SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
การหักเหของแสง
การหักเหของแสง หมายถึง การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางชนิด
หนึ่งไปยังอีกตัวกลางชนิดหนึ่งที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน สาเหตุที่ทาให้แสงหักเหเนื่องจากอัตราเร็วของแสงใน
ตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน โดยแสงจะเคลื่อนที่ในตัวกลางโปร่งกว่าได้เร็วกว่าตัวกลางที่ทึบกว่า เช่น ความเร็วของแสง
ในอากาศมากกว่าความเร็วของแสงในน้า และความเร็วของแสงในน้ามากกว่าความเร็วของแสงในแก้วหรือพลาสติก
การหักเหของแสงเกิดขึ้นตรงผิวรอยต่อของตัวกลาง
การหักเหของแสงเกิดขึ้นได้ 2 แบบ คือ
1. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อย (แสงมีความเร็วมาก) เข้าสู่ตัวกลางที่มีความ
หนาแน่นมากกว่า(แสงมีความเร็วน้อย) แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ หรือเส้นแนวฉาก เช่น จากน้าไปสู่แก้ว จาก
อากาศไปสู่น้า หรือ จากน้าไปสู่พลาสติก ดังภาพที่ 1
2. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก (แสงมีความเร็วน้อย) เข้าสู่ตัวกลางที่มีความ
หนาแน่นน้อยกว่า (แสงมีความเร็วมาก) แสงจะหักเหออกจากเส้นปกติ หรือเส้นแนวฉาก เช่น จากแก้วไปสู่น้า จาก
น้าไปสู่อากาศ หรือ จากพลาสติกไปสู่อากาศ ดังภาพที่ 2
2
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการหักเหของแสง
เลนส์ (lens) คือ วัตถุโปร่งใสที่มีผิวหน้าโค้งทาจากแก้วหรือพลาสติก เลนส์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ เลนส์
นูนและเลนส์เว้า
1. เลนส์นูน
เลนส์นูน (convex lens) คือ เลนส์ที่มีลักษณะหนาตรงกลางและบางที่ขอบ ดังรูป
รูปแสดงลักษณะเลนส์นูน
รูปแสดงส่วนสาคัญและรังสีบางรังสีของเลนส์
เลนส์นูน ทาหน้าที่รวมแสงขนานไปตัดกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่งแนวหรือทิศทางของแสงที่เข้ามายังเลนส์สามารถ
เขียนแทนด้วยรังสีของแสง ถ้าแสงมาจากระยะไกลมากเรียกระยะนี้ว่า " ระยะอนันต์"เช่น แสงจากดวงอาทิตย์หรือ
ดวงดาวต่างๆ แสงจะส่องมาเป็นรังสีขนาน เมื่อรังสีของแสงผ่านเลนส์จะมีการหักเหและไปรวมกันที่จุดๆ หนึ่ง
เรียกว่า "จุดโฟกัส (F)" ระยะจากจุดโฟกัสถึงกึ่งกลางเลนส์ เรียกว่า "ความยาวโฟกัส (f)" และเส้นตรงที่ลากผ่านจุด
ศูนย์กลางความโค้งของผิวทั้งสองของเลนส์เรียกว่า " แกนมุขสาคัญ (principal axis)"
การเขียนทางเดินของแสงผ่านเลนส์
เราสามารถหาตาแหน่งและลักษณะของภาพที่เกิด จากเลนส์นูนหรือเลนส์เว้าโดยวิธีการเขียนทางเดินของแสง
ผ่านเลนส์ได้ ซึ่งมีลาดับขั้นตอนดังนี้
1. เขียนเลนส์ แกนมุขสาคัญ จุดโฟกัส จุดกึ่งกลางของเลนส์ และกาหนดตาแหน่งของวัตถุ
2. จากจุดปลายของวัตถุลากเส้นตรง 2 เส้น เส้นที่ 1 ลากขนานกับแกนมุขสาคัญไปตกกระทบตรงเส้นแบ่งครึ่ง
เลนส์ แล้วหักเหผ่านจุดโฟกัสของเลนส์ เส้นที่ 2 ลากจากปลายของวัตถุผ่านจุดกึ่งกลางของเลนส์โดยไม่หักเห จุดที่
รังสีทั้ง 2 ตัดกัน คือ ตาแหน่งภาพ
3
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
ภาพจากเลนส์นูนเป็นภาพที่เกิดจากรังสีหักเหไปพบกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่งมีทั้งภาพจริงและภาพเสมือนขึ้นอยู่กับ
ตาแหน่งวัตถุที่วางหน้าเลนส์ ดังรูป
รูปแสดงตัวอย่างภาพจริงและภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์นูน
(ก) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างเลนส์นูนระยะไกลกว่าความยาวโฟกัส
(ข) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างจากเลนส์นูนที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส
รูปแสดงตัวอย่างการเกิดภาพที่ตาแหน่งต่างๆ ของเลนส์นูน
4
ตารางแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
5
2. เลนส์เว้า
เลนส์เว้า (concave lens) คือ เลนส์ที่มีลักษณะบางตรงกลางและหนาที่ขอบ ดังรูป
รูปแสดงลักษณะเลนส์เว้า
ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า
เมื่อแสงส่องผ่านเลนส์เว้ารังสีหักเหของแสงจะกระจายออก ดังรูป
รูปแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์เว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ
6
ตารางแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า
7
การหาชนิดและตาแหน่งของภาพจากวิธีการคานวณ
การหาตาแหน่งภาพที่ผ่านมาใช้วิธีเขียนแผนภาพของรังสี ยังมีอีกวิธีที่ใช้หาตาแหน่งภาพคือ วิธีคานวณ ซึ่งสูตรที่ใช้
ในการคานวณมีดังต่อไปนี้
สูตร
เมื่อ m คือ กาลังขยายของเลนส์
I คือ ขนาดหรือความสูงของภาพ
O คือ ขนาดหรือความสูงของวัตถุ
หลักการกาหนดเครื่องหมาย
ในการคานวณหาตาแหน่งและชนิดของภาพจะต้องมีการกาหนดเครื่องหมาย - และ + สาหรับปริมาณต่างๆ ใน
สมการดังนี้
1. ระยะวัตถุ ( s ) เป็น + เสมอ
2. ระยะภาพ ( s' ) ภาพจริง s' เป็น + ภาพเสมือ s' เป็นลบ
3. ระยะโฟกัส ( f ) f ของเลนส์นูนมีเครื่องหมาย + และ f ของเลนส์เว้ามีเครื่องหมาย -
4. กาลังขยาย ( m ) ภาพจริง กาลังขยายเป็น + ภาพเสมือน กาลังขยายเป็น -
ลองทาดู
1. วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนเป็นระยะ 12 เซนติเมตร ถ้าเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร จะเกิดภาพชนิดใด
และที่ตาแหน่งใด
2. วางวัตถุห่างจากเลนส์เป็นระยะ 25 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพเสมือนห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เลนส์นี้
เป็นเลนส์ชนิดใดและมีความยาวโฟกัสเท่าไร
วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โดย ครูมณีรัตน์ กาลสุวรรณ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
biwty_keng
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
Maikeed Tawun
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Supaluk Juntap
 

What's hot (20)

บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
2
22
2
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
พัน พัน
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2
DAWKAJAY20
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
thanakit553
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
Wilailak Luck
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Wannalak Santipapwiwatana
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
thanakit553
 

Viewers also liked (20)

การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 
Is แสง
Is แสงIs แสง
Is แสง
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเราบท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่บท3ทรัพยากรหินดินแร่
บท3ทรัพยากรหินดินแร่
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การหักเหของแสง

  • 1. 1 การหักเหของแสง การหักเหของแสง หมายถึง การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางชนิด หนึ่งไปยังอีกตัวกลางชนิดหนึ่งที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน สาเหตุที่ทาให้แสงหักเหเนื่องจากอัตราเร็วของแสงใน ตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน โดยแสงจะเคลื่อนที่ในตัวกลางโปร่งกว่าได้เร็วกว่าตัวกลางที่ทึบกว่า เช่น ความเร็วของแสง ในอากาศมากกว่าความเร็วของแสงในน้า และความเร็วของแสงในน้ามากกว่าความเร็วของแสงในแก้วหรือพลาสติก การหักเหของแสงเกิดขึ้นตรงผิวรอยต่อของตัวกลาง การหักเหของแสงเกิดขึ้นได้ 2 แบบ คือ 1. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อย (แสงมีความเร็วมาก) เข้าสู่ตัวกลางที่มีความ หนาแน่นมากกว่า(แสงมีความเร็วน้อย) แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ หรือเส้นแนวฉาก เช่น จากน้าไปสู่แก้ว จาก อากาศไปสู่น้า หรือ จากน้าไปสู่พลาสติก ดังภาพที่ 1 2. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก (แสงมีความเร็วน้อย) เข้าสู่ตัวกลางที่มีความ หนาแน่นน้อยกว่า (แสงมีความเร็วมาก) แสงจะหักเหออกจากเส้นปกติ หรือเส้นแนวฉาก เช่น จากแก้วไปสู่น้า จาก น้าไปสู่อากาศ หรือ จากพลาสติกไปสู่อากาศ ดังภาพที่ 2
  • 2. 2 อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการหักเหของแสง เลนส์ (lens) คือ วัตถุโปร่งใสที่มีผิวหน้าโค้งทาจากแก้วหรือพลาสติก เลนส์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ เลนส์ นูนและเลนส์เว้า 1. เลนส์นูน เลนส์นูน (convex lens) คือ เลนส์ที่มีลักษณะหนาตรงกลางและบางที่ขอบ ดังรูป รูปแสดงลักษณะเลนส์นูน รูปแสดงส่วนสาคัญและรังสีบางรังสีของเลนส์ เลนส์นูน ทาหน้าที่รวมแสงขนานไปตัดกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่งแนวหรือทิศทางของแสงที่เข้ามายังเลนส์สามารถ เขียนแทนด้วยรังสีของแสง ถ้าแสงมาจากระยะไกลมากเรียกระยะนี้ว่า " ระยะอนันต์"เช่น แสงจากดวงอาทิตย์หรือ ดวงดาวต่างๆ แสงจะส่องมาเป็นรังสีขนาน เมื่อรังสีของแสงผ่านเลนส์จะมีการหักเหและไปรวมกันที่จุดๆ หนึ่ง เรียกว่า "จุดโฟกัส (F)" ระยะจากจุดโฟกัสถึงกึ่งกลางเลนส์ เรียกว่า "ความยาวโฟกัส (f)" และเส้นตรงที่ลากผ่านจุด ศูนย์กลางความโค้งของผิวทั้งสองของเลนส์เรียกว่า " แกนมุขสาคัญ (principal axis)" การเขียนทางเดินของแสงผ่านเลนส์ เราสามารถหาตาแหน่งและลักษณะของภาพที่เกิด จากเลนส์นูนหรือเลนส์เว้าโดยวิธีการเขียนทางเดินของแสง ผ่านเลนส์ได้ ซึ่งมีลาดับขั้นตอนดังนี้ 1. เขียนเลนส์ แกนมุขสาคัญ จุดโฟกัส จุดกึ่งกลางของเลนส์ และกาหนดตาแหน่งของวัตถุ 2. จากจุดปลายของวัตถุลากเส้นตรง 2 เส้น เส้นที่ 1 ลากขนานกับแกนมุขสาคัญไปตกกระทบตรงเส้นแบ่งครึ่ง เลนส์ แล้วหักเหผ่านจุดโฟกัสของเลนส์ เส้นที่ 2 ลากจากปลายของวัตถุผ่านจุดกึ่งกลางของเลนส์โดยไม่หักเห จุดที่ รังสีทั้ง 2 ตัดกัน คือ ตาแหน่งภาพ
  • 3. 3 ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน ภาพจากเลนส์นูนเป็นภาพที่เกิดจากรังสีหักเหไปพบกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่งมีทั้งภาพจริงและภาพเสมือนขึ้นอยู่กับ ตาแหน่งวัตถุที่วางหน้าเลนส์ ดังรูป รูปแสดงตัวอย่างภาพจริงและภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์นูน (ก) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างเลนส์นูนระยะไกลกว่าความยาวโฟกัส (ข) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างจากเลนส์นูนที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส รูปแสดงตัวอย่างการเกิดภาพที่ตาแหน่งต่างๆ ของเลนส์นูน
  • 5. 5 2. เลนส์เว้า เลนส์เว้า (concave lens) คือ เลนส์ที่มีลักษณะบางตรงกลางและหนาที่ขอบ ดังรูป รูปแสดงลักษณะเลนส์เว้า ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า เมื่อแสงส่องผ่านเลนส์เว้ารังสีหักเหของแสงจะกระจายออก ดังรูป รูปแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์เว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ
  • 7. 7 การหาชนิดและตาแหน่งของภาพจากวิธีการคานวณ การหาตาแหน่งภาพที่ผ่านมาใช้วิธีเขียนแผนภาพของรังสี ยังมีอีกวิธีที่ใช้หาตาแหน่งภาพคือ วิธีคานวณ ซึ่งสูตรที่ใช้ ในการคานวณมีดังต่อไปนี้ สูตร เมื่อ m คือ กาลังขยายของเลนส์ I คือ ขนาดหรือความสูงของภาพ O คือ ขนาดหรือความสูงของวัตถุ หลักการกาหนดเครื่องหมาย ในการคานวณหาตาแหน่งและชนิดของภาพจะต้องมีการกาหนดเครื่องหมาย - และ + สาหรับปริมาณต่างๆ ใน สมการดังนี้ 1. ระยะวัตถุ ( s ) เป็น + เสมอ 2. ระยะภาพ ( s' ) ภาพจริง s' เป็น + ภาพเสมือ s' เป็นลบ 3. ระยะโฟกัส ( f ) f ของเลนส์นูนมีเครื่องหมาย + และ f ของเลนส์เว้ามีเครื่องหมาย - 4. กาลังขยาย ( m ) ภาพจริง กาลังขยายเป็น + ภาพเสมือน กาลังขยายเป็น - ลองทาดู 1. วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนเป็นระยะ 12 เซนติเมตร ถ้าเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร จะเกิดภาพชนิดใด และที่ตาแหน่งใด 2. วางวัตถุห่างจากเลนส์เป็นระยะ 25 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพเสมือนห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เลนส์นี้ เป็นเลนส์ชนิดใดและมีความยาวโฟกัสเท่าไร วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย ครูมณีรัตน์ กาลสุวรรณ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี