปลูกสร้างสวนป่าไม้<br />

สักเพิ่มขึ้นในระยะต่อมา การปลูกสร้างสวนป่าไม้สักที่ถือว่าเป็นการปลูกอย่างจริงจังนั้น ได้เริ่มใน<br />

ปี พ.ศ. 2453 ที่จังหวัดแพร่ โดยปลูกที่สวนสักแม่พวก อ าเภอเด่นชัย เนื้อที่ 66 ไร่ และที่<br />

สวนสักแม่จั๊วะ อ าเภอสูงเม่น เนื้อที่ 197 ไร่ ซึ่งการปลูกทั้งสองแห่งยังใช้วิธีหยอดเมล็ด<br />

เช่นเดิม อย่างไรก็ตามการปลูกป่าดังกล่าวยังไม่มีการจัดงบประมาณให้โดยตรง<br />

ต่อมารัฐบาลได้ตระหนักถึงความส าคัญของการปลูกสร้างสวนป่าเป็นอย่างมาก จึงได้ก าหนดเป็น<br />

นโยบายไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตั้งแต่ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504– 2509) เป็นต้น<br />

มา โดยมีงบประมาณส าหรับด าเนินการโดยตรง ในแผนฉบับที่ 1 นี้ ก าหนดให้ปลูกไม้สักปีละ<br />

5,000 ไร่ ไม้กระยาเลยปีละ 8,000 ไร่ รวมพื้นที่สวนป่าที่ก าหนดให้ปลูกปีละ 13,000 ไร่ นั้นคือ<br />

ตลอดระยะเวลา 6 ปี ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 นี้ รัฐจะต้องปลูกสวนป่าเป็นจ านวน 78,000<br />

ไร่”<br />

3) การวิเคราะห์หลักฐาน<br />

หลักฐานจากกรมป่าไม้เป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือมากที่สุด เนื่องจากเป็นหลักฐานที่ท าโดยหน่วยงาน<br />

ราชการ แต่หลักฐานจากการสืบค้นทางเว็บไซต์เป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือรองลงมาจึงต้องศึกษาจาก<br />

หลายแหล่งข้อมูล<br />

4) การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

- ไม้สักนั้นเป็นต้นไม้ท้องถิ่นที่พบในประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย ลาว พม่า และ ไทย<br />

- การปลูกสร้างสวนป่าไม้สักในประเทศไทยได้เริ่มเมื่อปี พ.ศ.2449<br />

- การปลูกสร้างสวนป่าไม้สัก ได้รับการก าหนดเป็นนโยบายหนึ่งของประเทศ โดยก าหนดไว้ใน<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นับตั้งแต่ฉบับที่ ๑


- คนไทยนิยมปลูกต้นสักไว้ประจ าบ้าน จะท าให้มีศักดิ์ศรี เพราะสักหรือศักดิ์ คือการมีศักดิ์ศรี มี<br />

เกียรติศักดิ์ยศถาบรรดาศักดิ์ นอกจากนี้<br />

5) การสรุปและการน าเสนอ<br />

ต้นสักนั้นมีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคลหนึ่งในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คนไทยโบราณเชื่อว่าค าว่าสัก<br />

นั้นมาจาก สักกะหมายถึงพระอินทร์ผู้มีอ านาจในสวรรค์ นอกเหนือจากนั้นค าว่าสักนั้นพ้องเสียงกับค าว่าศักดิ์<br />

ท าให้คนไทยนิยมปลูกไม้สักในความเชื่อว่าจะเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อยู่อาศัย ไม้สักนั้นเป็นต้นไม้ท้องถิ่นที่<br />

พบในประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย ลาว พม่า และ ไทย โดยประเทศไทยได้มีการปลูกสวนไม้สักขึ้นในปี พ.ศ.<br />

2449 ในบริเวณภาคเหนือโดยมีเป้าหมายที่จะผลิตไม้สักทดแทนธรรมชาติ ท าให้ไม้สักได้ถูกก าหนดใน<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 และ ได้เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจ าจังหวัดอุตรดิตถ์ โดย<br />

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ พระราชทานให้แก่ผู้ราชการจังหวัดสมดังค าขวัญประจ าจังหวัด<br />

อุตรดิตถ์ “เหล็กน้ าพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นไม้สักใหญ่ของโลก”<br />

ไม้สักนั้นมีสมบัติพิเศษคือ ปลวกและมอดไม่ท าอันตรายเนื่องจากมีสารเคมี O-cresyl methyl ether<br />

และเป็นเนื้อแข็งโดยมีความทนทานตามธรรมชาติ เนื่องจากคุณสมบัติเหล่านี้จึงนิยมใช้ไม้สักทองใช้ในการท า<br />

เสาเรือนเนื่องจากความทนทาน สามารถอยู่ในดินได้นานๆ และสามารถฝานเป็นแผ่นบางๆเพือท าไม้อัดในการ<br />

ผลิตเฟอร์นิเจอร์<br />

นาย ภูวิศ เลิศเธียรด ารง ม.6/74 เลขที่ 40


ต้นมะขาม ( Tamarind )<br />

1. การก าหนดเป้าหมายหรือประเด็นที่ต้องการจะศึกษา : ที่มาของชื่อมะขาม หรือ Tamarind มีที่มา<br />

จากอะไร เนื่องจากชื่อ Tamarind มีความแปลก อาจมีที่มาจากภาษาอื่น<br />

2. การค้นหาและรวบรวมหลักฐานประเภทต่างๆ<br />

- หลักฐานที่พบเป็นหลักฐานแบบเป็นลายลักษณ์อักษร ประเภทหลักฐานตติยภูมิ อันได้แก่ข้อมูล<br />

และบทความจากการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต<br />

- พบเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับชื่อ Tamarind ทั้งหมด 3 เว็ปไซต์ได้แก่<br />

1. https://en.wikipedia.org/wiki/Tamarind<br />

ระบุว่า “The name derives from Arabic: , romanized tamar hindi,<br />

"Indian date". Several early medieval herbalists and physicians wrote tamar indi,<br />

medieval Latin use was tamarindus, and Marco Polo wrote of tamarandi.”<br />

تمر هندي<br />

2. http://www.funtrivia.com/askft/Question130125.html<br />

ระบุว่า “The name ultimately derives from Arabic tamr-hind?, meaning "date of<br />

India".”


3. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%<br />

B2%E0%B8%A1<br />

ระบุว่า “tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ: تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian<br />

date”<br />

3. การวิเคราะห์หลักฐาน ( การตรวจสอบ การประเมินความน่าเชื่อถือ การประเมินคุณค่าของ<br />

หลักฐาน)<br />

จากการวิเคราะห์พบว่า เว็ปไซต์ดังกล่าว 2 เว็ปไซต์เป็น เว็ปไซต์ประเภทที่สามารถดัดแปลง<br />

ได้จากผู้ใช้ท าให้มีความน่าเชื่อถือลดลง แต่อีกหนึ่งเว็ปไซต์เป็นเว็ปไซต์ที่มีการเขียนขึ้นจากผู้เขียนเอง<br />

และดูมีความน่าเชื่อถือระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามจากข้อมูลที่ได้มามีความตรงกัน ท าให้เชื่อได้ว่า<br />

หลักฐานดังกล่าวค่อนข้างมีความน่าเชื่อถือ และอิงตามข้อเท็จจริง<br />

4. การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบค าถาม<br />

จากการวิเคราะห์ เพื่อหาข้อสรุป ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับชื่อของมะขามว่า<br />

“ ชื่อ Tamarind ของมะขามนั้น มีที่มาจากภาษาอาหรับซึ่งอ่านว่า tamr hindi โดยแปลความได้ว่า<br />

วันที่ของชาวอินเดีย”<br />

5. การน าเสนอเรื่องราวที่จะศึกษา<br />

ส าหรับชื่อภาษาอังกฤษของมะขาม นั่นคือ Tamarind นั้นแรกเริ่มมีที่มาจากภาษาอาหรับ แปลว่าวันที่<br />

ของชาวอินเดีย ในช่วงต่อมานักสมุนไพรก็ได้เปลี่ยนมาใช้ค าว่า Tamar indi หรือในภาษาลาตินคือ<br />

tamarindus นอกจากนี้ มาโค โปโล ก็ได้เขียนเกี่ยวกับมะขามโดยใช้ชื่อว่า tamarandi อีกด้วย<br />

นาย รุจ อรุณพฤกษากุล ชั้น ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 41


ใบงานการศึกษาต้นไม้ในสวนพฤกษ์ศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาผ่านวิธีการ<br />

ทางประวัติศาสตร์<br />

ชื่อพรรณไม้ : ต้นปีบ<br />

สถานที่ปลูก : หน้าตึก 60 ปี<br />

วันที่ถ่ายภาพ : 14 มิถุนายน 2560


วิธีการทางประวัติศาสตร์<br />

1. การก าหนดเป้าหมาย : ประวัติความเป็นมาของดอกลั่นทม หรือลีลาวดี<br />

2. การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐาน:<br />

1. http://www.prachinburi.go.th/flower.htm<br />

คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นปีบไว้ประจ าบ้านจะท าให้เก็บเงินเก็บทองได้มาก เพราะ<br />

ปีบ คือ ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุของ ดังนั้นคนไทยโบราณเรียกภาชนะใส่ของที่มีค่าว่า ปีบเงิน ปีบ<br />

ทอง นอกจากนี้ยังเชื่ออีกว่าสามารถท าให้มีชื่อเสียงโด่งดัง เพราะปีบมีลักษณะแข็งและโปร่ง เวลา<br />

เคาะหรือตีจะเกิดเสียงดังไปไกล<br />

2. https://medthai.com<br />

กาซะลอง หมายถึง ความรุดหน้า เรียบง่าย ความแข็งแรง และความร่มเย็น เป็นชื่อภาษาถิ่น<br />

เหนือของดอกปีบ<br />

3. https://sites.google.com/site/tnkasalxng/<br />

มีข้อมูลอยู่สองประเด็น ดังนี้<br />

3.1 สัญลักษณ์สีขาวของดอกปีบ เปรียบเสมือนชุดสีขาวของพยาบาล กลิ่นหอมของดอกปีบ<br />

เปรียบเสมือนคุณงามความดี ของวิชาชีพพยาบาล ที่ฟุ้งกระจายให้คนทั่วไป ได้สัมผัสและชื่นชม<br />

3.2 รูปทรงคล้าย "แตร"ของดอกปีบ จะช่วยขจรขจายความดีงามของวิชาชีพ ให้ฟุ้งกระจาย<br />

ไปไกลแสนไกล<br />

4. https://www.gotoknow.org/posts/69539<br />

ต้นปีบ เป็นไม้ยืนต้นที่ให้ความร่มรื่นแก่ชีวิต ซึ่งหมายถึงพยาบาล สามารถชุบและด ารงชีวิต<br />

แก่มวลมนุษย์ เช่นเดียวกับพยาบาล ที่จะเป็นบริการสุขภาพที่จ าเป็นต่อสังคม<br />

5. http://29623.blogspot.com/p/blog-page_24.html<br />

"ดอกปีบ" เป็นต้นไม้ที่ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรคและศัตรู เพราะมีความทนทานสภาพ<br />

ธรรมชาติได้ดี


3. การวิเคราะห์และตีความข้อมูล: หลักฐานทั้งหมดที่สามารถรวบรวมมาได้ มีทั้งหมด 5 แหล่ง<br />

ทั้งหมดเป็นเว็บไซต์ โดยมีข้อมูลโดยสังเขปและที่มาดังนี้<br />

ที่มาของต้นปีบนั้นมีเรื่องเล่าโบราณอ้างถึงปีบที่เป็นภาชนะใส่ของ โดยปีบนั้นสามารถ<br />

ตีความได้สองทางคือ ปีบสามารถใช้เก็บเงิน เก็บทองได้ ดังนั้นคนจึงนิยมเรียกปีบเงิน ปีบทอง และ<br />

ถ้าน าไปปลูกประจ าบ้านจะท าให้มีเงินทองเก็บได้มาก นอกจากนี้ยังเชื่ออีกว่าสามารถท าให้มี<br />

ชื่อเสียงโด่งดัง เพราะปีบมีลักษณะแข็งและโปร่ง เวลาเคาะหรือตีจะเกิดเสียงดังไปไกล และ<br />

สามารถใช้หลลักฐานข้อ 3.2 ในลักษณะของดอกปีบได้อีกด้วย ส่วนภาษาถิ่นภาคเหนือของปีบ<br />

ชื่อว่ากาซะลอง จากหลักฐานข้อที่ 2 กาซะลอง หมายถึง ความรุดหน้า เรียบง่าย ความแข็งแรง<br />

และความร่มเย็น ซึ่งถ้าน าหลักฐานจากข้อ 5 มาสนับสนุน จะได้ว่า กาซะลองหรือปีบสามารถแทน<br />

เป็นสัญลักษณ์ของพยาบาล เพราะ ต้องอดทนเป็นเลิศต้องพร้อมรับในทุกสถานการณ์ และ<br />

สามารถชุบชีวิต และด ารงชีวิตแก่มวลมนุษย์ อีกทั้งดอกที่มีสีขาวก็เหมือนกับชุดของพยาบาล ส่วน<br />

รูปร่างของดอกก็น ามาแทนคุณงามความดีที่ฟุ้งกระจายออกไปได้เช่นกัน<br />

5. การน าเสนอข้อมูล : น าเสนอในรูปแบบเอกสารผ่าน Microsoft Word ท าFlipbook และ ส่ง<br />

บนเพจ facebook Aj.YomYom<br />

นาย อมรทัต เผ่าทิตธรรม ม.6 ห้อง 74 เลขที่ 42

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!