Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-04-02 01:08:38

Description: กรมส่งเสริมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

เอกสารค�ำแนะนำ� ที่ 4/2559 การเพาะเลี้ยงเนอื้ เย่อื พิมพ์ครั้งท่ี 1 : จ�ำนวน 20,000 เล่ม มิถนุ ายน พ.ศ. 2559 จัดพมิ พ์ : กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พมิ พ์ท่ี : ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั

คำ� นำ�     ปัจจุบันมีการน�ำเทคนิคการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพืชมาใช้ประโยชน์เพื่อผลิต ขยายพันธุ์พืชในเชิงการค้าและอุตสาหกรรมเพิ่มมากข้ึน โดยเฉพาะในกลุ่มไม้ดอก ไม้ประดับ เช่น กล้วยไม้ เบญจมาศ หน้าวัว เป็นต้น แต่ก็ยังอยู่ในวงจ�ำกัด ดว้ ยปจั จยั หลายประการ เชน่ ตน้ ทนุ สงู ตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเฉพาะดา้ น การปฏิบัติค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อนและเป็นวิทยาศาสตร์มากเกินไป เปน็ ตน้ เพอ่ื แกป้ ญั หาทเี่ ปน็ ขอ้ จำ� กดั ดงั กลา่ ว กรมสง่ เสรมิ การเกษตร จงึ ไดน้ ำ� รอ่ งขยายผลเทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอื่ เพอื่ พฒั นา การเกษตรกรสู่เกษตรอุตสาหกรรม และเพ่ือเปิดโอกาสให้ ผู้สนใจทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ ได้งา่ ยข้ึน    เอกสารค�ำแนะน�ำเร่ือง “การเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ” เล่มน้ีจัดท�ำข้ึนเพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณท์ ไ่ี ดจ้ ากการทำ� งาน การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และการศึกษาทดสอบประยุกต์และพฒั นาเทคโนโลยี จนได้ เทคนคิ วธิ ที ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพเหมาะสมแกผ่ ทู้ ส่ี นใจนำ� เทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือ ไปใชเ้ พื่อพฒั นาอาชพี การเกษตร และ เพอื่ ใหผ้ ู้อา่ นเขา้ ใจงา่ ยข้ึน การนำ� เสนอจงึ สือ่ ความหมายด้วยภาพ ส�ำหรับเน้ือหาแบ่งเป็น 3 ตอน คือ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยง เน้ือเย่ือ การปลูกพืชแบบเกษตรอุตสาหกรรมโดยใช้พืชพันธุ์ดี จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือ และตัวอย่างผู้ประสบความส�ำเร็จในธุรกิจ เพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืช หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารค�ำแนะน�ำเล่มน้ี คงท�ำให้ ผอู้ า่ น มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ถงึ ประโยชนแ์ ละความสำ� คญั ของงานเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอื่ ต่อการพัฒนาภาคการเกษตรและดา้ นอน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วข้องไดม้ ากยง่ิ ขึ้น กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 2559

สารบัญ ...................................................................................................... หนา้ เทคโนโลยีการเพาะเลีย้ งเน้ือเยื่อ 1 ความส�ำคญั 1 การขยายพันธโ์ุ ดยการเพาะเลย้ี งเนื้อเยือ่ พืช 2 .................................................................................................... การปลกู พืชแบบเกษตรอตุ สาหกรรม 12 โดยใชพ้ ชื พนั ธุ์ดีจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยอ่ื 12 ท่ีมาและความส�ำคัญ 14 การเพาะเลย้ี งเน้ือเยอ่ื กล้วย 16 การเพาะเล้ียงเนอ้ื เยื่อหนอ่ ไมฝ้ รงั่ 18 การเพาะเลีย้ งเน้อื เยอ่ื ออ้ ยเพอื่ ผลติ ออ้ ยปลอดโรค 20 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยอื่ พชื ในเชิงพาณชิ ย ์ .................................................................................................... ตวั อย่างผู้ประสบความสำ� เรจ็ 22 ในธุรกิจเพาะเลย้ี งเนื้อเยอ่ื พืช .................................................................................................... บรรณานกุ รม 30 ....................................................................................................

1 เทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื เทคโนโลยี การเพาะเล้ยี งเนือ้ เย่อื ความสำ� คัญ การเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอ่ื เปน็ วธิ ขี ยายพนั ธพ์ุ ชื แบบไมใ่ ชเ้ พศวธิ หี นงึ่ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สามารถผลติ พชื ไดจ้ ำ� นวนมากในเวลาอนั รวดเรว็ ตน้ พชื มคี วามสมำ่� เสมอ สมบรู ณแ์ ขง็ แรง ตรงตามพันธุ์ และสะอาดปราศจากโรคแมลงศัตรูพืช ปัจจุบันมีการน�ำมาใช้เพ่ือขยาย พันธุ์พืชในเชิงการค้าอย่างกว้างขวางและส่งเสริมเป็นอาชีพ เร่ิมจากน�ำมาใช้กับกล้วยไม้ จนกลายเปน็ พืชอตุ สาหกรรมทีส่ �ำคญั ของประเทศ ต่อมาจึงไดม้ ีการน�ำมาใชข้ ยายพันธุ์พืชอืน่ ๆ ในเชิงการคา้ เช่น กลว้ ย หน่อไม้ฝร่งั สับปะรด ไผ่ เยอบีร่า หนา้ ววั เบญจมาศ บอนสี ปทุมมา กระเจียว กุหลาบ สตรอว์เบอร์รี่ ขนุน และไม้สัก เป็นต้น รวมถึงได้น�ำมาใช้ เพ่อื การผลิตขยายพนั ธป์ุ ลอดโรค ซงึ่ มสี าเหตุจากเชือ้ ไวรัส ไฟโตพลาสม่า และเช้ือแบคทีเรยี ท่มี กั ตดิ มากบั หัวพนั ธ์ุหรือทอ่ นพันธ์ุ กอ่ ให้เกิดความเสยี หายทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล ถงึ แมจ้ ะมกี ารนำ� เทคนคิ การเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื พชื มาใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ การผลติ ขยาย พนั ธพ์ุ ชื ในเชงิ การคา้ และอตุ สาหกรรมเพมิ่ มากขน้ึ กต็ าม แตด่ ว้ ยขอ้ จำ� กดั ตา่ งๆ เชน่ ตน้ ทนุ การผลิตสงู บุคลากรมีจำ� กดั ผ้ใู ชต้ ้องใช้ความรแู้ ละทักษะเฉพาะดา้ น การปฏิบตั ิค่อนขา้ ง ยุ่งยากและเป็นวิทยาศาสตร์มากเกินไป รวมถึงช่องทางเข้าถึงเทคโนโลยียังมีไม่เพียงพอ ด้วยเหตุน้ี กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้น�ำร่องขยายผลเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือ โดยการสง่ เสรมิ สนับสนุนใหเ้ กษตรกร และผูส้ นใจไดม้ ีโอกาสเข้าถงึ เทคโนโลยีฯ โดยตรง ด้วยการน�ำมาประยุกต์ใช้เพื่อการผลิตขยายพืชพันธุ์ดี ซึ่งเป็นปัจจัยท่ีมีความส�ำคัญยิ่ง ต่อธรุ กจิ เกษตร เพอ่ื ใหส้ ามารถรองรับความตอ้ งการของตลาดท้งั ภายในและตา่ งประเทศ การนำ� เทคโนโลยฯี ไปใชใ้ หเ้ กดิ ผลสำ� เรจ็ ในเชงิ อตุ สาหกรรมนนั้ จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ตอ้ งมธี รุ กจิ ตอ่ เนอื่ ง รองรับครบวงจร และเพื่อให้เห็นถึงประโยชน์ของการน�ำข้อดีของงานเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้น�ำตัวอย่างผู้ประสบความส�ำเร็จในธุรกิจ เพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือพชื ท้ังทางตรงและทางอ้อม เชน่ เป็นผทู้ ่ที �ำงานกบั ผู้ประกอบการธรุ กจิ ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจ ผปู้ ระกอบการตลาดสนิ ค้าเกษตรอตุ สาหกรรม ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจ โรงเรอื นเพาะช�ำ และเกษตรกรผ้ปู ลูกพชื เชงิ การคา้ เปน็ ตน้ การเพาะเลย้ี งเนือ้ เยอื่

2 การขยายพันธ์โุ ดยการเพาะเล้ยี งเน้ือเยอ่ื พืช เป็นการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศ วธิ หี นงึ่ ทำ� โดยการนำ� ชนิ้ สว่ นตา่ งๆ ของพชื เชน่ ตาขา้ ง ตายอด หนอ่ ออ่ น ใบ เมลด็ มาเพาะเลยี้ ง ในอาหารสังเคราะห์ประกอบด้วยเกลือแร่ นำ�้ ตาล วติ ามนิ และสารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ควบคุมได้ ปลอดจาก เช้ือจุลินทรีย์ ให้พัฒนาเป็นต้นพืชท่ีสมบูรณ์ เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชที่มีประสิทธิภาพ สามารถผลติ พชื ไดจ้ ำ� นวนมากในเวลาทก่ี ำ� หนด ต้นพืชสมบูรณ์แข็งแรง ปลอดโรคที่มีสาเหตุ จากเช้ือไวรัส เชื้อราและเช้ือแบคทีเรีย ท่ีอาจติดมากับต้นพันธุ์ ตลอดจนการอนุรักษ์ การเพาะเลี้ยงเนอื้ เยื่อพืช พนั ธุกรรมพืช และการปรับปรุงพนั ธุพ์ ืช การนำ� เนอ้ื เยอ่ื พชื หรือสว่ นตา่ งๆ ของพชื ท่ี มีชีวติ อยู่ เชน่ ลำ� ตน้ ยอด ตาข้าง ก้านช่อดอก ใบ ก้านใบ อับละอองเกสรเรณู มาเพาะเล้ยี ง ในสภาพทค่ี วบคุม พชื ที่นยิ มขยายพนั ธุ์ด้วยวธิ นี ี้ ไดแ้ ก่ — ไมย้ นื ตน้ เช่น ยูคาลิปตัส ไผ่ สัก เป็นตน้ — พชื ผกั เช่น ขงิ หนอ่ ไม้ฝรง่ั และปูเล่ เปน็ ตน้ — ไมผ้ ล เชน่ กล้วย สับปะรด สตรอวเ์ บอร์รี่ และสม้ เปน็ ตน้ — ไมด้ อกไม้ประดบั เช่น หนา้ วัว เบญจมาศ กลว้ ยไม้ วา่ นสท่ี ศิ เยอบีรา่ เฮลิโคเนยี และ ฟิโลเดนดรอน เป็นต้น — พชื กนิ แมลง เชน่ หยาดน้ำ� ค้าง กาบหอยแครง และหม้อข้าวหม้อแกงลงิ เปน็ ตน้ กรมส่งเสริมการเกษตร

3 เทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื ขอ้ ดขี องการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ พชื 1. เพม่ิ ปรมิ าณไดจ้ ำ� นวนมากในระยะเวลาสน้ั ต้นท่ีได้มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนต้นแม่พันธุ์ ขยายพันธุ์พืชจ�ำนวนมากในเวลาที่ก�ำหนด ได้ต้นพืชที่ สม�่ำเสมอเหมือนต้นเดิม ต้นท่ีได้จะสะอาดปราศจาก ศตั รพู ชื โดยเฉพาะโรคทม่ี สี าเหตจุ ากเชอ้ื ไวรสั ไฟโตพลาสมา่ และแบคทีเรีย 2. ตน้ พชื ทไ่ี ดค้ วามสมำ�่ เสมอ เกบ็ เกย่ี วผลผลติ ได้พร้อมกัน เหมาะกับการผลิตพืชเชิงการคา้ 3. เพื่อผลิตพันธุ์พืชปลอดโรค ได้ต้นพืช ปลอดเช้อื ไวรสั และปลอดเชอ้ื แบคทีเรยี 4. เพอ่ื อนรุ กั ษแ์ ละเกบ็ รกั ษาพนั ธพ์ุ ชื ปรบั ปรงุ พันธุ์พืช และเป็นการสร้างพันธุ์พืชใหม่ๆ เพื่อการผลิต ยาหรือผลิตสารทุติยภูมิสกัดตัวยาหรือส่วนผสมของ ยารักษาโรคจากพืชและเพอื่ ศกึ ษาทางชีวเคมี สรีรวทิ ยา และพันธุศาสตร์ โรคและแมลงศตั รทู ่ีส�ำคัญทีต่ ดิ มากบั ต้นพืช ชนดิ พืช โรคและแมลงศตั รูพชื กลว้ ย โรคตายพราย โรคเหีย่ ว ดว้ งงวง หนอนกอ ออ้ ย โรคใบขาวและกอตะไคร้ออ้ ย หนอนกออ้อย มันส�ำปะหลัง โรคใบดา่ ง โรคพ่มุ แจ้มันสำ� ปะหลงั รากเน่าหัวเน่า เพล้ียแปง้ ครสิ ตม์ าส รากเนา่ โคนเน่า แมลงหวข่ี าว การเพาะเล้ียงเนื้อเยอ่ื

4 ห้องปฏบิ ัตกิ ารเพาะเลยี้ งเนื้อเยือ่ พืช แบ่งพ้ืนทเ่ี ป็น 3 สว่ น ตามลักษณะการใช้งาน ดังน้ี 1. ห้องเตรียมอาหารสังเคราะห์ (Laboratory or Preparation room) ควรเป็นห้องท่ีมีเนื้อที่กว้างขวางพอควรท่ีจะจัดวางเคร่ืองมืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น โต๊ะ เตรียมอาหาร โต๊ะวางเคร่ืองมือ ตู้เก็บเอกสาร ขวดเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ เคร่ืองแก้วต่างๆ อ่างน�้ำล้างเครื่องมือ และตู้เย็นส�ำหรับเก็บสารเคมีบางชนิดที่ต้องเก็บในที่เย็น และ สารละลายเขม้ ข้น 2. หอ้ งยา้ ยเนอ้ื เยอื่ หรอื หอ้ งถา่ ยเนอ้ื เยอ่ื พชื (Clean room or Transfer room) เป็นหอ้ งท่สี ะอาด ปลอดเชอ้ื มกี ารผา่ นเข้าออกน้อยทส่ี ุด ควรจะมแี ตเ่ จ้าหนา้ ที่ ทม่ี หี น้าที่ ยา้ ยเน้ือเยื่อพชื อปุ กรณท์ สี่ �ำคัญ คอื ตู้ยา้ ยเน้อื เยื่อ กลอ้ งจลุ ทรรศน์ และอปุ กรณเ์ กี่ยวกบั การฟอกฆ่าเชือ้ 3. ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืช (Culture room) ต้องเป็นห้องท่ีสะอาด ปลอดเชื้อ ปิดสนิท มีการเข้าออกน้อยที่สุด เฉพาะเจ้าหน้าท่ีที่จะน�ำขวดเพาะเลี้ยงไป เพาะเล้ยี ง และตรวจเชด็ ผลการทดลอง กรมส่งเสริมการเกษตร

5 เทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื ภาพตวั อยา่ งผงั ห้องปฏิบตั กิ ารเพาะเล้ยี งเน้อื เยื่อพืช หมายเลขแสดงการจัดวางอปุ กรณใ์ นห้องปฏบิ ัตกิ าร u เครื่องชง่ั อย่างละเอยี ด เครือ่ งชงั่ อย่างหยาบ เครอื่ งวัด pH เคร่อื งคนสารละลาย v หมอ้ นงึ่ ความดัน w ชั้นวางสารเคมี x ต้เู ย็นส�ำหรบั สารเคมีบางชนดิ ทีต่ ้องเกบ็ ในที่เย็น y ตตู้ ัดเนอ้ื เย่อื (จ�ำนวนตูข้ ึน้ อยู่กับความเหมาะสม) z ชน้ั วางอุปกรณ์ (กระบอกฉีด ผ้าเช็ดมือ อาหาร ใบมดี ตดั ฯลฯ) { ช้นั วางพชื และหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงตรงตามความต้องการของพืช | เครือ่ งปรบั อากาศ (ข้ึนกับขนาดพ้นื ท่ีและความเหมาะสม) การเพาะเล้ียงเนือ้ เยอ่ื

6 การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อควรมีการจัดการสภาพที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ในสภาพที่ควบคมุ สภาพที่ควบคมุ ธาตอุ าหารหลกั น่ึงฆ่าเชอ้ื จลุ ินทรีย์ ธาตุอาหารรอง ค่า pH 5.6 - 5.7 ฮอร์โมน กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

7 การเตรียมตวั กอ่ นปฏิบตั งิ าน 1 3 ท�ำความสะอาดมือและแขนด้วยสบู่ เช็ดท�ำความสะอาดตู้ปลอดเชื้อก่อนใช้งาน และควรเปดิ สวติ ชต์ ู้ใหร้ ะบบตา่ งๆ ภายใน ตทู้ �ำงานกอ่ นปฏบิ ัติงาน 15 – 30 นาที 4 เทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื วางอุปกรณ์ท่ี ใช้ตัดเน้ือเยื่อในต�ำแหน่ง ท่เี หมาะสมและสะดวกต่อการปฏิบตั ิงาน 2 5 สวมชดุ ปฏบิ ตั กิ ารผา้ คลมุ ผมผา้ ปดิ ปาก-จมกู การลนไฟเคร่ืองมือที่ ใชป้ ฏบิ ตั ิงาน และเปลี่ยนรองเท้าก่อนเข้าห้องปฏิบัติการ เพอ่ื ฆา่ เชื้อจุลนิ ทรีย์ก่อนเร่ิมตดั เนือ้ เยือ่ ทกุ ครงั้ การเพาะเล้ียงเนอ้ื เยอ่ื

8 ขน้ั ตอนการเตรียมอาหารสตู ร MS (1 ลติ ร) กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

9 การเตรียมอาหารเพาะเล้ยี งเนอื้ เยือ่ 1 2 3 ชั่งสารเคมี : หากใช้ปริมาณน้อย สารเคมีที่ ใชป้ ริมาณมาก ผสมสารเคมดี ้วยเครื่องคสารละลาย ต้องชง่ั ด้วยเคร่ืองชัง่ อย่างละเอียด ช่งั ดว้ ยเคร่ืองช่ังอยา่ งหยาบ ร่วมกับแท่งคนไฟฟา้ 4 5 เทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื วดั ความเปน็ กรด – ดา่ ง(pH) 5.6-5.7 หลอมอาหารบนเตาแก๊ส 67 กรอกอาหารในภาชนะทีท่ นความรอ้ น 8 9 นำ� อาหารวุ้นเข้าหมอ้ น่งึ ความดนั ไอ เพ่อื นงึ่ ฆา่ เช้ือ ทีอ่ ณุ หภูมิ 121 องศาเซลเซยี ส สตอ็ กอาหารว้นุ ทผี่ ่านการนง่ึ ฆ่าเช้ือแลว้ ความดัน 15 ปอนด์ตอ่ ตารางนวิ้ 15 - 20 นาที เกบ็ ไวป้ ระมาณ 1 สปั ดาห์ กอ่ นนำ� มาใช้ การเพาะเลย้ี งเนื้อเยอ่ื

10 ขนั้ ตอนการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เย่อื พชื 1. คัดเลอื กพนั ธุด์ ี 2. ผลติ แม่พนั ธพุ์ ชื ต้นกำ� เนดิ ปลอดโรค ที่ผา่ นการตรวจสอบความปลอดโรค 3. ขยายและเพิม่ ปริมาณตน้ พืช ในหอ้ งปฏบิ ัติการ 4. ชกั นำ� รากเปน็ ต้นท่สี มบรู ณ์ 5. อนบุ าลตน้ อ่อนพชื ในสภาพโรงเรือน 6. ขยายเพิ่มปริมาณต้นพืชในโรงเรือน/แปลงแม่พันธ์ุ กระจายพันธุ์พชื กรมส่งเสริมการเกษตร

11 วิธีการเพาะเล้ยี งเน้อื เยือ่ พชื เทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื 1. คดั เลอื กชนิ้ สว่ นพชื สว่ นของพชื แทบทกุ สว่ น ไม่ว่าจะเป็นส่วนของล�ำต้น ตา ดอก ราก แม้กระท่ัง เนื้อเยอ่ื เซลล์ หรือ โปรโตพลาส สามารถน�ำมาเพาะเล้ียง เนื้อเยื่อ และพัฒนาให้เกิดเป็นต้นพืชได้ ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับ ชนิดพชื และวตั ถุประสงค์ทท่ี �ำการเพาะเล้ียงเนอื้ เย่อื 2. การท�ำความสะอาด ช้ินส่วนที่น�ำมาท�ำ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่ ควรเป็นชิ้นสว่ นที่สะอาด ปราศจาก เชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ ดังนั้น จึงต้องน�ำมาฆ่าเช้ือด้วยวิธีการ ฟอกฆา่ เชอ้ื แลว้ ลา้ งดว้ ยนำ�้ นึง่ ทผ่ี า่ นการฆา่ เชอ้ื แลว้ 3. การตดั เนอื้ เยอื่ ชนิ้ สว่ นพชื ทที่ ำ� การฆา่ เชอ้ื แลว้ น�ำเข้าตู้ปลอดเชื้อ ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ วางลงบนอาหาร สงั เคราะห์ทผ่ี ่านการฆ่าเชือ้ แล้ว 4. การบ่มเลี้ยงเนื้อเย่ือ น�ำขวดอาหารท่ีมี ชน้ิ สว่ นพชื วางบนชน้ั ทม่ี แี สงสวา่ ง 2,000 - 4,000 ลกั ซ์ วันละ 12 - 16 ชั่วโมง ในหอ้ งทคี่ วบคุมอุณหภมู ิ 25 - 28 องศาเซลเซียส จนกระทั่งช้ินส่วนของพืชมีการพัฒนา เป็นต้นท่สี มบรู ณ์ 5. การตดั แบง่ และเลยี้ งอาหาร ตดั แบง่ ชน้ิ สว่ นพชื และเปลยี่ นอาหารเพอื่ เพม่ิ ปรมิ าณของตน้ พชื ทกุ 1 - 2 เดอื น ข้ึนอยู่กับชนิดของพืช และระยะการเจริญเติบโต ท�ำการเปลี่ยนอาหารจนกระทั่งพืชเจริญเติบโตเป็นต้น ที่สมบูรณ์ 6. การย้ายปลูกในสภาพธรรมชาติ น�ำต้นพืช ทม่ี ยี อด และราก ทส่ี มบรู ณอ์ อกจากขวด ลา้ งวนุ้ ทตี่ ดิ กบั ราก ออกให้หมด ด้วยน�้ำสะอาด และผ่ึงลมให้แห้ง แช่น้�ำยา ป้องกันก�ำจัดเช้ือรา น�ำไปปลูกในวัสดุที่โปร่ง สะอาด ระบายน้�ำได้ดีภายใต้ น�ำไปวางไว้ในท่ีร่ม และพรางแสง 60 เปอร์เซน็ ต์ ประมาณ 4 สัปดาห์ หรอื จนกระทั่งต้นพืช ตั้งตวั ได้ การเพาะเลี้ยงเน้อื เยอ่ื

12 การปลูกพืชแบบเกษตร อุตสาหกรรมโดยใชพ้ ืชพนั ธุ์ดี จากการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยื่อ ทม่ี าและความส�ำคญั การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชท่ีมีประสิทธิภาพ โดยการน�ำช้ินส่วนของพืช ทีม่ ีชวี ติ เชน่ ตายอด ตาขา้ ง ใบ ก้านใบ อับละอองเกสร ล�ำตน้ ฯลฯ มาเพาะเลย้ี งในสูตรอาหารสงั เคราะห์ ทมี่ ีสารอาหารและวิตามนิ ตา่ งๆ ทเี่ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืชแต่ละชนิด ซ่งึ ขอ้ ดขี องการเพาะเลี้ยง เนอ้ื เยอ่ื พชื ทโ่ี ดดเดน่ คอื สามารถผลติ ขยายตน้ พชื ไดใ้ นปรมิ าณมาก พชื ทไ่ี ดจ้ ะมพี นั ธกุ รรมเหมอื นตน้ แมพ่ นั ธ์ุ ทกุ ประการ เพราะฉะนน้ั หากตอ้ งการไดต้ น้ พนั ธด์ุ ี ตรงตามพนั ธ์ุ มคี ณุ ภาพ ใหผ้ ลผลติ สงู การคดั เลอื กพนั ธจ์ุ งึ เป็นขัน้ ตอนเรม่ิ ตน้ ทีส่ ำ� คญั อย่างย่งิ ในการผลติ พชื โดยวิธกี ารเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื และที่สำ� คญั ยังสามารถผลติ พชื ปลอดโรคท่มี สี าเหตุจากเชอ้ื ไวรสั ไฟโตพลาสมา่ เชื้อรา แบคทเี รยี ไดอ้ กี ดว้ ย นอกจากน้ียังมขี อ้ ดีในดา้ น การค้า เนอ่ื งจากสามารถ ได้ต้นทีส่ ม�่ำเสมอ ซง่ึ การผลติ พืชเศรษฐกิจเชงิ อุตสาหกรรมจะเป็นประโยชนม์ าก ในการวางแผนการผลิตให้สามารถเก็บผลผลิตได้พร้อมกัน ซ่ึงพืชเศรษฐกิจส�ำคัญที่กรมส่งเสริมการเกษตร ดำ� เนนิ การผลติ เพ่ือสง่ เสริมเกษตรกรและเหน็ ผลเป็นรูปธรรม ได้แก่ กลว้ ย หนอ่ ไม้ฝรัง่ และอ้อย เป็นตน้ กล้วย เป็นผลไม้คู่กับวิถีชีวิตไทยมาช้านาน นอกจากเป็นผลไม้ท่ีรับประทานกันเป็นประจ�ำแล้ว สว่ นอน่ื ๆ ของกลว้ ยทง้ั ใบ กา้ นใบ ชอ่ ดอก และลำ� ตน้ กย็ งั นำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากมาย ปจั จบุ นั ความตอ้ งการ ผลผลิตกล้วยยิ่งเพิ่มมากขึ้น เน่ืองจากมีการส่งออกกล้วยหอมและกล้วยไข่ ไปจ�ำหน่ายต่างประเทศ ปลี ะกวา่ 35,000 ตนั ทำ� รายได้ไมต่ ่�ำกว่าปีละ 350 ล้านบาท โดยกล้วยหอมมตี ลาดส�ำคญั คือ ญปี่ ุ่น ฮอ่ งกง และสิงคโปร์ ส่วนกลว้ ยไข่มีตลาดส�ำคญั คอื จนี ฮ่องกง และเวยี ดนาม ในปี 2557 มพี น้ื ที่ใหผ้ ลผลติ เฉพาะ กลว้ ยเศรษฐกิจ คอื กลว้ ยน�้ำว้า กล้วยหอม และกลว้ ยไขร่ วมแลว้ ประมาณ 1 ลา้ นไร่ โดยปกติเกษตรกรจะปลูกกล้วยโดยใช้หน่อ แต่เป็นวิธีการท่ีต้องใช้เวลานานในการขยายพันธุ์ ไดห้ นอ่ นอ้ ย ตอ้ งใชต้ น้ แมพ่ นั ธจ์ุ ำ� นวนมาก ตน้ ทป่ี ลกู เตบิ โตไมส่ มำ่� เสมอ และไมส่ ามารถเกบ็ ผลผลติ ไดพ้ รอ้ มกนั ในปัจจุบันความต้องการผลผลิตกล้วยมีมากข้ึน ท้ังตลาดภายในประเทศและตลาดส่งออก โดยเฉพาะ ตลาดส่งออก ต้องผลิตให้ได้ปริมาณสม่�ำเสมอตามที่ผู้ซื้อต้องการ จึงต้องใช้ต้นพันธุ์ที่เจริญเติบโตสม�่ำเสมอ สามารถเก็บเก่ียวผลผลิตให้ได้ปริมาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน จึงจ�ำเป็นต้องใช้ต้นพันธุ์จากการเพาะเลี้ยง เนื้อเย่ือ ซึ่งมีการเติบโตสม�่ำเสมอ และเก็บผลผลิตได้พร้อมกัน ต้นพันธุ์กล้วยจากการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ ยงั เป็นตน้ พันธทุ์ ส่ี ะอาด ปราศจากโรคและแมลง เหมาะกับสถานการณ์ปัจจุบนั ทสี่ ภาพภมู อิ ากาศแปรปรวน ทำ� ให้โรคและแมลงศัตรพู ชื ระบาดรุนแรงขึ้น นอกจากนน้ั ต้นพันธ์จุ ากการเพาะเลย้ี งเน้ือเยือ่ ยงั เป็นตน้ พันธุ์ ทมี่ ีลักษณะเหมือนต้นแมท่ กุ ประการอีกดว้ ย กรมส่งเสรมิ การเกษตร

13 การปลูกพืชแบบบเกษตรอตุ สาหกรรม โดยใชพ้ ชื พันธุด์ ีจากการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เย่อื หนอ่ ไม้ฝรัง่ เป็นพชื ผกั สง่ ออกทสี่ ำ� คญั ผลผลิตร้อยละ 20 สง่ ไปจำ� หน่ายยงั ตา่ งประเทศ ทำ� รายได้ ไมต่ ำ่� กว่าปลี ะ 200 ลา้ นบาท มผี ู้รบั ซ้ือสำ� คญั คือ ไต้หวนั ญี่ป่นุ และประเทศตะวนั ออกกลาง มผี สู้ ่งออก รายใหญ่ ไดแ้ ก่ บรษิ ทั ธานยี ามา่ สยาม จำ� กดั บรษิ ทั สวฟิ ท์ จำ� กดั และบรษิ ทั กำ� แพงแสน คอมเมอรเ์ ชยี่ ล จำ� กดั เน่ืองจากเป็นพืชส่งออก คุณภาพผลผลิตเป็นปัจจัยส�ำคัญในการก�ำหนดรายได้ของเกษตรกร เพราะบริษัท ผสู้ ง่ ออกกำ� หนดราคารบั ซอื้ ตามเกรดของผลผลติ โดยผลผลติ เกรดเอ จะมรี าคาสงู ถงึ 100-120 บาทตอ่ กโิ ลกรมั ขณะทผี่ ลติ เกรดบรี าคา 70 บาทต่อกิโลกรมั เกรดซี 40 บาทต่อกิโลกรมั และเกรดแซด หรือตกเกรดราคา 15 บาทต่อกิโลกรมั หนอ่ ไมฝ้ รง่ั สามารถปลกู โดยใชเ้ มลด็ พนั ธห์ุ รอื ใชต้ น้ พนั ธจ์ุ ากการเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอื่ ซง่ึ การเพาะเลย้ี ง เนือ้ เยือ่ เปน็ วธิ กี ารขยายพนั ธทุ์ ่พี ืชทกุ ตน้ ทีผ่ ลติ ไดจ้ ะมพี นั ธุกรรมเหมอื นกับต้นแม่พนั ธ์ุดี ทีค่ ดั เลือกมาผลติ และเม่ือน�ำไปปลูกในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นหน่อไม้ฝร่ัง จะท�ำให้ผลผลิต ทเ่ี กบ็ ไดใ้ นแตล่ ะวนั หรอื แตล่ ะชว่ งเวลามมี าตรฐานใกลเ้ คยี งกนั ซงึ่ ทำ� ใหเ้ กษตรกรบรรลเุ ปา้ หมายทส่ี ำ� คญั คอื ไดห้ น่อไมฝ้ รง่ั คุณภาพดีจำ� นวนมากอยู่เสมอ เกษตรกรท่ีทำ� ให้การปลูกหนอ่ ไม้ฝร่งั จากต้นเนื้อเยอื่ เปน็ ท่รี ู้จัก และยอมรับอย่างกวา้ งขวาง คอื นายโสภณ อารยธรรม ชาวอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวดั ราชบรุ ี โดยนายโสภณ ไดร้ ับต้นพันธ์หุ น่อไม้ฝรั่งจากการเพาะเลยี้ งเนื้อเยอ่ื ของกรมสง่ เสรมิ การเกษตรไปทดลองปลกู เม่ือประมาณ ปี พ.ศ. 2542 จำ� นวนประมาณ 5,000 ตน้ นายโสภณยนื ยนั วา่ ตน้ พนั ธห์ุ นอ่ ไมฝ้ รงั่ จากการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอ่ื ให้ผลผลิตสูง และได้คุณภาพดีกว่าต้นพันธุ์จากการเพาะเมล็ด นายอนันทพงษ์ สาลีด�ำ เกษตรกรผู้ปลูก หนอ่ ไม้ฝรง่ั ที่ต�ำบลห้วยไร่ อ�ำเภอหล่มสกั จังหวดั เพชรบรู ณ์ กเ็ ป็นอีกผหู้ น่งึ ทีใ่ ช้ต้นพันธุจ์ ากการเพาะเลีย้ ง เนือ้ เย่อื และยนื ยนั ว่าให้ผลผลิตและคุณภาพดีกวา่ การปลูกดว้ ยตน้ จากการเพาะเมลด็ อ้อย เป็นพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของประเทศไทย ในปี 2557/2558 มีพ้ืนที่ปลูกเกือบ 11 ล้านไร่ ผลผลิตรวมประมาณ 102 ลา้ นตัน ในปี 2558 มกี ารสง่ ออกน�ำ้ ตาลทรายประมาณ 7 ลา้ นตัน เป็นอนั ดับสอง รองจากประเทศบราซิล อุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลทรายจึงมีแนวโน้มขยายตัวสูงข้ึน ท�ำให้เกษตรกร ขยายพื้นที่การปลูกอ้อย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายปรับเปลี่ยนพ้ืนท่ี ท�ำให้เกษตรกรมีความต้องการ พันธุ์ออ้ ยเพิ่มมากขึน้ การปลกู ออ้ ยโดยทว่ั ไปนยิ มการปลกู แบบวางลำ� ทำ� ใหง้ า่ ยตอ่ การแพรร่ ะบาดของโรคและแมลงศตั รอู อ้ ย ทตี่ ิดไปกบั ท่อนพนั ธ์ุ ไดแ้ ก่ โรคใบขาวออ้ ย โรคกอตะไคร้ โรคราน้ำ� คา้ ง โรคใบลวก โรคเน่าแดง โรคแส้ดำ� โรคเหย่ี วของออ้ ย หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสชี มพู หนอนกอสีขาว หนอนกอลายจุดใหญ่ เพลยี้ หอย เพลย้ี แปง้ สชี มพู ปลวกและไรแมงมมุ ซง่ึ โรคทสี่ รา้ งความเสยี หายมากทส่ี ดุ ทำ� ใหผ้ ลผลติ ลดลง 30-40 เปอรเ์ ซน็ ต์ คือ โรคใบขาวอ้อย เนื่องจากเป็นเชื้อท่ีแฝงอยู่ในท่อล�ำเลียงอาหาร ท�ำให้ไม่สามารถก�ำจัดเช้ือด้วย สารเคมไี ด้ ดงั นนั้ การนำ� เทคโนโลยดี า้ นการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอ่ื มาผลติ ขยายออ้ ย จะชว่ ยใหไ้ ดต้ น้ พนั ธท์ุ ป่ี ลอดโรค เน่ืองจากขน้ั ตอนการผลิต มีการก�ำจัดเช้ือดว้ ยความรอ้ น สารเคมี และตัดเอาเฉพาะส่วนของเนือ้ เยือ่ เจริญ ปลายยอดขนาด 0.2 มิลลเิ มตร ใตก้ ล้องสเตอรโิ อ ซงึ่ เป็นสว่ นท่ปี ลอดโรคมากทส่ี ดุ มาเพาะเลีย้ งในห้องปฏิบัติการ แลว้ น�ำไปตรวจหาเชือ้ สาเหตโุ รคพชื ด้วยวธิ ีทางชีวโมเลกลุ (nested PCR) ก่อนน�ำไปขยายเพม่ิ ปริมาณให้ได้ ตามจ�ำนวนท่ตี ้องการ จากนัน้ นำ� ต้นออ้ ยจาการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยือ่ ไปปลูกลงแปลง การเพาะเลีย้ งเน้อื เยอ่ื

14 3 6 การเพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือกล้วย 9 12 12 15 45 78 10 11 13 14 กรมสง่ เสริมการเกษตร

15 ภาพการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยอื่ กล้วย 1 คดั เลอื กหนอ่ ใบแคบจากตน้ แมพ่ นั ธท์ุ ม่ี ลี กั ษณะดี ตรงตามพนั ธ์ุ ตน้ สมบรู ณ์ แขง็ แรง ปราศจากโรคและแมลง เป็นหน่อใบแคบ อายุ 3-4 เดอื น 2, 3 ตัดแต่งหน่อกล้วยลอกกาบด้านนอกออกตัดแต่งจนเหลือขนาดเล็ก และ 4 ปาดส่วนโคนใหเ้ หลอื ส่วนของจดุ เจรญิ 5, 6 เตรยี มนำ้� ยาฟอกสำ� หรบั ฟอก โดยฟอกฆา่ เชอ้ื ในสารละลายคลอรอกซ์ 2 ครง้ั และ 7 คร้ังท่ี 1 ใช้ สารละลายคลอรอกซ์ 30 เปอรเ์ ซ็นต์ นาน 30 นาที ครั้งท่ี 2 ใช้ สารละลายคลอรอกซ์ 15 เปอรเ์ ซน็ ต์ นาน 30 นาที ลา้ งดว้ ยน้ำ� กล่นั ที่นึง่ ฆ่าเช้ือแล้ว 3 ครง้ั ครง้ั ละ 3-5 นาที เพ่ือลา้ งสารเคมี การปลูกพืชแบบบเกษตรอตุ สาหกรรม ออกให้หมด โดยใชพ้ ชื พันธุด์ ีจากการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เย่อื 8 น�ำมาตัดแตง่ ชิ้นพืชใหม้ ขี นาดเลก็ ประมาณ 3 -5 มลิ ลิเมตร ในตปู้ ลอดเชื้อ น�ำไปเลี้ยงในห้องบม่ สภาพหอ้ งท่คี วบคุมท่อี ุณหภูมิ 25 ± 2 องศาเซลเซยี ส ความเข้มแสง 3,000 ลักซ์ ให้แสง 16 ชั่วโมงต่อวัน เปลี่ยนอาหารใหม่ 9 ทุก 1 เดือน เตรียมแม่พันธุ์เร่ิมต้น โดยชักน�ำยอดเล้ียงในสูตรอาหาร MS + BA อตั รา 5 มิลลกิ รัมตอ่ ลิตร (อตั ราขยาย 1 เทา่ ต่อชิ้นต่อเดอื น) 10 น�ำยอดอ่อนมาชักน�ำยอดเพ่ิมปริมาณ โดยตัดปลายส่วนยอดท้ิงลอกกาบ แล้วผา่ คร่ึงเปน็ 2 ซกี เปลีย่ นอาหารใหม่(อตั ราขยาย 2 เท่าต่อช้ินตอ่ เดอื น) 11 น�ำยอดมาตัดขยายเพิ่มปริมาณ โดยตัดแบ่งเปน็ ช้นิ สว่ นเลก็ ๆ ทกุ 1 เดือน (อตั ราขยาย 3 เทา่ ต่อชิ้นต่อเดอื น) 12 ชักน�ำให้เกิดราก โดยตัดแต่งยอดเล้ียงในอาหาร MS ท่ีเติมสารควบคุม การเจริญเติบโต NAA อตั รา 0.1 มลิ ลกิ รมั ต่อลิตร 13, 14 น�ำต้นอ่อนที่ชักน�ำให้เกิดรากพัฒนาเป็นต้นอ่อนท่ีสมบูรณ์ล้างวุ้นออก และ 15 และแช่ยาป้องกันเช้ือรา และน�ำออกปลูกในโรงเรือนที่มีสภาพแวดล้อม เหมาะสม การเพาะเล้ียงเนือ้ เยื่อ

16 3 การเพาะเลีย้ งเน้อื เย่ือหนอ่ ไมฝ้ รงั่ 12 456 789 10 12 11 กรมสง่ เสริมการเกษตร

17 ภาพการเพาะเลีย้ งเนอื้ เย่อื หน่อไม้ฝรง่ั 1 คดั เลือกหน่อที่มีลักษณะดีตรงตามพันธ์ุ และให้ผลผลิตสงู นำ� หนอ่ มาตดั เปน็ ทอ่ น ลา้ งในแอลกอฮอล์ 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ 3 ครง้ั ๆ ละ 1-2 นาที 2 ฟอกฆ่าเชื้อ 2 คร้ัง ในสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ความเข้มข้น 15 เปอร์เซ็นต์ และ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ นาน 20 นาที 3 ตดั แต่งแยกช้นิ สว่ นตายอด และตาข้าง ภายในตูป้ ลอดเช้อื 4 ตัดแตง่ ตาจากหนอ่ 1 ชิ้นต่อ 1 ตา 5 เพาะเล้ียงบนอาหารแข็งสูตร MS + KIN 0.1 mg/l NAA 0.05 mg/l และน�ำ้ ตาล 30 mg/l เพอ่ื ชกั นำ� ยอด การปลูกพืชแบบบเกษตรอตุ สาหกรรม 6 ตาเจริญเปน็ ตน้ หนอ่ ไมฝ้ ร่งั โดยใชพ้ ชื พันธุด์ ีจากการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เย่อื 7 เพ่มิ ปริมาณในอาหารสตู ร MS + KIN 0.01 mg/l และ NAA 0.05 mg/l และนำ้� ตาล 30 mg/l 8 และ 9 น�ำมาต้นทไี่ ด้มาตดั แตง่ และแบง่ กอ เพอื่ ชกั น�ำรากและพฒั นาเป็นต้นอ่อน ทีส่ มบูรณ์ในสตู รอาหาร MS + NAA 0.35 mg/l และน้ำ� ตาล 60 g/l 10 นำ� มาล้างอาหารวนุ้ ออก แลว้ อนบุ าลในโรงเรือนที่มีการควบคุม และ 11 สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโต 12 ปลูกและอนุบาลตน้ หนอ่ ไม้ฝร่งั ท่อี นุบาลในโรงเรอื นทม่ี ีการควบคมุ สภาพแวดลอ้ มให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต การเพาะเลย้ี งเน้ือเยอ่ื

18 การเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อออ้ ยเพอ่ื ผลติ ออ้ ยปลอดโรค 123 456 789 10 11 12 13 14 15 กรมสง่ เสริมการเกษตร

19 ภาพการเพาะเลีย้ งเนอื้ เย่อื อ้อยเพอ่ื ผลติ อ้อยปลอดโรค 1 และ 2 คดั อ้อยจากแปลงแมพ่ นั ธุ์ ทเี่ จรญิ เตบิ โตสมบรู ณแ์ ขง็ แรงไม่แสดงอาการ โรคใบขาว นำ� มาตดั สว่ นของโคนออกความยาวประมาณ 50 เซนตเิ มตร 3 กำ� จัดเช้อื ดว้ ยการแช่น�ำ้ ร้อน 2 ครงั้ 4 เตรยี มตน้ พนั ธดุ์ ้วยการชำ� ข้อตาออ้ ย 5 ฟอกฆา่ เชื้อทพ่ี ื้นผิว ดว้ ย แอลกอฮอล์ และโซเดยี มไฮเปอรค์ ลอไรด์ 6 ตัดเอาสว่ นเนอื้ เยื่อเจรญิ ปลายยอด ขนาด 0.2 มลิ ลิเมตร มาเพาะเลีย้ ง 7 ชักน�ำให้เกิดยอดในอาหารสูตร MS + GA ทีอ่ ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 3-4 เดือน การปลูกพืชแบบบเกษตรอตุ สาหกรรม 8 และ 9 ตรวจสอบหาเช้ือโรคใบขาวออ้ ยด้วยวธิ ที างชีวโมเลกลุ โดยใชพ้ ชื พันธุด์ ีจากการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เย่อื 10 นำ� มาขยายเพมิ่ ปริมาณในอาหารสตู ร MS + BA + นำ้� ตาล ทอี่ ณุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส 11 ชักน�ำให้เกิดรากในอาหารสตู ร MS + NAA + น�ำ้ ตาล ทอ่ี ุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 45 วนั 12 ยา้ ยปลกู ในสภาพโรงเรอื นอนบุ าล 13 ปลูกลงแปลงเพ่ือจัดทำ� แปลงพันธุ์หลกั อายุ 45 วนั 14 แปลงพันธหุ์ ลัก อายุ 6 เดอื น 15 แปลงพนั ธหุ์ ลกั พรอ้ มเกบ็ เกี่ยว การเพาะเลีย้ งเนื้อเยอ่ื

20 การเพาะเลยี้ งเน้ือเยื่อพืชในเชิงพาณิชย์ เกิดจากการน�ำความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือมาประยุกต์เข้ากับธุรกิจเชิงพาณิชย์ และเป็น อาชพี ทางเลือก ที่สามารถสร้างความมนั่ คงและรายไดใ้ หก้ บั เกษตรกรเปน็ อยา่ งดี ธรุ กิจดา้ นเพาะเลย้ี งเนอื้ เยื่อและธรุ กิจทีเ่ ก่ยี วข้อง แบง่ ออกได้ ดงั น้ี 1. ผู้ท่ที �ำงานกับผู้ประกอบการธรุ กิจดา้ นเพาะเล้ยี งเนือ้ เย่ือ 2. ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ด้านเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยือ่ 3. ผู้ประกอบการตลาดสินค้าเกษตรอตุ สาหกรรม เช่น CP DOLE 4. ผู้ประกอบการธรุ กจิ โรงเรือนเพาะชำ� 5. เกษตรกรผูป้ ลกู พชื เชิงการค้า เช่น กลว้ ย หนอ่ ไม้ฝร่งั อ้อย พืชทค่ี วรด�ำเนินการในเชิงการค้า 1. พืชเศรษฐกิจ เชน่ หน่อไม้ฝร่ัง กล้วย สับปะรด ฯลฯ 2. พืชกินแมลง เช่น หม้อข้าวหมอ้ แกงลิง กาบหอยแครง ฯลฯ 3. ไมด้ อกไม้ประดบั เช่น กลว้ ยไม้ หนา้ วัว เบญจมาศ บอนสี อะโกรนีมา ฟโิ ลเดนดรอน ฯลฯ 4. ไมน้ ำ้� เช่น อนเู บยี ส ชบาน้ำ� อเมซอน ฯลฯ กรมสง่ เสริมการเกษตร

21 การปลูกพืชแบบบเกษตรอตุ สาหกรรม โดยใชพ้ ชื พันธุด์ ีจากการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เย่อื เงอื่ นไขการด�ำเนนิ ธุรกจิ 1. ต้องมีความรู้หรือผ่านการอบรมด้านการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพืชมาก่อน ควรมีนักวิชาการ ทม่ี ีความรู้ และประสบการณเ์ ป็นทีป่ รึกษา 2. ตอ้ งมเี งนิ ทุนหมนุ เวียนในการทำ� ธุรกจิ อย่างน้อย 200,000 บาท 3. มีตลาดรองรับ และกล่มุ ลูกค้าที่ต้องการพันธ์ไุ มอ้ ย่างต่อเน่อื ง ตน้ ทนุ การผลติ และผลตอบแทน 1. ต้นทุนเรม่ิ ตน้ คอ่ นข้างสงู โดยเฉพาะเคร่ืองมอื และอุปกรณ์อย่างน้อย 200,000 บาท แบง่ เป็น 1.1 คา่ สารเคมี ประมาณ 50,000 บาท 1.2 ค่าวัสดุอุปกรณ์ ประมาณ 100,000 บาท 1.3 ค่าเครือ่ งปรบั อากาศ ชนั้ วางพชื ชั้นวางสารเคมี หม้อน่งึ ความดัน ฯลฯ ประมาณ 50,000 บาท 2. ผลตอบแทนจะไดร้ บั หลงั จากทำ� ธรุ กจิ ประมาณปที ่ี 4 เปน็ ตน้ ไป อยา่ งนอ้ ย 30,000 บาทตอ่ เดอื น ขนึ้ อยกู่ ับขนาดของธรุ กิจ 3. เป็นธุรกิจที่มีผลตอบแทนในระยะยาวและต่อเนื่องทุกเดือน เนื่องจากเป็นเทคนิคท่ีสามารถ ผลิตขยายพนั ธ์พุ ืชได้ตลอดปี และมีกลุ่มลกู ค้าเปา้ หมายชดั เจน ขัน้ ตอนทีค่ วรดำ� เนินการ วางแผน และเป้าหมายการผลติ ในเชิงธรุ กจิ ทง้ั ในระยะส้ันและระยะยาว วิเคราะหค์ วามเปน็ ไปได้ทางการผลติ โดยใช้ขอ้ มลู การลงทุน ขอ้ มลู การตลาด และศกึ ษากลยุทธท์ างการตลาด ศึกษาข้อมูลความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีการเพาะเลยี้ งเนื้อเยอ่ื พชื เพือ่ นำ� มาประยกุ ตแ์ ละพัฒนางานอย่างต่อเนอื่ งและสมำ่� เสมอ ควบคุมปริมาณ และคุณภาพผลผลิตให้ได้ตามมาตรฐานท่ีกำ� หนด หากลุ่มลูกค้าเป้าหมาย หรือการหาตลาดรองรบั ต้องมีการเช่ือมโยงธุรกิจต่อเนอื่ งทเ่ี ก่ียวขอ้ งแบบครบวงจร มีการประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของการดำ� เนนิ ธรุ กจิ การเพาะเลยี้ งเนอ้ื เย่ือ

22 ตัวอย่างผปู้ ระสบความสำ� เร็จ ในธรุ กิจเพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่ือพืช ผูท้ ี่ทำ� งานกบั ผู้ประกอบการธุรกิจ ด้านเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอ่ื ✆ ยนิ ดีให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา นางสาวกรรณิการ์ มีพร้อม ทอี่ ยู่ : บรษิ ัท ไพฑรู ยส์ ะพลี จ�ำกัด 93/57 ชน้ั 5 อาคารโมเดริ น์ กรุป๊ ต�ำบลคลองเกลอื อ�ำเภอปากเกรด็ จังหวดั นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 08 4122 1914 ประวัติการศึกษา ปรญิ ญาตรี : สาขาเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบุรี ประสบการณ์และแนวคดิ ในดา้ นการเพาะเลี้ยงเนือ้ เยอ่ื ปัจจบุ นั ทำ� งานทีบ่ ริษัท ไพฑรู ยส์ ะพลี จ�ำกดั ตำ� แหนง่ นกั วิจยั และพฒั นาระบบไบโอรแี อคเตอร์ มหี นา้ ท่ศี กึ ษาวิจัย และพฒั นาสูตรอาหารและปจั จยั อืน่ ๆ ใหเ้ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื ทเ่ี ปน็ ผลติ ภณั ฑห์ ลกั และพชื อนื่ ๆของบรษิ ทั โดยใชเ้ ทคนคิ การเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอ่ื พชื ดว้ ยระบบไบโอรแี อคเตอร์ โดยผู้บริหารบริษัทฯมีการวางนโยบายในการส่งเสริมพนักงานให้มีการพัฒนาความรู้เฉพาะด้าน มกี ารพฒั นางานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยสี รา้ งนวตั กรรมใหมๆ่ ในการผลติ พชื ในระดบั อตุ สาหกรรม ดว้ ยการเพาะเล้ยี งเน้อื เย่ือพืช นางนันทน์ ภสั เทพสำ� ราญ ท่ีอยู่ : 54 หมู่ 1 ต�ำบลดอนแฝก อ�ำเภอนครชยั ศรี จังหวดั นครปฐม 73120 โทรศพั ท์ : 08 6868 1417 ประวตั กิ ารศกึ ษา ปริญญาตรี : สาขาชวี วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปรญิ ญาโท : สาขาชวี วทิ ยา (เพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพชื ) มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ประสบการณ์และแนวคิดในด้านการเพาะเลีย้ งเนอื้ เยือ่ ปจั จบุ นั ทำ� งานอยทู่ ี่ หา้ งหนุ้ สว่ นจำ� กดั ประยรู ออคดิ ส์ ตำ� แหนง่ ผจู้ ดั การหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพาะเลยี้ ง เนอื้ เยื่อกล้วยไม้ มหี น้าท่พี ฒั นาและวิจัยสตู รอาหารและข้ันตอนกระบวนการเพาะเล้ียงเนอ้ื เยือ่ พชื ดแู ล ความเรียบร้อยของห้องปฏิบัติการ มีความรักในการท�ำงานเกี่ยวกับต้นไม้ และมีอาจารย์ที่ให้ค�ำปรึกษา และการสนับสนุนมาต้ังแต่แรก ท�ำให้มองเห็นโอกาสที่จะเจริญก้าวหน้าในหน้าท่ีเก่ียวกับงาน ด้านการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืช และการที่คนเราจะประสบความส�ำเร็จได้นั้นต้องมีความมุ่งมั่น ต้ังใจ รักงานทเี่ ราท�ำ พร้อมทจ่ี ะเปลี่ยนแปลง รบั ฟงั ผู้อน่ื และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ กรมสง่ เสริมการเกษตร

23 ตวั อยา่ งผปู้ ระสบความสำ� เร็จ ในธรุ กจิ เพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือพชื ผปู้ ระกอบการธรุ กิจด้านเพาะเล้ยี งเนอื้ เยือ่ ✆ ยนิ ดีให้คำ� แนะนำ� ปรกึ ษา นางพนมพร วรรณประเสริฐ ที่อยู่ : 95/86 หมู่บา้ นบวั ทอง ซอย 13/5 ถนนกาญจนาภิเษก ต�ำบลบางรกั พัฒนา อ�ำเภอบางบวั ทอง จงั หวดั นนทบรุ ี 11110 โทรศพั ท์ : 08 6909 1809 ประวตั ิการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี : สาขาบัญชี มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย ปรญิ ญาโท : สาขาการจดั การเกษตรอินทรยี ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์และแนวคดิ ในดา้ นการเพาะเล้ยี งเนื้อเยอื่ เรมิ่ ทำ� ธรุ กจิ ผลติ พชื โดยการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอื่ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2546 โดยเนน้ ผลติ ไมด้ อกไมป้ ระดบั พืชน้�ำ พืชกินแมลง และกล้วยพันธุ์ต่างๆ โดยมีแนวคิดในการดัดแปลงและประยุกต์วิธีการท�ำงาน เพื่อลดข้ันตอนและประหยัดเวลาในการท�ำงาน นอกจากน้ัน ยังเป็นวิทยากรรับเชิญตามสถาบันต่างๆ ด้วยความเป็นคนที่มีใจรัก มุ่งมั่น และรู้สึกว่างานด้านการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อพืช มีความท้าทาย และนา่ ศึกษา อกี ทงั้ ยงั รจู้ ักการดัดแปลงเพือ่ ลดตน้ ทุนในการผลิต ท�ำให้มีรายไดเ้ ขา้ มาอยา่ งต่อเนอ่ื ง นายรัฐพล สขุ มั ศรี ทีอ่ ยู่ : 76/4 หมู่ 5 ตำ� บลทพั หลวง อำ� เภอเมอื งนครปฐม จงั หวดั นครปฐม 73000 โทรศัพท์ : 08 8503 3368 ประวัตกิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี : สาขาปฐพวี ิทยา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ปรญิ ญาโท : สาขาชีววทิ ยา มหาวิทยาลยั ศิลปากร ปรญิ ญาเอก : กำ� ลงั ศกึ ษาสาขาชวี วทิ ยา ทม่ี หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ประสบการณ์และแนวคิดในดา้ นการเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื ปัจจุบันท�ำงานอยู่ที่องค์การเภสัชกรรม ต�ำแหน่งนักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการ ซึ่งดูแล การผลติ วคั ซนี ไขห้ วดั ใหญ่ หลงั เลกิ งานกม็ าดแู ลธรุ กจิ การผลติ พชื เศรษฐกจิ ดว้ ยการเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอื่ พชื เช่น กล้วย หน่อไม้ฝรั่ง ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชกินแมลง เป็นต้น และมีการอนุบาลพืชเองด้วย เนื่องจากมีความสนใจด้านเทคโนโลยีการเกษตรเป็นพิเศษ หลังจากจบการศึกษา จึงตัดสินใจ เปดิ ห้องปฏิบตั กิ ารและท�ำธุรกจิ เพาะเลี้ยงเนือ้ เยอื่ พชื แมว้ ่าจะประสบปัญหาอยู่บา้ ง แตด่ ว้ ยความอดทน และมีใจรักในงานด้านนี้ ทั้งยังมีก�ำลังใจจากครอบครัว ค�ำปรึกษาจากอาจารย์ท่ีปรึกษา และค�ำแนะน�ำ จากหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้อง ท�ำให้ธุรกิจเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืชท่ีท�ำมาเร่ิมมั่นคงและประสบ ความส�ำเรจ็ การเพาะเลยี้ งเน้ือเย่อื

24 นายเอกสิทธ์ิ นิสยันต์ (แชมป์) ทอี่ ยู่ : 61/3 หมู่ 1 ตำ� บลเขาพระ อำ� เภอเดมิ บางนางบวช จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 72120 โทรศัพท์ : 08 7699 7110 ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี : สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปริญญาโท : สาขาชวี วิทยา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ประสบการณแ์ ละแนวคิดในด้านการเพาะเล้ียงเนอ้ื เยอื่ เนื่องจากมีความชอบและสนใจเป็นพิเศษในงานด้านเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืช มาต้ังแต่ช่วงท่ีเรียน ปริญญาตรี จึงเลือกศึกษาต่อในระดับปริญญาโท จากนั้นจึงไปท�ำงานในบริษัทที่ท�ำธุรกิจเก่ียวกับ การเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอื่ เพอ่ื หาประสบการณ์ เมอ่ื มปี ระสบการณแ์ ลว้ จงึ มาสานตอ่ ความฝนั ในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของตนเอง ดว้ ยความทีม่ ใี จรักและความเชย่ี วชาญในดา้ นการเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื ทำ� ให้ธรุ กิจยังดำ� เนนิ อยู่ จนถึงปจั จุบัน นางสาวตวงพร โรจนวงศ์ (ตวง) ที่อยู่ : 299/19 ถนนมิตรภาพ 15 ต�ำบลในเมอื ง อ�ำเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวัดนครราชสมี า 30000 โทรศัพท์ : 08 1627 3365 ประวตั ิการศึกษา ปรญิ ญาตรี : สาขาชวี วิทยา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปริญญาโท : สาขาชวี วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ประสบการณ์และแนวคดิ ในด้านการเพาะเล้ียงเน้ือเยอ่ื หลังจากท่ีจบการศึกษา ได้ไปท�ำงานในบริษัทท่ีท�ำธุรกิจเก่ียวกับการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือ เพ่ือหาประสบการณ์ หลังจากนั้นจึงได้มาเปิดห้องปฏิบัติการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพืชของตนเอง โดยเน้น ผลิตพืชตามความตอ้ งการของลกู ค้า เชน่ กลว้ ยน�้ำวา้ กล้วยหอมทอง และกลว้ ยไข่ เปน็ ตน้ และเนื่องจาก เป็นหอ้ งปฏิบัติการขนาดเล็กและทำ� งานคนเดยี ว ท�ำให้ก�ำลังผลิตมีไม่มาก จงึ อาศัยความชอบ ความถนัด และน�ำประสบการณ์การท�ำงานด้านการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อมาใช้ โดยเน้นการผลิตพืชตามความต้องการ ของลูกคา้ เป็นหลัก ทำ� ใหม้ ีรายไดเ้ ขา้ มาอยา่ งต่อเนอื่ ง นางเสาวนีย์ สาโรจน์ (หญิง) ท่อี ยู่ : 2106/14 หมู่ 7 ต�ำบลเทพารกั ษ์ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ : 08 1984 5996 ประวัติการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี : สาขาโรคพืช มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ปริญญาโท : สาขาวิทยาการหลังการเกบ็ เกี่ยว มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ประสบการณ์และแนวคดิ ในดา้ นการเพาะเลี้ยงเน้อื เยอ่ื ปัจจุบันรับราชการทางด้านการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ จึงได้มีทักษะประสบการณ์ทางด้านนี้ คิดอยากเปิดห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือของตนเองที่บ้าน โดยใช้ความรู้ท่ีได้จากการท�ำงาน ดา้ นผลติ พชื มาปรบั ใช้ เลอื กพชื ทดี่ ำ� เนนิ การผลติ ตามความตอ้ งการของลกู คา้ รวมถงึ ดแู นวโนม้ การตลาด เช่น กล้วย หน่อไม้ฝรั่ง เป็นต้น มีความตั้งใจท่ีอยากจะท�ำในส่ิงที่เราถนัดและชอบ ได้มีอาชีพเสริม จากงานราชการปกติ โดยไมไ่ ด้เบียดเบยี นเวลาราชการ ผปู้ ระกอบการตลาดสนิ ค้าเกษตรอุตสาหกรรม เชน่ CP, DOLE เป็นต้น กรมส่งเสรมิ การเกษตร

25 ผูป้ ระกอบการธุรกจิ โรงเรอื นเพาะช�ำ ✆ ยินดใี หค้ �ำแนะนำ� ปรกึ ษา นางจามารี เกร่ินสระน้อย ทอี่ ยู่ : 143 หมู่ 2 ตำ� บลพลบั พลาไชย อำ� เภออู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบุรี 72160 โทรศพั ท์ : 08 9980 7999 ประวัตกิ ารศึกษา ปริญญาตรี : สาขาพืชศาสตร์ (ไม้ผล) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก วทิ ยาเขตบางพระ ประสบการณ์และแนวคิดในด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยอ่ื ปจั จุบนั รับราชการโดยมีหนา้ ที่เก่ียวกบั การผลิตและอนุบาลพนั ธุพ์ ืช ทัง้ จากการเพาะเมล็ดและ การเพาะเลย้ี งเนื้อเยือ่ พชื นอกจากนัน้ ยงั รับอนุบาลพันธุ์พชื จากการเพาะเลีย้ งเนอื้ เยอื่ เป็นอาชีพเสรมิ อีกดว้ ย เนอื่ งจากการทำ� งานทง้ั อาชพี หลกั และอาชพี เสรมิ นนั้ มกี ารทำ� ดว้ ยตนเอง ทำ� ใหเ้ กดิ การสง่ั สมประสบการณ์ และความรู้ รวมถึงเทคนิคและวิธีการที่เหมาะสมในการอนุบาลพันธุ์พืชต่างชนิดกัน โดยประสบการณ์ ท่ไี ด้มานั้น ก็สามารถนำ� กลับไปพัฒนาและตอ่ ยอดกบั งานที่ทำ� อย่ไู ด้ และมรี ายได้เพ่มิ มากข้นึ อกี ด้วย เกษตรกรผูป้ ลกู พชื เชงิ การคา้ ตวั อยา่ งผปู้ ระสบความสำ� เร็จ ในธรุ กจิ เพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือพชื ✆ ยนิ ดีใหค้ �ำแนะน�ำปรกึ ษา สวนกลว้ ยหอมทอง โดยใช้หน่อ ประวตั ิความเป็นมา นายประทีป แพ่งสุภา อายุ 36 ปี เริ่ม ปลูกกล้วย ต้ังแต่ปี 2555 โดยเปลี่ยนจากการปลูก สม้ มาเป็นปลูกสวนกล้วยแทน โดยนำ� หนอ่ กล้วยจาก สวนเพอ่ื บ้านมาปลกู กล้วยทป่ี ลูก คือ กลว้ ยหอมทอง ไตห้ วนั มีพน้ื ทป่ี ลกู 100 ไร่ ซงึ่ มที ี่ปรกึ ษาเปน็ ผปู้ ลกู กลว้ ยหอมทองคอยใหค้ ำ� แนะนำ� นายประทปี พยายาม เรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเอง เพ่ือให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ จนสามารถ บริหารจดั การปลกู กล้วยหอมทองไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โทรศพั ท์ : 09 4853 7957 ทีต่ ้ังแปลง : ตำ� บลบ้านพรกิ อ�ำเภอบา้ นนา จังหวัดนครนายก การจำ� หนา่ ย : มีรถมารบั ซือ้ ในสวน — ราคา 150-200 บาทตอ่ เครอื (4-8 หว)ี — ราคาชว่ งเทศการตรษุ จีน 200-250 บาทตอ่ เครอื — เกบ็ ผลผลิตได้ 45,000 เครอื ต่อปี การเพาะเล้ียงเนอ้ื เย่อื

26 สวนกลว้ ยน้�ำว้า พันธุก์ าบขาว โดยใชต้ น้ จากการเพาะเล้ียงเนอ้ื เยอื่ ประวตั คิ วามเป็นมา นางระนอง ยินดีรัมย์ เป็นเกษตรกร ผ้ปู ลกู พืชผกั เช่น ตะไคร้ จ�ำนวน 20 ไร่ พชื ผกั จำ� นวน 5 ไร่ และจากการสืบคน้ หาข้อมลู จาก แหล่งต่างๆ ท�ำให้เกิดความสนใจและเห็นข้อดี ของการใช้ต้นกล้วยจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จงึ ไดซ้ อ้ื กลว้ ยจากการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื มาปลกู โดยพันธุ์ท่ีเลือก คือ กล้วยน้�ำว้าพันธุ์กาบขาว จ�ำนวน 13 ไร่ เนอื่ งจากมองว่าสามารถไว้ตน้ ได้ 4 -5 ปี ช่วยลดตน้ ทนุ ในการปลูกใหม่ ในแตล่ ะปี โทรศพั ท์ : 09 0875 0027 ทีต่ ้ังแปลง : คลอง 11 หมบู่ ้านบึงส�ำพัน อำ� เภอหนองเสอื จงั หวัดปทุมธานี สวนกล้วยนำ�้ วา้ พนั ธ์ปุ ากชอ่ ง 50 จากหนอ่ ของต้นท่ีไดจ้ ากการเพาะเลย้ี งเน้อื เยอื่ ประวัตคิ วามเปน็ มา นางจงกล ผ่องเผือก เป็นเกษตรกร ผู้ปลูกกล้วยหอม และจากการสืบค้นหาข้อมูล ประกอบกับเห็นว่าการปลูกกล้วยหอมต้องปลูกใหม่ ทกุ ปี จึงได้ซ้ือหนอ่ กลว้ ยน้�ำวา้ พนั ธปุ์ ากช่อง 50 ทไ่ี ดจ้ ากการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ พนื้ ทปี่ ลกู 20 ไร่ มาปลูกแซมในสวนกล้วยหอมทอง พบว่า ต้นเจริญเติบโตดี และสามารถไว้หน่อได้ 4-5 ปี จึงวางแผน จะขยายพื้นที่ปลูกให้มากขึ้น รวมทั้งมีแนวคิดจะปลูกต้นจาก การเพาะเลย้ี งเนอื้ เยือ่ อีกดว้ ย โทรศัพท์ : 08 0915 1778 ทต่ี งั้ แปลง : ตำ� บลบึงกาสาม อำ� เภอหนองเสือ จังหวดั ปทมุ ธานี กรมสง่ เสริมการเกษตร

27 ตวั อยา่ งผปู้ ระสบความสำ� เร็จ ในธรุ กจิ เพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือพชื สวนหน่อไม้ฝรง่ั จากการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ ประวตั ิความเปน็ มา นางสาวสชุ าดา ศรพี นมวนั อายุ 28 ปี ไดป้ ลกู ออ้ ยและทำ� นามากอ่ น แตพ่ บวา่ ไดก้ ำ� ไรตอ่ พนื้ ทนี่ อ้ ย จงึ เรมิ่ หนั มาปลกู หนอ่ ไมฝ้ รง่ั โดยศกึ ษาการปลกู หนอ่ ไมฝ้ ร่งั จากอนิ เตอร์เน็ต เอกสารส่งิ พิมพต์ า่ งๆ และศึกษาจากเพอื่ นบ้าน ทม่ี ปี ระสบการณก์ ารปลกู หนอ่ ไมฝ้ รง่ั (คณุ วรรณี จงกลรตั นวฒั นา) ประมาณ 6 เดอื น หลังจากนั้นได้ซ้ือเมล็ดหน่อไม้ฝรั่งจ�ำนวนหน่ึงเพื่อน�ำไปเพาะ ช่วงเวลา ที่เตรียมเมล็ด นางสาวสุชาดาได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การเกษตรเฉพาะด้านของกรมส่งเสริมการเกษตร ซึ่งเป็นโครงการท่ีส่งเสริมให้เกษตรกรใช้พืชพันธุ์ดี จึงได้รับต้นพันธุ์หน่อไม้ฝรั่งจากการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ จ�ำนวน 7,500 ต้น เม่ือเดือนสิงหาคม ปี 2558 และน�ำกล้าของหน่อไม้ฝร่ังที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือมาปลูกแทนกล้าท่ีได้จากการเพาะเมล็ด บนพ้นื ที่ 1 ไร่ 1 งาน โดยการปลกู เลอื กใช้วธิ กี ารปลกู แบบเกษตรอินทรยี ์ พบวา่ ใหผ้ ลผลิตสูง โดยเฉพาะ หนอ่ เกรด A สงู ถงึ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในขณะทพี่ บหนอ่ เกรด Z นอ้ ยกวา่ 1 เปอรเ์ ซน็ ต์ ซงึ่ ทำ� ใหน้ างสาวสชุ าดา พึงพอใจเปน็ อยา่ งมาก เน่ืองจากหน่อเกรด A สามารถจ�ำหน่ายไดใ้ นราคาสงู ถึง 120 บาทตอ่ กิโลกรมั โทรศพั ท์ : 08 0659 3619 ทต่ี ้งั แปลง ต�ำบลบอ่ สพุ รรณ อำ� เภอสองพนี่ ้อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี เปรยี บเทียบการใช้ต้นจากการเพาะเล้ียงเนอื้ เยอื่ และหนอ่ ไม้ฝรง่ั ทปี่ ลูกจากเมลด็ รายการ ต้นจากการเพาะเลยี้ งเนื้อเยือ่ จากเมลด็ — ผลผลิต — สงู — ต�่ำ — ความสม�่ำเสมอ — มาก — น้อย — ลกั ษณะหนอ่ — พบหนอ่ บานน้อย — พบหนอ่ บานมาก — การสวมหมวก — ไม่จ�ำเปน็ — จ�ำเปน็ — การติดหน่อ — ติดหน่อสม�่ำเสมอ — ตดิ หนอ่ ไม่สม�่ำเสมอ การเพาะเลี้ยงเนอื้ เยื่อ

28 เทคนิควธิ กี ารปลกู หน่อไม้ฝรงั่ จากการเพาะเลย้ี งเน้ือเย่อื เปรยี บเทียบผลผลิตจากการใช้ตน้ จากการเพาะเล้ยี งเนอื้ เยื่อและหนอ่ ไม้ฝรั่งที่ปลกู จากเมล็ด ใน 2 แหล่งปลูก จงั หวัด เกรด ต้นจากการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เย่อื เมลด็ จากตน้ เพาะเลี้ยงเนอ้ื เยอื่ เมลด็ ราชบุรี (%) เปน็ เงนิ (บาท) (%) เปน็ เงนิ (บาท) (%) เปน็ เงิน (บาท) สพุ รรณบรุ ี A 84.82 10,178.4 69.64 8,356.8 47.31 5,677.2 B 7.55 528.5 18.03 1,262.1 26.19 1,833.3 C 1.98 79.2 3.79 151.6 7.82 312.8 Z 5.65 84.75 8.54 128.1 18.68 280.2 A 60 7,200 - - -- B 35 2,450 C4 160 Z <1 < 15 เกรด ราคาจ�ำหนา่ ย (บาท) A 120 B 70 C 40 Z 15 สรุป จะเห็นว่าต้นจากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ จะได้ผลผลิตหน่อไม้ฝร่ัง เกรด A สูง คิดเป็น 60-84.82 เปอร์เซน็ ต์ ในขณะทกี่ ารใชเ้ มลด็ จากตน้ เพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อ จะไดผ้ ลผลิต เกรด A ต�่ำลง คดิ เปน็ 69.64 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในขณะทก่ี ารใชเ้ มลด็ จะไดผ้ ลผลติ เกรด A ตำ�่ ทส่ี ดุ คดิ เปน็ 47.31 เปอรเ์ ซน็ ต์ กรมสง่ เสริมการเกษตร

29 เกษตรกรผู้ปลูกออ้ ยแปลงพนั ธข์ุ ยาย ใช้อ้อยจากแปลงพนั ธุ์หลกั ตน้ พันธุไ์ ด้มาจากการเพาะเล้ียงเนื้อเยอื่ ประวัตคิ วามเป็นมา ตวั อยา่ งผปู้ ระสบความสำ� เร็จ นางทองใส รัตนอนัน เป็นเกษตรชาวไร่อ้อยรายใหญ่ เครือข่าย ในธรุ กจิ เพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือพชื โรงงานน�้ำตาลอ่างเวียน เริ่มท�ำไร่อ้อยต้ังแต่ปี 2529 ปัจจุบันปลูกอ้อย ประมาณ 40 ไร่ ปลูกอ้อยโดยใช้วิธีวางล�ำ ซึ่งใช้ต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง ไดผ้ ลผลติ ตอ่ ไรป่ ระมาณ 15 ตนั ตอ่ ไร่ จนกระทงั่ ในปี 2558 ไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ส่งเสริมการจัดท�ำแปลงพันธุ์อ้อยสะอาดของกรมส่งเสริมการเกษตร โดยมี เจ้าหน้าท่ีของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงงานน้�ำตาลอ่างเวียนเข้าไปส่งเสริมการจัดท�ำแปลงพันธุ์อ้อยสะอาด โดยจัดอบรม เกษตรกรแบบมีส่วนรว่ ม ฝึกปฏิบตั กิ ารท�ำแปลงอ้อยสะอาดตลอดฤดกู ารเก็บเกี่ยว เชน่ การช�ำข้อตาออ้ ย การส�ำรวจและประเมินแปลงแม่พนั ธ์ุ โรคแมลงศัตรูออ้ ยทส่ี ำ� คญั โดยเฉพาะโรคใบขาว จากการเข้ารว่ ม โครงการได้รับต้นพันธุ์อ้อยไปปลูก จ�ำนวน 5 ไร่ ใช้ต้นทุน 3,000 บาทต่อไร่ โดยน�ำความรู้ท่ีได้จาก การอบรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ มาปรบั ปรบั ใชใ้ นแปลงของตนเอง เชน่ ทราบถงึ วธิ กี ารปอ้ งกนั กำ� จดั โรคในแปลงออ้ ย โดยเฉพาะโรคใบขาว มกี ารสำ� รวจแปลงอยา่ งสมำ�่ เสมอ และสามารถใสป่ ยุ๋ ไดต้ ามชว่ งเวลาการเจรญิ เตบิ โต ส่งผลให้ได้ผลผลิตต่อไร่ ประมาณ 25 ตันต่อไร่ จ�ำนวนล�ำ ประมาณ 12,000 ล�ำต่อไร่ ที่ส�ำคัญไม่พบ โรคใบขาว ดงั นนั้ จงึ มคี วามพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการและอยากเข้ารว่ มโครงการนตี้ อ่ ไป โทรศพั ท์ : 06 1080 1671 ทต่ี ้งั แปลง บ้านขามเวยี น ตำ� บลชอ่ ระกา อ�ำเภอบ้านเหลื่อม จงั หวัดนครราชสีมา เปรยี บเทียบข้อด-ี ข้อเสยี ของการปลูกออ้ ยโดยใชต้ น้ พนั ธ์ุจากการขยายพนั ธ์ดุ ้วยวธิ ีต่างกนั วิธกี ารขยายพันธุ์ ข้อดี ข้อเสยี 1. ต้นพันธุจ์ าก 1. ไดต้ น้ พันธท์ุ ีต่ รงตามพนั ธุ์ ใชต้ น้ ทนุ ในการผลิตสงู และใชเ้ วลานาน การเพาะเลีย้ ง 2. ไดต้ ้นพันธุ์ท่ีปลอดโรคที่ติดมากับทอ่ นพันธุ์ จึงเหมาะส�ำหรบั ใชป้ ลกู เป็นแปลงแมพ่ นั ธ์ุ เนอ้ื เยื่อ โดยเฉพาะโรคใบขาว 3. ไดผ้ ลผลติ สูง ไมน่ ้อยกว่า 20 ตนั ต่อไร่ จำ� นวนล�ำไมน่ อ้ ยกว่า 15,000 ลำ� ตอ่ ไร่ 2. ต้นพันธุ์จาก 1. ได้ต้นพนั ธท์ุ ีแ่ ขง็ แรงก่อนปลูกลงแปลงเนอ่ื งจาก 1. มตี น้ ทนุ ในการชำ� ข้อตาออ้ ย การช�ำขอ้ มกี ารคดั เอาเฉพาะข้อตาทส่ี มบูรณ์มาเพาะ 2. แหลง่ ปลกู อ้อยตอ้ งมแี หลง่ นำ�้ เพียงพอ 2. ประหยัดทอ่ นพนั ธ์ุอ้อยเน่ืองจาก ใชพ้ นั ธอ์ุ ้อยเพยี ง 140 ล�ำในการปลกู ออ้ ยจำ� นวน 1 ไร่ 3. ตน้ อ้อยต้งั ตวั ในแปลงและเจริญเติบโตเร็ว ได้ผลผลิตสูง 3. ตน้ พันธ์โุ ดย ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องมีแหล่งน�้ำสามารถใช้น�ำ้ ฝนจากธรรมชาติ 1. ต้นพนั ธุ์มีโอกาสไม่ตรงตามพนั ธุ์และไมส่ ะอาด การวางล�ำ 2. ไม่ประหยัดท่อนพนั ธ์อุ ้อยเนื่องจาก ปลกู ออ้ ย 1 ไร่ ใช้พนั ธ์ุอ้อยถึง 1,500 ล�ำ 3. ต้องใช้เวลาในการงอกและตั้งตัวในแปลง 4. ใชต้ ้นทุนในการซ้อื ท่อนพนั ธุ์สงู การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่

30 บรรณานกุ รม กรมส่งเสรมิ การเกษตร. 2546. การเพาะเล้ยี งเนื้อเยอื่ กบั การขยายพนั ธุ์พืช. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั . _______________. 2556. องคค์ วามรู้เพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต สูก่ ารเปน็ smart officer การขยายพนั ธ์ุพืช. กรงุ เทพฯ. ทะนุพงศ์ กสุ ุมา ณ อยุธยา. 2557. “ปลกู หนอ่ ไมฝ้ รง่ั ท�ำเงิน สรา้ งรายได้ ทหี่ ล่มสกั เพชรบูรณ์”. เทคโนโลยชี าวบ้าน. แหลง่ ทม่ี าwww.technologychaoban.com/news_detial.php?tnid=1219. 21 มนี าคม 2559. วรนัธ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา และวรรณา สน่ันพานิชกุล. 2556. “หน่อไม้ฝร่ังไทยกระจายไกลท่ัวโลกด้วยวิธีการเพาะเล้ียง เน้อื เย่อื ”.เทคโนโลยีชาวบา้ น. แหล่งที่มา : www.technologychaoban.com/news_detial.php?tnid=413. 21มนี าคม 2559. ส�ำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2557. “สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสนิ คา้ ปี 2557”. เอกสารสถิติการเกษตร เลขที่ 401. แหล่งทม่ี า : www.oae.go.th. 22 มีนาคม 2559. สำ� นกั งานคณะกรรมการออ้ ยและน้�ำตาล. 2556. “สรปุ สถานการณพ์ นื้ ท่ปี ลกู อ้อย ปกี ารผลติ 2557/58” รายงานพื้นทป่ี ลกู อ้อยปกี ารผลติ 2555/56. แหลง่ ที่มา : http://www.ocsb.go.th/upload/journal/fileupload/923-9810.pdf. 21 มนี าคม 2559. Pearson Education. “Basic Plant Structure” แหล่งท่ีมา : http://www.schenectady.k12.ny.us/putman/biology/data/plants/basic.html. 21 มนี าคม 2559. TNAU Agritech Portal. 2557. “Bio Technology”. Tissue Culture An Introduction. แหลง่ ทีม่ า : http://agritech.tnau.ac.in/bio-tech/biotech_tc_notes.html. 22 มีนาคม 2559. เทศบาลต�ำบลบ้านไร.่ 2550. “ขอ้ มลู สนิ คา้ ในชมุ ชน”. แหลง่ ท่มี า : http://banraidumnoen.go.th/default.php?modules=otopv2&ndata=item&gid=1&gi id=1&iid=1&detail=1. 22 มนี าคม 2559. บริษัท เอกสุพรรณ เอ็นเตอร์ไพรส์ คอร์ปอเรชัน่  จำ� กดั . 2553. Wพันธ์ุกลว้ ยที่ปลกู เป็นการคา้ ” แหลง่ ทม่ี า : http://www.akesuphan.com/web/product. 22 มนี าคม 2559. สำ� นักขา่ วไทย. 2557. “ประจวบฯ แล้งหนัก ราคาสับปะรดพุ่งสูงรอบ 40 ป”ี . แหล่งที่มา : http://www.mcot.net/site/content?id=532fe154be04702cc88b4599#.VvSlv3o1bfY. 22 มนี าคม 2559. นานาการเ์ ดน้ . 2557. “หมอ้ ข้าวหม้อแกงลิง”. แหล่งทมี่ า : http://www.nanagarden.com/product/141081. 22 มีนาคม 2559. ปัน ปราย. 2552. “กล้วยไมท้ บี่ า้ น”. แหลง่ ทม่ี า : http://pun-prai.exteen.com/20090417/entry/page/2. 22 มีนาคม 2559. สมชาติ  ปรกึ ไธสง. 2553. “กล้วยไม”้ . แหลง่ ท่ีมา : http://krusomchart05.blogspot.com/2010/10/blog-post_10.html. 22 มีนาคม 2559. ไมป่ รากฏช่อื . 2556. “ดอกหนา้ ววั ”.แหล่งท่ีมา : http://www.the-than.com/. 22 มีนาคม 2559. เมรยั เมร.ี 2556 “อนูเบยี ส”. แหล่งที่มา : http://m.pantip.com/topic/30392339. 22 มนี าคม 2559. ไม่ปรากฏชอื่ . ม.ปป. “อเมซอนใบมน”. แหลง่ ทีม่ า : http://www.laddagardenshop.com. 22 มีนาคม 2559. กรมสง่ เสริมการเกษตร

เอกสารคำ� แนะน�ำท่ี 4/2559 การเพาะเลี้ยงเนอื้ เยือ่ ที่ปรึกษา นายโอฬาร พิทกั ษ ์ อธิบดกี รมส่งเสริมการเกษตร นายสงกรานต์ ภักดคี ง รองอธบิ ดกี รมสง่ เสริมการเกษตร ฝ่ายบริหาร นายคนติ ลิขติ วิทยาวฒุ ิ รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝ่ายวิชาการ นายสุดสาคร ภัทรกลุ นิษฐ์ รองอธิบดกี รมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายสง่ เสริมและฝกึ อบรม นางอัญชลี สวุ จติ ตานนท์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี นายประสงค์ ประไพตระกลู ผูอ้ �ำนวยการกองสง่ เสริมการอารกั ขาพชื และจัดการดนิ ปยุ๋ เรยี บเรยี ง นางสาวแสนสุข รตั นผล ผ้อู �ำนวยการกลมุ่ สง่ เสริมพันธพุ์ ชื ปลอดโรค นางสาวขนิษฐา พงษป์ รชี า นักวชิ าการเกษตรชำ� นาญการพเิ ศษ นางณฐั ทิยา อชติ กุล นกั วชิ าการเกษตรชำ� นาญการ นางเสาวนีย์ สาโรจน์ นกั วิชาการเกษตรช�ำนาญการ นายบดีศร พุ่มรุ่งเรือง นกั วิชาการเกษตรปฏบิ ตั กิ าร นายสรุ เชษฐ์ ชมเงนิ นกั วชิ าการเกษตร นายวิทยา ดอี ินทร์ ผชู้ ว่ ยวจิ ยั นางสาวสธุ ินี วงศว์ ัฒน์เกษม ผชู้ ่วยวิจัย นายพรมศริ ิ นิลเนยี ม ผู้ชว่ ยวจิ ัย นางสาวภทั ราพร กรัดเพชร นักศึกษาฝกึ งาน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั นางสาวอรพรรณ รงุ่ รตั น์รติสกลุ นักศึกษาฝึกงาน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง นายศภุ ฤกษ์ วุฒิวกิ ัยการ นกั ศกึ ษาฝึกงาน มหาวิทยาลัยศลิ ปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี กลุ่มสง่ เสริมพนั ธพ์ุ ืชปลอดโรค กองสง่ เสรมิ การอารักขาพชื และจดั การดินป๋ยุ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร จัดท�ำ นางอมรทพิ ย์ ภิรมย์บูรณ์ ผอู้ ำ� นวยการกลุ่มพัฒนาสือ่ ส่งเสริมการเกษตร นางสาวอ�ำไพพงษ์ เกาะเทียน นักวิชาการเผยแพรช่ �ำนาญการ กลุ่มพฒั นาส่ือสง่ เสริมการเกษตร ส�ำนกั พฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมสง่ เสริมการเกษตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook