bloggang.com mainmenu search
วัดป่าซางงาม
ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน





7437. วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน




7436. วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน





4438. วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน





4439. บริเวณหน้าวัดป่าซางงาม ด้านขวา





4440. บริเวณหน้าวัดป่าซางงาม ด้านซ้าย






7463. หอไตร และ พระวิหาร





4441. หอไตร แห่ง วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

:หอไตรลักษณะเป็นตึกทึบสองชั้น หลังคาลดชั้นแบบล้านนา หน้าต่างชั้นบนมีขนาดเล็ก เขียนลายเทวดา





4446. หอไตร แห่ง วัดป่าซางงาม (ด้านทิศเหนือ)





4447. หอไตร แห่ง วัดป่าซางงาม (ด้านทิศเหนือ)




4475. หอไตร แห่ง วัดป่าซางงาม มุมมองด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้





4478. หอไตร แห่ง วัดป่าซางงาม มุมมองด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้





4479. หอไตร แห่ง วัดป่าซางงาม มุมมองด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้





4451. หอไตร แห่ง วัดป่าซางงาม (ด้านทิศเหนือ)





4448. พระวิหาร แห่ง วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน




4449. ประตู พระวิหาร วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน





4452. พระวิหาร แห่ง วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน




4453. ประตู ทางเข้า-ทางออก พระวิหาร วัดป่าซางงาม





4454. พระประธานแห่งพระวิหาร: หลวงพ่องาม พระพุทธรูปปางมารวิชัย

:ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่องาม พระพุทธรูปปางมารวิชัยหน้าตักกว้าง2 เมตร





4455. หลวงพ่องาม พระประธานแห่งพระวิหาร วัดป่าซางงาม





4456. หลวงพ่องามพระพุทธรูปปางมารวิชัย พระประธานแห่งพระวิหาร วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน





4458. หลวงพ่องาม พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระประธานแห่งพระวิหารฯ





4482. หลวงพ่องาม พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระประธานแห่งพระวิหารฯ


ภายในพระวิหารมี "ธรรมมาสน์ล้านนา" ทำด้วยไม้แกะสลัก เป็นของเก่าแก่อายุหลายร้อยปี





4481.ธรรมมาสน์ล้านนา ภายใน พระวิหาร แห่ง วัดป่าซางงาม (ด้านหน้า)





4457. ธรรมมาสน์ล้านนา ภายใน พระวิหาร แห่ง วัดป่าซางงาม (ด้านข้าง)


นอกจากนี้ ภายในพระวิหาร แห่ง วัดป่าซางงาม ยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังอันสวยงาม วิจิตร ถ้ามีเวลาจะนำลงตอนท้ายของ blog นะครับ





4497. หลวงพ่องาม พระพุทธรูปปางมารวิชัย
พระประธาน แห่ง พระวิหาร วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน





7438. ศาลาพิศาลประชาสามัคคี




7439. เชิญนมัสการขอพร พระพุทธมงคลสรากร (ปางประทานพร)




7440. คำขวัญของวัด

: วัดที่พัฒนา ย่อมเป็นศรีแก่พระศาสนา





7458. พระอุโบสถ แห่ง วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน




7459. พระอุโบสถ แห่ง วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน





7460.ประตูคู่ แห่ง พระอุโบสถ วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน




7461. มกรคายนาค เบื้องขวา แห่ง บันได พระอุโบสถ วัดป่าซางงาม




7462. มกรคายนาค เบื้องซ้าย แห่ง บันได พระอุโบสถ วัดป่าซางงาม





4459. พระธาตุเจดีย์ แห่ง วัดป่าซางงาม





4460. พระธาตุเจดีย์ อยู่ด้านหลัง หรือ ทิศตะวันตก ของพระวิหารฯ





4462. พระธาตุเจดีย์ และ ....





4464. พระธาตุเจดีย์ แห่ง วัดป่าซางงาม





4470. พระธาตุเจดีย์ แห่ง วัดป่าซางงาม





7465.





7466.





7467.





7470.




7471.




4443.





4445. พิพิธภัณฑ์วัดป่าซางงาม

พิพิธภัณฑ์วัดป่าซางงามเป็นความคิดริเริ่มของพระมหาจิตรกร นาถปุญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าซางงาม เพื่อจัดแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่สะสมไว้ อันจะเป็นการให้ความรู้แก่ประชาชนให้ฐานะแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น และเสริมสร้างสำนึกร้องท้องถิ่นแก่เยาวชน การดำเนินการจัดแสดงเป็นการดำเนินงานร่วมกันระหว่างวัดและประชาชนในท้องถิ่น จนกระทั่งแล้วเสร็จเปิดให้ประชาชนเข้าอย่างอย่างเป็นทางการนับแต่ พ.ศ.2544

พิพิธภัณฑ์วัดป่าซางงาม เป็นอาคาร 2 ชั้น ชื่อ "อาคารศรัทธานฤมิต (บุญฮอมอนุสรณ์)" ชั้นบนเป็นกุฎิสงฆ์ ส่วนชั้นล่างเป็นส่วนจัดแสดงของพิพิธภัณฑ์ โดยเป็นห้องขนาดเล็ก 1 ห้อง ห้องขนาดใหญ่ 1 ห้อง ทั้ง 2 ห้อง มีทางเดินเชื่อมถึงกันได้ ในแต่ละห้องจัดแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ด้วยการจัดวางบนแท่น และแขวนผนัง บางส่วนจัดแสดงในตู้ อาทิ พระพุทธรูป ส่วนประกอบทางสถาปัตยกรรมอาคารที่อยู่อาศัยพื้นถิ่นล้านนา หีบพระธรรม ผ้าทอของชนกลุ่มน้อย อาวุธโบราณ เครื่องถ้วยจีน กลองมโหระทึก ซากสัตว์ดึกดำบรรพ์ เครื่องมือหินขัด วัตถุที่จัดแสดงแต่ละรายการมีป้ายคำบรรยายภาษาไทยประกอบ

ข้อมูลจาก: กรมศิลปากร สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. นามานุกรมพิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย ภาคเหนือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2546. หน้า 121.

Source://www4.sac.or.th/museumdatabase/detail_museum.php?get_id=35-006





4468. หอกลองและระฆัง แห่ง วัดป่าซางงาม





4472. หอกลองและระฆัง แห่ง วัดป่าซางงาม





4469. ศาลาปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา




4471. ศาลาพรพิศาลประชาสามัคคี รัตนโกสินทร์ 200 ปี





4473. ศาลานาบุญ วัดป่าซางงาม





4474.


มุม ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ กำลังมีการก่อสร้างวิหารแก้ว เสียดายที่ไม่ได้ถ่ายรูปเก็บไว้ ตั้งใจว่าจะเดินกลับมาถ่ายแต่....


ภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระวิหาร แห่ง วัดป่าซางงาม




7443. พระครูพิศาลพุทธิธร (สิงห์ชัย ปญฺญาวิลาโส) : อดีตเจ้าอาวาส + รองเจ้าคณะอำเภอป่าซาง





7444. พระครูพิศาลพุทธิธร (สุดใจ จันฺทร์สี) : อดีตเจ้าอาวาส + เจ้าคณะอำเภอป่าซาง





7445. พระอธิการจตุพร รตนญาโน :เจ้าอาวาส





7446. แม่พระธรณีผลุดขึ้นมาช่วยพระพุทธองค์ พลางบิดเกศเกล้าโมลี





7447. กัณฑ์ที่ 1. ทศพร 19 พระคาถา





7448. กัณฑ์ที่ 2. หิมพานต์ 134 พระคาถา





7449. กัณฑ์ที่ 3. ทานกัณฑ์ 209 พระคาถา





7450. กัณฑ์ที่ 4. วันประเวศน์ 57 พระคาถา





7451. กัณฑ์ที่ 5. ชูชก 79 พระคาถา




7452. กัณฑ์ที่ 6. จุลพน 35 พระคาถา





7453. กัณฑ์ที่ 7. มหาพน 80 พระคาถา





7454. กัณฑ์ที่ 8.กุมาร 101 พระคาถา





7455. กัณฑ์ที่ 9. มัทรี 90 พระคาถา





7456. กัณฑ์ที่ 11. มหาราช 69 พระคาถา





7457.





4465. ประตูด้านทิศตะวันตก ของ วัดป่าซางงาม

:หัวเสาประตูเป็น สีหราชแห่งเสาอโศก




4466. ศาลาปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา





4483. เสด็จลงจากดาวดึงษ์ และ ปรินิพพาน





4484. 1.เต, พระเตมีย์ ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี




4485. 2.ชะ, พระมหาชนก ยิ่งด้วยวิริยะบารมี





4487. 3. สุ, พระสุวรรณสาม ยิ่งด้วยเมตตาบารมี






4489. 4.เน, พระเนมิราช ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี





4490. 5.มะ, พระมโหสถบัณฑิต ยิ่งด้วยปัญญาบารมี





4491. 6.ภู, พระภูริทัต ยิ่งด้วยสีลบารมี





4492. 7.จะ, พระจันทกุมาร ยิ่งด้วยขันติบารมี





4493. 8.นา, พระพรหมนารท ยิ่งด้วยอุเบกขาบารมี





4494. 9.วิ, พระวิฑูรบัณฑิต ยิ่งด้วยสัจจบารมี





4486. กระทาชายถวายดอกบัว ปรารถนาพ้นความเข็ญใจ พระมาลัยนำไปบูชาจุฬามณี




4488. เกิดต้นกัลปพฤกษ์ในศาสนาพระศรีอารย์ ผู้ใส่บาตรทำบุญอื่นๆ จะไปเกิด นึกอะไรก็สอยเอาได้






4495.





4496.





7441. ประตูทางเข้า หรือ ประตูทางออก




Moonfleet ได้มาเยือน วัดป่าซางงาม ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

วันจันทร์ ที่ 9 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552





นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง
Create Date :09 พฤศจิกายน 2552 Last Update :9 พฤศจิกายน 2552 22:41:59 น. Counter : Pageviews. Comments :6