You are on page 1of 43

Light M.

3
วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5
การหักเหของแสง
เวลา 2 ชั่วโมง

1
Light M.3

เด็กผูช้ ายในรู ปถืออุปกรณ์ใด

อุปกรณ์ในรู ป
ทำให้เรามองเห็นตาของเด็กผูช้ าย
แตกต่างจากตาอีกข้างหนึ่งเพราะอะไร

2
Light M.3
เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางทึบแสง แสงจะเกิดการสะท้อน

ถ้าแสงเดินทางผ่านตัวกลางโปร่ งใส แสงจะเดินทางลักษณะใด


?
?
? ?
?
3
Light M.3
2. การหักเหของแสง
การหักเหของแสง (refraction)

ตัวกลางที่ 1 ตัวกลางที่ 2

แสงเดินทาง แสงเดินทางผ่านปริ ซึม แสงเดินทางผ่านน้ำ


ผ่านตัวกลางที่มี ที่มีความหนาแน่น แก้ว และอากาศซึ่งมี
ความหนาแน่นต่างกัน ต่างจากอากาศ ความหนาแน่นต่างกันจึง
จึงเกิดการหักเหของแสง เกิดการหักเหของแสง
4
2. การหักเหของแสง Light M.3

การหักเหของแสง
มีหลักเกณฑ์การพิจารณาอย่างไร

นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จาก


การปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้

5
2. การหักเหของแสง Light M.3
กิจกรรมที่ 5 ทดลองมุมตกกระทบ มุมสะท้ อน และมุมหักเห
เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน แนวลำแสงจะมีการ
ปัญหา เปลี่ยนแปลงอย่างไร
เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน แนวลำแสงจะมีการ
กำหนดสมมุตฐิ าน เปลี่ยนแปลงไปจากแนวลำแสงที่ออกมาจากแหล่งกำเนิดแสง
อุปกรณ์
1. กล่องแสงพร้อมแผ่นกั้นแสง 4. กระดาษขาว 1 แผ่น
ที่มีช่องแคบช่องเดียว (สลิตเดี่ยว) 5. ดินน้ำมัน 1 ก้อน
และสายไฟ 1 ชุด 6. ดินสอ 1 แท่ง
2. หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 7. ไม้บรรทัด 1 อัน
12โวลต์ 1 หม้อ 8. ไม้โพรแทรกเตอร์หรื อ
3. แท่งพลาสติกใส ครึ่ งวงกลมวัดขนาดของมุม 1 อัน
ทรงสี่ เหลี่ยมผืนผ้า 1 แท่ง 6
2. การหักเหของแสง Light M.3
ขั้นตอน
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้

เส้ นแนวฉาก

รั งสี ตกกระทบ

1. จัดอุปกรณ์การทดลองเช่นเดียวกับกิจกรรมที่ 3 แต่ใช้แท่งพลาสติกใสทรงสี่ เหลี่ยมผืนผ้าแทน


กระจกเงาราบ จัดให้รังสี ของแสงจากกล่องแสงตกกระทบที่ผวิ ของแท่งพลาสติกใสให้เกิดมุม
ตกกระทบมีค่าเท่ากับ 30 องศา
7
2. การหักเหของแสง Light M.3

เส้ นแนวฉาก

รั งสี ตกกระทบ

2. สังเกตรังสี ของแสงที่เป็ นรังสี สะท้อนและรังสี หกั เหทั้งหมด ทั้งที่อยูข่ า้ งนอกและในแท่ง


พลาสติก ใช้ดินสอจุดลงบนกระดาษขาวบริ เวณขอบแท่งพลาสติกตรงตำแหน่งที่เกิดการ
สะท้อนและหักเหของแสง และจุดลงบนแนวของรังสี ของแสงที่หกั เหออกจากแท่งพลาสติก
อีก 1 ตำแหน่ง แล้วลากเส้นตามแนวขอบแท่งพลาสติก 8
2. การหักเหของแสง Light M.3

เส้ นแนวฉาก

รั งสี ตกกระทบ

เส้ นแนวฉาก

3. ปิ ดสวิตช์หม้อแปลงไฟฟ้ า ยกแท่งพลาสติกออกจากกระดาษขาว แล้วลากเส้นเชื่อมต่อจุดเพื่อ


ให้ปรากฏแนวรังสี สะท้อนและรังสี หกั เห จากนั้นวัดขนาดของมุม 1, 2, 3, 4 และ 5 แล้วบันทึก
ลงในตารางบันทึกผลการทดลอง
4. ทำการทดลองซ้ำตั้งแต่ขอ้ 1 จนถึงข้อ 3 แต่เปลี่ยนมุมตกกระทบเป็ น 45, 60 และ 0 องศา ตาม
ลำดับ (มุมตกกระทบเป็ น 0 องศา เมื่อรังสี ตกกระทบอยูใ่ นแนวเส้นแนวฉาก)
9
2. การหักเหของแสง Light M.3
บันทึกผล

แสงเดินทางจากอากาศเข้ าสู่ แท่ งพลาสติก แสงเดินทางออกจากแท่ งพลาสติกสู่ อากาศ


มุมตกกระทบ มุมสะท้ อน มุมหักเห มุมตกกระ มุมสะท้ อน มุมหักเห
(องศา) (1) (2) ทบ(3) (4) (5)
30   30   25   25   25   32
45   45 40   40   40   44
60   60   53   53   53   61
0   0   0   0   0   0

10
2. การหักเหของแสง Light M.3

สรุ ปผล

1) บนระนาบ (แผ่นกระดาษขาว) เดียวกัน มุมตกกระทบจะมีค่าเท่ากับมุม


สะท้อนเสมอ
2) เมื่อรังสี ของแสงผ่านจากอากาศเข้าสู่ แท่งพลาสติก แนวรังสี หกั เหจะเบน
เข้าหาเส้นแนวฉาก ทำให้มุมหักเห (2) มีค่าน้อยกว่ามุมตกกระทบ
3) เมื่อรังสี ของแสงผ่านจากแท่งพลาสติกออกสู่ อากาศ แนวรังสี หกั เหจะเบน
ออกจากเส้นแนวฉาก ทำให้มุมหักเห (5) มีค่ามากกว่ามุมตกกระทบ (3)

11
2. การหักเหของแสง Light M.3
ค้ นหาคำตอบ
1. การจัดแนวลำแสงให้ทำมุมตกกระทบกับเส้นแนวฉากเพื่ออะไร
เพื่อต้องการให้รังสี ตกกระทบ รังสะท้อน และรังสี หกั เหอยูบ่ นระนาบเดียวกัน
2. เมื่อนำแท่งพลาสติกมารับแสง โดยจัดแนวลำแสงให้ทำมุมตกกระทบ 30 องศา
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด
1) เมื่อแสงผ่านจากอากาศสู่ แท่งพลาสติก มุมสะท้อน (1) มีค่าเท่ากับมุมตกกระทบ
ในขณะที่มุมหักเห (2) มีค่าน้อยกว่ามุมสะท้อน (1)
2) เมื่อแสงผ่านจากแท่งพลาสติกสู่ อากาศ มุมสะท้อน (4) มีค่าเท่ากับมุมตกกระทบ
(3) ในขณะที่มุมหักเห (5) มีค่ามากกว่ามุมสะท้อน (4)

12
2. การหักเหของแสง Light M.3
ค้ นหาคำตอบ

3. เมื่อจัดแนวลำแสงให้มุมตกกระทบมีค่าเท่ากับศูนย์ ผลที่ได้จะมีลกั ษณะใด


ลำแสงทั้ง 3 ตอน คือ ก่อนเข้าแท่งพลาสติก ภายใน และออกจากแท่งพลาสติก
เป็ นเส้นตรงเดียวกัน

4. ผลสรุ ปของกิจกรรมนี้คืออะไร
มุมตกกระทบมีค่าเท่ากับมุมสะท้อนเสมอ และมุมหักเหจะมีค่าเปลี่ยนไป
เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน

13
2. การหักเหของแสง Light M.3
เส้ นแนวฉาก
รั งสี ตกกระทบ 1 = มุมตกกระทบ
1
อากาศ 2 = มุมหักเห
รั งสี หักเห
แท่ งพลาสติก
2 3 = มุมตกกระทบ
3
รั งสี ตกกระทบ 4 = มุมหักเห
อากาศ 4
รั งสี หักเห
เส้ นแนวฉาก

รังสี หกั เหจะเบน เข้ าหา หรื อเบน ออกจาก เส้นแนวฉากขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยใด
14
2. การหักเหของแสง Light M.3
การเบนของรังสี หกั เหขึ้นอยูก่ บั ความหนาแน่ นของตัวกลาง หรื อ ค่ าดัชนีหักเห
เส้ นแนวฉาก เส้ นแนวฉาก
รั งสี ตกกระทบ รั งสี ตกกระทบ
มาก 1 น้ อย 1

2
น้ อย มาก 2
รั งสี หักเห

รั งสี หักเห
ดัชนีหกั เหมาก  น้อย ดัชนีหกั เหน้อย  มาก
1 < 2  1 > 2
รังสี หกั เหเบนออกจากเส้นแนวฉาก รังสี หกั เหเบนเข้ าหาเส้นแนวฉาก
15
2. การหักเหของแสง Light M.3
การพิจารณาการเบนของรังสี ของแสงจะพิจารณาจากค่าดัชนีหกั เห
ค่าดัชนีหกั เห  ความหนาแน่น
สาร ค่ าดัชนีหักเห
เพชร 2.417
แก้ว 1.517
ค่าดัชนีหกั เหของสารต่าง ๆ
น้ำแข็ง 1.31
สำหรับแสงความยาวคลื่น คาร์บอนซัลไฟด์ที่ 20 °C 1.625
589.3 นาโนเมตร คาร์บอนเตตระคลอไรด์ที่ 20 °C 1.461
เอทิลแอลกอฮอล์ 20 °C 1.360
น้ำที่ 20 °C 1.333
อากาศ 1.000293

16
2. การหักเหของแสง Light M.3
เรามักมองเห็นปลาใต้น ้ำอยูต่ ้ืนกว่าความเป็ นจริ งเพราะอะไร
เส้นแนวฉาก

อากาศ

ความลึกที่เห็น น้ำ

ความลึกจริ ง

ค่าดัชนีหกั เหของน้ำ > อากาศ


รังสี หกั เหเบนออกจากเส้นแนวฉาก
ปลาที่มองเห็นจึงอยูต่ นื้ กว่ าความเป็ นจริ ง
17
Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน

1. การสะท้อนของแสงและการหักเหของแสงต่างกันในลักษณะใด
การสะท้อนของแสงเกิดจากรังสี ของแสงเคลื่อนที่ไปกระทบ
กับผิววัตถุแล้วสะท้อนกลับมายังตัวกลางเดิม ส่ วนการหักเห
ของแสงเกิดจากแสงเดินทางผ่านผิวรอยต่อระหว่างตัวกลาง
ต่างชนิดกันทำให้แนวการเคลื่อนที่ของแสงเบนไปจากเดิม
2. เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่แตกต่างกัน แสงเกิดการหักเห
เพราะอะไร
เพราะตัวกลางมีความหนาแน่นต่างกัน เมื่อแสงเดินทางจาก
ตัวกลางหนึ่งไปยังตัวกลางหนึ่ง แสงจึงมีทิศทางที่เปลี่ยนไป
18
Light M.3
สรุป การหักเหของแสง
หลักการ
แสงเดินทางจากตัวกลางที่มี
ความหนาแน่นต่างกัน
แบ่งเป็ น

แสงเดินทางจากตัวกลาง แสงเดินทางจากตัวกลาง
ที่มีค่าดัชนีหกั เหน้อยไปมาก ที่มีค่าดัชนีหกั เหมากไปน้อย
ทำให้เกิด ทำให้เกิด

มุมหักเห มุมหักเห
เล็กกว่ามุมตกกระทบ โตกว่ามุมตกกระทบ
19
Light M.3
วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ ม 2

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 แสง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 6
การหักเหของแสงผ่ านเลนส์ นูน
และเลนส์ เว้ า
เวลา 3 ชั่วโมง
20
Light M.3

แสงที่เดินทางผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
มีลกั ษณะเหมือนกระจกนูนและกระจกเว้าหรื อไม่

21
Light M.3
2. การหักเหของแสง
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

เลนส์ (lens)

เลนส์ นูน (convex lens) เลนส์ เว้ า (concave lens)

เลนส์
เลนส์เนว้าูนสองหน้
สองด้าาน เลนส์นเูนว้าแกมระนาบ
เลนส์ แกมระนาบ เลนส์นเูนว้าแกมเว้
เลนส์ แกมนูาน
22
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

เลนส์ นูน (convex lens)

รังสี ของแสง

แกนมุขสำคัญ
F

F คือ โฟกัส (focus) f คือ ความยาวโฟกัส

23
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

เราสามารถหาระยะ
ความยาวโฟกัสของเลนส์ได้ดว้ ยวิธีใด

นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จาก


การปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้

24
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

กิจกรรมที่ 6 สังเกตการหาความยาวโฟกัสและภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ นูน

ตอนที่ 1
เลนส์นูนแต่ละอันมีความยาวโฟกัสเท่ากันหรื อไม่ และความยาว
ปัญหา
โฟกัสของเลนส์นูนขึ้นอยูก่ บั อะไร

อุปกรณ์
1. เลนส์นูนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 ซม. และ 2.5 ซม. อย่างละ 1 อัน
2. กระดาษสี ขาวขนาด 10  10 ซม. 1 แผ่น
3. ไม้เมตร 1 อัน

25
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
ขั้นตอน
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้

1. ทำการสังเกตกลางแจ้ง โดยนำเลนส์นูนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร รับแสงแดดให้รวมแสง


เป็ นจุดบนกระดาษขาว วัดระยะทางจากเลนส์ถึงกระดาษขาว แล้วบันทึกผลที่ได้
2. ดำเนินการเช่นเดิมแต่ใช้เลนส์ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร และบันทึกผลที่ได้
26
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

บันทึกผล

เส้ นผ่ านศูนย์ กลางของเลนส์ ระยะระหว่ างเลนส์ และจุดรวมแสง


(เซนติเมตร) (เซนติเมตร)
5 14
2.5 5

27
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

ตอนที่ 2
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนมีลกั ษณะใด เมื่อระยะระหว่างวัตถุกบั เลนส์นูน
ปัญหา เปลี่ยนไปลักษณะของภาพจะเปลี่ยนไปหรื อไม่

อุปกรณ์
1. อุปกรณ์ชุดกั้นแสง 3. กระดาษขาวขนาด 10  10 ซม. 1 แผ่น
(พร้อมแผ่นกั้นแสงรู ปลูกศร) 1 ชุด 4. ไฟฉายพร้อมถ่านไฟฉาย 1 ชุด
2. เลนส์นูนขนาดเส้นผ่าน- 5. ฐานเสี ยบฉาก 1 อัน
ศูนย์กลาง 5 ซม. 1 อัน 6. ไม้เมตร 1 อัน

28
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

ขั้นตอน
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้
20 30
เซนติเมตร เซนติเมตร
อุปกรณ์ ชุดกั้นแสง เลนส์ นูน ฉาก

แผ่ นกั้นแสงรู ปลูกศร

1. นำอุปกรณ์ชุดกั้นแสงและเลนส์นูนมาวางบนโต๊ะ ให้มีระยะห่างกันประมาณ 20 เซนติเมตร


จากนั้นนำฉากกระดาษขาวที่เสี ยบบนฐานเสี ยบฉากมาจัดวางให้มีระยะห่างจากเลนส์ประมาณ
30 เซนติเมตร ทั้งนี้ตอ้ งจัดให้อุปกรณ์ท้ งั 3 ชิ้นวางอยูใ่ นแนวเดียวกัน 29
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
20 30
เซนติเมตร เซนติเมตร
อุปกรณ์ ชุดกั้นแสง เลนส์ นูน ฉาก

แผ่ นกั้นแสงรู ปลูกศร

2. นำไฟฉายมาวางติดกับอุปกรณ์ชดุ กั้นแสง เปิ ดไฟ สังเกตภาพทีเ่ กิดขึ้นบนฉาก ค่อย ๆ เลือ่ นฉาก


เข้าหาหรื อออกห่างจากเลนส์จนกระทัง่ สามารถเห็นภาพลูกศรบนฉากชัดเจน สังเกตลักษณะ ของ
ภาพและขนาดของภาพทีเ่ กิดขึ้น บันทึกระยะห่างจากเลนส์ถงึ ฉาก
3. ดำเนินการเช่นเดิม แต่เปลี่ยนระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ชุดกั้นแสงและเลนส์นูนให้เป็ น 28
เซนติเมตร 35 เซนติเมตร 6 เซนติเมตร ตามลำดับ บันทึกระยะจากเลนส์ถึงฉาก 30
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

บันทึกผล
ระยะห่ างระหว่ างอุปกรณ์ ระยะห่ างระหว่ าง ลักษณะและขนาดของภาพทีเ่ กิดขึน้
ชุดกั้นแสงกับเลนส์ นูน (ซม.) เลนส์ นูนกับฉาก (ซม.) บนฉากเปรียบเทียบกับวัตถุ
20 49 ภาพหัวกลับ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
28 23 ภาพหัวกลับ ขนาดเท่ากับวัตถุ
35 28 ภาพหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
6 ฉากรับไม่ได้ –

31
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

สรุปผล

เลนส์นูนทำหน้าที่รวมแสง จุดที่เลนส์รวมแสงเป็ นจุดจุดเดียวเรี ยกว่า


โฟกัส และเมื่อสังเกตภาพที่เกิดจากเลนส์นูนแล้วพบว่า ภาพที่สามารถเอา
ฉากรับได้จะมีลกั ษณะเป็ นภาพหัวกลับ โดยมีขนาดแตกต่างกันตามระยะ
ห่างระหว่างเลนส์นูนกับวัตถุ
 

32
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

ค้ นหาคำตอบ

1. นักเรี ยนวัดความยาวโฟกัสโดยใช้จุดใดเป็ นหลัก


จุดที่เลนส์นูนรวมแสงเป็ นจุดจุดเดียว
2. เมื่อเปรี ยบเทียบระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ชุดกั้นแสงกับเลนส์นูนแล้ว
ได้ผลลักษณะใด
ถ้าระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ชุดกั้นแสงกับเลนส์นูนน้อยกว่าความยาว
โฟกัสจะทำให้ไม่เกิดภาพที่ฉาก เราเรี ยกว่าเกิดภาพเสมือน ถ้าระยะห่าง
ระหว่างอุปกรณ์ชุดกั้นแสงกับเลนส์นูนมากกว่าความยาวโฟกัสจะทำให้
เกิดภาพในระยะที่แตกต่างกันและมองเห็นภาพจริ งหัวกลับบนฉาก
33
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

ค้ นหาคำตอบ
3. ผลสรุ ปของการปฏิบตั ิกิจกรรมคืออะไร
1) จุดรวมแสงของเลนส์นูน คือ โฟกัสของเลนส์
2) ความยาวโฟกัสของเลนส์นูนหาได้โดยวิธีรวมแสงแดด และเลนส์นูน
แต่ละอันจะมีความยาวโฟกัสไม่เท่ากัน ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของเลนส์
3) ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนเป็ นได้ท้ งั ภาพจริ งและภาพเสมือน สำหรับภาพจริ ง
ขึ้นอยูก่ บั ระยะวัตถุ
4) ภาพที่สามารถเอาฉากรับได้และมีลกั ษณะหัวกลับกับวัตถุ เรี ยกว่า ภาพจริ ง
ภาพที่เอาฉากรับไม่ได้และมีลกั ษณะหัวตั้งเหมือนวัตถุ เรี ยกว่า ภาพเสมือน

34
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
การหาตำแหน่งและลักษณะภาพจากเลนส์นูน
ลากเส้นขนาน
แกนมุขสำคัญ
1
2 ลากรังสี หกั เหผ่านโฟกัส

3 F
ลากเส้นผ่านจุดกึ่งกลางของเลนส์
ไปตัดกับรังสี หกั เห

ตำแหน่งของวัตถุมีผลต่อลักษณะของภาพที่เกิดหรื อไม่
35
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

ระยะวัตถุ ทางเดินของแสง ลักษณะภาพและระยะภาพ


1. ระยะวัตถุนอ้ ยกว่า  ภาพเสมือนหัวตั้ง
ความยาวโฟกัส ภาพ  ขนาดใหญ่กว่าวัตถุอยูห่ น้า
(u < f) F วัตถุ F
เลนส์
 ระยะภาพไกลกว่าระยะวัตถุ

2. ระยะวัตถุมากกว่า  ภาพจริ งหัวกลับ


ความยาวโฟกัสแต่  ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ อยูห่ ลัง
น้อยกว่า 2 เท่าของ C วัตถุ F F C
เลนส์
ความยาวโฟกัส  ระยะภาพมากกว่า 2f
ภาพ
(f < u < 2f) (v > 2f)

u คือ ระยะวัตถุ v คือ ระยะภาพ 36


2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

ระยะวัตถุ ทางเดินของแสง ลักษณะภาพและระยะภาพ


3. ระยะวัตถุมากกว่า วัตถุ
 ภาพจริ งหัวกลับ
2 เท่าของความยาว F C
 ขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยูห่ ลัง
โฟกัส (u > 2f) C F
ภาพ
เลนส์
 ระยะภาพอยูร่ ะหว่าง f กับ 2f
(f < v < 2f)
4. วัตถุอยูท่ ี่โฟกัสของ  ภาพที่เกิดอยูร่ ะยะไกลมาก คือ
เลนส์นูนหรื อระยะ วัตถุ ที่ระยะอนันต์ จนไม่สามารถ
C F C
ภาพเท่ากับความยาว F
ระบุชนิดของภาพได้
โฟกัส (u = f)
 
u คือ ระยะวัตถุ v คือ ระยะภาพ
37
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

หลักการ คล้ายกับ
เกิดภาพจาก

หลักการ
เกิดภาพจาก คล้ายกับ ?
38
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

เลนส์ เว้ า (concave lens)

รังสี ของแสง

แกนมุขสำคัญ
F

F คือ โฟกัส (focus) f คือ ความยาวโฟกัส


39
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
การหาตำแหน่งและลักษณะภาพจากเลนส์เว้า

ลากเส้นขนานแกนมุขสำคัญ 1
ลากเส้นต่อจาก
2 รังสี หกั เหผ่านโฟกัส
F 3 ลากเส้นผ่าน
จุดกึ่งกลางของเลนส์

ตำแหน่งของวัตถุมีผลต่อลักษณะของภาพที่เกิดหรื อไม่
40
2. การหักเหของแสง Light M.3
2.1 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
ระยะวัตถุ ทางเดินของแสง ลักษณะภาพและระยะภาพ
1. ระยะวัตถุนอ้ ยกว่า  ภาพเสมือนหัวตั้ง
ความยาวโฟกัส  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ภาพอยู่
วัตถุ
(u < f) ข้างเดียวกับวัตถุ
F ภาพ F
 ระยะภาพน้อยกว่าความยาว
โฟกัส (v < f)
2. ระยะวัตถุอยูท่ ี่โฟกัส  ภาพเสมือนหัวตั้ง
(u = f)  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ภาพอยู่
วัตถุ ข้างเดียวกับวัตถุ (v < f)
F ภาพ F  ระยะภาพน้อยกว่าความยาว
โฟกัส (v < f)

u คือ ระยะวัตถุ v คือ ระยะภาพ 41


Light M.3
นักเรียนได้ เรียนรู้ อะไรบ้ าง
เรามาตรวจสอบความเข้ าใจกัน
1. ระยะวัตถุมีผลต่อลักษณะของภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า
เพราะอะไร
เพราะระยะวัตถุที่ต่างกันทำให้รังสี ของแสงหักเหผ่าน
เลนส์และตัดกันจนเกิดภาพที่ตำแหน่งต่างกัน

2. ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนและเลนส์เว้าเมื่อระยะวัตถุมีค่าเป็ น
2 เท่าของความยาวโฟกัสมีลกั ษณะใด
เลนส์นูนเกิดภาพจริ งหัวกลับ ขนาดเท่ากับวัตถุ ภาพเกิด
หลังเลนส์ ส่ วนเลนส์เว้าเกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็ก
กว่าวัตถุ ภาพอยูข่ า้ งเดียวกับวัตถุ
42
Light M.3
การหักเหของแสง
สรุป ผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ

เลนส์นูน เลนส์เว้า
ลักษณะการสะท้อน ลักษณะการสะท้อน

แสงหักเหผ่านเลนส์นูน แสงหักเหผ่านเลนส์เว้า
แล้วเกิดการรวมแสง แล้วเกิดการกระจายแสง
ลักษณะภาพ
ลักษณะภาพ

ภาพเสมือนหัวตั้ง ภาพจริ งหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตั้ง


ภาพจริ งหัวกลับ
ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ขนาดเล็กกว่าวัตถุเสมอ
ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
43

You might also like