You are on page 1of 45

Light M.

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง


แบ่ งเป็ น 2 ตอน
แสงและสมบัตขิ องแสง

แสง

ความสว่ างและ
การมองเห็นสี ของวัตถุ
1
Light M.3
ตอนที่ 1 แบ่ งเป็ น 3 เรื่อง
การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง

แสงและ
สมบัติของแสง

ประโยชน์จากการสะท้อน
และการหักเหของแสง
2
Light M.3

แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5


แสง

ตอนที่ 1
แสงและสมบัติของแสง
3
Light M.3
เลือกคำตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคำตอบเดียว
1. นริศทดลองนำเทียนไขไปวางหน้ ากระจกชนิดหนึ่ง ปรากฏว่ าสามารถนำฉากมารับ
ภาพเทียนไขได้ นักเรียนคิดว่ านริศใช้ กระจกชนิดใด และภาพทีเ่ กิดขึน้ ควรมีลกั ษณะใด

ก กระจกนูน ภาพหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ


ข กระจกเว้า ภาพหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
ค กระจกเงาราบ ภาพหัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ
ง กระจกเว้า ภาพหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ 

คำอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะภาพที่สามารถนำฉากมารับได้แสดงว่าเป็ นภาพจริ ง ซึ่งกระจกที่ให้ภาพจริ งได้คือ


กระจกเว้า และภาพจริ งที่เกิดขึ้นเป็ นภาพหัวกลับเสมอ
4
Light M.3

2. ส่ วนประกอบทีช่ ่ วยสะท้ อนแสงในไฟฉายและโคมไฟหน้ ารถยนต์ ทำจากอะไร


ก เลนส์นูน
ข เลนส์เว้า
ค กระจกนูน
ง กระจกเว้า

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะกระจกนูนมีสมบัติการกระจายแสง และต้องเป็ นการกระจายแสงไปทางด้านหน้า


ของกระจก ซึ่งช่วยให้เรามองเห็นวัตถุต่าง ๆ ได้ชดั เจนและในบริ เวณที่กว้างขึ้น
5
Light M.3

3. นนท์ ไม่ มแี ว่ นขยายสำหรับส่ องดูสิ่งของเล็ก ๆ จึงนำเลนส์ แว่ นตาของคนสายตาสั้ น


มาส่ องแทนแว่ นขยาย ปรากฏว่ าใช้ ไม่ ได้ เพราะอะไร
ก ไม่มีโฟกัส
ข เล็กเกินไป
ค เป็ นเลนส์นูน
ง เป็ นเลนส์เว้า
 
 

คำอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะแว่นสายตาของคนสายตาสั้นทำมาจากเลนส์เว้า ซึ่งภาพที่เกิดจากเลนส์เว้ามีขนาดเล็ก


กว่าวัตถุ ซึ่งไม่ใช่จุดประสงค์ของการใช้แว่นขยายที่ตอ้ งการขยายภาพวัตถุ
6
Light M.3

4. แว่ นขยายทีใ่ ช้ สำหรับส่ องดูสิ่งมีชีวติ ขนาดเล็กทำมาจากวัสดุใด และภาพทีเ่ กิดขึน้


เป็ นภาพชนิดใด
ก เลนส์เว้า ภาพจริ ง
ข กระจกนูน ภาพจริ ง
ค เลนส์นูน ภาพเสมือน
ง กระจกเว้า ภาพเสมือน

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์นูนเป็ นภาพที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ทำให้ขยายสิ่ งมีชีวติ


ขนาดเล็กให้ใหญ่ข้ ึนได้
7
Light M.3

5. หลักการสร้ างเส้ นใยแก้ วนำแสงทีด่ ที สี่ ุ ดคืออะไร


ก ให้ลำแสงตกกระทบภายในเส้นใยโดยมีมุมตกกระทบเล็กกว่ามุมวิกฤต
ข ทำให้เกิดลำแสงสะท้อนภายในเส้นใยโดยให้มุมตกกระทบมีขนาดเท่ากับ
มุมวิกฤต
ค ให้ลำแสงตกกระทบผนังภายในเส้นใยโดยลำแสงสะท้อนที่เกิดขึ้นจะต้องมี
มุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต และลำแสงจะสะท้อนไปเรื่ อย ๆ
ง ให้ลำแสงตกกระทบผนังภายในเส้นใยโดยลำแสงสะท้อนที่เกิดขึ้นจะต้องมี
มุมตกกระทบเล็กกว่ามุมวิกฤต และลำแสงจะสะท้อนไปเรื่ อย ๆ

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะหลักการส่ งสัญญาณแสงในเส้นใยนำแสง คือ เมื่อแสงตกกระทบกับผิวของแกนที่


เป็ นตัวกลางนำแสงต้องทำให้มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมวิกฤต แล้วเกิดการสะท้อนกลับหมดภายในแกน
ลำแสงที่เกิดขึ้นจะเดินทางภายในแกนในลักษณะของการซิกแซ็กไปเรื่ อย ๆ จนถึงปลายเส้นใยนำแสง 8
Light M.3

วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3
การสะท้ อนของแสง
เวลา 2 ชั่วโมง

9
Light M.3
นักเรี ยนเคยเห็นแสงอาทิตย์สะท้อนกับกระจกอาคาร
หรื อกระจกรถยนต์หรื อไม่ นักเรี ยนเห็นทิศทางของแสงเป็ นอย่างไร

10
Light M.3

เมื่อนำกระจกมาส่ องตนเอง
ภาพที่เห็นมีลกั ษณะใด

นักเรี ยนเคยส่ องกระจกแล้ว


เห็นเพื่อนที่นงั่ ด้านข้างหรื อไม่

นักเรี ยนถือกระจกลักษณะใด

11
Light M.3
1. การสะท้ อนของแสง

สวิตช์

เมื่อเราอยูใ่ นห้องมืด เราจะมองไม่เห็นสิ่ งใดเลย


ถ้านักเรี ยนกดสวิตช์จะเกิดอะไรขึ้น
เมื่อเราเปิ ดไฟฟ้ า ก็จะสามารถเห็นสิ่ งต่าง ๆ ในห้องได้

แสง จากหลอดไฟฟ้ าทำให้เรา มองเห็น สิ่ งต่าง ๆ


12
1. การสะท้อนของแสง Light M.3

แสงทำให้เรามองเห็นสิ่ งต่าง ๆ ได้


เพราะมีการเดินทางของแสงลักษณะใด

นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จาก


การปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้

13
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
กิจกรรมที่ 3 สั งเกตการสะท้ อนของแสงบนกระจกเงาราบ
ปัญหา เมื่อแนวลำแสงตกกระทบกระจกเงาราบ แนวลำแสงจะมีการ
เปลี่ยนแปลงหรื อไม่ เพราะอะไร

อุปกรณ์
1. กล่องแสงพร้อมแผ่นกั้นแสงที่มี 4. กระดาษขาว 1 แผ่น
ช่องแคบช่องเดียว (สลิตเดี่ยว) 5. ดินน้ำมัน 1 ก้อน
และสายไฟฟ้ า 1 ชุด 6. ดินสอ 1 แท่ง
2. หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 7. ไม้บรรทัด 1 อัน
12 โวลต์ 1 หม้อ 8. ไม้โพรแทรกเตอร์หรื อครึ่ งวงกลม
3. กระจกเงาราบ 1 บาน วัดขนาดของมุม 1อัน

14
1. การสะท้อนของแสง Light M.3

ขั้นตอน
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้

กล่ องแสง
หม้ อแปลงไฟฟ้ า

1. ต่อกล่องแสงเข้ากับหม้อแปลงไฟฟ้ าแล้วเสี ยบปลัก๊ ของหม้อแปลงไฟฟ้ ากับเต้าเสี ยบ

15
1. การสะท้อนของแสง Light M.3

กล่ องแสง กระจกเงาราบ


หม้ อแปลงไฟฟ้ า
กระดาษขาว

2. นำกระจกเงาราบมาติดลงบนกระดาษขาวโดยใช้ดินน้ำมันติดมุมล่างของกระจกแล้วนำมาวาง
ในตำแหน่งที่รองรับแสงที่ออกจากกล่องแสงโดยให้ปลายของกล่องแสงวางทับบนขอบ
กระดาษขาว แล้วใช้ดินสอลากเส้นบนกระดาษขาวตามแนวด้านหน้าของกระจกเงาราบ และ
เส้นตั้งฉากกับกระจกเงาราบ 16
1. การสะท้อนของแสง Light M.3

กล่ องแสง กระจกเงาราบ


หม้ อแปลงไฟฟ้ า

กระดาษขาว

3. เปิ ดสวิตช์หม้อแปลงไฟฟ้ า สังเกตและวาดรู ปลักษณะของลำแสงที่เกิดขึ้น พร้อมกับวัดขนาด


ของมุมระหว่างแนวลำแสงที่พงุ่ ออกจากกล่องแสงกับเส้นตั้งฉาก และมุมระหว่างแนวลำแสง
ที่พงุ่ ออกจากกระจกเงาราบกับเส้นตั้งฉาก
4. จัดแสงจากกล่องแสงใหม่ โดยเปลี่ยนมุมให้ลำแสงจากกล่องแสงพุง่ ไปกระทบผิวกระจกเงา
ราบอีก 2 ค่า บันทึกผลการสังเกต 17
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
บันทึกผล
มุมระหว่ างแนวลำแสง มุมระหว่ างแนวลำแสง
ทีพ่ ่งุ ออกจากกล่ องแสง ทีพ่ ่งุ ออกจากกระจกเงาราบ รู ปวาดลักษณะลำแสง
กับเส้ นตั้งฉาก กับเส้ นตั้งฉาก

15 15
 
30 30

50 50
18
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
สรุปผล

เมื่อแนวลำแสงจากกล่องแสงตกกระทบกระจก จะมีแนวลำแสงพุง่ ออก


จากกระจก ถ้าลากเส้นตั้งฉากกับกระจกที่จุดแสงตกกระทบ แล้ววัดมุม
ระหว่างแนวลำแสงตกกระทบจากกล่องแสงกับเส้นตั้งฉากนี้ (i ) จะมีค่า
เท่ากับมุมที่วดั ได้ระหว่างแนวลำแสงที่พงุ่ ออกจากกระจกกับเส้นที่ต้ งั ฉากกับ
กระจกเสมอ (r)
เส้นตั้งฉาก

รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน

i r

กระจกเงาราบ
19
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
ค้ นหาคำตอบ
1. เมื่อแนวลำแสงจากกล่องแสงตกกระทบกับผิวของกระจกเงาราบ
นักเรี ยนสังเกตเห็นอะไร
มีแนวลำแสงพุง่ ออกจากกระจก
2. ผลสรุ ปของกิจกรรมนี้คืออะไร
เมื่อแสงเกิดการสะท้อนบนตัวกลางชนิดหนึ่ง มุมสะท้อนจะมีค่าเท่ากับ
มุมตกกระทบเสมอ และรังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และเส้นแนวฉาก
อยูใ่ นระนาบเดียวกัน

20
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.1 การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาราบ
เรามองเห็นสิ่ งต่าง ๆ เพราะแสงเกิดการสะท้ อน (reflection)
เส้นแนวฉาก

รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน

i r
อากาศ
กระจกเงา

i มุมตกกระทบ
= r มุมสะท้อน
21
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.1 การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาราบ
เรามองเห็นภาพของตัวเองบนกระจกเงา
การสะท้อนแบบสม่ำเสมอ
แต่ไม่เห็นภาพของตัวเองบนผนังปูนการสะท้
อนแบบกระจาย
เพราะอะไร
(regular reflection) (diffuse reflection)
ลำแสงตกกระทบ ลำแสงสะท้อน
ลำแสงตกกระทบ ลำแสงสะท้อน

อากาศ

อากาศ

อากาศ อากาศ

การสะท้อนของแสง การสะท้อนของแสง
เมื่อตกกระทบพื้นผิวหน้าวัตถุที่เรี ยบ เมื่อตกกระทบพื้นผิวหน้าวัตถุที่ขรุ ขระ
22
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.1 การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาราบ
การหาตำแหน่งและลักษณะภาพจากกระจกเงาราบ

กระจกเงาราบ

ภาพขนาดเท่าวัตถุ
กลับซ้ายเป็ นขวา

ระยะวัตถุ ระยะภาพ
23
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.1 การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาราบ

เรื่องน่ ารู้ กระจกมายา


ถ้านักเรี ยนนำกระจกเงาราบมากกว่า 1 บาน มาวางทำมุมกัน
จะเกิดอะไรขึ้นกับภาพของวัตถุในกระจก

360 – 1
n= 

n = จำนวนภาพที่เกิด
 = มุมที่กระจกเงาราบ
2 บานวางทำมุมต่อกัน
24
Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง
เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน
1. การสะท้อนแสงทำให้เรามองเห็นวัตถุเพราะอะไร
เพราะแสงเดินทางจากแหล่งกำเนิดกระทบกับวัตถุแล้ว
สะท้อนเข้าสู่ ตาของเรา
2. การสะท้อนของแสงบนวัตถุผวิ เรี ยบและผิวขรุ ขระทำให้
เรามองเห็นภาพสะท้อนต่างกันเพราะอะไร
เพราะจากกฎการสะท้อนของแสง คือ มุมตกกระทบเท่ากับ
มุมสะท้อนเสมอ ทำให้แสงที่สะท้อนบนวัตถุผวิ เรี ยบเป็ น
แบบสม่ำเสมอ ทำให้เราเห็นภาพสะท้อนบนวัตถุ แต่แสงที่
สะท้อนบนวัตถุผวิ ขรุ ขระเป็ นแบบกระจาย ทำให้เราไม่เห็น
ภาพสะท้อนบนวัตถุ 25
Light M.3
สรุป
หลักการ ขนาดของมุมตกกระทบ
การสะท้ อนของแสง
เท่ากับมุมสะท้อนเสมอ
เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ

กระจกเงา
ภาพที่เกิด

ภาพเสมือนหัวตั้งกลับซ้ายเป็ นขวา
ระยะและขนาดของภาพเท่ากับวัตถุ

26
Light M.3

วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4
การสะท้ อนของแสงบนกระจกเว้ า
และกระจกนูน
เวลา 3 ชั่วโมง
27
Light M.3
นักเรี ยนเคยเห็นกระจกเหมือนในรู ปตามที่สาธารณะหรื อไม่
ภาพที่เกิดในกระจกแตกต่างจากภาพในกระจกเงาราบลักษณะใด

28
Light M.3
1. การสะท้ อนของแสง
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

กระจกเว้าและกระจกนูนทำให้เกิดภาพ
ที่มีลกั ษณะแตกต่างจากภาพที่เกิดจาก
กระจกเงาราบลักษณะใด

นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จาก


การปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้
29
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

กิจกรรมที่ 4 สั งเกตภาพจากกระจกเว้ าและกระจกนูน

ปัญหา ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าและกระจกนูนมีลกั ษณะใด

อุปกรณ์
1. กระจกนูน 1 บาน 4. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก
2. กระจกเว้า 1 บาน 5. ฉากรับภาพ 1 ฉาก
3. เทียนไข 1 เล่ม
 

30
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน
ขั้นตอน
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้

กระจกนูน
ฉากรั บภาพ
เทียนไข

1. ใช้กระจกเว้าและกระจกนูนส่ องดูใบหน้าตัวเองที่ระยะห่างต่าง ๆ สังเกตภาพที่เกิดขึ้น จากนั้น


นำกระจกนูน เทียนไข ฉากรับภาพ มาจัดวางดังรู ป จุดเทียน สังเกตภาพที่เกิดขึ้นในกระจก
และภาพที่เกิดขึ้นบนฉากรับภาพ แล้วเปลี่ยนระยะระหว่างเทียนไขและกระจกนูน สังเกตภาพ
ที่เกิดขึ้น 31
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

กระจกเว้ า ฉากรั บภาพ


เทียนไข

2. ทำเหมือนข้อ 1 แต่เปลี่ยนจากกระจกนูนเป็ นกระจกเว้า


32
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

บันทึกผล
สิ่ งทีส่ ั งเกต ลักษณะภาพจากกระจกนูน ลักษณะภาพจากกระจกเว้ า
 ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่า ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าใบหน้า
ใบหน้าตัวเอง ใบหน้าจริ ง จริ ง และภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่กว่า
หรื อเท่ากับ หรื อเล็กกว่าใบหน้าจริ ง ขึ้น
อยูก่ บั ว่าจะเลื่อนกระจกเข้าใกล้หรื อออก
ห่างจากใบหน้า

ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ


เทียนไขที่จุดไฟ และใช้ฉากรับภาพไม่ได้ เห็นในกระจก และภาพจริ งหัวกลับที่มี
ทั้งขนาดใหญ่กว่า หรื อเท่ากับ หรื อเล็ก
กว่าวัตถุ ใช้ฉากรับภาพได้
33
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

สรุปผล

ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเป็ นภาพเสมือนหัวตั้งที่มีขนาดเล็กกว่าวัตถุ
เสมอและใช้ฉากรับภาพไม่ได้ ในขณะที่ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเป็ นได้ท้ งั
ภาพเสมือนหัวตั้งและภาพจริ งหัวกลับ ขนาดเล็ก หรื อเท่ากับ หรื อขนาด
ใหญ่กว่าวัตถุซ่ ึงขึ้นอยูก่ บั ระยะระหว่างวัตถุและกระจกเว้า
 

34
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน
ค้ นหาคำตอบ
1. เมื่อนักเรี ยนใช้กระจกเว้าและกระจกนูนส่ องดูใบหน้าตัวเองที่ระยะต่าง ๆ กัน
ภาพที่เห็นมีลกั ษณะใด
ภาพที่เห็นจากกระจกนูนเป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าใบหน้าจริ งเกิดใน
กระจก ส่ วนภาพที่เห็นจากกระจกเว้ามีท้ งั ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าใบหน้า
จริ ง และภาพจริ งหัวกลับ ขนาดใหญ่กว่า หรื อเท่ากับ หรื อเล็กกว่าใบหน้าจริ ง ขึ้น
อยูก่ บั ว่าจะเลื่อนกระจกเข้าใกล้หรื อออกห่างจากใบหน้า
2. เมื่อจุดเทียนไขวางไว้หน้ากระจกนูน ภาพที่เห็นมีลกั ษณะใด
ภาพที่เห็นจากกระจกนูน เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ใช้ฉากรับภาพไม่ได้
3. เมื่อจุดเทียนไขวางไว้หน้ากระจกเว้า ภาพที่เห็นมีลกั ษณะใด
ภาพที่เห็นจากกระจกเว้ามีท้ งั ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ และภาพจริ งหัวกลับที่
มีท้ งั ขนาดใหญ่กว่า หรื อเท่ากับ หรื อเล็กกว่าวัตถุ ใช้ฉากรับภาพได้ 35
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน
กระจกนูน (convex mirrors)

O แกนมุขสำคัญ

F C

f
R

F คือ โฟกัส (focus) f คือ ความยาวโฟกัส


C คือ จุดศูนย์กลางความโค้งมีระยะเท่ากับ R R คือ รัศมีความโค้ง (R = 2f)
O คือ จุดยอดของกระจก เส้นที่ลากจากจุด O ถึงจุด C เรี ยกว่า แกนมุขสำคัญ 36
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน
การหาตำแหน่งและลักษณะภาพจากกระจกนูน
ลากเส้นขนาน
แกนมุขสำคัญ
1
ลากเส้นจากรังสี
2 สะท้อนผ่านโฟกัส
3
O
4
ลากเส้นไปยังจุด F C
ยอดของกระจก ลากเส้นจากรังสี สะท้อน
ไปตัดกับเส้นที่ 2

ภาพเสมือน (virtual image)


 ภาพที่เกิดจากแนวเส้นประของรังสี สะท้อน  ภาพหัวตั้ง
 เกิดด้านหลังกระจก  ไม่สามารถนำฉากไปรับภาพได้ 37
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

ระยะวัตถุ ทางเดินของแสง ลักษณะภาพและระยะภาพ


วัตถุอยูร่ ะหว่าง  ภาพเสมือนหัวตั้ง
ขั้วกระจกกับระยะ  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
อนันต์ (o < u < )  เกิดภาพระหว่างขั้วกระจก
วัตถุ ภาพ F C
กับโฟกัส (o < v < f)

u คือ ระยะวัตถุ v คือ ระยะภาพ

38
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน
กระจกเว้ า (concave mirrors)

แกนมุขสำคัญ C F O

f
R

F คือ โฟกัส (focus) f คือ ความยาวโฟกัส


C คือ จุดศูนย์กลางความโค้งมีระยะเท่ากับ R R คือ รัศมีความโค้ง (R = 2f)
O คือ จุดยอดของกระจก เส้นที่ลากจากจุด O ถึงจุด C เรี ยกว่า แกนมุขสำคัญ 39
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน
การหาตำแหน่งและลักษณะภาพจากกระจกเว้า
ลากเส้นขนานแกนมุขสำคัญ 1

ลากเส้นรังสี สะท้อน
ลากเส้นไปยัง 3 2 ผ่านโฟกัส
จุดยอดของกระจก
C F O
4 ลากเส้นรังสี สะท้อน
ไปตัดกับเส้นที่ 2

ภาพจริง (image)
 ภาพที่เกิดจากการตัดกันของรังสี สะท้อน  ภาพหัวกลับ
 เกิดด้านหน้ากระจก  ฉากรับภาพที่เกิดได้ 40
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน
ถ้าวัตถุอยูใ่ กล้กระจกเว้ามากกว่าโฟกัสจะเกิดภาพลักษณะใด
2 ลากเส้นจาก
ลากเส้นขนานแกนมุขสำคัญ 1 รั งสี ส ะท้
อ น
ที่ผา่ นโฟกัส
3
4
C F O
ลากเส้นไปยัง ลากเส้นจากรังสี สะท้อน
จุดยอดของกระจก ไปตัดกับเส้นที่ 2

ภาพเสมือน (virtual image)


 ภาพที่เกิดจากแนวเส้นประของรังสี สะท้อน  ภาพหัวตั้ง
 เกิดด้านหลังกระจก  ไม่สามารถนำฉากไปรับภาพได้ 41
1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

ระยะวัตถุ ทางเดินของแสง ลักษณะภาพและระยะภาพ


1. วัตถุอยูร่ ะหว่างจุด  ภาพจริ งหัวกลับ
ศูนย์กลางความโค้ง  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
กับระยะอนันต์ วัตถุ C F  เกิดภาพระหว่างโฟกัสกับ
(2f < u < ) ภาพ จุดศูนย์กลางความโค้ง
(f < v < 2f)
2. วัตถุอยูร่ ะหว่าง  ภาพจริ งหัวกลับ
จุด F กับจุด C  ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
ภาพ
(f < u < 2f) C วัตถุ F  เกิดภาพนอกจุด C แต่ไม่ถึง
  ระยะอนันต์

u คือ ระยะวัตถุ v คือ ระยะภาพ 42


1. การสะท้อนของแสง Light M.3
1.2 การสะท้อนของแสงบนกระจกเว้าและกระจกนูน

ระยะวัตถุ ทางเดินของแสง ลักษณะภาพและระยะภาพ


วัตถุอยูร่ ะหว่าง  ภาพเสมือนหัวตั้ง
วัตถุ
ขั้วกระจกกับระยะ  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
อนันต์ (o < u < ) C F ภาพ
 เกิดภาพระหว่างขั้วกระจก
กับโฟกัส (o < v < f)

u คือ ระยะวัตถุ v คือ ระยะภาพ

43
Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน

1. ภาพที่เกิดจากกระจกนูนและกระจกเว้ามีลกั ษณะต่างกันเพราะอะไร
เพราะกระจกทั้ง 2 ชนิดมีการสะท้อนของรังสี ของแสงต่างกัน
ทำให้จุดตัดของรังสี ของแสงที่เกิดขึ้นมีตำแหน่งต่างกัน ภาพที่เกิด
ขึ้นจึงมีลกั ษณะต่างกัน
2. ภาพที่เกิดจากกระจกนูนและกระจกเว้าแตกต่างกันในลักษณะใด
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้ามีท้ งั ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
และภาพจริ งหัวกลับที่มีท้ งั ขนาดใหญ่กว่า เล็กกว่า หรื อขนาด
เท่ากับวัตถุบนฉาก
44
Light M.3
สรุป การสะท้ อนของแสง
เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ

กระจกนูน กระจกเว้า
ลักษณะการสะท้อน ลักษณะการสะท้อน

แสงตกกระทบ แสงตกกระทบ
แล้วเกิดการกระจายแสง แล้วเกิดการรวมแสง
ลักษณะภาพ
ลักษณะภาพ

ภาพเสมือนหัวตั้ง ภาพจริ งหัวกลับ ภาพจริ งหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตั้ง


ขนาดเล็กกว่าวัตถุเสมอ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
45

You might also like