SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
(Industrial Revolution)
คือ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตจากเดิมที่ใช้
แรงคน แรงงานสัตว์ หรือแรงธรรมชาติ และใช้เครื่องมือ
แบบง่ายๆ มาเป็นกระบวนการผลิตที่ใช้เครื่องจักรที่มีความ
สลับซับซ้อนและอาศัยพลังงาน ทาให้ผลิตได้ปริมาณมาก
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งแรกเกิดในประเทศ
อังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต่อมาได้แพร่หลาย
ไปในประเทศตะวันตกต่างๆ และส่วนอื่นๆของโลก การ
ปฏิวัติอุตสาหกรรมนับเป็นปรากฏการณ์ใหม่ที่มีผล
กระทบต่อการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และ
วัฒนธรรมของ
มนุษยชาติทั่วโลก
การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มต้นที่อังกฤษเพราะอังกฤษ
มีปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวทาง อุตสาหกรรมครบถ้วน คือ
มีทุน วัตถุดิบ แรงงาน และตลาดการค้า

       อังกฤษเป็นผู้นาในการปฏิวัติเกษตรกรรม (Agricul-
tural Revolution) โดยนาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์มาปรับปรุง
การเกษตรให้พัฒนาขึ้น
1760-1840 มีการประดิษฐ์เครื่องจักรช่วยในการผลิต
และปรับปรุงโรงงานอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ เรียกว่า
“สมัยแห่งพลังไอน้า” ได้ค้นพบพลังไอน้าและนาเครื่องจักร
ไอน้ามาใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆโดยเฉพาะอุตสาหกรรมทอผ้า
อังกฤษมีแหล่งถ่านหินและเหล็ก ซึ่งเป็น
เชื้อเพลิงและวัตถุดิบที่อุดมสมบูรณ์รวม
ทั้งมีการประดิษฐ์เครื่องจักรกลใหม่ๆนา
มาใช้ในโรงงานอย่างต่อเนื่อง
การประดิษฐ์เพื่อตอบสนองอุตสาหกรรมการ ทอผ้า

ค.ศ. 1733 จอห์น เคย์ แห่ง
เมืองแลงคาเชียร์ ประดิษฐ์
กี่กระตุก ช่วยให้ช่างทอผ้า
ผลิตผ้าได้มากขึ้น 2 เท่า

ค.ศ. 1764 เจมส์ ฮาร์กรีฟส์
ผลิตเครื่องปั่นด้ายได้สาเร็จ
ค.ศ.1769 ริชาร์ด อาร์กไรต์
ได้ปรับปรุงเครื่องปั่นด้าย
ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
และพัฒนาเป็นเครื่องจักรกล
ที่ใช้พลังน้าหมุนแทนพลังคน
เรียกว่า Water Frame

วิตนีย์ ประดิษฐ์เครื่องแยก
เมล็ดฝ้ายออกจากใย
การประดิษฐ์ที่พัฒนาควบคู่กับ
การทอผ้า คือ เครื่องจักรไอน้า
โดยเจมส์ วัตต์ ชาวสกอต ใน
ค.ศ. 1769 โดยใช้การขับเคลือน
                          ่
เครื่องจักรกลแทนพลังงานน้า
ซึ่งส่งผลให้นาไปใช้ใน
อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น
เหมืองแร่และการทอผ้า
อุตสาหกรรมเหล็ก
ค.ศ. 1861- 1865 เป็นการปรับปรุงการคมนาคมสื่อสาร
มีการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการผลิตภาค
อุตสาหกรรมอย่างแท้จริง เป็นยุคที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิงจาก
ก๊าซธรรมชาติ น้ามันปิโตรเลียม และไฟฟ้า (ถ่านหินและ
เครื่องจักรไอน้าลดความสาคัญลง) อุตสาหกรรมที่สาคัญ คือ
อุตสาหกรรมผลิตเครื่องจักรกลที่ทาด้วยเหล็กกล้า (Steel) และ
อุตสาหกรรมเคมี จึงมีผู้เรียกว่า “การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุค
เหล็กกล้า" (Age of Steel )
การตอบสนองด้านการเดินทาง ขนส่ง
ค.ศ. 1804 ริชาร์ด เทรวีทิก นา
พลังงานไอน้ามาขับเคลื่อนรถ
บรรทุก รถจักรไอน้าจึงมีบทบาท
สาคัญในการขนส่ง ที่มชื่อเสียง
                       ี
มาก คือ หัวรถจักรไอน้า ชื่อ
ร็อกเกต ของจอร์จ สตี- เฟนสัน
จึงมีการเปิดบริการรถจักรไอน้า
บรรทุกสินค้าครังแรก เป็นจุดเริ่ม
                 ้
ต้นการเข้าสู่ยุคการใช้รถไฟ ทาให้
ความเจริญขยายไปสู่ชนบท
การคมนาคมทางน้า ใน ค.ศ. 1807 โรเบิร์ต ฟุลตัน
(Robert Fulton) ชาวอเมริกัน ประสบความสาเร็จในการนา
พลังไอน้ามาใช้กับเรือเพื่อรับส่งผู้โดยสาร ต่อมา ค.ศ. 1840
แซม มวล คูนาร์ด (Semuel Cunard) เปิดเดินเรือกลไฟแล่น
ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกได้ภายใน 14 วัน และมีการ
ปรับปรุงเรือกลไฟให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ด้านรถยนต์มีการนาพลังไอน้ามาใช้กับรถสามล้อ
ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้มี การประดิษฐ์เครื่องยนต์
ที่ใช้น้ามันเบนซิน จนถึง ค.ศ. 1857 คาร์ล เบนซ์ (Karl
Benz) และ กอตต์ลีบ เดมเลอร์ (Gottlieb Daimler) สามารถ
นาเครื่องยนต์ที่ใช้น้ามันเบนซินมาใช้กับรถยนต์ ทาให้
อุตสาหกรรมรถยนต์เจริญก้าวหน้าขึ้น
- ประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบลูกกลิงขึ้นใน ค.ศ. 1812 ทาให้การพิมพ์
                               ้
   พัฒนาได้ปริมาณมากขึ้นและเร็วทันเหตุการณ์
- เริ่มระบบไปรษณียในอังกฤษ ใน ค.ศ. 1840 ทาให้การสื่อสาร
                    ์
   สะดวกรวดเร็วขึ้น
- ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แซมมวล มอร์ส ประดิษฐ์โทรเลข
- ค.ศ. 1837 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ ประดิษฐ์โทรศัพท์
- ค.ศ. 1876 และ ค.ศ. 1901 มีการประดิษฐ์วิทยุโทรเลขและ
  ส่งโทรเลขข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกได้สาเร็จ
- ธอมัส แอลวา เอดิสัน ชาวอเมริกันประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า เครื่องเล่น
   จานเสียง และ กล้องถ่ายภาพยนตร์ได้
1. ประชากรทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะวิทยาศาสตร์
และการแพทย์เจริญก้าวหน้า จากเกษตรกรรมมาเป็นอุตสาห
กรรมเกิดการอพยพจากชนบทมาหางานทาในเมืองจนเกิด
ปัญหาความแออัดของประชากรในเขตเมือง โดยเฉพาะ
ประเทศอังกฤษและเยอรมนีมีอัตราการเพิ่มของประชากร
สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
2. การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและสถาปัตยกรรม พัฒนา
ก้าวหน้ามากขึ้น เพราะการพัฒนาอุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยีการก่อสร้าง ทาให้อาคารแข็งแรงขึ้น
3. เกิดลัทธิสังคมนิยม (Socialism) ของคาร์ล มาร์กซ์
(Karl Marx) ที่ เรียกร้องให้กรรมกรรวมพลังกันเพื่อ
ก่อการปฏิวัติโค่นล้มระบบ ทุนนิยม
4. เกิดลัทธิเสรีนิยม (liberalism) ซึ่งเป็นพื้นฐานการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยและ แนวคิดนี้แพร่
หลายกว้างขวางขึ้น ทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจ
กล่าวได้ว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรมก่อให้เกิด
การแบ่งค่ายระหว่างลัทธิทุนนิยมกับลัทธิ สังคมนิยม
อย่างเป็นรูปธรรม
    นอกจากนี้ยังทาให้เกิดวรรณกรรมแนวสัจนิยม
(Realism) ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่พยายาม
เสนอเรื่องความเป็นจริงเบื้องหลัง ความสาเร็จ ของ
ระบบสังคมอุตสาหกรรม ที่ชนชั้นกรรมกรมีชีวิต
ที่ยากไร้และถูกเอารัดเอาเปรียบ
5. การปฏิวัติทางอุตสาหกรรมได้ขยายไปทั่วภูมิภาคต่างๆ
ของโลก ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง ทางด้านเศรษฐกิจและ
สังคม การเมือง และทาให้ประเทศต่างๆ เหล่านี้มี
“วัฒนธรรมร่วม” ตามตะวันตกไปด้วย
6.การแสวงหาอาณานิคมและลัทธิจักรวรรดินิยม ประเทศ
ยุโรปที่มีการปฏิวัติการผลิตด้านอุตสาหกรรมมีความจาเป็น
ต้องแสวงหาแหล่งวัตถุดิบป้อนโรงงานอุตสาหกรรม และ
ขยายตลาดระบายสินค้าที่ผลิตจึงเกิดการแข่งขันกันแสวง
หาอาณานิคมในทวีปแอฟริกาและเอเชีย
http://www.thaigoodview.com/node/74280

http://th.wikipedia.org/wiki/การปฏิวัติอุตสาหกรรม

http://pojjamansk.exteen.com/20090624/entry

เอกสารประกอบการเรียนวิชาสังคมศึกษา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เหตุการณ์สาคัญในสมัยกลางถึงสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20
นายก่อกุศล      มาแสน                   เลขที่ 1
นางสาวจุฬารัตน์ ดวงแก้ว                เลขที่ 15
นางสาวป่านจิรา ผาทอง                   เลขที่ 19
             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

More Related Content

What's hot

อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การปฏิวัติอุตสาหกรรม