รองเท้านารีฝาหอย

  • วันที่อัพเดทล่าสุด : 05/09/2017
ชื่อไทย : รองเท้านารีฝาหอย
ชื่อท้องถิ่น : เอื้องอึ่ง (แพร่) 
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Paphiopedilum bellatulum (Rchb. f.) Stein
ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE
ลักษณะวิสัย : กล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

ลำต้น :

ใบ :

ดอก :

ผล :

ระยะติดดอก - ผล :
เริ่มติดดอก : เมษายน สิ้นสุดระยะติดดอก : สิงหาคม
เริ่มติดผล : สิ้นสุดระยะติดผล :
สภาพทางนิเวศวิทยา : นิเวศวิทยา ขึ้นตามซอกหินหรือโคนต้นไม้ในป่าดิบทางภาคเหนือซึ่งสูงจากระดับทะเล 700 เมตรขึ้นไป ถิ่นกำเนิด การกระจายพันธุ์ พม่า จีน และลาว การใช้งานด้านภูมิทัศน์
การปลูกและการขยายพันธุ์ : ลักษณะนิสัย ชอบอากาศเย็นและมีระบบรากไวต่อปริมาณเหลือแร่ในเครื่องปลูก ควรปลูกในสภาพอากาศแห้งและเย็น ออกดอกยาว ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของต้น ถ้านำมาปลูกในกรุงเทพฯมักไม่ออกดอก
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ : ไม่ได้ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์
แหล่งอ้างอิง : [1] อบฉันท์ ไทยทอง. 2552. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร. [2] อุไร จิรมงคลการ. 2551. กล้วยไม้รองเท้านารี ฉบับปรับปรุงใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 6. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร.
ประเภทของการใช้ประโยชน์ : ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์
ที่อยู่ :
Zone B : สวนกล้วยไม้
หมายเหตุ :
มูลนิธิโครงการหลวง
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เครือเจริญโภคภัณฑ์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารแห่งประเทศไทย
gistda
ธนาคารกรุงไทย