SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
การเกิดน้าขึ้นน้าลง
น้าขึ้นน้าลงเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์ที่กระทาต่อโลก แต่ผลที่เกิดจากดวงจันทร์นั้นมากกว่าดวงอาทิตย์
ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์จะมีมวลมากกว่าดวงจันทร์ถึง 27 ล้านเท่า แต่ดวงอาทิตย์อยู่
ห่างไกลจากโลกถึง 93 ล้านไมล์ ส่วนดวงจันทร์ที่เป็นบริวารของโลกนั้น อยู่ห่างจาก
โลกเพียง 240,000 ไมล์ดังนั้นแรงดึงดูดของดวงจันทร์จึงมีผลต่อโลกมากกว่าดวง
อาทิตย์
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
การเกิดน้าขึ้นน้าลง (ต่อ)
ในขณะที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกนั้น น้าบนพื้นโลกซึ่งเป็นของเหลว จะถูก
แรงดึงดูดของดวงจันทร์ทาให้ระดับน้าสูงขึ้นทั้งในทิศทางที่ดวงจันทร์ปรากฏขึ้นและ
ในซีกโลกฝั่งตรงข้ามน้าก็จะสูงขึ้นด้วยเพราะแรงดึงดูดของโลกกับดวงจันทร์ไปรวม
ในทิศทางนั้น
แรงดึงดูดของดวงจันทร์ที่กระทากับโลกบริเวณที่ใกล้กับดวงจันทร์มากที่สุด
จะเกิดแรงมากที่สุดด้วย ดังนั้นน้าในมหาสมุทรจึงเคลื่อนเข้ามาในบริเวณนี้มากกว่า
บริเวณอื่น ส่วนระดับน้าด้านข้างทั้งสองของโลกก็จะลดลงและเกิดเป็นปรากฏการณ์
น้าลง
โดยทั่วไปแล้วช่วงเวลาระหว่างน้าขึ้นครั้งที่หนึ่งถึงน้าขึ้นครั้งที่สองจะใช้
เวลาเท่ากับ 12 ชั่วโมง 25 นาที
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
การเกิดน้าขึ้นน้าลง (ต่อ)
การที่จะเกิดน้าขึ้นมากเป็นพิเศษ หรือน้าลงมากเป็นพิเศษได้นั้น ดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์จะต้องโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน ไม่ว่าดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์จะ
อยู่ข้างเดียวหรือคนละข้างกับโลก ระดับน้าจะสูงขึ้นกว่าปกติเรียกว่า น้าเกิด (spring
tide) ซึ่งจะเกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง คือใกล้วันขึ้น 15 ค่า และวันแรม 15 ค่า
และเมื่อใดที่ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อยู่ในแนวตั้งฉากซึ่งกันและกัน ระดับ
น้าจะไม่สูงขึ้นแต่จะอยู่ในระดับเดิม ไม่ขึ้นไม่ลง เรียกว่า น้าตาย (neap tide)
จะเกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง เช่นเดียวกับน้าเกิด คือใกล้วันขึ้น 8 ค่า และวันแรม 8 ค่า
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
แรงไทดัล
เมื่อดาวดวงหนึ่งได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงจากดาวอีกดวงหนึ่ง ด้านที่อยู่
ใกล้จะได้ถูกดึงดูดมากกว่าด้านที่อยู่ไกล ความแตกต่างของแรงทั้งด้านจะทาให้เกิด
ความเครียดภายใน ถ้าเนื้อของดาวไม่แข็งแรงพอก็อาจจะทาให้ดาวแตกได้ ถ้าเนื้อของ
ดาวมีความหยุ่นก็จะทาให้ดาวยืดออกเป็นทรงรี เราเรียกแรงภายในที่แตกต่างนี้ว่า
"แรงไทดัล" (Tidal force) ยกตัวอย่างเช่น แรงที่ทาให้ดวงจันทร์บริวารแตกเป็น
วงแหวนของดาวเสาร์ แรงที่ทาให้ดาวพุธเป็นทรงรี และแรงที่ทาให้เกิดน้าขึ้นน้าลง
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
แรงไทดัล (ต่อ)
ตามกฏแปรผกผันยกกาลังสองของนิวตัน เมื่อวัตถุอยู่ไกลจากกันแรง โน้ม
ถ่วงระหว่างวัตถุจะลดลง ดังนั้นเมื่อวางลูกบิลเลียดสามลูกในอวกาศ โดยเรียงลาดับ
ระยะห่างจากดาวเคราะห์ดังภาพ แรงโน้มถ่วงระหว่างดาว เคราะห์กับลูกบิลเลียด
หมายเลข 3 มากกว่า แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับลูกบิลเลียดหมายเลข 2 และ
มากกว่า แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับลูกบิลเลียดหมายเลข 1 ตามลาดับ
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน
แรง โน้มถ่วงของดวงจันทร์กระทา ณ ตาบลต่างๆ ของโลกแตกต่างกัน โดย
สามารถวาดลูกศรแสดงขนาดและทิศทางของแรงดึงดูด ซึ่งเกิดจากอิทธิพลความโน้ม
ถ่วงของดวงจันทร์ ได้ดังภาพ
แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ที่กระทาต่อโลก
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน (ต่อ)
เมื่อพิจารณาแรงไทดัล ณ จุดใดๆ ของโลก แรงไทดัลภายในโลกมีขนาด
เท่ากับ ความแตกต่างระหว่างแรง ดึงดูดจากดวงจันทร์ที่กระทาต่อจุดนั้นๆ กับแรง
ดึงดูดจากดวงจันทร์ที่กระทาต่อศูนย์กลางของโลก ซึ่งสามารถเขียนลูกศรแสดงขนาด
และทิศทางของแรงในภาพข้างล่าง
แรงไทดัลบนพื้นผิวโลก
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
เหตุใดน้าจึงขึ้นสองด้าน (ต่อ)
เนื่องจากเปลือกโลกเป็นของแข็ง จึงไม่สามารถยืดหยุ่นตัวไปตามแรงไทดัล
ซึ่งเกิดจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ ได้ แต่พื้นผิวส่วนใหญ่ของโลกปกคลุมด้วยน้า
ในมหาสมุทร จึงปรับตัวเป็นรูปทรงรี ตามแรงไทดัลที่เกิดขึ้นดังรูปข้างล่าง ทาให้เกิด
ปรากฏการณ์ "น้าขึ้นน้าลง" (Tides)
โดยที่ระดับน้าทะเลจะขึ้นสูงสุดบนด้านที่หันเข้าหาดวงจันทร์และด้านตรง
ข้ามดวงจันทร์ (ตาแหน่ง H และ H’) และระดับน้าทะเลจะลงต่าสุดบนด้านที่ตั้งฉาก
กับดวงจันทร์ (ตาแหน่ง L และ L’) โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ทาให้ ณ ตาแหน่ง
หนึ่งๆ บนพื้นผิวโลก จึงเคลื่อนผ่านบริเวณที่เกิดน้าขึ้นและน้าลงทั้งสองด้าน ทาให้เกิด
น้าขึ้นน้าลง วันละ 2 ครั้ง
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
น้าเกิดและน้าตาย
ผลของแรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์ที่มีต่อการเกิดน้าขึ้นน้าลงบนโลกจึงมีแค่
เพียงครึ่งหนึ่งของผลจากดวงจันทร์เท่านั้นในวันเพ็ญ (ขึ้น 15 ค่า) หรือวันเดือนมืด
(แรม 15 ค่า) ดวงจันทร์ โลกและดวงอาทิตย์จะอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทาให้แรง
โน้มถ่วงจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์เสริมหรือหักล้างกันมากที่สุด ดังนั้น ในวันทั้ง
สองนี้ น้าจึงขึ้นสูงที่สุดและลดลงต่าที่สุด เรียกว่าเป็น น้าเกิด(Spring tide)
ส่วนในวันขึ้น 7 (หรือ 8) ค่า และแรม 7 (หรือ 8) ค่า ดวงจันทร์จะทามุมตั้ง
ฉากกับดวงอาทิตย์เมื่อมองจากโลก ทาให้แรงโน้มถ่วงจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
หักล้างกัน น้าจึงขึ้นต่าที่สุดและลงน้อยที่สุด หรือมีความแตกต่างของระดับน้าที่ขึ้น
และลงน้อยที่สุด เรียกว่าเป็น น้าตาย (Neap tide) ซึ่งจะเกิดขึ้นเดือนละสองวัน
เช่นกัน
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ภาพประกอบ น้าเกิด- น้าตาย
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ผลกระทบของน้าขึ้น-น้าลง
น้าขึ้นน้าลงวันละสองครั้ง มิได้เกิดขึ้นในทุกแห่งของโลก รูปทรงของอ่าว
ช่องทางน้า และพื้นมหาสมุทร ส่งผลต่อการไหลเวียนของน้า ระดับน้าและเวลาของ
การเกิดน้าขึ้น น้าลงในแต่ละแห่งจึงแตกต่างกันมาก แม้ว่าจะเป็นสถานที่อยู่ใกล้เคียง
กัน
เวลาน้าลงอาจมีหินโสโครกโผล่ขึ้นเหนือน้า และช่องทางเดินเรืออาจตื้นเขิน
นักเดินเรือจึงต้องคอยติดตามเวลาการเกิดน้าขึ้นน้าลง
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ดาวเนปจูน
ดาวเนปจูน (Neptune) ถูกค้นพบเนื่องจากนักดาราศาสตร์พบว่า
ตาแหน่งของดาวยูเรนัสในวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ไม่ได้เป็นไปตามกฏของนิวตันจึง
ตั้งสมมติฐานว่า จะต้องมีดาวเคราะห์อีกดวงหนึ่งที่อยู่ไกลถัดออกไปมารบกวนวง
โคจรของดาวยูเรนัส ในที่สุดดาวเนปจูนก็ถูกค้นพบโดย โจฮานน์ กัลเล
ดาวเนปจูนมีองค์ประกอบคล้ายคลึงกับดาวยูเรนัส คือ
มีบรรยากาศเป็นไฮโดรเจนและฮีเลียม และมีมีเทนเจือปนอยู่
จึงมีสีน้าเงิน ดาวเนปจูนมีขนาดเล็กกว่าดาวยูเรนัสเล็กน้อย
แต่มีความหนาแน่นมากกว่า โดยที่แก่นของดาวเนปจูนเป็น
ของแข็งมีขนาดใกล้เคียงกับโลกของเรา
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ดาวเนปจูน (ต่อ)
ดาวเนปจูนมีวงแหวน 4 วง แต่ละวงมีความสว่างไม่มากนัก เพราะ
ประกอบด้วยอนุภาคที่เป็นผงฝุ่นขนาดเล็ก จนถึงขนาดประมาณ 10 เมตร เช่นเดียวกับ
วงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวยูเรนัส ดาวเนปจูนมีดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว
13 ดวง ดวงจันทร์ดวงใหญ่ที่สุดชื่อ "ทายตัน" (Triton)
ทายตันเคลื่อนที่ในวงโคจรโดยมีทิศทางสวนกับการหมุนรอบตัวเองของ
ดาวเนปจูน ซึ่งอาจเป็นเพราะถูกแรงโน้มถ่วงของดาวเนปจูนจับเป็นบริวารภายหลัง
จากการก่อตัวของระบบสุริยะ
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ดาวเนปจูน (ต่อ)
*****ข้อมูลสาคัญ*****
- องค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ไฮโดรเจน ฮีเลียม
- ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์4,498 ล้านกิโลเมตร
- ระนาบวงโคจรทามุมกับระนาบสุริยวิถี 1.769°
- หมุนรอบตัวเองใช้เวลา 16.11 ชั่วโมง
- มวล 17.147 ของโลก
- ความหนาแน่น 1.64 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
- อุณหภูมิ -214°C
- ดวงจันทร์ที่ค้นพบแล้ว 13 ดวง
- วงแหวนที่ค้นพบแล้ว 6 วง
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
วงโคจรของดาวเนปจูน
วงโคจรของดาวเนปจูนมีความรีน้อยมากเมื่อเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ
(ยกเว้นดาวศุกร์) นั้นคือมีความกลมค่อนข้างมาก แกนหมุนของดาวเนปจูนมีความเอียง
28.3 องศาเมื่อเทียบกับระนาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์
บนดาวเนปจูนจะมีฤดูกาลเกิดขึ้นเช่นเดียวกันกับโลก แต่เนื่องจากดาว
เนปจูนมีคาบเวลาการโคจรรอบดวงอาทิตย์ยาวนานถึง 164.8 ปี ฤดูกาลแต่ละฤดูกาลจึง
ยาวนานถึงประมาณ 40 ปี และเนื่องจากคาบเวลาการโคจรรอบดวงอาทิตย์164.8 ปี
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
โครงสร้างของดาวเนปจูน
ดาวเนปจูนมีขนาดและโครงสร้างที่ใกล้เคียงกับดาวยูเรนัสโดยมีแกนกลาง
เป็นหินและน้าแข็ง ซึ่งมีมวลประมาณ 1.2 เท่าของแกนของโลกเรา มีความดันประมาณ
7 ล้านบาร์ ซึ่งมากกว่าความดันบรรยากาศบนพื้นโลกกว่าล้านเท่าและคาดว่ามีอุณหภูมิ
สูงกว่า 5400 เคลวิน
ชั้นแมนเทิลของดาวเนปจูนประกอบด้วยน้า แอมโมเนีย และมีเทน มีมวล
ประมาณ 10 ถึง 15 เท่าของมวลของโลก โดยชั้นของแมนเทิลนี่เองที่สร้าง
สนามแม่เหล็กรอบๆ ดาวเนปจูน ส่วนชั้นนอกสุดของดาวเนปจูนเป็นชั้นบรรยากาศที่
ประกอบไปด้วยแก๊สไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทน
เนื่องจากดาวเนปจูนมีการโคจรรอบตัวเองที่รวดเร็วมากจึงทาให้ดาวเนปจูน
มีลักษณะโป่งออกที่เส้นศูนย์สูตร โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณเส้นศูนย์สูตร
มากกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวขั้วเหนือ-ใต้ประมาณ 848 กิโลเมตร
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
วงโคจรของดาวเนปจูน
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ
ตามนิยามของสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (international
Astronomical Union : IAU) เมื่อปี ค.ศ. 2006 “ดาวเคราะห์แคระ”
(Dwarf planet) หมายถึง
1. วัตถุท้องฟ้า (Astronomical object) ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์
2. มีมวลและแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะรักษาสภาวะสมดุลอุทกสถิต
(Hydrostatic equilibrium) หรือคงรูปร่างให้ใกล้เคียงกับทรงกลมได้
3. มีวงโคจรที่ไม่ชัดเจนและไม่สอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง
4. ไม่ได้เป็นดาวบริวาร (Satellite)
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ
นิยามดังกล่าวทาให้ “ดาวพลูโต” (Pluto) ซึ่งเคยถูกจัดเป้น 1 ใน 9 ดาว
เคราะห์ของ “ระบบสุริยะ” (Solar system) ต้องถูกปรับไปเป็นดาวเคราะห์แคระ
เนื่องจากวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของดาวพลูโตนั้นพาดขวางวงโคจรของดาวเคราะห์
ดวงอื่นๆ ไม่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ระบบสุริยะจึงมีดาวเคราะห์เหลืออยู่เพียง
8 ดวงในปัจจุบัน คือ พุธ (Mercury), ศุกร์ (Venus), โลก (Earth), อังคาร
(Mars), พฤหัส (Jupiter), เสาร์ (Saturn), ยูเรนัส (Uranus) และเนปจูน
(Neptune)
ส่วนดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ ปัจจุบันค้นพบแล้ว 5 ดวง ได้แก่ ซีรีส
(Ceres), พลูโต (Pluto), อีรีส (Eris), เฮาเมอา (Haumea) และมาคีมาคี
(Makemake)
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
The End
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ผู้จัดทา
นางสาวชาลิสา มณีรัตน์ 551120303
นายทักษ์ดนัย อนุสนธิ์ 551120305
นางสาวรัตณาพร สุกสว่าง 551120308
นางสาวชมพูนุช มาเพิ่ม 551120321
นางสาวหรรษา สีใส 551120322
นายกิจจา สมากร 551120331
นางสาวธมาพร ขันหล้า 551120340
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยMark Pitchayut
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์Wichai Likitponrak
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์Jiraporn
 

What's hot (20)

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์
 

Similar to น้ำขึ้น น้ำลง

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
กำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำกำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำKanjana K'zz
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 

Similar to น้ำขึ้น น้ำลง (20)

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Stars
StarsStars
Stars
 
กำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำกำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำ
 
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 

น้ำขึ้น น้ำลง