SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
ชื่อโครงงาน
นางในวรรณคดี
โดย
นางสาวรุ่งรวิน ชูแช่ม เลขที่ 19 ม.6 ห้อง 11
นางสาวอติกานต์จัตตุเทพ เลขที่ 33 ม.6 ห้อง 11
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
นางในวรรณคดี
เกี่ยวกับโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หลักการและทฤษฎี
วัตถุประสงค์
แหล่งอ้างอิง
วิธีการดาเนินงาน
ขอบเขตโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของ
โครงงาน
เกี่ยวกับโครงงาน
ชื่อโครงงาน : นางในวรรณคดี
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ผู้จัดทา : นางสาวรุ่งรวิน ชูแช่ม เลขที่ 19
นางสาวอติกานต์ จัตตุเทพ เลขที่ 33
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 11
ครูที่ปรึกษา : คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
เกี่ยวกับโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันแม้เด็กและเยาวชนจะมีโอกาสและวรรณกรรมน้อยกว่าแต่ก่อน แต่เชื่อว่าหลายๆ
คนคงได้ยินได้ฟังสานวนเปรียบเทียบพฤติกรรมของหญิงสาวในวรรณคดีไทยอยู่เสมอ เช่นว่า
เป็นจิตใจโลเลเหมือนนางวันทอง หรือดเปรียบเปรยว่าชั่วช้าเหมือนนางกากี กริยามารยาท
กระโดกกระเดกเหมือนนางแก้วหน้าม้า ขี้เมาเหมือนนางเมรี ซึ่งดูเหมือนมีแต่เรื่องไม่ดีทั้งสิ้น
แต่จริงๆและนางเอกในวรรณคดียังมีอีกหลายบุคลิก ลักษณะ อาทิ เช่น มีหน้าตางดงามเป็นที่
เลื่องลือและซื่อสัตว์ต่อสามีอย่าง นางสีดา หรือเป็นนางเอกแสนดี มีกตัญญูอย่าง นางเอื้อย
นี่เป็นลักษณะของหญิงงามที่มีอยู่ในวรรณคดีต่างๆ
วัตถุประสงค์และขอบเขต
ของโครงงาน
วัตถุประสงค์และขอบเขต
วัตถุประสงค์
- เพื่อศึกษาเกี่ยวกับนางในวรรณคดี
- เพื่อศึกษาเกี่ยวกับที่มาที่ไปของนางในวรรณคดีตัวนั้นๆ
ขอบเขตโครงงาน
ประวัติความเป็นมาของนางในวรรณคดี
หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎี
วรรณคดี ถือเป็นวรรณกรรมที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี นอกจากจะมีเนื้อหา สาระในเชิง
สร้างสรรค์แล้ว ยังมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ สามารถทาให้ผู้อ่านคล้อยตามเนื้อเรื่องได้เป็นอย่าง
ดี ทั้งนี้ วรรณคดีส่วนใหญ่ มักให้ความสาคัญที่ตัวละคร รวมถึงการดาเนินเรื่อง และสิ่งที่
ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากไม่แพ้เนื้อหา คือ “นางในวรรณคดี” ที่แต่ละเรื่องที่มีอุปนิสัย
แตกต่างกัน ซึ่งนางในวรรณคดีเหล่านี้บ้างก็พบกับโชคชะตาที่ยากลาบาก หรืออุปสรรคต่างๆ
กระทั่งนาไปสู่บทสรุปที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผู้อ่านได้นาไปเป็นแบบอย่างในการดา
เนินชีวิตนั่นเอง
นางบุษบา จากเรื่อง อิเหนา
นางบุษบา เป็นธิดาของท้าวดาหาและประไหมสุหรีดาหราวาตี แห่งกรุงดาหา เมื่อ
ตอนประสูติมีเหตุอัศจรรย์คือ มีกลิ่นหอมตลบอบอวลไปทั่วทั้งวัง ดนตรี แตรสังข์ก็ดังขึ้น
เองโดยไม่มีผู้บรรเลง และเมื่อประสูติได้ไม่นาน ท้าวกุเรปันก็ขอตุนาหงันให้กับอิเหนา
ทั้งนี้ นางบุษบาเป็นหญิงที่งามล้าเลิศกว่านางใดในแผ่นดินชวา กิริยามารยาทเรียบร้อย
คารมคมคาย เฉลียวฉลาดทันคน ใจกว้างและมีเหตุผล จึงทาให้อิเหนารักใคร่หลงใหลนาง
ยิ่งกว่าหญิงใด ทว่า นางถูกเทวดาบรรพบุรุษของวงค์อสัญแดหวา คือ องค์ปะตาระกาหลา
บันดาลให้ลมพายุหอบไป ทาให้นางต้องพลัดพรากจากอิเหนาเป็นเวลาหลายปีกว่าจะได้พบ
อิเหนาและวิวาห์กัน โดยนางได้ตาแหน่งเป็นประไหมสุหรีฝ่ายซ้าย ทั้งนี้ การที่นางยอมให้
อิเหนายกนางจินตะหราเป็นประไหมสุหรีฝ่ายขวาแต่โดยดี ด้วยเห็นว่านางจินตะหราเป็นผู้
มาก่อน แม้ว่าจินตะหราจะไม่ใช่วงศ์เทวัญ ซึ่งข้อนี้ยากที่จะหาหญิงใดเสมอเหมือนและ
นับว่านางบุษบาเป็นหญิงไทยใน วรรณคดีที่สมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติคนหนึ่ง
นางบุษบา จากเรื่องอิเหนา
นางสุวรรณมาลี จากเรื่อง พระอภัยมณี
นางสุวรรณมาลี เป็นธิดาของท้าวสิลราช กษัตริย์เมืองผลึก กับนางมณฑา นางมีรูป
โฉมงดงามมาก แต่มีนิสัยขี้หึง ซึ่งพระบิดาได้หมั้นหมายนางสุวรรณมาลีไว้กับอุศเรนโอรส
กษัตริย์เมืองลังกา นางลงเรือไปเที่ยวทะเลกับท้าวสิลราชแล้วได้ไปพบกับพระอภัยมณีที่
เกาะแก้ว พิสดาร สินสมุทรบุตรของพระอภัยมณีพยายามเป็นสื่อให้นางรักใคร่กับพระ
อภัยมณี ครั้นได้กลับไปถึงเมืองผลึกนางก็ได้เข้าพิธีแต่งงานกับพระอภัยมณี ทั้งสองมีธิดา
ฝาแฝดชื่อสร้อยสุวรรณและจันทร์สุดา ต่อมาพระอภัยมณีตัดสินใจบวชเป็นฤาษีบาเพ็ญ
ศีลอยู่ที่เขาสิงคุตร์ นางสุวรรณมาลีก็บวชตามไปปรนนิบัติด้วยความจงรักภักดี
นอกจากนางจะเป็นหญิงที่มีความงามแล้ว นางยังมีความสามารถมีสติปัญญา
เทียบเท่าผู้ชาย มีความรู้ในการรบ รู้ตาราพิชัยสงคราม และยังมีความเฉลียวฉลาดสามารถ
เอาตัวรอดและพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งทั้งหมดเป็นลักษณะที่โดดเด่นของนางในวรรณคดีตัวนี้
ที่เห็นได้ชัดเจนที เดียว
นางสุวรรณมาลี จากเรื่อง พระอภัยมณี
นางละเวงวันฬา จากเรื่อง พระอภัยมณี
นางละเวงวัณฬา เป็นธิดาของของกษัตริย์เมืองลังกา และเป็นน้องสาวของอุษเรน ผู้เป็น
คู่หมั้นของนางสุวรรณมาลี เมื่อนางอายุได้ 16 ปี นางต้องสูญเสียบิดาและพี่ชายในสงครามสู้รบ
ระหว่างเมืองลังกาและเมืองผลึก เพื่อแย่งชิงนางสุวรรณมาลีกลับคืนจากพระอภัยมณี แม้จะ
เสียใจจนคิดที่จะฆ่าตัวตายตามพ่อและพี่ชายไป แต่ด้วยความแค้นและภาวะที่บ้านเมืองกาลังขาด
ผู้นา นางจึงขึ้นครองเมืองลังกาแทนบิดา และตั้งใจแน่วแน่ที่จะแก้แค้นแทนบิดาและพี่ชายให้จง
ได้
ในตอนต้นนางทาศึกด้วยการใช้เล่ห์กลอุบายตามคาแนะนาของบาทหลวง ทั้งนี้ ด้วย
ความแค้นที่พ่อและพี่ชายถูกฆ่าตายด้วยฝีมือชาวเมืองผลึก แม้ว่าความพยายามของนางใน
ตอนต้น ๆ จะไม่ได้ผล นางก็ไม่ละความพยายาม จนกระทั่งพระอภัยมณียกทัพไปราวีกรุงลังกา
เสียเอง ทั้ง ๆ ที่มีความเกลียด ความโกรธ ความอาฆาตแค้นอยู่เต็มอก แต่พอนางได้พบหน้าและ
ได้ต่อปากต่อคากับพระอภัยมณีศัตรูคนสาคัญเพียงครั้ง เดียว นางก็เกิดรู้สึกเสน่หาในตัวพระ
อภัยมณี แต่ด้วยความที่เป็นเจ้าเมืองลังกา นางละเวงวัณฬาจึงต้องยอมตัดใจเป็นเด็ดขาดและคิด
ที่จะยกกองทัพกลับมาต่อสู้ให้ชนะจงได้
นางละเวงวันฬา จากเรื่อง พระอภัยมณี
นางศรีมาลา จากเรื่อง ขุนช้าง-ขุนแผน
นางศรีมาลา เป็นลูกของพระพิจิตรกับนางบุษบา นางเป็นหญิงที่งดงามทั้งรูปร่างหน้าตา
กิริยามารยาท และงามน้าใจ นางได้พบและรักกับพลายงาม ลูกของขุนแผนกับนางวันทอง ตอน
ที่พลายงามกับขุนแผนยกทัพไปทาสงครามกับเชียงใหม่แล้วได้แวะเยี่ยมพ่อแม่ ของนาง
หลังจากเสร็จสงคราม นางศรีมาลาได้แต่งงานกับพลายงามพร้อมกับนางสร้อยฟ้ า นาง
ได้รับความรักจากพลายงามและนางทองประศรีมากกว่าจึงทาให้นางสร้อยฟ้ าอิจฉา นางสร้อยฟ้ า
จึงทาเสน่ห์ให้พลายงามหลงใหลและเกลียดชังนางศรีมาลา ทาให้นางศรีมาลาปวดร้าวและขมขื่น
ใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากบางครั้งนางได้ถูกพลายงามทุบตี เพราะเชื่อที่นางสร้อยฟ้ าใส่ความ
ครั้นนางสร้อยฟ้ าต้องโทษประหารชีวิต เนื่องจากถูกจับได้เรื่องทาเสน่ห์ใส่พลายงาม นางจึงอ้อน
วอนให้นางศรีมาลาช่วยขออภัยโทษให้ โดยอ้างถึงลูกในท้องที่จะต้องตายไปกับนางด้วย เมื่อนาง
ศรีมาลาใจอ่อนยอมขออภัยโทษให้นางสร้อยฟ้ าจึงเพียงแค่ถูกเนรเทศไปอยู่ที่เชียงใหม่ตามเดิม
โดยในเวลาต่อมา นางก็คลอดบุตรชายมีชื่อว่า พลายยง
นางศรีมาลา จากเรื่อง ขุนช้าง-ขุนแผน
นางมัทนา จากเรื่อง ตานานรักดอกกุหลาบ
นางมัทนา เป็นนางฟ้ าที่มีรูปโฉมงดงาม จนจอมเทพสุเทษณ์ติดตาตรึงใจและใคร่จะได้นางเป็น
ชายา แต่นางมัทนาไม่เคยสนใจจอมเทพสุเทษณ์ เพราะได้ตั้งปณิธานไว้ว่าจะครองคู่กับชายที่ตนรัก
เท่านั้น ด้านจอมเทพสุเทษณ์เป็นเทพผู้ใหญ่บนสรวงสวรรค์ แต่กลับเป็นทุกข์อยู่ด้วยความลุ่มหลง
เทพธิดามัทนา แม้จิตระรถสารถีคู่บารมีจะนารูปของเทพเทวีผู้เลอโฉมหลายต่อหลายองค์มาถวาย ให้
เลือกชม จอมเทพสุเทษณ์ก็มิสนใจไยดี และไม่ว่าเกี้ยวพาหรือราพันรักอย่างไร นางมัทนาก็ได้แต่ปฏิเสธ
ว่า ไม่มีจิตเสน่หาตอบ ดังนั้นจอมเทพสุเทษณ์จึงโกรธมาก กระทั่งจะสาปนางมัทนาให้ไปเกิดในโลก
มนุษย์ แต่นางมัทนาขอให้ตนเองได้ไปเกิดเป็นดอกไม้มีกลิ่นหอมเพื่อให้มีประโยชน์บ้าง จอมเทพสุ
เทษณ์จึงสาปนางมัทนาให้ไปเกิดเป็นดอกกุหลาบที่งามทั้งกลิ่น ทั้งรูป และมีแต่เฉพาะบนสวรรค์ ยังไม่
เคยมีบนโลกมนุษย์ โดยทุก ๆ วันเพ็ญของแต่ละเดือน นางมัทนาจะกลายร่างเป็นคนได้เพียงหนึ่งวัน
หนึ่งคืน เท่านั้น หากนางมีความรักเมื่อใด นางก็จะไม่ต้องคืนรูปเป็นกุหลาบอีก แต่นางจะได้รับความทุกข์
ทรมานเพราะความรักจนมิอาจทนอยู่ได้ และเมื่อนั้นถ้านางอ้อนวอนขอความช่วยเหลือ จอมเทพสุเทษณ์
จึงจะงดโทษทัณฑ์นี้ให้แก่นางต่อมานางมัทนาไปจุติเป็นกุหลาบงามอยู่ในป่าหิมะวันแลได้พบรักกับพระรถ
เสน แต่นางต้องพบกับอุปสรรคนานัปการ จนนางต้องอ้อนวอนขอร้องให้จอมเทพสุเทษณ์ช่วยนาง ด้าน
จอมเทพสุเทษณ์ยินดีแก้คาสาปให้แต่ยังคงต้องการรับนางเป็นมเหสีอยู่เช่น เดิม แต่นางมัทนาได้ปฏิเสธ
อีกครั้ง ดังนั้นจอมเทพสุเทษณ์จึงสาปส่งให้นางมัทนาเป็นดอกกุหลาบไปตลอดกาล มิอาจกลายร่างเป็น
มนุษย์ได้อีก
เมื่อท้าวชัยเสนตามมาถึงในป่าและทราบเรื่องทั้งหมด พระองค์จึงร่าไห้ด้วยความอาลัยก่อน
ราพันถึงความหลงผิดและราพันความรักที่มี ต่อนางมัทนาให้ต้นกุหลาบได้รับรู้ จากนั้นจึงขุดต้น
กุหลาบเพื่อนากลับไปปลูกในอุทยาน และขอให้พระฤๅษีช่วยให้พรวิเศษเพื่อทาให้ต้นกุหลาบงดงาม
มิโรยราตราบจนกว่า พระองค์จะสิ้นอายุขัย ซึ่งพระฤาษีก็ประสิทธิประสาทพรให้กุหลาบนั้นดารงอยู่
คู่โลกนี้มิมีสูญพันธ์ ตลอดมา
นางมัทนา จากเรื่อง ตานานรักดอกกุหลาบ
นางเทราปตี จากเรื่อง ภควัทคีตา
นางเทราปตี มีนามจริงคือ กฤษณา แปลว่าดา เพราะนางมีผิวคล้า แต่มีความงาม
ยอดยิ่ง นางเทราปตี เป็นธิดาของท้าวทุรบท เจ้าเมืองแห่งแคว้นปัญจา เมื่อนางเจริญวัยถึง
คราวควรจะมีคู่ ท้าวทุรบทได้ประกาศพิธีสยุมพรให้แก่นาง โดยเชิญหน่อกษัตริย์ทั้งหลาย
มาประชุมแข่งขันแสดงฝีมือยิงธนู ปรากฏว่า เจ้าชายอรชุนผู้เป็นเจ้าองค์หนึ่งในหมู่เจ้าชาย
ปาณฑพห้าองค์ได้ชัยชนะ จึงได้รับเลือกให้เป็นสามีของนางเทราปตี เมื่อเจ้าชายอรชุนพา
นางกลับมายังตาหนักในป่า ด้วยความดีใจเจ้าชายอรชุนได้ทูลพระนางกุนดีผู้เป็นพระ
มารดาว่า ตนได้ลาภมา พระนางกุนดีจึงตรัสว่า จงแบ่งกันระหว่างพี่น้องเถิด เนื่องจากไม่
ทราบว่าลาภดังกล่าวคือนางเทราปตี ดังนั้นนางเทราปตีจึงจาต้องมีสามีทั้งห้าคน นับแต่นั้น
เป็นต้นมา
นางเทราปตีจากเรื่อง ภควัทคีตา
นางศกุนตลา จากเรื่อง ศกุนตลา
นางศกุนตลา เป็นธิดาของ พระวิศวามิตรกับนางฟ้ าเมนกา แต่นางได้ถูกทิ้งไว้ในป่าตาม
ลาพัง ต่อมานางนกมาพบเข้าจึงนึกสงสารและและนาตัวนางกลับไปเลี้ยงดูเหมือนลูกแท้ ๆ ที่
อาศรมของตน ต่อมานางศกุนตลาเติบโตเป็นสาวรุ่นที่งดงามอย่างหาที่ติไม่ได้ นางได้พบกับท้าว
ทุษยันต์ กษัตริย์จันทรวงศ์ แห่งนครหัสดิน จนทั้งคู่ได้มีสัมพันธ์ลึกซึ้งต่อกัน แต่เมื่อท้าวทุษยันต์
ต้องเดินทางกลับเมือง จึงทาการมอบแหวนวงหนึ่งไว้ให้แก่นาง จนกระทั่งเช้าวันหนึ่งพระฤาษีทุ
รวาสผู้มีปากร้าย ได้มาเรียกนางที่หน้าประตู แต่นางไม่ได้ออกไปต้อนรับ ทาให้พระฤาษีทุรวาส
โกรธสาปให้นางถูกคนรักจาไม่ได้ ต่อมาเมื่อพระฤาษีทุรวาสหายโมโหแล้ว เพราะรู้ว่านางไม่ได้
ตั้งใจแสดงอาการไม่เคารพกับตนจึงให้พรกากับว่า หากคนรักของนางได้เห็นของที่ให้ไว้เป็นที่
ระลึกก็จะจานางได้
ทว่า ระหว่างเดินทางแหวนที่ท้าวทุษยันต์ประทานให้นางไว้เกิดตกหายไปในแม่น้า เมื่อไป
ถึงที่หมายท้าวทุษยันต์ทรงจานางไม่ได้ จนกระทั่งชาวประมงจับได้ปลาที่กลืนแหวนซึ่งนาง
ศกุนตลาทาหาย พอเห็นแหวนท้าวทุษยันต์ก็ได้สติจาเรื่องราวต่าง ๆ ได้ ทั้งสองจึงครองคู่กันอย่าง
มีความสุขอีกครั้ง
นางศกุนตลา จากเรื่อง ศกุนตลา
นางทมยันตี จากเรื่อง พระนลคาหลวง
นางทมยันตี เป็นธิดาของพระเจ้าภีมราชแห่งเมืองคันธปุระ เมื่อโตเป็นสาวก็มีพระสิริโฉม
งดงามและเป็นกุลสตรีที่ดี ต่างก็ร่าลือกันไปไกลจนถึงสวรรค์ ส่วนพระนลเป็นเจ้าชายเมืองนีษระ
เป็นคนเก่ง ฉลาด และรูปลักษณ์งดงามมาก ต่างก็ยกย่องและร่าลือกันไปไกล เมื่อทั้งคู่เติบโตอยู่
ในวัยหนุ่มสาวต่างก็ใฝ่ฝันและถวิลหาซึ่งกันและกัน
ต่อมาพระเจ้าภีมราชได้ประกาศพิธีสยุมพรของพระนางทมยันตีขึ้น โดยเชิญเจ้าชายและ
กษัตริย์ทุกเมืองมาร่วมพิธี โดยการทาให้นางพึงพอใจและเลือกคู่เอง นางทมยันตีจึงได้เลือก
พระนลเป็นสวามี ทว่า กลี และ ทวารบร ซึ่งจะมางานนี้แต่ทราบว่านางได้เลือกพระนลไปแล้ว ก็
โกรธเคืองสัญญาว่าจะทาลายความรักของทั้งคู่และจะทาให้แตกแยกและพลัดพราก จากกันให้ได้
หากตัวเองไม่ได้นางมาครอง ซึ่งเป็นเหตุให้พระนลกับนางทมยันตีต้องพบพานกับอุปสรรค
นานัปการ รวมถึงต้องพัดพรากจากกันเป็นเวลานาน แต่ในท้ายที่สุดทั้งคู่ก็สามารถฟันฝ่าอุปสรรค
จนสามารถกลับมาครองคู่กันด้วย ความสุขได้ดังเดิม
นางทมยันตี จากเรื่อง พระนลคาหลวง
นางสาวิตรี จากเรื่อง ภควัทคีตา
นางสาวิตรี เป็นบุตรของมหาราชอัชวาปตีกับมหารานีมัลวี ซึ่งมหาราชอัชวาปตีนั้น ไม่มี
บุตรชายเลย จึงได้ทาพิธีภาวนาต่อพระแม่มาเตสวาตี (พระแม่กายาตรี) ถึง 16 ปี จนพระแม่มา
ประทานพรให้ แต่เนื่องจากในโชคชะตาของมหาราชนั้น ไม่ได้มีพรของบุตรชายเลย พระแม่จึง
ได้มอบบุตรสาวที่เก่งกาจสามารถ มีสติปัญญา และรูปโฉมอันงดงามให้ เทวฤาษีนารัทมุนีได้ตังชื่อ
ให้เด็กน้อยว่า สาวิตรี นางเป็นหญิงที่ฉลาดและงดงามมาก จนไม่มีชายใดกล้ามาสู่ขอ มหาราชอัช
วาปตีจึงได้มอบหมายให้นางออกหาสามีเอง จนกระทั่งนางได้พบกับพระสัตยวาน บุตรของอดีต
มหาราชจันทราเซนซึ่งตาบอด ต่อเมื่อในงานอภิสมรส เมื่อพระยมราชที่มาร่วมงานด้วยได้แจ้งว่า
พระสัตยวาน เหลือเวลาบนโลกมนุษย์อีกเพียง หนึ่งปีเท่านั้น เมื่อนางสาวิตรีรู้ข่าวก็ได้เข้าไป
ภาวนาต่อพระแม่มาเตสวตี ซึ่งพระแม่มาเตสวตีได้แนะนาหนทาง โดยให้นางถือศีลอดอาหาร
อย่างเคร่งครัด เพื่อขอพรให้กับพระสัตยวาน ซึ่งในขณะที่นางถือศีลอยู่นั้น ยมราชได้พยายามมา
ก่อกวนนางทุกทาง เมื่อพระสัตยวานสิ้นพระชนม์ลง นางสาวิตรีที่มีใจรักสวามีมาก จึงพยายามทุก
วิถีทางเพื่อลงไปยมโลก ก่อนใช้กลอุบายในการต่อรองกับยมราช จนสุดท้ายยมราชจึงยอมคืน
วิญญาณพระยาสัตยวาน ทาให้ทั้งคู่ได้ครองคู่กันอย่างมีความสุข
นางสาวิตรี จากเรื่อง ภควัทคีตา
นางเบญจกาย จากเรื่อง รามเกียรติ์
นางเบญกาย เป็นธิดาของพิเภกและนางตรีชฎา ในคราวที่ทศกัณฐ์ทราบว่า พระรามยก
ทัพข้ามมาถึงกรุงลงกา ทศกัณฐ์ได้สั่งให้นางเบญกายแปลงกายเป็นนางสีดาแกล้งทาเป็นตายลอย
น้าไปที่ ค่ายพระราม เพื่อให้พระรามหมดกาลังใจรบ จะได้ยกทัพกลับไป
ด้านนางเบญกายทาตามบัญชาของทศกัณฐ์เมื่อพระรามเห็นศพนางสีดาลอยน้ามาก็
เสียใจมากที่ต้องมาสูญเสียนางอันเป็นที่ รักไป พาลต่อว่าหนุมานที่หนุมานเข้าไปเผากรุงลงกาใน
คราวนั้น ทศกัณฐ์คงเจ็บใจและสังหารนางสีดา แต่หนุมานรู้สึกถึงความผิดปกติ จึงทูลขอศพนาง
สีดานั้นไปเผาไฟ ทาให้นางเบญกายทนไม่ได้ต้องกลับคืนร่างเดิมก่อนเหาะขึ้นฟ้ าไป แต่ก็ถูกหนุ
มานตามไปจับตัวกลับมาได้
แม้โทษของนางเบญกายจะถึงประหารชีวิต แต่เนื่องจากพระรามเห็นว่านางเบญกายเป็น
บุตรสาวของพิเภกผู้มีความยุติธรรม จึงได้ปล่อยนางเบญกายไป โดยให้หนุมานไปส่งนางเบญกา
ยที่กรุงลงกา แต่ระหว่างทาง หนุมานซึ่งมีจิตปฏิพัทธ์นางเบญกายจึงได้เกี้ยวพาราสีจนได้นาง
เบญกายเป็น ภรรยา
นางเบญจกาย จากเรื่อง รามเกียรติ์
นางสุพรรณมัจฉา จากเรื่อง รามเกียรติ์
นางสุพรรณมัจฉา เป็นธิดาของทศกัณฐ์กับนางปลา เป็นพี่น้องร่วมบิดากับนางสีดา ถึงแม้
นางจะเป็นถึงธิดาของเจ้าผู้ครองกรุงลงกา แต่เจ้าหญิงองค์นี้ ก็ไม่มีโอกาสจะอยู่ในเวียงวังดังผู้อื่น
เพราะนางอยู่ได้เฉพาะแต่ในน้า ดังนั้นที่อยู่ของนางจึงอยู่กลางทะเลใหญ่
ครั้งเมื่อพระรามจะยกทัพข้ามมหาสมุทรมาตีเมืองลงกา และได้ให้หนุมานกับนิลพัท พา
พลวานรเอาหินมากองทาถนนข้ามมหาสมุทร ฝ่ายทศกัณฐ์รู้ข่าวจึงขอให้นางสุพรรณมัจฉาพา
บริวารปลาไปคาบก้อนหินของฝ่าย พระรามไปทิ้ง ซึ่งนางสุพรรณมัจฉาก็ทาตาม จนทาให้การทา
ถนนไม่สาเร็จ เมื่อหนุมานมีความสงสัยจึงได้ดาน้าลงไปใต้สมุทรพบฝูงปลากาลังขนหิน โดยมี
นางสุพรรณมัจฉาเป็นหัวหน้า หนุมานจึงชักตรีออกมาไล่ฆ่านางสุพรรณมัจฉา แต่ในที่สุดหนุมาน
กลับเกิดความรักต่อนางและได้นางสุพรรณมัจฉาเป็นภรรยา
นางสุพรรณมัจฉา จากเรื่อง รามเกียรติ์
นางโมรา จากเรื่อง จันทโครพ
เจ้าชายจันทโครพได้ไปศึกษาเล่าเรียนอยู่กับพระฤาษีอัศโมพระโคดมจนกระทั่ง สาเร็จวิชา
วันหนึ่งพระฤาษีได้มอบผอบทองให้โดยกาชับกับเจ้าชายจันทโครพว่า อย่าเพิ่งเปิดผอบระหว่าง
ทาง แต่ความที่อยากรู้ว่ามีอะไรอยู่ในนั้น ทาให้จันทโครพตัดสินใจเปิดผอบออกดู จนได้พบกับ
นางโมราซึ่งเป็นหญิงที่เกิดจากการปลุกเสกจากขนนกยูง ดังนั้นจึงมีรูปร่าง หน้าตา งดงามมาก
และเมื่อเจ้าชายจันทโครพได้เห็นนางโมราก็เกิดหลงรักทันที และได้นางเป็นชายาที่กลางป่า
นั่นเอง ขณะที่ทั้งคู่เดินทางกลับเมืองได้ถูกโจรป่าปล้น โดยโจรหวังจะชิงนางโมราไปจึงเกิดการ
ต่อสู้กัน แต่นางกลับหันไปช่วยโจรป่าแทน จนทาให้เจ้าชายจันทโครพถูกตาย เมื่อโจรได้นางโมรา
ไปแล้วก็เกิดไม่แน่ใจ กลัวถูกทรยศเหมือนเจ้าชายจันทโครพ โจรป่าจึงแอบหนีนางไป ทาให้โมรา
ต้องระหกระเหินหิวโหยอยู่ในป่า
จากนั้นเมื่อพระอินทร์มาเห็นเข้าก็นึกเวทนา จึงแปลงร่างเป็น
เหยี่ยวคาบชิ้นเนื้อมาลองใจนาง โดยมีเงื่อนไขว่าเมื่อให้ชิ้นเนื้อแล้ว นางต้องยอมมาเป็นภรรยา
ของตน ซึ่งนางโมราก็มิได้ขัดขืนแต่อย่างใด พระอินทร์เห็นเช่นนั้นจึงโกรธและหาว่านางเป็นหญิง
มักมากในกาม โดยไม่เลือกว่าเป็นโจรหรือสัตว์ จึงสาปนางให้กลายเป็นชะนี ส่งเสียงร้องโหยหวน
เรียกหาสามีของตนตลอดไป
นางโมรา จากเรื่อง จันทโครพ
นางโสนน้อย จากเรื่อง โสนน้อยเรือนงาม
เมื่อครั้งพระราชธิดาของกษัตริย์นครโรมวิสัยประสูติได้มีเรือนไม้เล็ก ๆ ติดมือออกมาด้วย
เมื่อพระธิดาเจริญวัยขึ้น เรือนไม้นี้ก็โตขึ้นตาม ดังนั้น พระบิดาจึงตั้งชื่อพระธิดาว่า โสนน้อย
เรือนงาม เมื่อโสนน้อยเรือนงามมีอายุ 15 ปี โหรทูลว่านางกาลังมีเคราะห์ ควรให้ออกไปจากเมือง
พระบิดาและพระมารดาจึงจาใจต้องให้โสนน้อยเรือนงามออกจากเมืองไปโดยลาพัง ด้านพระ
อินทร์มีความสงสารนาง จึงแปลงร่างเป็นชีปะขาวมามอบยาวิเศษสาหรับรักษาคนตายให้ฟื้ นได้
เมื่อโสนน้อยเรือนงามพบนางกุลาถูกงูกัดตายในป่า นางจึงนายาของชีปะขาวมารักษานางกุลา
ดังนั้นนางกุลาจึงขอเป็นทาสติดตามโสนน้อยเรือนงามไปด้วย ด้านกษัตริย์นครนพรัตน์เมือง
ใกล้เคียงโรมวิสัยมีพระราชโอรสนามว่า พระวิจิตรจินดา แต่พระวิจิตรจินดาถูกงูพิษกัดจน
สิ้นพระชนม์ พระบิดาและพระมารดาเศร้าโศกเสียใจมาก แต่โหรทูลว่า พระวิจิตรจินดาจะ
สิ้นพระชนม์เพียง 7 ปี แล้วจะมีพระราชธิดาของเมืองอื่นมารักษา พระบิดาและพระมารดาจึงเก็บ
พระศพของพระวิจิตรจินดาไว้ และประกาศหาคนมารักษา เมื่อโสนน้อยเรือนงามและนางกุลา
เดินทางมาถึงเมืองนพรัตน์และได้ทราบจาก ประกาศ นางจึงเข้าไปในวังและอาสาทาการรักษา
พระวิจิตรจินดา โดยขอให้กั้นม่านเจ็ดชั้นไม่ให้ใครเห็นเวลารักษา เมื่อโสนน้อยเรือนงามทายาให้
พระวิจิตรจินดา พิษของนาคราชทาให้นางรู้สึกร้อนมาก
นางจึงถอดเครื่องทรงพระราชธิดาออกแล้วเสด็จไปสรงน้า ระหว่างนั้นนางกุลาได้นาเครื่องทรง
ของโสนน้อยเรือนงามมาใส่ พอดีกับที่พระวิจิตรจินดาฟื้ นขึ้นมา ทุกคนจึงคิดว่านางกุลาเป็นพระ
ราชธิดาที่รักษาพระวิจิตรจินดา แต่ในท้ายที่สุดเมื่อพระวิจิตรจินดาทราบว่า โสนน้อยเรือนงาม
เป็นพระราชธิดาที่รักษาตน จึงได้สั่งให้ประหารนางกุลาที่โกหกหลอกลวง แต่โสนน้อยเรือนงามได้
ขอชีวิตนางกุลาไว้ จากนั้นพระวิจิตรจินดาจึงได้อภิเษกกับโสนน้อยเรือนงามและอยู่ด้วยกัน
มีความสุข
นางโสนน้อย จากเรื่อง โสนน้อยเรือนงาม
นางทิพเกสร จากเรื่อง ลักษณวงศ์
ท้าวพรหมทัต มีมเหสี ชื่อ สุวรรณอาภา และมีพระราชโอรส ชื่อ ลักษณวงศ์ วันหนึ่งท้าว
พรหมทัตทรงพามเหสีพร้อมพระราชโอรสเสด็จประพาสป่า จนพบนางยักษ์แปลงเป็นสาวสวยทาเล่ห์กล
จนท้าวพรหมทัตลุ่มหลง ต่อมาท้าวพรหมทัต ได้จึงสั่งประหารมเหสีและพระโอรส แต่เพชฌฆาตสงสารจึง
ปล่อยไป ต่อมานางสุวรรณอาภาถูกพระยายักษ์พาตัวไป ขณะที่ฤๅษีนาพระลักษณวงศ์ไปเลี้ยงคู่กับนาง
ทิพย์เกสร เมื่อโตขึ้นเรียนวิชาจนสาเร็จและได้นางทิพย์เกสรเป็นชายา พระลักษณวงศ์ได้ฝากนางทิพ
เกสรไว้กับฤๅษี เพื่อออกตามหามารดาจนพบและ กู้บ้านเมืองได้ แต่ตอนนั้นพระลักษณวงศ์ได้นางยี่สุ่น
เป็นชายา เมื่อนางทิพย์เกสรปลอมเป็นพราหมณ์หนุ่มติดตามมาจนพบพระลักษณวงศ์และทราบ เรื่อง
ของนางยี่สุ่นด้วยความน้อยใจ จึงไม่แสดงตนให้พระลักษณวงศ์รู้ ด้านนางยี่สุ่นริษยาที่เห็นสวามีโปรด
พราหมณ์หนุ่มมากถึงขั้นอนุญาตให้เข้ามา นอนในห้องเดียวกัน ทาให้นางยี่สุ่นเกิดริษยา จึงออกอุบาย
เพื่อกาจัด จนกระทั่งพราหมณ์เกสรถูกสั่งประหารชีวิต และเมื่อพระลักษณวงศ์ได้รู้ความจริงก็โศกเศร้า
เสียใจมาก เพราะได้สั่งประหารมเหสีอันเป็นที่รักโดยไม่รู้ตัว จนถึงวันเผาศพนางทิพเกสร วิญญาณของ
ฤๅษีมหาเมฆ พระอาจารย์ของพระลักษณวงศ์และนางทิพเกสรได้ลงมาเปิดโกศเพื่อนาศพของนางทิพ
เกสรไปทาพิธีชุบชีวิตขึ้นมาใหม่และเปลี่ยนชื่อเป็น นางจันทรังสี
เมื่อพระลักษณวงศ์พบว่า ศพของนางทิพเกสรหายไป ก็ให้โหราจารย์ทานายดู จนทราบว่า มีผู้นา
ศพของนางทิพเกสรไปทาพิธีชุบชีวิต พระลักษณวงศ์ดีจึงออกตามหานางทิพเกสร ซึ่งกว่าจะตาม
หานางทิพเกสรพบก็ผ่านเรื่องราวอีกมากมาย แต่สุดท้ายจบลงอย่างมีความสุข
นางทิพเกสร จากเรื่อง ลักษณวงศ์
วิธีการดาเนินงาน
วิธีการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- กาหนดหัวข้อโครงงาน
- กาหนดขอบเขต
- ศึกษาและค้นคว้า
- จัดทาสื่อและโครงงาน
- นาเสนอ
- ปรับปรุง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ สมุดบันทึก และปากกา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ฝึกการทาโครงงาน
- ฝึกความรับผิดชอบ
- ได้รู้ประวัติความเป็นมาของนางในวรรณคดีตัวนั้นๆ
- ต้องการที่จะทาโครงงานเรื่องนี้ให้สาเร็จ
- ต้องการรู้ถึงความเป็นมาของนางในวรรณคดีตัวนั้นๆ
สถานที่ดาเนินงาน
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย
แหล่งอ้างอิง
แหล่งอ้างอิง
นางในวรรณคดีไย.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://highlight.kapook.com/view/84335.
รูปภาพนางในวรรณคดีไย.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://ruangrat.wordpress.com/

More Related Content

What's hot

โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...
โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...
โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...Boat Cool
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑Kornnicha Wonglai
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่Ppt Itwc
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญSmile Petsuk
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
โครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำ
โครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำโครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำ
โครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำSuangsamon Pankaew
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 

What's hot (20)

โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...
โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...
โครงงาน Is เรื่อง การทำความสะอาดเครื่องเงิน และเครื่องทองเหลืองจากน้ำตะลิงปิง...
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
โครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำ
โครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำโครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำ
โครงร่างโครงงานเรื่อง มลพิษทางน้ำ
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 

Viewers also liked

โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีKrittamook Sansumdang
 
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิดคําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิดnidchakul
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้
เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้
เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้Jiraporn
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress 1234Nutthamon
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านน้ำอ้อย อ้อยอ้อย
 
โครงการทานตะวันงอก P sinchai
โครงการทานตะวันงอก   P sinchaiโครงการทานตะวันงอก   P sinchai
โครงการทานตะวันงอก P sinchaiSnnutch Sinchai
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)Kornfern Chayaboon
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทกบทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทกRuangrat Watthanasaowalak
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนพัน พัน
 
โครงงานภาษาไทย 1
โครงงานภาษาไทย  1โครงงานภาษาไทย  1
โครงงานภาษาไทย 1knnkung
 

Viewers also liked (20)

โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิดคําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานภาษาไทย (PDF)
โครงงานภาษาไทย (PDF)โครงงานภาษาไทย (PDF)
โครงงานภาษาไทย (PDF)
 
เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้
เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้
เนื้อเพลงอุทยานดอกไม้
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
โครงการทานตะวันงอก P sinchai
โครงการทานตะวันงอก   P sinchaiโครงการทานตะวันงอก   P sinchai
โครงการทานตะวันงอก P sinchai
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทกบทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
 
โครงงานภาษาไทย 1
โครงงานภาษาไทย  1โครงงานภาษาไทย  1
โครงงานภาษาไทย 1
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี

  • 1. ชื่อโครงงาน นางในวรรณคดี โดย นางสาวรุ่งรวิน ชูแช่ม เลขที่ 19 ม.6 ห้อง 11 นางสาวอติกานต์จัตตุเทพ เลขที่ 33 ม.6 ห้อง 11 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 4. ชื่อโครงงาน : นางในวรรณคดี ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ผู้จัดทา : นางสาวรุ่งรวิน ชูแช่ม เลขที่ 19 นางสาวอติกานต์ จัตตุเทพ เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 11 ครูที่ปรึกษา : คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ เกี่ยวกับโครงงาน
  • 6. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันแม้เด็กและเยาวชนจะมีโอกาสและวรรณกรรมน้อยกว่าแต่ก่อน แต่เชื่อว่าหลายๆ คนคงได้ยินได้ฟังสานวนเปรียบเทียบพฤติกรรมของหญิงสาวในวรรณคดีไทยอยู่เสมอ เช่นว่า เป็นจิตใจโลเลเหมือนนางวันทอง หรือดเปรียบเปรยว่าชั่วช้าเหมือนนางกากี กริยามารยาท กระโดกกระเดกเหมือนนางแก้วหน้าม้า ขี้เมาเหมือนนางเมรี ซึ่งดูเหมือนมีแต่เรื่องไม่ดีทั้งสิ้น แต่จริงๆและนางเอกในวรรณคดียังมีอีกหลายบุคลิก ลักษณะ อาทิ เช่น มีหน้าตางดงามเป็นที่ เลื่องลือและซื่อสัตว์ต่อสามีอย่าง นางสีดา หรือเป็นนางเอกแสนดี มีกตัญญูอย่าง นางเอื้อย นี่เป็นลักษณะของหญิงงามที่มีอยู่ในวรรณคดีต่างๆ
  • 10. หลักการและทฤษฎี วรรณคดี ถือเป็นวรรณกรรมที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี นอกจากจะมีเนื้อหา สาระในเชิง สร้างสรรค์แล้ว ยังมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ สามารถทาให้ผู้อ่านคล้อยตามเนื้อเรื่องได้เป็นอย่าง ดี ทั้งนี้ วรรณคดีส่วนใหญ่ มักให้ความสาคัญที่ตัวละคร รวมถึงการดาเนินเรื่อง และสิ่งที่ ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากไม่แพ้เนื้อหา คือ “นางในวรรณคดี” ที่แต่ละเรื่องที่มีอุปนิสัย แตกต่างกัน ซึ่งนางในวรรณคดีเหล่านี้บ้างก็พบกับโชคชะตาที่ยากลาบาก หรืออุปสรรคต่างๆ กระทั่งนาไปสู่บทสรุปที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผู้อ่านได้นาไปเป็นแบบอย่างในการดา เนินชีวิตนั่นเอง
  • 11. นางบุษบา จากเรื่อง อิเหนา นางบุษบา เป็นธิดาของท้าวดาหาและประไหมสุหรีดาหราวาตี แห่งกรุงดาหา เมื่อ ตอนประสูติมีเหตุอัศจรรย์คือ มีกลิ่นหอมตลบอบอวลไปทั่วทั้งวัง ดนตรี แตรสังข์ก็ดังขึ้น เองโดยไม่มีผู้บรรเลง และเมื่อประสูติได้ไม่นาน ท้าวกุเรปันก็ขอตุนาหงันให้กับอิเหนา ทั้งนี้ นางบุษบาเป็นหญิงที่งามล้าเลิศกว่านางใดในแผ่นดินชวา กิริยามารยาทเรียบร้อย คารมคมคาย เฉลียวฉลาดทันคน ใจกว้างและมีเหตุผล จึงทาให้อิเหนารักใคร่หลงใหลนาง ยิ่งกว่าหญิงใด ทว่า นางถูกเทวดาบรรพบุรุษของวงค์อสัญแดหวา คือ องค์ปะตาระกาหลา บันดาลให้ลมพายุหอบไป ทาให้นางต้องพลัดพรากจากอิเหนาเป็นเวลาหลายปีกว่าจะได้พบ อิเหนาและวิวาห์กัน โดยนางได้ตาแหน่งเป็นประไหมสุหรีฝ่ายซ้าย ทั้งนี้ การที่นางยอมให้ อิเหนายกนางจินตะหราเป็นประไหมสุหรีฝ่ายขวาแต่โดยดี ด้วยเห็นว่านางจินตะหราเป็นผู้ มาก่อน แม้ว่าจินตะหราจะไม่ใช่วงศ์เทวัญ ซึ่งข้อนี้ยากที่จะหาหญิงใดเสมอเหมือนและ นับว่านางบุษบาเป็นหญิงไทยใน วรรณคดีที่สมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติคนหนึ่ง
  • 13. นางสุวรรณมาลี จากเรื่อง พระอภัยมณี นางสุวรรณมาลี เป็นธิดาของท้าวสิลราช กษัตริย์เมืองผลึก กับนางมณฑา นางมีรูป โฉมงดงามมาก แต่มีนิสัยขี้หึง ซึ่งพระบิดาได้หมั้นหมายนางสุวรรณมาลีไว้กับอุศเรนโอรส กษัตริย์เมืองลังกา นางลงเรือไปเที่ยวทะเลกับท้าวสิลราชแล้วได้ไปพบกับพระอภัยมณีที่ เกาะแก้ว พิสดาร สินสมุทรบุตรของพระอภัยมณีพยายามเป็นสื่อให้นางรักใคร่กับพระ อภัยมณี ครั้นได้กลับไปถึงเมืองผลึกนางก็ได้เข้าพิธีแต่งงานกับพระอภัยมณี ทั้งสองมีธิดา ฝาแฝดชื่อสร้อยสุวรรณและจันทร์สุดา ต่อมาพระอภัยมณีตัดสินใจบวชเป็นฤาษีบาเพ็ญ ศีลอยู่ที่เขาสิงคุตร์ นางสุวรรณมาลีก็บวชตามไปปรนนิบัติด้วยความจงรักภักดี นอกจากนางจะเป็นหญิงที่มีความงามแล้ว นางยังมีความสามารถมีสติปัญญา เทียบเท่าผู้ชาย มีความรู้ในการรบ รู้ตาราพิชัยสงคราม และยังมีความเฉลียวฉลาดสามารถ เอาตัวรอดและพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งทั้งหมดเป็นลักษณะที่โดดเด่นของนางในวรรณคดีตัวนี้ ที่เห็นได้ชัดเจนที เดียว
  • 15. นางละเวงวันฬา จากเรื่อง พระอภัยมณี นางละเวงวัณฬา เป็นธิดาของของกษัตริย์เมืองลังกา และเป็นน้องสาวของอุษเรน ผู้เป็น คู่หมั้นของนางสุวรรณมาลี เมื่อนางอายุได้ 16 ปี นางต้องสูญเสียบิดาและพี่ชายในสงครามสู้รบ ระหว่างเมืองลังกาและเมืองผลึก เพื่อแย่งชิงนางสุวรรณมาลีกลับคืนจากพระอภัยมณี แม้จะ เสียใจจนคิดที่จะฆ่าตัวตายตามพ่อและพี่ชายไป แต่ด้วยความแค้นและภาวะที่บ้านเมืองกาลังขาด ผู้นา นางจึงขึ้นครองเมืองลังกาแทนบิดา และตั้งใจแน่วแน่ที่จะแก้แค้นแทนบิดาและพี่ชายให้จง ได้ ในตอนต้นนางทาศึกด้วยการใช้เล่ห์กลอุบายตามคาแนะนาของบาทหลวง ทั้งนี้ ด้วย ความแค้นที่พ่อและพี่ชายถูกฆ่าตายด้วยฝีมือชาวเมืองผลึก แม้ว่าความพยายามของนางใน ตอนต้น ๆ จะไม่ได้ผล นางก็ไม่ละความพยายาม จนกระทั่งพระอภัยมณียกทัพไปราวีกรุงลังกา เสียเอง ทั้ง ๆ ที่มีความเกลียด ความโกรธ ความอาฆาตแค้นอยู่เต็มอก แต่พอนางได้พบหน้าและ ได้ต่อปากต่อคากับพระอภัยมณีศัตรูคนสาคัญเพียงครั้ง เดียว นางก็เกิดรู้สึกเสน่หาในตัวพระ อภัยมณี แต่ด้วยความที่เป็นเจ้าเมืองลังกา นางละเวงวัณฬาจึงต้องยอมตัดใจเป็นเด็ดขาดและคิด ที่จะยกกองทัพกลับมาต่อสู้ให้ชนะจงได้
  • 17. นางศรีมาลา จากเรื่อง ขุนช้าง-ขุนแผน นางศรีมาลา เป็นลูกของพระพิจิตรกับนางบุษบา นางเป็นหญิงที่งดงามทั้งรูปร่างหน้าตา กิริยามารยาท และงามน้าใจ นางได้พบและรักกับพลายงาม ลูกของขุนแผนกับนางวันทอง ตอน ที่พลายงามกับขุนแผนยกทัพไปทาสงครามกับเชียงใหม่แล้วได้แวะเยี่ยมพ่อแม่ ของนาง หลังจากเสร็จสงคราม นางศรีมาลาได้แต่งงานกับพลายงามพร้อมกับนางสร้อยฟ้ า นาง ได้รับความรักจากพลายงามและนางทองประศรีมากกว่าจึงทาให้นางสร้อยฟ้ าอิจฉา นางสร้อยฟ้ า จึงทาเสน่ห์ให้พลายงามหลงใหลและเกลียดชังนางศรีมาลา ทาให้นางศรีมาลาปวดร้าวและขมขื่น ใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากบางครั้งนางได้ถูกพลายงามทุบตี เพราะเชื่อที่นางสร้อยฟ้ าใส่ความ ครั้นนางสร้อยฟ้ าต้องโทษประหารชีวิต เนื่องจากถูกจับได้เรื่องทาเสน่ห์ใส่พลายงาม นางจึงอ้อน วอนให้นางศรีมาลาช่วยขออภัยโทษให้ โดยอ้างถึงลูกในท้องที่จะต้องตายไปกับนางด้วย เมื่อนาง ศรีมาลาใจอ่อนยอมขออภัยโทษให้นางสร้อยฟ้ าจึงเพียงแค่ถูกเนรเทศไปอยู่ที่เชียงใหม่ตามเดิม โดยในเวลาต่อมา นางก็คลอดบุตรชายมีชื่อว่า พลายยง
  • 19. นางมัทนา จากเรื่อง ตานานรักดอกกุหลาบ นางมัทนา เป็นนางฟ้ าที่มีรูปโฉมงดงาม จนจอมเทพสุเทษณ์ติดตาตรึงใจและใคร่จะได้นางเป็น ชายา แต่นางมัทนาไม่เคยสนใจจอมเทพสุเทษณ์ เพราะได้ตั้งปณิธานไว้ว่าจะครองคู่กับชายที่ตนรัก เท่านั้น ด้านจอมเทพสุเทษณ์เป็นเทพผู้ใหญ่บนสรวงสวรรค์ แต่กลับเป็นทุกข์อยู่ด้วยความลุ่มหลง เทพธิดามัทนา แม้จิตระรถสารถีคู่บารมีจะนารูปของเทพเทวีผู้เลอโฉมหลายต่อหลายองค์มาถวาย ให้ เลือกชม จอมเทพสุเทษณ์ก็มิสนใจไยดี และไม่ว่าเกี้ยวพาหรือราพันรักอย่างไร นางมัทนาก็ได้แต่ปฏิเสธ ว่า ไม่มีจิตเสน่หาตอบ ดังนั้นจอมเทพสุเทษณ์จึงโกรธมาก กระทั่งจะสาปนางมัทนาให้ไปเกิดในโลก มนุษย์ แต่นางมัทนาขอให้ตนเองได้ไปเกิดเป็นดอกไม้มีกลิ่นหอมเพื่อให้มีประโยชน์บ้าง จอมเทพสุ เทษณ์จึงสาปนางมัทนาให้ไปเกิดเป็นดอกกุหลาบที่งามทั้งกลิ่น ทั้งรูป และมีแต่เฉพาะบนสวรรค์ ยังไม่ เคยมีบนโลกมนุษย์ โดยทุก ๆ วันเพ็ญของแต่ละเดือน นางมัทนาจะกลายร่างเป็นคนได้เพียงหนึ่งวัน หนึ่งคืน เท่านั้น หากนางมีความรักเมื่อใด นางก็จะไม่ต้องคืนรูปเป็นกุหลาบอีก แต่นางจะได้รับความทุกข์ ทรมานเพราะความรักจนมิอาจทนอยู่ได้ และเมื่อนั้นถ้านางอ้อนวอนขอความช่วยเหลือ จอมเทพสุเทษณ์ จึงจะงดโทษทัณฑ์นี้ให้แก่นางต่อมานางมัทนาไปจุติเป็นกุหลาบงามอยู่ในป่าหิมะวันแลได้พบรักกับพระรถ เสน แต่นางต้องพบกับอุปสรรคนานัปการ จนนางต้องอ้อนวอนขอร้องให้จอมเทพสุเทษณ์ช่วยนาง ด้าน จอมเทพสุเทษณ์ยินดีแก้คาสาปให้แต่ยังคงต้องการรับนางเป็นมเหสีอยู่เช่น เดิม แต่นางมัทนาได้ปฏิเสธ อีกครั้ง ดังนั้นจอมเทพสุเทษณ์จึงสาปส่งให้นางมัทนาเป็นดอกกุหลาบไปตลอดกาล มิอาจกลายร่างเป็น มนุษย์ได้อีก
  • 20. เมื่อท้าวชัยเสนตามมาถึงในป่าและทราบเรื่องทั้งหมด พระองค์จึงร่าไห้ด้วยความอาลัยก่อน ราพันถึงความหลงผิดและราพันความรักที่มี ต่อนางมัทนาให้ต้นกุหลาบได้รับรู้ จากนั้นจึงขุดต้น กุหลาบเพื่อนากลับไปปลูกในอุทยาน และขอให้พระฤๅษีช่วยให้พรวิเศษเพื่อทาให้ต้นกุหลาบงดงาม มิโรยราตราบจนกว่า พระองค์จะสิ้นอายุขัย ซึ่งพระฤาษีก็ประสิทธิประสาทพรให้กุหลาบนั้นดารงอยู่ คู่โลกนี้มิมีสูญพันธ์ ตลอดมา นางมัทนา จากเรื่อง ตานานรักดอกกุหลาบ
  • 21. นางเทราปตี จากเรื่อง ภควัทคีตา นางเทราปตี มีนามจริงคือ กฤษณา แปลว่าดา เพราะนางมีผิวคล้า แต่มีความงาม ยอดยิ่ง นางเทราปตี เป็นธิดาของท้าวทุรบท เจ้าเมืองแห่งแคว้นปัญจา เมื่อนางเจริญวัยถึง คราวควรจะมีคู่ ท้าวทุรบทได้ประกาศพิธีสยุมพรให้แก่นาง โดยเชิญหน่อกษัตริย์ทั้งหลาย มาประชุมแข่งขันแสดงฝีมือยิงธนู ปรากฏว่า เจ้าชายอรชุนผู้เป็นเจ้าองค์หนึ่งในหมู่เจ้าชาย ปาณฑพห้าองค์ได้ชัยชนะ จึงได้รับเลือกให้เป็นสามีของนางเทราปตี เมื่อเจ้าชายอรชุนพา นางกลับมายังตาหนักในป่า ด้วยความดีใจเจ้าชายอรชุนได้ทูลพระนางกุนดีผู้เป็นพระ มารดาว่า ตนได้ลาภมา พระนางกุนดีจึงตรัสว่า จงแบ่งกันระหว่างพี่น้องเถิด เนื่องจากไม่ ทราบว่าลาภดังกล่าวคือนางเทราปตี ดังนั้นนางเทราปตีจึงจาต้องมีสามีทั้งห้าคน นับแต่นั้น เป็นต้นมา
  • 23. นางศกุนตลา จากเรื่อง ศกุนตลา นางศกุนตลา เป็นธิดาของ พระวิศวามิตรกับนางฟ้ าเมนกา แต่นางได้ถูกทิ้งไว้ในป่าตาม ลาพัง ต่อมานางนกมาพบเข้าจึงนึกสงสารและและนาตัวนางกลับไปเลี้ยงดูเหมือนลูกแท้ ๆ ที่ อาศรมของตน ต่อมานางศกุนตลาเติบโตเป็นสาวรุ่นที่งดงามอย่างหาที่ติไม่ได้ นางได้พบกับท้าว ทุษยันต์ กษัตริย์จันทรวงศ์ แห่งนครหัสดิน จนทั้งคู่ได้มีสัมพันธ์ลึกซึ้งต่อกัน แต่เมื่อท้าวทุษยันต์ ต้องเดินทางกลับเมือง จึงทาการมอบแหวนวงหนึ่งไว้ให้แก่นาง จนกระทั่งเช้าวันหนึ่งพระฤาษีทุ รวาสผู้มีปากร้าย ได้มาเรียกนางที่หน้าประตู แต่นางไม่ได้ออกไปต้อนรับ ทาให้พระฤาษีทุรวาส โกรธสาปให้นางถูกคนรักจาไม่ได้ ต่อมาเมื่อพระฤาษีทุรวาสหายโมโหแล้ว เพราะรู้ว่านางไม่ได้ ตั้งใจแสดงอาการไม่เคารพกับตนจึงให้พรกากับว่า หากคนรักของนางได้เห็นของที่ให้ไว้เป็นที่ ระลึกก็จะจานางได้ ทว่า ระหว่างเดินทางแหวนที่ท้าวทุษยันต์ประทานให้นางไว้เกิดตกหายไปในแม่น้า เมื่อไป ถึงที่หมายท้าวทุษยันต์ทรงจานางไม่ได้ จนกระทั่งชาวประมงจับได้ปลาที่กลืนแหวนซึ่งนาง ศกุนตลาทาหาย พอเห็นแหวนท้าวทุษยันต์ก็ได้สติจาเรื่องราวต่าง ๆ ได้ ทั้งสองจึงครองคู่กันอย่าง มีความสุขอีกครั้ง
  • 25. นางทมยันตี จากเรื่อง พระนลคาหลวง นางทมยันตี เป็นธิดาของพระเจ้าภีมราชแห่งเมืองคันธปุระ เมื่อโตเป็นสาวก็มีพระสิริโฉม งดงามและเป็นกุลสตรีที่ดี ต่างก็ร่าลือกันไปไกลจนถึงสวรรค์ ส่วนพระนลเป็นเจ้าชายเมืองนีษระ เป็นคนเก่ง ฉลาด และรูปลักษณ์งดงามมาก ต่างก็ยกย่องและร่าลือกันไปไกล เมื่อทั้งคู่เติบโตอยู่ ในวัยหนุ่มสาวต่างก็ใฝ่ฝันและถวิลหาซึ่งกันและกัน ต่อมาพระเจ้าภีมราชได้ประกาศพิธีสยุมพรของพระนางทมยันตีขึ้น โดยเชิญเจ้าชายและ กษัตริย์ทุกเมืองมาร่วมพิธี โดยการทาให้นางพึงพอใจและเลือกคู่เอง นางทมยันตีจึงได้เลือก พระนลเป็นสวามี ทว่า กลี และ ทวารบร ซึ่งจะมางานนี้แต่ทราบว่านางได้เลือกพระนลไปแล้ว ก็ โกรธเคืองสัญญาว่าจะทาลายความรักของทั้งคู่และจะทาให้แตกแยกและพลัดพราก จากกันให้ได้ หากตัวเองไม่ได้นางมาครอง ซึ่งเป็นเหตุให้พระนลกับนางทมยันตีต้องพบพานกับอุปสรรค นานัปการ รวมถึงต้องพัดพรากจากกันเป็นเวลานาน แต่ในท้ายที่สุดทั้งคู่ก็สามารถฟันฝ่าอุปสรรค จนสามารถกลับมาครองคู่กันด้วย ความสุขได้ดังเดิม
  • 27. นางสาวิตรี จากเรื่อง ภควัทคีตา นางสาวิตรี เป็นบุตรของมหาราชอัชวาปตีกับมหารานีมัลวี ซึ่งมหาราชอัชวาปตีนั้น ไม่มี บุตรชายเลย จึงได้ทาพิธีภาวนาต่อพระแม่มาเตสวาตี (พระแม่กายาตรี) ถึง 16 ปี จนพระแม่มา ประทานพรให้ แต่เนื่องจากในโชคชะตาของมหาราชนั้น ไม่ได้มีพรของบุตรชายเลย พระแม่จึง ได้มอบบุตรสาวที่เก่งกาจสามารถ มีสติปัญญา และรูปโฉมอันงดงามให้ เทวฤาษีนารัทมุนีได้ตังชื่อ ให้เด็กน้อยว่า สาวิตรี นางเป็นหญิงที่ฉลาดและงดงามมาก จนไม่มีชายใดกล้ามาสู่ขอ มหาราชอัช วาปตีจึงได้มอบหมายให้นางออกหาสามีเอง จนกระทั่งนางได้พบกับพระสัตยวาน บุตรของอดีต มหาราชจันทราเซนซึ่งตาบอด ต่อเมื่อในงานอภิสมรส เมื่อพระยมราชที่มาร่วมงานด้วยได้แจ้งว่า พระสัตยวาน เหลือเวลาบนโลกมนุษย์อีกเพียง หนึ่งปีเท่านั้น เมื่อนางสาวิตรีรู้ข่าวก็ได้เข้าไป ภาวนาต่อพระแม่มาเตสวตี ซึ่งพระแม่มาเตสวตีได้แนะนาหนทาง โดยให้นางถือศีลอดอาหาร อย่างเคร่งครัด เพื่อขอพรให้กับพระสัตยวาน ซึ่งในขณะที่นางถือศีลอยู่นั้น ยมราชได้พยายามมา ก่อกวนนางทุกทาง เมื่อพระสัตยวานสิ้นพระชนม์ลง นางสาวิตรีที่มีใจรักสวามีมาก จึงพยายามทุก วิถีทางเพื่อลงไปยมโลก ก่อนใช้กลอุบายในการต่อรองกับยมราช จนสุดท้ายยมราชจึงยอมคืน วิญญาณพระยาสัตยวาน ทาให้ทั้งคู่ได้ครองคู่กันอย่างมีความสุข
  • 29. นางเบญจกาย จากเรื่อง รามเกียรติ์ นางเบญกาย เป็นธิดาของพิเภกและนางตรีชฎา ในคราวที่ทศกัณฐ์ทราบว่า พระรามยก ทัพข้ามมาถึงกรุงลงกา ทศกัณฐ์ได้สั่งให้นางเบญกายแปลงกายเป็นนางสีดาแกล้งทาเป็นตายลอย น้าไปที่ ค่ายพระราม เพื่อให้พระรามหมดกาลังใจรบ จะได้ยกทัพกลับไป ด้านนางเบญกายทาตามบัญชาของทศกัณฐ์เมื่อพระรามเห็นศพนางสีดาลอยน้ามาก็ เสียใจมากที่ต้องมาสูญเสียนางอันเป็นที่ รักไป พาลต่อว่าหนุมานที่หนุมานเข้าไปเผากรุงลงกาใน คราวนั้น ทศกัณฐ์คงเจ็บใจและสังหารนางสีดา แต่หนุมานรู้สึกถึงความผิดปกติ จึงทูลขอศพนาง สีดานั้นไปเผาไฟ ทาให้นางเบญกายทนไม่ได้ต้องกลับคืนร่างเดิมก่อนเหาะขึ้นฟ้ าไป แต่ก็ถูกหนุ มานตามไปจับตัวกลับมาได้ แม้โทษของนางเบญกายจะถึงประหารชีวิต แต่เนื่องจากพระรามเห็นว่านางเบญกายเป็น บุตรสาวของพิเภกผู้มีความยุติธรรม จึงได้ปล่อยนางเบญกายไป โดยให้หนุมานไปส่งนางเบญกา ยที่กรุงลงกา แต่ระหว่างทาง หนุมานซึ่งมีจิตปฏิพัทธ์นางเบญกายจึงได้เกี้ยวพาราสีจนได้นาง เบญกายเป็น ภรรยา
  • 31. นางสุพรรณมัจฉา จากเรื่อง รามเกียรติ์ นางสุพรรณมัจฉา เป็นธิดาของทศกัณฐ์กับนางปลา เป็นพี่น้องร่วมบิดากับนางสีดา ถึงแม้ นางจะเป็นถึงธิดาของเจ้าผู้ครองกรุงลงกา แต่เจ้าหญิงองค์นี้ ก็ไม่มีโอกาสจะอยู่ในเวียงวังดังผู้อื่น เพราะนางอยู่ได้เฉพาะแต่ในน้า ดังนั้นที่อยู่ของนางจึงอยู่กลางทะเลใหญ่ ครั้งเมื่อพระรามจะยกทัพข้ามมหาสมุทรมาตีเมืองลงกา และได้ให้หนุมานกับนิลพัท พา พลวานรเอาหินมากองทาถนนข้ามมหาสมุทร ฝ่ายทศกัณฐ์รู้ข่าวจึงขอให้นางสุพรรณมัจฉาพา บริวารปลาไปคาบก้อนหินของฝ่าย พระรามไปทิ้ง ซึ่งนางสุพรรณมัจฉาก็ทาตาม จนทาให้การทา ถนนไม่สาเร็จ เมื่อหนุมานมีความสงสัยจึงได้ดาน้าลงไปใต้สมุทรพบฝูงปลากาลังขนหิน โดยมี นางสุพรรณมัจฉาเป็นหัวหน้า หนุมานจึงชักตรีออกมาไล่ฆ่านางสุพรรณมัจฉา แต่ในที่สุดหนุมาน กลับเกิดความรักต่อนางและได้นางสุพรรณมัจฉาเป็นภรรยา
  • 33. นางโมรา จากเรื่อง จันทโครพ เจ้าชายจันทโครพได้ไปศึกษาเล่าเรียนอยู่กับพระฤาษีอัศโมพระโคดมจนกระทั่ง สาเร็จวิชา วันหนึ่งพระฤาษีได้มอบผอบทองให้โดยกาชับกับเจ้าชายจันทโครพว่า อย่าเพิ่งเปิดผอบระหว่าง ทาง แต่ความที่อยากรู้ว่ามีอะไรอยู่ในนั้น ทาให้จันทโครพตัดสินใจเปิดผอบออกดู จนได้พบกับ นางโมราซึ่งเป็นหญิงที่เกิดจากการปลุกเสกจากขนนกยูง ดังนั้นจึงมีรูปร่าง หน้าตา งดงามมาก และเมื่อเจ้าชายจันทโครพได้เห็นนางโมราก็เกิดหลงรักทันที และได้นางเป็นชายาที่กลางป่า นั่นเอง ขณะที่ทั้งคู่เดินทางกลับเมืองได้ถูกโจรป่าปล้น โดยโจรหวังจะชิงนางโมราไปจึงเกิดการ ต่อสู้กัน แต่นางกลับหันไปช่วยโจรป่าแทน จนทาให้เจ้าชายจันทโครพถูกตาย เมื่อโจรได้นางโมรา ไปแล้วก็เกิดไม่แน่ใจ กลัวถูกทรยศเหมือนเจ้าชายจันทโครพ โจรป่าจึงแอบหนีนางไป ทาให้โมรา ต้องระหกระเหินหิวโหยอยู่ในป่า จากนั้นเมื่อพระอินทร์มาเห็นเข้าก็นึกเวทนา จึงแปลงร่างเป็น เหยี่ยวคาบชิ้นเนื้อมาลองใจนาง โดยมีเงื่อนไขว่าเมื่อให้ชิ้นเนื้อแล้ว นางต้องยอมมาเป็นภรรยา ของตน ซึ่งนางโมราก็มิได้ขัดขืนแต่อย่างใด พระอินทร์เห็นเช่นนั้นจึงโกรธและหาว่านางเป็นหญิง มักมากในกาม โดยไม่เลือกว่าเป็นโจรหรือสัตว์ จึงสาปนางให้กลายเป็นชะนี ส่งเสียงร้องโหยหวน เรียกหาสามีของตนตลอดไป
  • 35. นางโสนน้อย จากเรื่อง โสนน้อยเรือนงาม เมื่อครั้งพระราชธิดาของกษัตริย์นครโรมวิสัยประสูติได้มีเรือนไม้เล็ก ๆ ติดมือออกมาด้วย เมื่อพระธิดาเจริญวัยขึ้น เรือนไม้นี้ก็โตขึ้นตาม ดังนั้น พระบิดาจึงตั้งชื่อพระธิดาว่า โสนน้อย เรือนงาม เมื่อโสนน้อยเรือนงามมีอายุ 15 ปี โหรทูลว่านางกาลังมีเคราะห์ ควรให้ออกไปจากเมือง พระบิดาและพระมารดาจึงจาใจต้องให้โสนน้อยเรือนงามออกจากเมืองไปโดยลาพัง ด้านพระ อินทร์มีความสงสารนาง จึงแปลงร่างเป็นชีปะขาวมามอบยาวิเศษสาหรับรักษาคนตายให้ฟื้ นได้ เมื่อโสนน้อยเรือนงามพบนางกุลาถูกงูกัดตายในป่า นางจึงนายาของชีปะขาวมารักษานางกุลา ดังนั้นนางกุลาจึงขอเป็นทาสติดตามโสนน้อยเรือนงามไปด้วย ด้านกษัตริย์นครนพรัตน์เมือง ใกล้เคียงโรมวิสัยมีพระราชโอรสนามว่า พระวิจิตรจินดา แต่พระวิจิตรจินดาถูกงูพิษกัดจน สิ้นพระชนม์ พระบิดาและพระมารดาเศร้าโศกเสียใจมาก แต่โหรทูลว่า พระวิจิตรจินดาจะ สิ้นพระชนม์เพียง 7 ปี แล้วจะมีพระราชธิดาของเมืองอื่นมารักษา พระบิดาและพระมารดาจึงเก็บ พระศพของพระวิจิตรจินดาไว้ และประกาศหาคนมารักษา เมื่อโสนน้อยเรือนงามและนางกุลา เดินทางมาถึงเมืองนพรัตน์และได้ทราบจาก ประกาศ นางจึงเข้าไปในวังและอาสาทาการรักษา พระวิจิตรจินดา โดยขอให้กั้นม่านเจ็ดชั้นไม่ให้ใครเห็นเวลารักษา เมื่อโสนน้อยเรือนงามทายาให้ พระวิจิตรจินดา พิษของนาคราชทาให้นางรู้สึกร้อนมาก
  • 36. นางจึงถอดเครื่องทรงพระราชธิดาออกแล้วเสด็จไปสรงน้า ระหว่างนั้นนางกุลาได้นาเครื่องทรง ของโสนน้อยเรือนงามมาใส่ พอดีกับที่พระวิจิตรจินดาฟื้ นขึ้นมา ทุกคนจึงคิดว่านางกุลาเป็นพระ ราชธิดาที่รักษาพระวิจิตรจินดา แต่ในท้ายที่สุดเมื่อพระวิจิตรจินดาทราบว่า โสนน้อยเรือนงาม เป็นพระราชธิดาที่รักษาตน จึงได้สั่งให้ประหารนางกุลาที่โกหกหลอกลวง แต่โสนน้อยเรือนงามได้ ขอชีวิตนางกุลาไว้ จากนั้นพระวิจิตรจินดาจึงได้อภิเษกกับโสนน้อยเรือนงามและอยู่ด้วยกัน มีความสุข นางโสนน้อย จากเรื่อง โสนน้อยเรือนงาม
  • 37. นางทิพเกสร จากเรื่อง ลักษณวงศ์ ท้าวพรหมทัต มีมเหสี ชื่อ สุวรรณอาภา และมีพระราชโอรส ชื่อ ลักษณวงศ์ วันหนึ่งท้าว พรหมทัตทรงพามเหสีพร้อมพระราชโอรสเสด็จประพาสป่า จนพบนางยักษ์แปลงเป็นสาวสวยทาเล่ห์กล จนท้าวพรหมทัตลุ่มหลง ต่อมาท้าวพรหมทัต ได้จึงสั่งประหารมเหสีและพระโอรส แต่เพชฌฆาตสงสารจึง ปล่อยไป ต่อมานางสุวรรณอาภาถูกพระยายักษ์พาตัวไป ขณะที่ฤๅษีนาพระลักษณวงศ์ไปเลี้ยงคู่กับนาง ทิพย์เกสร เมื่อโตขึ้นเรียนวิชาจนสาเร็จและได้นางทิพย์เกสรเป็นชายา พระลักษณวงศ์ได้ฝากนางทิพ เกสรไว้กับฤๅษี เพื่อออกตามหามารดาจนพบและ กู้บ้านเมืองได้ แต่ตอนนั้นพระลักษณวงศ์ได้นางยี่สุ่น เป็นชายา เมื่อนางทิพย์เกสรปลอมเป็นพราหมณ์หนุ่มติดตามมาจนพบพระลักษณวงศ์และทราบ เรื่อง ของนางยี่สุ่นด้วยความน้อยใจ จึงไม่แสดงตนให้พระลักษณวงศ์รู้ ด้านนางยี่สุ่นริษยาที่เห็นสวามีโปรด พราหมณ์หนุ่มมากถึงขั้นอนุญาตให้เข้ามา นอนในห้องเดียวกัน ทาให้นางยี่สุ่นเกิดริษยา จึงออกอุบาย เพื่อกาจัด จนกระทั่งพราหมณ์เกสรถูกสั่งประหารชีวิต และเมื่อพระลักษณวงศ์ได้รู้ความจริงก็โศกเศร้า เสียใจมาก เพราะได้สั่งประหารมเหสีอันเป็นที่รักโดยไม่รู้ตัว จนถึงวันเผาศพนางทิพเกสร วิญญาณของ ฤๅษีมหาเมฆ พระอาจารย์ของพระลักษณวงศ์และนางทิพเกสรได้ลงมาเปิดโกศเพื่อนาศพของนางทิพ เกสรไปทาพิธีชุบชีวิตขึ้นมาใหม่และเปลี่ยนชื่อเป็น นางจันทรังสี
  • 38. เมื่อพระลักษณวงศ์พบว่า ศพของนางทิพเกสรหายไป ก็ให้โหราจารย์ทานายดู จนทราบว่า มีผู้นา ศพของนางทิพเกสรไปทาพิธีชุบชีวิต พระลักษณวงศ์ดีจึงออกตามหานางทิพเกสร ซึ่งกว่าจะตาม หานางทิพเกสรพบก็ผ่านเรื่องราวอีกมากมาย แต่สุดท้ายจบลงอย่างมีความสุข นางทิพเกสร จากเรื่อง ลักษณวงศ์
  • 40. วิธีการดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - กาหนดหัวข้อโครงงาน - กาหนดขอบเขต - ศึกษาและค้นคว้า - จัดทาสื่อและโครงงาน - นาเสนอ - ปรับปรุง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ สมุดบันทึก และปากกา
  • 42. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - ฝึกการทาโครงงาน - ฝึกความรับผิดชอบ - ได้รู้ประวัติความเป็นมาของนางในวรรณคดีตัวนั้นๆ - ต้องการที่จะทาโครงงานเรื่องนี้ให้สาเร็จ - ต้องการรู้ถึงความเป็นมาของนางในวรรณคดีตัวนั้นๆ