เอื้องพร้าว

  • วันที่อัพเดทล่าสุด : 05/09/2017
ชื่อไทย : เอื้องพร้าว
ชื่อท้องถิ่น : ฉัตรพระอินทร์(กลาง,เลย) 
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ :
ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE
ลักษณะวิสัย : กล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

ลำต้น :

กล้วยไม้ดิน ลำลูกกล้วยรูปกรวย ขนาด 3 ? 3 ซม. มีกาบใบหุ้ม

ใบ :

รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 8-12 ซม. ยาว 60-100 ซม. แผ่นใบค่อนข้างบาง เป็นจีบ ปลายใบแหลม โคนหุ้มซ้อนกันคล้ายต้น จำนวน 4-5 ใบต่อต้น

ดอก :

ผล :

ระยะติดดอก - ผล :
เริ่มติดดอก : มีนาคม สิ้นสุดระยะติดดอก : เมษายน
เริ่มติดผล : สิ้นสุดระยะติดผล :
สภาพทางนิเวศวิทยา : นิเวศวิทยา ป่าดิบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถิ่นกำเนิด การกระจายพันธุ์ ทั่วไปในเอเชียเขตร้อนและเขตอบอุ่น การใช้งานด้านภูมิทัศน์
การปลูกและการขยายพันธุ์ : วัสดุปลูกควรมีส่วนประกอบของดินร่วนผสมปุ๋ยอินทรีย์ อาจมีถ่าน อิฐทุบหรือกาบมะพร้าวสับปนเพื่อให้ระบายน้ำได้ดี รดน้ำด้วยน้ำสะอาด ไม่มีกลิ่นหรือตะกอน หากเข้าสู่ช่วงระยะพักตัวงดการให้น้ำ การขยายพันธุ์โดยการ แบ่งหัว หรือเพาะเมล็ด
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ : ปลูกประดับตกแต่งสวนภายในและภายนอกอาคาร
แหล่งอ้างอิง : [1] องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2551. กล้วยไม้ไทย 2. Thai Native Orchids 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. หจก. วนิดาการพิมพ์. เชียงใหม่. [2] อบฉันท์ ไทยทอง. 2552. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร.
ประเภทของการใช้ประโยชน์ : ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์
ที่อยู่ :
Zone B : สวนกล้วยไม้
หมายเหตุ :
มูลนิธิโครงการหลวง
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เครือเจริญโภคภัณฑ์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารแห่งประเทศไทย
gistda
ธนาคารกรุงไทย