เอื้องไม้ตึง

  • วันที่อัพเดทล่าสุด : 05/09/2017
ชื่อไทย : เอื้องไม้ตึง
ชื่อท้องถิ่น : ตีนนก(กลาง,อุดรธานี) / เอื้องเค้ากิ่ว, เอื้องเค้ากิ่วแม่สะเรียง(เหนือ) 
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrobium tortile Lindl.
ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE
ลักษณะวิสัย : กล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

ลำต้น :

ใบ :

รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-15 ซม. เรียงตัวสลับเกือบตลอดต้น ปลายใบหยักเว้าตื้น แผ่นใบค่อนข้างบาง แต่เหนียว ทิ้งใบเมื่อผลิดอก

ดอก :

ผล :

ระยะติดดอก - ผล :
เริ่มติดดอก : กุมภาพันธ์ สิ้นสุดระยะติดดอก : เมษายน
เริ่มติดผล : สิ้นสุดระยะติดผล :
สภาพทางนิเวศวิทยา : นิเวศวิทยา พบตามป่าดิบแล้งป่าเบญจพรรณที่ระดับความสูง 100-1,000 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ ถิ่นกำเนิด การกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า อินโดจีน และมาเลเซีย การใช้งานด้านภูมิทัศน์
การปลูกและการขยายพันธุ์ :
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ : ไม่ได้ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์
แหล่งอ้างอิง : [1] องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2551. กล้วยไม้ไทย 1. Thai Native Orchids 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. หจก. วนิดาการพิมพ์. เชียงใหม่. [1] อบฉันท์ ไทยทอง. 2552. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร.
ประเภทของการใช้ประโยชน์ : ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์
ที่อยู่ :
Zone B : สวนกล้วยไม้
หมายเหตุ :
มูลนิธิโครงการหลวง
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เครือเจริญโภคภัณฑ์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารแห่งประเทศไทย
gistda
ธนาคารกรุงไทย