เอื้องตีนเต่า

  • วันที่อัพเดทล่าสุด : 05/09/2017
ชื่อไทย : เอื้องตีนเต่า
ชื่อท้องถิ่น : เสือดำ(เชียงใหม่) / เอื้องสารภี(กทม.,เชียงใหม่) 
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gastrochilus bellinus (Rchb.f.) Kuntze
ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE
ลักษณะวิสัย : กล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

ลำต้น :

ใบ :

 รูปขอบขนาน กว้าง 2-3 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลายใบหยักไม่เท่ากัน

ดอก :

กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน มีแต้มสีเลือดหมูกระจายทั่วทั้งกลีบ กลีบปากส่วนโคนเป็นกระเปาะ ปลายกลีบแผ่กว้าง และมีขนฟูสีขาว กลางกลีบมีแต้มสีเหลือง และประสีชมพูเข้มออกเป็นช่อ ดอกในช่อ 5 -10  ดอก ดอกย่อยเรียงแน่นเป็นพุ่มกลมบานเต็มที่กว้าง 2.3 ซม.

ผล :

ระยะติดดอก - ผล :
เริ่มติดดอก : กันยายน สิ้นสุดระยะติดดอก : พฤศจิกายน
เริ่มติดผล : สิ้นสุดระยะติดผล :
สภาพทางนิเวศวิทยา : นิเวศวิทยา พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,200-1,600 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถิ่นกำเนิด การกระจายพันธุ์ พม่า จีน และลาว การใช้งานด้านภูมิทัศน์
การปลูกและการขยายพันธุ์ :
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ : ไม่ได้ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์
แหล่งอ้างอิง : [1] องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2551. กล้วยไม้ไทย 2. Thai Native Orchids 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. หจก. วนิดาการพิมพ์. เชียงใหม่. [2] อบฉันท์ ไทยทอง. 2552. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร.
ประเภทของการใช้ประโยชน์ : ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์
ที่อยู่ :
Zone B : สวนกล้วยไม้
หมายเหตุ :
มูลนิธิโครงการหลวง
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เครือเจริญโภคภัณฑ์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารแห่งประเทศไทย
gistda
ธนาคารกรุงไทย