Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กล้วยไม้ป่า ในผืนป่าตะวันออก

กล้วยไม้ป่า ในผืนป่าตะวันออก

Description: กล้วยไม้ป่า ในผืนป่าตะวันออก

Search

Read the Text Version

จดั ทำโดย : กลุม่ งานประสานงานและเสรมิ สรา้ งความร่วมมือระหวา่ งประเทศ กองคุ้มครองพันธสุ์ ตั ว์ป่าและพืชป่าตามอนสุ ญั ญา กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธ์ุพชื จตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร 10900 พิมพ์ครั้งที่ : 1/2556 จำนวน 2,000 เล่ม สำหรับเผยแพร่ ห้ามจำหน่าย สงวนลขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2556 ทป่ี รกึ ษา : ตรภี พ ทพิ ยศักดิ์ ท่ปี รกึ ษาดา้ นพฤกษศาสตร์ : ดร.สมราน สดุ ด ี เรียบเรียง : อาภรณ ์ อุดมศิลป์ คณะผศู้ ึกษา และภาพประกอบ : อาภรณ์ อุดมศลิ ป ์ ทวโี ชค จำรัสฉาย รัชภัทร โภชฌงค ์ วเิ ชียร พพิ ฒั น์มงคลสนิ ภาพประกอบเพ่ิมเตมิ : สพุ ัตตรา โพธศิ์ ริ ิ ปริวรรต อทุ ธสงิ ห ์ ผพู้ ิมพ์ : ปวณี า ใฝ่ฝนั ณัฏฐญาวรรณ นลิ เนยี ม พิสจู น์อักษร : พัฒนา ยิวคมิ มนสั พร สงา่ เมอื ง ออกแบบปก : อทุ ุมพร ดวงเจริญ กรรัตน์ สริ วิ ิชัยกุล พิมพเ์ ม่อื : มีนาคม 2556 พมิ พท์ ่ี : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั ISBN : 978-616-316-117-8

P rคeำ fนaำ c e ปจั จบุ นั ทว่ั โลกกำลงั ประสบปญั หายงิ่ ใหญ่ อันเดียวกัน คือ การสูญเสียความสมดุลทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดอุทกภัย ภัยแล้ง ฝนตกไม่ตรงฤดูกาล มลภาวะในสภาพแวดล้อมทั้งในดิน แหล่งน้ำ และบรรยากาศ การเกิดสภาวะเรือนกระจกที่ ส่งผลต่อสภาวะโลกร้อน กำลังเป็นท่ีต่ืนตัวอย ู่ ณ ขณะนี้ ด้วยเหตสุ ำคัญจากการกระทำของคนเรา นี้เอง สภาวการณ์เหล่านีม้ ไิ ดเ้ กดิ ผลกระทบต่อมนุษยเ์ ทา่ นนั้ แต่ทั้งพืชและสัตว์ต่างก็ได้รับผลกระทบไม่แพ้กัน พืชกลุ่มกล้วยไม้ หลายชนิดกำลังเส่ียงต่อการสูญพันธุ์ในธรรมชาติ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม แหล่งที่อยู่อาศัย การบุกรุกป่า การเก็บออกจากป่า ท้ังเพ่ือการค้า เพื่อการสะสม เพ่ือการ ปลูกเลี้ยงเป็นไม้ประดับ ทำให้กล้วยไม้ในป่าธรรมชาติลดจำนวนลงเรื่อยๆ ตลอดมา และ อาจสูญพนั ธไุ์ ดใ้ นทีส่ ุด โดยเฉพาะชนิดทีม่ ปี ระชากรและมกี ารกระจายตวั นอ้ ย ขึน้ อยเู่ ฉพาะ เจาะจงตอ่ พ้ืนท่ี โอกาสสูญพันธ์ุย่ิงเพ่ิมข้ึนเปน็ ทวคี ณู กองคุ้มครองพันธ์ุสัตว์ป่าและพืชป่าตามอนุสัญญา ได้ตระหนักถึงสิ่งเหล่าน ี ้ จึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารเผยแพร่เล่มนี้ จะเป็นเครื่องมือหน่ึงท่ีช่วยกระตุ้นให้ผู้ม ี ส่วนร่วมได้คิด หรือสะกิดให้พิจารณา ตระหนักรู้ถึงคุณค่าและความสำคัญของทรัพยากร “กล้วยไม้ป่า” ทจ่ี ะเป็นมรดกทางธรรมชาตติ กทอดไปยังลูกหลานของเราสืบไป

Dendeobium crepidatum Lindl. & Paxton

Coสnา รtบeั ญn ts คำนำ บทนำ 1 พชื วงศ์กล้วยไม้ 2 สถานภาพกล้วยไม้ป่า 4 ผืนปา่ ตะวนั ออก 5 สกลุ และจำนวนชนดิ กล้วยไมป้ า่ 6 9 กลว้ ยไมป้ า่ ในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ เขาสอยดาวและอทุ ยานแหง่ ชาติเขาคชิ ฌกูฏ ดชั นชี ่ือไทย 124 129 ดัชนีช่ือวทิ ยาศาสตร ์ 135 บรรณานกุ รม

Coelogyne brachyptera Rchb. f.

บ ท น ำ สืบเนื่องจากการค้าสัตว์ป่าและพืชป่าท่ัวโลก มีความรุนแรงข้ึนเร่ือยๆ ทงั้ ด้านปริมาณและมูลคา่ ทางเศรษฐกิจ สง่ ผลกระทบทงั้ โดยตรงและโดยออ้ มตอ่ ประชากรของพันธ์ุพืชป่าและสัตว์ป่าในธรรมชาติลดจำนวนลงอย่างต่อเนื่องและ รวดเร็ว จนบางชนิดใกล้สูญพันธ์ุ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตินี้ไว้ให้ยัง ประโยชนแ์ หง่ มวลมนษุ ยชาตขิ องอนชุ นรุ่นต่อๆ ไป อนุสัญญาไซเตส (CITES : Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรืออนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซ่ึง ชนิดพันธ์ุสัตว์ป่าและพืชป่าท่ีใกล้สูญพันธุ์ จึงถือกำเนิดข้ึนและ มีผลบังคับใช้เม่ือปี พ.ศ. 2515 ครบรอบ 40 ปี ในปีนี้ (พ.ศ.2556) มีประเทศสมาชิกร่วมลงนามแล้วถึง 178 ประเทศ ทั่วโลก ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศภาคีสมาชิก ชนิดพันธุ์ใน บัญชีควบคุมของ CITES จัดเป็น 3 บัญชี (Appendix I, II และ III) ตามระดับความจำเป็นในการปกป้อง บัญชี 1 ชนิดพันธ์ุท่ีใกล้สูญพันธ์ุ ห้ามทำการค้าขายโดยเด็ดขาด ยกเว้นเฉพาะกรณีจำเป็น เช่น เพ่ือ การศกึ ษา วจิ ยั มกี ารขยายเทยี มหรอื เพาะพนั ธขุ์ น้ึ มาใหม่ บญั ชี 2 ชนิดพันธุ์ที่มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ ทำการค้าได้ แต่ต้อง ไม่ละเมิดกฎหมายภายในประเทศ ส่วนบัญชี 3 ชนิด พันธ์ุท่ีได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายของประเทศ ใดประเทศหนึ่ง และได้ขอความร่วมมือจาก ประเทศสมาชิกให้ช่วยควบคุมดูแลการนำเข้าด้วย โดยจะต้องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากประเทศถิ่นกำเนิด พืชกลุ่มกล้วยไม้ป่าทุกชนิดถูกจัดอยู่ในบัญชี 2 ยกเว้น เอื้องปากนกแก้ว (Dendrobium cruentum) และสกุลรองเท้านารี (Paphiopedilum spp.) ทง้ั หมดถกู จัดอยูใ่ นบญั ชี 1 พืชอนุรักษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1 1

พืชวงศก์ ลว้ ยไม้ (ORCHIDACEAE) กลว้ ยไม้ เปน็ พชื ใบเลยี้ งเดยี่ ว มกี ารกระจาย อยู่ท่ัวไปแทบทุกมุมโลก ซ่ึงประมาณกันว่ามีอยู่ราว 800 สกุล และไม่น้อยกว่า 25,000 – 30,000 ชนิด จงึ จดั เปน็ พชื วงศใ์ หญท่ ม่ี จี ำนวนชนดิ มากทส่ี ดุ ในโลก สว่ นใหญม่ กี ารกระจายพนั ธุ์ อยู่ในเขตรอ้ น และเขตอบอนุ่ ในประเทศไทยมีประมาณ 176 สกลุ 1,157 ชนิด สามารถเจรญิ เติบโตได้ทัง้ บนกง่ิ ไม้ พ้ืนดนิ พนื้ หนิ และทช่ี ้ืนแฉะ ใบเปน็ ใบเดยี่ ว เรียงสลับ โคนใบแผอ่ อกเปน็ กาบ ดอกออกเป็นช่อหรอื เป็นดอกเดย่ี ว มีกา้ นดอก โดดเดน่ ดอกสมบรู ณเ์ พศ สมมาตรดา้ นขา้ ง มกี ลบี รวม 6 กลบี เปน็ กลบี เลย้ี ง 3 กลบี เปน็ กลบี ชน้ั นอกอาจแยกหรอื เชอ่ื มตดิ กนั กลบี ดอก 3 กลบี เปน็ กลบี ชน้ั ในโดยมี กลบี กลางเปน็ กลบี ปาก มีรปู รา่ งและสแี ตกตา่ งจากกลบี ขา้ ง 2 กลีบ เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียเช่ือมติดกันเป็นเส้าเกสร อับเรณูเป็นกลุ่มมี 2 หรือ 8 กลุ่ม รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ผลแก่แห้งแตกมี 3 หรือ 6 แนวตะเข็บ เมล็ดคล้ายฝุ่นผง ขนาดเล็กจำนวนมาก น้ำหนักเบา เนื่องจากมีอาหารสะสมเพียงเล็กน้อยจึงปลิว กระจายไปตามลม เพมิ่ โอกาสในการอยรู่ อดและการปรบั ตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม การจำแนกกล้วยไมต้ ามลกั ษณะการอาศยั แบง่ ได้เปน็ กล้วยไมอ้ ิงอาศัย (epiphytic orchid) เป็นกล้วยไม้ท่ีพบได้มากที่สุด พบได้ในป่าทุกประเภท แต่จะพบได้มากจนสังเกตเห็นได้ง่ายในป่าดิบ โดยเฉพาะในป่าดิบเขาท่ีมักพบ อาศัยอยู่อย่างหนาแน่นปะปนอยู่กับเฟิร์นหรือมอส กล้วยไม้กลุ่มน้ีนอกจากจะ ใชร้ ากยดึ ตดิ กบั ลำตน้ ของตน้ ไมใ้ หญแ่ ลว้ รากยงั สามารถสงั เคราะหอ์ าหารไดด้ ว้ ย จึงไม่มีการแย่งอาหารจากต้นไม้ท่ีอาศัยอยู่ เช่น สกุลสิงโต (Bulbophyllum) สกุลหวาย (Dendrobium) กล้วยไม้ดิน (terrestrial orchid) เป็นกล้วยไม้ที่ สว่ นใหญม่ หี วั หรอื เหงา้ อยทู่ ผี่ วิ ดนิ หรอื ใตด้ นิ พบไดท้ ง้ั ชนดิ ทสี่ ามารถเจรญิ เตบิ โต ไดท้ กุ ฤดกู าลทมี่ กั พบตามปา่ ดบิ หรอื ชนดิ ทมี่ ชี ว่ งการพกั ตวั ในฤดกู าลทไ่ี มเ่ หมาะสม 2 พชื อนุรกั ษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

โครงสรา้ งของดอกกลว้ ยไม ้ เหลือเพียงหัวใต้ดิน มักพบตามป่าผลัดใบ กล้วยไม้เจริญบนหิน (lithophytic orchid) เป็นกลุ่มกล้วยไม้ท่ีมีการเจริญเติบโตโดยอาศัยอยู่บนหินแทนการยึด เกาะบนดินหรือต้นไม้ มักพบอยู่ใกล้กับมอสและไลเคน เช่น สิงโตรวงข้าว เอื้องคำหิน ม้าว่ิง กล้วยไม้กินซาก (saprophytic orchid) เป็นกล้วยไม้ดินที่ ไม่มีใบหรือไม่มีคลอโรฟิลล์ สร้างอาหารจากการสังเคราะห์แสงไม่ได้ แต่ได้ อาหารจากการย่อยสลายซากพืช ส่วนใหญ่พบตามป่าดิบ เช่น เอ้ืองแฝงภู กล้วยไม้อาศัยในน้ำ (aquatic orchid) ในประเทศไทยมีกล้วยไม้เพียงไม่ก่ีชนิด ท่ีอาศัยในน้ำ ท่ีพบอาศัยในลำธารน้ำไหลของน้ำตกหินปูน เป็นกล้วยไม้น้ำ (Epipectis flava) ที่อาศัยในน้ำน่ิงตามพื้นที่พรุ คือ เอื้องโมกพรุ (Papilionanthe hookeriana) และเอือ้ งกระพรุ (Dipodium paludosum) พืชอนรุ กั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 3

ปัจจัยธรรมชาติท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ ประกอบด้วย แสงแดด กล้วยไม้ส่วนใหญ่ไม่ต้องการแสงแดดเต็มที่ ยกเว้นสกุลแวนด้าท ี่ ใบกลม อณุ หภมู ิ กลว้ ยไมเ้ ขตรอ้ นเจรญิ เตบิ โตไดด้ ใี นชว่ งอณุ หภมู ปิ ระมาณ 25 - 35 องศาเซลเซยี ส ความชนื้ ทเี่ หมาะสมอยทู่ ค่ี วามชน้ื สมั พทั ธป์ ระมาณ 60 - 80 % บริเวณรากมีความช้ืนแต่ไม่เปียกแฉะ การเคล่ือนที่ของอากาศ ต้องมีลมอ่อนๆ พดั ผ่านโดยเฉพาะกล้วยไม้องิ อาศัย อาหาร กลว้ ยไมอ้ ิงอาศัยได้อาหารจากใบไม้ และซากที่เน่าเปื่อย และจากน้ำฝน ส่วนกล้วยไม้ดินได้แร่ธาตุจากดินและ อินทรียวตั ถุในดิน สถานภาพกลว้ ยไมป้ า่ กล้วยไม้ป่ามีสถานภาพที่แตกต่างกันไปตามชนิดหากพิจารณาจาก จำนวนประชากรในธรรมชาติและภาวะท่ีถูกคุกคามจากมนุษย์แล้วแบ่งได้เป็น กล้วยไม้ท่ีพบได้ทั่วไป (common species) มีประชากรมาก ข้ึนกระจายเป็น พนื้ ทก่ี วา้ งในหลายภูมิภาคของประเทศ เช่น เอ้อื งกุหลาบกระเป๋าเปดิ (Aerides falcata) กลว้ ยไมห้ ายาก (rare species) มปี ระชากรนอ้ ย กระจายพนั ธ์ุ ในบางภูมิภาคของประเทศ หรือกระจายพันธุ์เฉพาะในถ่ินที่อยู่ซ่ึง รวมถึงกล้วยไม้ถิ่นเดียว (endemic species) ท่ีมีขอบเขตการ กระจายพันธ์ุจำกัดเพียงพ้ืนที่ใดพื้นท่ีหน่ึงและจำเพาะกับสภาพ แวดล้อมน้ัน กล้วยไม้ถิ่นเดียวท้ังหมดจัดเป็นกล้วยไม้หายาก และมีความสำคัญ เพราะหากสูญพันธุ์ไปจากแหล่งท่ีอยู่ก็ เท่ากับว่าได้สูญพันธ์ุไปจากโลกน้ี กล้วยไม้ใกล้สูญพันธุ์ (endangered species) มปี ระชากรนอ้ ยมาก กระจายพนั ธใุ์ นพน้ื ท่ี แคบบางพื้นท่ี มักเป็นกล้วยไม้ที่มีความสวยงามแปลกตา เป็นที่นิยม ของผู้ปลูกเล้ียงทำให้ถูกคุกคามจนลดจำนวนลงอย่างรวดเร็วและ ตอ่ เนอื่ ง เชน่ กลว้ ยไมส้ กลุ รองเทา้ นารี (Paphiopedilum spp.) 4 พืชอนุรักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผืนป่าตะวันออก ตอนท่ี 1

ผืนปา่ ตะวนั ออก อดีตป่าตะวันออกเคยเป็นผืนป่า ตอ่ เนอื่ งกนั ขนาดใหญ่ ตงั้ แตป่ า่ ดงพญาไฟ ปา่ พนมสารคาม ไปจนถึงประเทศกัมพูชา แต่ด้วยเหตุผลนานัปการ ปา่ ตะวันออกในปัจจุบันเกิดจากการรวมเอาพนื้ ทีป่ า่ 5 แห่งเขา้ ด้วยกัน ประกอบ ด้วยป่าในพ้ืนท่ีอนุรักษ์ 4 แห่ง มีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว เขตรักษา พนั ธสุ์ ตั วป์ า่ เขาอา่ งฤๅไน อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาคชิ ฌกฏู อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา - เขาวง และพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติที่ยังคงสภาพอยู่โดยรอบ รวมพ้ืนที่ประมาณ 1,470,000 ไร่ ปา่ ตะวันออกเป็นปา่ พ้นื ราบลมุ่ ตำ่ แห่งเดยี วท่ีเชอ่ื มต่อระบบนเิ วศ ระหว่างภาคอีสาน ภาคตะวันออก และภาคกลาง ซ่ึงมีความหลากหลายทาง ชีวภาพสงู เป็นแหล่งรวมพันธุกรรมทั้งสตั ว์ปา่ และพชื ป่าทส่ี ำคัญแหง่ หน่งึ จากการที่ป่าตะวันออก เป็นป่าซ่ึงมีท่ีต้ังอยู่ในเขตพฤกษภูมิศาสตร์ (Plant geographical distribution) 2 เขต ข้ึนผสมอยู่ในพื้นท่ี คือ เขต ภมู พิ ฤกษอ์ นั นมั มาตคิ (Annamatic element) หรอื อนิ โดไชนสี (Indo-Chinese element) ซึ่งนับว่าเป็นพ้ืนท่ีซ่ึงมีภูมิพฤกษ์อันนัมมาติค ท่ีโดดเด่นที่สุดของ ประเทศ และยังมีสภาพภูมิพฤกษ์แบบอินโดมาเลเซียน (Indo-malaesian element) เข้ามาปะปนอยู่ด้วย มีลมมรสุมพัดผ่านประจำทุกปี ทำให ้ ภาคตะวันออกเฉียงใต้มีฝนตกใกล้เคียงกับภาคใต้ ป่าตะวันออกจึงเป็นพื้นที่ท่ี สามารถพบสงั คมพชื ไดท้ ง้ั 3 แบบ คอื ปา่ ทางภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (เขตภูมพิ ฤกษ์อนั นมั มาตคิ ) และภาคใต้ (เขตอนิ โดมาเลเซียน) จงึ ทำให้พบความ หลากหลายทางชีวภาพท้ังพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์มีมากเป็นพิเศษ สังคมพืชของ ป่าตะวันออกส่วนใหญ่เป็นป่าดิบแล้ง มีที่ราบทางตอนบนของพื้นท่ี ความสูง ประมาณ 30 – 150 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีพ้ืนที่ประมาณ 6 แสนกวา่ ไร่ เรยี กว่า “ป่าลุ่มตำ่ ” ถอื เปน็ จดุ สำคัญของปา่ ตะวันออก และเป็น ป่าลุ่มต่ำผืนสุดท้ายของประเทศไทยที่เหลืออยู่ ส่วนตอนล่างของพ้ืนท่ีในเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาวและอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ เกือบทั้งหมดมี พืชอนุรักษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 5

สภาพเป็นภูเขาสูงชัน สลับซับซ้อน จนเล่ากันว่าเพียงเอ้ือมมือออกไปก็สามารถ สอยดาวลงมาได้ มีป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณแทรกปะปนอยู่ทั่วไปเป็นหย่อม ขนาดเล็ก จากการสำรวจศึกษากล้วยไม้ป่าในพื้นที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขา สอยดาวและอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ พบจำนวนกล้วยไม้ป่าถึง 109 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยสกุลหวาย (Dendrobium spp.) และสกุลสิงโต (Bulbophyllum spp.) ซึ่งเป็นพชื อนรุ ักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส มพี ยี ง ชนดิ เดยี วทเี่ ปน็ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 1 ของอนสุ ญั ญาไซเตส คอื รองเทา้ นารคี างกบ (Paphiopedilum callosum) เปน็ กล้วยไม้มคี ่า หายาก และถูกรุกรานจนใกล้ สูญพนั ธใ์ุ นธรรมชาต ิ สกุลและจำนวนชนดิ กลว้ ยไม้ปา่ จำนวนชนดิ ที่พบ ทวั่ โลก ประเทศ ป่าเขาสอยดาว สกุลกลว้ ยไม้ ไทย เขาคชิ ฌกูฏ Acampe Lindl. สกุลช้างสารภี 64 1 Acriopsis Blume สกุลจุกพราหมณ์ 62 2 Aerides Lour. สกลุ เออ้ื งกุหลาบ 20 8 2 Agrostophyllum Blume สกุลเออื้ งปีกไก่ 85 7 1 Apostasia Blume สกุลตานโมย 83 1 Appendicula Blume สกลุ หางแมงเงา 50 7 2 Arachnis Blume สกลุ แมงปอ *3 1 Ascocentrum Schltr. ex J. J. Sm. สกลุ เขม็ 85 1 Brachycorythis Lindl. สกลุ ทา้ วคลู ู 25 5 1 Bulbophyllum Thouars สกุลสิงโตกลอกตา 1,000 141 10 Calanthe Ker – Gawl. สกลุ เอื้องน้ำต้น 150 16 3 Cleisostoma Blume. สกุลเอือ้ งเขาแพะ 80 28 5 6 พืชอนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1

สกลุ กล้วยไม้ จำนวนชนิดท่ีพบ ทั่วโลก ประเทศ ปา่ เขาสอยดาว ไทย เขาคิชฌกฏู Coelogyne Lindl. สกลุ เออ้ื งใบหมาก 100 30 4 Cymbidium Sw. สกุลกะเรกะร่อน Dendrobium Sw. สกุลหวาย 44 19 4 Diploprora Hook. f. สกุลเอื้องปากแฉก Eria Lindl. สกุลเอื้องนิม่ 900 161 21 Eulophia R. Br. ex Lindl. สกลุ ว่านองึ่ Flickingeria A. D. Hawkes สกลุ กดู หนิ 22 1 Gastrochilus D. Don สกลุ ตนี เตา่ Grammatophyllum Blume สกลุ เพชรหงึ 500 61 4 Grosourdya Rchb. f. สกุลเอือ้ งเล่นลม Habenaria Willd. สกุลลนิ้ มงั กร 200 13 1 Hetaeria Blume สกุลเอือ้ งดนิ ดอกกลับ Kingidium P. F. Hunt สกุลตากาฉ่อ * 16 1 Liparis Rich. สกุลเออื้ งกลีบม้วน Ludisia A. Rich. สกุลวา่ นนำ้ ทอง 10 7 1 Luisia Gaudich. สกลุ เขาเยอื ง Macropodanthus L. O. Williams สกุลเออ้ื งชคู าง 12 1 1 Micropera Lindl. สกลุ แมงปอทอง Malleola J. J. Sm. & Schltr. สกุลเอือ้ งหัวค้อน 10 3 1 Oberonia Lindl. สกลุ เอื้องเล็บมอื นาง Ornithochilus (Lindl.) Benth. สกุลสรอ้ ยทอง 600 38 1 Panisea (Lindl.) Lindl. สกลุ เออื้ งรงรอง Paphiopedilum Pfitzer สกลุ รองเทา้ นารี 27 7 1 Pelatantheria Ridl. สกลุ เอื้องเคราสงิ ห์ Pennilabium J. J. Sm. สกุลเอ้อื งจกั ปากฝอย *4 1 Phalaenopsis Blume สกุลเขากวางออ่ น Pholidota Lindl. สกลุ เอือ้ งลำต่อ 350 30 1 Podochilus Blume สกุลตานตะขาบ 11 1 40 14 3 *2 1 17 4 1 20 6 1 300 35 1 31 1 64 1 64 14 1 54 1 ** 1 44 3 2 29 7 2 60 3 1 พชื อนุรักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1 7

สกุลกลว้ ยไม้ จำนวนชนิดทพ่ี บ ทั่วโลก ประเทศ ปา่ เขาสอยดาว ไทย เขาคิชฌกฏู Pomatocalpa Breda สกุลชา้ งดำ 35 9 2 Porpax Lindl. สกุลเอ้ืองตาขา่ ย 11 7 1 Pteroceras Hasselt ex Hassk. สกุลเอื้องเสือดาว 28 4 1 Renanthera Lour. สกุลหวายแดง 15 3 1 Rhynchostylis Blume สกลุ ช้าง 33 2 Robiquetia Gaudich. สกุลเออื้ งมนั ปู 40 3 1 Staurochilus Ridl. ex Pfitzer สกลุ เอ้อื งเสอื โคร่ง * 5 1 Sunipia Buch. - Ham ex Smith สกุลเออ้ื งฟนั ปลา 18 11 1 Thrixspermum Lour. สกลุ เอือ้ งตะขาบ 140 15 1 Thunia Rchb. f. สกุลช้างงาเดียว 54 1 Trichoglottis Blume สกลุ เอ้อื งสายสคุ นธ์ 60 8 1 Trichotosia Blume สกลุ ตรียำปวาย 45 8 1 Vanda Jones ex R. Br. สกลุ ฟา้ มุ่ย 45 9 1 Vanilla Mill. สกุลเอาะลบ 100 4 2 Zeuxine Lindl. สกุลเอ้อื งดินนอ้ ย 26 9 1 หมายเหต ุ * ไมท่ ราบแนช่ ดั 8 พืชอนรุ ักษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

ในเขตรักษาพนั ธุ์สตั วป์ ่าเขาสอยดาว และ อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาคิชฌกฏู

Paphiopedilum callosum (Rchb. f.) Stein

รองเท้านารีคางกบ เออ้ื งคางกบ รองเท้านารี แมงภู่ เอื้องคางคก รองเทา้ นาง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Paphiopedilum callosum (Rchb. f.) Stein ลักษณะ ลำต้นส้ันและแตกกอ ใบรูปขอบขนาน ค่อนข้างบาง ขนาด 10-15 x 2-2.5 ซม. ปลายแหลมและหยักเป็นสามแฉกตื้น ผิวใบด้านบนลายเขียวสลับ ขาวเป็นแถบและหย่อมๆ ผิวใบด้านล่างเขียวลายไมช่ ดั แผ่นใบกางออกเป็นแนว รัศมี ดอกออกเด่ียวที่ปลายยอด ก้านดอกตั้งตรงสีม่วงเข้ม ก้านช่อยาว 15-20 ซม. มีขน กลีบเล้ียงบนแผ่กว้างสีขาวและมีขีดสีเขียวแกมม่วงแดงตาม ยาว กลบี ดอกรูปขอบขนานโคง้ ขอบกลบี มตี มุ่ สนี ำ้ ตาลเขม้ เปน็ มนั และมขี น กลบี กระเปา๋ สมี ว่ งแดงแกมน้ำตาล ดอกบานเตม็ ท่กี วา้ ง 6-8 ซม. ชว่ งออกดอก กมุ ภาพันธ์ - เมษายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมด้ นิ พบตามพนื้ ดนิ ในปา่ ดบิ ชน้ื ทรี่ ม่ รำไร มกั พบใกลแ้ หลง่ นำ้ เขตการกระจายพันธุ์ ไทย มาเลเซยี สถานภาพ พชื อนรุ กั ษ์บัญชีที่ 1 ของอนสุ ัญญาไซเตส เป็นกล้วยไม้มคี ่าหายาก และถกู รุกรานจนใกล้สูญพนั ธ์ุในธรรมชาติ พชื อนรุ กั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 11

ภาพ : สมราน สุดด ี เอ้อื งตีนจง้ิ จก ชือ่ วิทยาศาสตร์ Acampe ochracea (Lindl.) Hochr. ลักษณะ ลำต้นค่อนขา้ งยาว ใบรูปแถบ ขนาด 2 x 12 ซม. ปลายใบเวา้ ชอ่ ดอก เป็นช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง ก้านช่อดอกส้ันกว่าแกนช่อดอก ดอกขนาด 1.2 ซม. กลีบเล้ียงรปู ขอบขนานแกมรูปไขก่ ลับ กลีบดอกรูปแถบแกมรูปไข่กลบั มสี ีเหลืองและแถบสนี ำ้ ตาลแดงจำนวนมาก ปลายกลบี มน กลบี ปากรปู ไข่ สีขาว ปลายกลีบมน ขอบกลีบหยักไม่สม่ำเสมอ และมีเดอื ยดอกปรากฏเด่นชัด ช่วงออกดอก พฤศจิกายน - มกราคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้งท่ีมีแสงแดดรำไรท่ีความสูง ประมาณ 300 เมตร จากระดับน้ำทะเล เขตการกระจายพนั ธุ์ สิกขิม ภฏู าน อนิ เดีย พม่า ลาว กมั พูชา เวยี ดนาม ไทย สถานภาพ พืชอนุรกั ษบ์ ญั ชีที่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส 12 พืชอนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนป่าตะวันออก ตอนท่ี 1

ภาพ : ภัทธรวรี ์ พรมนัส จกุ พราหมณ์ เข็มหนู นมหนหู วั กลม ช่อื วิทยาศาสตร์ Acriopsis indica Wight ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกลม ใบรูปแถบ มี 2 ใบ ขนาด 1 x 10 ซม. ปลายแหลม ช่อดอกยาว 10-12 ซม. ทอดเอยี งหอ้ ยลง มดี อกจำนวนมาก ดอกขนาด 0.8-1 ซม. กลีบเลี้ยงคู่ข้างเชื่อมกันเป็นรูปแถบ สีเขียวอมเหลือง เช่นเดียวกับกลีบเล้ียงบน กลีบดอกรูปช้อน สีเหลืองอ่อน มีจุดสีน้ำตาลเรื่อ ปลายกลีบมน กลีบปากสีขาว รูปขอบ ขนาน ขอบกลบี ไมเ่ รยี บ กลางแผน่ กลบี มสี นั เตยี้ ๆ 2 สนั กลางเส้าเกสรมีรยางคเ์ ขยี้ วย่ืนยาวอย่างเด่นชดั ชว่ งออกดอก กนั ยายน - พฤศจกิ ายน ชว่ งออกดอกทงิ้ ใบ สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าไม่ผลัดใบในที่ โลง่ แจง้ แสงแดดจัด เขตการกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา เวยี ดนาม ไทย มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย ฟลิ ิปปนิ ส์ สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 13

เอือ้ งนมหนู จุกโรหนิ ี รูหิน ี ช่อื วทิ ยาศาสตร์ (J. Ko.. nig) Seidenf. Acriopsis liliifolia ลักษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู ไข่ ใบรปู แถบ ขนาด 1.5 x 15 ซม. ปลายใบแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจะ หรือช่อแบบ แยกแขนง ดอกขนาด 1 ซม. กลีบเลี้ยงบน และกลีบ ดอกรปู ขอบขนาน กลีบเลยี้ งค่ขู ้างเชอื่ มกันเป็นรูปขอบ ขนาน สมี ว่ งเรอ่ื ปลายกลบี มนและมสี มี ว่ งเขม้ กลบี ปาก รูปขอบขนานแกมรูปแถบ สีม่วงเรื่อ ขอบกลีบ สขี าวอ่อน กลางกลบี มสี นั รปู คร่ึงวงกลม 2 สัน ช่วงออกดอก เมษายน - มิถุนายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ ิงอาศัย พบในปา่ ดิบแลง้ ปา่ ดบิ เขา และปา่ ดบิ ช้นื เขตการกระจายพนั ธ์ุ พม่า ลาว กัมพูชา เวยี ดนาม ไทย มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ิปปนิ ส ์ สถานภาพ พืชอนรุ กั ษบ์ ัญชีท่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 14 พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

เอือ้ งกุหลาบกระเป๋าเปิด ภาพ : วสันต์ ภพู ิชิต เอ้อื งกุหลาบพวง เอ้ืองกหุ ลาบป่า เออื้ งคำสบนก เอ้ืองด้ามข้าว เออื้ งปากเป็ด ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Aerides falcata Lindl. & Paxton ลกั ษณะ ลำต้นยาวและห้อยลง ใบรูปแถบ ขนาด 3 x 20 ซม. เรยี งหา่ งกนั ปลายใบเวา้ ชอ่ ดอกหอ้ ยลง มักมีมากกวา่ 1 ช่อ ดอกขนาด 2.5 ซม. กลบี เล้ียง บนรูปรีกว้างจนเกือบกลม ปลายกลีบแหลม กลบี เลยี้ งคขู่ า้ ง รปู ครง่ึ วงกลมและเบย้ี ว ปลายกลบี แหลมจนถึงเป็นติ่งแหลม โคนกลีบเช่ือมกับ คางเส้าเกสร กลีบดอก รูปรี ปลายกลีบหยักเป็น ฟันไม่สม่ำเสมอ ปลายกลีบมนสีม่วง กลีบปากแผ่ เป็น 3 แฉก แฉกกลางมีขนาดใหญ่รูปคร่ึงวงกลม ปลายเว้า กลางกลีบคอด หูกลีบปากรูปเคียว ขนาดใหญ่ ปลายมน ดอกมกี ลิ่นหอม ชว่ งออกดอก พฤษภาคม - มิถุนายน สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ เบญจพรรณ ปา่ เตง็ รงั พบบา้ งในปา่ ดบิ เขา และป่าดิบแล้งตามที่ โล่งแจ้งแสงแดดจัดและแสงแดดรำไร พบได้ทุก ภมู ภิ าคของไทย เขตการกระจายพนั ธ์ุ อนิ เดยี พมา่ ลาว กมั พชู า เวียดนาม ไทย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 15

กหุ ลาบเหลืองโคราช เอื้องกหุ ลาบเหลอื งโคราช ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Aerides houletiana Rchb. f. ลักษณะ ต้นมักจะข้ึนตรงหรือเอน หรือห้อยลง ยาว 20-30 ซม. ใบเรียงสลับ ระนาบเดียว เวน้ ระยะระหวา่ งใบเล็กน้อย แผ่นใบหนาและแข็ง ขนาด 12-16 x 2.5-3 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบเปน็ พวงห้อยลง มี 10-20 ดอก ยาวใกล้เคียง ความยาวของใบ ขนาดดอก 2.5 x 1.5 ซม. ดอกบานเกอื บพร้อมกันทง้ั ช่อ ดอก เรยี งคอ่ นข้างแน่น กลบี เล้ียงและกลีบดอกรูปร ี กลบี ปากสีขาวหรือสีครมี แต้ม สชี มพูเข้มอมม่วง ดอกมกี ลิน่ หอม ชว่ งออกดอก เมษายน - พฤษภาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณทางภาค ตะวันออกและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของไทย เขตการกระจายพนั ธุ์ อินโดนีเซีย ไทย สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 16 พชื อนรุ กั ษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

เอื้องปีกไก่ใหญ ่ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Agrostophyllum planicaule (Wall. ex Lindl.) Rchb. f. ลักษณะ ใบรูปแถบ กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 10-20 ซม. ใบหนาและแข็ง ช่อดอกแบบกระจุก ออกท่ีปลายยอด ช่อดอกยาว 1-1.5 ซม. ดอกใน ช่ออดั กนั แน่น 10-20 ดอก ดอกขนาด 0.3 ซม. สีครีม ปลายกลีบปากแผ่กว้าง ปลายกลีบหยัก เปน็ คลืน่ เลก็ นอ้ ย ช่วงออกดอก มิถนุ ายน - กรกฎาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้อิงอาศยั พบในปา่ ดบิ ท่ัวทุกภาคของไทย เขตการกระจายพันธุ์ เนปาล สิกขิม ภูฏาน อินเดีย พม่า กัมพูชา เวียดนาม สงิ คโปร์ บอร์เนยี ว ไทย สถานภาพ พชื อนุรกั ษ์บญั ชที ่ี 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนุรกั ษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 17

ตานโมย ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Apostasia nuda R. Br. ลกั ษณะ กลว้ ยไม้ดิน ลำตน้ แขง็ ตั้งตรง สงู 20-40 ซม. ใบรูปใบหอกเป็นมันคล้ายใบหญ้า เรียงเวียนรอบต้น กว้าง 0.5-1 ซม. ยาว 15-30 ซม. ปลายแหลม ช่อดอกแบบแยกแขนงออกท่ีปลายยอด ช่อดอกยาว 6-10 ซม. ดอกขนาด 0.5 ซม. สีเหลอื งสด กลีบเลย้ี ง และกลีบดอกรูปขอบขนาน มีขนาดรูปทรงและสีสัน คล้ายคลึงกัน กลีบปากแตกต่างจากกลีบอื่นๆ เพียง เล็กนอ้ ย กา้ นดอกและก้านช่อดอกสีเขียว ชว่ งออกดอก มิถุนายน - กรกฎาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมด้ นิ พบในป่าดบิ ที่รม่ แสงรำไร หลายระดับความสงู เขตการกระจายพนั ธุ์ พมา่ มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ไทย สถานภาพ พืชอนุรักษบ์ ญั ชที ่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 18 พืชอนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

หางแมงเงา ชอื่ วิทยาศาสตร์ Appendicula cornuta Blume ลักษณะ ลำต้นเล็กและขึ้นชิดกันเป็นกอ ใบเล็กรูปขอบ ขนานเรยี งสลบั กนั เปน็ จำนวนมาก ขนาด 1 x 2-2.5 ซม. ปลายใบเวา้ บมุ๋ และมีติ่งแหลม ช่อดอกสน้ั ออกท่ีปลาย ลำต้น ดอกขนาดเล็กเรียงกันแน่น ขนาด 0.5 ซม. สขี าวถึงสีเหลืองอ่อน กลบี เลี้ยงบนรูปรี กลบี เลย้ี งคู่ขา้ ง มีฐานกลีบกว้าง กลีบดอกรูปรีกว้างและซอ่ นอยใู่ นดอก ท่ีไม่บานมากนัก กลีบปาก รูปขอบขนาน เป็นอุ้งต้ืนๆ กลางกลีบมีสันนนู ชว่ งออกดอก กรกฎาคม - พฤศจกิ ายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศยั พบตามป่าดิบเขาในที่ รม่ แสงแดดรำไรและพบได้ทุกภมู ิภาคของไทย เขตการกระจายพนั ธ์ุ พมา่ มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เวยี ดนาม จนี อนิ เดยี ไทย สถานภาพ พชื อนุรักษ์บญั ชีที่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พืชอนรุ ักษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ปา่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 19

หางแมงเงาเล็ก หางแมงปอ่ ง ช่อื วิทยาศาสตร์ Appendicula reflexa Blume ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยเรียวยาว 15-30 ซม. ใบรูปแถบ แกมรูปใบหอก ขนาด 0.5 x 2.5 ซม. โคนใบเป็นกาบ ช่อดอกออกท้ังท่ีปลายลำต้นและด้านข้าง มี 3-9 ดอก ทยอยบานครงั้ ละ 2-3 ดอก ดอกเลก็ ขนาด 0.2-0.3 ซม. สีขาวถึงสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปไข ่ แกมรูปใบหอก ปลายกลีบแหลม กลีบเลี้ยงคู่ข้างเช่ือม กันที่โคนจนเป็นคางดอกรูปทรงกลมมน กลีบปากเล็ก ปลายกลบี มน พบั ลงดา้ นลา่ งและมแี ถบสนี ำ้ ตาลแดงเรอ่ื เส้าเกสรเลก็ และสั้น ช่วงออกดอก กรกฎาคม - ตลุ าคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไมอ้ ิงอาศัย เจรญิ ไดบ้ นหินทม่ี ีมอสปกคลุมตามปา่ ดบิ เขา และป่าดิบช้ืน เขตการกระจายพนั ธุ์ มาเลเซีย อินโดนเี ซยี เวยี ดนาม ฟจิ ิ ไทย สถานภาพ พชื อนุรกั ษบ์ ัญชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 20 พชื อนุรกั ษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

เอ้ืองแมงปอเลก็ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Arachnis labrosa (Lindl. & Paxton) Rchb. f. ลักษณะ ลำต้นยาว 8-40 ซม. ใบรูปแถบแกมขอบ ขนาน กว้าง 1.5-3.5 ซม. ยาว 20-29 ซม. ชอ่ ดอกยาว 30-80 ซม. บางคร้ังแตกแขนง ดอก บานเต็มที่กว้าง 4-4.5 ซม. กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกรปู ขอบขนาน สเี หลอื ง ออ่ น มปี ระสนี ำ้ ตาลแดงทข่ี อบและปลายกลบี กลบี ปาก สเี หลอื งออ่ น โคนกลีบมีขดี ส้ันๆ สีนำ้ ตาลแดง ช่วงออกดอก สงิ หาคม - กนั ยายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้งและ ป่าเบญจพรรณ เขตการกระจายพันธุ์ เทือกเขาหิมาลยั ตะวันออก อัสสัมอินเดยี ภูฏาน สิกขิม พมา่ ไทย เวียดนาม จนี สถานภาพ พืชอนรุ ักษบ์ ญั ชีท่ี 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พชื อนุรักษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 21

เออ้ื งเขม็ แสด พมุ่ สวุ รรณ เอ้อื งมันปู เอื้องฮางคาง เอือ้ งฮอ่ งคำ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Ascocentrum miniatum (Lindl.) Schltr. ลกั ษณะ ต้นขนึ้ ตรง สูง 8-20 ซม. ใบรูปแถบเรยี ง สลบั ระนาบเดียว กว้าง 1-2 ซม. ยาว 5-15 ซม. แผ่นใบหนาและแข็ง ปลายใบเว้าหยัก ช่อดอก ต้ังตรง ออกตามซอกใบหลายช่อ ช่อดอกยาว 8-15 ซม. มีดอกจำนวนมาก ดอกขนาด 1 ซม. สีส้มสด เดือยดอกทรงกระบอกยาวกว่ากลีบปาก ฝาครอบเกสรเพศผูม้ สี คี ลำ้ ชว่ งออกดอก มีนาคม - เมษายน สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ในทุกภาคของไทย ยกเว้น ภาคตะวันตก เขตการกระจายพันธุ์ ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิ ปิ ปินส์ ไทย สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญา ไซเตส 22 พชื อนุรักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

ว่านนางบัวปอ้ ง เอ้ืองดินฟา้ มา้ น ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Brachycorythis heglecta H. A. Pedersen ลักษณะ ต้นเป็นหัวแบบมันฝร่ัง ลำต้นเหนือดิน สูง 25-30 ซม. ใบรูปรี รูปไข่ จนถึงรูปขอบ ขนาน ขนาด 3 x 5 ซม. ปลายใบมน ชอ่ ดอก แบบช่อกระจะ ดอกขนาด 2 ซม. กลีบเลี้ยง บนรูปขอบขนาน กลีบเล้ียงคู่ข้างรูปเคียว กลีบดอกรูปแถบ สีขาวถึงสีเขียวสดถึงซีด ปลายกลีบมน กลีบปากรูปทรงเกือบกลม สีขาวจนถึงสมี ว่ ง มกั มจี ดุ สมี ่วงท่วั กลีบ ชว่ งออกดอก กรกฎาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้ดิน ในป่าเบญจพรรณ พบตามท่ีร่มแสงแดดรำไร มีการพักตัวเหลือ เพยี งหวั ใต้ดนิ ในฤดหู นาวและฤดรู ้อน เขตการกระจายพันธุ์ พม่า จีน ไทย สถานภาพ พชื อนุรกั ษ์บญั ชีท่ี 2 ของอนสุ ัญญา ไซเตส พชื อนรุ ักษ์ในบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1 23

สงิ โตแคระดอกสาย สิงโตนวล ภาพ : ชาตรี มากนวล ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Bulbophyllum clandestinum Lindl. ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยขนาดเล็กมากอยู่ห่างกัน บนเหง้า ทอดเล้ือยและห้อยลง เหง้ามขี ้อถี่มาก ใบรูปขอบขนาน ใบเด่ียว ขนาด 0.5 x 2 ซม. ออกดอกเดี่ยวท่ีโคนหรือท่ีข้อเหง้า ดอกขนาด 1.0 ซม. สีขาวครีม กลีบเลี้ยงรูปหอกปลาย เรียวแหลม ยาวประมาณ 0.5 ซม. กลีบดอก รูปไข่มีขนาดเล็กมากและส้ันกว่ากลีบเลี้ยง ประมาณหน่ึงในสามส่วน กลีบปากขนาดเล็ก รูปหอก เส้าเกสรสั้น ปลายมีรยางคส์ ้ันๆ ดอกมี กลิ่นหอมอ่อน ชว่ งออกดอก สงิ หาคม สภาพนเิ วศ กล้วยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดิบเขา ตามรมิ ลำธารทร่ี ม่ รำไร ทค่ี วามสงู 400-1,000 เมตร เหนือระดับทะเล เขตการกระจายพันธุ์ พมา่ ไทย ลาว เวยี ดนาม มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี สถานภาพ พืชอนุรักษบ์ ัญชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญา ไซเตส 24 พืชอนุรกั ษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนป่าตะวันออก ตอนที่ 1

สงิ โตรวงข้าวเมืองจันท ์ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Bulbophyllum dissitiflorum Seidenf. ลักษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู ขอบขนานแกมรปู ไข่ แตล่ ะลำอยหู่ า่ ง กนั บนเหงา้ ใบรปู แถบ ขนาด 1.5 x 13 ซม. ชอ่ ดอกเป็น ช่อกระจะออกทีโ่ คนลำ ยาว 15-25 ซม. ดอกเรยี งห่างกนั สีน้ำตาลแดง ขนาด 0.5 ซม.กลีบเล้ียงรูปรีกว้าง กลีบเล้ียงคู่ข้างยาวและเชื่อมติดกันลักษณะเป็นถุงลึก กลีบดอกสีเหลือง รูปทรงสามเหล่ียม กลีบปากยาวคร่ึง หนง่ึ ของกลีบเลย้ี งคขู่ า้ ง มีร่องลกึ ทกี่ ลางกลบี เส้าเกสรส้นั ทป่ี ลายมรี ยางค์ ช่วงออกดอก ธนั วาคม - มกราคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบแล้งและ ปา่ ดบิ เขา ตามท่โี ล่งแจ้งแสงแดดรำไรจนถึงแสงแดดจดั เขตการกระจายพนั ธ์ุ กลว้ ยไมถ้ นิ่ เดยี วทพี่ บเฉพาะในประเทศไทย สถานภาพ พชื อนรุ ักษบ์ ัญชีที่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1 25

สิงโตพดั แดง ช่ือวทิ ยาศาสตร์ (J. Ko.. nig) Aver. Bulbophyllum flabellum-veneris ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปไข่ข้ึนชิดกันบนเหง้า ใบรูปขอบ ขนานแกมรูปรี ขนาด 2 x 10 ซม. ช่อดอกเป็นช่อซ่ีร่ม ออกจากโคนลำ ยาวประมาณ 10 ซม. มี 4-12 ดอก ดอกขนาด 0.8 ซม. กลีบเลี้ยงบนรูปไข่ปลายเรียวแหลม สคี รมี มจี ดุ สแี ดงทวั่ ทง้ั กลบี ขอบกลบี มขี นยาว กลบี เลยี้ งคู่ ข้างยาว 2.5-3 ซม. สีครีมมีจุดสีแดงกระจายที่ปลายกลีบ และหนาแน่นท่ีโคน ขอบกลีบเรียบและเช่ือมเป็นกลีบเดียวกัน กลีบดอกรูปไข่ปลายเรียวแหลม สีครีม ขอบกลีบมีขน กลีบปากมี ขนาดเลก็ มาก เสา้ เกสรสน้ั ช่วงออกดอก กรกฎาคม - สงิ หาคม สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้องิ อาศยั พบในป่าดิบตามริมลำธารทม่ี ีแสงรำไร เขตการกระจายพนั ธุ์ พมา่ ไทย ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม มาเลเซีย อินโดนเี ซยี สถานภาพ พืชอนุรักษบ์ ัญชที ี่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 26 พชื อนรุ ักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผืนป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1

สงิ โตนกั กล้าม ช อื่ วทิ ยาศาสตร์ Bulbophyllum lasiochilum C. S. P. Parish & Rchb. f. ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปขอบขนาน ใบรูปขอบขนานหนาและแข็ง ดอกเด่ียว ออกท่ีโคนลำ ขนาด 1.2 x 3.2 ซม. ดอกมีลักษณะแปลกตากว่าชนิดอื่นๆ ในกลุ่มเดียวกัน คือกลีบเล้ียงคู่ข้างบิดและพับงอเข้าจนมีลักษณะคล้ายเข่า กลีบดอกรูปเคียว กลีบปากสีเหลือง และที่ขอบของกลีบปากมีขนยาวปกคลุม สิงโตชนิดน้ีมีความผันแปรในเร่ืองสีของกลีบเลี้ยงและกลีบดอกค่อนข้างมาก มที ง้ั สคี รมี และมีจุดสีม่วงแดง บางต้นกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีสีม่วงเข้ม ซ่ึงเป็น ลกั ษณะทีพ่ บน้อยกวา่ ลกั ษณะแรก ช่วงออกดอก พฤศจกิ ายน - มกราคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศยั พบในปา่ เบญจพรรณ เขตการกระจายพันธุ์ อนิ เดีย พมา่ ไทย มาเลเซยี สถานภาพ พืชอนุรกั ษ์บญั ชีท่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส พชื อนรุ ักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1 27

สงิ โตกา้ มปใู หญ ่ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Bulbophyllum macranthum Lindl. ลกั ษณะ มีลำลูกกล้วยคอ่ นข้างเลก็ รูปรี ท่โี คนลำและเหง้ามีขนแขง็ จำนวนมาก ปกคลุม ใบรูปใบหอก 1 ใบ ขนาด 10-12 x 2-3 ซม. แผ่นใบหนาและแข็ง ดอกเดย่ี วเกิดจากโคนเหง้า ก้านดอกยาว 2-4 ซม. อวบน้ำ ดอกขนาด 2.5 ซม. กลบี คอ่ นขา้ งหนา จดุ เดน่ อยทู่ ร่ี ะนาบของดอกทพี่ ลกิ กลบั ทำใหก้ ลบี เลยี้ งบนลงมา ด้านล่าง ดอกสีครีม มีจุดและป้ืนสีม่วงแดงท่ัวท้ังกลีบ กลีบปากขนาดเล็กคล้าย รูปสามเหลี่ยม และม้วนลงมาทางด้านล่างจนปลายกลีบไปโผล่ทางด้านหลังของ ดอก ช่วงออกดอก มนี าคม - พฤษภาคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในป่าดบิ แลง้ เขตการกระจายพนั ธุ์ พมา่ เวยี ดนาม ไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี สถานภาพ พืชอนรุ ักษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส 28 พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

สิงโตโคมไฟ สิงโตหลอดไฟ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Bulbophyllum odoratissimum (Sm.) Lindl. ex Hook. f. ลักษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกระบอก แต่ละลำอยู่ ห่างกนั บนเหง้าขนาดเล็ก ใบรูปขอบขนานมี 1 ใบ ขนาด 1.8 x 4 ซม. ปลายใบเวา้ บ๋มุ มีอายหุ ลาย ฤดูก่อนหลุดร่วงที่ข้อต่อ ช่อดอกกึ่งซี่ร่มและมี เพียงช่อเดียว ดอกขนาด 0.6 ซม. เรียงเป็น กระจุกแน่น กลีบเล้ียงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ จนถึงรูปใบหอกแกมรูปไข่ ปลายกลีบมน กลีบ ดอกรูปไข่ เบ้ียว ปลายกลีบแหลม ทั้งห้ากลีบ สีขาวครีมและปลายกลีบมักเป็นสีส้ม กลีบปากรูป ขอบขนาน อวบอ้วน ปลายกลีบไม่โค้งงอลง เส้า เกสรเลก็ และสนั้ ท่ปี ลายมีรยางค์คล้ายเขย้ี วยนื่ ขึน้ ดอกมีกล่ินหอม ชว่ งออกดอก มิถุนายน - กรกฎาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าดิบ บรเิ วณทม่ี แี สงแดดรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ พม่า เวียดนาม ไทย ลาว จนี อนิ เดีย เนปาล สกิ ขิม ภูฏาน สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญา ไซเตส พืชอนุรักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1 29

สงิ โตงาม ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Bulbophyllum orectopetalum Garay, Hamer & Siegerist ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยรูปไข่ ขนาด 2 ซม. ขึ้นห่างกันบนเหง้า ใบรูปขอบขนาน ขนาด 3 x 10 ซม. ปลายมน โคนใบเปน็ กา้ นแขง็ มอี ายุหลายฤดูก่อนหลุดรว่ ง ออกดอกเด่ียว ก้านดอกยาว 5 ซม. ดอกขนาดประมาณ 3 ซม. สีเหลืองครีม มีลายตารางสีน้ำตาลแดงจางๆ กลีบเล้ียงบนรูปไข่แกมรูปหอก ปลายแหลม กลบี เลยี้ งคขู่ า้ งรปู เคยี ว กลบี ดอกรปู หอกแกมรปู ไข่ ปลายแหลม กลบี ปากรปู รแี กม รูปไข่ สเี หลืองครีม แผ่นกลบี มีเนอ้ื เย่อื นนู สเี หลืองและมนั วาว เส้าเกสรสนั้ แต่แผ่ กว้าง ชว่ งออกดอก ตลุ าคม - มกราคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ ดบิ เขตการกระจายพนั ธ์ุ อนิ เดยี จนี พมา่ ไทย ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญา ไซเตส 30 พืชอนุรกั ษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1

สงิ โตรวงข้าวน้อย ช่อื วิทยาศาสตร์ Bulbophyllum parviflorum C. S. P. Parish & Rchb. f. ลกั ษณะ ลำลูกกล้วยรูปทรงกลมจนถึงกลมแบน แต่ละลำขึ้น หา่ งกนั บนเหงา้ ขนาดเลก็ ใบรูปแถบ 1 ใบ ขนาด 2 x 8 ซม. ปลายใบแหลมจนถึงเว้า โคนใบเป็นก้านแข็ง มีอายุหลายฤดู ก่อนหลุดร่วงท่ีข้อ ช่อดอกเป็นช่อกระจะ ออกจากโคนลำ มีเพียงช่อเดียว ก้านช่อยาวใกล้เคียงกับแกนช่อ ดอกขนาด 0.6 ซม. หลายดอก เรียงเวียนแน่น กลบี เลยี้ งบนรปู รีแกมรูปไข่ กลีบเลี้ยงคู่ขา้ ง รูปไขแ่ กมรูปสามเหลี่ยม กลบี ดอกรปู ขอบขนาน ขอบกลีบมขี น ท้งั หา้ กลบี สีขาว ปลายกลีบมน กลีบปากรูปขอบขนาน เส้าเกสรส้ันมากและที่ปลายมีรยางค์ คลา้ ยเขีย้ วยืน่ ข้ึน ดอกมีกลิ่นหอม ชว่ งออกดอก กนั ยายน - พฤศจิกายน สภาพนิเวศ กล้วยไมอ้ งิ อาศยั เจริญได้บนหนิ พบในป่าดบิ เขา ทัง้ ในทโ่ี ลง่ แจง้ แสงแดดจัดหรือแสงแดดรำไร เขตการกระจายพนั ธุ์ พมา่ ไทย สถานภาพ พืชอนรุ ักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส พืชอนรุ ักษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนป่าตะวันออก ตอนที่ 1 31

สิงโตพัดเหลอื ง ช่อื วิทยาศาสตร์ Bulbophyllum retusiusculum Rchb. f. ลกั ษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู ไขแ่ กมรปู ขอบขนาน ขนาด 1-2 ซม. มี 1 ใบ ทป่ี ลายลำ ใบรูปขอบขนานกว้าง 1.5 ซม. ยาว 8-10 ซม. ชอ่ ดอกยาว 8-12 ซม. กลมุ่ ดอก เรียงแผ่ท่ีปลายช่อแบบซร่ี ม่ ดอกบานเต็มทกี่ ว้าง 0.8 ซม. ยาว 2 ซม. กลีบเลยี้ ง และกลีบดอกสเี หลอื งเข้มมีแต้มตามยาวสีแดงอมนำ้ ตาล กลีบเลยี้ งค่ขู ้างสีเหลอื ง กลีบปากสเี หลอื งแกมสม้ ช่วงออกดอก พฤศจิกายน - ธนั วาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้องิ อาศยั พบในปา่ ดบิ เขตการกระจายพนั ธ ์ุ จนี เนปาล ภาคตะวนั ออกของหมิ าลยั สกิ ขมิ อสั สมั อนิ เดยี ภูฏาน พม่า ไทย มาเลเซีย เวยี ดนาม ลาว ไต้หวนั สถานภาพ พชื อนุรกั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส 32 พืชอนรุ กั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนท่ี 1

สิงโตสยาม ลน้ิ ฟา้ ช่ือวิทยาศาสตร์ Bulbophyllum siamense Rchb. f. ลกั ษณะ ลำลูกกลว้ ยขนาดใหญ่สีเขยี วรูปไข่ กวา้ ง 2-3 ซม. ยาว 3-5 ซม. ออกหา่ งกนั 3-7 ซม. ใบมี 1 ใบ รปู รแี กมรปู ขอบขนาน กวา้ ง 5-7 ซม. ยาวได้ถงึ 20 ซม. ปลายแหลม แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ดอกเด่ียว ออกตามข้อของ เหง้า ก้านดอกยาวได้ถึง 10 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอก สีเหลือง มเี ส้นสีมว่ งแดงตามยาวจำนวนมาก กลบี เลยี้ งบน รปู ใบหอกกวา้ งไดถ้ งึ 1 ซม. ยาวไดถ้ ึง 5 ซม. กลีบเลยี้ งคู่ ข้างขนาดใกล้เคียงกับกลีบเล้ียงบนแต่ฐานกว้างกว่าและ เว้าเป็นแอ่ง ปลายกลีบชี้ลง กลีบดอกด้านข้างรูปใบหอก แคบและส้ันกว่ากลีบเลี้ยงแผ่กางออกในแนวระนาบ กลีบปากสีเหลือง ยาวได้ถึง 1 ซม. มีจุดประสีม่วงแดงขนาดเล็กกระจายทั่วไป กลีบม้วน ปลายกลีบแหลม ช้ีลง ใกล้โคนกลีบมีแต้มกลมสีเหลืองเข้ม เส้าเกสร แผก่ วา้ งสีเหลือง มีเส้นสีมว่ งแดงตามยาว ชว่ งออกดอก พฤศจกิ ายน - ธันวาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัยและเจริญได้บนหิน พบในป่าดิบเขาได้ทุกภูมิภาค ของไทย เขตการกระจายพันธ์ุ อินเดยี และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้ สถานภาพ พืชอนรุ กั ษบ์ ญั ชีท่ี 2 ของอนสุ ญั ญาไซเตส พชื อนุรกั ษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 33

เอื้องนำ้ ต้น เฒ่านั่งฮงุ่ เอื้องเหลย่ี ม ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Calanthe cardioglossa Schltr. ลกั ษณะ ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ลำลูกกล้วยรูปทรง คล้ายน้ำเต้า อยู่ที่ผิวดิน มีใบพับจีบหลายใบ ปลายใบ แหลม โคนใบเป็นกาบ ช่อดอกแบบกระจะออกทีข่ อ้ ขา้ ง ลำต้น ต้ังตรง มีดอกขนาดเล็ก หลายดอกเรียงห่างกัน ดอกกว้าง 1.5 ซม. ดอกสีขาว สีเหลือง สีชมพู สีแดง จนถึงสีมว่ ง กลบี เลย้ี งและกลีบดอกรปู รีกวา้ ง ปลายกลบี แหลมจนถึงเรียวแหลม กลีบปากเป็น 3 แฉก มีหูปาก ตงั้ ชนั มีเดือยดอกยาวมาก เสา้ เกสรสั้น ชว่ งออกดอก ตุลาคม - มกราคม สภาพนเิ วศ กล้วยไม้ดิน เจริญไดบ้ นหนิ ที่มีเศษซากพชื ทบั ถม พบในป่าดบิ แลง้ และปา่ ดิบเขา ตามที่ร่มแสงรำไร เขตการกระจายพันธ์ุ ไทย ลาว เวียดนาม สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญาไซเตส และเปน็ กล้วยไมห้ ายากและถูกรุกราน 34 พชื อนรุ ักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผืนป่าตะวันออก ตอนท่ี 1

ภาพ : จริ าภรณ์ มีวาสนา พืชอนุรักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ปา่ ในผืนปา่ ตะวนั ออก ตอนท่ี 1 35

อัว้ พวงมณี เอื้องน้ำเตา้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Calanthe rubens Ridl. ลกั ษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู นำ้ เตา้ ใบรปู รี ขนาด 8 x 20 ซม. ปลายเรยี วแหลม ชอ่ ดอกมขี นปกคลมุ ดอกขนาด 2.5 ซม. กลีบเล้ียงบนรูปรีแกมรูปไข่ กลีบเล้ียงคู่ข้างรูปร ี ด้านนอกของกลีบมีขนปกคลุม กลีบดอกรูปรีกว้าง ทั้งห้ากลีบสีชมพู ปลายกลีบแหลมหรือเรียวแหลม กลีบปากเป็น 3 แฉก แฉกกลางเว้าเป็น 2 แฉกต้ืนๆ โคนกลีบสชี มพเู ข้มและเชื่อมกับเสา้ เกสรจนเปน็ โพรงลกึ กลีบมเี ดอื ยดอกยาวมาก ชว่ งออกดอก มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ ชว่ งออกดอกทงิ้ ใบ สภาพนิเวศ กล้วยไม้ดิน พบในป่าดิบแล้ง บนหินท่ีมี ซากพชื ทับถมและตามผาเขาหนิ ปูน เขตการกระจายพนั ธุ์ ไทย มาเลเซีย ฟลิ ิปปนิ ส์ สถานภาพ พืชอนรุ กั ษบ์ ัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส 36 พชื อนุรักษใ์ นบญั ชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ ่าในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1

อ้ัวนวลจันทร์ ขาวมะลิลา ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Calanthe vestita Wall. ex Lindl. ลักษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู นำ้ เตา้ ใบรปู รี ขนาด 10 x 25 ซม. ปลาย เรยี วแหลม ช่อดอกมขี นปกคลุม ดอกขนาด 4 ซม. กลีบเลยี้ งรปู รี จนถึงรูปรีแกมรูปไข่ ปลายกลีบเรียวแหลม ด้านนอกของกลีบมีขน ปกคลุม กลบี ดอกรูปรกี ว้าง ปลายกลีบเปน็ ตง่ิ แหลม ท้งั 5 กลบี สขี าวนวล กลบี ปากเป็น 3 แฉก แฉกกลางเว้าลกึ โคนกลีบสีเหลือง เขม้ และเชอ่ื มกบั เส้าเกสรจนเป็นโพรงลึก กลบี มีเดือยดอกยาวมาก ช่วงออกดอก พฤศจิกายน - มกราคม ทง้ิ ใบก่อนออกดอก สภาพนิเวศ กล้วยไม้ดิน พบในป่าดิบแล้ง และตามซอกหินบน ภเู ขาหนิ ปูน เขตการกระจายพันธุ์ พม่า ไทย มาเลเซยี อนิ โดนีเซยี สถานภาพ พชื อนรุ ักษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ัญญาไซเตส พืชอนรุ กั ษใ์ นบัญชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ า่ ในผนื ป่าตะวันออก ตอนท่ี 1 37

คอกว่าง เอื้องเขย้ี วเสอื ลาย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Cleisomeria lanatum (Lindl.) Lindl. ex G. Don ชือ่ พ้อง Cleisostoma lanatum Lindl. ลกั ษณะ ลำตน้ สนั้ ใบรปู แถบ ขนาด 2.5 x 10 ซม. หนาและแข็งมาก ปลายใบเว้าจนถึงเว้าแหลม ช่อดอกมักมีมากกว่า 1 ช่อ ก้านช่อยาวใกล้เคียง กบั แกนช่อดอก ดอกขนาด 0.4 ซม.กลีบเลี้ยงบน รปู รี กลีบเลยี้ งคขู่ า้ งรูปรีกว้างและเบี้ยว ด้านนอก มีขนปกคลุม กลีบดอกรูปทรงเกือบกลม ขอบกลีบหยัก ทั้งหา้ กลบี สีเหลืองและมีลายสแี ดง 3 ลาย กลีบปากมีขนาดเล็ก ปลายกลีบเป็น 2 แฉก โคนกลบี มีหปู ากขนาดเลก็ รปู สามเหลย่ี ม กลบี มเี ดอื ยดอกขนาดใหญ่ ภายในมเี นอ้ื เยอ่ื นนู ชว่ งออกดอก เมษายน - กรกฎาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบเขา ตามที่โล่งแจ้ง แสงแดดจดั จนถงึ ทร่ี ่มแสงแดดรำไร เขตการกระจายพนั ธ์ุ พมา่ ไทย ลาว สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีท่ี 2 ของอนุสัญญา ไซเตส 38 พชื อนุรกั ษใ์ นบญั ชีไซเตส (CITES) : กลว้ ยไมป้ ่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนที่ 1

เอ้ืองพวงสรอ้ ยน้อย ชอื่ วิทยาศาสตร์ Cleisostoma crochetii (Guillaumin) Garay ลักษณะ ต้นขึ้นต้ังตรง สูง 1-3 ซม. ใบ 4-6 ใบต่อต้น ขนาด 3-7 x 0.5-0.8 ซม. แผน่ ใบคอ่ นขา้ งหนาและอวบ ช่วงปลายเรียวแหลม ผิวใบมันเล็กน้อย ช่อดอกยาว 6-15 ซม. ห้อยลง ดอกในช่อโปร่ง ขนาดดอกประมาณ 8 มม. เป็นกล้วยไม้ขนาดเล็กที่สวยงามเม่ือข้ึนใกล้กัน เปน็ กลุ่มในชว่ งฤดดู อก ช่วงออกดอก สิงหาคม - พฤศจิกายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้อิงอาศัย พบในปา่ เบญจพรรณ เขตการกระจายพันธ์ุ ไทย ลาว เวียดนาม สถานภาพ พชื อนุรักษ์บัญชที ี่ 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนุรกั ษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ป่าตะวนั ออก ตอนที่ 1 39

เออื้ งพวงสรอ้ ย ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Cleisostoma discolor Lindl. ลักษณะ ลำต้นเล็กและส้ัน ใบรูปแถบ มีหลายใบ ขนาด 2-2.5 x 8-12 ซม. ปลายเว้ารูปตัววี (V) ช่อดอกมีหลายช่อและส้ันกว่าใบ ดอกสีครีม อมน้ำตาล ขนาด 1 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอก รูปรี ปลายกลีบมน กลีบดอกมีขนาดเล็กกว่าเล็ก น้อย กลีบปากเป็นอุ้งลึก มีหูปากท่ีโค้งเข้าจนมี ลักษณะคล้ายเคียวปลายแหลม และมีเดือยดอก รูปทรงกระบอกอ้วนและสนั้ ช่วงออกดอก เมษายน - พฤษภาคม สภาพนเิ วศ กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั พบในปา่ เบญจพรรณ ตามทร่ี ม่ รำไรจนถงึ โล่งแจง้ แสงแดดจดั เขตการกระจายพันธ์ุ อินเดีย(สิกขิม) ไทย กมั พูชา มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี สถานภาพ พืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของอนุสัญญา ไซเตส 40 พืชอนรุ ักษใ์ นบัญชไี ซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผนื ปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1

ภาพ : สมราน สุดดี ก้างปลา ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Cleisostoma fuerstenbergianum Kraenzl. ลกั ษณะ ลำต้นผอม ยาวมาก และห้อยย้อยลง ใบรูปทรงกระบอกเรียวยาว เหมือนลำต้น ปลายแหลม ช่อดอกห้อยลง ก้านช่อส้ันกว่าแกนช่อ ดอกขนาด 0.7 ซม. กลบี เลย้ี งรปู ขอบขนานกลบี ดอกรูปแถบ ท้ังหา้ กลีบสนี ้ำตาลเข้ม ปลาย กลีบมน เมือ่ บานเต็มที่ลไู่ ปทางด้านหลัง กลีบปากมีขนาดเล็ก สคี รีม ปลายกลีบ รูปสามเหลี่ยม หูปากรูปสามเหล่ียม สีเหลือง งุ้มเข้าด้านใน กลีบมีเดือยดอก ขนาดใหญ่ ช่วงออกดอก กรกฎาคม - สิงหาคม สภาพนิเวศ กล้วยไม้อิงอาศัย พบในป่าเต็งรังตามท่ีโล่งแจ้งแสงแดดจัดและ แสงแดดรำไร เขตการกระจายพนั ธุ์ จนี ลาว ไทย กมั พชู า เวยี ดนาม สถานภาพ พชื อนรุ กั ษบ์ ญั ชที ี่ 2 ของอนสุ ญั ญา ไซเตส พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชไี ซเตส (CITES) : กลว้ ยไม้ป่าในผืนป่าตะวันออก ตอนที่ 1 41

เขม็ เย็บกระสอบ ช่ือวิทยาศาสตร์ Cleisostoma rostratum (Lindl.) Garay ลกั ษณะ ต้นกลมเจริญทางปลายยอด ใบแข็ง แผ่เรียว ยาว ปลายใบแหลม ดอกเป็นช่อห้อยลง ดอกแน่น จำนวนประมาณ 35-45 ดอก ขนาดประมาณ 0.8 ซม. ทยอยบาน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวอมเหลือง มีแถบสีน้ำตาลสองแถบ กลบี ปากเปน็ ถุง สมี ว่ ง ชว่ งออกดอก กรกฎาคม - กันยายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้อิงอาศยั พบในป่าดบิ เขตการกระจายพนั ธุ์ จนี กมั พชู า ลาว ไทย เวยี ดนาม สถานภาพ พืชอนุรกั ษ์บัญชที ี่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส 42 พืชอนุรักษ์ในบัญชีไซเตส (CITES) : กล้วยไมป้ า่ ในผนื ปา่ ตะวนั ออก ตอนที่ 1

เอ้อื งเทยี น เออื้ งลำเทยี น เอื้องลำเทียนปากดำ ภาพ : สุพัตรา ลมิ ปิยประพนั ธ ์ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Coelogyne brachyptera Rchb. f. ลักษณะ ลำลกู กลว้ ยรปู ทรงกระบอก ยาวเรยี ว ใบรปู แถบ มี 2 ใบ ขนาด 2.5 x 8-10 ซม. ปลายใบแหลม ชอ่ ดอก ส้ันกว่าใบ แต่ละช่อมีดอกน้อย เรียงชิดกัน ดอกใหญ ่ สีเขียว ขนาด 3.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ ปลายกลีบแหลม กลีบเล้ียงกว้างกว่าเล็กนอ้ ย กลีบปาก รูปขอบขนาน สีชมพูเข้ม มีหูปากรูปทรงมน ขอบท่ี ปลายกลีบบิดย้วย แผ่นกลีบมีลายสีเทาดำ เส้าเกสร แผ่เป็นครบี สั้นๆ ช่วงออกดอก มนี าคม - เมษายน สภาพนิเวศ กลว้ ยไม้อิงอาศัย พบทง้ั ในป่าผลัดใบและ ไม่ผลัดใบ ทัง้ ในทร่ี ่มรำไรจนถงึ ทโ่ี ล่งแจ้งแสงแดดจดั เขตการกระจายพันธ์ุ พม่า ไทย ลาว มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย กัมพชู า เวียดนาม สถานภาพ พืชอนุรักษบ์ ัญชีท่ี 2 ของอนุสญั ญาไซเตส พืชอนรุ ักษ์ในบญั ชีไซเตส (CITES) : กล้วยไม้ป่าในผืนปา่ ตะวันออก ตอนท่ี 1 43