You are on page 1of 33

ถังเพาะถั่วงอกคอนโดระบบน้้าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้้า

โดย
นายสัจจา ชัยนามล
นายอนุวัฒน์ หนองประทุม
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด

รายงานนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานสิ่งประดิษฐ์สมองกลฝังตัว
ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ถังเพาะถั่วงอกคอนโดระบบน้้าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้้า

โดย
นายสัจจา ชัยนามล
นายอนุวัฒน์ หนองประทุม
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด

ครูที่ปรึกษา
นายคมกริช บุตรอุดม
นางสาวฐิติมา ผ่องแผ้ว
นายภีศเดช วิชัด
นายฐิติคุณ ยาวะโนภาส

รายงานนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานสิ่งประดิษฐ์สมองกลฝังตัว
ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน : ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า
ผูจ้ ดั ทาโครงงาน : 1. นายสัจจา ชัยนามล
2. นายอนุวฒั น์ หนองประทุม
3. นางสาวอังคนางค์ ทศไชย
อาจารย์ที่ปรึ กษา : 1. นายคมกริ ช บุตรอุดม
โรงเรี ยน : ศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
ที่อยู่ : โรงเรี ยนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี ตาบลนิเวศน์ อาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด 45170
โทรศัพท์ : 093 – 0934188 โทรสาร : 043 - 569034
ระยะเวลาในการทาโครงงาน ตั้งแต่ : มี.ค. 2562 – ก.ค. 2562

บทคัดย่ อ

โครงงาน เรื่ อง ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า มีวตั ถุประสงค์เพื่อ


ออกแบบและสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า และทดสอบประสิ ทธิภาพ
การทางานตามเงื่อนไขที่กาหนดและสามารถส่ งการแจ้งเตือนผ่าน Line เมื่อถึงระยะเวลาเก็บผลผลิต
หลักการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ได้นาอุปกรณ์บอร์ด
KidBright มาเป็ นอุปกรณ์ควบคุมการทางานจากการเขียนโปรแกรม KidBright IDE เพื่อสัง่ งานให้อุปกรณ์
ทางานตามเงื่อนไขที่กาหนด คือ เริ่ มต้นการทางาน KidBright จะทาการตั้งค่าเวลาในบอร์ด เมื่อครบระยะเวลาที่
กาหนด KidBright จะสัง่ งานให้มอเตอร์ปั๊มน้ าทางาน ปั๊มน้ าจากถัง B มารดถัว่ งอกที่ถงั A ครั้งละ 3 ลิตร เป็ น
ระยะเวลา 10 วินาที ทุกๆ 2 ชัว่ โมง เมื่อครบตามที่กาหนด KidBright จะสัง่ ให้มอเตอร์ปั๊มน้ าหยุดการทางาน
หลังจากนั้น KidBright จะสัง่ งานให้ทางานวนซ้ าตามเงื่อนไขที่กาหนด เป็ นระยะเวลา 3 วัน และเมื่อครบ
ระยะเวลาที่กาหนด KidBright จะส่ งการแจ้งเตือนให้มาเก็บผลผลิตผ่าน Line และ KidBright ก็จะสัง่ หยุด
การทางาน
จากการศึกษาพบว่า ผลที่เกิดจากการเขียนโปรแกรม KidBright IDE เมื่อใช้ควบคุมการทางานของ
อุปกรณ์ที่ออกแบบเป็ นถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า โปรแกรมสามารถทางาน
ได้ตามเงื่อนไขที่กาหนด
กิตติกรรมประกาศ

โครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เรื่ อง ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวน


แบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ครั้งนี้สาเร็ จลงด้วยดี เนื่องจากได้รับการสนับสนุนอย่างดียงิ่ จากท่านผูอ้ านวยการ
โรงเรี ยนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี ดร. อนงค์ พืชสิ งห์ ขอขอบคุณคุณครู คมกริ ช บุตรอุดม อาจารย์ที่ปรึ กษา
ในการทาโครงงาน ที่ให้ความช่วยเหลือและให้คาแนะนาในการทาโครงงาน และขอขอบคุณโครงการ
พัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภายใต้มูลนิธิสารสนเทศตาม
พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ทสรช.) และวิทยากรทุกท่านที่ให้โอกาส
ได้เรี ยนรู ้ประสบการณ์ตรงจากการได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง เพื่อให้มีปัญญาและจุดประกายต่อยอดในการทา
โครงงานหรื อการเรี ยนรู ้ดา้ นเทคโนโลยีที่สูงขึ้นต่อไป จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
คุณค่าอันพึงมีจากการทาโครงงานครั้งนี้ ขอมอบเป็ นเครื่ องบูชาแด่บุพการี ครู อาจารย์ และผูม้ ี
พระคุณทุกท่าน

คณะผูจ้ ดั ทา
สารบัญ
เรื่ อง หน้ า
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนา 1
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขตในการศึกษา 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 3
KidBright 3
การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 5
ระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบบ่อเติมอากาศ (Aerated Lagoon หรื อ AL) 7
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกถัว่ งอก 7
การเพาะถัว่ งอกคอนโด 8
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 10
อุปกรณ์ 10
ขั้นตอนการดาเนินการ และรวบรวมข้อมูล 11
หลักการทางาน 11
ลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม 12
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 13
ผลการดาเนินงาน 13
บทที่ 5 สรุ ปและอภิปรายผลการดาเนินงาน 17
สรุ ปผลการดาเนินงาน 17
อภิปรายผลการดาเนินงาน 18
ประโยชน์ที่ได้รับ 19
ข้อเสนอแนะ 19
บรรณานุกรม 20
ภาคผนวก 21
สารบัญตาราง

ตาราง หน้ า
1 ขั้นตอนการดาเนินงานและรวบรวมข้อมูล 11
2 เปรี ยบเทียบการใช้น้ าในการรดน้ าในถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า 13
3 เปรี ยบเทียบการใช้ปั๊มออกซิเจนในถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า 15
สารบัญภาพประกอบ

ภาพที่ หน้ า

1 บอร์ดสมองกลฝังตัว “KidBright” 3
2 KidBright IDE Programmer 4
3 ชุดคาสัง่ แบบ block-structured programming 4
4 การต่อวงจรแบบอนุกรม 6
5 การต่อวงจรแบบขนาน 6
6 การต่อวงจรแบบผสม 6
7 การเพาะถัว่ งอกตัดราก 8
8 การออกแบบการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า 11
9 ภาพผังงาน (flow chart) แสดงขั้นตอนการทางาน 12
10 Source code ที่เขียนโดย KidBright IDE 16
11 KidBright 22
12 Relay 22
13 Computer Power Supply 22
14 ปั๊มน้ า 12 V 22
15 ปั๊มออกซิเจน 22
16 เขียนโปรแกรม KidBright IDE 23
17 Source code 23
18 การต่อวงจรควบคุมการทางาน 24
19 วงจรควบคุมการทางาน 24
20 ออกแบบโครงสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า 25
21 ประกอบโครงสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า 25
22 การทดสอบวงจรและอุปกรณ์เครื่ องมือ 26
23 ชุดถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า 26
บทที่ 1
บทนา

1. ที่มาและความสาคัญ
ถัว่ งอกตามที่ขายทัว่ ไป โดยส่ วนใหญ่มกั จะมีสารปนเปื้ อนอยูม่ าก เนื่องจากความต้องการ
ของผูป้ ระกอบการบางรายที่ตอ้ งการให้ถวั่ งอกมีความขาว อวบ สด น่ารับประทานและสามารถเก็บไว้ได้
นาน เพื่อผลประโยชน์ในการขนส่ งระยะไกลไปยังร้านค้าต่างๆ สารปนเปื้ อนที่สามารถพบได้บ่อยในถัว่ งอก
ตามท้องตลาด คือ สารฟอกขาว (โซเดียมไฮโดรซัลไฟด์), สารคงความสด (ฟอร์มาลิน) และฮอร์โมนเร่ งให้
อ้วน สารเหล่านี้หากรับประทานเข้าไปในร่ างกายในปริ มาณมากจะส่ งผลเสี ยต่อระบบทางเดินอาหาร
ระบบหายใจ ระบบประสาท และอาจทาให้เสี ยชีวิตได้ จากการศึกษาการเพาะถัว่ งอกตามภูมิปัญญาชาวบ้าน
ในการเพาะถัว่ งอกจะต้องรดน้ าทุกๆ 2 ชัว่ โมง ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน นอกจากนั้นยังมีการใช้น้ า
ปริ มาณมากในการเพาะถัว่ งอก โดยไม่มีการนาน้ ากลับมาใช้ประโยชน์อีก และจากการอบรมตามโครงการ
การพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภายใต้โครงการมูลนิ ธิเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี และวิทยากรจาก สวทช.
ทาให้มีความรู ้ในการออกแบบ การต่อวงจรและการเขียนโปรแกรม KidBright IDE ควบคุมการทางานของ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ให้สิ่งประดิษฐ์สามารถทางานตามเงื่อนไขที่กาหนด
คณะผูจ้ ดั ทาจึงมีแนวคิดที่จะทาให้การเพาะถัว่ งอกเป็ นเรื่ องที่ไม่ยงุ่ ยาก ไม่เสี ยเวลา ไม่เสี ยสุ ขภาพ
ประหยัดน้ า และส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ ที่ดี โดยการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานผ่านบอร์ด KidBright ให้
ทางานด้วยระบบอัตโนมัติ ประหยัดน้ าและบาบัดน้ าให้สามารถนากลับมาใช้ในการรดถัว่ งอกซ้ าอีกครั้งจน
สิ้ นสุ ดกระบวนการเพาะถัว่ งอก โดยการใช้ระบบน้ าวน จะสามารถทาให้ได้ผลผลิตที่สะอาด ปลอดภัย และ
เมื่อสิ้ นสุ ดกระบวนการเพาะถัว่ งอกสามารถแจ้งเตือนผ่าน Line เมื่อครบระยะเวลาเก็บผลผลิต

2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อออกแบบและสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า
2. เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติ
ประหยัดน้ าให้สามารถทาตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้
2

3. ขอบเขตในการศึกษา
ในการจัดทาโครงงานครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทาได้กาหนดขอบเขตของการทาโครงงานถังเพาะถัว่ งอก
คอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ดังนี้
1. ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ใช้โปรแกรม Kidbright IDE
ควบคุมการทางานของอุปกรณ์และแผงวงจร KidBright
2. ถัว่ งอกคอนโดจะใช้วิธีการนาเมล็ดถัว่ เขียวที่แช่น้ าเย็น 8 ชัว่ โมง แล้วนามาวางบนตะแกรงเรี ยง
เป็ นชั้นๆ ในถังน้ าพลาสติก สี ดา ขนาดความจุ 50 ลิตร โดยใช้ระยะเวลาเก็บผลผลิต 3 วัน
3. การแจ้งเตือนผ่าน Line จะส่ งเมื่อถึงระยะเวลาในการเก็บผลผลิต
4. เมล็ดถัว่ เขียวทีใช้ในการทดลอง คือ เมล็ดถัว่ เขียวไร่ ทิพย์ ปริ มาตร 500 กรัม

4. นิยามศัพท์ เฉพาะ
ถังเพาะถั่วงอกคอนโดระบบนา้ วนแบบอัตโนมัติประหยัดนา้ หมายถึง การนาถังน้ าพลาสติก สี ดา
ขนาดความจุ 50 ลิตร มาดัดแปลงให้มีการระบายน้ าออกหลังจากการรดน้ า ซึ่งภายในถังจะวางตะแกรง
พลาสติกตัดเป็ นรู ปวงกลมและวางเมล็ดถัว่ เขียวเป็ นชั้นๆ จานวน 4 ชั้น แล้วนาไปวางบนถังน้ าพลาสติกสี ดา
ขนาดความจุ 50 ลิตร ที่ออกแบบให้รดน้ าทุกๆ 2 ชัว่ โมง ตามเงื่อนไขที่กาหนด โดยมีการปั๊มเอาน้ าที่เหลือ
จากการรดครั้งที่แล้วมาใช้ซ้ าจนครบระยะเวลาที่กาหนด
KidBright หมายถึง บอร์ดสมองกลฝังตัว (Embedded Board) ขนาดเล็ก ที่ประกอบไปด้วย
ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ทาหน้าที่ ประมวลผล และควบคุมสัง่ งานอุปกรณ์ ที่ประกอบอยูบ่ นบอร์ด ซึ่ง
ได้แก่ หน้าจอแสดงผลแบบ Matrix LED ขนาด 16×8 จุด และเซ็นเซอร์ตรวจจับพื้นฐาน ที่สามารถปรับใช้
ในชีวิตประจาวันได้แก่ เซ็นเซอร์วดั ระดับความเข้มของแสง และ เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมิ
Kidbright IDE หมายถึง โปรแกรมสร้างชุดคาสัง่ เพื่อนาไปใช้ทางานบนบอร์ด Kidbright
ด้วย ชุดคาสัง่ แบบ block-structured programming คือจะใช้การลากกล่องข้อความหรื อบล็อกคาสัง่ มาวางต่อ
กัน (Drag and Drop) จากนั้นโปรแกรมจะทางานแปลงภาษา ที่เรี ยกว่าการ compile เพื่อให้ได้เป็ นโค้ด
การทางานที่ใช้กบั โปรเซสเซอร์ ESP32 ที่อยูบ่ นบอร์ด
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง

ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เรื่ อง ถังเพาะถัว่ งอกคอนโด


ระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า คณะผูจ้ ดั ทาได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. KidBright
2. การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
3. ระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบบ่อเติมอากาศ (Aerated Lagoon หรื อ AL)
4. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกถัว่ งอก
5. การเพาะถัว่ งอกคอนโด

1. KidBright คือ บอร์ดสมองกลฝังตัว (Embedded Board) ขนาดเล็ก ที่ประกอบไปด้วย


ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ทาหน้าที่ ประมวลผล และควบคุมสัง่ งานอุปกรณ์ ที่ประกอบอยูบ่ นบอร์ด ซึ่ง
ได้แก่ หน้าจอแสดงผลแบบ Matrix LED ขนาด 16×8 จุด และเซ็นเซอร์ตรวจจับพื้นฐาน ที่สามารถปรับใช้
ในชีวิตประจาวันได้แก่ เซ็นเซอร์วดั ระดับความเข้มของแสง และ เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมิ

ภาพที่ 1 บอร์ดสมองกลฝังตัว “KidBright”


แหล่งที่มา : https://www.nectec.or.th/news/news-pr-news/2019kidbright-singapore.html
(15 มิถุนายน 2562)

Kidbright IDE คือ โปรแกรมสร้างชุดคาสัง่ เพื่อนาไปใช้ทางานบนบอร์ด kidbright ด้วย ชุดคาสัง่


แบบ block-structured programming คือจะใช้การลากกล่องข้อความหรื อบล็อกคาสัง่ มาวางต่อกัน (Drag
and Drop) จากนั้นโปรแกรมจะทางานแปลงภาษา ที่เรี ยกว่าการ compile เพื่อให้ได้เป็ นโค้ดการทางานที่ใช้
กับโปรเซสเซอร์ ESP32 ที่อยูบ่ นบอร์ด
4

ภาพที่ 2 KidBright IDE Programmer


แหล่งที่มา : https://kidbright.club/wp-content/uploads/2018/10/Artboard-5KB-IDE1080x675.png
(15 มิถุนายน 2562)

การเขียนโปรแกรมเพื่อให้บอร์ด KidBright ทางาน สามารถทาได้ดว้ ยโปรแกรม Kidbright IDE ซึ่ง


เป็ นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถเขียนโปรแกรม ได้ง่ายมากขึ้น ด้วยวิธีการชุดคาสัง่
แบบ block-structured programming ซึ่งเป็ นการเขียนโปรแกรมโดยการลากรู ปกล่องคาสัง่ พื้นฐาน มาวางต่อ
กัน (Drag and Drop) เพื่อทาการเชื่อมโยงคาสัง่ เหล่านั้นขึ้นมาเป็ นโปรแกรม จากนั้น Kidbright IDE จะทา
การแปลง (compile) โปรแกรม และส่ งโปรแกรมดังกล่าวไปยัง บอร์ด Kidbright เพื่อให้มนั ทางานตาม
ชุดคาสัง่ ที่เราได้ออกแบบไว้

ภาพที่ 3 ชุดคาสัง่ แบบ block-structured programming


แหล่งที่มา : https://kidbright.club/wp-content/uploads/2018/10/Artboard-8d-N-d-400x250.png
(15 มิถุนายน 2562)
5

2. การต่ อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่ าย ไฟฟ้าเป็ นพลังงานอย่างหนึ่ง ซึ่งอาศัยการไหลของกระแสอิเล็กตรอน


ส่ งต่อพลังงานไปยังเครื่ องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ แล้วจึงเปลี่ยนเป็ นพลังงานรู ปอื่น ๆ เช่น เปลี่ยนเป็ นพลังงานแสง
เมื่อส่ งไปที่หลอดไฟ เปลี่ยนเป็ นพลังงานกลเมื่อส่ งไปที่มอเตอร์พดั ลม หรื อแม้กระทัง่ เปลี่ยนเป็ นพลังงาน
ความร้อนเมื่อส่ งไปที่ขดลวดทาความร้อนในกาน้ าร้อนไฟฟ้า ไฟฟ้าถูกแบ่งออกเป็ นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ
ไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส ซึ่งแบ่งไฟฟ้ากระแสออกได้อีกเป็ น 2 ประเภท คือ ไฟฟ้ากระแสตรง ( Direct
Current, D.C ) ซึ่งเกิดจากแบตเตอรี และไฟฟ้ากระแสสลับ ( Alternating Current, A.C.) ที่เกิดจาก
เครื่ องปั่นไฟหรื อเจนเนอเรเตอร์ ซึ่งเป็ นไฟฟ้าที่เราใช้ในอาคารบ้านเรื อน

การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายมีองค์ประกอบหลัก ๆ ได้แก่
1) ตัวนาไฟฟ้ าหรื อสายไฟ มักทามาจากโลหะที่นาไฟฟ้าได้ดี เช่น ทองแดง อะลูมิเนียม
แต่ในบางครั้งก็ใช้สารกึ่งตัวนาอย่างแผ่นซิลิกาเป็ นแผงวงจร เป็ นต้น
2) แหล่งให้ กาเนิดพลังงานไฟฟ้ า ถ้าเป็ นไฟฟ้ากระแสตรงจะใช้เซลล์ไฟฟ้า หรื อแบตเตอรี
หรื อถ่านไฟฉาย ซึ่งประกอบด้วยขั้วบวกขั้วลบ โดยอิเล็กตรอนจะถูกปล่อยออกมาจากขั้วลบให้ไหลมาตาม
สายไฟหรื อตัวนาไฟฟ้า เพื่อเข้าไปสู่ โหลด (Load) หรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าต่อไป นอกจากนี้ยงั มีไฟฟ้า
กระแสสลับซึ่งเกิดจากการเหนี่ยวนากระแสไฟฟ้าผ่านสนามแม่เหล็ก เกิดเป็ นกระแสไฟฟ้าซึ่งมีขนาดและ
ทิศทางสลับไปมาตลอดเวลา
3) โหลด (Load) เป็ นภาระของวงจรไฟฟ้า หรื อเทียบได้กบั เครื่ องใช้ไฟฟ้าที่ถูกต่อเข้าใน
วงจร ซึ่งทาหน้าที่แตกต่างกัน เช่น ตัวต้านทาน (Resistor) ทาหน้าที่ตา้ นทานการไหลของไฟฟ้า มีหน่วยเป็ น
โอห์ม (Ω), ตัวเก็บประจุ (Capacitor) เป็ นแหล่งเก็บพลังงานที่อยูใ่ นรู ปของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็ นฟารัด
(F) และตัวเหนี่ยวนา (Inductor) ทาหน้าที่ป้องกันการเปลี่ยนแปลงการไหลของกระแสไฟฟ้า สร้างขึ้นจาก
ขดลวดตัวนาไฟฟ้า มีหน่วยเป็ นเฮนรี่ (H)

การต่อวงจรไฟฟ้านี้สามารถแบ่งออกเป็ น 3 วิธีคือ
1) การต่ อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม (Series Circuit) คือ การต่อวงจรไฟฟ้าที่มีกระแสใน
วงจรไหลผ่านโหลดหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าเพียงเส้นทางเดียว มีคุณสมบัติคือ กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรอนุกรม
จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลจากแหล่งกาเนิด แรงดันไฟฟ้าตกคร่ อมส่ วนต่าง ๆ ของวงจรจะมีค่าน้อย
แต่วา่ แรงดันที่ตกคร่ อมละชิ้นเมื่อรวมกัน จะมีแรงดันเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด ความต้านทานรวม
ของวงจร จะมีค่ามากกว่าความต้านทานตัวที่นอ้ ยที่สุดที่ต่ออยูใ่ นวงจร
6

ภาพที่ 4 การต่อวงจรแบบอนุกรม
แหล่งที่มา : https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/69971/-blo-sciphy-sci-
(15 มิถุนายน 2562)

2) การต่ อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน (Parallel Circuit) คือ การต่อวงจรไฟฟ้าที่มีกระแสใน


วงจรไหลแยกเป็ นหลายทางผ่านโหลดหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัว มีคุณสมบัติคือ กระแสไฟฟ้ารวมของ
วงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของวงจรรวมกัน แรงดันไฟฟ้าตกคร่ อม
ส่ วนต่าง ๆ ของวงจร จะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่า
ความต้านทานตัวที่นอ้ ยที่สุดที่ต่ออยูใ่ นวงจร

ภาพที่ 5 การต่อวงจรแบบขนาน
แหล่งที่มา : https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/69972/-blo-sciphy-sci-
(15 มิถุนายน 2562)

3) การต่ อวงจรไฟฟ้ าแบบผสม (Compound Circuit) คือ วงจรไฟฟ้าที่มีการต่อวงจรทั้ง


อนุกรมและขนานผสมกัน

ภาพที่ 6 การต่อวงจรแบบผสม
แหล่งที่มา : https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/69973/-blo-sciphy-sci-
(15 มิถุนายน 2562)
7

การต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้โดยทัว่ ไปตามอาคารบ้านเรื อนจะใช้แบบขนาน เนื่องจากมีขอ้ ดีคือ สามารถ


ต่อเครื่ องใช้ไฟฟ้าได้หลายชนิดพร้อมกัน และถึงแม้จะปิ ดสวิตช์เครื่ องใดเครื่ องหนึ่ง หรื อทาให้ไม่ครบวงจร
ไปในเส้นใดเส้นหนึ่ง เส้นที่เหลือก็ยงั สามารถทางานต่อไปได้ ต่างจากการต่อแบบอนุกรม เพราะเมื่อ
เครื่ องใช้ไฟฟ้าชิ้นใดชารุ ดหรื อไม่ครบวงจร ก็จะทาให้ไม่สามารถใช้งานเครื่ องใช้ไฟฟ้าได้เลยทั้งวงจร ส่ วน
ในแบบผสมอาจมีการใช้งานในบางกรณี ซ่ ึงเป็ นการใช้เพื่อทางานเฉพาะอย่าง

3. ระบบบาบัดนา้ เสี ยแบบบ่ อเติมอากาศ (Aerated Lagoon หรื อ AL) เป็ นระบบบาบัดน้ าเสี ยที่
อาศัยการเติมออกซิเจนจากเครื่ องเติมอากาศ (Aerator) ที่ติดตั้งแบบทุ่นลอยหรื อยึดติดกับแท่นก็ได้ เพื่อเพิ่ม
ออกซิเจนในน้ าให้มีปริ มาณเพียงพอ สาหรับจุลินทรี ยส์ ามารถนาไปใช้ยอ่ ยสลายสารอินทรี ยใ์ นน้ าเสี ยได้เร็ ว
ขึ้นกว่าการปล่อยให้ยอ่ ยสลายตามธรรมชาติ ทาให้ระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบบ่อเติมอากาศสามารถบาบัดน้ า
เสี ยได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ สามารถลดปริ มาณความสกปรกของน้ าเสี ยในรู ปของค่าบีโอดี (Biochemical
Oxygen Demand; BOD) ได้ร้อยละ 80-95 โดยอาศัยหลักการทางานของจุลินทรี ยภ์ ายใต้สภาวะที่มีออกซิเจน
(Aerobic) โดยมีเครื่ องเติมอากาศซึ่งนอกจากจะทาหน้าเพิม่ ออกซิเจนในน้ าแล้วยังทาให้เกิดการกวนผสม
ของน้ าในบ่อด้วย ทาให้เกิดการย่อยสลายสารอินทรี ยไ์ ด้อย่างทัว่ ถึงภายในบ่อ
หลักการทางานของระบบ ระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบบ่อเติมอากาศ สามารถบาบัดน้ าเสี ยได้ท้ งั น้ าเสี ย
จากแหล่งชุมชนที่มีความสกปรกค่อนข้างมาก และน้ าเสี ยจากอุตสาหกรรม โดยปกติจะออกแบบให้บ่อมี
ความลึกประมาณ 2-6 เมตร ระยะเวลาเก็บกักน้ า (Detention Time) ภายในบ่อเติมอากาศประมาณ 3-10 วัน
และเครื่ องเติมอากาศจะต้องออกแบบให้มีประสิ ทธิภาพสามารถทาให้เกิดการผสมกันของตะกอนจุลินทรี ย ์
ออกซิเจนละลายในน้ า และน้ าเสี ย นอกจากนี้จะต้องมีบ่อบ่ม (Polishing Pond หรื อ Maturation Pond) รับน้ า
เสี ยจากบ่อเติมอากาศเพื่อตกตะกอนและปรับสภาพน้ าทิ้งก่อนระบายออกสู่ สิ่งแวดล้อม ทั้งนี้จะต้องควบคุม
อัตราการไหลของน้ าภายในบ่อบ่มและระยะเวลาเก็บกักให้เหมาะสมไม่นานเกินไป เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการ
เจริ ญเติบโตเพิม่ ปริ มาณของสาหร่ าย (Algae) ในบ่อบ่มมากเกินไป

4. สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่ อการเพาะปลูกถั่วงอก ปัจจัยที่สาคัญต่อการงอกของเมล็ด


มีดงั ต่อไปนี้
1.ความชื้น เมล็ดจะดูดน้ าเข้าไป เพื่อช่วยในกระบวนการทางชีวเคมี
2.การทางานของน้ าย่อย ซึ่งทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงอาหารสะสมในพืชและเคลื่อนย้าย
อาหารไปยังส่วนที่เจริ ญ
3.ออกซิเจนจาเป็ นสาหรับกระบวนการหายใจ ทาหน้าที่เปลี่ยนอาหารสารองเป็ นพลังงาน
และการดูดอาหารของราก เพื่อการงอกของต้นอ่อน
4.อุณหภูมิที่เหมาะสม ความงอกสู ง กระบวนการงอกดาเนินไปตามปกติ ต้นอ่อน สมบูรณ์
อุณหภูมิสูง ความงอกต่า รากเจริ ญเร็ วขนาดเล็ก อุณหภูมิต่า ความงอกต่า รากเจริ ญช้า
8

5.แสงไม่จาเป็ นสาหรับการงอกของเมล็ด อาจทาให้รากเปลี่ยนเป็ นสี เขียว

5. การเพาะถั่วงอกคอนโด
5.1 วิธีการเพาะ
1. แช่เมล็ดถัว่ เขียวน้ าหนัก 500 กรัม เป็ นเวลา 8 ชัว่ โมง
2. เตรี ยมถังเพาะทีมีลกั ษณะทึบแสง และเจาะรู เพื่อระบายน้ าออก เพื่อจะใช้ในการ
ทาระบบน้ าวน และป้องกันการขังของน้ าในถังที่จะทาให้เมล็ดถัว่ เขียวเน่าเสี ยได้
3. จัดชั้นถัว่
3.1 เตรี ยมตะแกรงที่มีความหนาขนาด 5 มม. กับขนาด 2 มม. จัดเรี ยงเป็ น
ชุด โดยจะต้องนาตะแกรงขนาด 2 มม. อยูด่ า้ นล่าง และให้ตะแกรงขนาด 5 มม. อยูด่ า้ นบน
3.2 นาเมล็ดถัว่ เขียวมาแบ่งให้เท่าๆ กัน
3.3 เกลี่ยกระจายเมล็ด ให้ซอ้ นทับกันน้อยที่สุด
3.4 ระหว่างที่เกลี่ย ตรวจสอบเมล็ดถัว่ เขียวหากมีเมล็ดที่เสี ยหายให้
เอาออก
3.5 จากนั้นเอาตะแกรงวางลงเป็ นชั้นๆ ทับซ้อนกัน
4. ปิ ดถังเพาะถัว่ งอกต่อกับเครื่ องตั้งเวลารดน้ าถัว่ งอก โดยจะรดน้ าทุกๆ 2 ชัว่ โมง
ในปริ มาณน้ า 3 ลิตร ต่อเมล็ดถัว่ เขียว 1 กิโลกรัม เป็ นเวลาประมาณ 3-4 วัน
5.เก็บผลผลิต โดยสามรถตัดรากได้อย่างรวดเร็ ว สะดวก สะอาด ปลอดภัย
5.2 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริ ญเติบโตของถัว่ งอก
1. เมล็ดต้องมีชีวิต
2. น้ าหรื อความชื้น
3. ออกซิเจน
4. อุณหภูมิ

ภาพที่ 7 การเพาะถัว่ งอกตัดราก


แหล่งที่มา : http://tobayhealth.blogspot.com/2016/11/blog-post.html (15 มิถุนายน 2562)
บทที่ 3
อุปกรณ์ และวิธีการดาเนินการ

ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เรื่ อง ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบ


น้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทาได้ออกแบบ ติดตั้งอุปกรณ์และดาเนินการ
ตามขั้นตอน ดังนี้
1. อุปกรณ์
1.1 วัสดุอุปกรณ์ในการทาถังเพาะถัว่ งอกคอนโด
1) ถังน้ าพลาสติก สี ดา ขนาดความจุ 50 ลิตร 2 ใบ
2) ท่อ pvc ปลายเรี ยบ และข้องอ 1 ชุด
3) หัวกันไหลเกลียวนอก 2 ตัว
4) สายยาง 0.5 เมตร
5) ปั๊มออกซิเจน 1 ตัว
6) หัวทรายดูดฝุ่ น 1 ตัว
7) ตะแกรงที่มีความหนาขนาด 5 มม. 5 แผ่น
8) คัตเตอร์ 1 ด้าม
9) เลื่อย 1 ปื้ น
10) กระสอบป่ าน 1 ผืน
11) กาวทาท่อ pvc 1 กระปุก
12) กาวร้อน 1 หลอด
13) ฟิ วเจอร์บอร์ด 1 แผ่น
14) สายไฟ 1 ชุด
15) เมล็ดถัว่ เขียว 500 กรัม
1.2 อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อวงจร
1) KidBright 1 ชุด
2) Relay 2 Channel 1 ชุด
3) computer power supply 1 ชุด
4) ปั๊มน้ า 12 V 1 ชุด
11

2. ขั้นตอนการดาเนินการ และรวบรวมข้ อมูล


คณะผูจ้ ดั ทาได้เริ่ มดาเนินการในการจัดทาโครงงานตั้งแต่เดือนมีนาคม 2562 ถึง
เดือนกรกฏาคม 2562 โดยได้กาหนดขั้นตอนการดาเนินงานดังตาราง 1

ตาราง 1 ขั้นตอนการดาเนินงาน และรวบรวมข้อมูล

ระยะเวลา
กิจกรรม มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
กาหนดหัวข้อโครงงาน
กาหนดเป้าหมาย ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบปฏิบตั ิการสร้างอุปกรณ์และเขียน
โปรแกรม
ทดลอง/แก้ไข การทางานของอุปกรณ์
สรุ ปผล

3. หลักการทางาน
3.1 การออกแบบถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ได้ออกแบบโดยใช้
อุปกรณ์ดงั ภาพที่ 8

ภาพที่ 8 การออกแบบการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า


12

3.2 หลักการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า คณะผูจ้ ดั ทา


ได้นา KidBright มาเป็ นอุปกรณ์ในการควบคุมการทางานจากการเขียนโปรแกรม KidBright IDE เพื่อ
สัง่ งานให้อุปกรณ์ทางานตามเงื่อนไข ต่อไปนี้
1) เริ่ มต้นการทางาน KidBright จะทาการตั้งค่าเวลาในบอร์ดอัตโนมัติ
2) เมื่อครบระยะเวลาที่กาหนด KidBright จะสัง่ งานให้มอเตอร์ปั๊มน้ าทางาน ปั๊มน้ าจากถัง
B มารดถัว่ งอกที่ถงั A ครั้งละ 3 ลิตร เป็ นระยะเวลา 10 วินาที ทุกๆ 2 ชัว่ โมง เมื่อครบตามที่กาหนด
KidBright จะสัง่ ให้มอเตอร์ปั๊มน้ าหยุดการทางาน
3) KidBright จะสัง่ งานให้ทางานวนซ้ าตามเงื่อนไขที่กาหนด เป็ นระยะเวลา 3 วัน
4) เมื่อครบระยะเวลาที่กาหนด KidBright จะส่ งการแจ้งเตือนให้มาเก็บผลผลิตผ่าน Line
และ KidBright ก็จะสัง่ หยุดการทางาน

4. ลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
ลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถแสดงผัง
งาน (flow chart) ดังภาพที่ 9

วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 3

ภาพที่ 9 ภาพผังงาน (flow chart) แสดงขั้นตอนการทางาน


บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน

โครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เรื่ อง ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวน


แบบอัตโนมัติประหยัดน้ า คณะผูจ้ ดั ทาได้ใช้บอร์ด KidBright มาควบคุมการทางานของวงจร
ปรากฏผลดังนี้
ผลการดาเนินงาน
1. ผลจากการออกแบบและสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ าด้วย
บอร์ด KidBright สามารถบันทึกผลการเปรี ยบเทียบการรดน้ าในถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบ
อัตโนมัติประหยัดน้ าที่ใช้น้ าในการรดครั้งละ 3 ลิตร ได้ดงั ตาราง 2

ตาราง 2 เปรี ยบเทียบการใช้น้ าในการรดน้ าในถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า

น้ าที่เหลือ ผลต่างระหว่างน้ า ปริ มาณน้ าที่เหลือในถัง


ครั้งที่ จากการรดน้ า ที่ใช้ในการรดกับน้ าที่เหลือจากการรด (ลิตร)
(ลิตร) (ลิตร)
1 2.88 0.12 9.88
2 2.85 0.15 9.73
3 2.86 0.14 9.59
4 2.88 0.12 9.47
5 2.88 0.12 9.35
6 2.86 0.14 9.21
7 2.89 0.11 9.10
8 2.89 0.11 8.99
9 2.88 0.12 8.87
9 2.88 0.12 8.87
10 2.82 0.18 8.69
11 2.82 0.18 8.51
12 2.85 0.15 8.36
13 2.84 0.16 8.20
14
ตาราง 2 (ต่อ)

น้ าที่เหลือ ผลต่างระหว่างน้ า ปริ มาณน้ าที่เหลือในถัง


ครั้งที่ จากการรดน้ า ที่ใช้ในการรดกับน้ าที่เหลือจากการรด (ลิตร)
(ลิตร) (ลิตร)
14 2.82 0.18 8.02
15 2.85 0.15 7.87
16 2.85 0.15 7.72
17 2.82 0.18 7.54
18 2.88 0.12 7.42
19 2.84 0.16 7.26
20 2.85 0.15 7.11
21 2.86 0.14 6.97
22 2.88 0.12 6.85
23 2.88 0.12 6.73
24 2.86 0.14 6.59
25 2.84 0.16 6.43
26 2.86 0.14 6.29
27 2.84 0.16 6.23
28 2.86 0.14 5.99
29 2.85 0.15 5.84
30 2.85 0.15 5.69
31 2.88 0.12 5.57
32 2.88 0.12 5.45
33 2.86 0.14 5.31
34 2.84 0.16 5.15
35 2.84 0.16 4.99
36 2.88 0.12 4.87
รวม 103.57 5.13 4.87
15

จากตาราง 2 พบว่า ผลการเปรี ยนเทียบการใช้น้ าในการรดครั้งละ 3 ลิตร จานวน 36 ครั้ง ในถังเพาะ


ถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ที่มีการนาระบบน้ าวนเข้ามาใช้ ซึ่งได้นาปริ มาณน้ าที่
เหลือในการรดจากครั้งที่แล้ว มาใช้ใหม่ในการรดครั้งถัดไป รวมทั้งสิ้นใช้น้ าปริ มาณ 5.13 ลิตร
และบันทึกผลการเปรี ยบเทียบการใช้ปั๊มออกซิเจนในถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบ
อัตโนมัติประหยัดน้ า ได้ดงั ตาราง 3

ตาราง 3 เปรี ยบเทียบการใช้ปั๊มออกซิเจนในถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า

เงื่อนไข ผลลัพธ์
ไม่ใช้ปั๊มออกซิเจน น้ าที่ใช้ในการรดน้ าถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติ
ประหยัดน้ าจะเริ่ มเน่าเหม็น ในระยะเวลา 36 ชัว่ โมง
ใช้ปั๊มออกซิเจน น้ าไม่เน่าเหม็น สามารถนาน้ ากลับไปใช้ในการรดถังเพาะถัว่ งอกซ้ าได้อีก
โดยไม่ส่งผลเสี ยต่อถัว่ งอก

จากตาราง 3 พบว่า การไม่ใช่ปั๊มออกซิเจน น้ าที่ใช้ในการรดน้ าถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวน


แบบอัตโนมัติประหยัดน้ าจะเริ่ มมีกลิ่นเน่าเหม็น ในระยะเวลา 36 ชัว่ โมง และเมื่อใช้ปั๊มออกซิเจน น้ าไม่มี
กลิ่นเน่าเหม็น สามารถนาน้ ากลับไปใช้ในการรดถังเพาะถัว่ งอกซ้ าได้อีกโดยไม่ส่งผลเสี ยต่อถัว่ งอก
2. การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติ
ประหยัดน้ า คณะผูจ้ ดั ทาได้นา KidBright IDE มาเขียนชุดคาสัง่ เพื่อสัง่ งานให้ KidBright ทางานตาม
เงื่อนไขที่กาหนด ปรากฏตาม Source code ดังภาพที่ 10
16

ภาพที่ 10 Source code ที่เขียนโดย KidBright IDE


บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการดาเนินงาน

โครงงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เรื่ อง ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวน


แบบอัตโนมัติประหยัดน้ า สามารถสรุ ปและอภิปรายผลการดาเนินงานได้ ดังนี้

สรุปผลการดาเนินงาน
1. การออกแบบถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า สามารถสรุ ป
ผลการดาเนินงานได้ดงั นี้
1.1 การออกแบบถัง A จะเจาะรู ที่ดา้ นล่างของถัง A โดยใช้ดอกสว่านขนาด 1/8 นิ้ว และ
เจาะรู ตรงกลางที่บนฝาของถัง A เป็ นวงกลามที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 2 เซนติเมตร เพื่อใส่ หวั กันไหล
เกลียวนอก และใช้ฟิวเจอร์บอร์ดติดเป็ นแผ่นวงกลม โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 32 เซนติเมตร เจาะรู ขนาด
เท่ากันกับด้านล่างของถัง A และติดใต้ฝาถัง A
1.2 การออกแบบถัง B ที่วางอยูด่ า้ นล่าง ภายในถัง B จะประกอบด้วยปั๊มน้ าขนาด 12 V
และหัวทรายดูดฝุ่ น ทาการตัดฝาถัง B จากจุดศูนย์กลาง 14 เซนติเมตร เป็ นวงกลม เพือ่ ให้ถงั A สวมลงบน
ฝาถัง B 4 เซนติเมตร และเจาะรู ดา้ นข้างของถัง B โดยวัดจากถัง B 15 เซนติเมตร เพื่อใส่ หวั กันไหล
เกลียวนอก
2. ผลที่เกิดจากการเขียนโปรแกรม KidBright IDE เมื่อใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ที่ออกแบบ
เป็ นถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า โปรแกรมสามารถทางานได้ตามเงื่อนไข
ที่กาหนดไว้ ดังนี้
2.1 เริ่ มต้นการทางาน KidBright จะทาการตั้งค่าเวลาในบอร์ดอัตโนมัติ
2.2 เมื่อครบระยะเวลาที่กาหนด KidBright จะสัง่ งานให้มอเตอร์ปั๊มน้ าทางาน ปั๊มน้ าจาก
ถัง B มารดถัว่ งอกที่ถงั A ครั้งละ 3 ลิตร เป็ นระยะเวลา 10 วินาที ทุกๆ 2 ชัว่ โมง เมื่อครบตามที่กาหนด
KidBright จะสัง่ ให้มอเตอร์ปั๊มน้ าหยุดการทางาน
2.3 KidBright จะสัง่ งานให้ทางานวนซ้ าตามเงื่อนไขที่กาหนด เป็ นระยะเวลา 3 วัน
2.4 เมื่อครบระยะเวลาที่กาหนด KidBright จะส่ งการแจ้งเตือนให้มาเก็บผลผลิตผ่าน Line
และ KidBright ก็จะสัง่ หยุดการทางาน
จากการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ าได้
ผลการทดลองเปรี ยบเทียบการใช้น้ าในการรดครั้งละ 3 ลิตร จานวน 36 ครั้ง ในถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบ
น้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ที่มีการนาระบบน้ าวนเข้ามาใช้ ซึ่งได้นาปริ มาณน้ าที่เหลือในการรดจาก
ครั้งที่แล้ว มาใช้ใหม่ในการรดครั้งถัดไป รวมทั้งสิ้ นใช้น้ าปริ มาณ 5.13 ลิตร เมื่อเทียบกับการรดน้ าใน
18

ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดแบบภูมิปัญญาชาวบ้านที่ใช้น้ าทั้งหมด 108 ลิตร ทาให้เห็นผลต่างของปริ มาณน้ าที่ใช้


ต่างกันถึง 102.87 ลิตร
จากผลการทดลองโดยไม่ใช้ปั๊มออกซิเจน น้ าที่ใช้ในการรดน้ าถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบ
น้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ าจะเริ่ มเน่าเหม็น ในระยะเวลา 36 ชัว่ โมง และการทดลองโดยใช้ปั๊ม
ออกซิเจน น้ าไม่เน่าเหม็น สามารถนาน้ ากลับมาใช้ในการรดถังเพาะถัว่ งอกซ้ าได้อีกโดยไม่ส่งผลเสี ยต่อ
ถัว่ งอก

อภิปรายผลการดาเนินงาน
1. การสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า ที่ใช้ถงั สี ดา 2 ใบ
มาวางซ้อนกัน สามารถประหยัดพื้นที่ได้ดี และสามารถวางได้หลายถังในพื้นที่ที่จากัด เคลื่อนย้ายได้ง่าย
มีน้ าหนักเบา สามารถประหยัดน้ า โดยการใช้ระบบน้ าวนที่นาน้ าจากการรดครั้งที่แล้วมาใช้ซ้ าอีกครั้งในการ
รดครั้งถัดไป บาบัดน้ าด้วยระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบบ่อเติมอากาศ (Aerated Lagoon หรื อ AL) ที่อาศัยการเติม
ออกซิเจนจากเครื่ องเติมอากาศให้น้ า(สุ รีย ์ บุญญานุพงศ์ และ ณัษฐพงศ์ วรรณวิจิตร, 2551: ออนไลน์)
เพื่อลดการเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ยใ์ นน้ า ทาให้น้ าไม่มีการส่ งกลิ่นเน่าเหม็น ประหยัดน้ าได้ดีกว่า
ถังเพาะถัว่ งอกแบบภูมิปัญญาชาวบ้านที่ใช้น้ าในการรดถังเพาะถัว่ งอกถึง 108 ลิตร น้ าที่ใช้ในการรดยัง
นากลับมาใช้ประโยชน์อื่นได้อีก และมีการแจ้งเตือนผ่าน Line เมื่อถึงเวลาเก็บผลผลิต ในการออกแบบ
ถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ าได้มีการศึกษาอุปกรณ์ตน้ แบบจากของรุ่ นพี่
ที่โรงเรี ยนเคยทา จะใช้ถงั ในการถัว่ งอก 3 ใบ มีการใช้แบตเตอรี่ ที่มีขนาดใหญ่ แบตเตอรี่ มีพลังงาน
ไม่เพียงพอต่อการเพาะถัว่ งอกตลอดทั้ง 3 วัน ยากต่อการเคลื่อนย้ายเมื่อต้องการที่จะย้ายพื้นที่วาง
ถังเพาะถัว่ งอก ต้องมีการตั้งค่าก่อนการใช้งานเสมอ และไม่มีการแจ้งเตือนเมื่อถึงเวลาเก็บผลผลิต
2. การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติ
ประหยัดน้ า สามารถทางานได้ตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ โดยจะรดน้ าทุกๆ 2 ชัว่ โมง เป็ นระยะเวลา 72 ชัว่ โมง
เมื่อครบ 72 ชัว่ โมง จะส่ งการแจ้งเตือนผ่าน Line ให้มาเก็บผลผลิต คณะผูจ้ ดั ทาได้เลือกใช้โปรแกรม
KidBright IDE ที่มีชุดคาสัง่ แบบ block-structured programming มาประยุกต์ใช้เขียนสัง่ งานอุปกรณ์และ
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้ออกแบบขึ้น เนื่องจากเป็ นโปรแกรมที่ง่ายต่อการเรี ยนรู ้อีกทั้งยังมีการนามาใช้ใน
การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน รวมถึงสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการเขียนเพื่อสัง่ งานให้
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางานตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ ซึ่งการเขียนโปรแกรมที่ดีไม่จาเป็ นไม่จาเป็ นต้อง
เขียนโปรแกรมให้ยาวเกินไป หากเขียนสั้นๆ เข้าใจง่าย และทางานได้ นัน่ ถือว่าเป็ นโปรแกรมที่ดี ซึ่งจากการ
ทาโครงงานครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทาสามารถประยุกต์การเขียนโปรแกรม KidBright IDE ให้สามารถสัง่ งานการ
เงื่อนไขที่กาหนดได้
19

ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ


1. ได้ถงั เพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ าที่สามารถนาไปใช้ได้จริ ง
2. ได้ถวั่ งอกที่สะอาด ปลอดภัย ไร้สารพิษตกค้าง
3. สามารถประยุกต์ความรู ้เรื่ องการเขียนโปรแกรมมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
4. สามารถประยุกต์ความรู ้ในการออกแบบถังเพาะถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติ
ประหยัดน้ าไปออกแบบอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือเครื่ องใช้ในชีวิตประจาวันอื่นๆ โดยการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์สงั่ ใช้งานได้

ข้ อเสนอแนะ
1. ควรเพิ่มจานวนถังในการเพาะถัว่ งอกให้มากขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อการบริ โภคและนาไป
จาหน่ายได้
บรรณานุกรม

“การต่ อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่ าย” . (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา


https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/69971/-blo-sciphy-sci- (2 มิถุนายน 2562)
นัฐพล เขจรสิ ทธิ์และคณะ. เอกสารประกอบการนาเสนอโครงงานถังเพาะถั่วงอกคอนโดระบบนา้ วนแบบ
อัตโนมัตปิ ระหยัดนา้ ด้ วย Raspberry Pi. ร้อยเอ็ด, 2559.
“เพาะถั่วงอกกินเอง สด สะอาด ปลอดภัย”. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา
http://www.thaicityfarm.com/เพาะถัว่ งอกกินเอง-สด-สะอาด-ปลอดภัย.html (2 มิถุนายน 2562)
“มาทาความรู้จักกับ KidBright และ KidBright IDE” . (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา
http://kidbright.club/มาทาความรู ้จกั กับ-kidbright-และ-kidbright.html (2 มิถุนายน 2562)
“ระบบบาบัดนา้ เสี ยแบบบ่ อเติมอากาศ (Aerated Lagoon หรื อ AL)” . (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา
http://www.sri.cmu.ac.th/~srilocal/water/page_04c.htm (2 มิถุนายน 2562)
“สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่ อการเพาะปลูกถั่วงอก” . (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา
https://ปลูกถัว่ งอก.blogspot.com/2013/04/blog-post_4654.html#.XUA12eIxWUl (2 มิถุนายน 2562)
ภาคผนวก
22

1. อุปกรณ์หลักสาหรับถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า

ภาพที่ 11 KidBright

ภาพที่ 12 Relay

ภาพที่ 13 Computer Power Supply

ภาพที่ 14 ปั๊มน้ า 12 V

ภาพที่ 15 ปั๊มออกซิเจน
23

2. ดาเนินการเขียนโปรแกรม KdBright IDE และเชื่อมต่อวงจร

ภาพที่ 16 เขียนโปรแกรม KidBright IDE

ภาพที่ 17 Source code


24

ภาพที่ 18 การต่อวงจรควบคุมการทางาน

ภาพที่ 19 วงจรควบคุมการทางาน
25

3. จัดทาโครงสร้างเครื่ องมือควบคุมอุปกรณ์การทางานของถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติ


ประหยัดน้ า

ภาพที่ 20 ออกแบบโครงสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า1

ภาพที่ 21 ประกอบโครงสร้างถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า


26

11

ภาพที่ 22 การทดสอบวงจรและอุปกรณ์เครื่ องมือ

ภาพที่ 23 ชุดถังเพาะถัว่ งอกคอนโดระบบน้ าวนแบบอัตโนมัติประหยัดน้ า

You might also like