Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คุณค่าสมุนไพรไทยคนไทยควรรู้ไว้

คุณค่าสมุนไพรไทยคนไทยควรรู้ไว้

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2021-08-23 03:15:29

Description: คุณค่าสมุนไพรไทยคนไทยควรรู้ไว้

Search

Read the Text Version

๑๔๐ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Morinda citrifolia L. ชื่อสามัญ : Indian Mulberry วงศ์ : Rubiaceae ชอ่ื อน่ื : ยอบ้าน (ภาคกลาง) มะตาเสอื (ภาคเหนอื ) ยอ แยใหญ่ (กะเหรย่ี ง-แม่ฮอ่ งสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ ้น สูง 2-6 เมตร เปลือกตน้ สนี ้าตาล แตกเป็นสะเก็ดแลว้ หลดุ ออก ก่ิงอ่อนเป็นสเี่ หลี่ยม ใบ เปน็ ใบเด่ียว ออกตรงข้าม รปู รี กวา้ ง 8-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สเี ขียวเขม้ เปน็ มัน ดอก ออกเป็นช่อกลมตามซอกใบ ดอกสีขาว กลบี ดอกโคนเช่ือมติดกันเปน็ หลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีกลน่ิ หอม ผล เป็น ผลรวม ผวิ ขรขุ ระเป็นต่มุ ผลสุกมกี ล่ินเหมน็ เอยี น เมล็ดสนี ้าตาลมีหลายเมลด็ สว่ นท่ีใช้ : ใบ ราก ผลดิบ ผลสุก สรรพคณุ : ใบ - มีวิตามนิ เอ 40,000 กว่ายนู ติ สากลตอ่ 100 กรัม มีคุณสมบัตใิ นการบารุงสายตา หัวใจ คั้นนา้ ทาแก้ โรคเก๊าท์ ปวดตามขอ้ เล็กๆ ของนิ้วมือ น้ิวเท้า หรือค้ันนา้ สระผมฆา่ เหา แกก้ ระษัย ใชใ้ บปรงุ เปน็ อาหาร แก้ท้องรว่ ง ราก - ใชเ้ ปน็ ยาระบาย แก้กระษัย ใชส้ กัดสอี อกมา เป็นสีย้อมผ้าได้ โดยผสมสว่ นของเกลอื ตา่ งๆ สามารถ เปล่ียนเป็นสีตา่ งๆ ไดต้ ามตอ้ งการ ซงึ่ สเี ดมิ ของรากจะมสี ีเหลือง หรือเหลืองปนแดง หากผสมตามสว่ นด้วยเกลอื อาจจะ ไดส้ ีแดง ชมพู น้าตาลอ่อน สีมว่ งแดง หรือสดี า เปน็ ตน้ ผลโตเตม็ ทีแ่ ตไ่ ม่สกุ - จ้ิมนา้ ผึ้งรับประทาน มีคณุ สมบตั เิ ป็นยาขับลม บารงุ ธาตุ เจรญิ อาหาร ขับลมใน ลาไส้ กระเพาะอาหาร แก้เหงือกเป่ือยเปน็ ขุมบวม ขบั เลือดลม ขบั โลหติ ประจาเดอื น ผลดิบ - ต้มน้ารบั ประทานกับรากผักชี แก้อาการอาเจยี นของหญิงมีครรภ์ วธิ แี ละปรมิ าณทีใ่ ช้ : นาผลยอโตเต็มทแี่ ต่ไมส่ ุก ฝานเปน็ ช้ินบางๆ ย่างหรือค่วั ไฟอ่อนๆ ให้เหลืองกรอบ ใช้ครง้ั ละ 1 กามือ (10- 15 กรมั ) ต้มหรือชงกับนา้ เอาน้าท่ีจิบทีละน้อย และบ่อยๆ ครงั้ จะไดผ้ ลดีกว่าดม่ื ครั้งเดียว สารเคมี : ผลยอนั้นมสี ารเคมี Asperuloside, caproic acid, caprylic acid และ glucose

๑๔๑ ช่ือวิทยาศาสตร์ : Tradescantia spathacea Stearn ช่ือสามัญ : Oyster plant , White flowered tradescantia วงศ์ : Commelinaceae ชอื่ อนื่ : กาบหอยแครง ว่านหอยแครง (กรุงเทพฯ) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก สูง 20-45 ซม. ลาตน้ อวบใหญ่ แตกใบรอบเปน็ กอ ใบ เป็นใบเด่ียว ออกเรียงซ้อน เป็นวงรอบ รปู ใบหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ หลังใบสีเขียว ท้องใบสมี ่วงแดง เนอ้ื ใบหนา ดอก ออกเปน็ ชอ่ ตาม ซอกใบ แต่ละชอ่ ประกอบดว้ ยใบประดบั สีมว่ งปนเขียว รปู หวั ใจคลา้ ยหอยแครง มี 2 กาบ โคนกาบท้ังสองประกบเกย ซ้อนและโอยห้มุ ดอกสีขาว ดอกสขี าวเล็กอยรู่ วมเป็นกระจุก กลบี ดอก 3 กลีบ รูปไข่ สีขาว แผน่ กลีบหนา เกสรเพศผู้มี 6 อัน ผล รูปรี กว้าง 2.5-3 มม. ยาว 3.5 มม. มีขนเล็กนอ้ ย ผลแก่แตกออกเป็น 3 ซกี เมล็ดเลก็ ส่วนที่ใช้ : ใชใ้ บสด หรอื ตากแหง้ เก็บไวใ้ ช้ และดอก เมื่อเก็บดอกที่โตเต็มท่ี แล้วตากแหง้ หรืออบด้วยไอน้า 10 นาที แลว้ จึงนาไปตากแหง้ เก็บเอาไว้ใช้ สรรพคณุ : ใบ - แก้ร้อนใน กระหายนา้ แกไ้ อ อาเจยี นเปน็ โลหติ แก้ฟกช้าภายใน เนอื่ งจากพลดั ตกจากทสี่ งู หรอื หกล้ม ฟาดถูกของแข็ง แกบ้ ิด ถ่ายเปน็ เลือด แก้ปสั สาวะเป็นเลือด ดอก - รสชุ่มเยน็ ต้มกับเนอื้ หมรู บั ประทาน ใช้ขับเสมหะ แกไ้ อแหง้ ๆ แก้อาเจียนเป็นโลหติ เลอื ดกาเดา ออก ห้ามเลอื ด แกป้ สั สาวะเป็นเลือด แก้ไอเป็นเลือด แก้บิดถ่ายเปน็ เลือด วธิ แี ละปรมิ าณท่ใี ช้ :ใบ ใชต้ ้มนา้ ดมื่ ครั้งละ 15- 30 กรมั ใชภ้ ายนอก โดยการตาพอก ดอก ใชด้ อกแห้งหนัก 10- 15 กรัม หรือ ดอกสด หนกั 30- 60 กรมั ตม้ นา้ ด่ืม ตารับยา : แกไ้ อ รอ้ นใน กระหายนา้ แกอ้ าเจยี นเปน็ โลหติ แกฟ้ กช้าภายใน เนือ่ งจากพลดั ตกจากทีส่ งู หรือหกลม้ ฟาดถูกของแขง็ ใชใ้ บสด 3 ใบ ต้มนา้ ผสมน้าตาลกรวดเล็กนอ้ ยด่ืม แกห้ วดั ไอ มีเสมหะปนเลือด เลือดกาเดาออก บดิ จากแบคทเี รยี ใชด้ อกแห้ง 20-30 ดอก ตม้ นา้ ดื่ม

๑๔๒ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa L. ชื่อสามัญ : Jamaican Sorel, Roselle วงศ์ : Malvaceae ชื่ออืน่ : กระเจ๊ียบ กระเจี๊ยบเปร้ยี ผกั เก็งเค็ง สม้ เก็งเค็ง สม้ ตะเลงเครง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมล้ ม้ ลุก อายปุ เี ดียว สงู 1-2 เมตร เปลือกตน้ เรียบ ลาต้นและกิง่ สีมว่ งแดง ใบ เปน็ ใบเดี่ยว ออกเรยี งสลบั ใบหยักเวา้ ลึก 3-5 แฉก แตล่ ะแฉกกวา้ ง 0.5-3 ซม. ยาว 3-8 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ก้านใบยาว 4- 15 ซม. ดอก ออกเดย่ี วตามซอกใบ มรี ้ิวประดบั สีแดง กลีบเล้ียงโคนเชอ่ื มติดกัน ปลายแยก 5 แฉก สแี ดงเข้ม อวบนา้ กลบี ดอก 5 กลบี สีเหลือง ตรงกลางดอกสีม่วงแดง เกสรเพศผู้จานวนมาก ผล รูปไข่ สแี ดงเขม้ มีกลีบเล้ยี ง ตดิ ทนขนาด ใหญร่ องรบั อยู่จนผลแก่ ผลแห้งแตกได้ เมล็ดสนี า้ ตาลจานวนมาก ส่วนท่ใี ช้ : กลีบเล้ียงของดอก หรอื กลีบทเี่ หลืออยู่ทผี่ ล ใบ ดอก ผล เมล็ด สรรพคุณ : กลีบเลยี้ งของดอก หรอื กลีบท่เี หลอื อยู่ทผ่ี ล 1. เป็นยาลดไขมันในเสน้ เลือด และชว่ ยลดนา้ หนกั ดว้ ย 2.ลดความดันโลหิตไดโ้ ดยไม่มีผลรา้ ยแรงแตอ่ ยา่ งใด 3.นา้ กระเจ๊ยี บทาให้ความเหนียวขน้ ของเลือดลดลง 4.ชว่ ยรกั ษาโรคเสน้ โลหติ แข็งแรงไดด้ ี 5.นา้ กระเจยี๊ บยังมฤี ทธ์ขิ ับปสั สาวะ เป็นการช่วยลดความดันอีกทางหน่ึง 6.ชว่ ยย่อยอาหาร เพราะไมเ่ พิ่มการหลง่ั ของกรดในกระเพาะ 7.เพม่ิ การหลัง่ นา้ ดีจากตับ 8.เป็นเคร่ืองดื่มทชี่ ว่ ยให้รา่ งกายสดช่นื เพราะมีกรดซีตรคิ อยู่ ใบ - มีรสเปรยี้ ว แกโ้ รคพยาธติ ัวจีด๊ ยากัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมอื กมันในลาคอให้ลงสู่ทวารหนัก ดอก - แก้โรคนิว่ ในไต แกโ้ รคน่วิ ในกระเพาะปัสสาวะขัดเบา ละลายไขมนั ในเสน้ เลือด กดั เสมหะ ขบั เมือก ในลาไส้ใหล้ งสทู่ วารหนัก ผล - ลดไขมันในเลอื ด แกก้ ระหายนา้ รักษาแผลในกระเพาะ เมลด็ - รสเมา บารงุ ธาตุ บารุงกาลัง แก้ดีพิการ ขับปัสสาวะ ลดไขมันในเส้นเลือด

๑๔๓ นอกจากนี้ ได้บง่ สรรพคุณโดยไม่ไดร้ ะบุวา่ ใช้ส่วนใด ดังนค้ี ือ แก้อ่อนเพลยี บารุงกาลงั บารงุ ธาตุ แก้ดีพิการ แก้ปสั สาวะ พกิ าร แก้คอแหง้ กระหายน้า แกค้ วามดนั โลหติ สูง กดั เสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมนั ในสาไส้ ลดไขมันในเลอื ด บารุงโลหิต ลด อุณหภมู ใิ นร่างกาย แก้โรคเบาหวาน แกเ้ ส้นเลอื ดตบี ตนั นอกจากใช้เดี่ยวๆ แลว้ ยังใช้ผสมในตารบั ยาร่วมกับสมนุ ไพรชนดิ อืน่ ใช้ถ่ายพยาธติ วั จีด๊ วิธแี ละปริมาณทใ่ี ช้ : โดยนาเอากลบี เลย้ี ง หรือกลบี รองดอกสมี ว่ งแดง ตากแหง้ และบดเปน็ ผง ใช้ครง้ั ละ 1 ช้อนชา (หนกั 3 กรัม) ชงกบั น้าเดือด 1 ถ้วย (250 มิลลลิ ติ ร) ดืม่ เฉพาะนา้ สีแดงใส ด่มื วันละ 3 คร้งั ตดิ ตอ่ กนั ทุกวันจนกวา่ อาการ ขดั เบาและอาการอนื่ ๆ จะหายไป สารเคมี : สารเคมที ่สี าคญั ใน ดอก พบ Protocatechuic acid. hibiscetin, hibicin, organic acid, malvin, gossypetin คณุ คา่ ด้านอาหาร น้ากระเจยี๊ บแดง มรี สเปร้ียว นามาต้มกบั นา้ เตมิ นา้ ตาล ดื่มแกร้ ้อนใน กระหายนา้ และช่วยป้องกนั การจับตัวของไขมนั ในเสน้ เลือดได้ และยังนามาทาขนมเยลล่ี แยม หรือใชเ้ ปน็ สารแต่งสี ใบอ่อนของกระเจย๊ี บเป็นผักได้ หรอื ใช้แกงส้ม รสเปรย้ี วกาลังดี กระเจ๊ียบเปรย้ี วมีชอ่ื เรียกอีกชื่อว่า \"สม้ พอเหมาะ\" ในใบมี วติ ามนิ เอ ช่วยบารงุ สายตา ส่วนกลบี เลี้ยงและกลีบดอก มีสารแคลเซียม ช่วยบารุงกระดูกและฟันให้แขง็ แรง นา้ กระเจี๊ยบแดงทไี่ ดส้ แี ดงเขม้ สาร Anthocyanin นาไปแต่งสีอาหารตามตอ้ งการ

๑๔๔ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Butea monosperma (Lam.) Taub ช่ือพ้อง : Butea frondosa Wild. ชอ่ื สามัญ : Flame of the Forest, Bastard Teak วงศ์ : Leguminosae-Papilionoideae ช่อื อนื่ : กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ) จอมทอง (ภาคใต)้ จ้า (เขมร) ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ส่วนทีใ่ ช้ : ดอก ยาง ใบ เมลด็ สรรพคณุ : ดอก รบั ประทานเปน็ ยาถอนพษิ ไข้ แก้กระหายน้าผสมเป็นยาหยอดตา แก้เจบ็ ตา ฝา้ ฟาง เปน็ ยาขบั ปสั สาวะ สมานแผลปากเปอ่ื ย แก้พิษฝี ยาง – ใช้แก้ท้องรว่ ง ใบ ตาพอกฝี และสวิ แกป้ วด ถอนพษิ แกท้ อ้ งขนึ้ ขบั พยาธิ แกร้ ิดสดี วง เมลด็ ขับไส้เดือน บดผสมน้ามะนาว ทาแก้ผิวหนังอักเสบเป็นผน่ื แดงและแสบร้อน ขอ้ ควรระวัง : เนื่องจากหลักฐานทางดา้ นความเป็นพิษมนี ้อย จงึ ควรที่จะได้ระมดั ระวงั ในการใช้ และไม่ควรใช้ติดต่อกัน นานๆ ด้านฤทธทิ์ างเภสัชวทิ ยา มรี ายงาน 2 ฉบับคือ 1.รายงานผลด้านฮอรโ์ มนเพศหญิง ผู้วิจัยพบวา่ ถา้ ใช้สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์ในขนาดตั้งแต่ 3.2 มก./กก./ วนั ข้ึนไปมีผลด้านฮอร์โมนเพศหญงิ 2.รายงานเร่อื งการสกัดแยกสารไดโซบิวตริน (Isobutrin) และ บิวตรนิ (Butrin) ซึ่งมีฤทธิ์ปอ้ งกันอันตราย ตอ่ ตบั เนื่องจากสารพิษ ไดแ้ ก่ คารบ์ อน เตทตร้าคลอไรด์ และ กาแลคโตซามีน ได้ สารเคมี - สารเคมีที่พบในดอกทองกวาว คอื Pongamin (Karanin), Kaempferol, ?-sitosterol, Glabrin, Glabrosaponin, Stearic acid, Palmitic acid, Butrin, Isobutrin coreopsin, Isocoreopsin, Sulfurein monospermoside และ Isomonospermoside สารทพ่ี บสว่ นใหญค่ อื สาร ซ่งึ เปน็ องค์ประกอบของสดี อกทองกวาว มี สารที่มรี สหวานคอื glabrin.

๑๔๕ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Cymbopogon citratus Stapf. ชื่อสามัญ : Lemon Grass, Lapine วงศ์ : Poaceae (Gramineae) ชื่ออนื่ : จะไคร้ (ภาคเหนือ) ไคร (ภาคใต)้ คาหอม (เงี้ยว-แมฮ่ ่องสอน) ห่อวอตะไป่ (กะเหร่ยี ง-แมฮ่ ่องสอน) หัวสิงโต (เขมร-ปราจีนบรุ ี) ตะไคร้แกง (ทว่ั ไป) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ส่วนทใ่ี ช้ : ท้งั ตน้ เก็บไดต้ ลอดปี ลา้ งให้สะอาด ใช้สดหรือผึง่ ใหแ้ หง้ ในทร่ี ่ม เก็บไว้ใช้ ราก เกบ็ ได้ตลอดปี ลา้ งให้สะอาด ใชส้ ด ใบสด สรรพคณุ : ทงั้ ตน้ รสฉนุ สมุ ขุม แก้หวัด ปวดศีรษะ ไอ แก้ท้องอืดทอ้ งเฟ้อ แนน่ จุกเสยี ด ขับลมในลาไส้ บารงุ ไฟธาตุ ทาให้เจริญอาหาร แกป้ วดกระเพาะอาหาร แก้ท้องเสยี แก้ปวดขอ้ ปวดเม่ือย ฟกช้าจากหกล้ม ขาบวมนา้ แก้โรคทางเดิน ปสั สาวะ นิว่ ขบั ปัสสาวะ ประจาเดอื นมาผดิ ปกติ แกป้ สั สาวะเป็นเลอื ด แกโ้ รคหืด ราก แกเ้ สยี ดแน่น แสบบริเวณหนา้ อก ปวดกระเพาะอาหารและขับปสั สาวะ บารงุ ไฟธาตุ ขับปสั สาวะ แก้ นิว่ แก้ปัสสาวะพกิ าร รกั ษาเกลอ้ื น แก้อาการขดั เบา ใบสด - มสี รรพคณุ ชว่ ยลดความดันโลหิตสูง แก้ไข้ ต้น - มสี รรพคุณเป็นยาขับลม แกผ้ มแตกปลาย เป็นยาชว่ ยให้ลมเบง่ ขณะคลอดลูก ใชด้ ับกลน่ิ คาว แก้เบื่อ อาหาร บารงุ ไฟธาตใุ ห้เจริญ แกโ้ รคทางเดนิ ปสั สาวะ น่ิวปัสสาวะพกิ าร แกห้ นองใน วิธแี ละปรมิ าณทใี่ ช้ : แกอ้ าการท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจกุ เสียด ปวดท้อง ใช้ลาตน้ แกๆ่ ทุบพอแหลก ประมาณ 1 กามือ (ประมาณ 40- 60 กรัม ) ต้มเอาน้าด่มื หรอื ประกอบเป็นอาหาร นาตะไครท้ ้งั ตน้ รวมทั้งรากจานวน 5 ตน้ สับเป็นท่อน ตม้ กับเกลอื ต้ม 3 สว่ น ให้เหลอื 1 สว่ น รบั ประทานครัง้ ละ 1 ถว้ ยแก้ว รบั ประทาน 3 วัน จะหายปวดท้อง แกอ้ าการขัดเบา ผทู้ ีป่ ัสสาวะขัดไม่คล่อง (แต่ต้องไม่มีอาการบวม) ใช้ต้นแก่สด วนั ละ 1 กามือ (ประมาณ 40- 60 กรัม , แหง้ หนกั 20- 30 กรัม ) ต้มกับน้าด่ืมครัง้ ละ 1 ถ้วยชา (75 มลิ ลิลติ ร) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ใชเ้ หง้าแก่ ทอ่ี ยใู่ ต้ดิน ฝานเป็นแว่นบางๆ คว่ั ไปอ่อนๆ พอเหลอื ง ชงเปน็ ชาดื่ม คร้งั ละ 1 ถ้วยชา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร คุณค่าทางด้านอาหาร :ตะไครย้ งั มีประโยชน์ตอ่ รา่ งกาย เพราะช่วยเพมิ่ เกลือแร่ทจ่ี าเป็นหลายชนดิ เชน่ แคลเซียม ฟอสฟอรสั เหลก็ และยงั มีวิตามินเอ รวมอยู่ด้วย สารเคมี : ใบ - มนี า้ มนั หอมระเหย 0.4-0.8% ประกอบดว้ ย Citral 75-85 % Citronellal, Geraniol Methylheptenone เลก็ นอ้ ย , Eugenol และ Methylheptenol ราก - มี อลั คาลอยด์ 0.3%

๑๔๖ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Helianthus annuus L. ชื่อสามัญ : Sunflower. วงศ์ : Asteraceae (Compositae) ชื่ออ่ืน : บัวตอง (ภาคเหนือ) ชอนตะวนั (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ส่วนที่ใช้ : แกนตน้ ใบ ดอก ฐานรองดอก เมล็ด เปลือกเมล็ด ราก สรรพคุณ : แกนต้น - ขบั ปสั สาวะ แก้นวิ่ ในทางเดินปัสสาวะ นิ่วในไต ปัสสาวะเปน็ เลอื ด ปัสสาวะข่นุ ขาว ไอกรน แผลมี เลือดออก ดอก - ขบั ลม ทาให้ตาสวา่ ง แก้วิงเวียน หน้าบวม บีบมดลกู ใบ, ดอก – แกห้ ลอดลมอกั เสบ ฐานรองดอก - แก้อาการปวดหวั ตาลาย ปวดฟัน ปวดทอ้ ง โรคกระเพาะ ปวดประจาเดือน ฝีบวม เมลด็ - แกบ้ ิด มูกเลือด ขบั หนองใน ฝฝี กั บวั ขับปสั สาวะ เสมหะ แก้ไอ แกไ้ ข้หวัด เปลอื กเมลด็ – แกอ้ าการหูอ้อื ราก - แกอ้ าการปวดท้อง แน่นหนา้ อก ฟกช้า เปน็ ยาระบาย ขับปสั สาวะ ข้อหา้ มใช้ : ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ วธิ ีและปริมาณทใ่ี ช้ : 1. แก้อาการปวดหัว ตาลาย ใชฐ้ านรองดอกทแ่ี ห้งแลว้ ประมาณ 25- 30 กรัม นามาตุ๋น กบั ไข่ 1 ฟอง รับประทานหลังอาหารวนั ละ 2 ครัง้ 2. แก้อาการช่วยขับปัสสาวะขุน่ ขาว และขับปสั สาวะ ใหใ้ ช้แกนกลางลาตน้ ยาวประมาณ 60 ซม. (หรือ ประมาณ 15 กรัม ) และรากต้นจยุ้ ข้งึ ฉา่ ยราว 60 กรมั ใชต้ ้มคัน้ เอานา้ หรอื ใชผ้ สมกับน้าผึ้งรบั ประทาน 3. แกอ้ าการปวดท้องโรคกระเพาะ และปวดท้องน้อยก่อนหรอื ระยะท่ีเป็นรอบเดือน ให้ใช้ฐานรองดอก 1 อัน หรอื ประมาณ 30- 60 กรมั และกระเพาะหมู 1 อนั แลว้ ใสน่ า้ ตาลทรายแดง ประมาณ 30 กรมั ต้มกรองเอาน้า รบั ประทาน 4. แกอ้ าการมกู โลหิต ให้ใช้เม็ดประมาณ 30 กรมั ใสน่ า้ ตาลเลก็ นอ้ ย ต้มนา้ นานราว 60 นาที แลว้ ใชด้ ื่ม 5. ชว่ ยลดความดันโลหติ ใหใ้ ชใ้ บสด 60 กรมั (แหง้ 30 กรมั ) และโถวงู่ฉิกสด 60 กรัม (แห้ง 30 กรัม ) นามาต้มเอาน้ารบั ประทาน 6. แก้อาการปวดฟัน ให้ใช้ดอกท่แี หง้ แลว้ ประมาณ 25 กรมั นามาสบู เหมือนยาสบู หรอื ใช้ฐานรองดอก 1 อัน พร้อมรากเกาก้ี นามาตุ๋นกบั ไข่รบั ประทาน

๑๔๗ 7. โรคไอกรน ให้ใช้แกนกลางลาต้นโขลกใหล้ ะเอยี ด แลว้ นามาผสมกับนา้ ตาล ทรายขาว ชงดว้ ยนา้ รอ้ น รับประทาน 8. แก้อาการไอ ใหใ้ ช้เมล็ดคว่ั ใหเ้ หลอื ง ชงน้าดืม่ กิน 9. แกอ้ าการหูอื้อ ใหใ้ ช้เปลือกเมลด็ ประมาณ 10- 15 กรมั ตม้ น้ารับประทาน 10. ขับพยาธิไส้เดือน ใหใ้ ช้รากสดประมาณ 30 กรมั เตมิ น้าตาลทรายแดงเล็กน้อย ต้มน้ารับประทาน 11. แผลท่มี เี ลือดไหล ใหใ้ ช้แกนกลางลาต้นโขลกให้ละเอยี ดแลว้ นามาพอก บริเวณแผล สารเคมี : สารเคมีในใบ ถา้ นามาสกดั ดว้ ยแอลกอฮอล์ (0.2%) มีฤทธ์สิ ามารถช่วยยบั ย้ังการเจรญิ เติบโตของพารามีเซยี ม (paramecium) และเชือ้ แบคทเี รยี Bacillus aureus แต่ไม่มีฤทธ์ิต่อเชอ้ื แบคทเี รีย Bacillus coli และนอกจากนีย้ งั สามารถใช้เป็นยาตา้ นโรคมาลาเรีย และช่วยเสริมฤทธย์ิ าควินิน

๑๔๘ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Asparagus racemosus Willd. วงศ์ : Asparagaceae ชือ่ อ่ืน : จว๋ งเครือ (ภาคเหนือ) เตอสเี บาะ (กะเหรีย่ ง-แม่ฮ่องสอน) ผักชชี า้ ง (หนองคาย) ผักหนาม (นครราชสมี า) พอ ควายเมะ (กะเหรย่ี ง-เชยี งใหม)่ สามร้อยราก (กาญจนบรุ ี) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมเ้ ลอื้ ย ปนี ปา่ ยข้นึ ที่ตน้ ไมข้ ้างเคยี งดว้ ยหนาม หนามเปล่ยี นมาจากใบเกล็ดบรเิ วณข้อ หนาม โคง้ กลับ ยาว1-4 มม. ลาตน้ สขี าวแกมเหลือง ตน้ กลมเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 2-5 มม. ปีนป่ายข้ึนไดส้ งู ถึง 5 เมตร แตก แขนง เปน็ เถาห่างๆ บรเิ วณขอ้ มกี ิง่ แตกแขนงแบบรอบข้อและกิ่งน้ีเปลยี่ นเป็นสีเขียวลักษณะแบน รูปขอบขนาน กวา้ ง 0.5-1 มม. ยาว 0.5-2.5 มม. ปลายแหลม ทาหน้าทแี่ ทนใบ (cladophyll) ลาต้นผวิ เรียบ ล่ืนเป็นมนั ใบ ใบเด่ียว เรียงตัวแบบ สลบั ใบเปน็ เกล็ด รปู สามเหล่ียม ฐานกว้าง0.5-4 มม. ยาว 1-4 มม. ใบเกล็ดมี อายุส้นั ๆต่อมาแขง็ ขน้ึ และเปล่ยี นเปน็ หนามโคง้ กลบั (recurved) ดอก ดอกชอ่ raceme เกิดท่ีซอกก่ิง (cladophyll) ก้านชอ่ ดอกยาว 3-15 มม. ดอกย่อย เสน้ ผา่ ศูนย์ กลางดอกบาน 3-4 มม. ก้านดอกย่อยยาว 2-3 มม. กลบี (tepals) 6 กลบี สขี าว แยกกันเปน็ 2 วง วงนอก 3 กลีบ วง ใน 3 กลีบ กลบี กว้าง 0.5-1 มม. ยาว 2.5-3.5 มม. กลบี รูปขอบขนาน ปลายกลีบมน ขอบเรยี บ เกสรเพศผู้ จานวน 6 อัน มาก เรยี งตัวตรงข้ามกับกลบี กา้ นชูอบั เรณยู าวขนานกับกลบี ก้านชูอับเรณลู กั ษณะเป็นเส้นเลก็ ๆ สขี าว แกมเหลือง ยาว 2-2.5 มม. อับเรณสู นี า้ ตาลอ่อน ยาว 0.3-0.5 มม. เกสรเพศเมีย 1 อัน รงั ไข่ superior ovary สีเขียว แกมเหลอื ง ลกั ษณะทรงกลม 3 พู เสน้ ผ่าศนู ย์กลางรังไข่ 1-1.5 มม. ก้านเกสรตวั เมีย 1 อัน ยาว 0.5 มม. ยอดเกสรตัว เมีย แยกเปน็ 3 แฉก ผลและเมล็ด ผลสด berry สีแดง หรอื แดงงอมม่วง เส้นผา่ ศูนย์กลาง 5-8 มม. ส่วนที่ใช้ : ราก สรรพคณุ : มฤี ทธ์ิขบั ปสั สาวะ หลอ่ ล่นื และกระต้นุ มีรสเย็น หวานชุม่ บารงุ เดก็ ในครรภ์ บารงุ ตบั ปอดให้เกดิ กาลังเป็น ปกติ วิธใี ช้ : นารากมา ต้ม, เชือ่ ม หรอื ทาแชอ่ มิ่ รับประทานเป็นอาหาร กรอบดมี าก

๑๔๙ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ananas comosus (L.) Merr. ชอื่ สามัญ : Pineapple วงศ์ : Bromeliaceae ชือ่ อ่ืน : แนะ (กะเหรีย่ ง-แม่ฮ่องสอน) ขนนุ ทอง ยานัด ย่านนดั (ใต)้ บ่อนัด (เชยี งใหม่) เนะซะ (กะเหรีย่ งตาก) ม้าเน่ือ (เขมร) มะขะนัด มะนัด (เหนือ) หมากเกง็ (เงย้ี ว-แมฮ่ ่องสอน) สับปะรด (กรงุ เทพฯ) ลงิ ทอง (เพชรบรู ณ)์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลกุ อายหุ ลสบปร สงู 90-100 ซม. ลาตน้ ใต้ดนิ ปลอ้ งสั้น ไมแ่ ตกกง่ิ กา้ นมแี ตก่ าบใบ ห่อหุม้ ลาตน้ ใบ เปน็ ใบเด่ยี ว ออกเรียงเวยี นถ่ี ไม่มีกา้ นใบ ใบเรียวยาว โคนใบเปน็ กาบหมุ้ ลาต้น ปลายแหลม ขอบใบมี หนาม แผน่ ใบสเี ขยี วเข้มและเปน็ ทางสีแดง ด้านลา่ งมนี วลแป้งสขี าว ดอก ออกเป็นชอ่ ท่ีปลายยอด ดอกเรยี งอัดกันแน่น รอบแกนช่อดอก กา้ นช่อใหญ่แข็งแรง กลีบดอก 3 กลบี ดา้ นบนสชี มพอู มม่วง ดา้ นล่างสีขาว เกสรเพศผู้ 6 อนั เรียบกัน 2 ช้ัน ผล เป็นผลรวมรูปรี โคนกวา้ ง ปลายสอบ มีใบส้ันเป็นกระจกุ ทีป่ ลายผล เรียกว่าตะเกียง ผลสกุ สีเหลอื งสดและฉ่าน้า ส่วนทีใ่ ช้ : ราก หนาม ใบสด ผลดบิ ผลสกุ ไสก้ ลางสบั ปะรด เปลือก จกุ แขนง ยอดอ่อนสับปะรด สรรพคณุ : ราก - แก้นิว่ ขบั ปัสสาวะ แก้กระษัย ทาให้ไตมีสุขภาพดี แก้หนองใน แก้มุตกิดระดขู าว แก้ขดั ข้อ หนาม - แก้พิษฝีตา่ งๆ แก้ไข้ ลดความรอ้ น ไข้พา ไข้กาฬ ใบสด - เป็นยาถา่ ย ฆา่ พยาธใิ นทอ้ ง ยาขับปัสสาวะ แก้กระษยั ผลดบิ - ใชห้ า้ มโลหิต แกโ้ รคทางเดนิ ปัสสาวะ ฆา่ พยาธิ และขบั ระดู ผลสุก - ขบั ปสั สาวะ ขบั เหงอื่ และบารุงกาลงั ช่วยยอ่ ยอาหาร แก้หนองใน มตุ กิด กัดเสมหะในลาคอ ไส้กลางสับปะรด – แกข้ ัดเบา เปลอื ก - ขับปัสสาวะ แกก้ ระษยั ทาใหไ้ ตมีสขุ ภาพดี จกุ - ขับปสั สาวะ แก้น่วิ แกห้ นองใน มุตกิดระดูขาว แขนง – แกโ้ รคนิว่ ยอดอ่อนสับปะรด – แก้นว่ิ วธิ แี ละปรมิ าณท่ใี ช้ : แก้อาการขดั เบา ชว่ ยขับปสั สาวะ ใชเ้ หง้าสดหรอื แห้งวนั ละ 1 กอบมือ (สดหนัก 200-250 กรัม แหง้ หนกั 90-100 กรมั ) ตม้ กับนา้ ด่มื ครงั้ ละ 1 ถว้ ยชา (75 มิลลิลติ ร) วนั ละ 3 คร้ัง กอ่ นอาหาร คณุ ค่าดา้ นอาหาร : สับปะรด รับประทานเปน็ ผลไม้ มแี รธ่ าตุและวติ ามินที่เปน็ ประโยชนต์ ่อรา่ งกาย สารเคมี : เหงา้ มี Protein ลาตน้ มี Bromelain, Peroxidase, Amylase, Proteinase ใบ มี Hemicellulose, Bromelain, Campestanol ผล มี Acetaldehyde, Ethyl acetate, Aceton นา้ มนั หอมระเหย มี Isobutanol.

๑๕๐ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. ช่อื สามัญ : Beleric myrobalan วงศ์ : Combretaceae ชื่ออน่ื : ลัน (เชียงราย) สมอแหน (กลาง) แหน แหนขาว แหนตน้ (เหนือ) สะคู้ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ซิบะดู่ (กะเหร่ยี ง-เชยี งใหม)่ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สงู 15-35 เมตร ลาต้นเปลาตรง โคนตน้ มกั เปน็ พูพอน เปลือกสีเทาอมนา้ ตาลหรอื เป็นสดี าๆ ดา่ งๆ เปน็ แหง่ ๆ คอ่ นข้างเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็กๆ ไปตามยาวลาต้น เปลอื กในสี เหลือง เรอื นยอดกลมแผ่กวา้ งและค่อนขา้ งทึบ กง่ิ อ่อนและยอดอ่อนมีขนประปราย ใบ เป็นชนิดใบเด่ียว ติดเวยี นกนั เปน็ กลมุ่ ตามปลายๆ กง่ิ ทรงใบรูปรแี กมรปู ไขก่ ลับ กว้าง 9-15 ซม. ยาว 13-19 ซม. โคนใบสอบมาสู่ก้านใบ สว่ นท่คี ่อนไป ทางปลายใบผายกวา้ ง ปลายสดุ จะหยัดคอดเปน็ ตง่ิ แหลมส้ันๆ เสน้ แขนงใบโคง้ อ่อน มี 6-10 คู่ เสน้ ใบแบบเสน้ รา่ งแห เห็นชดั ทางด้านท้องใบ เนื้อใบค่อนข้างหนา หลงั ใบเขียวเขม้ และมีขนสีน้าตาลกระจายท่วั ไป ท้องใบสจี างหรือสเี ทามีขน นมุ่ ๆ คลมุ แตท่ ้ังสองด้านขนจะหลดุ รว่ งไปเมื่อใบแกจ่ ดั ขอบใบเรียบ กา้ นใบยาว 4-6 ซม. บริเวณกง่ึ กลางก้านจะมตี ่อม หรือต่มุ หูด หนึ่งคู่ ดอก เล็ก สีขาวอมเหลือง ออกเปน็ ช่อเดย่ี วๆ แบบหางกระรอก ท่ีง่ามใบหรอื รอยแผลใบตามกิ่ง ปลาย ชอ่ จะหอ้ ยย้อยลง ชอ่ ยาว 10-15 ซม. ดอกเพศผสู้ ่วนใหญ่จะอยู่ตามปลายๆ ชอ่ ส่วนดอกสมบูรณเ์ พศจะอยู่ตามโคนช่อ กลีบฐานดอก มี 5 กลีบ โคนกลบี เชื่อมตดิ กันเป็นรปู ถ้วยเล็กๆ ท้ังหมดมีขนทวั่ ไป เกสรเพศผู้มี 10 อนั เรยี งซ้อนกันอยู่ สองแถว รงั ไข่ ค่อนข้างแปน้ ภายในมีชอ่ งเดียวและมไี ข่อ่อน 2 หนว่ ย หลอดท่อรงั ไขม่ ีหลอดเดียว ผล กลมหรอื กลมรีๆ แขง็ ผวิ นอกปกคลมุ ด้วยขนสนี ้าตาลหนาแน่น ออกรวมกนั เปน็ พวงโตๆ สว่ นทใ่ี ช้ : ผลออ่ น ผลแก่ เมล็ดใน ใบ ดอก เปลอื ก แกน่ ราก สรรพคณุ : ผลอ่อน - มีรสเปร้ียว แกไ้ ข้ แก้ลม เป็นยาระบาย ยาถา่ ย ผลแก่ - มีรสฝาด แก้โรคในตา บารุงธาตุ แก้ไข้ แก้ริดสดี วงทวารหนัก เปน็ ยาแก้ทอ้ งรว่ ง ท้องเดนิ เมล็ดใน - แก้บิด บดิ มูกเลือด ใบ – แกบ้ าดแผล ดอก – แกโ้ รคในตา เปลือกตน้ – ตม้ ขบั ปัสสาวะ แกน่ – แก้รดิ สีดวงพรวก ราก - แก้โลหติ อันทาใหร้ ้อน ขนาดและปริมาณท่ใี ช้ :ขบั ปัสสาวะ - ใช้เปลอื ก ต้น ตม้ รับประทาน ขับปสั สาวะ เป็นยาระบาย ยาถ่าย - ใชผ้ ลโตแต่ยัง ไมแ่ ก่ 2-3 ผล ต้มกับน้า 1 ถว้ ยแก้ว ใส่เกลอื เล็กนอ้ ย รบั ประทานคร้ังเดยี ว เปน็ ยาแก้ท้องร่วง ท้องเดิน (ไม่ใช่บิด หรอื อหวิ าตกโรค) - ใชผ้ ลแก่ 2-3 ผล ต้มกับน้า 2 ถว้ ยแก้ว ใส่เกลือ เล็กนอ้ ย เคยี่ วจนเหลอื 1 ถ้วยแก้ว ใช้รบั ประทาน

๑๕๑ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Orthosiphon aristatus (Blume) Miq. ชื่อพ้อง : O. grandiflorus Bold. ช่ือสามัญ : Java tea, Kidney Tea Plant, Cat's Whiskers วงศ์ : Lamiaceae ( Labiatae) ชื่ออ่นื : บางรกั ป่า (ประจวบครี ีขันธ)์ พยับเมฆ (กรุงเทพฯ) อีตดู่ ง (เพชรบรู ณ์) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : พืชลม้ ลกุ ขนาดเล็ก ลาต้นก่ิงอ่อนเปน็ ส่เี หลี่ยม สูง 0.3-0.8 เมตร ใบเด่ยี วเรยี งตรงข้าม แผ่น ใบรปู สี่เหลยี่ มข้าวหลามตัด ขอบใบหยกั แผ่นใบสีเขยี วเขม้ ดอกชอ่ ออกตรงปลายยอด มี 2 พันธ์ุ ชนดิ ดอกสขี าวอมม่วง ออ่ น กับพันธ์ดุ อกสฟี ้า บานจากลา่ งขึ้นข้างบน เกสรเพศผเู้ ปน็ เส้นยาวยืน่ ออกมานอกกลีบดอก ผล เป็นผลแห้งไม่แตก ส่วนทีใ่ ช้ : ราก ทัง้ ต้น ใบและต้นขนาดกลางไม่แก่ไม่อ่อนจนเกินไป สรรพคณุ : ราก – ขับปัสสาวะ ท้งั ต้น - แกโ้ รคไต ขบั ปสั สาวะ รกั ษาโรคกระษัย รักษาโรคปวดตามสนั หลงั และบ้นั เอว รกั ษาโรคนิ่ว รกั ษาโรคเยื่อจมูกอักเสบ ใบ - รักษาโรคไต รักษาโรคปวดข้อ ปวดหลัง ไขข้ออักเสบ ลดความดนั โลหติ รกั ษาโรคเบาหวาน ลดนา้ ขับ กรดยรู ิคแอซดิ จากไต วิธแี ละปรมิ าณทใี่ ช้ : ขบั ปสั สาวะ 1. ใชก้ ง่ิ กบั ใบหญา้ หนวดแมว ขนาดกลาง ไมแ่ กห่ รอื ออ่ นจนเกินไป ลา้ งสะอาด นามาผ่งึ ในทร่ี ม่ ใหแ้ ห้ง นามา 4 กรมั หรือ 4 หยบิ มอื ชงกับนา้ เดอื ด 1 ขวดนา้ ปลา (750 ซซี ี.) เหมอื นกนั ชงชา ดื่มต่างนา้ ตลอดวนั รับประทาน นาน 1-6 เดือน 2. ใชต้ ้นกับใบวนั ละ 1 กอบมือ (สด 90- 120 กรมั แหง้ 40- 50 กรมั ) ตม้ กบั นา้ รบั ประทาน ครัง้ ละ 1 ถ้วย ชา (75 ซซี ี.) วันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร ขอ้ ควรระวัง - คนทเ่ี ปน็ โรคหัวใจ ไต หา้ มรับประทาน เพราะมสี ารโปตสั เซียมสงู มาก ถา้ ไตไมป่ กติ จะไม่สามารถขบั โปตสั เซียมออกมาได้ ซึ่งทาให้เกิดโทษต่อรา่ งกายอย่างรา้ ยแรง การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ หญ้าหนวดแมวมโี ปรแตสเซยี มสงู ประมาณร้อยละ 0.7-0.8 มี Glycoside ท่ีมีรสขม ชือ่ orthsiphonin นอกจากน้ีก็พบวา่ มี essential (0.2-0.6%) saponin alkaloid, organic acid และ fatty oil อีกด้วย จากรายงานพบว่า มีสารขบั ปัสสาวะได้ ยาท่ีชงจากใบใช้บาบดั โรคเก่ียวกับไตไดห้ ลายชนิดดว้ ยกัน ใช้บาบัดโรคเกี่ยวกับกระเพาะปสั สาวะ เช่น โรคไตอักเสบ ** โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล นายแพทย์ วีรสงิ ห์ เมอื งมน่ั และคณะ พบว่าได้ใช้ยาชงจาก หญ้าหนวดแมว 4 กรัม ชงกับนา้ เดือด 750 ซีซ.ี ดมื่ ตา่ งน้าในคนไข้ 27 คน พบว่าทาใหป้ ัสสาวะคล่องและใส อาการปวด

๑๕๒ นว่ิ ลดลงได้และน่วิ ขนาดเล็กลง และหลุดออกมาได้เอง มีผู้ป่วยร้อยละ 40 ผปู้ ่วยหายจากปวดนวิ่ รอ้ ยละ 20 กองวิจัย ทางการแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ รายงานเรื่องพิษเฉยี บพลนั ว่าไม่มีพิษ สารเคมี : ตน้ มี Hederagenin, Beta-Sitosterol, Ursolic acid ใบ มี Glycolic acid, Potassium Salt Orthosiphonoside, Tannin, Flavone Organic acid และ นา้ มันหอมระเหย

๑๕๓ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Saccharum officinarum L. ชอ่ื สามัญ : Sugar cane วงศ์ : Poaceae (Gramineae) ช่ืออืน่ : อ้อย ออ้ ยขม ออ้ ยดา (ภาคกลาง) กะที (กะเหรยี่ ง-แม่ฮ่องสอน) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ส่วนทใ่ี ช้ : ทัง้ ต้น ตน้ นา้ อ้อย ผิวของตน้ อ้อย มี wax สรรพคุณ : ท้งั ตน้ - แกป้ สั สาวะพิการ แก้ขัดเบา แก้ช้ารัว่ แก้โรคนว่ิ แก้ไอ ต้น - แก้อาการขัดเบา แกป้ ัสสาวะพิการ แก้ไขต้ วั ร้อน แก้พษิ ตานซาง บารงุ ธาตนุ า้ แก้ร้อนใน กระหายน้า แกเ้ สมหะเหนียว ทาใหช้ มุ่ ชนื่ ในลาคอ ในอก บารุงกาลัง บารุงหวั ใจ ขบั นา้ เหลอื ง แก้ชา้ ใน รักษาโรคไซนสั น้าออ้ ย - รักษาโรคนว่ิ บารงุ หวั ใจ ทาให้ชุม่ ชนื่ ในลาคอ แกเ้ สมหะ แกห้ ืด ไอ ขับปัสสาวะ บารุงกาลงั เจรญิ อาหาร เจริญธาตุ ผิวของตน้ อ้อย มี wax เอามาทายา และเครือ่ งสาอาง วิธีและปริมาณท่ใี ช้ : ขับปสั สาวะ แก้อาการขดั เบา ใชล้ าตนั ทง้ั สดและแห้งขออ้อยแดง วันละ 1 กามอื (สด 70-90 กรัม แหง้ หนัก 30-40 กรัม) ห่ันเปน็ ช้ินๆ ต้มกับนา้ ดื่ม ครง้ั ละ 1 ถ้วยชา (75 มลิ ลลิ ิตร) วันละ 2 ครงั้ กอ่ นอาหารเชา้ -เยน็ อ้อยแดงมีฤทธใ์ิ นทางขบั ปสั สาวะไดใ้ นหนูขาว กองวิจยั ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รายงาน วา่ อ้อยแดงไม่มพี ิษเฉยี บพลัน สารเคมี : ราก มี Nitrogenase ต้น มี Alcohols, Phenolic esters and ethers Alkaloids, Amino acids, Asparagine น้าออ้ ย มี Cacium , Potassium, Magnesium, Phosphorus, Sulfur ใบ มี 5, 7-Dimethyl-apigenin- 4-O-B-D-glycosideสว่ น ดอก พบ 5-0-Methyl apigenin

๑๕๔ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Allium tuberosum Rottl. ex Spreng ช่ือสามัญ : Chinese Chives, Leek วงศ์ : Liliaceae (Alliaceae) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลกุ สูง 30-45 ซม. มีเหง้าเล็กและแตกกอ ใบแบน เรยี งสลับ รูปขอบขนาน ยาว 30-40 ซม. โคนเปน็ กาบบางซ้อนสลับกนั ช่อดอกแบบซีร่ ่ม ก้านช่อดอกกลมตัน ยาว 40-45 ซม. โดยปรกตจิ ะยาวกว่าใบ ดอกสี ขาว กลิน่ หอม ออกในระดบั เดียวกนั ทป่ี ลายกา้ นช่อดอก ก้านดอกยาวเท่ากนั มีใบประดับหมุ้ ชอ่ ดอก เมื่อดอกเจริญข้ึนจะ แตกออกเป็นริ้วสีขาว กลีบดอก 6 กลบี สขี าว ยาวประมาณ 5 มม. โคนติดกัน ปลายแยก กลางกลบี ดอกดา้ นนอกมีสัน หรอื เสน้ สีเขยี วอ่อนจากโคนกลีบไปหาปลาย ดอกบานกว้างประมาณ 1 ซม. เกสรเพศผู้ 6 อัน อยู่ตรงข้ามกับกลบี ดอก เกสรเพศเมยี 1 อนั รงั ไข่อยเู่ หนอื วงกลีบ ผลกลม กวา้ งยาวประมาณ 4 มม. ภายในมี 3 ชอ่ ง มีผนงั กั้นต้ืนๆ เมอ่ื แกแ่ ตก ตามตะเขบ็ มเี มลด็ ช่องละ 1-2 เมล็ด เมลด็ สนี ้าตาล แบน ขรุขระ ส่วนทใ่ี ช้ : เมล็ด ต้น และใบสด สรรพคุณ : เมลด็ เปน็ ยาฆ่าสตั วต์ ่างๆ ให้ตายได้ รบั ประทานขบั พยาธเิ ส้นด้ายหรือแซม่ ้า รับประทานกับสรุ าเปน็ ยาขบั โลหิตประจาเดือนท่ีเป็นลิ่มเป็นกอ้ นไดด้ ี ต้นและใบสด เป็นยาเพมิ่ และขับน้านมในสตรหี ลงั คลอด ใช้รับปะทานเป็นอาหาร ใช้ฆา่ เชือ้ (Antiseptic) แก้โรคน่ิว และหนองในไดด้ ี วธิ แี ละปริมาณท่ใี ช้ : เมลด็ เผาไฟเอาควนั รมเขา้ ในรหู ู เปน็ ยาฆ่าสตั วต์ า่ งๆ ใหต้ ายได้ บางจังหวดั ใช้เมล็ดคัว่ ใหเ้ กรยี ม บดให้ ละเอียด ผสมกับนา้ มันยางชุบสาลอี ุดฟนั ท่เี ป็นรูทงิ้ ไว้ 1-2 วนั เป็นยาฆา่ แมลงท่กี นิ อยใู่ นรูฟันใหต้ ายได้ ตน้ และใบสด ใช้จานวนไมจ่ ากดั แกงเลยี งรบั ประทานบ่อย ขับนา้ นมหลงั คลอด ใช้ตน้ และใบสด ตาให้ ละเอยี ดผสมกบั สุราใส่สารสม้ เลก็ นอ้ ย กรองเอาน้ารบั ประทาน 1 ถ้วยขา แกโ้ รคนว่ิ และหนองใน

๑๕๕ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa ABB cv. Kluai 'Namwa' ชื่อสามัญ : Banana วงศ์ : Musaceae ช่อื อ่ืน : กลว้ ยมะลิอ่อง (จันทบรุ )ี กล้วยใต้ (เชียงใหม่, เชียงราย) กลว้ ยอ่อง (ชยั ภมู ิ) กล้วยตานอี ่อง (อุบลราชธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมล้ ้มลุก สงู ประมาณ 3.5 เมตร ลาต้นสน้ั อยใู่ ต้ดนิ กาบเรยี งเวียนซ้อนกนั เป็นลาต้นเทียม สี เขียวอ่อน ใบ เป็นใบเดย่ี วขนาดใหญ่ ออกเรยี งสลับ รปู ขอบขนาน กว้าง 25-40 ซม. ยาว 1-2 เมตร ปลายใบมน ขอบใบ เรยี บ แผน่ ใบเรียบ สีเขียว ดา้ นลา่ งมนี วลสขี าว เสน้ ใบขนานกนั ในแนวขวาง ก้านใบเปน็ รอ่ งแคบ ดอก ออกเปน็ ช่อทปี่ ลาย ยอดห้อยลง เรียกว่า หวั ปลี มใี บประดบั ขนาดใหญ่หุ้มสแี ดงเขม้ เม่ือบานจะมว้ นงอขึน้ ดา้ นนอกมนี วล ด้านในเกลย้ี ง ผล รูปรี ยาว 11-13 ซม. ผิวเรยี บ ปลายเป็นจุก เนอ้ื ในมสี ีขาว พอสุกเปลือกผลเป็นสเี หลือง เน้อื มรี สหวาน รบั ประทานได้ หวี หน่ึงมี 10-16 ผล บางครัง้ มเี มล็ด เมลด็ กลม สีดา ส่วนท่ใี ช้ : หวั ปลี เนอื้ กล้วยน้าว้าดบิ หรอื หา่ ม กลว้ ยนา้ ว้าสุกงอม ราก ต้น ใบ ยางจากใบ สรรพคุณ : ราก – แก้ขัดเบา ตน้ - หา้ มเลอื ด แก้โรคไส้เลอ่ื น ใบ - รกั ษาแผลสุนขั กดั หา้ มเลือด ยางจากใบ - หา้ มเลอื ด สมานแผล ผล - รักษาโรคกระเพาะ แกท้ ้องเสีย ยาอายวุ ฒั นะ แก้โรคบิด รักษาแผลไฟไหม้ นา้ ร้อนลวก แกร้ ิดสดี วง กล้วยนา้ ว้าดิบ - มฤี ทธิฝ์ าดสมาน ใช้แก้อาการท้องเดนิ แก้โรคกระเพาะ และอาหารไมย่ ่อย กลว้ ยน้าวา้ สุกงอม - เป็นอาหาร ยาระบาย สาหรับผทู้ ่ีอุจจาระแข็ง หรือเปน็ ริดสีดวงทวารข้นั แรก จนกระทัง่ ถา่ ยเป็นเลือด หวั ปลี - (ช่อดอกของต้นกล้วย จานวนไม่จากดั ) ขบั นา้ นม วิธแี ละปริมาณที่ใช้ : ขบั นา้ นม - ใชห้ วั ปลีแกงเลียงรับประทานบ่อยๆ หลงั คลอดใหมๆ่ แก้ท้องเดินท้องเสยี ใช้กลว้ ยนา้ วา้ ดิบหรอื หา่ มมาปอกเปลือก หั่นเปน็ ชน้ิ บางๆ ใส่นา้ พอท่วมยา ต้มนานครงึ่ ชว่ั โมง ดืม่ ครงั้ ละ 1/2 - 1 ถว้ ยแกว้ ให้ดมื่ ทุกคร้งั ที่ถา่ ย หรือทุกๆ 1-2 ชว่ั โมง ใน 4-5 ชว่ั โมงแรก หลงั จากนนั้ ให้ด่ืมทุกๆ 3-4 ชว่ั โมง หรือวันละ 3-4 คร้ัง สรรพคณุ เดน่ : แกโ้ รคกระเพาะ ทอ้ งผกู 1. แกโ้ รคกระเพาะ - นากลว้ ยนา้ วา้ ดบิ (ถา้ เป็นกล้วยกักมุกดบิ จะดีกวา่ ) มาปอกเปลอื ก แล้วนาเนอื้ มาฝาน

๑๕๖ เปน็ แผน่ บางๆ ตากแดด 2 วันให้แห้งกรอบ บดเป็นผงใหล้ ะเอียด ใชร้ บั ประทาน คร้ังละ 1-2 ชอ้ นโตะ๊ ละลายน้าข้าว นา้ ผงึ้ (นา้ ธรรมดาก็ได)้ รบั ประทานกอ่ นอาหารคร่งึ ชัว่ โมง และก่อนนอนทกุ วัน 2. แก้ท้องผกู - ให้รบั ประทานกล้วยนา้ วา้ สุกงอม คร้งั ละ 2 ผล วนั ละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร 1/2 ชั่วโมง เวลา รับประทานควรเคยี้ วใหล้ ะเอียดท่สี ุด 3. แกท้ อ้ งเดิน - ใช้เนื้อกลว้ ยนา้ วา้ ห่ามรับประทาน หรือใช้กล้วยน้าวา้ ดบิ ฝานเปน็ แวน่ ตากแหง้ รับประทาน สารเคมที ่ีพบ : หวั ปลี มธี าตเุ หล็กมาก หวั ปลี และราก มี Triterpene หรอื Steroid ผลกล้วย ทกุ ชนดิ ประกอบดว้ ย นา้ แปง้ โปรตีน ไขมัน เส้นใย เกลอื แรต่ า่ งๆ (โดยเฉพาะแคลเซยี ม เหล็ก และโปรแตสเซยี มในกล้วยหอมมีมาก) วิตามนิ และ เอนไซมต์ า่ งๆ นอกจากน้ียังมี Serotonin Noradrenaline และ Dopamine ผลดบิ มีแป้ง Tannin acid, Gallic acid และ Pectin มาก กล้วยหอมสกุ ให้กล่ิน และรสของ Amyl acetate, Amylbutyrate Acetaldehyde, Ethyl alcohol และ Methyl alcohol นา้ ยาง มี Pelargonidin, Cyanidin, Delphinidin Palonidin Petunidin และ Malvidin ประโยชนท์ างยาของกล้วยหอม กล้วยหอมเปน็ ผลไม้ รสหวาน เยน็ ไม่มีพิษ สารอาหารท่สี าคัญๆ ในกล้วยหอม ได้แก่ แป้ง โปรตนี ไขมนั น้าตาล วติ ามินหลายชนดิ จัดเป็นผลไม้บารุงร่างกายดี นอกจากนกี้ ลว้ ยหอมยังสามารถใชร้ กั ษาโรคไดห้ ลายชนดิ เช่น เปน็ ยาทาใหป้ อดชมุ่ ชืน่ แก้กระหาย ถอนพษิ นอกจากน้ยี ังพบว่า มฤี ทธริ์ ักษาตามตารับยา ดังนี้ รกั ษาความดันโลหิตสงู - เอาเปลอื กกล้วยหอมสด 30-60 กรัม ตม้ เอาน้าดื่ม ถา้ เอาปลกี ล้วยต้มรบั ประทาน เป็นประจา จะชว่ ยป้องกันเส้นเลอื ดในสมองแตกได้ รกั ษารดิ สีดวงทวาร แก้ทอ้ งผกู - รับประทานกล้วยหอมสุกตอนเช้า ขณะท้องวา่ งวันละ 1-2 ผล ทกุ วัน รกั ษามือเทา้ แตก - เอากล้วยหอมท่ีสุกเต็มท่ี เจาะรูเล็กๆ ท่ีปลายข้างหนง่ึ แล้วบบี เอากล้วยออกมาทาที่เท้า แตก ทง้ิ ไว้หลายชั่วโมง จงึ ล้างออก จะรู้สกึ ดขี ้นึ

๑๕๗ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Zingiber zerumbet (L.) Smith. วงศ์ : Zingiberaceae ชอื่ อืน่ : กระทือปา่ กะแวน กะแอน แสมดา แฮวดา เฮียวดา (ภาคเหนือ) เฮียวแดง (แม่ฮ่องสอน) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมล้ ม้ ลุก ลาตน้ เหนือดินกลม สงู 0.9-1.5 เมตร มีเหงา้ ใต้ดิน ต้นโทรมในหนา้ แล้งแล้วงอกขนึ้ ใหม่ในหน้าฝน ใบ เปน็ ใบเดยี่ ว ออกเรยี งสลบั ในระนาบเดียวกัน รปู รูยาว กวา้ ง 5-7.5 ซม. ยาว 20-30 ซม. ปลายใบ แหลม โคนใบมนสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรยี บ สีเขียว ก้านใบเปน็ กาบหุ้มลาตน้ ดอก ออกเป็นชอ่ แทงออกจากเหงา้ ข้ึนมา ช่อดอกรปู ทรงกระบอก มใี บประดับสเี ขียวแกมแดง เรยี งซอ้ นกันแนน่ เป็นระเบียบ ดอกสีเหลอื ง โคนเชื่อมตดิ กัน เป็นหลอด ดอกบานไมพ่ ร้อมกนั ผล แบบผลแหง้ แตก รปู ทรงคอ่ นข้างกลม สีแดง เมลด็ สีดา สว่ นทใ่ี ช้ : เหงา้ สด สรรพคุณ : บารุงและขบั นา้ นม ขับปสั สาวะ แก้ทอ้ งอืด บิด ปวดมวนในทอ้ ง วิธแี ละปริมาณทใ่ี ช้ : ราก - แกไ้ ข้ตัวเยน็ แก้ไข้ตา่ งๆ แก้ไข้ตวั รอ้ น แก้เคลด็ ขัดยอก เหง้า บารงุ นา้ นม แกป้ วดมวนในทอ้ ง แก้บดิ บิดป่วงเบง่ แก้ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ ปวดท้อง ขับผายลม ขบั ปัสสาวะ แกจ้ กุ เสียด แก้เสมหะเปน็ พิษ ขับน้าย่อย เจรญิ อาหาร เป็นยาบารุงกาลัง แกฝ้ ี ตน้ แก้เบื่ออาหาร ชว่ ยเจริญอาหาร ทาให้รบั ประทานอาหารมีรส แกไ้ ข้ ใบ ขับเลอื ดเนา่ ร้ายในเรอื นไฟ แกเ้ บาเป็นโลหติ ดอก แกไ้ ข้เร้อื รงั ผอมแห้ง ผอมเหลือง บารงุ ธาตุ แกล้ ม วิธีและปรมิ าณที่ใช้ : รกั ษาอาการท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ แน่นจุกเสยี ด และปวดท้อง บิด โดยใชห้ ัวหรือเหงา้ กระทอื สด ขนาด เท่าหัวแมม่ ือ 2 หวั (ประมาณ 20 กรมั ) ยา่ งไฟพอสกุ ตากับน้าปูนใสคร่ึงแกว้ คนั้ เอาน้าดื่มเวลามีอาการ บางท้องถิน่ ใช้หวั กระทือประกอบอาหาร เนือ้ ในมีรสขมและขนื่ เล็กน้อย ต้องหน่ั แล้วขยากบั น้าเกลือนานๆ กระทือเป็นพชื ท่ีมสี ารอาหาร นอ้ ย สารเคมี : Afzelin, Camphene, Caryophyllene นา้ มนั หอมระเหยมี Zerumbone, Zerumbone Oxide

๑๕๘ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Ricinus communis L. ช่อื สามัญ : Castor Bean วงศ์ : Euphorbiaceae ชื่ออ่ืน : มะโหง่ , มะโห่งหนิ (ภาคเหนือ), ปี่มวั้ (จนี ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-4 เมตร ใบเดยี่ ว รูปผา่ มือกวา้ งและยาว 15-30 ซม. ดอกชอ่ ออกท่ปี ลายยอด แยกเพศ อยใู่ นช่อเดียวกัน ไม่มีกลีบดอก ผลแหง้ แตกได้ มี 3 พู เปลือกเมล็ดสนี ้าตาล มีหลายชนิด ข้ึนกบั พนั ธ์ุละหุ่ง สว่ นทีใ่ ช้ : ใบ ราก น้ามนั จากเมล็ด สรรพคุณ : ใบ - เป็นยาขบั นา้ นม แก้เลือดพกิ าร ราก - แกพ้ ิษไขเ้ ซอ่ื งซึม และเป็นยาสมานดว้ ย น้ามันจากเมล็ด - ใช้เป็นยาระบายในเด็ก นา้ มันหล่อลืน่ เคร่อื งจักร ใช้ทาสบู่ ใชเ้ ปน็ อาหารสัตว์ และใชท้ าสี โปร๊ ถ โปรตนี จากละหงุ่ -สว่ นหนง่ึ ของโปรตนี ไรซนี ซ่ึงเปน็ พิษคือ dgA สามารถจับกับ Antibody ของไวรัสเอดส์ เม่อื พบเซลล์ท่มี ีไวรัส จะปล่อย Ricin ซึ่งทาให้ไปยบั ยัง้ การแบ่งตัวของไวรสั โดยทมี่ ีผลต่อเซลลป์ กตเิ พียง 1/1,000 ของ เซลล์ท่ีมีไวรัส และไม่มผี ลต่อ Daudi Cell ด้วยความสามารถในการเลือกจับเฉพาะเซลล์ทม่ี ีไวรสั ** การคน้ พบน้ี อาจเป็นจดุ เริ่มตน้ ในการพบยาท่ีปอ้ งกัน หรอื เลอื่ นเวลาในการเกดิ โรคเอดส์

๑๕๙ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cannabis sativa L. ชอื่ สามัญ : Indian Hemp วงศ์ : Canabaceae ช่ืออ่นื : กญั ชาจีน (ท่ัวไป), คุนเชา้ (จนี ), ปาง (เงีย้ ว-แมฮ่ ่องสอน), ยานอ (กะเหรี่ยง -แม่ฮอ่ งสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมล้ ม้ ลุกปเี ดียว ลาต้นต้ังตรง สงู 0.9-1.5 ซม. ไม่ค่อยแตกสาขา ใบเดย่ี ว รปู ฝา่ มอื เรียงสลับ ขอบใบเวา้ ลึกจนถงึ จดุ โคนใบเป็น 5-7 แฉก โคนและปลายสอบ ขอบจกั ฟนั เล่อื ย ดอกแยกเพศ อยูต่ ่างต้น ออกเปน็ ช่อ ตามง่ามใบและปลายยอด ชอ่ ดอกและใบของต้นเพศผูจ้ ดั เรียงตวั กันห่างๆ ตา่ งจากตน้ เพศเมียท่ีเรียงชดิ กัน ดอกเล็ก ผล แหง้ เมล็ดลอ่ น เล็ก เรียบ สนี ้าตาล ส่วนทีใ่ ช้ : เมล็ดแห้ง ดอก สรรพคุณ : เปน็ ยากล่อมประสาท (Tranquilizer) หมายถึงยาทชี่ ว่ ยทาใหจ้ ิตใจสบาย ไม่หงุดหงดิ ระงบั อารมณ์ท่ีพลุ่ง พลา่ น เม่อื จิตใจสงบ ทาใหน้ อนหลบั สบาย วธิ ีและปรมิ าณที่ใช้ : เอาเมล็ดมาทาให้แห้ง บดให้ละเอยี ด ชงนา้ รบั ประทาน ครงั้ ละ 3 กรัม รบั ประทานก่อนนอน ดอกกญั ชาปรุงเปน็ ยารบั ประทาน ทาให้อยากอาหาร ** กัญชาเปน็ ประโยชน์ในสถานะท่ีเป็นยา แต่ถกู จัดเปน็ พชื ใหพ้ ษิ ต่อระบบประสาทและทาให้เสพตดิ ใหด้ ูพชื พิษเกย่ี วกับ กัญชาประกอบด้วย

๑๖๐ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby ชื่อสามัญ : Cassod tree, Thai copper pod วงศ์ : Leguminosae – ceasalpinioideae ช่อื อน่ื : ขีเ้ หลก็ ใหญ่ (ภาคกลาง) ขีเ้ หลก็ แกน่ (ราชบุรี) ขเี้ หลก็ หลวง (ภาคเหนอื ) ขเ้ี หล็กบ้าน (ลาปาง, สุราษฎรธ์ าน)ี ผัก จล้ี ้ี (เง้ียว-แมฮ่ ่องสอน) แมะขี้แหละพะโด (กะเหรยี่ ง-แม่ฮ่องสอน) ยะหา (มลายู-ปตั ตานี) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยนื ต้น สูง 10-15 เมตร แตกกิง่ กา้ นเปน็ พุ่มแคบ เปลือกต้นสีนา้ ตาล แตกเปน็ ร่องตน้ื ๆ ตามยาว ใบ เปน็ ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ มใี บย่อย 13-19 ใบ รปู รี กวา้ ง 1.5 ซม. ยาว 4 ซม. ปลายใบเว้า ตืน้ ๆ โคนใบมน ขอบใบเรยี บ แผ่นใบเรียบ สีเขียว กา้ นใบร่วมสีนา้ ตาลแดง ดอก ออกเป็นช่อแบบชอ่ แยกแขนงทปี่ ลายกงิ่ ดอกสีเหลือง กลีบเลีย้ งกลม มี 3- 4 กลีบ ปลายมน กลีบดอกมี 5 กลบี ปลายมน โคนเรียว หลุดร่วงงา่ ย ก้านดอกยาว 1- 1.5 ซม. เกสรเพศผูม้ หี ลายอัน ผล เป็นฝักแบนยาว กวา้ ง 1.3 ซม. ยาว 15-23 ซม. หนา สนี ้าตาล เมล็ดมหี ลายเมล็ด ส่วนทใี่ ช้ : ดอก ราก ลาต้นและก่ิง ทั้งตน้ เปลือกตน้ แกน่ ใบ ฝัก เปลือกฝัก ใบแก่ สรรพคณุ : ดอก รักษาโรคเสน้ ประสาท นอนไมห่ ลบั ทาให้หลบั สบาย รกั ษาหืด รกั ษาโรคโลหิตพิการ ผายธาตุ รักษา รงั แค ขับพยาธิ ราก - รกั ษาไข้ รักษาโรคเหน็บขา ทาแก้เส้นอมั พฤกษ์ให้หย่อน แก้ฟกช้า แกไ้ ขบ้ ารงุ ธาตุ ไข้ผิดสาแดง ลาตน้ และก่ิง - เปน็ ยาระบาย รักษาโรคผิวหนัง แก้โรคกระษยั แก้น่ิว ขบั ปัสสาวะ ขับระดูขา ทัง้ ตน้ - แกก้ ระษัย ดับพิษไข้ แกพ้ ิษเสมหะ รักษาโรคหนองใน รักษาอาการตวั เหลือง เป็นยาระบาย บารงุ น้าดี ทาให้เส้นเอน็ หย่อน เปลอื กต้น - รักษาโรคริดสีดวงทวาร โรคหิด แกก้ ระษัย ใชเ้ ปน็ ยาระบาย แกน่ รักษาโรคเบาหวาน รักษาโรคหนองใน ใช้เป็นยาระบาย รักษาวัณโรค รกั ษามะเรง็ ปอด ปอดอักเสบ มะเร็งลาไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร ใบ รักษาโรคบิด โรคเบาหวาน แกร้ อ้ นใน รักษาฝีมะมว่ ง รักษาโรคเหนบ็ ชา ลดความดันโลหติ สงู ขับพยาธิ เปน็ ยาระบาย รกั ษาอาการนอนไม่หลบั ฝกั - แกพ้ ิษไข้เพื่อนา้ ดี พิษไข้เพ่อื เสมหะ แกล้ มข้ึนเบ้ืองสงู เบ้อื งบน โลหิตขน้ึ เบ้ืองบน ทาใหร้ ะส่าระสายใน ทอ้ ง เปลอื กฝัก – แกเ้ สน้ เอ็นพิการ ใบแก่ – ใช้ทาปุ๋ยหมัก วธิ แี ละปรมิ าณทีใ่ ช้ : แก้อาการนอนไม่หลบั กังวล เบ่อื อาหาร ใช้ใบแหง้ หนกั 30 กรัม หรอื ใบสดหนัก 50 กรัม ตม้ เอาน้าดื่ม กอ่ นนอน หรอื ใชใ้ บออ่ นทาเป็นยาดองเหล้า (ใสเ่ หลา้ ขาวพอท่วมยา แช่ไว้ 7 วัน คนทุกวันให้นา้ ยาสม่าเสมอ กรองกากยา ออก จะได้นา้ ยาดองเหล้าขเี้ หลก็ ) ด่ืมครงั้ ละ 1-2 ชอ้ นชา ก่อนนอน

๑๖๑ แก้อาการทอ้ งผูก เปน็ ยาระบาย ยาถา่ ย ใชใ้ บออ่ น 2-3 กามือ หรอื แกน่ ขนาดประมาณ 2 องคลุ ี ใช้ 3-4 ชิน้ ใช้ ใบอ่อนหรือแก่ตม้ กับนา้ 1-1½ ถ้วยแก้ว เตมิ เกลอื เลก็ น้อย ดม่ื เมื่อต่นื นอนเช้า หรอื กอ่ นอาหารเช้าคร้งั เดยี ว สารเคมี : เปลอื ก แก่นและใบ มี anthraquinone glycoside เชน่ rhein, aloe-emodin, Chrysophanol และ Sennoside ดอกมีสารพวก chromone ชอื่ Barakol และสารขมชอ่ื cassiamin

๑๖๒ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Senna tora (L.) Roxb. ชอื่ พ้อง : Cassia tora L. ชอ่ื สามัญ : Foetid Cassia วงศ์ : Leguminosae – Caecalpinoideae ช่ืออ่ืน : กิเกยี , หน่อปะหนา่ เหน่อ (กะเหรยี่ ง-แม่ฮ่องสอน) ; ชมุ เห็ดควาย, ชมุ เห็ดไทย, ชมุ เหด็ นา, ชมุ เห็ดเล็ก (ภาค กลาง); พรมดาน (สุโขทัย); ลบั มอื น้อย (ภาคเหนือ); หญา้ ลกึ ลนื (ปราจีนบุร)ี ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มอายุหลายปี ทรงพุ่มตง้ั ตรง ต้นสงู ประมาณ 105.83-132.65 เซนติเมตร เส้นผ่าน ศูนย์กลางลาตน้ 12.3-17.4 มิลลเิ มตร ลาตน้ สเี ขียวอมน้าตาลแดง ไม่มขี น ใบเรยี งตัวแบบขนนกปลายคู่ (even– pinnate) ใบยอ่ ยรปู ไข่กลบั (obovate) โคนใบแหลม ปลายใบแหลมแบบต่งิ หนาม (mucronate) ขนาดใบยาว 4.27- 5.17 เซนตเิ มตร กว้าง 2.19-2.69 เซนตเิ มตร ก้านใบยาว 2.71-3.99 เซนตเิ มตร ไม่มีขน ผิวใบสีเขียวเขม้ นุ่ม (tender) หนา้ ใบไม่มีขน หลงั ใบมีขนละเอยี ดปกคลมุ หนาแน่น ขอบใบมีรอยหยักแบบขนครยุ (ciliate) ใบมีกลน่ิ ฉนุ เลก็ น้อย หใู บ (stipule) แบบเขม็ แหลม (filiform) สเี ขียว 2 อนั ยาวประมาณ 0.5-1 เซนตเิ มตร ออกดอกเดือน กุมภาพันธ์-มิถนุ ายน ดอกออกทซ่ี อกใบ เปน็ กระจกุ ดอกเดีย่ วมีกา้ นชอ่ ดอกออกจากจดุ เดยี วกัน ชอ่ ดอกยาว 2.71-4.03 เซนตเิ มตร มี 1-3 ดอกต่อช่อ ดอกสีเหลืองอมสม้ มี 5 กลบี ดอก ฐานรอบกลีบดอกสีขาวอมเหลืองมีขนครุยตามขอบ อบั เรณู (anther) สี เหลอื งอมน้าตาล ฝกั รูปขอบขนานแบน (oblong) ฝกั ยาว 11.83-14.91 เซนตเิ มตร กว้าง 0.3-0.4 เซนติเมตร สว่ นทใ่ี ช้ : เมลด็ ทง้ั ตน้ ใบ และ ผล สรรพคณุ : เมล็ด - ทาให้งว่ งนอนและหลับไดด้ ี แก้กระษยั ขบั ปัสสาวะพิการไดด้ ี เป็นยาระบายอ่อนๆ รักษาโรคผิวหนัง ท้ังต้น - ปรงุ เปน็ ยาแก้ไข้ ขบั พยาธิในท้องเด็ก รบั ประทานเปน็ ยาระบายอ่อนๆ และแกไ้ อ แกเ้ สมหะ แก้หืด คุดทะราด ใบ – เป็นยาระบาย ผล - แกฟ้ กบวม วิธแี ละปริมาณท่ใี ช้ : ทาให้ง่วงนอน และนอนหลับไดด้ ี ใชเ้ มลด็ ชุมเห็ดไทย คัว่ ให้ดาเกรียมเหมือนเมลด็ กาแฟ แลว้ ทาเปน็ ผง ชงน้ารอ้ นอยา่ งปรงุ กาแฟ ด่ืมหอมชุ่มชน่ื ใจดี ไม่ทา ให้หัวใจสัน่ ใหค้ นไข้ด่ืมตา่ งน้า เป็นยาระบายอ่อนๆ ใช้ใบหรอื ทั้งต้น ประมาณ 1 กามือ 15- 3 กรัม เมลด็ 1 หยบิ มือ 5- 10 กรมั ต้มกบั น้า 1 ถว้ ยแก้ว เติมกระวาน 2 ผล เพื่อกลบรสเหม็นเขียวและเกลือเล็กนอ้ ย ด่ืมก่อนอาหารเช้า สว่ นเมล็ดคั่วใหเ้ หลือง ใช้ชงเป็นน้าชาด่มื

๑๖๓ สารเคมี : เมลด็ พบ anthraquinone, emodin chrysarobin, chrysophanic acid-9-anthrone, chrysophanol Rhein aloe-emodin น้ามนั จากเมล็ด พบ linoleic acid, oleic acid, palmitic acid, stearic acid ใบ พบ chrysophanic acid, emodin และ 1, 68, -trihydroxy-3 methl anthraquinone

๑๖๔ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antigonon leptopus Hook & Arn. ชอ่ื สามัญ : Chain of love, Confederate Vine, Coral vine วงศ์ : Polygonaceae ชอื่ อ่นื : ชมพูพวง (กรงุ เทพฯ) พวงนาค (ภาคกลาง) หงอนนาค (ปัตตาน)ี ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมเ้ ล้อื ยพาดพัน ลาต้นเล็ก สเี ขียว มีมอื สาหรบั เกาะยึด ใบ เป็นใบเดย่ี ว ออกเรยี งสลบั รูป หัวใจ กวา้ ง 3-4 ซม. ยาว 6-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้ารปู หวั ใจ ขอบใบเรยี บ แผ่นใบเรียบ เห็นเส้นใบชดั เจน ดอก ออกเป็นชอ่ ที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงเชอ่ื มติดกัน มขี นาดเล็ก สว่ นใหญ่ดอกสชี มพู ทพี่ บสีขาวมีบา้ ง กลบี ดอกมี 5 กลีบ ปลายแหลม ผล เป็นผลแหง้ รปู สามเหล่ยี ม ส่วนที่ใช้ : ราก และเถา สรรพคณุ : เปน็ ยากล่อมประสาท ทาใหน้ อนหลับ วธิ แี ละปริมาณทใี่ ช้ : ใช้เถา 1 กามือ หรอื ราก 1/2 กามือ ตม้ กับนา้ 4 ถว้ ยแกว้ ต้มใหเ้ หลือ 2 ถว้ ยแกว้ รบั ประทานครั้ง ละ 3 ชอ้ นแกง กอ่ นนอน

๑๖๕ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Spondias cytherea Sonn. ชอ่ื สามัญ : Jew's plum, Otatheite apple วงศ์ : Anacardiaceae ชื่ออน่ื : มะกอกฝร่ัง มะกอกหวาน (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สงู 7-12 เมตร เปลอื กลาตน้ สีเทาหรอื น้าตาลแดง ใบ เปน็ ใบประกอบแบบขนนก ก้าน ใบยาว ใบย่อยรปู ไข่ค่อนขา้ งเรียวแหลม ขอบใบหยักเลก็ น้อย ดอก ออกเปน็ ชอ่ แบบเพนิเคลิ ตามปลายยอด ดอกย่อยมี กลีบดอก 5 กลบี สขี าว ฐานรองดอกมสี เี หลือง เปน็ ดอกสมบรู ณเ์ พส ผล รูปไข่หรือรูปกระสวย มียางคลา้ ยไรไขป่ ลา ผล ออ่ นมีสีเขียวเขม้ ผลแก่มสี ีเขียวอมเหลอื ง สุกมสี ีส้ม เมล็ด กลมรี เปลอื กหุ้มเมล็ดแขง็ และมขี นแข็งท่ีเปลือกหุ้มเมล็ด สว่ นทใ่ี ช้ : ผล เปลอื ก ใบ ยาง เมลด็ สรรพคณุ : เน้อื ผลมะกอก - มีรสเปรย้ี วฝาด หวานชุ่มคอ บาบัดโรคธาตพุ กิ าร โดยนา้ ดีไม่ปกติ และมปี ระโยชน์แก้โรค บดิ ไดด้ ว้ ย นา้ ค้ันใบมะกอก - ใช้หยอดหู แกป้ วดหูดี ผลมะกอกสุก - รสเปร้ียว อมหวาน รบั ประทานทาใหช้ ุ่มคอ แก้กระหายน้าไดด้ ี เช่น ผลมะขามปอ้ ม เปลือก - ฝาด เย็นเปรย้ี ว ดับพิษกาฬ แก้รอ้ นในอยา่ งแรง แกล้ งท้องปวดมวน แก้สะอึก เมลด็ มะกอก - สมุ ไปใหเ้ ปน็ ถ่าน แช่น้า เอาน้ารับประทานแก้ร้อนใน แก้หอบ แกส้ ะอึกดีมาก ใชผ้ สมยา มหานิล ใบอ่อน - รับประทานเป็นอาหาร วธิ ีใช้ : ใชผ้ ลรบั ประทานเปน็ ผลไม้ และปรุงอาหาร

๑๖๖ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Elaeocarpus hygrophilus Kurz. วงศ์ : Elaeocarpaceae ชื่ออ่ืน : สารภีน้า (ภาคกลาง) สมอพิพา่ ย (ระยอง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ ้นขนาดใหญ่ สูง 8-15 เมตร ทรงพมุ่ กลมค่อนขา้ งทึบ เปลือกลาต้น สีนา้ ตาลแดง ใบ เปน็ ใบเด่ยี ว ออกจากลาตน้ แบบสลับ แต่ชว่ งปลายยอดจะออกแบบเวียน ใบ รูปไขห่ รือรปู รี ปลายใบแหลม ฐานใบมน มหี ูใบ ขอบใบเปน็ หยกั เล็กน้อย กา้ นใบมีสีแดง ดอก ออกเปน็ ชอ่ แบบราซีม ออกตรงซอกใบ เป็นดอกสมบรู ณ์เพศ มกี ลบี เลี้ยง 5 กลีบ สีขาว มลี กั ษณะเป็นร้วิ มีเกสรตวั ผจู้ านวนมาก มเี กสรตัวเมยี 1 อัน ผล เป็นรูปดรปุ (drupe) มเี ปลอื กหมุ้ เมล็ดท่ี แข็งมาก ภายในมี 1 เมล็ด สีน้าตาลอ่อน เมล็ด รูปกระสวย ผิวขรุขระ ออกดอกราวเมษายนถงึ พฤษภาคม สว่ นที่ใช้ : ผล เมล็ด สรรพคุณ : ผล - ใชด้ องนา้ เกลือ รับประทานเป็นอาหารแทนมะกอกฝรงั่ จะมรี สเปรย้ี วฝาดเลก็ น้อย น้าให้ช่มุ คอ แก้ กระหายน้าไดด้ ี เมลด็ - อาจกลั่นได้น้ามนั คล้ายน้ามันโอลฟี ( Olive Oil ) ของฝร่ัง ดอก - แก้พษิ โลหิต กาเดา แกร้ ดิ สดี วงในลาคอ คนั ดุจมีตัวไตอ่ ยู่ บารุงธาตุ

๑๖๗ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Phyllanthus emblica L. ชื่อสามัญ : Emblic myrablan, Malacca tree วงศ์ : Euphorbiaceae ชอื่ อน่ื : กาทวด (ราชบรุ )ี กันโตด (เขมร-จันทบุร)ี สนั ยาส่า ม่ังลู (กะเหรี่ยง-แม่ฮอ่ งสอน) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ น้ สูง 10-12 เมตร เปลือกตน้ สีเทาอมน้าตาล แตกเป็นร่องตามยาว กิง่ ก้านแข็ง เหนยี ว ใบ เป็นใบเด่ยี วออกเรียงสลับในระนาบเดยี วกนั รปู ขอบขนาน กวา้ ง 1- 5 มม. ยาว 4-15 มม. ปลายใบเปน็ ตง่ิ แหลม โคน ใบมนหรอื เว้าเข้า ขอบใบเรยี บ แผน่ ใบเรยี บ สเี ขยี ว ดอก ออกเปน็ ช่อ เปน็ กระจกุ เลก็ ๆ ดอกสเี หลืองอ่อนออกเขียว กลีบ ดอกมี 5-6 กลบี มีเกสรเพศผู้สัน้ ๆ 3-5 อนั ก้านดอกสน้ั ผล รปู ทรงกลม ขนาด 1.3-2 ซม. เป็นพูตนื่ ๆ 6 พู ผวิ เรยี บ ผล อ่อนสเี ขยี วอมเหลือง พอแก่เปน็ สีเหลอื งออกนา้ ตาล เมลด็ รูปรี เปลือกหมุ้ เมล็ดแขง็ ส่วนทีใ่ ช้ : ผลสด นา้ จากผล สรรพคณุ : ผลสด - โตเตม็ ที่ รสเปร้ียวอมฝาด จะรู้สกึ หวานตาม แกไ้ อ ขบั เสมหะ ทาใหช้ มุ่ คอ แก้โรคลกั ปิดลักเปิด เป็นผลไม้ทีม่ ีไวตามินซสี งู นา้ จากผล - แกท้ ้องเสยี ขับปัสสาวะ วธิ ีและปริมาณที่ใช้ : ใช้ผลโตเต็มท่ีไม่จากัดจานวน กัดเนื้อเคีย้ วอมบอ่ ยๆ แก้ไอ หรอื ใชผ้ ลไมส้ ด 10-30 ผล ตาคน้ั น้า รบั ประทาน แกท้ ้องเสีย ขับปัสสาวะ สารเคมี : มะขามป้อมสดมไี วตามินซีประมาณ 1-2 % มะขามป้อม 1 ผล มีปรมิ าณไวตามนิ ซีเทา่ กบั ทมี่ ีในสม้ 2 ผล นอกจากน้ีพบ nicotinic acid, mucic acid, ellagic acid และ phyllemblic acid.

๑๖๘ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle ช่ือสามัญ : Common lime วงศ์ : Rutaceae ชื่ออื่น : สม้ มะนาว มะลวิ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พ่มุ สูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามแหลม เปลอื กต้นเรียบ สีน้าตาลปนเทา ใบ เป็นใบ ประกอบ ออกเรียงสลับ มีใบย่อยใบเดยี ว รปู ไขห่ รือรูปรียาว กวา้ ง 3-5 ซม. ยาว4-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนมปี ีก แคบๆ ขอบใบหยัก แผ่นใบมีต่อมน้ามันกระจายอยู่ตามผวิ ใบ ดอก ออกเป็นชอ่ สนั้ 5-7 ดอก หรอื ออกดอกเด่ยี วตามซอก ใบ ทป่ี ลายก่ิง ดอกสีขาว กลบี ดอกมี 4-5 กลบี หลดุ ร่วงง่าย ผล รปู ทรงกลม ผวิ เรยี บเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียวเข้ม พอแก่เป็น สีเหลือง ขา้ งในแบง่ เป็นหอ้ งแบบรศั มี มรี สเปรีย้ ว เมล็ดกลมรี สีขาว มี 10-15 เมล็ด ส่วนทีใ่ ช้ : น้ามันจากผวิ ของผลสด นา้ ค้ันจากผลมะนาว สรรพคณุ : น้ามนั จากผวิ มะนาว ใชเ้ ป็นยาขบั ลม แก้ทอ้ งอดื เฟ้อ แนน่ จุกเสียด แต่งกล่นิ นา้ ค้นั จากผลมะนาว รกั ษา อาการเจ็บคอ แก้ไอ ขับเสมหะ และรักษาโรคลักปิดลักเปิดซ่งึ เกดิ จากการขาดวติ ามนิ ซี วิธีและปรมิ าณทใี่ ช้ : 1,ใช้ผวิ มะนาวแหง้ 10-15 กรมั ต้มน้ารบั ประทาน 2. ใชน้ า้ มะนาว 1 ถว้ ยชา ผสมนา้ ตาลทราย 1 ชอ้ นโตะ๊ และเกลอื เล็กน้อย ชงน้าอุ่นจิบบอ่ ยๆ สารเคมี : ผวิ มะนาวมี นา้ มันหอมระเหย ประกอบดว้ ย d-limonene, linalool, terpineol และ flavonoids

๑๖๙ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carica papaya L. ชอ่ื สามัญ : Papaya, Pawpaw, Tree melon วงศ์ : Caricaceae ช่ืออืน่ : มะกว้ ยเทศ (ภาคเหนอื ) หมักหุ่ง (ลาว,นครราชสมี า,เลย) ลอกอ (ภาคใต้) กล้วยลา (ยะลา) แตงต้น (สตูล) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก อายหุ ลายปี สูง 3-6 เมตร เปลือกตน้ เรยี บ สีนา้ ตาลออกขาว ลาตน้ ตรง ไม่มีแก่น แตกก่ิงก้านน้อย มรี อยแผลใบชดั เจน มียางขาวข้น ใบ เป็นใบเดีย่ ว ออกเรียงสลับรอบตน้ หนาแน่นท่ีปลายยอด ใบรูปฝา่ มือ ขนาด 80-120 ซม. ขอบใบเวา้ เป็นแฉกลกึ ถึงแกนกา้ น กา้ นใบเป็นหลอด กลมกลวงยาว 25-100 ซม. ดอก ดอกแยก เพศอยคู่ นละตน้ ดอกเพศผอู้ อกเปน็ ช่อยาวหอ้ ยลง ดอกสีขาว กลีบดอกมี 5 กลบี มีกลนิ่ หอม ดอกเพศเมยี สีขาว ออกเปน็ ชอ่ กระจุกตามซอกใบ ดอกมีขนาดใหญ่ กว่าดอกเพศผู้ ผล รปู กระสวย ผิวเรยี บ เปลอื กบาง มยี างสีขาว ผลสดสีเขียวเข้ม พอสกุ เปล่ยี นเป็นสสี ม้ รับประทานได้ มเี มล็ดมาก เมลด็ กลม สีดา มีเยอ่ื หุ้มเมล็ดสีขาวใส สว่ นทใ่ี ช้ : ผลสกุ ผลดบิ ยางจากผลหรอื จากก้านใบ ราก สรรพคณุ : ผลสุก - เป็นยากัน หรอื แก้โรคเลือดออกตามไรฟนั เป็นยาระบาย ยางจากผลดบิ - เป็นยาชว่ ยยอ่ ย ฆ่าพยาธิ ราก – ขบั ปสั สาวะ วิธีและปริมาณท่ีใช้ : เป็นยาระบาย ใช้ผลสกุ ไมจ่ ากัดจานวน รับประทานเป็นผลไม้ เป็นยาช่วยย่อย ก. ใชเ้ นื้อมะละกอดิบไม่จากัด ประกอบอาหาร ข. ยางจากผล หรอื จากก้านใบ ใช้ 10-15 เกรน หรอื ถ้าเป็นตวั ยาชว่ ยย่อยแทๆ้ ( Papain ) เปน็ ยากัน หรอื แก้โรคลักปิดลักเปดิ โรคเลอื ดออกตามไรฟัน ใชม้ ะละกอสุกไม่จากัด รับประทานเป็นผลไม้ ให้วติ ามินซี ราก เป็นยาขับปัสสาวะ ขอ้ ควรระวัง สาหรับผูท้ ่รี ับประทานมะละกอสุกตดิ ต่อกันเป็นจานวนมาก เปน็ เวลานาน อาจทาให้สารมีสีพวก carotenoid ไปสะสมในร่างกายมากเกินไป ทาให้ผิวมสี เี หลอื ง สารเคมี : ในผลมะละกอ ประกอบด้วย โปรตีน 0.5 % คารโ์ บไฮเดรต 9.5 % แคลเซีย่ ม 0.01 % ฟอสฟอรัส 0.01 % เหล็ก 0.4 มิลลกิ รัม/100 กรมั และสารอืน่ ๆ อกี เลก็ น้อย ในส่วนของเนื้อมะละกอ จะมี sucrose, invert sugar papain, malic acid และเกลอื ของ Tartaric acid, citric acid และ pectin จานวนมาก (มีท้ังในผลดบิ ดว้ ย) และ pigment พวก carotenoid และวิตามนิ ต่างๆ ยางมะละกอ มี enzyme ชอ่ื papain ซง่ึ papain เปน็ ชอ่ื รวมสาหรบั เรียกเอนไซม์จากนา้ ยางมะละกอ ซ่ึง ประกอบด้วย papain 10% chymopapain 45% lysozyme 2

๑๗๐ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Bauhinia acuminata L. วงศ์ : Leguminosae – Caesalpinioidea ช่ืออ่นื : กาแจ๊ะกูโด (มลายู-นราธวิ าส); กาหลง (ภาคกลาง); โยธิกา (นครศรีธรรมราช); ส้มเสย้ี ว (ภาคกลาง); เสีย้ วนอ้ ย (เชียงใหม)่ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุม่ สงู 1-3 เมตร กงิ่ ออ่ นมีขนท่วั ไป กงิ่ แก่ค่อนขา้ งเกล้ยี ง ใบเด่ยี ว เรียงสลบั รูปไข่หรือ เกือบกลม กว้าง 9-13 ซม. ยาว 10-14 ซม. ปลายเว้าลงมาสูเ่ สน้ กลางใบลกึ เกือบครง่ึ แผ่นใบ ทาให้ปลายแฉกท้งั 2 ขา้ ง แหลม โคนรูปหวั ใจ ขอบเรียบ เส้นใบออกจากโคนใบ 9-10 เสน้ ปลายเสน้ กลางใบมีตงิ่ เลก็ แหลม แผ่นใบด้านบนเกลี้ยง ด้านลา่ งมขี นเล็กละเอียด ก้านใบยาว 3-4 ซม. มีขนหูใบเรียวแหลม ยาวประมาณ 1 ซม. รว่ งง่าย มีแท่งรยางค์เล็กๆ อยู่ ระหว่างหใู บ ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะส้นั ๆ ออกตรงข้ามกบั ใบท่อี ยตู่ อนปลายก่ิง มี 3-10 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. โคนก้านดอกมใี บประดับขนาดเลก็ 2-3 ใบ รูปสามเหลี่ยมเรยี วแหลม ดอกตมู รูปกระสวย ยาว 2.5-4 ซม. ดอกบาน เส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 5-8 ซม. กลบี เล้ียง 5 กลบี ตดิ กนั คล้ายกาบกว้าง 1-1.8 ซม. ยาว 2.5-4 ซม. ปลายเรยี วแหลม และแยกเปน็ พเู่ สน้ ส้ันๆ 5 เส้น กลบี ดอก 5 กลีบ สขี าว รปู รีหรือรูปไข่กลบั มกั มีขนาดไม่เทา่ กนั ปลายมน โคนสอบ กว้าง ประมาณ 2 ซม. ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อนั กา้ นชอู บั เรณูแตล่ ะอันยาวไม่เท่ากนั มีต้ังแต่ 1.5-2.5 ซม. อบั เรณสู ี เหลือง รปู ขอบขนาน ยาว 3-5 มม. กา้ นชูเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม. รับไขร่ ูปขอบขนาน ยาว 6-8 มม. กา้ นเกสร เพศเมยี ยาว 1-2 ซม. ยอดเกสรเพศเมียเป็นแผน่ กลม ฝกั แบน คลา้ ยรปู ขอบขนาน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 9-15 ซม. ปลาย และโคนฝักสอบแหลม ปลายฝกั มีต่งิ แหลม ยาวประมาณ 8 มม. ขอบฝกั เป็นสนั หนา มี 5-10 เมลด็ เมลด็ เล็ก คลา้ ยรูป ขอบขนาน สว่ นท่ีใช้ : ดอก สรรพคณุ : ดอก รับประทาน แก้ปวดศรี ษะ ลดความดันของโลหิตทข่ี นึ้ สูง แก้เลอื ดออกตามไรฟัน แก้เสมหะพิการ

๑๗๑ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz วงศ์ : Apocynaceae ชอ่ื อน่ื : กอเหม่ (กะเหรยี่ ง-แมฮ่ ่องสอน) กะย่อม (ภาคใต)้ เข็มแดง (ภาคเหนอื ) คลาน ตูมคลาน มะโอ่งที สะมออู (กะ เหรียง-กาญจนบุร)ี ระย่อม (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมพ้ ่มุ สูง 30-70 ซม. มียางขาว ใบ เดยี่ ว เรยี งตรงขา้ มหรอื รอบๆ ข้อๆ ละ 3 ใบ รูปวงรีหรอื รูปใบหอก กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-20 ซม. ดอก ชอ่ ออกทีป่ ลายกงิ่ กลบี เลย้ี งสขี าวแกมเขียว เมื่อกลบี ดอกโรยจะ เปลยี่ นเปน็ สีแดง กลีบดอกสขี าว โคนกลบี เป็นหลอดสแี ดง ผลเปน็ ผลสด รปู วงรี ส่วนที่ใช้ : รากสด รากแห้ง น้าจากใบ ดอก เปลือก สรรพคณุ : รากสด – เปน็ ยารักษาหิด รากแหง้ - เป็นยาลดความดันโลหติ สงู เปน็ ยากล่อมประสาท ทาให้งว่ งนอน และอยากอาหาร ดอก – แก้โรคตาแดง น้าจากใบ – ใชร้ กั ษาโรคแกต้ ามัว เปลอื ก – แกไ้ ข้พษิ กระพี้ - บารงุ โลหิต วธิ ีและปรมิ าณทีใ่ ช้ : เปน็ ยารักษาหดิ ใช้รากสด 2-3 ราก นามาตาให้ละเอียด เติมน้ามนั พชื พอแฉะๆ ใช้ทาบรเิ วณทเ่ี ปน็ หดิ วนั ละ 2-3 ครงั้ จนกว่าจะหาย เปน็ ยาลดความดันโลหติ สูง ใช้รากแหง้ 200 มลิ ลกิ รมั ต่อวนั รับประทาน 1-3 อาทติ ย์ติดตอ่ กนั โดยป่น เป็นผงคลุกกับน้าผึ้ง รบั ประทานเป็นยาเมด็ ข้อควรระวัง - การรับประทานตอ้ งสังเกต และระมดั ระวังเปน็ พเิ ศษ ถา้ มีอาการวิงเวยี นศีรษะ หน้ามดื ใจส่ัน หรือมี อาการผดิ ปกติ ใหห้ ยุดยาทนั ที โดยเฉพาะระย่อม รากระย่อม ปรงุ เปน็ ยารบั ประทานทาให้งว่ งนอน และอยากอาหาร

๑๗๒ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Centella asiatica (L.) Urban. ชอ่ื สามัญ : Asiatic pennywort, Indian pennywort วงศ์ : Apiaceae (Umbelliferae) ชื่ออนื่ : ผกั หนอก (ภาคเหนือ) ผกั แว่น (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมล้ ม้ ลกุ ลาตน้ เปน็ ไหลทอดเลื้อยไปตามดินทช่ี ื้นแฉะ ขน้ึ ง่าย มรี ากฝอยออกตามขอ้ ใบชู ตง้ั ขนึ้ มีไหลงอกออกจากตน้ เดิม ใบ เปน็ ใบเดย่ี ว ออกเรยี งสลบั รปู ไต ขนาดกวา้ งและยาว 2-5 ซม. ปลายใบกลม โคนใบ เว้า ขอบใบหยกั แผ่นใบสเี ขยี วมีขนเล็กนอ้ ย ก้านใบยาว ดอก ออกเป็นชอ่ แบบซี่ร่มตามซอกใบ มดี อกย่อย 2-3 ดอก กลบี ดอกมี 5 กลีบ สีมว่ งอมแดงกลับกัน ผล เปน็ ผลแหง้ แตกแบน เมล็ดสดี า ส่วนทีใ่ ช้ : ท้ังตน้ สด สรรพคุณ : ใบ - มีสาร Asiaticoside ทายาทาแก้แผลโรคเร้ือน ทัง้ ตน้ สด เป็นยาบารุงกาลัง บารงุ หัวใจ แกอ้ ่อนเพลยี เมอ่ื ยล้า รักษาแผลไฟไหม้ น้ารอ้ นลวก หรอื มกี าร ชอกช้าจากการกระแทก แก้พิษงูกัด ปวดศีรษะข้างเดยี ว ขับปสั สาวะ แก้เจบ็ คอ เปน็ ยาหา้ มเลือด ส่าแผลสด แกโ้ รค ผวิ หนงั ลดความดนั แก้ชา้ ใน เมล็ด - แกบ้ ดิ แกไ้ ข้ ปวดศรี ษะ วิธีและปรมิ าณท่ใี ช้ : ใช้เปน็ ยาแก้ปวดศรี ษะข้างเดียว ใชต้ ้นสดไม่จากดั รับประทาน หรือคัน้ นา้ จากตน้ สดรบั ประทาน ควร รบั ประทานติดตอ่ กัน 2-3 วนั ใชเ้ ปน็ ยาแกเ้ จ็บคอ ใช้ทัง้ ตน้ สด 10-20 กรมั หรอื 1 กามือ ตาค้นั นา้ เตมิ นา้ สม้ สายชู 1-3 ช้อนแกง จบิ บ่อยๆ เปน็ ยาลดความดันโลหิตสูง ใช้ทง้ั ตน้ สด 30-40 กรัม ค้ันน้าจากตน้ สด เติมนา้ ตาลเลก็ น้อย รบั ประทาน 5- 7 วนั ยาแก้ช้าใน (พลัดตกหกลม้ ) ใชต้ ้นสด 1 กามอื ล้างใหส้ ะอาด ตาค้ันน้า เติมน้าตาลเลก็ น้อย ดื่ม 1 ครงั้ รบั ประทานติดตอ่ กัน 5-6 วนั เปน็ ยาถอนพษิ รักษาแผลนา้ รอ้ นลวก ใชท้ งั้ ต้นสด 2-3 ต้น ล้างใหส้ ะอาด ตาใหล้ ะเอียดพอกแผลไฟไหม้ ชว่ ยลดอาการปวดแสบปวดรอ้ น เป็นยาห้ามเลือด ใสแ่ ผลสด ใชใ้ บสด 20-30 ใบ ล้างใหส้ ะอาด ตาพอกแผลสด ช่วยห้ามเลอื ดและรักษา แผลให้หายเร็ว สารเคมี : สารสกัดจากใบบัวบกประกอบดว้ ย madecassoside asiatic acid, asiaticoside, centelloside, centellic acid brahminoside, brahmic acid.

๑๗๓ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica L. ชื่อสามัญ : Tamarind, Indian date วงศ์ : Leguminosae – Caesalpinioideae ชอื่ อ่ืน : ขาม (ภาคใต้) ตะลบู (ชาวบน-นครราชสมี า) ม่องโคลง้ (กะเหรีย่ ง-กาญจนบรุ )ี อาเปียล (เขมร-สรุ นิ ทร์) หมาก แกง (เงยี้ ว-แม่ฮ่องสอน) สา่ มอเกล (กะเหรยี่ ง-แมฮ่ ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญแ่ ตกกิง่ ก้านสาขามาก เปลอื กตน้ ขรุขระและหนา สนี า้ ตาล อ่อน ใบ เป็นใบประกอบ ใบเลก็ ออกตามกิง่ ก้านใบเป็นคู่ ใบยอ่ ยเป็นรปู ขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน ดอก ออกเปน็ ช่อเลก็ ๆ ตามปลายกงิ่ หน่ึงช่อมี 10-15 ดอก ดอกยอ่ ยขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลอื งและมีจดุ ประสีแดงอยู่กลางดอก ผล เป็นฝกั ยาว รปู ร่างยาวหรือโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝักอ่อนมีเปลอื กสเี ขยี วอมเทา สีนา้ ตาลเกรยี ม เนอ้ื ในตดิ กบั เปลือก เม่ือแก่ ฝกั เปล่ียนเปน็ เปลือกแขง็ กรอบหกั ง่าย สนี า้ ตาล เน้ือในกลายเป็นสนี ้าตาลหมุ้ เมลด็ เนื้อมีรสเปรยี้ ว และหวาน สว่ นทใ่ี ช้ : ราก เปลือก ท้งั ต้น แกน่ ใบ เนื้อในฝัก ฝกั ดบิ เมลด็ เปลอื กเมลด็ ดอกสด สรรพคุณ : ราก - แกท้ ้องรว่ ง สมานแผล รักษาเรมิ และงูสวัด เปลอื กตน้ - แก้ไข้ ตัวรอ้ น แก่น -กลอ่ มเสมหะ และโลหิต ขับโลหิต ขบั เสมหะ รักษาฝีในมดลูก รกั ษาโรคบรุ ุษ เป็นยาชักมดลกู ให้เขา้ อู ใบสด (มีกรดเล็กนอ้ ย) - เปน็ ยาถ่าย ยาระบาย ขับลมในลาไส้ แก้ไอ แกบ้ ดิ รักษาหวดั ขบั เสมหะ หยอดตา รกั ษาเยื่อตาอักเสบ แก้ตามัว ฟอกโลหิต ขับเหง่ือ ตม้ ผสมกับสมนุ ไพรอืน่ ๆ อาบหลังคลอดชว่ ยให้สะอาดขึ้น เนอื้ หุม้ เมล็ด - แก้อาการท้องผูก เปน็ ยาระบาย ยาถ่าย ขับเสมหะ แก้ไอ กระหายน้า เป็นยาสวนลา้ งทอ้ ฝักดิบ - ฟอกเลอื ด และลดความอ้วน เป็นยาระบายและลดอุณหภูมิในร่างกาย บรรเทาอาการไข้ เมล็ดในสีขาว - เป็นยาถ่ายพยาธไิ สเ้ ดอื นตัวกลมในลาไส้ พยาธเิ ส้นด้าย เปลือกเมล็ด - แกท้ ้องร่วง แก้บิดลมป่วง สมานแผลทีป่ าก ท่ีคอ ทล่ี น้ิ และตามร่างกาย รกั ษาแผลสด ถอน พษิ และรกั ษาแผลที่ถูกไฟลวก รักษาแผลเบาหวาน เน้ือในฝกั แก่ (มะขามเปียก) - รบั ประทานจ้ิมเกลือ แกไ้ อ ขับเสมหะ ดอกสด - เป็นยาลดความดนั โลหิตสงู วิธแี ละปรมิ าณท่ใี ช้ : เป็นยาถา่ ยพยาธไิ สเ้ ดือน ตัวกลม ตวั เส้นด้าย ได้ผลดี ใช้เมล็ดค่ัวกะเทาะเปลือกออก แลว้ เอาเนื้อใน เมล็ดแช่น้าเกลอื จนนุ่ม รับประทานเนื้อทงั้ หมด คร้ังละ 20-30 เมลด็

๑๗๔ เปน็ ยาระบาย ยาถา่ ย เนื้อท่ีหุม้ เมล็ด (มะขามเปยี ก) แกะเมล็ดแลว้ ขนาด 2 หัวแม่มือ (15-30 กรัม) จ้ิม เกลอื รบั ประทาน แล้วด่ืมนา้ ตามมากๆ เอามะขามเปียกละลายน้าอุ่นกบั เกลือ ฉดี สวนแก้ทอ้ งผูก แกท้ อ้ งร่วง เมลด็ คัว่ ให้เกรียม กะเทาะเปลือกรับประทาน เปลอื กตน้ ทั้งสดและแหง้ ประมาณ 1-2 กามอื (15-30 กรัม) ตม้ กบั นา้ ปนู ใส หรือ นา้ รับประทาน รกั ษาแผล เมลด็ กะเทาะเปลือก ต้ม นามาลา้ งแผลและสมานแผลได้ แกไ้ อและขับเสมหะ ใชเ้ นอ้ื ในฝักแก่ หรือมะขามเปยี ก จม้ิ เกลือรับประทานพอควร เปน็ ยาลดความดันสูง ใชด้ อกสด ไมจ่ ากดั จานวน ใชแ้ กงส้มหรอื ตม้ กับปลาสลิดรับประทาน สารเคมี : ใบ มี Alcohols, phenolic esters and ethers. Sambubiose, Carboxylic acid, Oxalic acid ดอก มี a - Oxoglutaric acid, Glyoxalic acid , Oxaloacetic acid ผล มี Alcohols, Aldehydes; Citric acid Ketones, Vitamin B1, Essential Oil, Enzyme. เมลด็ มี Phosphatidylcholine, Proteins Glutelin, Albumin, Prolamine, Lectin

๑๗๕ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Pluchea indica (L.) Less. ชื่อสามัญ : Indian Marsh Fleabane วงศ์ : Asteraceae (Compositae) ช่ืออ่ืน : หนวดง่ัว หนวดง้วิ หนวดงวั หนาดววั (อุดรธาน)ี ขป้ี ้าน (แม่ฮ่องสอน) คลู ขลู (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-2.5 เมตร เปลือกต้นเรียบ สนี า้ ตาล ใบ เป็นใบเดยี่ ว ออกเรียงเวียน รูปรี ปลาย ใบเรยี วแหลม โคนใบสอบ ขอบใบจกั เปน็ ฟนั เลื่อยห่างๆ สีเขียว ก้านใบส้นั ดอก ออกเป็นชอ่ แยกขนงตามปลายยอด ช่อ ยอ่ ยเป็นช่อกระจุกแน่น ดอกสีมว่ งออ่ น ดอกย่อยมี 2 แบบ ตรงกลางเปน็ ดอกสมบูรณเ์ พศ ดอกท่เี หลืออยู่รอบๆ เปน็ ดอก เพศเมีย กลีบดอกเชื่อมติดกนั เปน็ หลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก ผล เป็นผลแห้งเมลด็ ลอ่ น รูปทรงกระบอก เป็นสนั เหลีย่ ม 10 สนั สว่ นทใี่ ช้ : ทั้งตน้ สด หรอื แหง้ เปลือก ใบ เมล็ด ดอก (นิยมใช้เฉพาะใบ) สรรพคุณ : ท้ังตน้ สด หรือแห้ง - ปรงุ เป็นยาตม้ รับประทานขับปสั สาวะ แก้โรคนิ่วในไต แก้ปสั สาวะพิการ แก้วัณโรคท่ี ตอ่ มน้าเหลือง เป็นยาช่วยย่อย แกร้ ิดสดี วงทวารหนัก ริดสีดวงจมูก เปลอื ก ใบ เมล็ด - แกร้ ิดสีดวงทวาร ริดสีดวงจมกู แกก้ ระษยั เปน็ ยาอายวุ ฒั นะ ใบ - มีกล่นิ หอม ต้มน้าดื่ม แทนเป็นน้าชา เพ่ือลดน้าหนกั แก้ปวดเม่ือย ขับระดขู าว แก้แผลอกั เสบ และตม้ นา้ อาบบารงุ ประสาท สาหรบั แกแ้ ผลอักเสบ อาจใชใ้ บสดตาพอก บรเิ วณท่ีเปน็ แกร้ ดิ สีดวงทวาร ยาอายุวัฒนะ ใบและราก - รับประทานเปน็ ยาฝาดสมาน แกบ้ ิด แก้ไข้ ขับเหง่ือ แก้แผลอักเสบ ใช้รากสดตาพอกบริเวณท่ี เป็น ดอก – แก้โรคนิว่ วธิ ีและปริมาณทใี่ ช้ : เปน็ ยาแก้อาการขัดเบา ใช้ทัง้ ตน้ ขลู่ 1 กามือ (สดหนัก 40- 50 กรมั แหง้ หนัก 15- 20 กรัม ) ห่ัน เป็นชน้ิ ๆ ตม้ กับนา้ ดมื่ คร้ังละ 1 ถว้ ยชา (75 มลิ ลิลิตร) วันละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร เป็นยารดิ สีดวงทวาร รดิ สีดวงจมูก ใช้เปลือกต้น ตม้ น้า เอาไอรมทวารหนัก และรบั ประทาน แกโ้ รคริดสีดวง ทวาร หรือใช้เปลือกตน้ (ขูดเอาขนออก) แบ่งเปน็ 3 ส่วน สว่ นที่ 1 นามาตากแห้ง ทาเป็นยาสูบ สว่ นที่ 2 นามาตม้ นา้ รบั ประทาน สว่ นท่ี 3 ต้มน้าเอาไปรมทวารหนัก เปลอื กบางของต้นขดู ขนออกให้สะอาด ทาเป็นเส้นตากแหง้ คล้ายเส้น ยาสูบ แกร้ ดิ สดี วงจมูก

๑๗๖ การใช้ขล่ใู นใบชาลดความอว้ น !การใชย้ าขบั ปัสสาวะในทางการแพทย์น้นั มักใชเ้ พ่ือลดความดันโลหิต และ เพอ่ื ลดอาการบวมน้า อาจมีที่ใช้ในกรณีอน่ื อีกบ้าง แต่แพทยไ์ ม่ใชย้ าขบั ปสั สาวะ เพ่ือลดความอว้ น สมุนไพรทใี่ ช้ชื่อว่า ใบ ชาลดความอ้วน ทัง้ หลาย มกั มสี มุนไพรท่มี ีฤทธิ์ขับปสั สาวะอยดู่ ้วย เมอื่ แพทย์ไม่ใช้ยาขับปสั สาวะเพอ่ื ลดความอว้ น ทาไม ผทู้ ม่ี ใิ ชแ้ พทย์จงึ ใช้สมนุ ไพรขับปสั สาวะเพอ่ื ลดความอว้ น ? (ข้อนี้โปรดใช้วิจารณญาณ) สารเคมี : ในใบพบ 3-(2,3-diacetoxy-2-methyl butyryl) cuauhtemone

๑๗๗ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abutilon indicum (L.) Sweet ช่อื สามัญ : Country mallow, Indian mallow วงศ์ : Malvaceae ช่อื อน่ื : ครอบ ครอบจกั รวาฬ ตอบแตบ บอบแปบ มะก่องเขา้ (พายพั ) กอ่ นเขา้ (เชียงใหม)่ โผงผาง (โคราช ) ครอบตลบั หญ้าขัดหลวง หญา้ ขดั ใบป้อม ขดั มอนหลวง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : เปน็ พรรณไม้พุ่ม ลาต้นสูงไมเ่ กิน 5 ฟุต และจะเปน็ ขนสีขาวนวล ใบจะกลมและโตประมาณ 7 ซม. ใบค่อนขา้ งหนาจะมีขนสีขาวนวล ดอกจะโตประมาณ 2-3 ซม. เปน็ ดอกสีเหลอื ง ผลน้นั จะมีลักษณะกลมเปน็ กลีบๆ คลา้ ยฟันสีที่ใชส้ ขี ้าวแต่ชนดิ นี้ผลจะเป็นรปู ตูมๆ ไม่บานอ้า เหมอื นชนดิ อน่ื สว่ นทีใ่ ช้ : ทั้งต้น ราก และเมล็ด เก็บในฤดูร้อนและฤดูหนาว ตดั ทั้งต้น ลา้ งสะอาด ตากแห้งเก็บไว้ใช้ สรรพคณุ : ทั้งต้น - รสชุ่ม สุขุม ไม่มีพิษ ใช้แก้รอ้ น ชน้ื ฟอกเลอื ด แก้ท้องร่วง หูอ้ือ หูหนวก แผลบวมเปน็ หนอง โรค เร้ือน ปสั สาวะขัด เจบ็ ขนุ่ คางทมู ขบั ลม เลือดร้อน ราก - รสจดื ชุ่ม เยน็ ใช้แกร้ อ้ น ชนื้ ฟอกเลอื ด แก้ไอ หูหนวก หชู ้นั กลางอักเสบ เหงอื กอักเสบ คอตบี ปวด ท้อง ท้องรว่ ง รดิ สีดวงทวาร ขบั ปัสสาวะ เมล็ด - ใช้แก้บดิ มูกเลอื ด ฝฝี กั บวั วิธแี ละปริมาณทใ่ี ช้ :ทงั้ ตน้ แหง้ 30- 60 กรมั ตม้ นา้ ด่ืมหรือตุ๋นกบั เน้ือไก่รบั ประทาน ใช้ภายนอก ตาพอก รากแหง้ 10- 15 กรมั ตม้ นา้ ดืม่ ใชภ้ ายนอก ตาพอก หรือต้มน้าชะล้าง เมล็ดแหง้ 3.2 กรมั บดเป็นผงรบั ประทาน วันละ 3 ครัง้ ตารับยา : แก้ผน่ื คัน เน่ืองจาการแพ้ ใช้ท้ังต้นแหง้ 30 กรมั ผสมกับเนอื้ หมู (ไมเ่ อามัน) พอประมาณ ตุ๋นนา้ รับประทาน แก้ริดสีดวงทวาร ใช้ราก 150 กรมั ตม้ เอาน้าขน้ ๆ ด่มื ประมาณ 1 ถว้ ยชา ทเ่ี หลอื อนุ่ เอาไอรมท่ีก้นพออนุ่ ๆ ทนได้ ใช้รมวนั ละ 5-6 คร้งั เอาน้าอุ่นๆ ชะลา้ งแผล แกห้ กลม้ เป็นบาดแผลหรือร่างกายอ่อนแอ ไม่มกี าลัง ใช้รากแห้ง 60 กรมั ตม้ กบั ขาหมู 2 ขา ผสมกบั เหลา้ เหลอื ง 60 กรมั ตม้ น้ารบั ประทาน แก้ข้อมือข้อเทา้ อกั เสบ หรือแผลอกั เสบท่ที าใหก้ ลา้ มเน้ือลีบ ใช้รากแห้ง 30 กรัม ผสมน้า และเหลา้ อย่างละ เท่าๆ กนั ตุ๋นรบั ประทาน แก้คอตบี ใชร้ ากสด 30 กรัม ตม้ นา้ ด่มื หรอื อาจะเพ่ิมรากหญา้ พนั งู ( Achyranthes aspera L. A. Bidentata BL., A.longiforia Mak. ) สด กบั รากวา่ นหางช้าง ( Belamcanda. Chinensis DC. ) สด พอสมควร ตาคั้น เอานา้ มามาผสมกบั ปัสสาวะใหเ้ ด็กรบั ประทาน แก้หชู ้ันกลางอกั เสบเร้ือรัง ใชร้ ากแหง้ 15- 30 กรมั ข้าวเหนียว 1 ถ้วย หรือเนอ้ื หมูไม่ติดมนั หรือเตา้ หู้

๑๗๘ แทนก็ได้ ในปริมาณสมควร ต้มน้ารบั ประทาน ใช้แก้รากฟันเน่าเปน็ หนอง ใช้รากแห้ง 15 กรัม ผสมนา้ ตาลแดงพอสมควร ตม้ น้าดื่มหรือใชร้ ากแหง้ แช่ นา้ สม้ สายชู 1 ชั่วโมง แล้วเอาผ้าห่ออมไว้ในปากบ่อยๆ แกบ้ ดิ มูกเลือด ใชเ้ มล็ดคว่ั ให้เกรียม บดเปน็ ผง รบั ประทานพร้อมกับนา้ ผึง้ คร้ังละ 3.2 กรัม วนั ละ 3 ครง้ั ก่อนอาหาร แก้ฝีฝกั บัว ใชเ้ มล็ด 1 ช่อ บดเปน็ ผงชงน้าสกุ อุ่นๆ รบั ประทานแล้วเอาใบสดตาผสมนา้ ผ้งึ หรอื นา้ ตาลแดง พอกทแี่ ผล สารเคมี : ทง้ั ต้น มี Flavonoid glycoside, Phenols, Amino acids, นา้ ตาล (พวก Flavonoid glycoside มี Gossypin, Gossypitrin, Cyanidin-3-rutinoside) ใบ มี Mucilage, Tannins, Organic acid, Traces of asparagin และเถา้ ทปี่ ระกอบด้วย Alkaline sulphates, Chlorides, magnesium phosphate และ Calcium carbonate ราก มี Asparagin เมล็ด มีไขมันประมาณ 5% fatty acid ซึ่งมี Oleic acid 41.3% Linoleic acid 26.67% Linolenic acid 6.8% Stearic acid 11.17% Palmitic acid 5.08% Non-saponified matter ประมาณ 1.77% (ซึ่งเปน็ พวก Sitosterol) กากเมลด็ ประกอบดว้ ย Raffinose (C18 H32 O16)

๑๗๙ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Cissus quadrangularis L. วงศ์ : Vitaceae ชื่ออน่ื : ข่นั ข้อ (ราชบรุ ี) สันชะควด (กรุงเทพฯ) สามรอ้ ยตอ่ (ประจวบครี ขี ันธ์) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมเ้ ถา เถาอ่อนสเี ขยี วเปน็ สี่เหล่ียม เปน็ ข้อต่อกนั มีมือสาหรับเกาะยดึ ออกตางข้อต่อตรงข้าม ใบ ใบ เปน็ ใบเด่ยี ว ออกเรียงสลบั ตามข้อต้น รูปสามเหล่ียม ปลายใบมน โคนใบเวา้ ขอบใบหยกั มนห่างๆ แผ่นใบเรยี บสี เขยี วเป็นมนั ก้านใบยาว 2-3 ซม. ดอก ออกเปน็ ชอ่ ตามข้อตน้ ตรงข้ามกับใบ ดอกสเี ขยี วอ่อน กลีบดอกมี 4 กลีบ โคน ดา้ นดา้ นนอกมสี ีแดง ด้านในสเี ขียวอ่อน เม่ือบานเต็มทดี่ อกจะงองุ้มไปด้านล่าง เกสรเพศผู้มี 4 อัน ผล รปู ทรงกลม ผวิ เรียบเป็นมนั ผลอ่อนสีเขยี ว สุกสีแดงเข้มเกือบดา เมล็ดกลม สีน้าตาล มี 1 เมลด็ สว่ นที่ใช้ : นา้ จากตน้ เถา ใบยอดอ่อน ราก สรรพคุณ : น้าจากต้น - ใช้หยอดหู แกน้ ้าหนวกไหล หยอดจมูกแกเ้ ลือดเสียในสตรีประจาเดือนไม่ปรกติ เปน็ ยาธาตุ เจรญิ อาหาร ใบยอดอ่อน – รักษาโรคลาไส้เก่ยี วกับอาหารไมย่ ่อย ใบ ราก – เป็นยาพอก เถา – ใชเ้ ป็นยาแก้ริดสีดวงทวารหนกั วิธีและปริมาณทีใ่ ช้ : ยาแก้รดิ สดี วงทวาร 1. ใชเ้ ถาสด 2-3 องคุลตี ่อหนึ่งม้ือ รับประทานสดๆ ถ้าเคี้ยวจะคนั ปากคันคอ เพราะในสมุนไพรนจี้ ะมสี าร เป็นผลกึ รูปเข็มอยู่มาก เปน็ สารชนิดเดยี วกันกับที่พบในตน้ บอน ต้นเผอื ก การรับประทานจึงใช้สอดไส้ในกลว้ ยสกุ หรือ มะขาม แล้วกลืนลงไป รบั ประทาน 10-15 วัน จะเหน็ ผล 2. ใชเ้ ถาตากแห้ง บดเปน็ ผง ใสแ่ คบซลู ขนาดเบอร์ 2 (ผงยา 250 มิลลิกรัม) รบั ประทานคร้งั ละ 2 แคบซลู วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและกอ่ นนอน รับประทาน 5-7 วนั อาการจะดขี นึ้ รบั ประทานต่อจะหาย สารเคมี เถา มีผลกึ calcium oxalate รูปเขม็ เป็นจานวนมากตน้ สด 100 กรมั ประกอบดว้ ย carotene 267 มก., ascorbic acid (Vitamin C.) 398 มก.

๑๘๐ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aloe vera (L.) Burm.f. ชื่อพ้อง : Aloe barbadensis Mill ช่อื สามัญ : Star cactus, Aloe, Aloin, Jafferabad, Barbados วงศ์ : Asphodelaceae ชือ่ อน่ื : หางตะเข้ (ภาคกลาง) ว่านไฟไหม้ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกอายหุ ลายปี สงู 0.5-1 เมตร ลาต้นเปน็ ข้อปล้องส้ัน ใบ เป็นใบเดยี่ ว ออกเรียงเวยี น รอบตน้ ใบหนาและยาว โคนใบใหญ่ สว่ นปลายใบแหลม ขอบใบเปน็ หนามแหลมห่างกัน แผน่ ใบหนาสเี ขยี ว มีจดุ ยาวสี เขยี วออ่ น อวบนา้ ขา้ งในเป็นวนุ้ ใสสีเขยี วออ่ น ดอก ออกเป็นชอ่ กระจะทป่ี ลายยอด ก้านช่อดอกยาว ดอกสีแดงอมเหลือง โคมเช่ือมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเปน็ 6 แฉก เรียงเปน็ 2 ช้นั รูปแตร ผล เปน็ ผงแห้งรปู กระสวย สว่ นทีใ่ ช้ : ยางในใบ น้าว้นุ เน้อื วุน้ และเหงา้ สรรพคณุ : ใบ - รสเยน็ ตาผสมสุรา พอกฝี ทง้ั ต้น - รสเย็น ดองสรุ าดม่ื ขับน้าคาวปลา ราก - รสขม รับประทานถ่ายโรคหนองใน แก้มตุ กิด ยางในใบ – เปน็ ยาระบาย นา้ วุ้นจากใบ - ลา้ งดว้ ยน้าสะอาด ฝานบางๆ รกั ษาแผลสดภายนอก น้าร้อนลวก ไฟไหม้ ทาให้แผลเป็นจาง ลง ดับพษิ ร้อน ทาผิวป้องกนั และรกั ษาอาการไหม้จากแสงแดด ทาผวิ รกั ษาสิวฝา้ และขจัดรอยแผลเปน็ เน้อื วนุ้ - เหน็บทวาร รักษาริดสีดวงทวาร เหง้า - ตม้ รบั ประทานแก้หนองใน โรคมุตกดิ วิธแี ละปรมิ าณท่ใี ช้ : ใช้เปน็ ยาภายใน 1. เป็นยาถ่าย ใชน้ า้ ยางสีเหลอื งที่มีรสขม คลื่นไส้ อาเจยี น นา้ ยางสเี หลืองที่ไหลออกมาระหวา่ งผวิ นอกของ ใบกบั ตวั วนุ้ จะให้ยาท่เี รียกวา่ ยาดา วิธีการทายาดา ตัดใบว่านหางจระเข้ทีโ่ คนใบให้เปน็ รูปสามเหลีย่ ม (ตอ้ งเป็นพนั ธเ์ุ ฉพาะ ซ่งึ จะมีขนาดใบใหญ่ และอวบ นา้ มาก จะให้นา้ ยางสเี หลอื งมาก) ตน้ ที่เหมาะจะตัด ควรมีอายุ 9 เดือนขึน้ ไป จะให้น้ายางมากไปจนถึงปีที่ 3 และจะให้ไป เร่อื ยๆ จนถึงปีที่ 10 ตดั ใบว่านหางจระเขต้ รงโคนใบ และปลอ่ ยให้น้ายางไหลลงในภาชนะ นาไปเคี่ยวใหข้ น้ เทลงในพิมพ์ ทงิ้ ไว้จะแข็งเป็นก้อน ยาดา มีลกั ษณะสแี ดงน้าตาล จนถงึ ดา เปน็ ของแขง็ เปราะ ผิวมัน กล่นิ และรสขม คล่ืนไส้ อาเจียน

๑๘๑ สารเคมี - สารสาคัญในยาดาเป็น G-glycoside ที่มชี อื่ วา่ barbaloin (Aloe-emodin anthrone C-10 glycoside) ขนาดทใี่ ชเ้ ป็นยาถ่าย - 0.25 กรัม เท่ากบั 250 มลิ ลิกรัม ประมาณ 1-2 เมด็ ถว่ั เขยี ว บางคนรบั ประทาน แล้วไซท้ ้อง แกก้ ระเพาะ ลาไส้อักเสบ โดยเอาใบมาปอกเปลือกออก เหลือแตว่ นุ้ แลว้ ใชร้ ับประทาน วนั ละ 2 เวลา ครัง้ ละ 2 ชอ้ นโตะ๊ แกอ้ าการปวดตามข้อ โดยการดื่มวา่ นหางจระเข้ทัง้ น้า ว้นุ หรืออาจจะใช้วธิ ปี อกสว่ นนอกของใบออก เหลือ แตว่ นุ้ นาไปแช่ตู้เย็นใหเ้ ย็นๆ จะชว่ ยใหร้ บั ประทานได้ง่าย รับประทานวันละ 2-3 ครั้งๆ ละ 1-2 ชอ้ นโต๊ะ เท่ากบั 2 ช้อน แกง บางคนบอกว่า เม่อื รับประทานวา่ นหางจระเข้ อาการปวดตามข้อจะทเุ ลาทนั ที แต่หลายๆ คนบอกวา่ อาการจะดขี ึน้ หลังจากรบั ประทานติดต่อกนั สองเดือนขน้ึ ไป สาหรบั ใช้รักษาอาการนี้ ยงั ไมไ่ ด้ทาการวิจัย ใชส้ าหรับเปน็ ยาภายนอก ใช้ส่วนวุ้น ต้องลา้ งน้ายางสเี หลอื งออกใหห้ มด 1. รกั ษาแผลไฟไหม้ และน้าร้อนลวก ใชว้ ้นุ ในใบสดทา หรือแปะทีแ่ ผลใหเ้ ปยี กอยูต่ ลอดเวลา 2 วนั แรก แผลจะหายเรว็ มาก จะบรรเทาปวดแสบ ปวดรอ้ น หรอื อาการปวดจะไม่เกดิ ขนึ้ แผลอาจไม่มแี ผลเป็น (ระวังความสะอาด) 2. ผวิ ไหมเ้ นอ่ื งจากถกู แดดเผา และแก้แผลเรือ้ รงั จากการฉายรงั สี ป้องกันการถูกแดดเผา ใช้ทาก่อนออก แดด อาจใชใ้ บสดก็ได้ แต่การใชใ้ บสดอาจจะทาใหผ้ วิ หนังแห้ง เน่อื งจากใบว่านหางจระเข้มีฤทธ์ฝิ าดสมาน ถา้ จะลดการ ทาให้ผวิ หนังแห้ง อาจจะใชร้ ว่ มกับน้ามนั พชื หรืออาจจะเตรียมเปน็ โลชนั ให้สะดวกในการใชข้ ึ้น รักษาผิวหนงั ทถี่ ูกแดดเผา หรอื ไหมเ้ กรียมจากการฉายแสง โดยการทาด้วยวุ้นของว่านหางจระเขบ้ ่อยๆ จะลดการอักเสบลง แต่ถา้ ใชว้ นุ้ ทานานๆ จะ ทาให้ผิวแห้ง ต้องผสมกับนา้ มันพืช ยกเวน้ แต่ จะทาใหเ้ ปียกชุ่มอย่เู สมอ 3. แผลจากของมีคม แกฝ้ ี แก้ตะมอย และแผลทรี่ ิมฝีปาก เป็นการรกั ษาแบบพน้ื บา้ น ลา้ งใบวา่ นหางจระเข้ ใหส้ ะอาด บาดแผลกต็ ้องทาความสะอาดเช่นกัน นาว้นุ จากใบแปะตรงแผลให้มิด ใชผ้ ้าปิด หยอดน้าเมือกลงตรงแผลให้ เปยี กอยู่เสมอ หรือจะเตรยี มเปน็ ขี้ผงึ้ กไ็ ด้ 4. แผลจากการถูกครูด หรอื ถลอก แผลพวกน้ีจะเจ็บปวดมาก ใชใ้ บวา่ นหางจระเขล้ ้างให้สะอาด ผา่ เป็นซีก ใช้ด้านทเี่ ปน็ วุ้นทาแผลเบาๆ ในวันแรกควรทาบ่อยๆ จะทาใหแ้ ผลไมค่ ่อยเจ็บ และแผลหายเร็วขึน้ 5. รกั ษารดิ สีดวงทวาร นอกจากจะชว่ ยรกั ษาแล้ว ยงั ชว่ ยบรรเทาอาการปวด อาการคนั ไดด้ ว้ ย โดยทาความ สะอาดทวารหนักให้สะอาดและแหง้ ควรปฏิบัติหลังจากการอุจจาระ หรอื หลังอาบนา้ หรอื ก่อนนอน เอาวา่ นหางจระเข้ ปอกส่วนนอกของใบ แลว้ เหลาให้ปลายแหลมเล็กน้อย เพ่ือใช้เหนบ็ ในชอ่ งทวารหนกั ถ้าจะใหเ้ หนบ็ ง่าน นาไปแช่ตเู้ ย็น หรอื นา้ แขง็ ใหแ้ ข็ง จะทาใหส้ อดได้งา่ ย ต้องหมน่ั เหน็บวนั ละ 1-2 คร้งั จนกว่าจะหาย 6. แก้ปวดศีรษะ ตดั ใบสดของว่านหางจระเขห้ นาประมาณ ? เซนติเมตร ทาปนู แดงดา้ นหนง่ึ เอาดา้ นท่ีทา ปูนปิดตรงขมับ จะช่วยบรรเทาอาการปวดศรี ษะ 7. เปน็ เครอื่ งสาอาง 7.1 วุน้ จากใบสดชโลมบนเสน้ ผม ทาใหผ้ มดก เปน็ เงางาม และเสน้ ผมสลวย เพราะวุ้นของว่านหางจระเข้ทา ใหร้ ากผมเย็น เปน็ การชว่ ยบารงุ ต่อมท่ีรากผมให้มีสุขภาพดี ผมจงึ ดกดาเป็นเงางาม นอกจากน้ันแลว้ ยงั ชว่ ยรักษาแผลบน หนังศีรษะด้วย 7.2 สตรชี าวฟิลิปปินส์ ใชว้ ้นุ จากว่านหางจระเขร้ วมกบั เน้ือในของเมลด็ สะบา้ (เน้ือในของเมล็ดสะบ้ามสี ขี าว สว่ นผิวนอกของเมล็ดสะบ้ามีสีน้าตาลแดง รปู ร่างกลมแบนๆ ใช้เป็นทต่ี งั้ ในการเล่นสะบา้ ) ต่อเน้ือในเมลด็ สะบ้าประมาณ ? ของผลให้ละเอียด แล้วคลุกรวมกบั ว้นุ นาไปชโลมผมไวป้ ระมาณ 1 ชว่ั โมง แล้วล้างออก ใช้กับผมรว่ ง รกั ษาศีรษะลา้ น 7.3 รักษาผวิ เปน็ จดุ ด่างดา ผิวด่างดานี้อาจเกิดขนึ้ เนื่องจากอายุมาก หรือถกู แสงแดด หรือเปน็ ความไวของ ผิวหนังแตล่ ะบคุ คล ใช้วุ้นทาวันละ 2 คร้ัง หลังจากไดท้ าความสะอาดผิวด้วยน้าสะอาด ต้องมีความอดทนมาก เพราะต้อง ใช้เวลาเปน็ เดือนๆ จึงจะหายจากจดุ ด่างดา แตถ่ ึงอยา่ งไรก็ดี ควรใชว้ นุ้ จากวา่ นหางจระเขท้ า จะทาให้ผวิ หนังมนี า้ มนี วล ข้ึน

๑๘๒ 7.4 รักษาสวิ ยบั ยั้งการติดเช้ือ ชว่ ยเรยี กเนอ้ื ชว่ ยลดความมันบนใบหน้า เพราะในใบวา่ นหางจระเข้มฤี ทธ์ิ เป็นกรดอ่อนๆ 7.5 โรงพยาบาลรามาธิบดี กาลังลองใชก้ บั คนไข้ทเ่ี ปน็ แผล เกดิ ข้นึ จากน่งั หรือนอนทับนานๆ ( Bed sore ) ปจั จบุ ัน มีเครื่องสาอางทเี่ ตรียมขายในท้องตลาดหลายารูปแบบ เชน่ ครมี โลชัน แชมพู และสบู่ สาหรับสาระสาคัญทส่ี ามารถรักษาแผลไฟไหม้ นา้ รอ้ นลวก และอื่นๆ นนั้ ได้ค้นพบวา่ เป็นสาร glycoprotein มชี อ่ื ว่า Aloctin A เปน็ Anti-inflammatory พบในทุกๆ ส่วนของวา่ นหางจระเข้ ข้อควรระวงั ในการใช้ ถา้ ใช้เปน็ ยาภายใน คือ เป็นยาถ่าย ห้ามใช้กับคนทตี่ ้งั ครรภ์ กาลังมีประจาเดือน และคนทเี่ ปน็ รดิ สีดวงทวาร ถ้าใช้เปน็ ยาภายนอก อาจมีคนแพแ้ ตน่ ้อยมาก ไม่ถงึ 1% (ผลจากการวิจัย) อาการแพ้ เมือ่ ทาหรือปดิ ว้นุ ลง บนผวิ หนงั จะทาใหผ้ ิวหนังแดงเปน็ ผน่ื บางๆ บางครง้ั เจบ็ แสบ อาการน้ีจะเกิดขึน้ หลังจากทายา 2-3 นาที ถา้ มีอาการ เช่นน้ี ให้รบี ล้างออกดว้ ยนา้ ที่สะอาด และเลกิ ใช้ นกั วิทยาศาสตร์ชาวญปี่ นุ่ สามารถแยกแยะสาระสาคญั ตัวใหม่จากใบวา่ นหางจระเข้ได้ สารตวั ใหมน่ ี้เปน็ glycoprotein มีชื่อวา่ Aloctin A ได้จดสิทธบิ ัตรไว้ท่ี European Patent Application ในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 นอกจากนี้พบว่า สารน้สี ามารถรักษาโรคไดห้ ลายโรค เช่น มะเรง็ แก้อาการแพ้ รักษาไฟไหม้ และรักษาโรค ผิวหนงั สารเคมี: ใบมี Aloe-emodin, Alolin, Chrysophanic acid Barbaboin, AloctinA, Aloctin B, Brady Kininase Alosin, Anthramol Histidine, Amino acid , Alanine Glutamic acid Cystine, Glutamine, Glycine.

๑๘๓ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Clerodendrum serratum (L.) Moon. var.wallichii C.B.Clarke วงศ์ : Limiaceae (Labiatae) ชื่ออืน่ : ตรชี วา (ภาคกลาง) ตั่งต่อ ปอสามเกี๋ยน สามสุม (ภาคเหนือ) พรายสะเลยี ง สะเมา่ ใหญ่ (นครราชสีมา) หลัวสาม เกยี น อัคคี (ภาคกลาง, เชยี งใหม่) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พมุ่ สูง 1-4 เมตร เปลอื กต้นเรยี บสนี ้าตาลออ่ น กิ่งอ่อนและยอดอ่อนเป็นเหลี่ยม ใบ เป็น ใบเด่ียว ออกเรยี งตรงข้ามกนั บางข้อมี 3-4 ใบ เรยี งรอบข้อ รปู รียาว โคนใบสอบ ปลายใบเป็นตง่ิ สั้น ขอบใบจักเป็นฟัน เล่อื ยชว่ งกลางขอบใบไปจนถึงปลายใบ แผ่นใบเรยี บสเี ขียวเข้มเป็นมนั กา้ นใบสน้ั ดอก ออกเป็นชอ่ ตามซอกใบและปลาย ยอด ดอกสมี ว่ งอ่อนอมฟา้ กลีบดอกเช่ือมตดิ กันเปน็ หลอดสนั้ ปลายแยกเปน็ 5 แฉก มีขนาดไมเ่ ทา่ กนั ผล รูปคอ่ นขา้ ง กลม ผวิ เรยี บเป็นมนั ผลอ่อนสเี ขียว แกเ่ ปน็ สีดา เมลด็ เด่ยี ว รปู กลมรี สดี า สว่ นท่ีใช้ : ทง้ั ตน้ ใบแหง้ ผล ราก สรรพคณุ : ทงั้ ตน้ - รกั ษากลากเกล้ือน โรคเรื้อน ผล - แก้ไอ แกโ้ รคเย่ือจกั ษุอักเสบ ราก - ตม้ ผสมกับขิง แกค้ ลนื่ เหยี น ใบ, ราก, ต้น – ใชเ้ ป็นยารักษารดิ สีดวงทวาร วิธแี ละปริมาณที่ใช้ : ใชเ้ ปน็ ยารักษาริดสีดวงทวาร 1. นารากหรอื ตน้ ยาว 1-2 องคุลี ฝนกับนา้ ปูนใสใหข้ ้นๆ ทาที่รดิ สีดวงทวาร เป็นยาเกล่อื นหวั ริดสีดวง 2. นาใบ 10-20 ใบ มาตากแหง้ บดใหเ้ ปน็ ผง แลว้ คลกุ กับนา้ ผึง้ รวง ป้ันเปน็ เม็ดขนาดเม็ดพุทรา รบั ประทาน คร้ังละ 2-4 เมด็ ทุกๆ วันติดต่อกัน 7-10 วัน 3. ใช้ใบแห้งปน่ เป็นผง โรยในถา่ นไฟ เผาเอาควนั รมหวั ริดสดี วงงอกทวารหนัก ให้ยุบฝ่อ ใชร้ กั ษากลากเกลื้อน โรคเรือ้ น ใช้ใบและต้นตาพอกรกั ษากลากเกลอ้ื น โรคเรื้อน และพอกแกป้ วดศรี ษะเร้ือรัง และแก้ขดั ตามข้อ และดูดหนอง ใชแ้ กเ้ สียดท้อง ใชใ้ บตม้ รบั ประทานแกเ้ สยี ดท้อง ใชร้ ากผสมขงิ และลูกผักชีตม้ แก้คลนื่ เหียน อาเจยี น แกไ้ อ แกโ้ รคเย่ือตาอักเสบ ผลท้ังสกุ และดบิ เคยี้ วค่อยๆ กลืนน้า แกไ้ อ แกโ้ รคเยื่อตาอกั เสบ ใช้เป็นยาขับปสั สาวะ ลาต้น ตม้ รบั ประทาน

๑๘๔ ช่อื วิทยาศาสตร์ : Syzygium aromaticum (L.) Merr.& L.M.Perry ชอ่ื พ้อง : Caryophyllus aromatica L. ; Eugenia aromatica (L.) Baill; E.Caryophylla (Spreng.) Bullock et Harrison; E.caryophyllata Thunb. ช่อื สามัญ : Clove Tree วงศ์ : Myrtaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ น้ สูง 9-12 เมตร อาจสงู ได้ถงึ 20 เมตร เรือนยอดเป็นรูปกรวยคว่า แตกกงิ่ ตา่ ลาตน้ ตงั้ ตรง เปลอื กเรียบ สเี ทา ใบเดี่ยว เรยี งตรงข้าม รปู ใบหอก รูปรี หรอื รปู ไข่กลับแคบๆ กว้าง 8-11 ซม. ยาว 32-37 ซม. ปลายแหลมหรอื เรยี วแหลม โคนสอบแคบ ขอบเรียบ แผ่นใบดา้ นบนเปน็ มนั มตี ่อมน้ามันมาก เสน้ แขนงใบขา้ งละ 15-20 เส้น ปลายเสน้ โค้งจรดกับเส้นถัดไปกอ่ นถงึ ขอบใบ กา้ นใบยาว 1-2.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อเชงิ หลน่ั ออกที่ปลายยอด ยาว ประมาณ 5 ซม. ก้านชอ่ ดอกส้ันมาก แต่อาจยาวได้ถึง 1 ซม. ใบประดบั รปู สามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. กลีบเล้ยี ง 4 กลีบ โคนตดิ กนั เป็นหลอดยาว 5-7 มม. เม่อื เป็นผลขยายออกเป็นรปู กรวยยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกรปู ไข่ ยาว 3-4 มม. กลบี ดอก 4 กลีบ รปู ขอบขนานหรอื กลม ยาว 7-8 มม. มตี อ่ มมน้ามนั มาก รว่ งงา่ ย เกสรเพศผูจ้ านวนมาก ร่วง ง่าย ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 7 มม. กา้ นเกสรเพศเมียยาวประมาณ 4 มม. ผล รปู ไขก่ ลับกามรปู รี ยาว 2-2.5 ซม. แก่ จัดสแี ดง มี 1 เมลด็ กานพลเู ปน็ พรรณไม้พนื้ เมืองของหมู่เกาะโมลกุ กะ นา้ ไปปลกู ในเขตร้อนทวั่ โลก ในปะเทศไทยนามาปลูก บา้ งแต่ไมแ่ พรห่ ลาย ชอบข้นึ ในดินรว่ นซยุ การระบายนา้ ดี ความช้นื สูง ฝนตกชุก ขน้ึ ได้ดีบนพนื้ ทรี่ าบถึงที่สูงจาก ระดับนา้ ทะเล 800-900 เมตร สว่ นท่ใี ช้ : เปลือกตน้ ใบ ดอกตมู ผล นา้ มันหอมระเหยกานพลุ สรรพคุณ : เปลอื กตน้ - แก้ปวดท้อง แกล้ ม คมุ ธาตุ ใบ - แก้ปวดมวน ดอกตูม - รับประทานขบั ลม ใชแ้ ตง่ กลิ่น ดอกกานพลแู ห้ง ที่ยังไมไ่ ดส้ กัดเอานา้ มันออก และมกี ลน่ิ หอมจดั มีนา้ มนั หอมระเหยมาก รสเผด็ ช่วยขับลม แกอ้ าการท้องอดื ท้องเฟอ้ ปวดทอ้ ง และแน่นจุกเสยี ด แก้อจุ จาระพกิ าร แกโ้ รคเหนบ็ ชา แกห้ ดื แก้ไอ แกน้ ้าเหลืองเสยี แก้เลอื ดเสยี ขบั นา้ คาวปลา แกล้ ม แกธ้ าตุพกิ าร บารุงธาตุ ขบั เสมหะ แก้เสมหะเหนียว ขบั ผายลม ขับลมในลาไส้ แก้ ทอ้ งเสียในเด็ก แกป้ ากเหม็น แกเ้ ลอื ดออกตามไรฟนั แกร้ ามะนาด กับกลนิ่ เหล้า แกป้ วดฟัน

๑๘๕ ผล - ใชเ้ ป็นเคร่ืองเทศ เปน็ ตัวช่วยใหม้ ีกลิ่นหอม นา้ มนั หอมระเหยกานพลู - ใช้เปน็ ยาชาเฉพาะแห่ง แกป้ วดฟัน ฆ่าเชือ้ ทางทันตกรรม เป็นยาระงบั การชกั กระตุก ทาให้ผวิ หนังชา วธิ ีและปรมิ าณทใ่ี ช้ : แกอ้ าการท้องขึน้ ทอ้ งอืดเฟ้อ ขบั ลม และปวดท้อง ใชด้ อกกานพลูโตเตม็ ที่ ที่ยงั ตมู อยู่ 4-6 ดอก หรือ 0.25 กรัม ใน ผู้ใหญ่ - ใชท้ ุบใหช้ ้า ชงน้าดม่ื ครง้ั ละครง่ึ ถ้วยแก้ว ในเด็ก - ใช้ 1 ดอก ทุบแล้วใส่ลงในขวดนม เดก็ อ่อน - ใช้ 1 ดอก ทุบใส่ในกระตกิ น้าทีไ่ วช้ งนม ช่วยไม่ใหเ้ ด็กท้องข้นึ ท้องเฟ้อได้ ยาแกป้ วดฟัน ใชน้ ามนั จากการกลนั่ ดอกตมู ของดอกกานพลู 4-5 หยด ใชส้ าลพี นั ปลายไม้ จุม่ นา้ มนั จิม้ ในรูฟนั ทป่ี วด จะ ทาใหอ้ าการปวดทเุ ลา และใช้แกโ้ รครามะนาดก็ได้ หรือใชท้ ้ังดอกเค้ียว แลว้ อมไวต้ รงบรเิ วณทปี่ วดฟนั เพ่อื ระงับอาการ ปวด หรอื ใช้ ดอกกานพลตู าพอแหลกผสมกับเหลา้ ขาวเพียงเลก็ น้อยพอแฉะใช้จ้ิมหรอื อดุ ฟันที่ปวด ระงับกล่นิ ปาก ใชด้ อกตูม 2-3 ดอก อมไวใ้ นปาก จะช่วยทาใหร้ ะงบั กล่นิ ปากลงได้บ้าง สารเคมี : Eugenol, Cinnamic aldehyde Vanillin นา้ มนั หอมระเหย Caryophylla - 3(12)-6-dien-4-ol กลุ่มยาแก้ปวดฟนั

๑๘๖ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Streblus asper Lour. ชื่อสามัญ : Siamese rough bush, Tooth brush tree วงศ์ : Moraceae ชอ่ื อื่น : ตองขะแหน่ (กาญจนบรุ ี) กักไมฝ้ อย (ภาคเหนือ) สม้ พอ (เลย) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ ้น แตกก่ิงก้านเปน็ พุ่มทึบ กง่ิ ก้านคดงอ เปลือกตน้ บาง ขรขุ ระเล็กนอ้ ย สเี ทาอมเขยี ว มี ยางสขี าวข้น ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรยี งเวยี น รูปรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก แผ่นใบสีเขยี ว สากมือ เนือ้ ใบหนาคอ่ นข้างกรอบ ดอก ออกเปน็ ช่อส้ันตามซอกใบ ดอกย่อยเล็กมาก ดอกแยกเพศ ดอก เพศผรู้ วมกันเปน็ ช่อกลม กา้ นดอกส้ัน ดอกเพศเมยี ชอ่ หน่ึงมีดอกย่อย 2 ดอก กา้ นดอกยาว ผล รปู ทรงกลม ผลมีเน้ือ ผนัง ผลช้ันในแข็ง เมื่ออ่อนสเี ขยี ว สกุ เปน็ สเี หลืองใส เมล็ดเดีย่ ว แขง็ กลม สว่ นทใี่ ช้ : กงิ่ สด เปลือก เปลอื กต้น เมล็ด ราก ใบ สรรพคณุ : กง่ิ สด - ทาใหฟ้ นั ทน ไม่ปวดฟนั ฟนั แข็งแรง ไมผ่ ุ เปลอื ก - แก้บิด แกท้ ้องเสยี แก้ไข้ ฆา่ เชอื้ จุลินทรีย์ เปลอื กตน้ – แกร้ ิดสีดวงจมูก เมลด็ - ฆ่าเชอื้ ในชอ่ งปาก และทางเดนิ อาหาร เป็นยาอายุวฒั นะ บารุงธาตุ ขับลมในลาไส้ รากเปลือก – เปน็ ยาบารุงหวั ใจ วิธีและปริมาณท่ีใช้ใช้ : ทาให้ฟนั ทน ไม่ปวดฟนั ใชก้ ่ิงสด 5-6 นวิ้ ฟุต หนั่ ต้มใสเ่ กลือเคย่ี วให้งวด เหลือนา้ ครึง่ เดียว อมเช้า- เย็น แกบ้ ิด แก้ทอ้ งเสยี แก้ไข้ ใช้เปลือกต้มกับนา้ รบั ประทาน แก้รดิ สีดวงจมูก ใช้เปลือกตน้ มวนสูบ ฆา่ เชอ้ื โรคในช่องปาก และทางเดนิ อาหาร เปน็ ยาอายุวฒั นะ โดยใชเ้ มล็ด รับประทาน และต้มนา้ อมบ้วน ปาก บรรเทาอาการปวดของมดลูกระหว่างมปี ระจาเดือน นาใบมาคั่วให้แหง้ ชงนา้ รับประทาน สารเคมี : ผล จะมนี า้ มนั ระเหย 1-1.4% ไขมนั 26% และในน้ามันนี้จะประกอบดว้ ยสารพวก เทอปีน (terpenes) อยู่ หลายชนิด และพวกเจอรานิออล (geranilo) พวกแอลกอฮอล์การบูน (camphor) ฯลฯ และนอกจากน้ยี ังมีน้าตาลอ้อย (sucrose) นา้ ตาลผลไม้ (fructose) น้ากลโู คส ทง้ั ต้น มสี ารพวก ลินาโลออล (linalool โนนานาล (nonanal) ดคี าลนาล (decanal) และวติ ามนิ ซี 92-98 มก.% เมล็ด จะมสี ารประกอบพวกไนโตรเจน 13-15% และสารอนินทรีย์ 7% มีน้ามนั ระเหย 1% ซ่ึงมสี ารสว่ นใหญใ่ นน้ามัน ระเหยนนั้ เปน็ d-linalool ประมาณ 70%

๑๘๗ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Tagetes erecta L. ชื่อสามัญ : African Marigold วงศ์ : Asteraceae ชื่ออืน่ : คาปู้จหู้ ลวง (ภาคเหนอื ) พอทู (กะเหร่ียง-แม่ฮอ่ งสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลกุ สงู 15-60 ซม. ลาตน้ เป็นร่อง สีเขียว แตกกง่ิ ก้านที่โคน ใบ เป็นใบประกอบแบบขน นกปลายคี่ ออกเรียงตรงกนั ข้าม ใบย่อยมี 11-17 ใบ รูปรี กว้าง 0.5-1.5 ซม. ยาว 1.5- 5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบจักเปน็ ซี่ฟนั แผ่นใบสเี ขยี ว เนอื้ ใบนมิ่ ดอก ออกเปน็ ชอ่ ท่ีปลายยอด ดอกสเี หลืองเขม้ รว้ิ ประดับสเี ขยี ว เชอื่ ม ติดกนั เป็นรูประฆัง หมุ้ โคนช่อดอก ดอกแบ่งออกเปน็ 2 วง คือ ดอกวงนอก เปน็ รูปลิ้น บานแผอ่ อกปลายม้วนลง เป็นดอก ไมส่ มบูรณ์ ดอกวงในเปน็ เหลอดเล็กอยูต่ รงกลาง ชอ่ ดอกเป็นดอกสมบรู ณเ์ พศ ก้านช่อดอกยาว ผล เป็นผลแหง้ ไม่แตก สี ดา ดอกแห้งติดกับผล ส่วนท่ีใช้ : ใบ และช่อดอก เก็บตอนฤดรู ้อน และฤดหู นาว ตากแห้งเก็บไวใ้ ช้ หรืออาจใช้สด สรรพคุณ : ใบ - รสชมุ่ เยน็ มีกลนิ่ ฉุน ใชแ้ กฝ้ ฝี ักบัว ฝพี พุ อง เดก็ เป็นตานขโมย ตุ่มมหี นอง บวมอักเสบโดยไม่รสู้ าเหตุ ชอ่ ดอก - รสขม ฉนุ เล็กนอ้ ย ใช้กล่อมตบั ขับรอ้ น ละลายเสมหะ แกเ้ วยี นศีรษะ ตาเจบ็ ไอหวดั ไอกรน หลอดลมอักเสบ เตา้ นมอกั เสบ คามทูม เรยี กเนอ้ื ทาให้แผลหายเร็วขน้ึ และแก้ปวดฟนั วิธแี ละปริมาณทีใ่ ช้ :ชอ่ ดอก ใช้ภายใน - ใชช้ อ่ ดอก 3- 10 กรัม ตม้ นา้ ดมื่ ใชภ้ ายนอก – ช่อดอกต้มเอาน้าชะลา้ งบริเวณ ทเ่ี ป็น ใบ ใช้ภายใน - ใช้ใบแหง้ 5- 10 กรมั ตม้ น้าด่มื ใชภ้ ายนอก - ใช้ใบตาพอก หรอื ต้มเอาน้าชะล้างบรเิ วณท่ี เป็น

๑๘๘ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Coriandrum sativum L. ชอ่ื สามัญ : Coriander วงศ์ : Umbelliferae ชือ่ อื่น : ผักหอม (นครพนม) ผักหอมน้อย (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) ผกั หอมป้อม ผกั หอมผอม (ภาคเหนือ) ยาแย้ (กระบี่) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ลม้ ลกุ ที่มีลาตน้ ตั้งตรง ภายในจะกลวง และมีกิง่ กา้ นท่ีเล็ก ไม่มีขน มีรากแกว้ สน้ั แตร่ าก ฝอยจะมีมาก ซ่ึงลาตน้ นี้จะสูงประมาณ 8-15 นิว้ ลาตน้ สเี ขยี วแตถ่ า้ แก่จัดจะออกเสยี เขียวอมนา้ ตาล ใบ ลกั ษณะการออก ของใบจะเรยี งคล้ายขนนก แตอ่ ยใู่ นรูปทรงพดั ซ่ึงใบทโ่ี คนตน้ น้ันจะมขี นาดใหญ่กว่าที่ปลายตน้ เพราะสว่ นมากทป่ี ลายต้น ใบจะเป็นเส้นฝอย มีสีเขยี วสด ดอก ออกเป็นชอ่ ตรงส่วนยอดของต้น ดอกนน้ั มีขนาดเล็ก มีอยู่ 5 กลีบสขี าวหรอื ชมพู ออ่ นๆ ผล จะติดผลในฤดหู นาว ลกั ษณะของผลเป็นรปู ทรงกลมโตประมาณ 3-5 มลิ ลเิ มตร ตรงปลายผลจะแยกออกเปน็ 2 แฉก ตาวผวิ จะมีเส้นคลนื่ อยู่ 10 เส้น ส่วนทใี่ ช้ : ผล เมล็ด ตน้ สด สรรพคุณ : ผล - แกบ้ ดิ ถา่ ยเป็นเลอื ด ถา่ ยเป็นมูก แก้ริดสีดวงทวาร มีเลือดออก แกท้ ้องอืดเฟ้อ เมล็ด - แก้ปวดฟนั ปากเจ็บ ต้นสด - ช่วยให้ผืน่ หดั ออกเร็วข้ึน แก้เด็กเปน็ ผ่นื แดงไฟลามท่งุ วิธีและปรมิ าณที่ใช้ : แก้บดิ ถ่ายเปน็ เลอื ด ใช้ผล 1 ถว้ ยชา ตาผสมน้าตาลทราย ผสมน้าดื่ม แก้บิด ถ่ายเปน็ มกู ใช้นา้ จากผลสดอุ่น ผสมเหลา้ ดมื่ แกร้ ิดสีดวงทวาร มเี ลอื ดออก ใชผ้ ลสดบดให้แตก ผสมเหลา้ ด่มื วันละ 5 ครง้ั ใช้ตน้ สด 120 กรมั ใสน่ ม 2 แก้ว ผสมน้าตาล ด่ืม แก้ท้องอืดเฟ้อ ใช้ผล 2 ช้อนชา ตม้ นา้ ดม่ื แก้เดก็ เปน็ ผ่ืนแดงไฟลามทุง่ ช่วยใหผ้ นื่ หัดออกเรว็ ขนึ้ ใช้ต้นสด หน่ั เป็นฝอย ใส่เหลา้ ตม้ ให้เดอื ด ใชท้ า แก้ปวดฟนั ปากเจ็บ ใชเ้ มลด็ ต้มน้า ใช้อมบ้วนปากบอ่ ยๆ

๑๘๙ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acmella oleracea (L.) R.K.Jansen ช่ือพ้อง : Spilanthes acmella (L.) Murray ชื่อสามัญ : Para cress , Tooth-ache Plant วงศ์ : Asteraceae (Compositae) ช่อื อน่ื : ผักคราด ผกั เผ็ด อึ้งฮวยเกี้ย ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมล้ ้มลกุ สูง 30-40 ซม. ลาต้นมักทอดเลื้อย ปลายยอดตงั้ ต้นสีเขียวปนสีม่วงแดง มีขน ใบ เป็นใบเดีย่ ว ออกเรยี งตรงข้าม สลับตงั้ ฉาก รูปสามเหลี่ยม กว้าง 3-4 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบ จกั ฟันเลอื่ ย แผน่ ใบสีเขยี ว มีขนประปรายทั้งสองด้าน ดอก ออกเปน็ ชอ่ รูปกรวยควา่ ตามซอกใบ ดอกสเี หลอื ง ผล เป็นผล แหง้ รปู ไข่ ส่วนที่ใช้ : ราก ต้น ทั้งต้น ใบ ดอก (ราก ทง้ั ต้นสด เก็บได้ตลอดปี หรือตากแห้งเก็บเอาไวใ้ ช้) สรรพคณุ : ราก - แกป้ วดฟัน แก้ปวดศรี ษะ แก้คนั เปน็ ยาระบาย ขับปัสสาวะ ตน้ - แกพ้ ษิ ตานซาง แกไ้ ข้ แกเ้ จ็บคอ ฝีในคอ แกต้ ่อมน้าลายอักเสบ แกร้ ดิ สดี วง ทัง้ ต้น - รสเผ็ด ซ่าปาก ทาให้ลิน้ และเยือ่ เมือกชา แก้ต่อมน้าลายอกั เสบ แก้ฝใี นคอ แก้ไข้ คอตีบตนั แกซ้ าง แก้คนั แกร้ ดิ สดี วง แก้เริม แก้หลอดลมอกั เสบเรื้อรัง แก้ไอ ระงับหอบ ไอหวดั ไอกรน หอบหดื แก้เหงือกและฟันปวด แก้ ปวดบวมฟกชา้ แก้ไขขอ้ อักเสบจากลมขน้ึ ( Rheumatic fever ) แก้บิด ท้องเดิน แกแ้ ผลบวม มีพษิ งูพษิ กดั สนุ ขั กัด ตะมอย ใบ - แก้ปวดฟนั แก้ปวดศรี ษะ รักษาแผล มีฤทธิ์เปน็ ยาชา ดอก - แกป้ วดฟนั แกป้ วดศีรษะ วธิ แี ละปริมาณที่ใช้ : ใชร้ บั ประทานภายใน ตม้ แหง้ หนกั 3.2- 10 กรัม ต้มน้าดม่ื หรือบดเป็นผงหนกั 0.7- 1 กรมั รับประทานกับน้า หรือผสมกับเหลา้ รับประทาน ใช้ทาภายนอก ตน้ สดตาพอก หรือเอาน้าทาถู ใช้ตน้ สด 1 ต้น ตาให้ละเอยี ด เติมเกลือ 10 เมด็ ค้นั นา้ ใช้ สาลพี นั ไม้ชบุ น้ายาจ้ิมลงในซอกฟนั ทาให้หายปวดฟนั ได้ สารเคมี : ทัง้ ตน้ พบ Sitosterol-O-Beta-D-glucoside, Alpha- และ Beta-Amyrin ester, Stigmasterol, Spiranthol, Spilantol, lsobutylamine


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook