Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กล้วยไม้ป่า ในผืนป่าตะวันออก

กล้วยไม้ป่า ในผืนป่าตะวันออก

Description: กล้วยไม้ป่า ในผืนป่าตะวันออก

Search

Read the Text Version

ภาพ : วทิ ยา อนุ่ เรือน เออ้ื งเทียนไทย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Coelogyne quadratiloba Gagnep. ช่อื พ้อง Coelogyne thailandica Seidenf. ลักษณะ ลำลูกกล้วยสีเขียวอ่อน รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 5-8 ซม. ใบม ี 2 ใบ รปู ใบหอก กวา้ ง 3-5 ซม. ยาว 20-25 ซม. ปลายแหลม แผน่ ใบหนามเี สน้ ใบ ตามยาว 3 เสน้ ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะ ออกทฐี่ านลำลกู กล้วย กา้ นชอ่ ดอกยาว 3-4 ซม. โคนก้านชอ่ มกี าบซอ้ นทบั กนั แต่ละชอ่ มี 2-5 ดอก กลีบเลย้ี งและกลีบ ดอกด้านข้างสีครีม กลีบเลี้ยงทั้ง 3 กลีบรูปใบหอก กว้างประมาณ 8 มม. ยาวประมาณ 2 ซม. กลบี ดอกด้านข้างรปู แถบกวา้ งประมาณ 1.5 มม. ยาวเทา่ ๆ กับกลีบเลี้ยงหรือส้ันกว่าเล็กน้อย แผ่กางออกปลายชี้ข้ึน กลีบปากสีขาว ยาวประมาณ 1.7 ซม. มี 3 แฉก บริเวณคอกลบี ปากและขอบหูกลบี ปากมแี ถบ สีน้ำตาล แถบตรงคอกลีบปากมีลักษณะเป็นรูปตัววาย บริเวณกลางกลีบมีสัน ตามยาวชดั เจน 3 สัน เส้าเกสรสเี หลอื ง ช่วงออกดอก มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย เจริญได้บนหิน พบในป่าดิบเขาตามที่โล่งแจ้ง แสงรำไร เขตการกระจายพนั ธ์ุ กล้วยไม้ถ่นิ เดียวท่พี บเฉพาะในประเทศไทย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 44 พชื อนุรกั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

เอื้องหมาก ช่อื วิทยาศาสตร์ Coelogyne trinervis Lindl. ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปไข่ขึ้นชิดกันเป็นกอแน่น ขนาด กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. ใบมี 2 ใบ รปู หอก กวา้ ง 2-4.5 ซม. ยาว 25-30 ซม. ปลายแหลม ช่อดอกแบบ กระจะเกิดท่ียอดจากลำใหม่ ช่อดอก ยาว 15-20 ซม. ดอกในช่อ 4-6 ดอก ดอกขนาด 3 ซม. กลีบเลี้ยงและ กลีบดอกสีครีม กลีบเลี้ยงรูปหอก กลีบดอกรูปแถบ ขอบกลีบปากด้านใน และปลายกลีบปากสีน้ำตาลเข้ม กลางกลบี มสี ัน 3 สัน ดอกมกี ลิ่นหอม ชว่ งออกดอก กันยายน - พฤศจิกายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัยหรือกล้วยไม้เจริญบนหิน พบในป่าดิบเขาตามท่ี โล่งแจง้ แสงแดดจดั เขตการกระจายพันธ์ุ พม่า ไทย ลาว กัมพชู า เวียดนาม มาเลเซยี อนิ โดนเี ซีย สถานภาพ พชื อนุรกั ษบ์ ัญชที ่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1 45

เอ้อื งเทียนใบแคบ เอ้อื งเทยี นสามดอก ชอื่ วิทยาศาสตร์ Coelogyne viscosa Rchb. f. ช่อื พ้อง Coelogyne graminifolia C. S. P. Parish & Rchb. f. ลกั ษณะ หัวรปู รี ขนาด 4-5 x 1.5-2.5 ซม. เรยี ง ตัวชิดกันเป็นกลุ่ม ผิวแห้ง สเี ขียวอมเหลือง มสี ัน มนตามยาว ใบเป็นแถบยาวคล้ายใบหญ้า ขนาด 20-40 x 1-1.5 ซม. แผน่ ใบคอ่ นขา้ งบาง แตเ่ หนยี ว ช่อดอกเกิดที่ยอดใหม่ทางด้านข้างของโคนหัวเก่า ดอกในช่อน้อย บานคร้ังละ 1-2 ดอก ขนาด ประมาณ 3 ซม. ช่วงออกดอก พฤศจกิ ายน - มกราคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัยและเจริญได้บน หิน พบในป่าดิบเขาท้ังในที่โล่งแจ้งแสงแดดจัด และท่ีร่มรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ อินเดีย จีน พม่า ไทย เวียดนาม สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ัญชีท่ี 2 ของอนุสญั ญา ไซเตส 46 พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

กะเรกะรอ่ น เออื้ งดา้ มขา้ ว เออ้ื งหางไหล กลว้ ยหางไหล เออื้ งปากเปด็ ช่ือวิทยาศาสตร์ Cymbidium aloifolium (L.) Sw. ลักษณะ ลำตน้ เปน็ หวั รปู รี มหี ลายขอ้ และขน้ึ ชิดกนั เป็น กอ ใบรปู แถบ ขนาด 3 x 60 ซม. หนาและแขง็ ปลายใบเวา้ ใบมีอายุหลายฤดูก่อนหลุดร่วง ช่อดอกยาว มี 1-2 ช่อ ห้อยลง ก้านช่อส้ันกว่าแกนช่อ ดอกขนาด 2.5 ซม. กลบี เลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ กลีบดอกแคบและส้นั กวา่ กลีบเล้ียง ทั้งห้ากลีบสีม่วงแดง ขอบกลีบสีครีมหรือขาว ปลายมน กลีบปากรูปรีกว้าง สีม่วงแดง มีแฉกข้างรูป สามเหล่ียมตั้งชัน ปลายกลีบมน เมื่อบานเต็มที่ปลายกลีบม้วนลง กลางกลีบมี สนั สีเหลือง 2 สัน เรียงขนานกัน เส้าเกสรสมี ว่ ง ฝาครอบกลุ่มเรณูสีเหลอื ง ชว่ งออกดอก มนี าคม - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบทั้งป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ หรือตามที่โล่ง แจ้งแสงแดดจัด พบได้ทุกภูมภิ าคของไทย เขตการกระจายพันธ์ุ พบเปน็ พ้ืนทก่ี วา้ งในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้ สถานภาพ พืชอนุรักษ์บญั ชที ่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 47

กะเรกะรอ่ นดา้ มข้าว ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Cymbidium bicolor Lindl. ลกั ษณะ กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปขอบขนาน แบน กวา้ ง 3 ซม. ยาว 8 ซม. มีกาบใบหุ้ม แต่ละลำมใี บ 4-5 ใบ ใบรปู ขอบขนาน กวา้ ง 1-1.7 ซม. ยาว 35-50 ซม. ใบหนาและแข็ง ปลายใบมน ช่อดอกแบบกระจะ หอ้ ยลง ช่อดอกยาว 30-60 ซม. ดอกในชอ่ 20-50 ดอก ดอกขนาด 3 ซม. ทงั้ กลบี เลยี้ ง กลบี ดอก และกลีบปาก สีแดง ขอบกลบี สเี หลอื ง กลางกลีบปากสเี หลือง ช่วงออกดอก เมษายน - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าเต็งรัง ปา่ เบญจพรรณ ท่วั ทุกภูมิภาคของไทย เขตการกระจายพันธ์ุ พบเป็นพื้นท่ีกว้างในภูมิภาค เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ สถานภาพ พืชอนุรักษ์บญั ชีที่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 48 พชื อนุรกั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

กะเรกะร่อนเขา กะเรกะรอ่ นปากแดง ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Cymbidium dayanum Rchb. f. ลักษณะ ลำลกู กลว้ ยขนาดเลก็ ขน้ึ ชดิ กนั เปน็ กอ ใบรปู แถบ ขนาด 2 x 40 ซม. ปลายแหลม ใบมีอายุหลายฤดู ก่อนหลุดร่วง ช่อดอกมีเพียงช่อเดียวและห้อยย้อยลง ก้านช่อส้ันกว่าแกนช่อ ดอกขนาด 2.5 ซม. กลีบเลี้ยง และกลีบดอกทัง้ ห้ากลบี รูปแถบ สีขาว กลางกลีบมีแถบ สแี ดง ปลายแหลม กลบี ปากรปู รี สีม่วงแดง กลางกลีบ สีเหลือง มีหูปากรูปสามเหล่ียมตั้งชัน ปลายกลีบมน เมื่อบานเตม็ ที่จะม้วนลงทางดา้ นลา่ ง เส้าเกสรสมี ่วงแดง เรยี วยาว กลุม่ เรณูรูปทรงกลม สีเหลอื ง ชว่ งออกดอก กรกฎาคม - ตุลาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบเขาและ ป่าดิบแล้ง ตามท่ีร่มแสงแดดรำไรถึงค่อนข้างมืดคร้ึม บางครั้งเจริญบนขอนไม้ผุริมน้ำตกหรือตามโขดหินข้าง ลำธาร เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า เวียดนาม ลาว กัมพูชา จีน ไต้หวัน มาเลเซีย บอร์เนียว ฟิลิปปินส์ ญ่ปี นุ่ สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1 49

กะเรกะรอ่ นปากเป็ด กะเรกะรอ่ นดอย ช่อื วิทยาศาสตร์ Cymbidium finlaysonianum Lindl. ลกั ษณะ ลำลกู กลว้ ยขนาดใหญ่ ขนึ้ ชดิ กนั เปน็ กอ ใบรปู แถบ ขนาด 3.5 x 45 ซม. ปลายใบเว้าบุ๋ม ช่อดอกยาวและห้อยลง ดอกขนาด 3.5 ซม. กลีบเล้ียงและ กลีบดอกรูปแถบ ปลายแหลม ท้ังห้ากลีบสีเหลืองหม่น ปลายสีม่วงแดง กลบี ปากรปู ไขแ่ กมรปู รี ปลายมน กลบี สแี ดง ขอบกลบี สเี หลอื งซดี เมอ่ื บานเตม็ ท่ี จะมว้ นลงดา้ นลา่ ง กลบี มหี ปู ากรปู สามเหลย่ี มตงั้ ชนั แผน่ ปากมสี นั สเี หลอื ง 2 สนั เส้าเกสรสีม่วงแดง กลมุ่ เรณูสีเหลอื ง ชว่ งออกดอก มนี าคม - มิถนุ ายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศัยขนาดใหญ่ พบในป่าดบิ แลง้ ป่าดบิ ชื้น โดยอาศยั บนไม้ต้นขนาดใหญ่ เขตการกระจายพนั ธุ์ ไทย กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนเี ซีย ฟิลปิ ปินส์ สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 50 พืชอนรุ ักษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

ภาพ : สมราน สุดด ี กลว้ ยไมม้ อื นาง ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium acerosum Lindl. ลักษณะ ลำต้นผอม ยาว 15-25 ซม. ข้ึนชิดกันเป็นกอ ใบรปู ทรงกระบอก ขนาด 0.3-0.5 x 3-5 ซม. ปลายแหลม และโค้งงอ ดอกเดี่ยว ออกท่ีข้อส่วนปลายของลำต้น มักจะบานพร้อมกันทั้งกอ ดอกขนาด 0.7-1 ซม. กา้ นดอกสน้ั กลบี เลย้ี งบนรปู ไข่ กลบี เลย้ี งคขู่ า้ งรปู สามเหลยี่ ม และเชอื่ มจนเปน็ คางดอกขนาดใหญม่ าก กลบี ดอกรปู ขอบ ขนาน กลบี ปากรปู ลม่ิ เสา้ เกสรสน้ั ดอกมกี ลน่ิ หอมแรง ช่วงออกดอก เมษายน - มิถุนายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในป่าดงดบิ ปา่ เบญจพรรณ และปา่ เตง็ รัง ในท่โี ลง่ แจง้ แสงแดดจดั บางครง้ั พบเจรญิ บนหิน เขตการกระจายพันธุ์ ไทย พม่า มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย สิงคโปร ์ สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บัญชที ี่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส พชื อนรุ กั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผืนป่าตะวันออก ตอนที่ 1 51

เอ้ืองล่องแลง่ เออ้ื งงวงชา้ ง เอื้องสายไม้ เออ้ื งยอ้ ยไม้ เออ้ื งไข่เนา่ มอกคำเครือ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium aphyllum (Roxb.) C. E. C. Fisch. ลักษณะ ลำลูกกล้วยเรียวยาวและห้อยลง ใบรูปใบหอก แกมรูปไข่ ขนาด 3 x 6 ซม. ปลายแหลม ช่อดอก สั้นมาก มี 2-3 ดอก ดอกขนาด 4 ซม. กลีบเลีย้ งรปู แถบ กลบี ดอกรปู ใบหอก สีขาว ปลายแหลม กลีบปากรูปทรง เกือบกลม สีม่วงซีด แผ่นกลีบเป็นขนละเอียด โคนกลีบ มีลายสเี ขม้ กลบี ม้วนเข้าจนหุม้ เสา้ เกสรทีอ่ ว้ นและส้นั ช่วงออกดอก มนี าคม - เมษายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังผสมสน ตามท่ีโล่งแจ้ง แสงแดดจัด พบได้ทกุ ภมู ิภาคของไทย เขตการกระจายพันธ์ุ พบเป็นพ้ืนท่ีกว้างในภูมิภาค เอเชียใต้ สถานภาพ พืชอนุรักษบ์ ัญชที ่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 52 พชื อนุรักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

ภาพ : ภทั ธรวีร์ พรมนสั เอือ้ งสายน้ำเขยี ว ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium crepidatum Lindl. & Paxton ลักษณะ ลำตน้ รปู ทรงกระบอก สเี ขยี ว ยาว 15-30 ซม. เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 7-10 ซม. มีเย่ือกาบใบบางๆ คลุม ขึ้นเป็นกลุ่มทอดเอนหรือห้อยลง ใบยาวรี ขนาด 5-8 x 1.5 ซม. แผน่ ใบบางและอ่อน รว่ งไปเมอื่ ต้นแก่ ดอก ช่อดอกเกดิ ตามขอ้ ช่อละ 1-2 ดอก ขนาดดอก 2-2.5 ซม. กลีบดอกสีขาวปลายกลีบสีม่วง กลางกลีบปากสีเหลือง ขอบกลีบปากมีขนนุ่มละเอียด กลีบดอกไม่กาง ดอกมี กลน่ิ หอมอ่อนๆ ชว่ งออกดอก กมุ ภาพนั ธ์ - เมษายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดบิ แลง้ เขตการกระจายพนั ธ์ุ เนปาล อินเดยี สกิ ขิม ภูฏาน จีน ไทย ลาว เวียดนาม สถานภาพ พืชอนรุ กั ษ์บัญชีที่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนุรักษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวันออก ตอนที่ 1 53

เอือ้ งสายนำ้ นม เอือ้ งสายดอกขาว ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Dendrobium polyanthum Wall. ex Lindl. ชื่อพ้อง Dendrobium cretaceum Lindl. ลกั ษณะ ลำต้น ลักษณะเป็นลำลูกกล้วย เป็นเส้นกลม ยาวประมาณ 20-30 ซม. ดอก เป็นดอกเด่ียวพบตามขอ้ ดอกประมาณ 3.5 ซม. กลีบดอกสีขาวครีม กลีบปาก รปู ทรงเกอื บกลม แผน่ กลบี ไม่เรียบ โคนกลบี หอ่ จนคลา้ ย กรวย สีออกเหลืองและมีเส้นสีแดงเลือดนก ราก ระบบ รากเป็นแบบกง่ึ อากาศ (semi-epiphytic) ช่วงออกดอก พฤษภาคม – กรกฎาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ ิงอาศยั พบในป่าดบิ เขตการกระจายพันธ์ุ ไทย อนิ เดีย พม่า สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บญั ชีท่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 54 พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

พชื อนรุ ักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 55

หวายตะมอย ภาพ : เดชา ววิ ัฒน์วิทยา เอื้องมะลิ แสพ้ ระอนิ ทร์ บวบกลางหาว นกกระยาง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium crumenatum Sw. ลักษณะ ลำตน้ ผอมและเรยี วยาว โคนลำเปน็ กระเปาะรปู ทรงกลม ใบรปู ขอบขนาน ขนาด 2 x 5 ซม. ปลายมน ดอกเด่ียว หรือดอกเป็นช่อออกท่ีข้อส่วน ปลายลำ ดอกขนาด 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปรี กลีบเลี้ยงคู่ข้างรูป สามเหล่ยี มฐานเบีย้ ว ทัง้ ห้ากลีบสขี าว ปลายแหลม กลีบปากรูปรีแกมรปู ไข่กลับ มีหปู ากต้งั ชัน ปลายมนจนถึงปลายตัด แผ่นกลบี มีสนั 5 สัน กลีบสีขาวสด กลาง กลบี สเี หลือง ช่วงออกดอก มีนาคม - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กล้วยไมอ้ งิ อาศยั พบในป่าผลดั ใบ ตามท่โี ลง่ แจง้ แสงแดดรำไร เขตการกระจายพนั ธ์ุ พบเป็นพน้ื ท่กี ว้างในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 56 พืชอนุรกั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

เออ้ื งสายสี่ดอก เทียนทอง เทียนพญาอินทร์ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium cumulatum Lindl. ลกั ษณะ ลำลกู กลว้ ยเปน็ สายยาว ใบรปู รแี กมรปู ขอบขนาน ช่อดอกแบบกระจะ มี 2-5 ดอก ดอกสีชมพูอมม่วง กว้าง 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปไข่กลับ กลีบปากสขี าวครีม ฝาครอบอับเรณูสเี หลือง ช่วงออกดอก พฤษภาคม - มถิ นุ ายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไม้อิงอาศัย พบในป่าดบิ เขตการกระจายพันธ์ุ อินเดยี เนปาล ภูฏาน สิกขิม ไทย กมั พชู า พม่า ลาว เวยี ดนาม บอร์เนียว สถานภาพ พืชอนุรักษบ์ ัญชีท่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พืชอนรุ กั ษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1 57

เอ้ืองทอง ช่ือวิทยาศาสตร์ Dendrobium ellipsophyllum Tang & F. T. Wang ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกระบอกค่อนข้างยาว ข้ึนชิด กนั เป็นกอ ใบรปู ขอบขนาน ขนาด 2 x 4.5 ซม. ปลายเว้า โคนใบเป็นกาบ ใบมีอายุหลายฤดูก่อนหลุดร่วง ดอกเดี่ยว ออกท่ีข้อ ดอกขนาด 1.5 ซม. กลบี เลีย้ งบนรูปขอบขนาน แกมรูปไข่ กลีบเลี้ยงคู่ข้างรูปสามเหลี่ยมฐานเบี้ยว กลบี ดอกรูปขอบขนาน ทั้งห้ากลีบสีขาว ปลายกลีบแหลม กลีบปากรูปพัด มีหูปากเป็นติ่งรูปสามเหล่ียมขนาดเล็ก แผ่นกลีบมีขนาดใหญ่ ปลายเว้าต้ืน กลีบสีเหลืองหม่น กลางกลีบมีสันสีเขียวเข้ม 3 สัน ขอบกลีบลู่ลงเมื่อ บานเต็มท่ี เสา้ เกสรส้ัน สีขาว ช่วงออกดอก มิถุนายน - ตลุ าคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้ง ท้ังในท่ี โล่งแจง้ แสงแดดจดั ถงึ แสงแดดรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ พม่า จีน ไทย ลาว กัมพูชา เวยี ดนาม สถานภาพ พชื อนรุ ักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 58 พืชอนุรกั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เอื้องแววมยรุ า เออ้ื งคำตาดำ ช่อื วิทยาศาสตร์ Dendrobium fimbriatum Hook. ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยเรียวยาวและทอดเอียง ใบรูปขอบ ขนานจนถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ขนาด 2.5 x 7 ซม. ปลายแหลม ใบแก่สีเขียวแกมม่วง ช่อดอกห้อยลง ดอก ขนาด 3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรีจนถึงรูปรีแกมรูปไข่ กลีบดอก รปู รกี วา้ งจนเกอื บกลม ทง้ั หา้ กลบี สเี หลอื งเขม้ ปลายกลบี มน กลีบปากรูปรกี วา้ งจนเกือบกลม สีเหลอื งเขม้ โคนกลีบสีม่วง คล้ำ แผ่นกลีบเป็นขนกำมะหย่ี ขอบกลีบหยักเป็นครุย เส้าเกสรสนั้ สเี หลือง ช่วงออกดอก มนี าคม - พฤษภาคม ช่วงออกดอกมีท้ังทีท่ ง้ิ ใบและไมท่ ิง้ ใบ สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ตามท่ีโล่ง แจง้ แสงแดดจัด เขตการกระจายพันธ์ุ ภูฏาน เนปาล อินเดีย สิกขิม พม่า จีน ไทย ลาว เวยี ดนาม ฮ่องกง มาเลเซยี สถานภาพ พชื อนรุ ักษ์บัญชที ่ี 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พชื อนุรักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1 59

เหลืองจันทบรู เอื้องนกขมน้ิ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium friedericksianum Rchb. f. ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยเรียวยาวโคนสอบ ยาว 40-70 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ผิวแห้ง เป็นสันและร่อง ตามยาว ใบรูปใบหอก กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 8-10 ซม. แผ่นใบค่อนข้างบาง แต่เหนียว เรียงสลับเกือบตลอดต้น ชอ่ ดอกเกิดใกล้ปลายยอด ช่อละ 3-6 ดอก ก้านดอกยาว 5-6 ซม. ดอกขนาด 3.5-4 ซม. ผวิ กลบี มนั เลก็ นอ้ ย มี 2 พนั ธุ์ คือ พันธ์ุที่มีดอกเหลืองล้วน และพันธ์ุที่มีแต้มสีม่วงแดง สองแต้มบรเิ วณโคนกลีบปาก ดอกบานทน 3-4 สัปดาห์ ชว่ งออกดอก กมุ ภาพนั ธ์ - พฤษภาคม บางครง้ั ทง้ิ ใบในชว่ ง มดี อก สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบท่ีโล่งแจ้ง แสงแดดจดั ถงึ ร่มรำไร เขตการกระจายพนั ธ์ุ กลว้ ยไม้ถิ่นเดียวทพ่ี บเฉพาะในประเทศไทย สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส เป็นกล้วยไม้ถูกรุกราน และมีแนวโนม้ ใกล้สญู พนั ธ์ใุ นธรรมชาต ิ 6 0 พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

พชื อนรุ ักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 61

เอื้องดอกมะเขอื ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium hercoglossum Rchb. f. ลักษณะ ลำลูกกล้วยเรียวยาว ใบรูปแถบแกมรูปใบหอก ขนาด 1.5 x 7 ซม. ปลายแหลม ชอ่ ดอกคอ่ นขา้ งสน้ั มี 3-5 ดอก ดอกขนาด 1.5 ซม. กลบี เล้ียงและ กลีบดอกรูปใบหอกแกมรูปไข่ ปลายกลีบแหลม มีทั้งสีชมพูอมม่วง และสีขาว กลีบปากเป็นอุ้งต้ืนๆ ภายในอุ้งเป็นขน ปลายกลีบแหลม เส้าเกสรสีขาว ฝาครอบกลมุ่ เรณสู ีมว่ งเขม้ ชว่ งออกดอก เมษายน - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศัย พบในป่าไม่ผลัดใบ เขตการกระจายพนั ธุ์ จนี ไทย ลาว เวียดนาม กมั พชู า สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บัญชีที่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 62 พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เอื้องสตี าล เออื้ งสจี ุน เออ้ื งแซะดง ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Dendrobium heterocarpum Wall. ex Lindl. ลกั ษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู ทรงกระบอก มที ง้ั สน้ั และยาว ขนึ้ ชดิ กนั เปน็ กอ ใบรปู ใบหอก ขนาด 2.5 x 7 ซม. ปลายแหลม ชอ่ ดอกสน้ั มาก มกั มมี ากกว่า 1 ช่อ แต่ละช่อมี 1-3 ดอก ดอกขนาด 4 ซม. กลบี เลี้ยงและกลีบดอกรปู ใบหอกแกม รูปไข่ ปลายแหลม ท้ังห้ากลีบสีเหลืองแกมน้ำตาล กลีบปากรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ด้านบนของกลีบมีขน กำมะหยี่ปกคลุม กลีบสีน้ำตาลอ่อนแกมสีเหลือง กลางกลบี มีสีเข้ม เสา้ เกสรสน้ั ช่วงออกดอก พฤศจกิ ายน - กุมภาพนั ธ์ ช่วงออกดอกทิง้ ใบ สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบเขา ตามท่ีโล่งแจ้งแสงแดดจัด ที่ความสงู 600-1,600 เมตร จากระดับนำ้ ทะเล เขตการกระจายพนั ธ์ุ เนปาล (สกิ ขิม) อินเดยี ภูฏาน ศรีลงั กา จนี พมา่ ไทย ลาว เวยี ดนาม มาเลเซยี อนิ โดนีเซีย ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สถานภาพ พืชอนุรกั ษ์บญั ชที ่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส หายากในพ้ืนท่ี พชื อนุรกั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 63

หางเปีย เออ้ื งแผงก้างปลา ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium keithii Ridl. ลกั ษณะ ลำตน้ เลก็ และแบน ยาว 20-40 ซม. ขน้ึ เปน็ กอและหอ้ ยลง ใบแบนรปู มดี เรยี งแนน่ ขนาด 0.8 x 3 ซม. ปลายแหลม ดอกเดยี่ วออกตามขอ้ ขนาด 0.8-1 ซม. สีเหลืองจนถึงเหลืองอมน้ำตาล ก้านช่อดอกส้ัน กลีบเลี้ยงบนรูปไข่ กลีบเลี้ยงคู่ ข้างรปู สามเหล่ยี มฐานกวา้ ง มีจดุ สีน้ำตาลแดง กลบี ดอกรปู ไข่แกมรูปรี กลีบปาก รูปล่ิม ปลายหยักและย้วย ขอบกลีบปากมีเส้นสีน้ำตาลแดง เส้าเกสรสั้นและมี คางดอก ช่วงออกดอก มกราคม - กุมภาพันธ์ สภาพนเิ วศ กล้วยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดิบเขาตามทร่ี ม่ แสงแดดรำไรใกลล้ ำธาร เขตการกระจายพนั ธ์ุ กล้วยไม้ถ่ินเดยี วทพ่ี บเฉพาะในประเทศไทย สถานภาพ พืชอนรุ กั ษบ์ ัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส 64 พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

เออ้ื งตะขาบใหญ ่ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Dendrobium leonis (Lindl.) Rchb. f. ลกั ษณะ ลำต้นยาวได้ถึง 25 ซม. ใบ เรยี งสลับซ้ายและขวา ระนาบเดียว ด้านข้างแบน ดอก สเี หลืองออ่ น มักออกเดย่ี ว ใกล้ปลายยอด บานเต็มท่ีกว้างประมาณ 1 ซม. กลีบเล้ียง รูปไข่กว้าง กลีบดอกรูปไข่ ขนาดเล็กกว่ามาก กลีบปากรูป ไข่กลับ ปลายกลบี แผ่โค้งลง ช่วงออกดอก ออกดอกเกือบตลอดป ี สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในป่าดบิ ป่าเบญจพรรณ เขตการกระจายพันธ์ุ ไทย มาเลเซีย ลาว กัมพูชา เวียดนาม สมุ าตรา บอร์เนยี ว สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บัญชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนุรักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 65

เออื้ งผง้ึ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Dendrobium lindleyi Steud. ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยรูปรี อ้วนส้ันและข้ึนชิดเป็นกอ ปลาย ลำมี 1 ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนานจนถึงรูปทรงเกือบกลม ขนาด 3 x 6 ซม. ปลายใบเว้า แผ่นใบหนาและแขง็ ใบมีอายุ หลายฤดู ชอ่ ดอกมี 1-2 ช่อ หอ้ ยลง ก้านชอ่ ส้นั กว่าแกนช่อ ดอก ดอกสเี หลอื งเขม้ ขนาด 2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรีแกมรูปไข่ กลีบดอกรูปทรงเกือบกลม ปลายกลีบมน กลีบปากรูปทรง เกือบกลม โคนกลีบสีเข้ม เส้าเกสรอ้วนสั้น มีฝาครอบกลุ่ม เรณรู ปู กลม ชว่ งออกดอก มีนาคม - กรกฎาคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ เตง็ รงั ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดิบแล้ง และปา่ ดบิ เขา ตามท่ีโลง่ แจง้ แสงแดดจัด เขตการกระจายพนั ธุ์ สิกขมิ ภฏู าน อนิ เดีย จนี พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กมั พูชา สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 66 พืชอนุรกั ษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

เออ้ื งหางปลา ชื่อวิทยาศาสตร์ Dendrobium mannii Ridl. ลกั ษณะ ลำตน้ เล็กและแบน ยาว 20-40 ซม. ใบรูปมดี แบน และหนา ยาวประมาณ 2 ซม. กวา้ งประมาณ 0.8 ซม. เรยี งสลบั ดอกเป็นช่อ เกิดบริเวณข้อใกล้ปลายลำ กลีบดอกสีเหลือง อมเขยี วออ่ น กลบี ปากรปู ลมิ่ ปลายเวา้ เลก็ นอ้ ย มแี ตม้ สเี หลอื ง ราก ระบบรากเปน็ แบบรากกงึ่ อากาศ (semi-epiphytic) ช่วงออกดอก มกราคม - กุมภาพันธ์ สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้องิ อาศยั พบในปา่ ดิบแล้ง ทงั้ ท่รี ม่ รำไร จนถึงท่ีโลง่ แจง้ แสงแดดจัด เขตการกระจายพนั ธ์ุ อนิ เดยี ไทย เวียดนาม มาเลเซีย สถานภาพ พชื อนุรักษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พชื อนรุ ักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนป่าตะวันออก ตอนท่ี 1 67

ข้าวตอกปราจนี ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Dendrobium oligophyllum Gagnep. ลกั ษณะ ลำต้น ลักษณะเป็นลำลูกกล้วย เป็นแท่งสีเขียว สูงประมาณ 2-4 ซม. ใบบางประมาณ 3-4 ซม. ดอกเป็นช่อ กา้ นชอ่ ดอกยาวประมาณ 1 ซม. แต่ละ ช่อมีประมาณ 1-2 ดอก กลีบดอกสีขาว ลักษณะโค้งปลายแหลม ปากสีเขียว ปลายปากลกั ษณะมน ราก ระบบรากเป็นแบบรากกง่ึ อากาศ (semi-epiphytic) ดอกมีกลิ่นหอม ชว่ งออกดอก ออกดอกทั้งปี แตอ่ อกมากในช่วงปลายฤดูฝน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบเขาตามพุ่มไม้ ท่ีมีแสงรำไรจนถึง คอ่ นขา้ งมืดครมึ้ เขตการกระจายพนั ธุ์ ไทย เวียดนาม สถานภาพ พืชอนรุ กั ษ์บญั ชที ี่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 68 พชื อนุรักษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

เอ้อื งน้อย ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ 69 Dendrobium pachyphyllum (Kuntze) Bakh. f. ลกั ษณะ ลำตน้ ลักษณะเป็นลำลูกกล้วย ขนาดเล็ก สว่ นบน โป่งพองเป็นเหลี่ยม สูงประมาณ 3-6 ซม. ใบรูปไข่ พบ บรเิ วณส่วนยอดของลำตน้ แต่ละลำมเี พยี ง 2 ใบ อวบหนา และแข็ง ขนาดประมาณ 2-7.5 มม. ดอกเป็นดอกเด่ียว บางครั้งมีสองดอก พบบริเวณส่วนยอด กลีบดอกสีครีม บริเวณปลายปากสีเขยี ว หรือ สีเหลอื ง ขนาดดอกประมาณ 1 ซม. มีกลิ่นหอม ราก ระบบรากเป็นแบบรากกึ่งอากาศ (semi-epiphytic) ชว่ งออกดอก มถิ ุนายน - ตลุ าคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไม้อิงอาศัย พบในป่าดบิ เขตการกระจายพันธุ์ ชวา สุมาตรา บอร์เนียว ไทย สถานภาพ พืชอนุรักษ์บญั ชีที่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พชื อนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

เออื้ งมัจฉา ชื่อวิทยาศาสตร์ Dendrobium palpebrae Lindl. ลกั ษณะ ลำต้นเป็นลำสี่เหลี่ยมโคนเรียวกลมคล้าย ก้าน ปลายสอบ สูง 15-20 ซม. กว้าง 1-1.5 ซม. ผิวเรียบเป็นมันเล็กน้อย ใบเกิดใกล้ยอด มี 3-5 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปรีขนาด 10-15 x 2-2.5 ซม. แผน่ ใบคอ่ นขา้ งหนาและเหนยี วคลา้ ยหนงั ผวิ ใบมนั ดอก ช่อดอกเกิดตามข้อเป็นพวงห้อยลง ขนาด 15-20 x 7-8 ซม. ดอกในช่อค่อนข้างโปร่ง ก้านดอกยาว 3-4 ซม. ขนาดดอก 2-2.5 ซม. สขี าว กลางกลบี ปาก สเี หลอื ง ดอกบานประมาณ 3-5 วัน ดอกมกี ลิ่นหอม ออ่ นๆ ชว่ งออกดอก กุมภาพนั ธ์ - มีนาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ ิงอาศัย บางคร้ังพบเจรญิ บน หนิ พบในปา่ ดบิ เขาท่รี ม่ รำไรถึงโล่งแจง้ แสงแดดจดั เขตการกระจายพันธ์ุ อินเดีย จีน พม่า ไทย เวียดนาม และลาว สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 70 พชื อนรุ กั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เอ้อื งใบไผ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ Dendrobium salaccense (Blume) Lindl. ลกั ษณะ ลำต้นผอมสงู อาจสูงได้ถงึ 100 ซม. ใบแหลม ยาวคลา้ ยใบไผ่ ใบยาวประมาณ 8-13 ซม. ดอกเปน็ ชอ่ ไม่มีก้านดอก ออกดอกทางด้านข้างลำต้น 1-4 ดอก ขนาดดอกกว้างประมาณ 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวหรือ เหลืองซีด กลีบปากสีขาวมีจดุ ประสีน้ำตาลแดง ชว่ งออกดอก มีนาคม - เมษายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้อิงอาศัย พบในปา่ ผลัดใบ เขตการกระจายพันธ์ุ จีน ไทย มาเลเซีย ลาว เวียดนาม ชวา พม่า บอรเ์ นยี ว สมุ าตรา สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พชื อนุรักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1 71

เออ้ื งชะน ี มอื ชะน ี เออื้ งขนคา่ ง เออ้ื งนางน ี เออ้ื งมอื คา่ ง เออ้ื งอฮี ยุ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Dendrobium senile C. S. P. Parish & Rchb. f. ลักษณะ ลำลูกกล้วยอ้วนสั้นและมีขนสีขาวปกคลุมหนาแน่น ใบรูปขอบขนาน จนถึงรปู แถบ ขนาด 1 x 3-5 ซม. ปลายแหลม ชอ่ ดอกมกั มหี ลายช่อ มีช่อละ 1-3 ดอก ดอกสีเหลอื งสด ขนาด 2 ซม. กลีบเล้ยี งรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กลบี เล้ียงคู่ข้างและกลีบดอกรูปขอบขนาน ท้ังห้ากลีบปลายแหลม แผ่นกลีบมันวาว กลีบปากรูปไขก่ ว้าง ปลายกลีบแหลม แผน่ กลบี เป็นขนกำมะหยแี่ ละมีลายสแี ดง จำนวนมาก ช่วงออกดอก กุมภาพนั ธ์ - เมษายน ชว่ งออกดอกทงิ้ ใบ สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดบิ เขาตามทโี่ ลง่ แจง้ แสงแดดจดั เขตการกระจายพนั ธุ์ พมา่ ไทย ลาว สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส 72 พืชอนรุ กั ษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เอือ้ งสายเศวตปากสม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ Dendrobium stuposum Lindl. ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกระบอก ขนาด 0.6-0.8 x 15-30 ซม. ขนึ้ ชดิ เปน็ กอ ตงั้ ตรงและมแี ขนงทขี่ อ้ ใบรปู แถบ แกมรปู หอก ขนาด 1 x 5 ซม. ดอกออกทข่ี อ้ มี 1-2 ดอก สขี าวครมี ขนาด 1.5-2 ซม. กลบี เลีย้ งบนรปู ไข่ กลบี เลยี้ ง คู่ข้างรูปไข่ปลายแหลม กลีบดอกรูปไข่กลับ ขอบหยัก เล็กน้อย กลีบปากรูปหอกกลับ ปลายมน มีหูกลีบปาก ปลายกลีบและหูกลีบมีขนยาว เส้าเกสรส้ัน ดอกม ี กลิน่ หอมออ่ น ชว่ งออกดอก มถิ นุ ายน - กรกฎาคม ชว่ งออกดอกมกั ทงิ้ ใบ สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบเขา ในท่ีร่ม แสงแดดรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ อนิ เดีย ภูฏาน จีน พม่า ไทย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ัญชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1 73

เอ้ืองกระตา่ ยดอกสม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Diploprora championii (Lindl.) Hook. f. ลักษณะ ลำต้นเจริญทางยอด สูง 20-30 ซม. ใบรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 1.3-2.4 ซม. ยาว 7.5-10.5 ซม. ดอกออกเปน็ ชอ่ มีจำนวน 3-5 ดอก ขนาดดอก บาน กวา้ ง 1.2-2 ซม. สีเหลือง กลบี ปากสีชมพอู อ่ น โคนกลบี เป็นองุ้ ปลายกลีบ เรียวยาว แยกเปน็ แฉกเรยี ว 2 แฉก ช่วงออกดอก สงิ หาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ ิงอาศยั พบในป่าดิบเขาและปา่ ไม่ผลดั ใบ เขตการกระจายพันธ์ุ อนิ เดีย ศรีลังกา จีน ฮ่องกง ไตห้ วนั พมา่ ไทย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บญั ชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส 74 พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนป่าตะวันออก ตอนท่ี 1

เออื้ งอินจัน ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Eria biflora Griff. ลกั ษณะ กล้วยไมอ้ ิงอาศยั ลำลกู กลว้ ยยาวไดถ้ งึ 20 ซม. สว่ นปลายอวบบวมกวา่ ส่วนโคนใบรูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 6 ซม. กลีบประดับใหญ่สีเหลือง ดอกออกตามซอกใบ ค่อนข้างหุบขนาดกว้างประมาณ 6 มม. สีเหลืองอ่อน กลีบเล้ียงและกลีบดอกรูปใบหอก กลีบปากรูปขอบขนานแกมรูปไข่ มีสัน ตามยาว 2 สัน เส้าเกสรสว่ นโคนยืดยาวชดั เจน ชว่ งออกดอก มถิ นุ ายน – กรกฎาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศัย พบในป่าดิบเขาและปา่ ดิบแลง้ เขตการกระจายพนั ธ์ุ ตะวันออกของอินเดยี และภาคพืน้ เอเชยี สถานภาพ พชื อนุรกั ษบ์ ัญชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พชื อนุรักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 75

ภาพ : ชาตรี มากนวล เออื้ งนิม่ ดอกเหลอื ง ช่อื วิทยาศาสตร์ Eria bractescens Lindl. ลกั ษณะ ลำลกู กล้วยทรงกระสวย กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 5-10 ซม. ค่อนขา้ งแบน ผิวลำเป็นร่องตามยาว ใบรูปรี กว้าง 2-3 ซม. ยาว 6-10 ซม. ช่อดอกแบบ กระจะ เกดิ ทย่ี อด ชอ่ ดอกยาว 6-12 ซม. ดอกในชอ่ 5-8 ดอก กา้ นดอกยาว 2 ซม. ดอกขนาด 1-1.2 ซม. กลีบเลยี้ งและกลีบดอกสีเหลอื ง กลีบปากสีเหลอื งเขม้ ชว่ งออกดอก พฤศจิกายน - กุมภาพันธ ์ สภาพนเิ วศ กลว้ ยไม้องิ อาศยั พบตามป่าดิบท่วั ทกุ ภาคของไทย เขตการกระจายพันธุ์ เนปาล สิกขิม อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซยี อินโดนีเซีย ฟลิ ปิ ปินส์ นวิ กินี ไทย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 76 พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

เออ้ื งชอ่ เงินยวง ช่ือวิทยาศาสตร์ Eria globulifera Seidenf. ลักษณะ ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ลำลูกกล้วยรูปรีและสั้น มีหลายข้ออยู่ที่ส่วน ปลายลำ ใบรูปใบหอก ออกที่ข้อ 4 ใบ ปลายใบแหลม ช่อดอกแบบกระจะส้ัน มีดอกหลายดอกเรียงแน่น ดอกกว้าง 0.5 ซม. สีขาวหม่น กลีบเลี้ยงบนรูปรี กลีบค่ขู ้างกวา้ ง กลีบดอกรปู รีแกมรปู ไข่ ท้ังหา้ กลีบปลายแหลม กลีบปากขนาด เลก็ สีเหลอื ง ช่วงออกดอก กนั ยายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้องิ อาศัย พบในปา่ ดิบ เขตการกระจายพันธ์ุ รฐั อัสสมั ทางตะวนั ออก หมิ าลยั ไทย ลาว เวียดนาม สถานภาพ พืชอนรุ กั ษบ์ ัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส พชื อนุรักษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 77

เอ้ืองบายศร ี เอ้ืองคำหิน ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Eria lasiopetala (Willd.) Ormerod ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปรี คลุมด้วยกาบ ใบรูปขอบขนาน ขนาด 3.5 x 8 ซม. ปลายใบมนจนถึงแหลม ชอ่ ดอกออกท่ี โคนลำ ตง้ั ตรง มขี นปกคลมุ กลบี เลย้ี งบนรปู รี กลีบเลยี้ งคู่ ข้างรูปสามเหล่ียมเบ้ียว ด้านนอกของกลีบมีขนปกคลุม กลีบดอกรูปขอบขนานและเกล้ียง ท้ังห้ากลีบสีน้ำตาล อมเหลอื ง กลบี ปากรปู รี สเี ขยี วอมเหลอื งจนถงึ สนี ำ้ ตาลเขม้ ชว่ งออกดอก ธนั วาคม - กมุ ภาพนั ธ ์ สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบตามซอกหินท่ีชุ่มชื้น ที่มีแสงแดดตลอดวัน ทนแล้งไดด้ ี การกระจายพันธ์ุ เนปาล สิกขิม ภูฏาน อินเดีย จีน ฮ่องกง พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส ในธรรมชาติพบ ประชากรมาก 78 พชื อนุรกั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

ช้างผสมโขลง หัวข้าวตม้ วา่ นนานเยน็ ว่านบวั แกว้ หัวขา้ วเย็น ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Eulophia graminea Lindl. ลกั ษณะ ลำต้นเป็นหัวขนาดใหญ่มาก บางครั้งมีเส้น ผ่าศูนย์กลางกว่า 10 ซม. ใบรูปแถบ ขนาด 1.5-2 x 15-20 ซม. ปลายแหลม ช่อดอกเป็นช่อแยกแขนง ต้ังตรง มีดอกเล็กหลายดอก เรียงห่างกัน ดอกสีเขียว อมน้ำตาลขนาด 1.2 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอก รูปแถบ ปลายกลีบแหลม กลีบปากสีขาว กลางกลีบ สีชมพู หูปากรูปทรงมน แผ่นกลีบมีขนจำนวนมาก เดือยดอกรูปทรงกระบอกและสัน้ ชว่ งออกดอก พฤษภาคม - มถิ นุ ายน ชว่ งออกดอกทง้ิ ใบ สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้ดนิ พบในป่าผลัดใบและในพน้ื ที่ เกษตรกรรม ท้ังที่โล่งแจ้งแสงแดดจัดและท่ีร่มรำไร เจรญิ ไดท้ งั้ ในดนิ รว่ น ดนิ ทราย จนถงึ ดนิ เหนยี ว เขตการกระจายพันธุ์ เนปาล อินเดีย (สิกขิม) ศรีลังกา พม่า จีน ไต้หวัน ไทย ลาว เวียดนาม มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พืชอนรุ ักษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1 79

เออ้ื งแขง้ ไกป่ ากหยกั ช่อื วิทยาศาสตร์ Flickingeria fimbriata (Blume) A. D. Hawkes ลักษณะ ลำลูกกล้วยมีข้อเดียวและอยู่บนแขนงของ เหง้า ใบรูปใบหอกแกมรูปไข่ มี 1 ใบ ขนาด 2.5-5 x 8-15 ซม. ปลายใบเว้าบุ๋ม ช่อดอกสน้ั มาก แต่ละช่อมีจำนวนดอกน้อย ทยอยบาน 1-2 ดอก ดอกใหญ่ขนาด 2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน กลีบดอกรูปแถบ ทั้งห้ากลีบปลายมน กลีบ สีน้ำตาลและมีจุดสีเข้มทั่วกลีบ กลีบปากสีครีม มีหูปากรูปครึ่งวงกลม แผ่นกลีบมีสันย้วย 3 สัน ขอบกลบี หยักยว้ ย ช่วงออกดอก เมษายน - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั บางคร้งั พบเจริญบน โขดหิน พบในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้นตามท่ีร่ม รำไร เขตการกระจายพันธุ์ จีน พม่า เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และหมู่เกาะในมหาสมุทร แปซิฟิก สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญา ไซเตส 80 พชื อนรุ ักษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

เสอื เหลอื ง ชา้ งรอบคอ ชอื่ วิทยาศาสตร์ Gastrochilus obliquus (Lindl.) Kuntze ลกั ษณะ ใบรูปแถบ กว้าง 2.5-4 ซม. ยาว 7-10 ซม. แผ่นใบค่อนข้างหนา ปลายใบเว้า ดอกช่อแบบกระจุก เกิดตามซอกใบ 10-30 ดอก ช่อดอกห้อยลง ดอก ขนาด 1.5 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอกสีเหลือง มีจุด สแี ดงประปราย กลีบปากสขี าว โคนกลบี ปากเป็นโพรง มีแต้มสีม่วง ปลายกลีบแผ่กว้าง กลางกลีบมีแต้ม สเี หลอื งและมีจุดสแี ดง ขอบกลบี หยัก ชว่ งออกดอก กมุ ภาพันธ์ - พฤศจกิ ายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดบิ แลง้ เขตการกระจายพนั ธุ์ ไทย พม่า อนิ เดยี สกิ ขมิ สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส และในธรรมชาตใิ กล้สูญพันธ ์ุ พืชอนุรักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ป่าตะวันออก ตอนที่ 1 81

82 พชื อนุรกั ษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

ว่านเพชรหึง วา่ นงเู หลอื ม ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Grammatophyllum speciosum Blume ลกั ษณะ เป็นกล้วยไม้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ลำต้นยาวได้ถึง 7 เมตร ใบรูปแถบ กว้าง 3 ซม. ยาว 50-80 ซม. ช่อดอกกระจะ ยาวได้กว่า 2 เมตร ดอกจำนวนมาก ดอกขนาด 6-10 ซม. สีเหลืองหม่น มแี ตม้ สนี ้ำตาลอมม่วง กลีบปากเป็น สามแฉก ภายในมีขนสีน้ำตาลอมม่วงปลายกลีบ ปากสีน้ำตาล ช่วงออกดอก กรกฎาคม - ตลุ าคม สภาพนเิ วศ กล้วยไมอ้ ิงอาศัย พบตามปา่ ดบิ เขตการกระจายพนั ธ์ุ ไทย ลาว พม่า เวยี ดนาม มาเลเซยี อนิ โดนีเซยี ฟิลิปปนิ ส ์ สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญา ไซเตส และในธรรมชาติมีจำนวนลดลงเรื่อยๆ จน เหลอื นอ้ ย พืชอนุรกั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 83

เอือ้ งเล่นลม องั กุรพตั ร ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Grosourdya appendiculata (Blume) Rchb. f. ลกั ษณะ ลำต้นเจริญทางปลายยอด ใบรูปขอบขนาน ขนาด 1-1.5 x 6-10 ซม. แผน่ ใบคอ่ นขา้ งบาง อวบนำ้ ปลายใบแหลม ช่อดอกแบบกระจะออกข้างลำต้น ชอ่ ดอกยาว 3-5 ซม. ขนาดประมาณ 1 ซม. ดอกบาน คราวละ 1 ดอก ท้ังห้ากลีบสีส้มแดง และมีจุด สีนำ้ ตาลแดงเขม้ จำนวนมาก กลบี เลีย้ งบนและกลีบดอกรปู ขอบขนาน กลีบเลย้ี ง คู่ข้างรูปรีจนเกือบกลม ปลายกลีบแหลม กลีบปากสีขาวอมส้ม ปลายกลีบปาก เปน็ สามแฉก โคนกลบี มีแฉกขา้ งและตั้งชัน มีเดอื ยดอกขนาดใหญ ่ ชว่ งออกดอก พฤษภาคม - ตุลาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบชื้นและป่าไม่ผลัดใบในเกือบทุก ภมู ภิ าคของไทย ยกเว้นภาคกลาง เขตการกระจายพนั ธุ์ พม่า ไทย เวียดนาม มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สถานภาพ พชื อนุรกั ษ์บัญชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 84 พชื อนรุ ักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

ล้ินมงั กร ปัดแดง สงั หนิ เฟิน ชือ่ วิทยาศาสตร์ Habenaria rhodocheila Hance ลักษณะ ลำต้นเป็นหัวอยู่ใต้ดิน ต้นสั้น สูง 20-30 ซม. ใบมีหลายใบ เรียงตัวกระจายรอบต้น ใบรูปรีแกมรูป ขอบขนาน ขนาด 8-12 x 1.5-2.5 ซม. ปลายแหลม แผ่นใบบาง ขอบใบมักจะเป็นคล่นื ดอกเปน็ ชอ่ แตล่ ะชอ่ มี ประมาณ 10 ดอก ช่อดอกสงู 7-18 ซม. ดอกเกดิ คอ่ นไป ทางปลายช่อ ขนาดดอก 2-3 x 1.5-2 ซม. สีดอกมีความหลากหลาย เช่น สีเหลือง เหลอื งอมส้ม สแี สด แสดอมส้ม หรอื ชมพู กลบี เลี้ยงมักมีสอี อกสีเขียว ช่วงออกดอก กันยายน - ตุลาคม สภาพนิเวศ กล้วยไมด้ นิ เจริญได้บนหินท่ีมีซากพืชทับถมหรือซอกหิน ในป่าดิบทกุ ภูมิภาคของไทย เขตการกระจายพันธุ์ จนี เวยี ดนาม มาเลเซยี ฟลิ ปิ ปินส์ ไทย และลาว สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บัญชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พชื อนรุ กั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1 85

เออื้ งดนิ ชื่อวิทยาศาสตร์ Hetaeria finlaysoniana Seidenf. ลกั ษณะ ลำต้นเหนือดินสูง 34-50 ซม. ใบเป็น แผน่ บาง รปู รถี ึงรปู หอกขอบขนานมี 7-8 ใบ ปลาย ใบแหลม ขนาด 5.4-11.5 x 2.5-5.1 ซม. ช่อดอกมี ขนปกคลุม ก้านช่อดอกยาว 12-17 ซม. ดอก จำนวนมาก ไมม่ กี า้ นดอก กลบี ดอกสคี รมี กลบี ปาก และเส้าเกสรสีเหลือง กลีบเลี้ยงแยกเป็นอิสระ มเี ส้นกลาง 3 เสน้ มขี นปกคลุมดา้ นหลัง กลีบเลย้ี ง ด้านข้างทั้งสองมลี ักษณะเป็นรูปเรือตนื้ ๆ กลบี ดอก รปู หอกกลบั มีเสน้ กลางกลบี 2-3 เส้น ช่วงออกดอก มกราคม - กมุ ภาพนั ธ ์ สภาพนิเวศ กลว้ ยไมด้ ิน พบในป่าดบิ ในท่ีโล่งแจง้ เขตการกระจายพันธุ์ ศรีลังกา พม่า ไทย ทะเลจนี ใต้ (คาบสมทุ รมาเลเซีย) สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส และเป็นกล้วยไม้ถูก รกุ ราน 86 พชื อนุรักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผืนป่าตะวันออก ตอนที่ 1

ตากาฉอ่ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Kingidium deliciosum (Rchb. f.) H. R. Sweet ลักษณะ ลำต้นเล็ก ใบรูปขอบขนานจนถึงรูปรีกว้างจน เกือบกลม ขนาด 3 x 6 ซม. ปลายใบมน สีเขียวเข้ม ขอบใบบิดเปน็ คล่นื ชอ่ ดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกขนาด 1 ซม. ทยอยบานคราวละ 1-2 ดอก กลีบเล้ียงบนรูปรี แกมรูปขอบขนาน กลีบเล้ียงคู่ข้างรูปรีกว้าง กลีบดอกรูป ขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ท้ังห้ากลีบสีขาวและมีจุดสีม่วง ทโี่ คนกลบี ปลายกลบี มน กลบี ปากสมี ว่ งสด ปลายกลบี สขี าว มีหูปากรูปคร่ึงวงกลม กลางกลีบคอด มีรยางค์ย่ืนยาว 2 อัน ปลายกลีบเว้าต้ืน เส้าเกสรสน้ั สีขาว ชว่ งออกดอก มถิ นุ ายน - กันยายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดบิ แลง้ ปา่ ดบิ เขา และปา่ ดบิ ชนื้ บางครงั้ เจรญิ บนหนิ หรอื ในทมี่ แี สงแดดรำไรจนถงึ บรเิ วณทมี่ ดื ครม้ึ พบไดท้ กุ ภมู ภิ าคของไทย เขตการกระจายพันธ์ุ กระจายในพน้ื ทกี่ วา้ งในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ สถานภาพ พืชอนรุ กั ษ์บญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผนื ป่าตะวันออก ตอนที่ 1 87

เออื้ งข้าวสาร เออ้ื งดอกหญา้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Liparis viridiflora (Blume) Lindl. ลกั ษณะ ลำลกู กล้วยรปู ทรงกระบอกเรียวยาว ใบรูปแถบ ขนาด 2.5 x 10 ซม. มี 2 ใบ ปลายใบแหลม ชอ่ ดอกยาวและต้ังตรง มีดอกเล็กจำนวนมาก เรียงแนน่ ขนาดดอก 0.3 ซม. สีเขียว กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ ปลายกลีบมน กลีบเลี้ยงกว้างกวา่ กลีบดอกเลก็ นอ้ ย กลบี ปากรปู รแี กมรปู ไข่ หักงอลงคล้ายเข่า ปลายกลบี แหลม ชว่ งออกดอก ธันวาคม - มกราคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไม้องิ อาศยั พบท้งั ในป่าผลัดใบและไม่ผลดั ใบ ตามที่โล่งแจ้ง แสงแดดจดั และท่รี ่มรำไร เขตการกระจายพนั ธุ์ เนปาล ภฏู าน อินเดยี (สิกขิม) ศรีลงั กา จีน ไตห้ วนั พม่า ไทย เวียดนาม ลาว มาเลเซยี อินโดนีเซีย ฟลิ ปิ ปนิ ส ์ สถานภาพ พืชอนุรกั ษบ์ ัญชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 88 พืชอนรุ กั ษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

วา่ นนำ้ ทอง ว่านร่อนทอง ผกั เบ้ียชา้ ง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Ludisia discolor (Ker Gawl.) A. Rich. ลกั ษณะ ลำต้นทอดชูยอด สีม่วงแดง ใบรูปรีจนถึงรูป หอก ขนาด 3 x 5 ซม. สีเขียวคล้ำจนเกือบดำ และมี ลายสีทองแดง 3-5 ลาย ปลายใบแหลม ช่อดอกชูต้ัง ดอกขนาด 0.8 ซม. กลีบเล้ียงรูปไข่กว้าง กลีบดอก เช่ือมกับกลีบเล้ียงบน ทั้งหกกลีบสีขาว กลีบปากเป็น 2 แฉก ปลายกลีบมน เส้าเกสรสขี าว ฝาครอบกล่มุ เรณู รูปหยดนำ้ ควำ่ สีเหลอื งสดและผวิ มัน ช่วงออกดอก กรกฎาคม - ตุลาคม สภาพนเิ วศ กล้วยไมด้ ิน พบในปา่ ดบิ เขาและปา่ ดิบแลง้ ตามท่ีร่มแสงแดดรำไร เป็นดินร่วนปนทรายและมีเศษ ซากพชื ทับถม เขตการกระจายพันธุ์ พม่า ไทย จีน ฮอ่ งกง เวียดนาม มาเลเชยี อนิ โดนเี ซีย สถานภาพ พืชอนุรักษ์บญั ชที ่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส ภาพ : วิทยา อุ่นเรอื น พืชอนรุ กั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 89

เอ้ืองลิ้นดำ ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Luisia filiformis Hook. f. ลกั ษณะ ลำตน้ เจรญิ ทางดา้ นปลายยอด สนี ำ้ ตาลอมมว่ ง ใบทรงกระบอก สเี ขยี ว คลำ้ ดอกออกเป็นช่อ ช่อดอกแบบกระจะ ก้านชอ่ ดอกส้ัน ออกขา้ งลำต้นหรอื ท่ี ซอกใบ ดอกกวา้ ง 1.2 ซม. จำนวน 3-5 ดอกตอ่ ช่อ ทั้งห้ากลบี สีเขยี วแกมเหลอื ง กลีบปากมีแต้มสีม่วงแดงเข้มต้ังแต่โคนกลีบปากจนเกือบถึงกลางกลีบปากส่วน ปลาย ช่วงออกดอก มนี าคม - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้อิงอาศัย พบในป่าดบิ เขตการกระจายพนั ธุ์ อินเดีย จนี ไทย เทอื กเขาหมิ าลัยตะวนั ออก สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส 90 พืชอนุรกั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

เอ้ืองลิ้นดำเล็ก ช่ือวิทยาศาสตร์ Luisia macrotis Rchb. f. ลกั ษณะ ลำต้นต้งั ตรง ใบรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 15 ซม. เรยี งเวียนหา่ งๆ มหี ลายใบ ปลายใบมน ชอ่ ดอกสน้ั มดี อกเลก็ หลายดอก ทยอยบานคราวละ 1-2 ดอก ดอกสีครีม กลีบเล้ียงบนรูปขอบขนาน กลีบเล้ียงคู่ข้างหนาและด้านนอก ของกลีบเป็นสันเด่นชัด ทั้งสามกลีบปลายมน กลีบดอกรูปแถบ ปลายกลีบมน และยาวกว่ากลีบเล้ียงบน 2-3 เท่า กลีบปากสีม่วงขอบกลีบสีครีม ส่วนปลาย ของแผ่นกลบี ไมเ่ รียบ ช่วงออกดอก มิถุนายน - กนั ยายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าเตง็ รงั ตามท่รี ่มรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ อินเดีย ไทย ลาว เวียดนาม สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชที ี่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนรุ ักษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1 91

งูเขียวนอ้ ย เอือ้ งลิ้นดำ ชื่อวิทยาศาสตร์ Luisia zollingeri Rchb. f. ลกั ษณะ ลำตน้ รปู ทรงกระบอกทอดเอยี ง ใบรปู ทรงกระบอก ขนาด 0.6 x 10 ซม. ปลายใบมน ช่อดอกมีหลายช่อ ดอกขนาด 0.8 ซม. กลีบเล้ียงรูปรี กลีบเลี้ยง คู่ข้างเป็นอุ้ง ด้านหลังกลีบเป็นสัน กลีบดอกรูปรีกว้างจนเกือบกลมท้ังห้ากลีบ สีน้ำตาลแกมเหลืองจนถึงสีน้ำตาลแดง อาจมีจุดสีเข้มท่ีด้านนอกกลีบ ปลายกลบี มน กลีบปากรปู ไขก่ ลบั สีม่วงแดง อวบและหนา โคนกลีบมีต่ิงคลา้ ยหู ขนาดเลก็ แผน่ กลีบเกลย้ี ง ช่วงออกดอก กุมภาพนั ธ์ – มีนาคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดบิ แลง้ และปา่ เตง็ รงั ทโ่ี ลง่ แจง้ แสงแดดจดั เขตการกระจายพันธ ์ุ ไทย เวียดนาม มาเลเซยี สมุ าตรา ชวา บอรเ์ นียว สถานภาพ พชื อนุรกั ษ์บญั ชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส 92 พชื อนุรกั ษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

เออ้ื งชคู าง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Macropodanthus alatus (Holttum) Seidenf. & Garay ช่ือพ้อง Macropodanthus tridentatus Seidenf. ลกั ษณะ เจริญทางปลายยอด ต้นยาว 3-6 ซม. ใบเรียงสลับเว้นระยะระหว่างใบ เล็กน้อย รูปขอบขนาน ขนาด 10-15 x 2 ซม. แผ่นใบแบนและอ่อน ช่อดอก เกดิ จากซอกใบ ยาว 5-7 ซม. หอ้ ยลง ดอกในชอ่ นอ้ ย ขนาดดอก 2-2.5 x 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงคู่ข้างใหญ ่ กลีบปากมีเดือยย่ืนออกไปทางด้านหน้า ส่วนที่อย ู่ เหนอื เดอื ยหยักเป็นแฉก โคนกลบี ปากเรยี วแคบ ช่วงออกดอก มีนาคม – พฤษภาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้องิ อาศัย พบในปา่ ดิบชน้ื เขตการกระจายพันธ์ุ ไทย มาเลเซีย สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตสเป็นกล้วยไม้ถูกรุกราน และหายากในธรรมชาติมีจำนวนลดลงมาก พชื อนรุ กั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 93