มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗

Page 1


มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

พิธีประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ วันอังคารที่ ๙ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๗ ณ หอประชุมเล็ก ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ก


ภาพปกหน้า

: “ชักพระทางน�้ำ” ของชาญ วารีรัตน์ จากการประกวดภาพถ่าย “อารยะ...วัฒนธรรมไทย” ภาพปกหลัง : “แข่งเรือยาวจังหวัดน่าน ของ สุพรรณิการ์ อติชัย โชติกุล จากการประกวดภาพถ่าย “อารยะ...วัฒนธรรมไทย” พิมพ์ครั้งที่ ๑ จ�ำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม ๙ กันยายน ๒๕๕๗


สารปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมมีภารกิจหนึ่งที่ส�ำคัญคือการรักษา สืบทอด วัฒนธรรมของชาติ และความหลากหลายของวั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ให้ ค งอยู ่ อ ย่ า งมั่ น คง ในการด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมา หน่วยงานต่างๆ ภายใต้กระทรวงวัฒนธรรมได้มุ่งเน้นการด�ำเนินงานในลักษณะการศึกษาค้นคว้าวิจัย การอนุรักษ์ การฟื้นฟู การพัฒนา การส่งเสริม การถ่ายทอด และการแลกเปลี่ยน จนประสบผลส�ำเร็จ ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม กระแสโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อมรดกวัฒนธรรมของ กลุ่มชนต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านที่เสี่ยงต่อการสูญหาย การน�ำไปใช้อย่างไม่เหมาะสมและ ขาดการแบ่งปันผลประโยชน์ต่อผู้เป็นเจ้าของมรดกวัฒนธรรม เป็นต้น โดยเหตุนี้ กระทรวงวัฒนธรรม เห็นความส�ำคัญและความจ�ำเป็นทีต่ อ้ งมีมาตรการเพือ่ การปกป้องคุม้ ครองและส่งเสริมมรดกภูมปิ ญ ั ญา ทางวัฒนธรรมที่มีความสอดคล้องและมีความหลากหลายของชุมชนท้องถิ่น การด�ำเนินงานของกระทรวงวัฒนธรรม โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้ด�ำเนินการ ขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซึ่งถือเป็นมาตรการหนึ่งที่ส�ำคัญ ทั้งนี้เพื่อให้สังคม ทุกภาคส่วนรับทราบและตระหนักถึงคุณค่า รวมทั้งเป็นการสร้างความภาคภูมิใจร่วมกันในคุณค่า มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งนอกจากจะเป็นการจัดท�ำบัญชีรายชื่อเพื่อเป็นฐานข้อมูล ในการน�ำไปเก็บบันทึกองค์ความรู้ต่างๆไว้เป็นหลักฐานส�ำคัญของชาติแล้ว ยังต้องมีการเผยแพร่และ ถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านี้ให้แก่เด็กและเยาวชนได้สืบทอดอย่างจริงจัง รวมถึงสามารถน�ำไปพัฒนา ต่อยอดอย่างสร้างสรรค์ได้ อันจะเป็นหนทางหนึ่งในการปกป้องคุ้มครองให้มรดกทางวัฒนธรรมคงอยู่ อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

(ศาสตราจารย์อภินันท์ โปษยานนท์) ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม


สารอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม การปกป้ อ งคุ ้ ม ครองมรดกภู มิ ป ั ญ ญาทางวั ฒ นธรรม โดยเฉพาะมรดกภู มิ ป ั ญ ญา ทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Cultural Heritage - ICH) ซึ่งหมายถึง ทักษะ ความรู ้ ความเชี่ยวชาญ ด้านภาษาพูด การดนตรี การละคร การฟ้อนร�ำ ประเพณี งานเทศกาล ความเชื่อ ความรู้ของธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ความรู้เชิงช่าง ฯลฯ ถือเป็นเรื่องที่ประเทศต่างๆ ในโลก ให้ ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ด้ ว ยเป็ น สิ่ ง ซึ่ ง เสี่ ย งต่ อ การสู ญ หายเนื่ อ งมาจากการเปลี่ ย นแปลง ของสังคมโลก กระแสโลกาภิวตั น์ ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี รวมถึงยังมีการน�ำมรดกภูมปิ ญ ั ญา ทางวัฒนธรรมบางอย่างไปใช้ในทางที่บิดเบือนหรือไม่เหมาะสม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ในฐานะหน่วยงานหนึ่งที่ดูแลงานด้าน วัฒนธรรม ได้เล็งเห็นและตระหนักในสถานการณ์ดงั กล่าวเช่นกัน จึงได้จดั ให้มกี ารประกาศขึน้ ทะเบียน มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติขึ้น เพื่อเป็นมาตรการหนึ่งในการสนับสนุน ส่งเสริมให้ชุมชน ผูป้ ฏิบตั ิ ผูส้ บื ทอดมรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรมได้เกิดความภาคภูมใิ จ ในขณะเดียวกันก็เป็นการสร้าง ความตระหนักรับรู้ให้ผู้เกี่ยวข้องได้หันมาสนใจที่จะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนา มรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรมดังกล่าว ให้ดำ� รงอยูอ่ ย่างสอดคล้องกับสภาพปัจจุบนั โดยไม่ละเลยคุณค่า ที่แท้จริง ในการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ นี้ ถือเป็นปีที่ ๖ โดยมีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ได้รับการขึ้นทะเบียน รวม ๗ สาขา ได้แก่ สาขาศิลปะการแสดง สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม สาขาวรรณกรรมพื้นบ้าน สาขากีฬาภูมิปัญญาไทย สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล สาขาความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล และสาขาภาษา รวมจ�ำนวน ๖๘ รายการ จากข้อมูลที่ได้มีการจัดเก็บและส�ำรวจ ในเบือ้ งต้นจากส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดต่างๆ และการพิจารณาคัดเลือกกลัน่ กรองของคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตามกระบวนการขั้นตอนและหลักเกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียนของแต่ละสาขา


มรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรมทีไ่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียนจะอยูใ่ นลักษณะใดลักษณะหนึง่ คือ ๑. รายการที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะในชุ ม ชน ท้ อ งถิ่ น ที่ เ สี่ ย งต่ อ การสู ญ หาย ใกล้ ข าด ผู้สืบทอด เช่น ภาษาชอุง การสักยา เป็นต้น ๒. รายการที่มีลักษณะเฉพาะในชุมชน ท้องถิ่น ที่ยังมีผู้สืบทอดและปฏิบัติอยู่ เช่น ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ต�ำนานพญากงพญาพาน เป็นต้น ๓. รายการที่มีอัตลักษณ์ชัดเจนและมีการปฏิบัติ สืบทอดโดยทั่วไปหรืออย่างกว้างขวาง เช่น การแต่งงานแบบไทย ร�ำโทน เป็นต้น ในการนี้ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ก�ำหนดจัดงานพิธีประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญา ทางวั ฒ นธรรมของชาติ ประจ� ำ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๗ ขึ้ น ในวั น อั ง คารที่ ๙ กั น ยายน ๒๕๕๗ ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ด้วยความหวังเป็นอย่างยิ่งว่ากิจกรรมในครั้งนี้จะน�ำไปสู่ความ ภาคภูมิใจและตระหนักถึงความส�ำคัญของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอันเป็นเกียรติภูมิของชาติ

(นายชาย นครชัย) อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม


สารบัญ สารปลัดกระทรวงวัฒนธรรม สารอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ก�ำหนดการ ความหมายมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมของชาติ วัตถุประสงค์การขึ้นทะเบียน มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปี พุทธศักราช ๒๕๕๗

ค จ ๑ ๒ ๒

๑๗ ๒๑ ๒๕ ๒๘ ๓๒ ๓๖ ๓๙

งานช่างฝีมือดั้งเดิม ผ้าทอเกาะยอ ผ้าทอเมืองอุบลฯ รูปหนังใหญ่ งานแกะสลักกะโหลกซอ งานช่างตอกกระดาษ งานช่างแกะสลักผักผลไม้ งานช่างดอกไม้สด งานตีทองค�ำเปลว งานช่างผ้าลายทองแผ่ลวด เครื่องแต่งกายมโนห์รา

๔๒ ๔๔ ๔๗ ๕๒ ๕๗ ๖๒ ๖๕ ๖๘ ๗๑ ๗๔ ๗๘

รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ของชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

ศิลปะการแสดง เค่ง เพลงฉ่อย เพลงเรือ

๖ ๘ ๑๑ ๑๔

เพลงนา แตรวง ฟ้อนโยคีถวายไฟ ระบ�ำสี่บท ร�ำแม่บท ร�ำโทน หนังประโมทัย


วรรณกรรมพื้นบ้าน นิทานนายดัน ต�ำนานพญากงพญาพาน ต�ำนานพันท้ายนรสิงห์ ต�ำนานชาละวัน ต�ำนานปู่แสะย่าแสะ เพลงแห่นางแมว กาพย์เซิ้งบั้งไฟ บทท�ำขวัญช้าง ต�ำราพิชัยสงคราม ต�ำรานรลักษณ์

๘๔ ๘๖ ๘๘ ๙๑ ๙๔ ๙๘ ๑๐๐ ๑๐๓ ๑๐๕ ๑๐๗ ๑๑๑

กีฬาภูมิปัญญาไทย แนดข้ามส้าว โค้งตีนเกวียน เสือข้ามห้วย งูกินหาง

๑๑๔ ๑๑๖ ๑๑๙ ๑๒๒ ๑๒๖

อีตัก แข่งเรือ ตีขอบกระด้ง ตีไก่คน รถม้าชาวเสียม แข่งโพน จังหวัดพัทลุง

๑๓๑ ๑๓๔ ๑๓๙ ๑๔๓ ๑๔๖ ๑๔๙

แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ประเพณีลากพระ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ประเพณีการท�ำบุญในพุทธศาสนา การแต่งงานแบบไทย สวดพระมาลัยภาคใต้ พิธีบูชาแม่โพสพ พิธีกรรมขอฝน

๑๕๒ ๑๕๔ ๑๖๑ ๑๖๕ ๑๗๐ ๑๗๘ ๑๘๙ ๑๙๓ ๑๙๘


ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ ธรรมชาติและจักรวาล ข้าวต้มมัด เมี่ยงค�ำ มังคุดคัด แกงพุงปลา น�้ำตาลมะพร้าว การย่างไฟ การสักยา โหราศาสตร์ไทย ไก่ชนไทย แมวไทย ภาษา ภาษาญ้อ ภาษาแสก ภาษาอึมปี้ ภาษาบีซู

๒๑๐ ๒๑๒ ๒๑๔ ๒๑๖ ๒๑๘ ๒๒๐ ๒๒๓ ๒๒๕ ๒๒๗ ๒๓๓ ๒๓๙ ๒๔๒ ๒๔๔ ๒๔๗ ๒๔๙ ๒๕๑

ภาษากะซอง ภาษาซัมเร ภาษาชอุง ภาษามลาบรี ภาษามอแกน ภาษาผู้ไทย

๒๕๔ ๒๕๗ ๒๕๙ ๒๖๑ ๒๖๓ ๒๖๕

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๒-๒๕๕๖

๒๖๘

คณะกรรมการอ�ำนวยการขึ้นทะเบียน มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ของชาติ

๒๗๖

คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

๒๗๗

คณะผู้จัดท�ำ

๒๘๐


ก�ำหนดการ พิธีประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ วันอังคารที่ ๙ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๗ ณ หอประชุมเล็ก ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ๐๙.๐๐ น. ๐๙.๓๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น.

-

๑๔.๐๐ น. ๑๕.๐๐ น. -

ลงทะเบียน การเสวนา เรื่อง “ โหราศาสตร์ไทยกับวิถีชีวิตคนไทย” พักรับประทานอาหารกลางวัน ลงทะเบียนและรับเอกสารผู้เข้าร่วมพิธีประกาศขึ้นทะเบียน ชมวีดิทัศน์การประกาศรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียน ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ และการแสดงพื้นบ้าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (นายวีระ โรจน์พจนรัตน์) ประธานในพิธีเดินทางมาถึง หอประชุมเล็ก ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย การแสดงแตรวง พิธีกรกล่าวต้อนรับและด�ำเนินรายการ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กล่าวรายงานความเป็นมาการประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมของชาติ ชมวีดิทัศน์ การประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ ประธานมอบเกียรติบัตรให้กับชุมชนที่มีการสืบสาน อนุรักษ์ ฟื้นฟู มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียน และมอบนโยบายเกี่ยวกับ การปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมของชาติ ประธาน แขกผู้มีเกียรติ และชุมชน ถ่ายภาพร่วมกัน การแสดงฟ้อนโยคีถวายไฟ การแสดงหนังประโมทัย ——————————————————————— พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

1


ความหมายของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” หมายถึง การปฏิบัติ การเป็นตัวแทน การแสดงออก ความรู้ ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือ วัตถุ สิ่งประดิษฐ์ และพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งเหล่านั้น ซึ่งชุมชน กลุ่มชน และ ในบางกรณีปัจเจกบุคคล ยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของตน มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซึง่ ถ่ายทอดจากคนรุน่ หนึง่ ไปยังคนอีกรุน่ หนึง่ นี้ เป็นสิง่ ซึง่ ชุมชนและกลุม่ ชนสร้างขึน้ ใหม่อย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ตอบสนอง ต่อสภาพแวดล้อมของตน เป็นปฏิสัมพันธ์ของพวกเขาที่มีต่อธรรมชาติ และประวัติศาสตร์ของตน และท�ำให้ คนเหล่านั้นเกิดความรู้สึกมีอัตลักษณ์ และความต่อเนื่อง ดังนั้น จึงก่อให้เกิดความเคารพต่อความหลากหลายทาง วัฒนธรรม และการคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์

การขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เป็นสมบัติอันล�้ำค่าที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ สั่งสม และสืบทอดมาถึง ลูกหลานรุน่ ต่อรุน่ ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ความคิด ทักษะ ความช�ำนาญ ความเชีย่ วชาญ ที่แสดงออกผ่านทางภาษา วรรณกรรม ศิลปะการแสดง ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม งานช่างฝีมือดั้งเดิม การเล่น กีฬา ศิลปะการต่อสู้ ป้องกันตัว และความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล ในยุคทีโ่ ลกก�ำลังเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วเช่นปัจจุบนั สิง่ ทีเ่ ป็นภูมปิ ญ ั ญาของมนุษยชาติดงั กล่าวข้างต้น ก�ำลังถูกคุกคามจากภยันตรายต่างๆ ทั้งจากวัฒนธรรมต่างชาติ การฉกฉวยผลประโยชน์จากการที่มีเทคโนโลยี ที่เหนือกว่า หรือการน�ำภูมิปัญญาของกลุ่มชนหนึ่งๆ ไปใช้อย่างไม่เหมาะสม และไม่มีการแบ่งปันผลประโยชน์ ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลให้กลุ่มชนที่ได้รับผลกระทบถูกครอบง�ำจนเกิดการสูญเสีย อัตลักษณ์ และสูญเสียภูมิปัญญา ที่เป็นองค์ความรู้ของตนไปอย่างรู้เท่าไม่ถึงการณ์ การประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จึงเป็นหนทางหนึ่งในการปกป้องคุ้มครอง และเป็นหลักฐานส�ำคัญของประเทศในการประกาศความเป็นเจ้าของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมต่างๆ ในขณะ ที่ยังไม่มีมาตรการทางกฎหมายที่จะคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ

2

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


วัตถุประสงค์การขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๑. เพื่อบันทึกประวัติความเป็นมา ภูมิปัญญา และอัตลักษณ์ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒. เพื่อเป็นฐานข้อมูลส�ำคัญเกี่ยวกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่อยู่ในอาณาเขตของประเทศไทย ๓. เพื่อเสริมสร้างบทบาทส�ำคัญ และความภาคภูมิใจของชุมชน กลุ่มคน หรือบุคคล ที่เป็นผู้ถือครองมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรม ๔. เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาสิทธิชมุ ชนในการอนุรกั ษ์ สืบสาน ฟืน้ ฟู และปกป้องคุม้ ครองมรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรม ของท้องถิ่นและของชาติ ๕. เพื่อรองรับการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพื่อการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของยูเนสโก

การขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ กระทรวงวัฒนธรรมตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการปกป้องคุม้ ครองส่งเสริม และสืบทอดมรดกภูมปิ ญ ั ญา ทางวัฒนธรรม จึงประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ เพื่อการคุ้มครองในเบื้องต้น จ�ำนวน ๗ สาขา ๖๘ รายการ คือ ๑. สาขาศิลปะการแสดง จ�ำนวน ๑๐ รายการ ๒. สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม จ�ำนวน ๑๐ รายการ ๓. สาขาวรรณกรรมพื้นบ้าน จ�ำนวน ๑๐ รายการ ๔. สาขากีฬาภูมิปัญญาไทย จ�ำนวน ๑๐ รายการ ๕. สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล จ�ำนวน ๘ รายการ ๖. สาขาความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล จ�ำนวน ๑๐ รายการ ๗. สาขาภาษา จ�ำนวน ๑๐ รายการ ในการนี้ กระทรวงวัฒนธรรม จะด�ำเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และถ่ายทอด มรดกวัฒนธรรมที่ได้รับการประกาศอยู่ในบัญชีรายชื่อโดยวิธีการต่างๆ ตามความเหมาะสมต่อไป

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

3


รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

4

สาขาศิลปะการแสดง ๑. เค่ง ๒. เพลงฉ่อย ๓. เพลงเรือ ๔. เพลงนา ๕. แตรวง ๖. ฟ้อนโยคีถวายไฟ ๗. ระบ�ำสี่บท ๘. ร�ำแม่บท ๙. ร�ำโทน ๑๐. หนังประโมทัย

สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม ๑. ผ้าทอเกาะยอ ๒. ผ้าทอเมืองอุบลฯ ๓. รูปหนังใหญ่ ๔. งานช่างแกะกะโหลกซอ ๕. งานช่างตอกกระดาษ ๖. งานช่างแกะสลักผักผลไม้ ๗. งานช่างดอกไม้สด ๘. งานตีทองค�ำเปลว ๙. งานผ้าลายทองแผ่ลวด ๑๐. เครื่องแต่งกายมโนห์รา

สาขาวรรณกรรมพื้นบ้าน ๑. นิทานนายดัน ๒. ต�ำนานพญากงพญาพาน ๓. ต�ำนานพันท้ายนรสิงห์ ๔. ต�ำนานชาละวัน ๕. ต�ำนานปู่แสะย่าแสะ ๖. บทท�ำขวัญช้าง ๗. เพลงแห่นางแมว ๘. กาพย์เซิ้งบั้งไฟ ๙. ต�ำราพิชัยสงคราม ๑๐. ต�ำรานรลักษณ์

สาขากีฬาภูมิปัญญาไทย ๑. แนดข้ามส้าว ๒. โค้งตีนเกวียน ๓. เสือข้ามห้วย ๔. งูกินหาง ๕. อีตัก ๖. แข่งเรือ ๗. ตีขอบกระด้ง ๘. ตีไก่คน ๙. รถม้าชาวเสียม ๑๐. แข่งโพน จังหวัดพัทลุง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล ๑. ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ๒. ประเพณีลากพระ ๓. ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ๔. ประเพณีการท�ำบุญในพุทธศาสนา ๕. การแต่งงานแบบไทย ๖. สวดพระมาลัยภาคใต้ ๗. พิธีบูชาแม่โพสพ ๘. พิธีกรรมขอฝน สาขาภาษา ๑. ภาษาญ้อ ๒. ภาษาอึมปี้ ๓. ภาษาบีซู ๔. ภาษาแสก ๕. ภาษากะซอง ๖. ภาษาซัมเร ๗. ภาษาชอุง ๘. ภาษามลาบรี ๙. ภาษามอแกน ๑๐. ภาษาผู้ไทย

สาขาความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ ธรรมชาติและจักรวาล ๑. ข้าวต้มมัด ๒. เมี่ยงค�ำ ๓. มังคุดคัด ๔. แกงพุงปลา ๕. น�้ำตาลมะพร้าว ๖. การย่างไฟ ๗. การสักยา ๘. โหราศาสตร์ไทย ๙. ไก่ชนไทย ๑๐. แมวไทย

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

5


ศิลปะการแสดง ความหมายและประเภท ศิลปะการแสดง หมายถึง การแสดงดนตรี ร�ำ-เต้น และละครทีแ่ สดงเป็นเรือ่ งราวทัง้ ทีเ่ ป็นการแสดงตาม ขนบแบบแผน มีการประยุกต์เปลี่ยนแปลง การแสดงที่เกิดขึ้นนั้น เป็นการแสดงสดต่อหน้าผู้ชม และมีจุดมุ่งหมาย เพื่อความงาม ความบันเทิงและ/หรือเป็นงานแสดงที่ก่อให้เกิดการคิด วิพากษ์ น�ำสู่การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงสังคม ประเภทของศิลปะการแสดง ๑. ดนตรี หมายถึง เสียงทีเ่ กิดจากเครือ่ งดนตรีและการขับร้องทีป่ ระกอบกันเป็นท�ำนองเพลง ท�ำให้รสู้ กึ เพลิดเพลิน หรือเกิดอารมณ์ต่างๆ โดยมีบทบาทหน้าที่เพื่อบรรเลง ขับกล่อม ให้ความบันเทิง ประกอบพิธีกรรม และประกอบการแสดง ดนตรี แบ่งออกเป็นดนตรีในการแสดงและดนตรีในพิธีกรรม ๒. นาฏศิลป์และการละคร หมายถึง การแสดงออกทางร่างกาย ท่วงท่าการเคลื่อนไหว ท่าเต้น ท่าร�ำ การเชิด การพากย์ การใช้เสียง การขับร้อง การใช้บท การใช้อุปกรณ์ ฯลฯ ซึ่งสื่อถึงเรื่องราว อารมณ์ ความรู้สึก อาจแสดงร่วมกับดนตรีและการขับร้องหรือไม่ก็ได้ การแสดง แบ่งออกเป็น การแสดงในพิธีกรรม การแสดงที่เป็น เรื่องราวและไม่เป็นเรื่องราว

6

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียน ๑. มีคุณสมบัติเฉพาะของวัฒนธรรมนั้น ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ ๒. มีองค์ประกอบของศิลปะการแสดงที่บ่งบอกให้เห็นคุณลักษณะของศิลปะการแสดงนั้นๆ ๓. มีรูปแบบการแสดงหรือการน�ำเสนอที่ชัดเจน ๔. มีการสืบทอดกันหลายชั่วคนที่ยังคงมีการแสดงอยู่ หรือแสดงตามวาระโอกาสของการแสดงนั้นๆ ๕. มีคุณค่าทางสังคม จิตใจ และวิถีชีวิตชุมชน ๖. คุณสมบัติอื่นๆ ที่คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าเหมาะสม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

7


เค่ง

เค่ง เป็นค�ำที่ชาวม้ง (ชาวไทยภูเขาในภาคเหนือ ของประเทศไทย เคยถูกเรียกว่า แม้ว มานาน) ใช้เรียกเครือ่ งดนตรี ตระกูลเครื่องลมไม้ประเภทลิ้นอิสระประจ�ำเผ่าของตน ค�ำนี้ บางทีได้ยินออกเสียงเป็น เก้ง และบางทีมีผู้เขียนเป็น เฆ่ง ด้วย เค่ง เป็นเครือ่ งเป่าตระกูลเดียวกันกับแคนซึง่ นอกจาก พบในภาคอีสานประเทศไทยแล้ว ยังพบในจีน ญี่ปุ่น และชาวไทย ภูเขาเผ่าอืน่ ๆ ด้วย แต่มรี ปู ร่างลักษณะแตกต่างกัน แคนทุกลักษณะ ประกอบด้ ว ยหลอดเสี ย งซึ่ ง ส่ ว นมากท� ำ จากไม้ ใ นตระกู ล ไผ่ ทุ ก หลอดมี ลิ้ น โลหะผสม (มี ท องเหลื อ งเป็ น ส่ ว นผสมส� ำ คั ญ ) ภาพเค่งของชาวม้ง ผนึกติดอยู่ค่อนไปทางปลายด้านหนึ่ง ส่วนประกอบส่วนต่อไป ที่มา: นิรุตร์ แก้วหล้า,๒๕๕๔ คือ เต้าส�ำหรับสอดหลอดเสียงให้ลนิ้ เข้าไปอยูใ่ นเต้า ส่วนนีบ้ างเผ่า ใช้ผลน�ำ้ เต้าแห้งท�ำเต้า และบางเผ่าใช้ไม้จริงท�ำเต้าเค่งของชาวม้งท�ำด้วยไม้จริง มีทอ่ เป่าเป็นงวงซึง่ เป็นไม้เนือ้ เดียวกัน กับเต้ายาวเรียวตรงไป รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณสองฟุตหรือกว่านั้น เค่ ง มี ห ลอดเสี ย งหกหลอด หลอดแรกมี ข นาดใหญ่ ความยาวประมาณฟุ ต เศษๆ มี เ สี ย งทุ ้ ม ต�่ ำ ซึ่งท�ำหน้าที่เล่น เสียงยืน คลอเสียงจากหลอดเสียงอื่นๆอีกห้าหลอดซึ่งเล่นท�ำนองเพลง หลอดเสียงทั้งหกสอดผ่านเต้า ไปด้านหลังประมาณ ๕ นิ้ว ที่เหลือยื่นไปข้างหน้า ความยาวมีตั้งแต่ประมาณสองฟุตขึ้นไปจนถึงเกือบสามฟุต เสียงต�่ำสุดกับเสียงสูงสุดของเค่งเป็นเสียงเดียวกัน แต่ห่างกันเป็นคู่แปด เสียงอื่นๆ อีกสี่เสียงเป็นเสียงที่ เรียงกันอยูภ่ ายในคูแ่ ปด ท�ำให้ระบบเสียงของเค่งเป็นระบบห้าเสียง อันเป็นระบบของดนตรีพนื้ เมืองทีแ่ พร่หลายทัว่ ไป ในเอเชียอาคเนย์ บทบาทที่ส�ำคัญที่สุดของเค่งในสังคมชาวม้ง คือ การเป่าเพลงที่ใช้เฉพาะในงานศพ ซึ่งมีเพลงสวดสลับ กับการเป่าเค่งและตีกลองตรัวไปตลอดคืนทุกคืนตลอดงานศพซึ่งมีระยะเวลานานตั้งแต่ ๕ คืนขึ้นไป นอกจากนี้ ตอนกลางวันก็มีการเป่าเค่งและตีกลองตรัวเป็นระยะๆ ด้วย งานศพบางงานมีระยะเวลาถึงสองสัปดาห์ ดังนั้นชุมชน ชาวม้งจึงต้องมีเค่งและมีนักดนตรีประจ�ำหมู่บ้านเสมอ แต่ในงานศพจริงๆ นักดนตรีจากหมู่บ้านอื่นๆ หลายคนจะมา ช่วยนักดนตรีในหมู่บ้านที่มีงานศพ เพราะภาระหน้าที่ดังกล่าวใช้เวลายาวนานมากจนนักดนตรีคนเดียวหรือสองคน ไม่สามารถยืนระยะได้ เรียบเรียงโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประสิทธิ์ เลียวศิริพงศ์ 8

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การเป่าเค่งและตีกลองตรัวในงานศพชาวม้ง ที่มา: นิรุตร์ แก้วหล้า,๒๕๕๔

เพลงที่ใช้ในงานศพของชาวม้งทุกเพลง เป็ นเพลงต้ อ งห้ า มไม่ ส ามารถน� ำ ไปเป่ า ในกาลเทศะอื่นๆได้ แม้แต่เพลงที่ใช้ตอน กลางวันกับตอนกลางคืนก็ใช้สลับกันไม่ได้ เพลงส�ำหรับเป่าเค่งในงานศพที่ส�ำคัญมี หลายเพลงแต่ ล ะเพลงมี บ ทบาทหน้ า ที่ เฉพาะ เช่น เพลงที่ใช้เป่าเพื่อบอกให้ผู้ตาย ทราบว่าตนนั้นได้ตายแล้วนั้น ยังสามารถ แบ่ ง ได้ ต ามอายุ และแบ่ ง ตามลั ก ษณะ ของการตายที่ แ ตกต่ า งกั น ไปอี ก ด้ ว ย (หลือ เตชะเลิศพนา, สัมภาษณ์ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๗) นอกจากนี้ มีเพลงที่เป่าเพื่อจุดหมายปลายทางที่ภพภูมิของคน ตาย เพลงที่บรรยายถึงการมีชีวิตและการแตกดับซึ่งเป็นธรรมดาของทุกภูมิทุกภพ เพลงที่แนะน�ำให้วิญญาณผู้ตาย รู้จักบรรพบุรุษ และเพลงที่แนะน�ำวิธีเดินทางไปพบบรรพบุรุษยังภพใหม่ของตน เป็นต้น นอกจากนี้ เวลามีงานท�ำบุญอุทิศให้ญาติผู้ล่วงลับไปในอดีต ก็จะมีเพลงเป่าเพื่อปลดปล่อยวิญญาณ จากห้วงทุกข์ ชาวม้งในอดีตเคร่งครัดกับประเพณีที่ขึ้นกับความเชื่อนี้มาก นักดนตรีทุกคนจะไม่ใช้เค่งเล่นเพลง ส�ำหรับงานศพในงานอื่นๆ อย่างไรก็ตาม เค่งของชาวม้งไม่ใช่เครื่องดนตรีส�ำหรับความตายเท่านั้น ในบริบทอื่นๆ เช่น งานรื่นเริงใน วันขึ้นปีใหม่ และงานแต่งงาน ก็จะมีเพลงส�ำหรับงานนั้นๆ อีกเป็นจ�ำนวนไม่น้อย เพลงในบริบทเหล่านี้เป็นเพลง สนุกสนาน เป็นสื่อของงานเฉลิมฉลอง บางแห่งนักดนตรีที่มีทักษะสูงหลายคนใช้เค่งเป่าทักทายปราศรัยกันแทนการ ใช้คำ� พูดด้วย และโดยปกตินกั ดนตรีมกั จะเต้นร�ำไปด้วยในขณะทีเ่ ป่าเค่ง บทบาทของเค่งในงานรืน่ เริงท�ำให้เค่งมีสถานะ เป็นเสมือนของเล่น จารีตประเพณีในการปฏิบัติต่อผู้ล่วงลับมีส่วนส�ำคัญยิ่งในสังคมชาวม้ง เพราะเป็นการแสดงความรัก ความอาลัยที่มีต่อผู้ล่วงลับ เป็นการแสดงความเคารพและให้เกียรติอย่างสูง และเค่งคือสื่อแสดงความรัก ความรู้สึก ตลอดจนการสั่งเสียและฝากฝังที่ผู้อยู่ข้างหลังจัดให้แก่ผู้ล่วงลับผ่านทางเสียงเพลงของเค่ง ดังนั้น บทบาทของเค่ง ในงานศพ จึงเป็นพิธกี ารทีจ่ ริงจังและขรึมขลัง บทบาทนีเ้ ค่งไม่ใช่ของเล่นเพือ่ ความสนุก แต่เป็นสิง่ ทีม่ ชี นั้ วรรณะสูงกว่า ปกติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

9


การเป่าเค่งในงานเทศกาลอื่น ที่มา: นิรุตร์ แก้วหล้า,๒๕๕๔

บทบาทและสถานะที่ต่างกันตามความเชื่อและประเพณี ท�ำให้เค่งเป็น สัญลักษณ์ของประเพณีและความเชื่ออันเป็นอัตลักษณ์ของชนเผ่าม้งด้วย การที่เค่งส�ำคัญต่อวิถีชีวิตของชาวม้งอย่างแนบแน่นเช่นนี้ท�ำให้หมอแคนม้ง คนหนึง่ กล่าวว่า “ไม่มเี ค่งก็ไม่ใช่มง้ ” (ซัว นทีไพรวัลย์, สัมภาษณ์ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๗) อย่างไรก็ตาม ชาวม้งและเค่งก�ำลังเผชิญกับปัญหาหนึ่งอยู่ในขณะนี้ คือ จ�ำนวนช่างผู้สามารถท�ำเค่งดีๆ ได้ลดจ�ำนวนลงเป็นล�ำดับ ถึงแม้ชาวม้งจะกระจายตัวอาศัยอยู่ในจังหวัดต่างๆ รวม ๑๔ จังหวัด แต่ช่างท�ำเค่งจะมีใน ไม่เกินครึ่งหนึ่งของจ�ำนวนจังหวัดเหล่านี้ การสงวนรักษาเค่งไว้ในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมของชนเผ่าจึงเป็นเรื่องที่ สมควรพิจารณาอย่างยิ่ง เอกสารอ้างอิง นิรุตร์ แก้วหล้า (๒๕๕๔). ดนตรีของชาวม้งในเขตพื้นที่ศูนย์พัฒนา โครงการหลวงหนองหอย ต�ำบลแม่แรม อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ์(๒๕๔๒) ดนตรีพื้นบ้านไทยภาคเหนือ เชียงใหม่ โครงการต�ำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ สถาบันราชภัฏ เชียงใหม่ รัลนา มณีประเสริฐ (๒๕๓๑) “เพลงและการละเล่นพื้นบ้านแม้ว:ภาพสะท้อนภูมิปัญญาท้องถิ่น” เพลงและการละเล่นพื้นบ้านล้านนา เชียงใหม่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ วสันต์ชาย อิมโอษฐ์ (๒๕๔๓) เค่ง: เครื่องดนตรีของชนเผ่าม้ง นครปฐม คณะดุริยางคศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล สุวิชานนท์ รัตนภิมล (๒๕๔๑) เพลง ดนตรี ชีวิตชาวดอย เชียงใหม่ กองทุนชุมชนรักป่า มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ สัมภาษณ์ นายเล้ง แซ่จันทร์ (นักดนตรีเค่งชาวม้ง) (๒๕๔๐) ศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่ ต�ำบลหายยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นายหลือ เตชะเลิศพนา (นักดนตรีเค่งชาวม้ง) (๒๕๕๗) บ้านหนองหอย ต�ำบลแม่แรม อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ นายซัว นทีไพรวัลย์ (นักดนตรีเค่งชาวม้ง) (๒๕๕๗) บ้านหนองหอย ต�ำบลแม่แรม อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

10

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เพลงฉ่อย เพลงฉ่อย เป็นเพลงพื้นบ้านชนิดหนึ่งของภาคกลาง นิยมเล่นในทุกจังหวัดของภาคกลางและแพร่หลาย ไปยังภาคอืน่ ๆ ทัง้ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ แต่ในภาคอืน่ ๆ นิยม ร้องเล่นเป็นบางจังหวัด มิได้แพร่กระจายโดยทั่วไปทุกจังหวัด ชาวบ้านนิยมร้องเล่นกันมานานแล้วไม่ปรากฏหลักฐาน แน่ชัดว่าเกิดขึ้นเมื่อใด เนือ่ งจากมีการร้องเล่นเพลงฉ่อยในหลายจังหวัด ชือ่ ของเพลงฉ่อยก็มปี รากฏหลายชือ่ เช่น “เพลงไอ้เป๋” หรือ “เพลงเป๋” เพลงไอ้เป๋หรือเพลงเป๋นี้เรียกตามชื่อคนร้องแต่ดั้งเดิมที่รู้จักกัน นายเป๋มีชื่อเสียงมากในการร้องเพลง ฉ่อย บทร้องที่นายเป๋ร้องมีกลอนที่กินใจสนุกสนาน เช่น “ ...ว่าท�ำไมร่มเงา ไม่กางกั้น พี่เดินลอดตาวันน้องเอ๋ยมาได้ ก็บังเอิญแดดหน่ายเสียละมันไม่ออก กูเลยหุบร่มจมปลอกเฉยไว้...” (เอชา เอ๊ช้า ชา ฉ่า ชา หนอย แม่) นอกจากชื่อเพลงไอ้เป๋หรือเพลงเป๋แล้ว ยังมีชื่อว่า “เพลงทอดมัน” ชาวบ้านแถบจังหวัดราชบุรี ให้ชื่อว่าเพลงทอดมัน เพราะเวลาร้องลูกคู่รับว่า “เอชา เอ๊ช้า ชา ฉ่า ชา หนอย แม่” มีเสียง “ฉ่า” เหมือนเสียง ที่หยิบทอดมันดิบลงทอดในกระทะ ในสมัยหนึ่งแม่เพลงรุ่นเก่าเรียกเพลงฉ่อยว่า “เพลงวง” เพราะเล่นกันบนลานดิน ยืนกันเป็นวง คนดู ก็นั่งดูรอบๆ วงบนลานดินนั้นรูปแบบการเล่น เมื่อพ่อเพลงแม่เพลงและลูกคู่ทั้งสองฝ่ายแต่งตัวเรียบร้อยแล้ว โดยแต่งตัวสีสันฉูดฉาด ฝ่ายหญิงนิยมนุ่งโจงกระเบนเสื้อแขนกระบอก ฝ่ายชายนุ่งโจงกระเบนเสื้อคอพวงมาลัย มีผ้าขาวม้าคาดเอว ก็จะออกมาที่เวทีแสดงตามสถานที่ต่างๆ ที่จัดให้มีการแสดงเช่น ลานวัด หรือในสถานที่อื่นๆ อาจมีการจัดเวทีให้ตามความเหมาะสม เพลงฉ่อยไม่มีเครื่องดนตรีประกอบแต่อย่างใด จังหวะในการร้องเพลงใช้การตบมือ อาจมีกรับมาตี ประกอบให้ดังขึ้นก็ได้ แต่ดั้งเดิมไม่มีการระบุเป็นหลักฐานว่ามีการใช้กรับตีประกอบจังหวะ เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์กาญจนา อินทรสุนานนท์

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

11


รูปแบบการร้อง มีการไหว้ครูโดยฝ่ายชายจะไหว้ครูก่อน แล้วฝ่ายหญิงก็จะร้องไหว้ครูบ้าง ไหว้ครูเสร็จ ฝ่ายชายก็จะร้องเกริน่ เป็นการชักชวนให้ฝา่ ยหญิงได้รอ้ งเพลงโต้ตอบกัน หลังจากนัน้ ก็วา่ เพลงประ ฝ่ายชายขึน้ ว่าก่อน เช่นเดิมเป็นการโต้ตอบกัน แล้วฝ่ายหญิงก็ว่าตอบ เรียกว่าร้องโต้ตอบคารมกัน หลังจากนั้นจะเล่นเป็นเรื่องเป็นราว เรียกว่า เล่นเพลงตับ โดยจะมีตับต่างๆ เช่น ตับผูกรักตับสู่ขอ ตับชิงชู้ ตับตีหมากผัว ตับเหล่านี้เป็นเรื่องราวของวิถีชีวิต ร้องเล่นกันโดยใช้ปฏิภาณไหวพริบ ใช้ภาษาโต้ตอบกัน มี ความสนุกสนาน กินใจ สองแง่สองง่าม ให้ผู้ฟังไปคิดตามไปได้หัวเราะ เรียกว่า “ได้ฮา” ทั้งผู้แสดงผู้ชมก็มีความสุข สนุกสนาน ลักษณะค�ำประพันธ์ของเพลงฉ่อย คือ กลอนแปดหัวเดียว ที่มีการสัมผัสท้ายวรรคเป็นเสียงเดียวกัน ตัวอย่างเช่น “...ฉันจะมีเนื้อความร้องถามหน่อย แม่หนูเอยอย่าน้อยน�้ำใจ ก็ดูมายืนสล้างดูมานั่งเป็นแถว ถามว่ามีผัวแล้วกันหรือไร...” สัมผัสค�ำสุดท้ายของวรรครับจะต้องมาสัมผัสกับค�ำสุดท้ายของวรรคส่ง จะสัมผัสอย่างนี้ต่อไปจนจบ เนื้อความ ขัน้ ตอนการร้องเล่นจะจบลงตามเวลาทีผ่ แู้ สดงรับไว้ในแต่ละงาน และจบลงด้วยการร้องอวยพรให้เจ้าของ งานและบทลาจาก

12

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ที่มา: สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

เนื่องจากเพลงฉ่อยมีความคล้ายคลึงกับเพลงพื้นบ้านอื่นๆ หลายเพลงในด้านลักษณะค�ำประพันธ์ที่เป็น กลอนแปดหัวเดียวซึง่ เป็นคุณค่าทางด้านวรรณกรรมของบทเพลงพืน้ บ้าน เช่นเดียวกันกับเพลงเรือ เพลงระบ�ำบ้านนา และเพลงอื่นๆ อีกหลายเพลง ทั้งยังได้มีบทบาทในการด�ำเนินเรื่องของเพลงทรงเครื่องที่ใช้เพลงฉ่อยร้องด�ำเนินเรื่อง ในการแสดงเพลงทรงเครื่อง เพลงฉ่อยมีคุณค่าทางจิตใจผู้ที่ได้ร้องและผู้ฟังมีความสนุกสนาน ได้ฟังคารมคมคายของผู้ร้องที่มี ความหมายให้ได้ทั้งความรู้และความสนุก โดยต้องคิดตามท�ำให้เกิดปัญญา เพลงฉ่อยมีการร้องเล่นกันอยู่ในกลุ่มชาวบ้านและยังมีครูภูมิปัญญาชาวบ้านได้สืบทอดให้กับเยาวชน ตามท้องถิ่นและสถานศึกษาต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏและวิทยาลัยนาฏศิลป สถานภาพในปัจจุบัน เพลงฉ่อยยังเป็นเพลงพื้นบ้านที่ชาวบ้านรู้จัก เพราะเป็นเพลงพื้นบ้านที่ร้องเล่น ไม่ยากนัก มีลีลาท�ำนองที่สั้นและซ�้ำวนไปวนมา ภาษาที่ใช้เป็นภาษาง่ายๆ ค�ำโดดเข้าใจง่าย ยังมีการอนุรักษ์โดยกลุ่ม วัฒนธรรมในจังหวัดต่างๆ และตามสถานศึกษาก็ยังมีบทเรียนให้นักเรียนได้รู้จักเพลงฉ่อยด้วย เอกสารอ้างอิง กาญจนา อินทรสุนานนท์. (2525). แนวการศึกษาเพลงพืน้ บ้าน.ดนตรีไทยอุดมศึกษาครัง้ ที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงละครแห่งชาติ. -------- (2532).“การวิเคราะห์รูปแบบเพลงพื้นบ้าน” วารสารมนุษย์ศาสตร์ปริทรรศ์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2. -------- (2532).“เพลงพืน้ บ้าน” สารานุกรมศึกษาศาสตร์ ฉบับที่ 12. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. -------- (2555).เพลงพื้นบ้าน. เอกสารการสอนชุดวิชาวัฒนธรรมพื้นบ้านของไทย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอนก นาวิกมูล. (2527). เพลงนอกศตวรรษ (ฉบับปรับปรุง).กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

13


เพลงเรือ เพลงเรือของภาคกลางเป็นเพลงปฏิพากย์ที่ร้องโต้ตอบกันระหว่างชายหญิง ซึ่งมีชื่อพ้องกับ เพลงเรือ แหลมโพธิ์ของภาคใต้ที่ไม่มีการร้องโต้ตอบกัน ในที่นี้จะอธิบายเรื่องเพลงเรือของภาคกลาง เพลงเรือของภาคกลางเป็นเพลงพืน้ บ้านทีม่ กี ารร้องเล่นกันมานานมากแล้ว แต่ไม่มหี ลักฐานทีช่ ดั เจนว่า เริ่ ม มี ขึ้ น เมื่ อ ใด ชาวบ้ า นในภาคกลางนิ ย มร้ อ งเล่ น เพลงเรื อ ในฤดู น�้ ำหลาก เรี ย กโดยรวมว่ า “เพลงหน้ า น�้ ำ ” ซึ่งยังมีเพลงอื่นๆ อีกที่ร้องเล่นกันในฤดูนี้ เช่น เพลงหน้าใย เพลงครึ่งท่อน เพลงร�ำภาข้าวสาร เพลงร่อยพรรษา ฯลฯ ชาวบ้านนิยมร้องเล่นเพลงต่างๆ เพราะท�ำให้เกิดความสนุกสนาน ผ่อนคลายความเครียดหลังจากการท�ำงานต่างๆ เสร็จก็จะชักชวนกันไปร้องเล่นเพลง บ้านที่มีล�ำคลองผ่านชาวบ้านก็จะพายเรือสัญจรไปมาหาสู่กัน การสัญจรทางน�้ำ จะไปได้ง่ายและรวดเร็ว ดังนั้น การเล่นเพลงเรือจึงเป็นที่นิยมมากในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการเล่นเพลงเรือ ได้แก่ “เรือ” เรือที่ใช้นิยมใช้เรือพายม้าหรือเรือมาด เพราะเป็น เรือล�ำใหญ่นั่งได้หลายคน นอกจากเรือแล้วก็มีร่มกระดาษ หรือเรียกกันว่า “ร่มก�ำมะลอ” เอาไว้กันแดด เวลาพายเรือ เล่นเวลากลางวันแดดร้อนก็จะกางร่มกระดาษนี้ และถ้าเล่นเพลงถึงเวลากลางคืนต้องใช้ตะเกียงเจ้าพายุจุดไฟให้สว่าง และร้องเล่นเพลงกันไปจนจบ ขั้ น ตอนการร้ อ งเล่ น เพลงเรื อ จะต้ อ งเริ่ ม จากฝ่ า ยชายรวมตั ว กั น ลงเรื อ พายไปที่ บ ้ า นฝ่ า ยหญิ ง ร้องชักชวนให้มาเล่นเพลงเรือกัน ถ้าฝ่ายหญิงพอใจก็จะรวมตัวกันลงเรือพายตามกันไปที่คุ้งน�้ำใต้ร่มต้นไม้ใหญ่ ก็ปักพายผูกโซ่เรือ การร้องเล่นเพลงเรือนั้นเริ่มต้นที่ฝ่ายชายจะร้องไหว้ครูจากนั้นฝ่ายหญิงร้องไหว้ครูตาม แล้วร้องตาม ขั้นตอนดังนี้ ๑) ไหว้ครู ๒) ปลอบ ๓) ประ ผูกรัก ๔) สู่ขอ ๕) ลักหาพาหนี ๖) ชิงชู้ ๗) ตีหมากผัว ๘) บทจาก

14

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การร้องเล่นอาจไม่ได้ร้องเป็นชุดทั้งหมด แต่จะร้องแยกเป็นตอนๆ ก็ได้ จะร้องเล่นเฉพาะตอนชิงชู้ เท่านั้นก็ได้ แต่อย่างไรก็ตามจ�ำเป็นที่จะต้องมีการร้องไหว้ครูก่อนเสมอ นอกจากร้องเล่นตามรูปแบบที่กล่าวมานี้แล้ว ยังสามารถร้องเล่นบทเบ็ดเตล็ด เช่น บทหาซื้อควาย บทเช่านา เป็นต้น ลักษณะค�ำประพันธ์ของเพลงเรือเป็นลักษณะกลอนแปดหัวเดียว มีสัมผัสที่ค�ำสุดท้ายของวรรครับ และวรรคส่งเป็นเสียงเดียวกัน มีการร้องขึ้นต้นและลงเพลงที่เป็นลักษณะเฉพาะคือ ลงเพลงว่า “ฮ้าไฮ้ เชียบ เชียบ” ตัวอย่างเพลงเรือ เดือนสิบเอ็ดน�้ำนองเดือนสิบสองน�้ำทรง พี่ก็เข็ญเรือลงหน้าท่า จะชักชวนน้องสาวที่ขาวขาวหน้านวล ถ้าพี่จะเชิญชวนแม่ลงมา ไปร้องเพลงเรือไปเพื่อพบกัน มาเถอะตัวฉันจะคอยหา ถ้าแม่ไม่มาก็จะพากันกลับ เดี๋ยวตะวันละลับไปไปกับตา แม่ขาวเงินยวงเชิญมาล้วงใจพี่ โอ้แม่ดอกจ�ำปี ขอให้รี่ลงมา อย่าอยู่รอช้าเลยเอย กาญจนา อินทรสุนานนท์ ประพันธ์ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

15


การเล่นเพลงเรือ คณะโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๑ จังหวัดสุพรรณบุรี ในพิธีเปิดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๕๖ ที่มา: นายช�ำเลือง มณีวงษ์. http://www.gotoknow.org/blogs/posts/116941

เพลงเรือของภาคกลางมีคุณค่าทางด้านภาษา เสน่ห์ของภาษาที่มีการร้อยกรองภาษาไทย ค�ำโดด ความ หมายที่กินใจ สนุกสนานด้วยค�ำร้องสองแง่สองง่ามโดยที่ผู้ฟังต้องฟังแล้วคิดตาม คุณค่าทางจิตใจที่ท�ำให้ผู้ร้องเล่น และผู้ฟังได้สนุกสนานคลายเครียดใช้ความคิดในการสร้างสรรค์บทกลอน ค�ำร้องที่ไพเราะสนุกสนาน ท�ำให้จติ ใจ เบิกบาน ผูร้ อ้ งเล่นและผูฟ้ งั มีความสุข ทัง้ ได้อนุรกั ษ์และเผยแพร่วฒ ั นธรรมเพลงพืน้ บ้านของชาติไทยไว้ ปัจจุบันการสืบทอดการเล่นเพลงเรือของภาคกลางยังมีการสืบทอดในกลุ่มของชาวบ้าน โดยเฉพาะ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สุพรรณบุรี และสิงห์บุรี ครูภูมิปัญญาชาวบ้านได้รับการยกย่องจากท้องถิ่น และได้รับเชิญให้ไปสอนในสถานศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ และวิทยาลัยนาฏศิลป เอกสารอ้างอิง กาญจนา อินทรสุนานนท์. (๒๕๒๕). แนวการศึกษาเพลงพืน้ บ้าน.ดนตรีไทยอุดมศึกษาครัง้ ที่ ๘. กรุงเทพฯ : โรงละครแห่งชาติ. -------- (๒๕๓๒).“การวิเคราะห์รูปแบบเพลงพื้นบ้าน” วารสารมนุษย์ศาสตร์ปริทรรศ์ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒. -------- (๒๕๓๒).“เพลงพืน้ บ้าน” สารานุกรมศึกษาศาสตร์ ฉบับที่ ๑๒. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. --------- (๒๕๕๕).เพลงพื้นบ้าน .เอกสารการสอนชุดวิชาวัฒนธรรมพื้นบ้านของไทย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอนก นาวิกมูล. (๒๕๒๗). เพลงนอกศตวรรษ (ฉบับปรับปรุง).กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.

16

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เพลงนา

การท�ำนาเป็นการเกษตรส�ำคัญยิ่งของคนไทยทุกภูมิภาคไม่ว่า เหนือ อีสาน กลาง ตะวันออก และใต้ การท�ำนาจุดประสงค์หลักคือเพื่อน�ำผลผลิตมาเป็นอาหารประจ�ำวัน ส่วนข้าวที่เหลือก็จะขายน�ำเงินที่ได้มาจับจ่าย ซื้อหาสิ่งจ�ำเป็นในชีวิต ข้าวสมัยก่อนจึงเป็นทุกสิ่งทุกอย่างของชาวนาไทย ข้าวที่เก็บไว้ในยุ้งข้าวหรือคนไทยภาคใต้ เรียกว่าห้องข้าวนัน้ จะเป็นทุกสิง่ ทุกอย่างทีจ่ ะได้มาเพือ่ การบริโภคและอุปโภค ข้าวในยุง้ จึงเป็นประหนึง่ เป็นเงินทีฝ่ าก ไว้ในธนาคารอย่างปัจจุบนั นีเ้ อง จะต่างกันตรงทีจ่ ะเบิกออกมาใช้จา่ ยเมือ่ ไรก็ได้เพียงแต่เอาไปแลกออกมาเป็นเงินเท่านัน้ แต่เมื่อก่อนบางแห่งน�ำข้าวไปแลกกับสิ่งของได้เลยโดยไม่ต้องแปรสภาพให้เป็นเงินก่อน ด้วยความส�ำคัญของข้าวและ การท�ำนาปลูกข้าวนี้เอง ในการท�ำนาข้าวจึงมีประเพณีและวัฒนธรรมหลายอย่างเข้าไปเกี่ยวข้องและเกิดประเพณี และวัฒนธรรมจากการท�ำนาหลายหลากประการ หนึ่งในจ�ำนวนนี้ที่เกิดวัฒนธรรมจากการท�ำนาในช่วงฤดูเก็บเกี่ยว คือ “เพลงนา” ชื่อเพลงก็บอกอย่างชัดเจนว่าเพลงนี้เกิดขึ้นมานานแล้วคู่กับการท�ำนา และมีเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับ การท�ำนา ส่วนเนื้อหาบางทีมีที่เกี่ยวกับการท�ำนาอยู่มากบ้างน้อยบ้าง เพลงนาส่วนใหญ่เนื้อหาจะเกี่ยวกับความรัก เพลงนานิยมเล่นกันในจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย ตัง้ แต่ชมุ พร ลงไปสุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช ปัจจุบันการเล่นเพลงนานิยมน้อยลง เหลือการเล่นอยู่บ้างในจังหวัดชุมพร ส่วนจังหวัดอื่นๆ แทบจะไม่มีให้ได้พบเห็น และได้ยินแล้ว เพลงนาจึงเป็นวัฒนธรรมการละเล่นประเภทเพลงที่มีโอกาสสูญหายไปจากผืนแผ่นดินไทย จึงเป็น หน้าที่ของคนไทยที่จะต้องดูแลและรักษาลมหายใจสุดท้ายให้กับ “เพลงนา” ซึ่งยังเหลืออยู่เพียงแห่งเดียวที่จังหวัด ชุมพร ภาคใต้ของประเทศไทย เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

17


การเล่นเพลงนามีมานานแล้วตั้งแต่รุ่นบรรพชนของคนไทยภาคใต้ แต่ไม่มีหลักฐานบันทึกไว้ว่ามีมา ตัง้ แต่เมือ่ ไร เป็นลักษณะวรรณกรรมมุขปาฐะ (Oral Literature) เป็นการร้องปากเปล่าโต้ตอบกันอย่างฉับพลันทันใด หรือเป็นการปฏิภาณ คนไทยภาคใต้ใช้ค�ำว่า “มุตโต” หากจะเรียกผู้เล่นกลอนเพลงนาก็อาจจะเรียกได้ว่า “ปฏิภาณ กวี” ก็ไม่ผิด เพราะเมื่อเล่นกลอนเพลงนาจะมีการโต้ตอบกันอย่างต่อเนื่องและไม่ช้า ไม่เช่นนั้นก็จะถูกสรุปว่าไม่เก่ง และความสนุกสนานก็จะลดลงไป ผู้ที่อยู่ในนาร่วมเกี่ยวข้าวหรือเก็บข้าว (คนไทยภาคใต้ใช้แกะในการเก็บข้าว) ก็จะไม่ได้รับบรรยากาศของความสนุกสนานและรื่นเริง เพลงนาเป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นเหตุจูงใจให้คนหนุ่มสาว รวมทั้ง คนเฒ่าแก่ไปลงนาเกี่ยวข้าว เพราะได้รับความบันเทิงจาการลงนาเกี่ยวข้าวหรือเก็บข้าว จับพลัดจับผลูได้คู่รักติดไม้ ติดมือกลับบ้านด้วย การเล่นเพลงนาหรือร้องเพลงนามักมีเมื่อมีการบอกแขกเกี่ยวข้าวเพราะท�ำนาจ�ำนวนหลายไร่ คนไทยภาคใต้เรียกว่า “นาวาน” คือการขอช่วยแรงของคนอื่นที่สนิทสนมกันไปช่วยเกี่ยวข้าวหรือเก็บข้าว การไถนา และด�ำนาก็ใช้ว่า นาวาน เช่นเดียวกัน แต่การร้องเพลงนาหรือเล่นเพลงนานิยมเฉพาะการเกี่ยวข้าวหรือเก็บข้าว ทั้งนี้เพราะฤดูเกี่ยวข้าวเป็นฤดูแล้ง สภาพดินและสภาพภูมิศาสตร์เอื้ออ�ำนวยให้แสดงออกในด้านความบันเทิง ได้อย่างคล่องแคล่ว ก่อให้เกิดบรรยากาศและรสชาตินั่นเอง การเล่นเพลงนานิยมเล่นครั้งละ ๑ คู่ ชาย-หญิง ถ้ามากกว่านี้ก็ไม่เกิน ๒ คู่ ทั้งนี้เพราะถ้ามากคู่ จะยากในการจัดระบบการขับร้องหรือการเล่น เล่น ๑ คู่ ถือว่าเหมาะที่สุดเพราะผู้ฟังหรือผู้ชมที่ก�ำลังเกี่ยวข้าว หรือเก็บข้าวอยู่อยากจะติดตามเนื้อหาและกลเม็ดเด็ดพรายลีลากลอนเพลงนาที่ชาย-หญิงคู่นั้นโต้ตอบกัน ถ้ามากคู่ จุดเน้นจุดเด่นของทั้งเนื้อหาและศิลปะการถ่ายทอดก็จะลดลงไป ในการเล่นเพลงนาจะมีผู้ร้องน�ำคนหนึ่งเรียกว่า แม่คู่ เมื่อร้องจบจะมีการรับ หรือภาษาไทยภาคใต้ใช้ว่า ทอย ผู้ท�ำหน้าที่ทอยหรือรับเรียกว่า ท้ายไฟ ท้ายไฟ (ผู้รับ) ของคูใ่ ดก็ตอ้ งรับของคูน่ นั้ ในการรับนัน้ จะรับเมือ่ แม่เพลงร้องซ�ำ้ วรรคที่ ๑ และจะรับหรือทอยเฉพาะวรรคที่ ๑ เท่านัน้ วรรคอืน่ ๆ แม่เพลงเป็นผูร้ อ้ งหรือว่าทัง้ สิน้ ในการเล่นถ้ามีเพียงคูเ่ ดียวก็จะมีเนือ้ หาเกีย่ วกับเกีย้ วพาราสีและบอกเรือ่ ง ราวต่างๆ ตามที่คู่เพลงจะยกขึ้นมากล่าวหรือเล่า เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจ หรือเรื่องที่เป็นเรื่องสนุกสนาน สร้างความเพลิดเพลินในการเกี่ยวหรือเก็บข้าวในนา

18

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การที่ผู้เกี่ยวหรือเก็บข้าวในนาได้ฟังเพลงนาและเรื่องราวต่างๆ จากการโต้ตอบกันของคู่เพลงนาท�ำให้ บรรยากาศการท�ำนาเป็นไปอย่างสนุกสนานเพลิดเพลินและก่อให้เกิดมิตรภาพมากขึ้นไปอีก คู่เพลงนาบางคู่ หรือข้ามคู่ หลังการเก็บเกีย่ วแล้วก็มกี ารไปมาหาสูห่ มัน้ หมาย และได้แต่งงานกันในทีส่ ดุ ในการเล่นเพลงนาถ้ามีคเู่ ดียว ก็มกั จะร้องหรือว่าโต้ตอบกันโดยน�ำเอาปมด้อยบางอย่างของฝ่ายตรงกันข้ามมาร้องหรือว่า ทัง้ นี้ จะเป็นการช่วยกระตุน้ หรือกระทุง้ ให้อกี ฝ่ายหนึง่ มีอารมณ์และคิดหาลูท่ างในการโต้ตอบอย่างมีรสชาติ การน�ำเอาปมด้อยหรือจุดอ่อนขึน้ น�ำ ก่อนจะท�ำให้ได้รับความสนใจมาก ทั้งคู่โต้และผู้ฟังที่เกี่ยวหรือเก็บข้าวในนาเดียวกันหรือผู้เกี่ยวข้าวที่นาอยู่ใกล้เคียง การร้องเพลงนาเป็นไปในท�ำนองประหนึ่งจะเข้าต่อสู้กัน จึงพอเทียบได้กับการร้อง กลอนรบ ฉะ หรือ เพลงรบ ด้วยการร้องเพลงนาเป็นการร้องกลอนสดโต้ตอบหรือเพลงปฏิพากย์ ผู้เล่นเพลงนาจึงต้องเป็นผู้มีความช�ำนาญและ รอบรู้ในเรื่องภาษาไทยอย่างดี อีกทั้งมีความรู้ในเรื่องที่น�ำขึ้นมาร้องหรือว่า นอกจากนี้ยังจะต้องเป็นผู้มีความแม่นย�ำ ในเรื่องท�ำนองและจังหวะในการร้องเพลงนาอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่ร้องหรือว่าเพลงนาได้ดีจะต้องมีการฝึกฝนตนเอง อยู่บ่อยๆ ไม่เช่นนั้นจะมีปัญหาเมื่อถึงเวลาโต้ตอบกัน ความลังเลหรือการชะงักในการร้องหรือว่านั้นจะท�ำให้ผู้ฟัง ลดความเชื่อมั่นลงไป และส่งผลต่อความสนใจที่จะฟังเพลงนา หากคู่เพลงนาร้องกลอนอย่างคล่องแคล่ว วางจังหวะ ลีลาและท�ำนองได้นา่ ฟัง และเนือ้ หาน่าสนใจ เสียงให้กำ� ลังใจและการส่งเสียงรับก็จะดังขึน้ มาด้วย ผูร้ อ้ งเพลงนาจึงต้อง ร้องหรือว่าบ่อยๆ เมื่อถึงเวลาร้องหรือว่าก็จะท�ำได้ดีเป็นที่ชื่นชมชื่นชอบของผู้เกี่ยวข้าวในนานั้น ปัจจุบันการร้องหรือ ว่าเพลงนาได้ขยับออกจากนาไปสู่บ้านและบนเวทีด้วย กลายเป็นเพลงที่ไม่จ�ำกัดพื้นที่ท�ำนองเดียวกับเพลงเต้นก�ำ ร�ำเคียวในจังหวัดภาคกลางของไทย กลอนเพลงนา มีลักษณะเป็นกลอนหัวเดียวเช่นเดียวกับกลอนหรือเพลงหัวเดียวในภาคกลาง ไม่ว่าเพลง ฉ่อย เพลงอีแซว และล�ำตัด ต่างกันที่เพลงนามี ๓ วรรค เรียกว่า หนึ่งลง แต่ละวรรคมี ๑๐ ค�ำหรือพยางค์ แต่ยืดหยุ่น ได้ ๘ หรือ ๑๑ กลอนหกลงเรียกว่า หนึ่งลาง (จ�ำนวน ๑๘ วรรค) ในการร้องโต้ตอบกันก็ใช้หนึ่งลาง และจะจบสิ่ง ที่โต้ตอบกัน เรียกเป็นภาษาทางการว่า หนึ่งกระทู้ เพลงนาจึงเป็นกลอนที่บังคับเป็นคณะเช่นเดียวกับกลอนและร้อย กรองอื่นๆ ของไทย แต่มีความต่างจากกลอนอื่นๆ ในเรื่องจ�ำนวนวรรคในหนึ่งบทหรือหนึ่งลง และการรับสัมผัส แม้จะเป็นแบบเดียวกับกลอนหัวเดียวแต่ต้อง ๓ วรรค ถึงจะสัมผัส

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

19


รูปแบบหรือฉันทลักษณ์ของเพลงนาเป็นดังนี้ (ลงที่ ๑) OOOOOOOOOO OOOOOOOOOO (เสียงสูง) OOOOOOOOOO (เสียงต�่ำ) (ลงที่ ๒) OOOOOOOOOO OOOOOOOOOO OOOOOOOOOO (ลงที่ ๓) OOOOOOOOOO OOOOOOOOOO OOOOOOOOOO ข้อก�ำหนดของเพลงนาเกี่ยวกับเสียงท้ายวรรคเป็นดังแผนแบบ การสัมผัสบังคับคือ ค�ำสุดท้ายวรรคที่ ๑ ต้องสัมผัสกับค�ำที่ ๕ หรือใกล้เคียงของวรรคที่ ๒ ค�ำสุดท้ายวรรคที่ ๒ ต้องสัมผัสกับค�ำสุดท้ายวรรคที่ ๓ และค�ำสุดท้าย วรรคที่ ๓ ของ ลง แรก จะต้องส่งสัมผัสไปยังค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ของแต่ละลงจนกระทั่งจบ สัมผัสบังคับที่ว่านี้ เป็นสัมผัสสระแม่สะกดเดียวกัน ดังตัวอย่างเพลงนาที่นิยมยกมาจดจ�ำกันดังนี้ บรรดาหญิงสาวสาวมาเก็บข้าวนานี้ สาวคนนั้นอยู่ดีผิวฉวีสดใส ขาวหลอดมือตีนเหมือนแม่จีนพ่อไทย แม่หญิงสาวขาวสวยที่มาทั้งไกลแค่ น้องคนโน้นแท้พี่หลงแลตะลึงไหล ตาต่อตามองกันเกิดสัมพันธ์ถึงใจ ผิวเนื้อสาวขาวแล้วยังไม่แคล้วทาแป้ง สวยแล้วยังชั่งแต่งต้องตามแบบสมัย บรรดาสาวชาวนาน้องสวยหวาใครใคร ฯ ล ฯ ภูมิปัญญาเพลงนาเป็นภูมิปัญญามรดกวัฒนธรรมด้านภาษาไทยที่ค้นคิดน�ำมาใช้เพื่อให้เกิดรสชาติ หรือบรรยากาศในการเกีย่ วหรือเก็บข้าวในนา อีกทัง้ เป็นการบ่งบอกถึงความเฉียวฉลาดในการก�ำหนดค�ำในแต่ละวรรค เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กลมกลืนกันไป และก�ำหนดเสียงท้ายวรรคให้สลับกันไป สูง ต�่ำ เพื่อให้เกิดความไพเราะ การทีค่ เู่ พลงน�ำเนือ้ หามาเสนอและโต้ตอบกันได้นนั้ นับได้วา่ เป็นความเฉลียวฉลาดและไหวพริบปฏิภาณทีบ่ ม่ เพาะสัง่ สม มาจากบรรพชนไทยภาคใต้ เมื่อถึงเวลาร้องหรือว่าเพลงนาก็จะดึงเอาสิ่งที่สั่งสมมาไม่ว่า ความรู้ ความคิด และความ เข้าใจมาผสมผสานกับสิ่งแวดล้อม เพื่อน�ำเสนอให้มีความสัมพันธ์กันระหว่างคนกับธรรมชาติ ธรรม และศิลปะ และวัฒนธรรมด้านภาษา นักเลงเพลงนาหรือผูร้ อ้ งเพลงนาทีช่ ำ� นาญ เฉลียวฉลาดจะส่งเสียงร้องเพลงนาได้อย่างน่าฟัง มี จังหวะ ลีลา ท�ำนอง และเนื้อหาดีมีคุณค่า หากเพลงนายังมีนักร้องหรือนักว่าเพลงนาเช่นที่กล่าวนี้ เพลงนาก็น่าจะ ยังด�ำรงอยู่คู่แผ่นดินไทยภาคใต้อีกนานแสนนาน 20

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แตรวง แตรวง พัฒนามาจากวงดนตรีเครื่องเป่า (Wind and Brass Ensemble) เป็นวงดนตรีที่ใช้ในยุโรป และสหรัฐอเมริกามาแต่โบราณ ในกิจการของกองทัพ การฝึกแถวการเดินสวนสนามในพิธีเกียรติยศ และการประโคม ในพิธีเฉลิมฉลองของรัฐหรือราชส�ำนักใช้เครื่องดนตรีตระกูลเครื่องเป่าทองเหลืองและลมไม้ (Brass & Woodwind musical instruments) ในสมัยโบราณเรียกรวมๆ ว่า บราสแบนด์ (Brass Band) เนื่องจากบทบาทในการด�ำเนิน ท�ำนองเป็นของกลุ่มเครื่องดนตรีทองเหลืองมากกว่าและนิยมเล่นกลางแจ้ง ให้เสียงที่ดังเจิดจ้าชัดเจนสามารถเดินเล่น และนั่งเล่นเป็นกลุ่มได้วงเครื่องเป่า ได้พัฒนาขึ้นมาเป็นมิลิทารีแบนด์ (Military Band) มีจุดประสงค์ในการใช้งาน คือ การเล่นเพลงเดินเท้าเข้าสู่สนามรบของทหาร หรือใช้ประกอบการสวนสนามของทหารเพื่อปลุกใจในยามสงคราม หรือประกอบพิธีต่างๆ ของทหารโดยเฉพาะ สมัยกรุงศรีอยุธยาช่วงแผ่นดินพระนารายณ์มหาราช มีฝรั่งน�ำแตรมาทูลเกล้าฯถวายเป็นเครื่องราช บรรณาการ ส่วนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์พบในบันทึกว่ามีแตรวิลันดาที่ใช้ในพระราชพิธีของราชส�ำนัก ซึ่งเชื่อว่าเป็น แตรฝรั่งที่ชาวฮอลันดาน�ำเข้ามาเป็นชาติแรกในกรุงสยาม ต่อมาในสมัยรัชกาลพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ริเริ่มมีการ ฝึกทหารแบบอังกฤษทีว่ งั หน้าของพระบาทสมเด็จพระปิน่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั และทีว่ งั หลวง ครูผฝู้ กึ แถวคือร้อยเอกน็อกซ์ (Knox) และร้อยเอกอิมเปย์ (Impey) ชาวอังกฤษ ตามล�ำดับ ทั้งสองท่านได้น�ำวงดุริยางค์เครื่องเป่าขนาดเล็ก ที่เรียก Brass Band ของยุโรปมาบรรเลงค�ำนับถวายเวลาพระเจ้าแผ่นดินเสด็จฯออกมหาสมาคม พอถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีบันทึกชัดเจนว่าแตรวงของทหารเรือ เรียกว่า แตรวงทหารมะรีน สมัยนี้มีครูฝรั่งมาสอน และควบคุมแตรวงอยู่ ๓ ท่าน คือ ครูเวสเตอร์เฟล ชาวเยอรมัน ครูเฮวู้ด เซน ชาวฮอลันดา และครูจาคอบ ไฟท์ (Jakob Feit) ชาวเยอรมัน จนแตรวงทหารมหาดเล็กถือก�ำเนิดในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั นีเ้ อง ได้พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมืน่ อดิศรอุดมเดชเป็นผูบ้ งั คับการและก่อตัง้ แตรวง ทหารหน้าขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งต่อมาแตรวงทหารนี้ได้เจริญรุ่งเรืองมาเป็นกองดุริยางค์ทหารบกในปัจจุบัน เรียบเรียงโดย อานันท์ นาคคง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

21


“แตรวง” เชื่อกันว่ามีใช้กันมาก่อนสมัยรัชกาลที่ ๕ และเป็นค�ำที่พบในหนังสือสาสน์สมเด็จ ซึ่งสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์และสมเด็จพระบรมวงศ์เธอกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงเขียนจดหมายโต้ตอบกันด้วย ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ ได้ทรงบัญญัติ ค�ำว่า “ดุริยางค์” ขึ้น ดังนั้น วงดนตรีทั้งหลายจึงหันมาใช้ค�ำว่า “ดุริยางค์” แทนค�ำว่า ดนตรี อาทิ วงจุลดุริยางค์ วงดุริยางค์สากล วงดุริยางค์ไทย เป็นต้น วงดุริยางค์ใช้ในความหมายของการนั่งบรรเลง เช่น วงดุริยางค์กรมศิลปากร วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ เป็นต้น ส�ำหรับวงโยธวาทิตนั้น (Military Band) เป็นศัพท์บัญญัติที่ราชบัณฑิตยสถาน สร้างขึ้นในยุคหลัง หมายถึง “วงดนตรีที่บรรเลงโดยทหาร” ซึ่งมาจากค�ำว่า “โยธา” แปลว่า ทหาร รวมกับค�ำว่า “วาทิต” แปลว่า “ดนตรีหรือผูบ้ รรเลงดนตรี” นิยมใช้กบั ดนตรีทใี่ ช้ในการสวนสนามของกองดุรยิ างค์ทหารกองลูกเสือ นอกจากนั้น วงโยธวาทิตได้แพร่เข้าไปสู่ระบบการศึกษา เข้าไปอยู่ในโรงเรียนทั่วประเทศทั้งระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา วงโยธวาทิตมีหน้าทีน่ ำ� แถวนักกีฬา น�ำแถวลูกเสือ และใช้ในการนัง่ บรรเลงเพลงไทยตามแบบแผนทีส่ มเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์กรมกระนครสวรรค์วรพินิต ทรงปรับปรุงแนวทางขึ้นเพื่อใช้กับโยธวาทิต ของกองทัพบกและกองทัพเรือในอดีต มีการเรียบเรียงสกอร์เพลงไทยส�ำหรับวงโยธวาทิตจ�ำนวนมาก ใช้วัตถุดิบจาก เพลงปีพ่ าทย์สำ� นักพาทยโกศลและเพลงพระนิพนธ์ของพระองค์เอง ผูเ้ รียบเรียงเพลงไทยส�ำหรับโยธวาทิตทีม่ ชี อื่ เสียง ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์กรมกระนครสวรรค์วรพินิต พันตรีหลวงประสานดุริยางค์ ร้อยเอกนพ ศรีเพชรดี และพันโทวิชิต โห้ไทย เป็นต้น

ที่มา : กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

22 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


กลุ ่ ม เครื่ อ งดนตรี ที่ ป ระกอบขึ้ น เป็ น โยธวาทิ ต และแตรวงของไทย ประกอบด้ ว ย เครื่ อ งดนตรี กลุ่มใหญ่ๆ ๒ กลุ่ม คือ ๑. กลุ่มเครื่องเป่า แบ่งย่อยเป็นเครื่องลมไม้และเครื่องทองเหลือง (Wind & Brass Instruments) ๒. กลุ่มเครื่องจังหวะ เครื่องตี-เครื่องกระทบ (Percussions Instruments) ลักษณะของการผสมวงเป็นไปอย่างหลวมๆ ไม่ได้จ�ำกัดว่าจะต้องมีแบบแผนที่ตายตัวเหมือนกับ วงดนตรีไทยทัว่ ไป หรือเทียบกับวงดนตรีในประเพณีนยิ มของยุโรปคลาสสิค คนไทยนิยมใช้เสียงแตรวงชาวบ้านประโคม แห่ในงานพิธีกรรมต่างๆ ที่มีชาวบ้านมาชุมนุมกัน ทั้งงานรื่นเริงบันเทิงใจ อาทิ งานบวชนาค ท�ำขวัญ งานแห่ขันหมาก งานมงคลสมรส งานสมโภชวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา งานศพ งานมหรสพ การโหมโรงหน้าโรงละคร โหมโรงหน้าโรง ภาพยนตร์ทเี่ รียกว่า “หนังเงียบ” ไปจนถึงงานประโคมข่าวป่าวประกาศกิจกรรมการเมืองท้องถิน่ ฯลฯ แตรวงชาวบ้าน มีอิสระในการเลือกบทเพลงมาใช้ในการแสดง ในการออกงานพิธี และไม่มีสูตรตายตัวว่าจะต้องมีล�ำดับเพลงอย่างไร เพลงที่ใช้เล่นบรรเลงตามงานของแตรวงชาวบ้านส่วนหนึ่งเป็นเพลงที่จ�ำมาจากแตรวงของทหาร มีทั้งเพลงฝรั่งเพลง ไทย ใช้จังหวะเดินแถวอย่างทหารที่เรียกว่ามาร์ช (March) ตีด้วยกลองใหญ่ให้จังหวะ เรียกชื่อเพลงว่า มาร์ชต่างๆ อาทิ มาร์ชด�ำรง มาร์ชภานุรงั ษี มาร์ชกรมหลวงประจักษ์ มาร์ชลาวดวงเดือน และยุคสมัยรัชกาลที่ ๗ มีการน�ำภาพยนตร์ เงียบเข้ามาฉายในประเทศไทย การโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้คนดูมาซื้อบัตรเข้าดูภาพยนตร์ ก็จะนิยมใช้แตรแห่น�ำ เมื่อถึงช่วงภาพยนตร์ใกล้ฉาย ก็จะไปตั้งวงเล่นโหมโรงเรียกร้องความสนใจจากคนดู และเมื่อถึงเวลาฉายภาพยนตร์ ก็จะย้ายเข้าไปบรรเลงสดๆหน้าจอ คิดด้นเพลงไปตามภาพเคลื่อนไหวของหนัง เป็นที่ชื่นชอบของผู้คนในอดีต ที่ ไ ด้ มี ป ระสบการณ์ ใ หม่ กั บ ภาพยนตร์ เ งี ย บอย่ า งยิ่ ง ต่ อ มาเมื่ อ เกิ ด เพลงร� ำ วงสมั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง แตรวงชาวบ้ า นก็ น� ำ เพลงร� ำ วงสนุ ก ๆ ที่ นิ ย มร้ อ งเล่ น กั น ไปเป่ า ในกระบวนแห่ ด ้ ว ย จนกระทั่ ง ยุ ค เพลงลู ก ทุ ่ ง เพลงลูกกรุง หรือเพลงไทยสากลในปัจจุบัน ถ้าเพลงไหนเป็นที่นิยมก็มักจะถูกน�ำไปบรรเลงรับใช้สังคมไทยเสมอมา คณะแตรวงชาวบ้านที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน อาทิ คณะถนอมศิลป์ ปทุมธานี คณะ ส.จุฬาลักษณ์ สมุทรสงคราม คณะวรรณธนวาทิต นนทบุรี คณะกุหลาบโชว์ พระนครศรีอยุธยา คณะครูดำ� มิวสิค พระนครศรีอยุธยา คณะเพชรพระนคร พระนครศรีอยุธยา คณะเอ็กซเรย์ ราชบุรี คณะสุนิศา ท่ามะขาม ราชบุรี คณะมณฑาสวรรค์ ด�ำเนินสะดวก ราชบุรี คณะสมหวัง บ้านโป่ง ราชบุรี คณะ ส.แก้วบูชา นครปฐม คณะแตรวงรักชาติเมืองสุพรรณ คณะลูกทุ่งเมืองทอง นนทบุรี คณะสุวรรณศิลป์ ศาลายา นครปฐม ฯลฯ บุคลากรที่ถือเป็นภูมิปัญญาทางแตรวง ชาวบ้านในปัจจุบัน อาทิ พันโทวิชิต โห้ไทย ศิลปินแห่งชาติ ครูสมัคร กรานต์แหยม นนทบุรี ครูหมู เมืองนนท์ ครูสมาน กันเกตุ ราชบุรี ครูวิรัช แสงจันทร์ สมุทรสงคราม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

23


ที่มา : กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

แตรวงชาวบ้าน ในปัจจุบนั สภาพสังคมเปลีย่ นไป ความนิยมในการประโคมแห่ลดลงและมีกจิ กรรมดนตรี เพื่อสังคมชาวบ้านแบบอื่นๆ มาใช้ทดแทน แต่ก็มิใช่ว่าแตรวงชาวบ้านจะเงียบเสียงไปเสียเลยทีเดียว ในหลายท้องถิ่น ยังคงพึง่ พาดนตรีแตรวงเพือ่ ความสนุกสนานบันเทิงในชุมชน ยังคงมีชาวบ้านทีส่ นใจฝึกฝนแตรวงแบบชาวบ้านสืบทอด วิธีการบรรเลงด้วยลีลาของชาวบ้านกันอยู่ แม้ว่าทางหน่วยงานราชการและสถานศึกษาสมัยใหม่จะหันไปนิยม การส่งเสริมวงโยธวาทิต ที่มีระเบียบแบบแผนมาตรฐานระดับชาติและนานาชาติมากกว่าแล้วก็ตาม สิ่งที่น่าเป็นห่วง คือการรวบรวมและบันทึกหลักฐานความรู้เกี่ยวกับแตรวงชาวบ้านเอาไว้อย่างเป็นรูปธรรม ยังไม่มีความชัดเจนพอ และไม่ได้รับการเอาใจใส่จากสถาบันการดนตรีใดๆ อย่างจริงจัง แม้กระทั่งสถาบันการศึกษาที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กับความรู้ทางเครื่องเป่าตะวันตกที่มุ่งสร้างมาตรฐานให้เทียบเท่าสากล ก็ละทิ้งรากฐานความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม แตรวงชาวบ้านกับการศึกษาในระบบเสียมาก ความหวังในการสืบทอดแตรวงยังคงลางเลือนหากมุ่งฝากภารกิจเอาไว้ ทีภ่ าครัฐและสถาบันการศึกษา คงเป็นเรือ่ งทางเลือกและการตัดสินใจของชุมชนทีจ่ ะเล็งเห็นคุณค่าของแตรวงชาวบ้าน กับการอยู่ร่วมกับสังคมไทยในอนาคตได้อย่างไร เอกสารอ้างอิง

ดวงจันทร์ บุญล�้ำ. ศึกษาแตรวงชาวบ้านจังหวัดสุโขทัย. ปริญญานิพนธ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ๒๕๕๑. ปรีชา ออกกิจวัตร. แตรวงชาวบ้าน:กรณีศึกษาความเข้มแข็งทางวัฒนธรรมของแตรวงใน จังหวัดสมุทรสงคราม. ปริญญานิพนธ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ๒๕๔๘. พีระชัย ลีส้ มบูรณ์ผล. การบรรเลงเพลงไทยเดิมของคณะแตรวงชาวบ้านท่ามะขาม ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุร.ี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. ๒๕๕๐. สุธี ช�ำนาญสุธา. แตรวงชาวบ้าน กรณีศึกษาแตรวงในพื้นที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหิดล. ๒๕๔๕. สุดแดน สุขเกษม. แตรวงชาวบ้านกับการรับใช้สังคม กรณีศึกษาแตรวงคณะถนอมศิลป์. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหิดล. ๒๕๔๑. อารี สุขะเกศ. แตรวงชาวบ้าน. วารสารการศึกษานอกโรงเรียน ๒๓, ๑๒๙. ๒๕๒๕. วิชิต โห้ไทย. สัมภาษณ์. ๒๕๕๗ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

24 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ฟ้อนโยคีถวายไฟ ฟ้อนโยคีถวายไฟ เป็นกระบวนฟ้อนชุดหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ จากด�ำริของเจ้าแก้วนวรัฐฯ เจ้าผูค้ รองนครเชียงใหม่ โดยมีแนวความคิดกระบวนท่าร�ำที่ได้รับอิทธิพลการฟ้อนของไทยใหญ่(เงี้ยว) ซึ่งแยกมาจากฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฟ้อนโยคีถวายไฟ ก�ำเนิดขึน้ ทีน่ ครเชียงใหม่เมือ่ ราวพุทธศักราช ๒๔๖๓ คราวทีส่ มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพตั ร สุขุมพันธุ์กรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสด็จฯนครเชียงใหม่ ในการนี้ ทางการนครเชียงใหม่จึงจัดการรับเสด็จฯ มีการแสดงต่างๆ ถวายในงานเลี้ยงพระกระยาหารค�่ำ ในคราวนั้นเจ้าแก้วนวรัฐโปรดให้พ่อเลี้ยงน้อยสม (ค�ำโสม) สมุทรนาวี(อู่ส่านดู่)คหบดีชาวพม่า เป็นผู้จัดการติดต่อครูฟ้อนร�ำจากไทยใหญ่เข้ามาฝึกสอนให้บุตรหลานในบ้าน เพื่อออกแสดงในงานดังกล่าวและให้ชื่อชุดการแสดงว่า “ฟ้อนโยคีถวายไฟ” เพราะท่าร�ำเลียนแบบท่าร�ำฤษีดัดตน ของไทยใหญ่ เหตุที่เรียกว่าฟ้อนโยคีถวายไฟไม่มีบันทึกกล่าวไว้ แต่อาจวิเคราะห์จากการแต่งกายที่ใช้สีขาวคล้ายโยคี บูชาไฟมาเรียกซึ่งผู้ที่ได้รับการฝึกหัดฟ้อนชุดแรกนี้เป็นหญิงล้วนแต่กลับมิได้ออกแสดง เนื่องจาก ภรรยาของพ่อเลี้ยง สม ชื่อแม่เลี้ยงบุญปั๋น สมุทรนาวี ไม่ยอมให้หลานๆ ที่เป็นสาวออกแสดง จึงต้องเปลี่ยนเป็นใช้ผู้ชายแสดงแทนทั้งหมด ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ โรงเรียนดาราวิทยาลัย เชียงใหม่ ได้จัดงานประจ�ำปีของโรงเรียน นางค�ำสวน วงศ์ธานี และนางล�ำดวน พุทธโกษา นักเรียนโรงเรียนดาราวิทยาลัยขณะนั้น ซึ่งเป็นน้องสาวของนางทวีลักษณ์ สามะ บุตร ผูท้ ไี่ ด้รับการฝึกหัดการฟ้อนจากไทยใหญ่ คราวรับเสด็จสมเด็จฯ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ได้ขอร้องให้นางทวี ลักษณ์ฝกึ สอนการแสดงฟ้อนโยคีถวายไฟน�ำออกแสดง ซึง่ ในครัง้ นัน้ พระราชชายาเจ้าดารารัศมีได้เสด็จทอดพระเนตร ด้วย ต่อมาพระราชชายาฯ ได้โปรดให้นางทวีลักษณ์ สอนให้กับตัวละครของเจ้าแก้วนวรัฐและได้น�ำออกแสดงต่อมา อีกหลายครั้ง พุทธศักราช ๒๕๑๔ กรมศิลปากรได้เปิดโรงเรียนนาฏศิลปส่วนภูมิภาคที่จังหวัดเชียงใหม่เป็นแห่งแรก และได้เชิญนางสัมพันธ์ โชตนา เข้ามาท�ำการสอนนาฏศิลป์พนื้ เมืองเหนือ และบรรจุฟอ้ นโยคีถวายไฟเข้าไว้ในหลักสูตร การเรียนการสอนโดยนางสัมพันธ์ โชตนา เป็นผูซ้ งึ่ ได้รบั การถ่ายทอดจาก นางทวีลกั ษณ์ สามะบุตร ขณะทีเ่ ป็นตัวละคร ในคุ้มพระราชชายา นางสัมพันธ์ โชตนา ซึ่งต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์พื้นเมือง ได้ถ่ายทอดท่าร�ำโยคีถวายไฟให้กับครูอาจารย์และนักเรียนของวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ จวบจนถึงแก่กรรม เรียบเรียงโดย ประเมษฐ์ บุณยะชัย พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

25


ที่มา : ส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

ดังนี้

ดนตรีที่ประกอบการฟ้อนโยคีถวายไฟ ใช้วงดนตรีพื้นเมืองหรือวงปี่พาทย์ มีเนื้อร้องส�ำเนียงไทย – พม่า

๑. เมี้ยวด่อไบฉิ่นเลเลเลฉิ่น นะเมีย (ซ�้ำ) ๒. เหม่าเลโก เหม่าเลโก เซามะ หย่า บา แง เลเลเลเลเลเลเลเลเล ๓. ซวย แม ตู เมีย ลูมะแม โส จา บา ล่า แด เลเลเลเลเลเลเลเล (ซ�้ำ) ๔. ลูมะแม อะยวย กะ เล บา ละ เพ้ต กุ้น ยา โอ เล เมา กะ จ๊วยแม (ซ�้ำ) โตงเลเลเลเลโตงเลเลเลเลเบีย (ซ�้ำ) โตงเลเบี่ยโตงเลเลเล เซ มา บ๊า แง เลเลเลเลเลเลเลเล ๕. ลุนเลเช ย่ะ โฮ เหมี่ย แด หม่า ดี เมีย แด หม่า ๖. สะ แบ เลเลเลเล โก่ แก – วะ โอ ดะ แว ดัด ไล บา โล่ แด ๗. ดอเลเลเลนาก๊านาก๊าดอเลเลเลเลเลนาก๊านาก๊า (ซ�้ำ) ๘. ดอนาก๊านาก๊าติ้นแด่ เลเลเลเลเลเลเล ๙. ซ่อ โซ ซอ ยิ้น เจาแพคกวา (ซ�้ำ) ซอตะดา ยิ้นซอยิ้น เกา มาโอ่แด่ ซอตะดา ยิ้น เกา มาโอ แด เก๊าเลโซ๊ะ โป๊ะ ลา 26

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ที่มา : ส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

ฟ้อนโยคีถวายไฟ มีการแต่งกายแบบชาวไทยใหญ่ ผู้แสดงเป็นผู้ชายทั้งหมด นุ่งสนับเพลา นุ่งผ้าแบบผ้า ป้ายทับ สวมเสื้อคอกลมป้ายข้าง โพกผ้า สีของเสื้อผ้าทั้งหมดปัจจุบันนิยมเป็นสีขาว มือถือไม้เท้ายาวประมาณ ๑.๒๐ เมตร คุณค่าในทางวัฒนธรรม การแสดงชุดนีถ้ อื เป็นการผสมผสานกระบวนท่าร�ำทีม่ ที งั้ รูปแบบการเคลือ่ นไหว แบบไทยใหญ่ เช่น การกระโดด การเขย่งเท้า และท่าร�ำที่เป็นมาตรฐานของล้านนาที่เนิบช้าอ่อนหวาน ครูนาฏศิลป์ ทีค่ ดิ ค้นขึน้ ได้ปรับปรุงขึน้ ทัง้ การแต่งกาย ลีลาท่าร�ำ และเพลงร้อง จนเป็นชุดการแสดงทีง่ ดงามยิง่ แต่เป็นทีน่ า่ เสียดาย ที่โอกาสแสดงค่อนข้างน้อยไม่เป็นที่แพร่หลาย สถานภาพในการแสดงปัจจุบนั และแหล่งปฏิบตั ยิ งั คงมีการถ่ายทอดในสถาบันการศึกษาในสังกัดสถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม โดยคงรูปแบบการฟ้อนโยคีถวายไฟอยู่ โดยเฉพาะวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ แต่โอกาสที่จะน�ำออกแสดงเผยแพร่น้อยมาก ข้อมูลบุคคลอ้างอิงจาก นายพงศธร สามะบุตร บุตรชายท่านเดียวของ นางทวีลักษณ์ สามะบุตร ผู้ซึ่งได้รับการถ่ายทอดตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๖๓ และเป็นผู้ถ่ายทอดให้กับนางสัมพันธ์ โชตนา รวมทั้ง นางสาวสุกัญญา ชมพูรัตน์ ในวิทยาลัยนาฏศิลป์ เชียงใหม่ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

27


ระบ�ำสี่บท ระบ�ำสี่บทเป็นระบ�ำที่เก่าแก่ชุดหนึ่ง มีบทร้องด้วยกัน ๔ บท แต่ละบทจะแตกต่างกันทั้งเนื้อร้อง ท่วงท�ำนอง และจังหวะเพลง ได้แก่ เพลงพระทอง เพลงเบ้าหลุด เพลงสระบุหร่ง และเพลงบหลิ่ม เนื้อร้อง มีลักษณะเชิงเกี้ยวพาราสี สันนิษฐานว่าระบ�ำสี่บทนี้มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย แต่ไม่มีหลักฐานใดปรากฏแน่ชัด จะเห็น ได้จากบทละครจับระบ�ำพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๑ นั้น จะมีบทร้องเพียง ๒ บทเท่านั้น ซึ่งขึ้นต้นด้วยเพลงสระบุหร่ง และตามด้วยเพลงพระทอง ครั้นต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๒ พระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทร้องเพิ่มขึ้นอีก ๒ บท คือ บทร้องในเพลงเบ้าหลุด และบทร้องในเพลงบหลิ่ม อีกทั้งทรงก�ำหนดให้ร้องเพลงพระทองเป็นอันดับหนึ่ง แล้วตาม ด้วยเพลงเบ้าหลุด เพลงสระบุหร่ง และเพลงบหลิม่ ตามล�ำดับ โดยถือเป็นแบบฉบับมาจนถึงปัจจุบนั ระบ�ำสีบ่ ทนีเ้ ป็น ระบ�ำชุดหนึ่งที่ถือเป็นแบบอย่าง และเรียกกันว่า “ระบ�ำใหญ่” ซึ่งผู้แสดงจะต้องร�ำงาม ร�ำถูกต้องตามแบบแผน และ ใช้เวลามากในการฝึกฝน ดังนัน้ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ ผูเ้ ชีย่ วชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย จึงได้นำ� มาบรรจุไว้ในหลักสูตร การเรียนการสอนของนักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลปในระดับชั้นกลางและชั้นสูง เพราะเป็นระบ�ำที่ส�ำคัญเช่นเดียวกับ แม่บท โดยนักเรียนจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนให้เกิดความเชี่ยวช�ำนาญทั้งท่าร�ำ กระบวนแถว เนื้อร้อง ท่วงท�ำนอง และจังหวะเพลง เพื่อต่อยอดไปสู่การแสดงโขน ละคร ลักษณะการแสดง คือ แสดงได้ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ผู้แสดงมีทั้งฝ่ายตัวพระ และฝ่ายตัวนาง ใช้ท่าร�ำ พื้นฐานหรือท่าฝึกหัดเบื้องต้น และท่านาฏยศัพท์เป็นท่าหลัก ผสมผสานกับลีลาการเคลื่อนไหวด้วยการใช้ท่าเชื่อม จากท่าหนึ่งไปอีกท่าหนึ่ง ใช้วงปี่พาทย์ประกอบการแสดง ออกด้วยเพลงโคมเวียน แล้วนักร้อง ร้องเนื้อเพลง ตามท่วงท�ำนองจังหวะที่ก�ำหนด จบด้วยเพลงช้า-เร็วระบ�ำ แต่งกายด้วยเครื่องแต่งกายที่เรียกว่า ยืนเครื่อง ดังนี้ พระ แต่งกายยืนเครื่องพระ จะเป็นเสื้อแขนสั้น หรือแขนยาว ใส่เครื่องประดับ สวมชฎา นาง แต่งกายยืนเครื่องนาง ใส่เครื่องประดับ สวมมงกุฎ หรือรัดเกล้า โดยสมมติให้ผแู้ สดงเป็นเทวดา นางฟ้า มาจับมาระบ�ำชืน่ ชมยินดีทผี่ ทู้ รงอิทธิฤทธิไ์ ด้ปราบปรามอสูรพ่าย แพ้ ดังปรากฏระบ�ำสี่บทนี้ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ ชุด “นารายณ์ปราบนนทุก” หรือชุด “เมขลา–รามสูร” หรือตอนที่พระรามสังหารทศกัณฐ์ได้แล้ว อันมีเนื้อร้อง ดังนี้ เรียบเรียงโดย วันทนีย์ ม่วงบุญ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

28 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เพลงพระทอง เมื่อนั้น ฝ่ายฝูงเทวาทุกราศี ทั้งเทพธิดานารี สุขเกษมเปรมปรีดิ์เป็นสุดคิด เทพบุตรจับระบ�ำท�ำท่า นางฟ้าร�ำฟ้อนอ่อนจริต ร�ำเรียงเคียงเข้าไปให้ชิด ทอดสนิทติดพันกัลยา แล้วตีวงเวียนเปลี่ยนซ้าย ไล่ตีวงเวียนเปลี่ยนขวา ตลบหลังลดเลี้ยวลงมา เทวัญกัลยาส�ำราญใจ เพลงเบ้าหลุด เมื่อนั้น นางเทพอัปสรศรีใส ร�ำล่อเทวาสุราลัย ท่วงทีหนีไล่พอได้กัน เทพบุตรฉุดฉวยชายสไบ นางปัดกรค้อนให้แล้วผินผัน หลีกหลบลดเลี้ยวเกี่ยวพัน เหียนหันมาขวาท�ำท่าทาง ครั้นเทพเทวัญกระชั้นไล่ นางชม้อยถอยไปเสียให้ห่าง เวียนระวันหันวงอยู่ตรงกลาง ฝูงนางนารีก็ปรีดา เพลงสระบุหร่ง เมื่อนั้น ฝ่ายฝูงเทพไทถ้วนหน้า ร�ำเรียงเคียงคั่นกัลยา เลี้ยวไล่ไขว่คว้าเป็นแยบคาย เทพบุตรหยุดยืนจับระบ�ำ นางฟ้าฟ้อนร�ำท�ำฉุยฉาย ทอดกรอ่อนระทวยกรีดกราย เทพไททั้งหลายก็เปรมปรีดิ์ เพลงบหลิ่ม เมื่อนั้น นางฟ้าธิดามารศรี กรายกรอ่อนระทวยทั้งอินทรีย์ ดั่งกินรีร�ำฟ้อนร่อนรา แล้วตีวงลดเลี้ยวเกี่ยวกล ประสานแทรกสับสนซ้ายขวา ทอดกรงอนงามกิริยา เทวาปฏิพัทธ์เปรมปรีดิ์

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

29


คุณค่าทางวัฒนธรรม - แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพ ความเป็นปราชญ์ และความสนพระทัยทางด้านนาฏดุรยิ างคศิลป์ ไทยของบูรพกษัตริย์ไทยอันมีมาแต่โบราณ - แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาของบรมครู ท างด้ า นนาฏศิ ล ป์ ที่ คิ ด ประดิ ษ ฐ์ ท ่ า ร� ำ ต่ า งๆ เชิงเกี้ยวพาราสี ของตัวพระ ตัวนาง ได้อย่างสวยงาม ไม่ส่อถึงความหยาบคาย ทั้งยังสามารถสื่อความหมาย ให้ผู้ชมรับรู้และคล้อยตามได้ รวมทั้งกระบวนแถวที่ท�ำให้ผู้ชมไม่เบื่อตา - แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาของบรมครูทางด้านดนตรี ที่คิดประดิษฐ์ท่วงท�ำนอง จังหวะให้เข้า กับบทร้องที่มีถึง ๔ บท - ก่อให้เกิดทักษะแก่ผู้แสดง ในการปฏิบัติท่าร�ำ การฟังท่วงท�ำนองจังหวะ การร้องเพลงและจดจ�ำ น�ำไปใช้ในการแสดงอื่นๆ อันก่อให้เกิดการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรีอย่างกว้างขวาง การสื บ ทอด ศิ ล ปิ น รุ ่ น ครู รุ ่ น พี่ สู ่ รุ ่ น น้ อ ง ในสายอาชี พ ด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไ ทยของส� ำ นั ก การสั ง คี ต กรมศิลปากร และสืบทอดจากครูสศู่ ษิ ย์ รุน่ สูร่ นุ่ ในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และสถานศึกษาทีส่ นับสนุนศิลปวัฒนธรรม ด้านนาฏศิลป์ ดนตรี

ที่มา : ส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

30

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


สถานภาพปัจจุบัน มีทั้งที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ทั้งบทร้อง ท่าร�ำที่เป็นมาตรฐาน แต่บางครั้งจะใช้แสดงเพียง ๒ บท คือบทในเพลงพระทอง และเพลงเบ้าหลุดเท่านั้น ส�ำหรับในการแสดงโขน ชุด “นารายณ์ปราบนนทุก” ของส� ำ นั ก การสั ง คี ต กรมศิ ล ปากร ปั จ จุ บั น จะใช้ เ พี ย งบทเดี ย วในเพลงพระทอง แล้ ว ตั ด เหลื อ ๔ ค� ำ กลอน ๒ ค�ำกลอนแรกใช้เพลงพระทอง อีก ๒ ค�ำกลอนหลังใช้เพลงเบ้าหลุด แล้วจบด้วยเพลงเร็วบ้าง เพลงเร็ว ลา บ้าง ดังนี้ ร้องเพลงพระทอง เมื่อนั้น ฝ่ายฝูงเทวาทุกราศี ทั้งเทพธิดานารี สุขเกษมเปรมปรีดิ์เป็นสุดคิด ร้องเพลงเบ้าหลุด เทพบุตรจับระบ�ำท�ำท่า นางฟ้าร�ำฟ้อนอ่อนจริต ร�ำเรียงเคียงเข้าไปให้ชิด ทอดสนิทติดพันกัลยา ปี่พาทย์ท�ำเพลงเร็ว ลา ส่วนการแต่งกายยังคงแต่งยืนเครื่องทั้งตัวพระและตัวนาง ใช้แสดงทั้งในโขน และแสดงเป็นชุดเอกเทศ เช่น ใช้เป็นระบ�ำเบิกโรง และระบ�ำมาตรฐาน เพื่อแสดงเฉลิมฉลองในโอกาสต่างๆ รวมทั้งใช้วัดผลในการสอบ เข้ารับการศึกษาในสายอาชีพศิลปิน แหล่งปฏิบัติ ในปัจจุบันมีหลายสถานที่ อาทิ - ส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม - วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จะบรรจุร�ำสี่บทเข้าในหลักสูตรการเรียนการสอนรายวิชาทักษะขั้นพื้นฐานนาฏศิลป์ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกหัดเรียนรู้ ท่าร�ำหลัก ท่าร�ำเชื่อม ท่าร�ำเชิงเกี้ยวพาราสี กระบวนแถวได้อย่างแม่นย�ำ และสามารถน�ำไปต่อยอดในการเรียน นาฏศิลป์ไทยชั้นสูงต่อไป - สถาบันการศึกษาในระดับมัธยม และอุดมศึกษาบางสถาบัน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

31


ร�ำแม่บท ตามพจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.๒๕๓๐ ค�ำว่า “ร�ำ” หมายถึง แสดงท่าเคลื่อนไหว โดยมีลีลาและแบบท่า เข้ากับเสียงจังหวะเพลงร้องหรือเพลงดนตรี ค�ำว่า “แม่บท” หรือ “แม่ท่า”หมายถึง ท่าที่เป็นหลักของการร�ำ เมื่อรวมแล้วจึงหมายถึง การเคลื่อนไหวท่าที่เป็นหลักของการร�ำให้มีลีลาไปตามเสียง ท่วงท�ำนองจังหวะเพลง ซึ่งร�ำแม่บทนี้ มีทั้งแม่บทเล็ก และแม่บทใหญ่ แม่บทเล็ก จะมีท่าที่เป็นแม่ท่าเพียง ๑๘ ท่า น้อยกว่าแม่บทใหญ่ ได้แก่ ท่าเทพนม ปฐม พรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลา กวางเดินดง หงส์บิน กินรินเลียบถ�้ำ อีกช้านางนอน ภมรเคล้า แขกเต้า ผาลาเพียงไหล่ เมขลาโยน แก้ว มยุเรศฟ้อนใน ยอดตองต้องลม พรหมนิมิต พิสมัยเรียงหมอน มัจฉาชมสาคร และพระสี่กรขว้างจักร ซึ่งแต่ละท่า มีความหมาย เช่น ท่าเทพนม ปฐม พรหมสี่หน้า หมายถึง เทวดาน้อมไหว้เป็นเบื้องต้นแด่พระพรหม เป็นต้น อีกทั้ง เป็นท่าแม่แบบในการแสดงนาฏศิลป์โขนละครต่อมา ซึ่งท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ และผู้เชี่ยวชาญ ด้านนาฏศิลป์ไทย เป็นผู้ประดิษฐ์กระบวนท่าร�ำ โดยเรียงร้อยท่าจากเพลงช้า เพลงเร็ว อันเป็นท่าแม่แบบการฝึกหัด นาฏศิลป์ไทย มีการเชือ่ มท่าจากท่าหนึง่ ไปสูท่ า่ หนึง่ แล้วตัง้ ชือ่ ท่าร�ำผูกเป็นบทกลอนให้สอดคล้องกัน นับเป็นการแสดง ที่สวยงามชุดหนึ่ง ลักษณะการแสดง แสดงได้ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ผู้แสดงมีทั้งฝ่ายตัวพระ และฝ่ายตัวนางใช้ท่าร�ำพื้นฐาน หรือท่าฝึกหัดเบือ้ งต้น และท่านาฏยศัพท์เป็นท่าหลัก ผสมผสานกับลีลาการเคลือ่ นไหวด้วยการใช้ทา่ เชือ่ มจากท่าหนึง่ ไปอีกท่าหนึ่ง ใช้วงปี่พาทย์ประกอบการแสดง โดยออกด้วยเพลงรัวหรือท�ำนองเพลงชมตลาด แล้วผู้ขับร้อง ร้องตามบทร้องในเพลงชมตลาด จบด้วยเพลงเร็ว-ลา หรือเพลงรัว แต่งกายด้วยเครือ่ งแต่งกายทีเ่ รียกว่า ยืนเครือ่ ง ดังนี้ พระ แต่งกายยืนเครื่องพระ จะเป็นเสื้อแขนสั้น หรือแขนยาว ใส่เครื่องประดับ สวมชฎา นาง แต่งกายยืนเครื่องนาง ใส่เครื่องประดับ สวมมงกุฎ หรือรัดเกล้า ใช้แสดงเป็นชุดเอกเทศ และใช้ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ ชุดนารายณ์ปราบนนทุกจากอดีตถึง ปัจจุบนั ซึง่ มีเนือ้ หากล่าวถึงพระนารายณ์เทพเจ้า ทรงอวตารเป็นนางอัปสรมาล่อลวงอสูรนนทุกให้รำ� ตามในท่าร�ำต่างๆ หากร�ำได้ก็จะยอมเป็นคู่ครองด้วย อสูรนนทุกผู้มีนิ้วเพชรเรืองฤทธาอานุภาพที่พระอิศวรเทพเจ้าประทานให้หลงกล ร�ำตาม จึงเผลอใช้นิ้วเพชรนั้น ชี้ขาตัวเองจนหักลง ซึ่งท่าร�ำดังกล่าวข้างต้น ใช้ท�ำนองเพลงชมตลาดมีเนื้อร้องดังนี้ เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน กินรินเลียบถ�้ำอ�ำไพ อีกช้านางนอนภมรเคล้า แขกเต้าผาลาเพียงไหล่ เมขลาโยนแก้วแววไว มยุเรศฟ้อนในนภาพร ยอดตองต้องลมพรหมนิมิต อีกทั้งพิสมัยเรียงหมอน ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

32 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


จะสั ง เกตเห็ น ได้ ว ่ า จากอดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น การแสดงตอนนี้ ก็ ยั ง คงเนื้ อ ร้ อ งแม่ บ ทเล็ ก ไว้ ค งเดิ ม จะมีเปลี่ยนแปลงในบทที่ต่อท้ายเพลงชมตลาด ที่ร้องร่ายเป็นบางครั้งเท่านั้น เป็นบทนางนารายณ์ร�ำต่อ แล้วให้ นนทุกร�ำตาม ที่ว่า “ฝ่ายว่านนทุกก็ร�ำตาม ด้วยความพิสมัยใหลหลง ถึงท่านาคป่วนม้วนหางลง ก็ชี้ตรงเพลาพลันทันใด ด้วยอ�ำนาจนิ้วเพชรสิทธิศักดิ์ ขายักษ์หักลงไม่คงได้ นนทุกล้มคว�่ำขม�ำไป ตกใจไม่เป็นสมประดี จากนั้นปี่พาทย์บรรเลงเพลงรัว ตัวนนทุกจะท�ำท่าชี้นิ้วเพชรลงไปที่ขา แล้วล้มลง ซึ่งบางครั้งพอจบเนื้อร้องเพลง ชมตลาด ปี่พาทย์จะบรรเลงเพลงรัว ให้ตัวนางนารายณ์ท�ำท่าชี้นิ้วที่ขา แล้วนนทุกท�ำตาม ซึ่งมิได้ท�ำให้ผิดเนื้อเรื่อง เพียงแต่ให้การแสดงกระชับขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเวลาที่ก�ำหนดแสดงในแต่ละครั้ง ส่วนแม่บทใหญ่ จะมีท่าที่เป็นแม่ท่า ๖๔ ท่า โดยถูกก�ำหนดตามเนื้อเพลงที่ร้องในท�ำนองเพลง ชมตลาดเช่นเดียวกับแม่บทเล็ก แต่ละท่ามีชอื่ ก�ำหนดเรียกและมีความหมาย อีกทัง้ เป็นท่าแม่แบบในการแสดงนาฏศิลป์ โขน ละครต่อมา บางท่าบางชื่อก็จะซ�้ำและใกล้เคียงกับร�ำแม่บทเล็ก ได้แก่ ท่าเทพนม ปฐม พรหมสี่หน้า สอดสร้อย มาลา ช้านางนอน ผาลาเพียงไหล่ พิศมัยเรียงหมอน กังหันร่อน แขกเต้าเข้ารัง กระต่ายชมจันทร์ จันทร์ทรงกลด พระรถโยนสาร มารกลับหลัง เยื้องกาย ฉุยฉายเข้าวัง มังกรเลียบถ�้ำ กินนรร�ำ ช้างประสานงา ท่าพระรามาโก่งศิลป์ ภมรเคล้า มัจฉาชมวาริน หลงใหลได้สิ้น หงส์ลินลา ท่าสิงโตเล่นหาง นางกล่อมตัวร�ำยั่ว ชักแป้งผัดหน้า ลมพัดยอด ตอง บังสุริยา เหราเล่นน�้ำ บัวชูฝัก นาคาม้วนหาง กวางเดินดง พระนารายณ์ขว้างจักร ช้างหว่านหญ้า หนุมานผลาญ ยักษ์ พระลักษมณ์แผลงอิทธิ์ฤทธี กินนรฟ้อนฝูง ยูงฟ้อนหาง ขัดจางนาง ท่านายสารถี ตระเวนเวหา ขี่ม้าตีคลี ตีโทน โยนทัพ งูขว้างค้อน ร�ำกระบีส่ ที่ า่ จีนสาวไส้ทา่ ชะนีรา่ ยไม้ทงิ้ ขอน เมขลาล่อแก้ว กลางอัมพร กินนรเลียบถ�ำ้ หนังหน้าไฟ ท่าเสือท�ำลายห้าง ช้างท�ำลายโรง โจงกระเบนตีเหล็ก แทงวิไสย กรดสุเมรุ เครือวัลย์พันไม้ ประลัยวาตยั้งคิด ประดิษฐ์ ท�ำ กระหวัดเกล้า ขี่ม้าเลียบค่าย กระต่ายต้องแล้ว ชักซอสามสาย

ปฐม

พรหมสี่หน้า

สอดสร้อยมาลา

ที่มา : สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

33


ร�ำแม่บทใหญ่นเี้ ชือ่ ว่าได้รบั อิทธิพลจากต�ำรานาฏยศาสตร์ของอินเดีย ซึง่ พวกพราหมณ์นำ� เข้ามาเผยแพร่ พร้อมกับศาสนาพราหมณ์ตั้งแต่สมัยสุโขทัย และได้วิวัฒนาการเป็นนาฏศิลป์ไทยที่สมบูรณ์ ประณีตงดงามในสมัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์ เมื่อกรมศิลปากรก่อตั้งโรงเรียนศิลปากร จึงได้น�ำมาบรรจุไว้ในหลักสูตรวิชานาฏศิลป์ละคร โดย คุ ณ ครู มั ล ลี คงประภั ศ ร์ ครู ส อนนาฏศิ ล ป์ ไ ทยได้ คิ ด ประดิ ษ ฐ์ ลี ล าเชื่ อ มท่ า ร� ำ โดยยึ ด ค� ำ กลอนต� ำ ราร� ำ จากหนังสือต�ำราฟ้อนร�ำในรัชกาลที่ ๖ ทั้งนี้ท่านเจ้าคุณครู (พระยานัฏกานุรักษ์) ได้ดูและเห็นชอบแล้ว จึงได้น�ำไป ฝึกหัดนักเรียนโรงเรียนศิลปากรให้รำ� ประกอบการแสดงละครเรือ่ งสุรยิ าคุปต์ ของหลวงวิจติ รวาทการ และใช้แสดงเป็น ชุดเอกเทศ เครื่องแต่งกายของฝ่ายพระ และฝ่ายนางจะนิยมแต่งเช่นเดียวกับแม่บทเล็ก ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป นอกจากนี้ ร�ำแม่บทใหญ่ยังปรากฏอยู่ในการแสดงเบิกโรงเรื่องนาฏราช ผู้ร�ำคือผู้แสดงบทบาทพระอิศวร โดยเนื้อหา กล่าวถึงพระอิศวรและพระนารายณ์เทพเจ้าทรงอวตารเป็นดาบสและดาบสินี เพือ่ ปราบพวกนักบวชชายหญิงทีป่ ระพฤติ ผิดพรหมจรรย์อยู่ ณ ป่าตาระกะ แต่มียักษ์ตนหนึ่งชื่อมูลคะนี ผู้มีหน้าที่เฝ้าป่าได้เข้ามาช่วยปกป้องนักบวชไว้ พระอิศวรจึงส�ำแดงอิทธิฤทธิ์เอาพระบาทเหยียบยักษ์นั้น พร้อมกับวาดกรเป็นท่าทางสวยงาม ซึ่งต�ำนานท่าร�ำถือว่า เป็นท่าร�ำแรกที่เกิดขึ้นในโลก โดยให้ชื่อว่า ท่านาฏราช เมื่อพญาอนันตนาคราชซึ่งตามเสด็จพระนารายณ์ ได้เห็นก็เกิด ความประทับใจ จึงทูลขอให้พระอิศวรทรงร�ำอีกครั้งบนสรวงสวรรค์ พระอิศวรก็ทรงประทานโดยให้บรรดาเทพยดา ทั้งหลายได้ดูการร�ำไปพร้อมๆกัน ซึ่งการร�ำครั้งนี้เป็นร�ำแม่บทที่มีเนื้อร้องยาวเรียกว่า ร�ำแม่บทใหญ่ ปัจจุบันไม่นิยม น�ำมาแสดงเป็นชุดเอกเทศ เนื่องจากมีบทยาวมาก ดังจะเห็นได้จากเนื้อร้องต่อไปนี้ เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลาช้านางนอน ผาลาเพียงไหล่พิศมัยเรียงหมอน กังหันร่อนแขกเต้าเข้ารัง กระต่ายชมจันทร์จันทร์ทรงกลด พระรถโยนสารมารกลับหลัง เยื้องกรายฉุยฉายเข้าวัง มังกรเลียบถ�้ำมุจลินท์ กินนรร�ำซ�้ำช้างประสานงา ท่าพระรามาโก่งศิลป์ ภมรเคล้ามัจฉาชมวาริน หลงใหลได้สิ้นหงส์ลินลา ท่าสิงโตเล่นหางนางกล่อมตัว ร�ำยั่วชักแป้งผัดหน้า ลมพัดยอดตองบังสุริยา เหราเล่นน�้ำบัวชูฝัก นาคาม้วนหางกวางเดินดง พระนารายณ์ฤทธิ์รงค์ขว้างจักร ช้างหว่านหญ้าหนุมานผลาญยักษ์ พระลักษมณ์แผลงอิทธิ์ฤทธี กินนรฟ้อนฝูงยูงฟ้อนหาง ขัดจางนางท่านายสารถี ตระเวนเวหาขี่ม้าตีคลี ตีโทนโยนทัพงูขว้างค้อน ร�ำกระบี่สี่ท่าจีนสาวไส้ ท่าชะนีร่ายไม้ทิ้งขอน เมขลาล่อแก้วกลางอัมพร กินนรเลียบถ�้ำหนังหน้าไฟ ท่าเสือท�ำลายห้างช้างท�ำลายโรง โจงกระเบนตีเหล็กแทงวิไสย กรดสุเมรุเครือวัลย์พันไม้ ประลัยวาตยั้งคิดประดิษฐ์ท�ำ กระหวัดเกล้าขี่ม้าเลียบค่าย กระต่ายต้องแล้วแคล้วถ�้ำ ชักซอสามสายย้ายล�ำน�ำ เป็นแบบร�ำแต่ก่อนที่มีมา 34

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ที่มา : ส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

คุณค่าทางวัฒนธรรม ๑. แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาของบรมครูทางด้านนาฏศิลป์ ที่คิดประดิษฐ์ท่าร�ำต่างๆ จากการเลียนแบบ กิริยาอาการ ท่าทางของคน สัตว์ และธรรมชาติให้เป็นท่านาฏศิลป์ที่สวยงาม ด้วยการใช้สรีระส่วนต่างๆ ของร่างกาย เคลื่อนไหวไปมา ทั้งยังสามารถสื่อความหมายให้ผู้ชมรับรู้ และคล้อยตามได้ ๒. แสดงให้เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาของบรมครูทางด้านดนตรี ทีค่ ดิ ประดิษฐ์ทว่ งท�ำนอง จังหวะให้สอดประสาน สัมพันธ์กับบทร้อง ท�ำให้การแสดงตอนนี้เป็นที่ประทับใจกับผู้แสดง และผู้ชม ๓. ก่อให้เกิดทักษะแก่ผู้แสดง ในการปฏิบัติท่าร�ำ การฟังท่วงท�ำนองจังหวะ การร้องเพลงและจดจ�ำ น�ำไปใช้ในการแสดงอื่นๆ อันก่อให้เกิดการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรีอย่างกว้างขวาง การสืบทอด ศิลปินรุน่ ครู รุน่ พีส่ รู่ นุ่ น้องในสายอาชีพดานนาฏศิลป์ไทยของส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร และสืบทอดจากครูสศู่ ษิ ย์ รุน่ สูร่ นุ่ ในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และสถานศึกษาทีส่ นับสนุนศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรี สถานภาพปัจจุบัน ยังคงอนุรักษ์ไว้ทั้งบทร้อง ท่าร�ำที่เป็นมาตรฐาน และการแต่งกาย ใช้แสดงในโขน และแสดงเป็นชุดเอกเทศ รวมทั้งใช้วัดผลในการสอบเข้ารับการศึกษาในสายอาชีพศิลปิน ด้านนาฏศิลป์ ดนตรีโดยใช้ บทร้องที่เรียบเรียงขึ้นใหม่จากบทเดิม ที่เรียกว่าแม่บทสลับค�ำ แหล่งปฏิบัติ ในปัจจุบันมีหลายสถานที่ อาทิ ส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม วิทยาลัยนาฏศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จะบรรจุร�ำแม่บทเข้าในหลักสูตรการเรียนการสอนรายวิชาทักษะ ขั้นพื้นฐานนาฏศิลป์ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกหัดเรียนรู้แม่ท่า แม่แบบได้อย่างแม่นย�ำ และสามารถน�ำไปต่อยอดในการ เรียนนาฏศิลป์ไทยชั้นสูงต่อไป รวมทั้งสถาบันการศึกษาในระดับประถมศึกษาบางสถาบัน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

35


ร�ำโทน ร�ำโทน เป็นการแสดงระหว่างชาย หญิงร�ำเป็นวง เชิงเกีย้ วพาราสี ประกอบบทร้อง มีเครือ่ งดนตรีประกอบ คือ โทน หรือกลองหน้าเดียว ฉิ่งและกรับ การร่ายร�ำ ผู้ร�ำจะร�ำตามจังหวะหน้าทับของโทน จึงเรียกการแสดงนี้ว่า ร�ำโทน มีผู้น�ำร�ำโทนไปแสดงตามท้องถิ่นเป็นที่แพร่หลาย ไม่ทราบผู้แต่งเพลงเพราะร้องเล่นต่อๆ กันมา จนกระทั่ง ปี พ.ศ. ๒๔๘๗ รัฐบาลสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้มอบหมายให้ กรมศิลปากรปรับปรุงการร�ำโทน ประพันธ์ บทร้อง ก�ำหนดท่าร�ำเฉพาะเพลงเรียกชื่อใหม่ว่า“ร�ำวง” ความเป็นมาของร�ำโทนนั้น พบว่านิยมเล่นกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๔๘๘) หนุ่มสาวเมื่อว่างจากงานก็จะมาร้องร�ำเพื่อความบันเทิง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ร�ำโทน หรือเรียกอีกอย่างว่า ร�ำร�ำมะนา เรียกตามชื่อเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ร�ำโทนเป็นการแสดงที่ร�ำ ใช้พื้นที่ลานกว้าง โดยจัดวางครกต�ำข้าวเป็นจุดศูนย์กลางวง เดิมนั้นใช้ตะเกียงเจ้าพายุให้แสงสว่างวางตะเกียงไว้ที่ ครกต�ำข้าว ต่อมาเปลี่ยนเป็นวางน�้ำดื่มไว้กลางวง ทั้งนี้ตามแต่กลุ่มผู้แสดงในแต่ละพื้นที่จะจัดวางอุปกรณ์ การแสดงร�ำโทนมักแบ่งพื้นที่แสดงออกเป็น ๓ ฝ่าย ฝ่ายนักแสดงหญิง มีการจัดวางที่นั่งไว้ให้นั่งพัก ฝ่ายดนตรี ประกอบด้วยมีนักร้อง นักดนตรี เรียกอีกอย่างว่า ฝ่ายกองเชียร์นั่งพื้นราบ และฝ่ายนักแสดงชาย มักนั่งรวม กับฝ่ายดนตรี ขั้นตอนการแสดง เริ่มจาก การตั้งเครื่องบูชา โดย ศิลปินอาวุโสจะจัดดอกไม้ ธูปเทียน เหล้าขาว บุหรี่ เงินก�ำนลใส่พานบูชา เครื่องดนตรี จากนั้นนักดนตรีจะตีกลองร�ำมะนาตามจังหวะ นักร้องก็จะร้องเพลงบูชาครู ฝ่ายนักแสดงชายจะเข้าไปไหว้ฝ่ายหญิง เป็นการทักทายจะเชิญฝ่ายหญิง ออกมาร�ำฝ่ายหญิงรับไหว้ฝ่ายชายแล้ว ทั้งคู่ ก็จะร่ายร�ำตามกระบวนท่า เดินร�ำเป็นวงทวนเข็มนาฬิกา

ตั้งก�ำนลบูชาครูก่อนการแสดง

เรียบเรียงโดย ผู้ศาสตราจารย์อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์ 36

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

ร�ำโทน หมู่บ้านห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท


เพลงร้องในการร�ำโทนมีนับร้อยเพลง ไม่สามารถระบุผู้ประพันธ์ได้แน่ชัด เนื้อหาแบ่งเป็นตามหมวดได้ ๓ กลุ่มคือ เพลงร้องบูชาครู ร้องเชิญชวนให้ร่ายร�ำ เพลงร้อง เชิงเกี้ยวพาราสี และเพลงร้องเพื่อกล่าวอ�ำลา ตัวอย่างเพลงร�ำโทน ของ หมู่บ้านห้วยกรด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เพลงไหว้ครู “ร�ำร้องฉลองไหว้ครู ท่านผู้ดูชูช่วยด้วยกัน หนาวใจกระไรไหวหวั่นๆ ขออภัยให้ฉันเถิดนะท่านผู้ดู” เพลงขอเชิญมาร�ำวง “ขอเชิญเจ้าเอยๆ ขอเชิญมาสู่วงเอย ขอเชิญหญิงชาย มาแต่งกายร่วมวง เพื่อเป็นเกียรติที่เสริมส่ง ขอเชิญมาสู่วงเอย” เพลงจ�ำใจจาก “ดึกเสียแล้วละหนอ ทางคณะต้องลาไปก่อน จ�ำใจจ�ำจร ด้วยความอาวรณ์และอาลัย ขอให้โชคดี ถ้าโอกาสมีเรามาสนุกกันใหม่ ขอเชิญคุณพระรัตนไตร ขออวยพรให้เจ้าภาพถาวร” การแต่งกายร�ำโทน โดยทั่วไปแล้วแต่งกายธรรมดาตามแต่สะดวก ผู้แสดงแต่งแบบเรียบง่ายเท่าที่มี แต่เมื่อมีการประกวดหรือการแสดงเชิงสาธิต ผู้แสดงมักจะเลือกเครื่องแต่งกายที่เน้นสีสัน เครื่องประดับ แต่งหน้า ท�ำผม ให้ดูดีกว่าการแสดงพื้นบ้านทั่วไปมักจัดเครื่องแต่งกายที่เป็นชุดไทยตัดเย็บส�ำเร็จรูปโทนสีเดียวกันเป็นต้น

โทนที่ใช้การแสดง การแต่งกาย ผู้แสดงร�ำโทน จังหวัดลพบุรี

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

37


ร�ำโทน เป็นการแสดงที่สะท้อนคุณค่าทางวัฒนธรรม สื่อผ่าน เพลงที่ร้องให้ทราบถึงยุคสมัยนั้น เช่น ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เพลงร้ อ งเป็ น เพลงที่ เ น้ น ค� ำ กระชั บ ไม่ ย าวมาก ง่ายต่อความจ�ำ และร้องช�้ำๆ กันหลายรอบ เช่น “อยุธยาๆ ของเราแต่เก่าถูกพม่ามันเผา ไทยเราเจ็บช�้ำน�้ำใจ พระเจ้าตากสินยกสู้แคว้นแดนให้ ยกพลขับไล่ไพรีเอากรุงศรีคืน” “พ.ศ.๒๔๘๙ ไทยเราเงี ย บเหงาเสี ย ทุ ก คน สมเด็ จ ฯ อานันทมหิดล ท่านสิ้นพระชนม์แต่เสียยังเยาว์” วัฒนธรรมการไหว้ การให้ความเคารพ สังเกตจากฝ่ายชาย ให้เกียรติฝ่ายหญิง เมื่อก่อนเริ่มการแสดง ฝ่ายชายจะเดินไปไหว้ฝ่ายหญิง ฝ่ายหญิงก็รับไหว้ ซึ่งสะท้อนวัฒนธรรม การไหว้ ของไทยได้ชัดเจน ร�ำโทน-ร�ำวง มักใช้แสดงต้อนรับผู้มาเยือนหรือสร้างความสนุกสนานในงานเลี้ยงเป็นเอกลักษณ์ของไทย ทีเ่ ชิญชวนให้ผรู้ ว่ มงานมาร่วมร�ำวงอย่างสนุกสนาน พบมากในงานเลีย้ งต้อนรับหรืองานเลีย้ งทีต่ อ้ งการให้แขกผูม้ าเกิด ความสนุก รู้จัก คุ้นเคยกันโดยใช้ร�ำวงเป็นสื่อในการเชื่อมความสัมพันธ์รู้จักกัน จังหวะเพลง เนื้อหาของเพลงที่สนุก เร้าใจ จึงเป็นส่วนท�ำให้ผู้ที่มาร�ำวงมีความสนุกสนาน คุ้นเคยกันได้ไม่เก้อเขินในงานเลี้ยง การสืบทอดร�ำโทน ปัจจุบันสืบทอดในสถาบันการศึกษา จัดการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นโดย ศิลปิน อาวุโสเป็นผู้ถ่ายทอด การร้องและการร�ำ ให้กับนักเรียนในสถาบัน อีกด้านหนึ่งสืบทอดตามกลุ่มชมรบผู้สูงอายุ ชมรมแม่บ้านแต่ละท้องถิ่น เป็นกิจกรรมสันทนาการและเป็นการเพิ่มรายได้พิเศษจากการจัดการแสดงในแต่ละครั้ง การร้องเพลง ถ่ายทอดโดยการท่องจ�ำและร้องซ�้ำๆ จนเคยชิน ผู้แสดงมักร้องไปร�ำไปในขณะเดียวกัน ร�ำโทน ปัจจุบันจัดแสดงเชิงสาธิตตามแหล่งสถานศึกษา บางที่แสดงในงานแก้บน งานมหรสพประจ�ำปี ผู้แสดงมีทั้งวัยเด็ก และวัยกลางคนเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบัน ยังคงพบร�ำโทนได้ที่จังหวัดนครสวรรค์ ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี สุพรรณบุรี ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี เป็นต้น เอกสารอ้างอิง

กรมศิลปากร. ร�ำวง. โรงพิมพ์การศาสนา. ๒๕๑๔ อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์. การศึกษาร�ำวงประกอบบทหมู่บ้านห้วยกรด อ�ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท. การวิจัยภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๔๐ อมรา กล�่ำเจริญ.สุนทรียนาฏศิลป์ไทย. ส�ำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพ ๒๕๓๑ http://www.baanjomyut.com/library_2/extention-3/hop_singles/index.html 38

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


หนังประโมทัย

ตัวหนังพระฤาษี

ตัวหนังบักตื้อ

ตัวหนังบักแก้ว

หนั ง ประโมทั ย คื อ หนั ง ตะลุ ง ของภาคอี ส าน โดยการน� ำ หมอล� ำ กั บ หนั ง ตะลุ ง มารวมกั น ค� ำ ว่ า “หนังประโมทัย” ท้องที่บางแห่งในภาคอีสานเรียก หนังปราโมทัย หรือ หนังปะโมทัย ซึ่งมาจากค�ำๆ เดียวกันคือ “ปราโมทย์” ซึ่งหมายถึงความบันเทิงใจ ความปลื้มใจ ดังนั้นหนังประโมทัย จึงหมายถึงหนังที่ให้ความสนุกสนาน ประโมทัยหรือปราโมทัยเป็นชื่อของคณะละครร้องซึ่งมีประวัติความเป็นมาดังนี้ ปลายรัชกาลที่ ๕ นั้น การละครของไทยได้พัฒนาโรงละครเกิดขึ้นหลายโรงทั้งเจ้านายเชื้อพระวงศ์ก็ให้การสนับสนุนโดยมีละครของตนเอง ขึน้ หลายคณะ ฉะนัน้ จึงได้ชว่ ยกันสนับสนุนดัดแปลงปรับปรุงขึน้ ตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ ๕ และนิยมแพร่หลายสืบทอดมา จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๗ ละครร้องในช่วงนี้แบ่งออกเป็น ๒ แบบ ตามลักษณะความเป็นมาคือละครร้องแบบไทยเดิม และละครร้องสลับพูด ผู้ให้ก�ำเนิดละครร้องสลับพูด คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ โดยทรงดัดแปลงจากละครชาวตะวันตก ให้ผู้หญิงแสดงล้วนๆ ใช้ตลกผู้ชายเป็นตัวประกอบด�ำเนินเรื่องด้วยการร้อง ผู้เรื่องแบบชีวิตสามัญชน บางครั้งเรียกละครแบบนี้ว่าละครปรีดาลัย (กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์) สร้างโรงละคร ปรีดาลัยแทนโรงละครนฤมิตรซึง่ ถูกไฟไหม้ทแี่ พร่งนราถนนบ้านตะนาง แสดงในวันเสาร์และวันอาทิตย์) กรมพระนราธิป ประพันธ์พงศ์ ทรงเป็นผูป้ ระพันธ์บทและก�ำกับการแสดงเอง ทรงเรียกละครร้องของพระองค์วา่ คณะละคร “นฤมิตร” ละครร้องเรื่องแรกที่คณะนฤมิตรน�ำออกแสดง คือเรื่อง อาหรับราตรีเป็นที่นิยมของประชาชนมาก และรัชกาลที่ ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้พระราชทานเกียรติ์ให้เป็นละครหลวง โดยเติมค�ำว่าหลวงหน้าชื่อคณะ เป็นละครหลวงนฤมิตร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ ละครที่แสดงสืบต่อมาจากละครปรีดาลัยมีหลายคณะ ได้แก่ ปราโมทัย ปราโมทย์เมือง ประเทืองไทย วิไลกรุง ไฉวเวียง เสรีส�ำเริง บันเทิงไทย เป็นต้น เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ปิยพันธ์ แสนทวีสุข และชุมเดช เดชภิมล พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

39


จะเห็นได้ว่าในขณะที่ละครร้องก�ำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายอยู่นั้นเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่มี หนังประโมทัยเกิดขึ้น ช่วงที่คณะละครนฤมิตรได้เป็นละครหลวง พ.ศ. ๒๔๕๖ ห่างจากช่วงที่ตั้งหนังตะลุงคณะฟ้า บ้านทุ่งซึ่งเป็นคณะแรกในอุบลราชธานี ใน พ.ศ. ๒๔๖๙ เพียง ๑๓ ปี ละครร้องคณะที่ตั้งขึ้นต่อจากคณะหลวงนฤมิต ร ก็คือคณะปราโมทัยและปราโมทย์เมือง จะเห็นได้ว่าร่วมสมัยกัน จึงน่าจะเป็นไปได้ที่ทางกรุงเทพได้ตั้งคณะละคร ร้องซึง่ เป็นของใหม่กำ� ลังเป็นทีน่ ยิ มในขณะนัน้ ขึน้ หลายคณะ ต่างก็คดิ หาชือ่ มาตัง้ คณะละครของตัวต่างๆ กัน ได้มผี ยู้ มื เอาชือ่ ละครคณะหนึง่ ในสมัยนัน้ มาตัง้ ชือ่ เรียกหนังตะลุงอีสานซึง่ ก็เป็นของใหม่สำ� หรับภาคอีสานเช่นกัน หนังประโมทัย แถบจังหวัดอุบลราชธานีกลุม่ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการซึง่ มาก�ำกับราชการในยุคนัน้ จึงน�ำชือ่ คณะละครร้อง คือคณะประโมทัยมาตั้งชื่อหนังตะลุงอีสาน และเมื่อพิจารณาเชิงภาษาแล้วจะเห็นได้ว่าประโมทัยไม่ใช่ค�ำภาษาถิ่นแต่ ความหมายเหมาะเจาะที่จะน�ำมาตั้งชื่อการละเล่นเพื่อความบันเทิงใจ อนึ่งการละเล่นที่มีชื่อให้ความหมายว่า ความบันเทิงใจ บางแห่งเรียกหนังบักตือ้ หนังบักป่องบักแก้ว หนังบักปอดบักแก้ว หรือชือ่ ตามรูปตัวละครตลกทีส่ ำ� คัญ หรือเป็นรูปตัวละครที่ออกประกาศเรื่องที่แสดงในคืนนั้นให้ผู้ชมทราบ ส�ำหรับหนังประโมทัยนั้นมีองค์ประกอบส�ำคัญดังต่อไปนี้ คือ ตัวหนัง โรงหนัง ผู้เชิด บทพากย์ บทเจรจา ดนตรีประกอบ ตลอดจนแสงเสียงที่ใช้ในการแสดง เป็นต้น คณะหนังประโมทัยในภาคอีสาน นิยมเรียกเป็นคณะ ในคณะหนึ่งๆ จะมีผู้เล่นประมาณ ๕-๑๐ คน โดยท�ำหน้าที่เป็นคนเชิดหนัง คนพากย์และเจรจา และนักดนตรีซึ่งอาจเพิ่มขึ้นตามจ�ำนวนเครื่องดนตรี เครื่องดนตรี ประกอบด้วย กลองสองหน้า แคน กลองชุด เบส คีย์บอร์ด กีตาร์ ฉิ่ง และระนาดเอก เป็นต้น เวทีที่ใช้แสดงจะอยู่ระดับ สายตา ส่วนจอจะสูงจากเวทีประมาณ ๑ เมตร ขนาดของเวทีกว้างประมาณ ๑.๘๐ เมตร แสงไฟที่ส่องจะใช้ตะเกียง โป๊ะ (เจ้าพายุ) ต่อมาใช้หลอดไฟประมาณ ๖๐ หรือ ๗๐ แรงเทียน ผู้เชิดและผู้พากย์เป็นคนเดียวกันปัจจุบันได้พัฒนา ตามความนิยมของผู้ชม คือใช้ท�ำนองล�ำซิ่งเพื่อความสนุกสนาน เนื้อเรื่องที่ใช้แสดงมีหลายเรื่องแต่ส่วนมากนิยมเล่น เรื่องรามเกียรติ์ หรือ สังข์สินชัย การไหว้ครูเป็นพิธีกรรมก่อนการแสดง เมื่อเริ่มการแสดงต้องไหว้ครูในจอหรือไหว้ครูในการแสดง อีกครั้ง โดยการออกรูปพระฤๅษีและการออกรูปตัวแสดงทั้งหมด การเชิด หนังประโมทัยนั้น ผู้เชิดจะยืนเชิดเมื่อผู้เชิด จับตัวหนังตัวใด ผู้เชิดก็จะพากย์ และเจรจาตามตัวหนังนั้นไป การพากย์หนังประโมทัยด้วยภาษาถิ่นง่ายๆ ว่า “ฮ้องหนังตะลุง” (ร้องหนังตะลุง) และเรียกการเจรจาว่า “ความเว้า” (ค�ำพูด) บทพากย์หนังประโมทัย มีทั้งที่เป็น กลอนแปด กลอนบทละครแบบภาคกลาง และกลอนล�ำชนิดต่างๆ เช่น ทางยาง ทางสั้น เต้ย เป็นต้น โอกาสในการ แสดงของหนังประโมทัยจะแสดงตามงานเทศกาลและงานมงคลต่างๆ ที่ได้รับว่าจ้างให้ไปแสดง หนังประโมทัยถือว่าเป็นการแสดงพื้นบ้าน เป็นมหรสพอย่างหนึ่งของภาคอีสานเฉกเช่นเดียวกับ การแสดงชนิดอื่นๆ เช่น หมอล�ำ คุณค่าของหนังประโมทัยมีมากมาย โดยให้ความเพลิดเพลินสนุกสนาน ซึ่งท�ำให้

40

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ผู้ชมได้สนุกสนานครึ้นเครงด้วยความหัวเราะด้วยความขบขัน หนังประโมทัยมักมีส่วนประกอบในเนื้อเรื่องที่แสดงให้ ผู้ชมเข้าใจในสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม เข้าใจในชีวิต และให้ความรู้ในด้านต่างๆ การแสดงของหนั ง ประโมทั ย มั ก จะมี ก ารแทรกพุ ท ธภาษิ ต และคติ ธ รรม รวมทั้ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ฝ่ายอธรรมย่อมพ่ายแพ้แก่ฝ่ายธรรมะ ผู้ที่ท�ำความดีแม้ตกยากก็มีผู้อุปการะ ผู้ท่ีท�ำกรรมชั่วก็จะประสพกับภัยพิบัติ ในที่สุด หนังประโมทัยช่วยอนุรักษ์ไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอันเกี่ยวเนื่องกับการแสดงของหนังประโมทัย อันเป็น มรดกทางวัฒนธรรมชิ้นหนึ่งของภาคอีสาน ที่ชี้ให้เห็นถึงอารยธรรมบางอย่างของอีสาน หนังประโมทัยเป็นมหรสพ ที่ผสมผสานกันของศิลปะพื้นบ้านหลายแขนง นับแต่การสร้างรูปหนัง บทพากย์ บทเจรจา ดนตรี การล�ำ และศิลปะ ในการเชิดตัวหนัง สิ่งเหล่านี้ได้หล่อหลอมขึ้นมาจากขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมท้องถิ่น แล้วสะท้อนออกมาในรูป ของมหรสพที่ให้ความบันเทิง ซึ่งมีคติความคิดของผู้คนในถิ่นนั้นๆ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ สอดแทรกด้วย นอกจากนัน้ ในการแสดงของหนังประโมทัยยังมีการสอดแทรกองค์ความรูต้ า่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นประวัตศิ าสตร์ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี การเมือง การปกครอง ตลอดถึงวิถีชีวิต ในชุมชน จึงจะเห็นได้ว่าหนังประโมทัยมีคุณค่ายิ่งต่อสังคม หนังประโมทัยในปัจจุบันได้ลดความนิยมลง อันเนื่องมาจาก เทคโนโลยีและรับวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามาท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรม แต่ยังมีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นในวง เนื่องจากการแสดงชนิดนี้ ยังคงได้รับความนิยมในคนบางกลุ่มหรือบางท้องที่ในภาคอีสาน และมี หน่วยงานราชการสถานศึกษาหลายแห่งได้น�ำการแสดงหนังประโมทัย ไปเผยแพร่ ห รื อ บรรจุ เ ป็ น หลั ก สู ต รในการเรี ย น เช่ น มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ เป็นต้น หนังประโมทัยในปัจจุบนั เหลือเพียงไม่กคี่ ณะยังรับงานแสดง ทั่วไปตามงานบุญหรืองานประเพณีต่างๆ ซึ่งในอดีตมีเกือบร้อยคณะ ในภาคอี ส าน สามารถพบเห็ น การแสดงได้ ทั่ ว ไปตามงานบุ ญ หรื อ งานประเพณีต่างๆ ทั่วภาคอีสาน เอกสารอ้างอิง

เจริญชัย ชนไพโรจน์. ดนตรีและการละเล่นพื้นบ้านอีสาน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๒๖. ชุมเดช เดชภิมล. การศึกษาเรือ่ งหนังประโมทัยในจังหวัดร้อยเอ็ด. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๓๑ บุญเจริญ บ�ำรุงชู. หนังประโมทัยอีสาน. ปัตตานี : ปัตตานีการช่าง, ๒๕๕๓ รัถพร ซังธาดา. หนังประโมทัย : หนังตะลุงอีสาน. กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ์, ๒๕๒๖ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

41


งานช่างฝีมือดั้งเดิม ความหมายและประเภท

งานช่างฝีมือดั้งเดิม หมายถึง ภูมิปัญญา ทักษะฝีมือช่าง การเลือกใช้วัสดุ และกลวิธีการสร้างสรรค์ ที่แสดงถึงอัตลักษณ์ สะท้อนพัฒนาการทางสังคม และวัฒนธรรมของกลุ่มชน ประเภทของงานช่างฝีมือดั้งเดิม ๑. ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า หมายถึง ผลผลิตที่เกิดจากการทอ ย้อม ถัก ปัก ตีเกลียว ยก จก มัดหมี่ พิมพ์ลาย ขิด เกาะ/ล้วง เพื่อใช้เป็น เครื่องนุ่งห่ม และแสดงสถานภาพทางสังคม ๒. เครื่องจักสาน หมายถึง ภาชนะเครื่องใช้ประจ�ำบ้านที่ท�ำจากวัตถุดิบในท้องถิ่น เช่น ไผ่ หวาย กระจู ล�ำเจียก โดยน�ำมาจักและสาน จึงเรียกว่า เครื่องจักสาน กลวิธีในการท�ำเครื่องจักสาน ได้แก่ การถัก ผูกรัด มัด ร้อย โดยใช้ตอก หวาย เพื่อให้เครื่องจักสานคงทนและคงรูปอยู่ได้ตามต้องการ ๓. เครื่องรัก หมายถึง หัตถกรรมที่ใช้รักเป็นวัสดุส�ำคัญในการสร้างผลงาน เช่น ปิดทองรดนํ้า ภาพก�ำมะลอ ประดับมุก ประดับกระจกสี ปั้นกระแหนะ และเขิน รักหรือยางรัก มีคุณลักษณะเป็นยางเหนียว สามารถเกาะจับพื้นของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ประสงค์จะทา หรือถมทับหรือเคลือบผิวได้ดี ท�ำให้เป็นผิวมันภายหลังรักแห้ง สนิท มีคุณภาพคงทนต่อความร้อน ความชื้น กรดหรือด่างอ่อนๆ และยังเป็นวัสดุที่ใช้เชื่อมสมุกหรือสีเข้าด้วยกัน ๔. เครือ่ งปัน้ ดินเผา หมายถึง หัตถกรรมทีใ่ ช้ดนิ เหนียวเป็นวัตถุดบิ หลักในการผลิต มีทงั้ ชนิดเคลือบและ ไม่เคลือบ โดยที่เนื้อดินเหนียวต้องมีส่วนผสมของทราย แม่นํ้าที่เป็นทรายเนื้อละเอียดและช่วยให้เนื้อดินแห้งสนิท ไม่แตกร้าว ดินเหนียวที่ใช้ท�ำเครื่องปั้นดินเผาจากที่ต่างๆ ให้สีแตกต่างกัน ๕. เครื่องโลหะ หมายถึง สิ่งที่มีวัสดุหลักเป็นเหล็ก ทองเหลืองหรือทองแดง เครื่องโลหะที่ท�ำจากเหล็ก นิยมท�ำโดยการเผาไฟให้อ่อนตัวและตีเหล็กเป็นรูปทรงต่างๆ เครื่องโลหะที่ท�ำจากทองเหลือง นิยมน�ำทองเหลืองมา เผาจนหลอมเหลวแล้วจึงน�ำไปเทลงในแบบตามลักษณะที่ต้องการเสร็จแล้วน�ำมาตกแต่ง ส่วนเครื่องโลหะที่ท�ำจาก ทองแดง มีการน�ำทองแดงมาใช้เป็นโลหะเจือหลักส�ำหรับผลิตตัวเรือนของเครื่องประดับโลหะเงินเจือ ๖. เครื่องไม้ หมายถึง งานฝีมือช่างที่ท�ำจากไม้ซุงหรือไม้แปรรูปเป็นท่อน เป็นแผ่น เพื่อใช้ในงานช่าง ก่อสร้างประเภทเครื่องสับ เครื่องเรือน เครื่องบูชา เครื่องตั้ง เครื่องประดับ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องศาสตรา เครื่องดนตรี เครื่องเล่น และยานพาหนะ โดยอาศัยเทคนิควิธีการแกะ สลัก สับ ขุด เจาะ กลึง ถาก ขูด และขัด

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

42 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๗. เครื่องหนัง หมายถึง งานหัตถกรรมพื้นบ้านที่ท�ำมาจากหนังสัตว์โดยผ่านกระบวนการหมักและ ฟอกหนังเพื่อไม่ให้เน่าเปื่อย และให้เกิดความนิ่มนวลสามารถบีบงอได้ตามที่ต้องการ เครื่องหนังนิยมน�ำไปใช้ในงาน ด้านศิลปะการแสดง รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีหนังเป็นส่วนประกอบ ๘. เครือ่ งประดับ หมายถึง งานช่างฝีมอื ทีป่ ระดิษฐ์ขนึ้ เพือ่ การตกแต่งให้เกิดความงดงาม เริม่ ต้นจากการ ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นน�ำมาผลิตและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ โดยใช้อัญมณีและโลหะมีค่าต่างๆ ๙. งานศิลปกรรมพื้นบ้าน หมายถึง งานที่มีการแสดงอารมณ์สะท้อนออกทางฝีมือการช่างให้เห็น ประจักษ์เป็นรูปธรรมเพื่อตอบสนองต่อการยังชีพและความต้องการด้านคุณค่าความงาม เช่น งานเขียน งานปั้น งานแกะสลัก งานหล่อ เป็นต้น ๑๐. ผลิตภัณฑ์อย่างอื่น หมายถึง งานช่างฝีมือดั้งเดิมที่ไม่สามารถจัดอยู่ใน ๙ ประเภทแรกได้ ซึ่งอาจ เป็นงานช่างฝีมือที่ประดิษฐ์หรือผลิตขึ้นจากวัสดุในท้องถิ่นหรือจากวัสดุเหลือใช้ เป็นต้น

เกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียน

๑. มีต้นก�ำเนิดและ/หรือถูกน�ำมาพัฒนาในชุมชนนั้นจนเป็นที่ยอมรับและมีการสืบทอด ๒. แสดงถึงทักษะฝีมือ ภูมิปัญญา และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ๓. มีการพัฒนาเครื่องมือ วัสดุ เพื่อสนองต่อกระบวนการผลิต ๔. ผลิตเพื่อประโยชน์ใช้สอยในวิถีชีวิต ขนบประเพณี ความเชื่อ วัฒนธรรมหรือการประกอบอาชีพ ของคนในชุมชน ๕. มีงานช่างแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ หรืออัตลักษณ์เฉพาะท้องถิ่นหรือชาติพันธุ์นั้นๆ และเป็น ความภาคภูมิใจของคนในชุมชน ๖. มีคุณค่าทางศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม มีความหมาย และคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นหรือชาติพันธุ์นั้น ๆ ๗. งานช่างที่ต้องได้รับการคุ้มครองอย่างเร่งด่วน เสี่ยงต่อการ สูญหาย หรือก�ำลังเผชิญกับภัยคุกคาม ๘. คุณสมบัติอื่นๆ ที่คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าเหมาะสม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

43


ผ้าทอเกาะยอ ผ้าทอเกาะยอ หรือผ้าเกาะยอ เป็นผ้าทอพืน้ เมืองของชาวต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มีชื่อเสียงมากจัดเป็นหัตถกรรมพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ส�ำคัญยิ่งของเกาะยอ ซึ่งเป็นเกาะเล็กๆ ในทะเลสาบสงขลา ห่างจากตัวเมืองสงขลาประมาณ ๖ กิโลเมตร ประกอบด้วย ๙ หมู่บ้าน ชาวเกาะยอส่วนใหญ่อพยพมาจาก ต�ำบลน�้ำน้อย อ�ำเภอหาดใหญ่ และจากต�ำบลทุ่งหวัง อ�ำเภอเมืองสงขลา ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ อาชีพ ส�ำคัญคือ การประมง การท�ำสวนผลไม้ และการทอผ้า เรียกว่า “ผ้าทอเกาะยอ” ชาวเกาะยอรู้จักวิธีทอผ้ามาตั้งแต่ ครั้งที่มีคนอพยพมาตั้งถิ่นฐานท�ำมาหากินอยู่บนเกาะ และมีการสอนสืบต่อกันภายในครัวเรือน การทอผ้าของเมือง สงขลาคงมีความสัมพันธ์กับการทอผ้าของเมืองนครศรีธรรมราช มีการถ่ายทอดโดยครูทอผ้ากลุ่มเดียวกัน จากหลัก ฐานพบว่าในสมัยกรุงธนบุรีมีการเกณฑ์ช่างทอผ้าจากเมืองสงขลาไปยังเมืองนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๓๑๐ ด้วย ทั้งนี้ เจ้าพระยานครศรีธรรมราชได้มหี นังสือให้กรมการเมืองออกไปน�ำผูห้ ญิงช่างทอหูก (ทอผ้า) บุตรสาวกรมการเมืองสงขลา และบุตรสาวราษฎรเมืองสงขลา พาไปเมืองนครศรีธรรมราชหลายสิบคน หลวงสุวรรณคีรีสมบัติ เจ้าเมืองสงขลา ได้น�ำความขึ้นกราบบังคมทูลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (พ.ศ.๒๓๑๐-๒๓๒๕) ว่า เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชใช้อ�ำนาจกับเมืองสงขลามากเกินไป จึงไม่ขอขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราชอีกต่อไป สมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีจึงโปรดเกล้าฯ ให้มีตราออกไปยังเมืองนครศรีธรรมราชให้ยกเมืองสงขลาขึ้นกับกรุงธนบุรีโดยตรง การทอผ้าเกาะยอใช้กี่ทอเป็นกี่มือและใช้ “ตรน” แทนกระสวย ย้อมผ้าเองโดยใช้สีที่ได้จากธรรมชาติ ตามแบบพื้นบ้าน ส่วนมากจะได้จากต้นไม้ เช่น เปลือก แก่น ราก ล�ำต้นและผล เช่นสีแดงได้จากรากยอและอิฐ สี ต องอ่ อนได้จ ากผลแถลงหรือมะพูด สี เ หลื อ งได้ จากขมิ้ นชั น แก่ นเข (แกแล) สี ส ้ ม (แดงเลื อ ดนก) ได้ จ าก สะตี สีลูกหว้า (ม่วงอ่อน) ได้จากลูกหว้า สีเขียวได้จากเปลือกสมอ ใบหูกวาง ครามแล้วย้อมทับด้วยน�้ำจากผลแถลง อีกทีหนึ่ง สีครามได้จากต้นคราม ผ้าทอเกาะยอทอมีทั้งผ้าพื้นและ ผ้ายกดอกลวดลายต่างๆ บ้าง พ.ศ. ๒๔๗๕ กล่าวว่าชาวบ้านเกาะยอได้น�ำผ้าทอ เกาะยอลายคอนกเขา หรือลายก้านแย่งขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ซึ่งพระองค์ได้พระราชทานนามใหม่ว่า ลายราชวัตถ์ นอกจากนี้ มีบันทึกว่า พ.ศ. ๒๔๘๒ กรมการเมืองสงขลาได้ขอครูทอผ้าชาวจีน ๒ คน ชื่อนายยี่สุ่นและนายพุดดิ้นจากเมืองเซี่ยงไฮ้ให้มาสอน การทอผ้าด้วยกี่กระตุกให้ชาวเกาะยอที่วัดแหลมพ้อหรือวัดหัวแหลม และเปลี่ยนการย้อมจากสีธรรมชาติเป็นสีเคมี แต่สีคุณภาพไม่ดีพอ ท�ำให้เส้นใยด้ายแข็ง เมื่อทอเป็นผืนผ้าแล้วเนื้อผ้าหยาบ ผ้ายับง่าย สีตก ผ้าทอมือจึงแข่งกับ ตลาดผ้าจากโรงงานไม่ได้ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ ผ้าจากต่างประเทศได้รบั ความนิยมมากขึน้ เพราะราคาถูก เนือ้ นิม่ ไม่ยับง่ายเหมือนผ้าทอเกาะยอ จึงท�ำให้ผ้าทอเกาะยอไม่ได้รับความนิยม ขายไม่ได้ จึงเลิกทอและถูกลืมไปกว่า ๓๐ ปี เรียบเรียงโดย ณัฏฐภัทร จันทวิช และส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสงขลา พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

44 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


พ.ศ.๒๕๑๖ ได้มีการฟื้นฟูการทอผ้าที่เกาะยอขึ้นอีกครั้งหนึ่งโดยน�ำผ้าแบบดั้งเดิม ส่วนหนึ่งที่เก็บรักษา และจัดแสดงอยูท่ พี่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ วัดมัชฌิมาวาส (วัดกลาง) อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา และมีตวั อย่าง ลายจัดแสดงที่สถาบันทักษิณคดีศึกษา เกาะยอมาเป็นต้นแบบ และมีเจ้าหน้าที่จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มาช่วยอบรมการทอผ้าและวิธีย้อมสีเป็นเวลา ๑ เดือน ท�ำให้ผ้าทอเกาะยอมีคุณภาพดีขึ้น และสีสวยงามตามหลักวิชา ต่อมาได้มีการพัฒนาน�ำเส้นใยสังเคราะห์มาทอแทนเส้นด้ายจากฝ้ายรวมทั้งได้รับ พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ โปรดเกล้าฯ ให้จัดครูไปสอนการทอผ้าที่จังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลาด้วย หลังการฟื้นฟูการทอผ้าได้ ๖ เดือน ผ้าทอเกาะยอก็เริ่มออกสู่ตลาดและเป็นแรงจูงใจให้ช่างทอหันมาทอผ้าเพิ่มมากขึ้น การผลิตผ้าทอเกาะยอแต่เดิม ชาวบ้านนิยมปลูกฝ้ายชนิดสีขาวและสีกากีขนึ้ ใช้ในการทอผ้า แต่ใยฝ้ายไม่ดี เปือ่ ย และเสียง่าย ปัจจุบนั จึงนิยมซือ้ วัสดุ ส�ำเร็จรูปประเภทเส้นใยสังเคราะห์ เช่น เส้นด้ายโทเร โปลีเอสเตอร์ และไหมเป็นวัสดุที่ใช้ในการทอ กับทั้งนิยมไหม เทียมมากขึ้นเพราะคงทนกว่าและไม่ยับง่าย ในการผลิตมีการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ส�ำหรับเตรียมเส้นยืน การเตรียม เส้นพุ่ง และการทอในกี่มือแบบเดิม

ลายราชวัติ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

45


ส�ำหรับผ้าทอเกาะยอในอดีตมีตัวอย่างให้ศึกษาพบว่าทอได้อย่างสวยงาม มีผ้ายกดอกทั้งยกไหมและยก ดิ้นได้อย่างน่าสนใจ เพราะมีลักษณะคล้ายคลึงกับผ้ายกดอกโบราณของเมืองนครศรีธรรมราชและของภาคเหนือ ดังลายรูปแบบที่น่าสนใจ ได้แก่ ลายราชวัตถ์ ลายดอกพะยอม ลายดอกพิกุล ลายดอกพิกุลล้อมลายผ้าเกี่ยว ลายดอกโบตั๋น ลายข้าวหลามตัด ลายก้านแย่ง ลายดอกบุหงา ลายคดกริช ลายดอกสุคนธ์ ลายตาหมากรุก ลายลูกแก้ว ปัจจุบนั มีกลุม่ แม่บา้ นทีร่ วมตัวกันก่อตัง้ กลุม่ ทอผ้าเกาะยอหลายกลุม่ เช่น กลุม่ ทอผ้าร่มไทร หมู่ ๕ ต�ำบล เกาะยอ จังหวัดสงขลา กลุ่มทอผ้าดอกพิกุล ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา กลุ่มราชวัตถ์แสง ส่องหล้า ๑ มีโรงเรือนทอผ้าตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๓ ต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นกลุ่มทอผ้าที่ยึดการทอ ผ้าเกาะยอเป็นอาชีพอย่างจริงจัง มีการฝึกหัดสมาชิกในกลุ่มทั้งในระดับแม่บ้านและเยาวชน ให้เรียนรู้ถึงกรรมวิธี ในการทอผ้าเกาะยอ เพื่อให้บุคคลเหล่านี้ สามารถน�ำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพที่ยั่งยืนได้ ซึ่งดูได้จากปริมาณ ของการผลิตผ้าที่กลุ่มราชวัตถ์แสงส่องหล้า ๑ สามารถผลิตได้ประมาณ ๒,๐๐๐ หลาต่อเดือน โดยกลุ่มสมาชิกจะได้ รับ ค่าตอบแทนจากงานคนละ ๔,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ บาทต่อเดือน ประธานกลุ่มได้น�ำรูปเรือใบมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของ สินค้าเนื่องจากเห็นว่าในสมัยก่อน ชาวเกาะยอได้มีการค้าขายโดยใช้เรือใบเป็นพาหนะในการขนส่งสินค้าออกสู่ ตลาด ความประณีตในการทอ เส้นใยทีม่ สี สี นั สดใส ประกอบกับความวิจติ รงดงามของลวดลายท�ำให้ผา้ เกาะยอมีความ เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นกลายเป็นสินค้าหนึ่งที่ขึ้นชื่อของต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมืองจังหวัดสงขลา แล้วในปัจจุบัน

ลายคดกริช

46

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

ลายดอกพิกุลล้อม


ผ้าทอเมืองอุบลฯ มรดกภูมิปัญญาทางด้านวัฒนธรรมในเรื่องผ้าทอของจังหวัดอุบลราชธานี ถือเป็นมรดกภูมิปัญญา ทางด้านวัฒนธรรมทีม่ เี อกลักษณ์โดดเด่น ในด้านรูปแบบ ลวดลายของผ้าทีท่ อขึน้ ใช้ในเมืองอุบลฯ ตัง้ แต่ชนชัน้ เจ้าเมือง ลงมาถึงสามัญชนธรรมดา ตามหลักฐานในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ เจ้าอยู่หัว ทรงมี พระราชหัตถเลขาตอบกลับสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ เมื่อครั้งส่งผ้าทอของเมืองอุบลฯ ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายในครั้งนั้น ทรงกล่าวถึง “ผ้าเยียรบับลาว” นับเป็นหลักฐานที่ส�ำคัญว่า เมืองอุบลราชธานีในอดีต ก็มีสิ่งถักทอมากมายหลายชนิดบ่งบอกถึงฐานานุศักดิ์ แบ่งระบบชนชั้นผู้ปกครองได้อย่างชัดเจน ถือเป็นการพัฒนา ในด้านรูปแบบ และลวดลายของการแต่งกายของผู้คนสมัยนั้นได้อย่างชัดเจน ชนิดผ้าทอของเมืองอุบลฯ หากจะแบ่งตามชนิด และประเภท สามารถแบ่งได้ ดังนี้ ๑. ผ้าเยียรบับลาว ๒. ผ้าซิ่นยกดอกเงิน-ดอกค�ำ ลายสร้อยดอก หมาก ลายสร้อยพร้าว(ลายจัน่ พร้าว) ลายดอกแก้ว (ลายดอก พิกุล) ๓. ผ้าซิ่นมุก/ซิ่นทิวมุก ๔. ผ้าซิ่นหมี่คั่น/ซิ่นหมี่น้อย (ลายหอปราสาท ลายนาคน้อย ลายจอนฟอน ลายนาคเอี้ย ลายหมากจับ ลาย หมี่คองเอี้ย) ๕. ผ้าซิน่ มัดหมี่ (ลายหมีโ่ คมห้า โคมเจ็ด หมีต่ มุ้ หมี่วง หมี่นาค หมี่หมากจับ หมี่หมากบก) ๖. ผ้าซิ่นทิว/ซิ่นก่วย/ซิ่นเครือก่วย ๗. ผ้าซิ่นไหมก่อม/ซิ่นไหมเข็นก้อม/ซิ่นสีไพล/ ซิ่นตาแหล่ ๘. ผ้าซิ่นหมี่ฝ้าย ผ้าเยียรบับลาว ๙. แพรเบี่ยง เรียบเรียงโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สทิ ธิชยั สมานชาติและ นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

47


ตีนขิดคั่น)

๑๐. แพรตุ้ม/แพรขิด ๑๑. แพรไส้ปลาไหล (แพรไส้เอี่ยน) ๑๒. แพรอีโป้ (ผ้าขาวม้าเชิงขิด) ๑๓. ผ้าตาโก้ง (โสร่งไหม) ๑๔. ผ้าขี้งา ๑๕. หมอนขิด ๑๖. ผ้าต่อหัวซิ่นชนิดต่างๆ (หัวจกดาว จกดอกแก้วทรงเครื่อง หัวขิดคั่น) ๑๗. ตีนซิ่นแบบเมืองอุบลชนิดต่างๆ (ตีนกระจับย้อย ตีนตวย ตีนขิดปราสาท ตีนขิดดอกแก้ว ตีนช่อ

๑๘. ผ้ากาบบัว (ผ้าประจ�ำจังหวัด พ.ศ.๒๕๒๔-ปัจจุบัน) การสืบทอดภูมิปัญญาผ้าทอเมืองอุบลฯ ยังเป็นสิ่งแสดง ทักษะความสามารถของการทอผ้าชั้นสูง ของช่างทอผ้าเมืองอุบลฯที่ได้ท�ำงานกับเจ้านายเมืองอุบลฯในท้องถิ่น และลวดลายผ้าหลายอย่างเป็นงานออกแบบ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ที่ ป ระยุ ก ต์ ม าจากลวดลายผ้ า ในราชส� ำ นั ก เช่ น ผ้ า เยี ย รบั บ ลาว ที่ เจ้ า นาย เมื อ งอุ บ ลฯ ผลิตส่งให้ราชส�ำนักสยาม และลายตีนซิ่นที่น�ำลายกรวยเชิงมาประยุกต์เป็นตีนซิ่นแบบเมืองอุบลฯ แสดงถึงสัญลักษณ์ ของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะผ้าราชส�ำนักไทยและศิลปะผ้าทอเมืองอุบลฯ ซึง่ สถานการณ์ปจั จุบนั ภูมปิ ญ ั ญาเหล่านี้ เสี่ยงต่อการสูญหายโดยเฉพาะส่วน “คุณค่าความหมายทางประวัติศาสตร์และกระบวนการในการผลิต” ซึ่งการมี ส่วนร่วมของชุมชนเจ้าของวัฒนธรรมในการวิจยั ครัง้ นี้ จะมีบทบาทส�ำคัญในการสืบทอดและสงวนรักษา องค์ความรูน้ ี้ ให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในขอบเขตประเทศไทยและของโลก พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

48 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


งานผ้าทอเมืองอุบลฯ มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือ ๑. ลวดลายผ้าหลายอย่างเป็นงานออกแบบความคิดสร้างสรรค์ที่ประยุกต์มาจากลวดลายผ้าสยาม เช่น ผ้าเยียรบับลาว ที่เจ้านายเมืองอุบลฯผลิตส่งให้ราชส�ำนักสยาม ๒. ลายตีนซิ่นที่น�ำลายกรวยเชิงของลายผ้าในราชส�ำนักไทย มาประยุกต์ออกแบบเป็นตีนซิ่นแบบเมือ งอุบลฯ ด้วยการใช้เทคนิคการทอขิดของอีสาน จึงเป็นสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะผ้าราชส�ำนัก และศิลปะผ้าทอเมืองอุบลฯ ๓. ลายหัวซิ่นที่ใช้การเทคนิคการทอจก ลายดาวที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากผ้าอีสานทั่วไป ๔. ลายมัดหมี่ของเมืองอุบล จะนิยมการให้ลายละเอียดของลายผ้าแบบ “หมี่สองสอด” ที่เสริม ความประณีตของลายผ้า ๕. มีการผสมผสานและประยุกต์เทคนิคการทอผ้าจนเกิดเป็นงานผ้าทอใหม่ กรณี “ผ้าซิน่ ทิวมุกจกดาว” ที่ผสมเทคนิคการตั้งสีเครือเส้นยืน การทอเสริมเส้นยืนพิเศษ และการจกเสริมเส้นพุ่งพิเศษ ในผืนเดียว จนเป็นงานผ้า ทอที่เป็นเอกลักษณ์ กลวิธีการผลิตผ้าทอเมืองอุบลฯ ๑. การทอผ้า ได้แก่ ความรูใ้ นการทอผ้าเยียรบับลาว น�ำความคิดสร้างสรรค์ลวดลายผ้าจากผ้าราชส�ำนัก สยามและการทอด้วยเทคนิคการ “ยก” เทคนิคการ “ขิด” และผสมเทคนิคการ “จก” และมีการใช้อุปกรณ์การทอผ้า ช่วยในการทอ คือ “ตะกอแนวดิ่ง” ในการยกเส้นยืนเพื่อสร้างลวดลายผ้า การจัดองค์ประกอบสีสันที่ซับซ้อนหลายสี เป็นต้น นอกจากนี้ผ้าไหมคุณภาพสูงของเมืองอุบลฯ ยังรักษา “การตีเกลียวไหมเส้นพุ่ง” หลายครั้งเพื่อเพิ่มความมัน วาวและเนื้อผ้าที่สัมผัสละมุนทั้งยังสวยงามตา รวมทั้ง “ทักษะการมัดหมี่เพื่อการทอแบบสองสอด” ที่ช่วยให้สามารถ สร้างสรรค์ลวดลายละเอียดของลายผ้าขนาดเล็กให้สวยงาม เช่น ลายปราสาทผึ้ง ลายนาคน้อย เป็นต้น ๒. การย้อมสีของท้องถิน่ ได้แก่ ความรูใ้ นการเลือกวัสดุยอ้ มสีธรรมชาติ จากครัง่ เข คราม การย้อมคราม ทับสีเหลืองให้เกิดสีเขียว การย้อมครามทับสีแดงให้เกิดสีม่วง ความรู้ในการใช้ “สารติดสีธรรมชาติ” ที่มีค่าเป็นกรด และมีค่าเป็นด่าง เป็นต้น ๓. การเลี้ยงไหม เมืองอุบลฯ มีทักษะในการสาวไหมได้คุณภาพสูงมาก จนได้รับรางวัลการประกวด เส้นไหมของกรมหม่อนไหม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ เกือบทุกปี เป็นความรู้ที่มีทั้งศาสตร์และศิลป์ในการ ป้องกันมลพิษและแมลงที่เป็นอันตรายต่อหนอนไหม ความรู้ในการย่อยใบหม่อนเป็นอาหารแก่หนอนไหม ความรู้ ในการกระจายสัดส่วนหนอนไหมในจ่อเพื่อการสร้างรังไหมที่สมบูรณ์ ความรู้ในการคัดเลือกรังไหมที่สมบูรณ์ ทักษะการสาวไหม การควบคุมอุณหภูมิหม้อสาวไหม เป็นต้น พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

49


ตามจารีตดั้งเดิมจะถือละเว้นการปฏิบัติที่เป็น “ขะล�ำ” (ผิดจารีต) ได้แก่ ๑) จะห้ามไม่ให้ผู้ชายทอผ้า หรือนั่งบนหูก/เครื่องทอผ้า ๒) ในระหว่างที่ผู้หญิงทอผ้าหรือเข็นฝ้าย ฝ่ายผู้ชายจะมาแตะเนื้อต้องตัวไม่ได้ ถือว่าเป็น “ขะล�ำ” (ผิดจารีต) ต้องมีการปรับสินไหม ๓) ในการย้อมผ้า ตามความเชื่อดั้งเดิม ในกรณีการย้อมสีครั่ง จะไม่ให้ ผู้หญิงที่มีประจ�ำเดือนเข้าใกล้บริเวณ หรือเป็นผู้ย้อม เพราะสีจะด่างหรือเส้นไหมไม่กินสี/ติดสี ส่วนสีย้อมวัสดุอื่นๆ ไม่มีข้อห้าม ๔) จะไม่ย้อมสีผ้าในวันพระ ๕) จะไม่สาวไหมในพระ/วันศีลอุโบสถ ๖) การย้อมสีครามจะไม่ย้อม ในวันข้างแรม ๗) จะไม่ใช้ผ้าที่มีลวดลายเทียมเจ้านาย นอกจากนี้ ยังมีความเชื่อความศรัทธาในการใช้ผ้าของชาวเมืองอุบลฯ ได้แก่ ๑) การใช้ตีนซิ่นของแม่ คล้องคอในยามที่ไปออกรบ ๒) หญิงมีครรภ์จะน�ำผ้าซิ่นของแม่มาใช้นุ่งในเวลาจะคลอดลูก ๓) การใช้หัวซิ่นแช่น�้ำให้ผู้ หญิงท้องแก่กินจะคลอดลูกง่าย ๔) การใช้ตีนซิ่นแม่ตบปากเด็กน้อยจะได้พูดง่าย กระบวนการจัดการองค์ความรู้ ๑. การเรียนรู้สืบทอดภายในครอบครัวหรือสังคมระดับหมู่บ้าน ชุมชนพยายามสืบทอดไว้ในระบบเครือญาติ จากรุ่นสู่รุ่น ดั้งเดิมจะต้องเรียนรู้ทุกขั้นตอน เพื่อท�ำเอง ทุกขั้นตอนในการทอผ้า ตั้งแต่เลี้ยงไหม สาวไหม เตรียมเส้นใยในการทอผ้า และทอผ้าเป็นผืน ปัจจุบันช่างทออาวุโส เป็นเสาหลักในการอบรมให้ความรู้แก่รุ่นลูกหลานในชุมชน ๒. การจัดการแหล่งผลิต ชุมชนรักษาทักษะการทอผ้า ที่ช่วยสร้างรายได้เสริม มีการแบ่งงานกันโดยแยกท�ำเป็นขั้นตอน เช่น ช่างที่เชี่ยวชาญการเตรียมเส้นไหม ช่างที่เชี่ยวชาญย้อมสีไหม ช่างที่เชี่ยวชาญการทอผ้ามัดหมี่ ช่างทอที่เชี่ยวชาญ การทอ “ขิด” การทอ “จก” การทอ “ยก” เป็นต้น ตัวอย่างผู้สืบทอดการทอผ้าเมืองอุบลฯ ที่ส�ำคัญคือ บ้านค�ำปุน ซึ่งจัดงาน “นิทรรศการผ้าโบราณและ สาธิตการทอผ้า แบบเมืองอุบลฯ” ช่วงเดือนกรกฎาคม ของทุกปี ในช่วงเทศกาลงานแห่เทียนเข้าพรรษา คุณค่าของผ้าทอเมืองอุบลฯ ในอดีตยึดถือประเพณีทหี่ ญิงสาวจะต้องมีฝมี อื ในการทอผ้า จึงจะมีคณ ุ สมบัติ พร้อมในการทีเ่ ป็นแม่เรือนทีด่ ี หญิงสาวทีเ่ รียนรูก้ ารทอผ้าตัง้ แต่เยาว์วยั จนสามารถทอสานลวดลายอันซับซ้อนของผ้า ซิ่นมัดหมี่ ผ้าซิ่นทิว ผ้าซิ่นมุก ผ้าหัวซิ่นจกดาว ผ้าเยียรบับลาว และผ้าอื่นๆ ได้งดงาม จึงจะมีคุณสมบัติพร้อมในการ เป็นผู้หญิงและสมาชิกเครือญาติลูกหลานเจ้านายเมืองอุบลที่ดีของตนเอง การถ่ายทอดความรูแ้ ละทักษะการทอผ้าทอเมืองอุบลฯ ปรากฏอยู่ ๓ รูปแบบ คือ ๑) ถ่ายทอดในครอบครัว ช่างทอผ้ารุ่นปัจจุบันอายุเฉลี่ยประมาณห้าสิบกว่าปี ได้เรียนรู้การทอผ้าจากแม่หรือยายตามแบบปฏิบัติดั้งเดิม ๒) ถ่ายทอดในชุมชน ช่างทอผ้ารุ่นอายุประมาณสามสิบกว่าปี ได้เรียนการทอผ้าจากหัวหน้ากลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ท�ำ

50

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือในจังหวัดอุบลราชธานี และ ๓) ถ่ายทอดในระบบการศึกษา เยาวชนได้เรียนรู้การทอผ้าในระบบ การศึกษาด้วยการบูรณาการเรียนรูก้ บั ชุมชน โดยเชิญช่างทอผ้าทีเ่ ชีย่ วชาญในชุมชน ช่วยเป็นวิทยากร โดยมีการจัดการ เรียนการสอนทอผ้าในจังหวัดอุบลราชธานีทโี่ รงเรียนม่วงสามสิบ อ�ำเภอม่วงสามสิบ โรงเรียนบ้านหนองบ่อ อ�ำเภอเมือง เป็นต้น แหล่งผลิตผ้าทอเมืองอุบลฯ มีดังนี้ ๑. บ้านค�ำปุน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๒. บ้านหนองบ่อ ต�ำบลหนองบ่อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๓. บ้านโนนสว่าง ต�ำบลโนนสว่าง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ๔. บ้านลาดสมดี ต�ำบลกุศกร อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ๕. บ้านสมพรรัตน์ ต�ำบลสมพรรัตน์ อ�ำเภอบุญฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ๖. บ้านปะอาว ต�ำบลปะอาว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๗. บ้านโนนสว่าง ต�ำบลโนนสว่าง อ�ำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี ๘. อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี ๙. บ้านทุ่งนาเมือง ต�ำบลโพธิ์กลาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ๑๐. บ้านคันพะลาน ต�ำบลนาตาล อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี ๑๑. บ้านโพนทราย อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ๑๒. บ้านนาชุม อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ๑๓. ต�ำบลจานลาน อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เอกสารอ้างอิง

ณั ฏ ฐภั ท ร จั น ทวิ ช และคณะ. ผ้ า พื้ น เมื อ งอี ส าน.กรุ ง เทพฯ: ส� ำ นั ก โบราณคดี แ ละพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ กรมศิ ล ปากร กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๐. บ�ำเพ็ญ ณ อุบล. เล่าเรื่อง เมืองอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๔๗ สุนัย ณ อุบล และคณะ. ผ้ากับวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไท – ลาว สายเมืองอุบล. กรุงเทพฯ: รายงานการวิจัย. ส�ำนักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๓๗. เอี่ยมกมล จันทะประเทศ. สถานภาพเจ้านายพื้นเมืองอุบลราชธานี ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๒๕-๒๔๗๖. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๒๕๓๘.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

51


รูปหนังใหญ่

การแกะสลักรูปหนังใหญ่เป็นงานช่างพื้นบ้านที่มีควบคู่กับการแสดงหนังใหญ่อันเป็นมหรสพให้ความ บันเทิงแก่คนในสังคมมาตั้งแต่สมัยโบราณ ซึ่งจากการศึกษาประวัติความเป็นมาของหนังใหญ่มีหลักฐานให้เชื่อว่าหนัง ใหญ่นา่ จะริเริม่ มีมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ดังปรากฏหลักฐานในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทีไ่ ด้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯให้พระมหาราชครูแต่งเรือ่ งสมุทรโฆษค�ำฉันท์ เพือ่ ใช้ในการแสดงหนังใหญ่เพิม่ จากเรือ่ งรามเกียรติ์ (ผะอบ โปษะกฤษณะ,๒๕๓๗ : ๑) ในประเทศไทย หนังประเภทที่เรียกว่าหนังใหญ่ได้รับยกย่องให้เป็นศิลปะการแสดงหรือมหรสพชั้นสูง เนื่องจากได้รวมเอาคุณค่าทางศิลปะหลายแขนงเข้าไว้ด้วยกัน ได้แก่ คุณค่าความงามทางด้านประณีตศิลป์ในการ ออกแบบและแกะสลักลวดลายบนผืนหนัง คุณค่าความงามด้านนาฏศิลป์คือลีลาการเชิดตัวหนัง คุณค่าด้านคีตศิลป์ คือดนตรีทบี่ รรเลงประกอบการเชิด และคุณค่าวรรณศิลป์อนั ได้แก่เนือ้ เรือ่ ง บทพากย์ บทเจรจา นอกจากนี้ นักวิชาการ หลายท่านกล่าวว่าหนังใหญ่เป็นมหรสพที่มีความส�ำคัญมาก และมีความส�ำคัญทางพิธีกรรม เพราะเป็นการแสดงใน พระราชพิ ธี ต ่ า งๆ เพื่ อ ยกย่ อ งสรรเสริ ญ พระเกี ย รติ คุ ณ และพระราชอ� ำ นาจอั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องพระเจ้ า แผ่ น ดิ น เนื่องจากมักเน้นการแสดงเรื่องรามเกียรติ์หรือรามายณะ ซึ่งเป็นเรื่องสดุดีพระเจ้าแผ่นดินว่าเป็นพระนารายณ์อวตาร มาปราบยุคเข็ญ เรียบเรียงโดย วาที ทรัพย์สิน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

52 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แต่เดิมเรียกหนังใหญ่ว่า “หนัง” ดังที่มีหลักฐานปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนค�ำว่า “หนังใหญ่” นั้น มีผสู้ นั นิษฐานว่าเริม่ ใช้ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทัง้ นีน้ า่ จะเป็นการเรียกตามขนาดของตัวหนัง และอาจเพื่อให้เห็นความแตกต่างจากหนังตะลุงที่ตัวหนังมีขนาดเล็กกว่าและนิยมเล่นกันในภาคใต้ รวมทั้งหนังตะลุง ที่มีแสดงกันอยู่ในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางจังหวัดด้วย การเรียกชื่อตามขนาดตัวหนังนี้ สอดคล้อง กับค�ำเรียกหนังในประเทศกัมพูชา ซึ่งเรียกตัวหนังขนาดใหญ่ว่า “สเบ็ก” หรือ “สเบ็กทม” และเรียกตัวหนังขนาดเล็ก ว่า “อยอง” (หนังตะลุงเขมร) บางท่านเห็นว่าการแสดงหนังใหญ่ของไทยนั้นคล้ายคลึงกับการแสดง “วายัง” ของอินโดนีเซียด้วย (ฉวีวรรณศิริ, ๒๕๒๘ : ๘) แต่อินโดนีเซียไม่มีตัวหนังขนาดใหญ่ จึงสันนิษฐานว่าหนังใหญ่ของไทย อาจได้รับอิทธิพลมาจาก ๒ แหล่ง คือ จากวัฒนธรรมเขมรในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ และอิทธิพลจากอินโดนีเซีย ผ่านทางอาณาจักรศรีวิชัยซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘ อย่างไรก็ตาม นักวิชาการ ส่วนมากเชื่อว่าการแสดงหนังใหญ่ที่แพร่หลายอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ มีต้นเค้ามาจากการแสดงหนัง ของอินเดีย ซึ่งแพร่หลายอยู่ในอินเดียตั้งแต่โบราณ เมื่อชาวอินเดียเริ่มติดต่อค้าขายกับประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๖-๗ จึงได้น�ำศาสนาพราหมณ์ พุทธ และศิลปวิทยาการ ตลอดจนการละเล่นและ การดนตรีตา่ งๆ เข้ามาเผยแพร่ดว้ ย แต่ละประเทศต่างก็ปรับวัฒนธรรมเหล่านีใ้ ห้เหมาะสมกับวัฒนธรรมเดิมในท้องถิน่ ของตน การแสดงหนังในประเทศไทยนั้นอาจกล่าวได้ว่าสืบเนื่องมายาวนานกว่า ๕๐๐ ปี ตั้งแต่สมัยอยุธยา ในเอกสารโบราณหลายฉบับมีการกล่าวถึงการแสดงประเภททีเ่ รียกว่าหนัง เช่น ในกฎมณเฑียรบาลสมัยพระเจ้าอูท่ อง (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.๑๘๙๓ – ๑๙๑๒) กล่าวว่าหนังเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายในสมัยนั้น ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๙๙ – ๒๒๓๑) มีพระบรมราชโองการให้กวี และนักปราชญ์ราชส�ำนัก แต่งบทส�ำหรับแสดงหนังเพิม่ ขึน้ จากเรือ่ งทีใ่ ช้แสดงมาแต่กอ่ น พระมหาราชครูจงึ ได้แต่งเรือ่ ง สมุทรโฆษค�ำฉันท์ซงึ่ น�ำเนือ้ เรือ่ งมาจากสมุทรโฆษชาดก ส�ำหรับเป็นบทพากย์หนัง แต่ไม่ปรากฏว่าได้มกี ารสร้างตัวหนัง ส�ำหรับแสดงขึ้นหรือไม่ อย่างไรก็ตาม เรื่องสมุทรโฆษก็ไม่ค่อยเป็นที่นิยมน�ำมาแสดง แต่ยังคงใช้เรื่องรามเกียรติ์ เป็นเรื่องหลักเช่นเดิม ต่อมาในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ.๒๒๗๕ – ๒๓๐๑) พระมหานาค วัดท่าทราย ได้แต่งหนังสือเรือ่ งปุณโณวาทค�ำฉันท์ขนึ้ ในเรือ่ งมีการกล่าวถึงการแสดงหนังเรือ่ งรามเกียรติใ์ นงานสมโภช พระพุทธบาท อันเป็นประเพณีที่พระมหากษัตริย์แต่โบราณต้องเสด็จไปในการสมโภชเป็นประจ�ำทุกปี นอกจากนี้ หลั ก ฐานอี ก อย่ า งหนึ่ ง ที่ แ สดงว่ า มี ก ารเล่ น หนั ง มาแล้ ว ตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา คื อ บทไหว้ครูก่อนการเชิดหนัง หรือที่เรียกว่าบทเบิกหน้าพระ ทวยแรก (ผะอบ โปษะกฤษณะ, ๒๕๓๗ : ๔๗) มีตอนหนึ่งว่าดังนี้ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

53


อยุธยาถาวรเปรมปรีดิ์ ทุกข์ภัยไม่มี สนุกนิแม้นเมืองสวรรค์ เครื่องเล่นโขนละครหุ่นประชัน เชิดชูกลางวัน ด้วยเครื่องวิจิตรแต่งกาย ราตรีรัศมีเพลิงพราย หนังงามลวดลาย กระหนกกระหนาบภาพหาญ เป็นที่ประชาชื่นบาน ทอดทัศนาการ ส�ำราญส�ำรวลปรีดา ครั้งได้ศุภฤกษ์เวลา สนธเยศสุริยา พิชัยฤกษ์เบิกบน เบิกโขลนเบิกทวารโดยกล แต่งตั้งก�ำนล บายศรีทั้งสองซ้ายขวา บัดพลีพลีกรรมเทวดา ขออัญเชิญมา รับเครื่องสังเวยอภิวันท์ ฯลฯ สมัยกรุงธนบุรมี หี ลักฐานว่า มีหนังจากประเทศจีนเข้ามาแสดงในเมืองในครัง้ หนึง่ ปรากฏในจดหมายเหตุ ครั้งพระเจ้ากรุงธนบุรี ในคราวฉลองพระแก้วมรกต พุทธศักราช ๒๓๒๒ ต่อมาสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ปรากฏหลักฐานส�ำคัญทัง้ ทีเ่ ป็นตัวหนังใหญ่และบทส�ำหรับแสดงเรือ่ งรามเกียรติ์ ตัวหนังใหญ่ชุดที่มีชื่อเสียงมากคือ “หนังใหญ่ชุดพระนครไหว” สันนิษฐานเหตุที่เรียกว่าหนังใหญ่ชุดพระนครไหว เพราะตัวหนังชุดนี้มีศิลปะการแกะสลักที่ประณีตมาก และผู้เชิดก็มีลีลาที่งดงาม โดดเด่น ท�ำให้ผู้มาชมเนืองแน่น อย่างที่เรียกว่ามืดฟ้ามัวดินจนแผ่นดินสะเทือน จึงเรียกว่า “หนังพระนครไหว” บางท่านกล่าวว่าเหตุที่เรียกว่า หนังใหญ่ชดุ พระนครไหว เพราะหนังใหญ่ชดุ นีม้ ลี วดลายสีสนั ทีง่ ดงามมาก เมือ่ เชิดดูเหมือนหนังจะไหวเยือกเย็นจนสัน่ สะท้านไปทั้งพระนคร (ฉวีวรรณ ศิริ,๒๕๒๘ : ๑๗) หนังใหญ่ชุดนี้จ�ำนวนกว่า ๒๐ ตัว ได้ถูกคัดเลือกน�ำมาประดับที่ผนัง โรงละครของกรมศิลปากร (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาคารด�ำรงราชานุภาพ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร) เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๓ เกิดไฟไหม้โรงละครและหนังใหญ่ชุดนี้ก็ถูกไฟไหม้ไปด้วย แต่เข้าใจว่ายังคงมีตัวหนังจ�ำนวนหนึ่ง เหลืออยู่ และปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่กรมศิลปากร พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

54 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


รูปหนังใหญ่ หมายถึง รูปหนังขนาดใหญ่ ใช้เป็นตัวละครประกอบการแสดงหนังใหญ่ ท�ำจากหนังวัว หรือหนังควาย มีไม้ตับผูกติดกับตัวหนังไว้ส�ำหรับจับเชิด การแกะสลักรูปหนังใหญ่มีขั้นตอนที่ปฏิบัติสืบทอดกันมามีดังนี้ คือ ๑. ขั้นเตรียมหนัง โดยการคัดเลือกหนังขนาดโต ได้แก่ หนังวัวหรือหนังควายมาฟอกเพื่อก�ำจัดกลิ่น พังผืด เนื้อและไขมัน ออกจากผืนหนัง ในอดีตจะใช้สับปะรด มะนาว และผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวมาฟอกหนัง โดยแช่หมัก ไว้ในโอ่ง ประมาณ ๒-๓ วัน ซึ่งช่างเชื่อว่าความเปรี้ยวของส้มชนิดต่างๆ จะท�ำให้เซลล์หนังตาย ไม่มีกลิ่น ขจัดไขมัน ในผืนหนัง แต่ในปัจจุบันการฟอกหนังนิยมใช้น�้ำส้มสายชูฟอกหนังแทนส้มต่างๆ เพราะสะดวกและใช้เวลาน้อยกว่า การฟอกหนังด้วยน�้ำส้มสายชูจะใช้เวลา ๑ คืน เมื่อฟอกหนังเสร็จจะน�ำหนังมาล้างท�ำความสะอาด แล้วน�ำไปขึ้นตากแดดจนแห้ง ๒. ขั้นการเขียนลาย การเขียนลายบนหนังที่ฟอกแล้ว ช่างที่ช�ำนาญจะเขียนลายด้วยเหล็กจารหรือใช้ ดินสอเขียนลายบนผืนหนัง หากไม่ชำ� นาญก็จะใช้วธิ ีการลอกลายหรือการเขียนลายบนกระดาษก่อน แล้วน�ำมาปิดบน หนังหรือหากมีแบบที่เสร็จอยู่แล้วอาจใช้วิธีการลอกลายโดยใช้สีสเปรย์พ่นลอกลายก็ได้ ๓. ขั้นตอนการแกะสลักรูปหนังใหญ่ อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการแกะสลัก ได้แก่ มุกตอกหนัง สิ่ว มีด แกะสลัก ค้อนส�ำหรับตีมุก เขียงไม้เนื้อแข็งใช้รองตอก และเขียงไม้เนื้ออ่อนใช้รองแกะ โดยช่างจะใช้มุกตอกลายต่างๆ ตามความเหมาะสมบนตัวรูปหนัง และใช้มีดแกะในส่วนที่ต้องการให้โปร่งและลอยตัว ๔. ขั้นตอนการระบายสี รูปหนังใหญ่ที่แกะสลักแล้วจะน�ำมาระบายสีเพื่อความสวยงาม หากเป็น ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ ช่างก็จะระบายตามลักษณะเฉพาะของตัวละครแต่ละตัวที่ก�ำหนดไว้ เช่น รูปหนุมาน คือ ลิงเผือกต้องทาสีขาว รูปองคต กายสีเขียว พระรามกายสีเขียว และพระลักษณ์กายสีทอง เป็นต้น หากเป็นรูปหนัง ตัวอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ ช่างก็จะระบายสีรูปหนังตามจินตนาการ ให้เกิดความสวยงามและสัมพันธ์ กับเรื่องที่แสดง เมื่อระบายสีเสร็จ ช่างก็จะน�ำรูปหนังไปทาน�้ำมันเพื่อให้เกิดความเงางามและกันสีลอก ในอดีตนิยมใช้ น�้ำมันยางใสทารูปหนัง แต่ปัจจุบันนิยมใช้น�้ำมันวานิช ซึ่งสะดวกและหาได้ง่าย ๕. ขั้นผูกไม้ตับหนังส�ำหรับจัดเชิด รูปหนังใหญ่ถือเป็นตัวละครส�ำคัญในการแสดงหนังใหญ่ ดังนั้น เมื่อระบายสีเสร็จ ช่างจะน�ำไม้ไผ่มาเหลาให้ส่วนโคนโตกว่าส่วนปลายขนาดพอเหมาะในการจัดเชิด ผูกติดกับตัวหนัง ถ้าเป็นรูปหนังเดีย่ วหรือรูปหนังขนาดเล็กจะผูกไม้ตบั อันเดียวตรงกลาง แต่ถา้ เป็นรูปหนังขนาดใหญ่จะผูกไม้ตบั ๒ อัน ให้ระยะห่างกันพอเหมาะกับการจัดเชิด ๒ มือ ทัง้ นี้ การผูกไม้ตบั ช่างจะพิจารณาไม่ให้ไม้ตบั ไปคาดทับในส่วนหน้าและ จุดเด่นของรูปหนัง เพราะจะท�ำให้ความงามของรูปหนังหายไปจากการถูกบังด้วยไม้ตับหนัง พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

55


คุ ณ ค่ า ของการแกะสลั ก รู ป หนั ง ใหญ่ นอกจากช่ า งผู ้ ท� ำ รู ป หนั ง ใหญ่ จ ะต้ อ งใช้ ค วามอุ ต สาหะ ในการท�ำงานแล้ว การใช้ทักษะความรู้ในการออกแบบและใช้ลายไทยมาผสมผสาน สร้างสรรค์ให้เกิดความงาม ทีร่ ปู หนังแล้ว การเรียนรูว้ ธิ กี ารฟอกหนัง การเรียนรูค้ ณ ุ ลักษณะเฉพาะของตัวละครในเรือ่ งรามเกียรติ์ เป็นเรือ่ งทีส่ ะท้อน ให้เห็นว่าช่างหนังใหญ่ นอกจากจะมีทักษะฝีมือทางช่างแล้ว การเรียนรู้เรื่องรามเกียรติ์ก็เป็นองค์ความรู้อีกด้านหนึ่ง ของช่างที่ถูกน�ำมาใช้ท�ำให้รูปหนังใหญ่ให้มีความงามและถูกต้องตามขนบในการสร้างตัวละครประกอบการแสดง หนังใหญ่ ปัจจุบันการแกะสลักรูปหนังใหญ่ นับวันจะมีช่างน้อยลง ทั้งนี้เนื่องจากต้องใช้ความอุตสาหะและ ความอดทนเป็นอย่างสูง ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมหนัง การออกแบบวาดรูป และการละลายสี ซึ่งในแต่ละขั้นตอนต้อง ใช้เวลา ในการท�ำงานยาวนาน จึงจะได้หนังหนึ่งตัว ปัจจุบันมีช่างท�ำรูปหนังใหญ่อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ กลุ่มช่างท�ำรูป หนังตะลุงในภาคใต้ เช่น ที่บ้านหนังสุชาติ ทรัพย์สิน จังหวัดนครศรีธรรมราช บ้านช่างอิ่ม จันทร์ชุม จังหวัดพัทลุง นอกจากนีจ้ ากการทีห่ น่วยงานของรัฐส่งเสริมให้เกิดการเรียนรูท้ อ้ งถิน่ และให้รณรงค์ให้เกิดการอนุรกั ษ์มรดกภูมปิ ญ ั ญา ทางวัฒนธรรมที่ วัดขนอน จังหวัดราชบุรี วัดบ้านดอน จังหวัดระยอง วัดสว่างอารมณ์ จังหวัดสิงห์บุรี ซึ่งมีคณะหนัง ใหญ่อยู่ในวัด ได้จัดท�ำโครงการในการสืบสานและถ่ายทอดการแกะสลักรูปหนังใหญ่ในชุมชนท�ำให้เกิดกิจกรรมและ กระบวนการถ่ายทอดการท�ำรูปหนังใหญ่ในชุมชน แม้ว่าจะไม่ได้เกิดช่างท�ำหนังใหญ่เพิ่มมากขึ้น แต่คนในชุมชนก็ได้ ตระหนักในความส�ำคัญและเห็นคุณค่าของรูปหนังใหญ่มากขึ้นในสังคม ชุมชนที่มีการสืบสานการแกะรูปหนังใหญ่ มีดังนี้ ๑) วัดขนอน จังหวัดราชบุรี ๒) วัดสว่างอารมณ์ จังหวัดสิงห์บรุ ี ๓) วัดบ้านดอน จังหวัดระยอง ๔) บ้านช่างอิม่ จันทร์ชมุ จังหวัดพัทลุง และ ๕) บ้านหนังสุชาติ ทรัพย์สนิ จังหวัดนครศรีธรรมราช เอกสารอ้างอิง

ฉวีวรรณ ศิริ. สาเหตุของการเสื่อมความนิยมหนังใหญ่วัดขนอน ต.สร้อยฟ้า อ.โพธาราม จ.ราชบุรี สารนิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๒๕๒๘. ผะอบ โปษะกฤษณะ. “ความเป็นมาของหนังใหญ่วดั ขนอน” การศึกษาการถ่ายทอดวัฒนธรรม : กรณีศกึ ษาหนังใหญ่วดั ขนอน. เอกสาร ประกอบการประชุมวิชาการเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนาคณะครุศาสตร์ ครบ ๓๗ ปี เมื่อวันที่ ๘-๙ กรกฎาคม ๒๕๓๗. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชีวสิทธิ์ บุญยเกียรติ และคนอื่นๆ. หนังสือวัดบ้านดอน กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), ๒๕๒๙ สัมภาษณ์ หนังสุชาติ ทรัพย์สิน ช่างแกะสลักรูปหนังใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช หนังอ�ำนาจ มณีแสง ผู้บริหารจัดการหนังใหญ่ วัดบ้านดอน จังหวัดระยอง

56

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


งานแกะสลักกะโหลกซอ งานแกะสลักกะโหลกซอ หรือ มะพร้าวซอ เป็นงานช่างที่ผสมผสานความรู้ในการจัดหาให้ได้มา และคัดเลือกวัตถุดิบ งานประณีตศิลป และความรู้เชิงอุโฆษวิทยาหรือคุณภาพเสียง โดยช่างฝีมือจะแกะสลัก ฉลุ หรือปรุลาย ลงบนกะลามะพร้าวที่ผ่านการคัดเลือกว่ามีรูปลักษณะเหมาะสมเพื่อท�ำเป็นกะโหลกซออู้ ลวดลายที่ปรุ ฉลุ หรือแกะสลักเป็นช่องทางระบายเสียงของซอและเป็นการประดับตกแต่งให้เกิดความงามแก่ซอ งานแกะสลัก กะโหลกซอเป็นงานหัตถกรรมที่มีความซับซ้อน ตั้งแต่การสรรหาและคัดเลือกวัสดุ การออกแบบลวดลายและการ จัดการพื้นผิวของกะลาที่ใช้เป็นกะโหลกซอ และความเข้าใจด้านคุณภาพสียงอันเกิดจากคุณสมบัติของกะลาหรือ กะโหลกซอ ที่ได้รับการปรุ ฉลุ หรือแกะสลักลายจนได้กะโหลกซอ ซึ่งสามารถน�ำไปประกอบขึ้นเป็นซอทั้งคัน ที่มีทั้ง ความสวยงามและคุณภาพเสียงเหมาะสมในการเล่นดนตรี งานแกะสลักกะโหลกซอ เป็นงานช่างฝีมอื ดัง้ เดิมในการสร้างเครือ่ งดนตรีทเี่ รียกว่า ซออู้ เป็นเครือ่ งดนตรี ไทยประเภทเครื่องสี จัดอยู่ในตระกูลเครื่องสีแนวตั้งสองสาย (two-stringed vertical fiddle) ซึ่งมีคันชัก (bow) แทรกอยูร่ ะหว่างสาย ซออู้ มีกะโหลกหรือกะลามะพร้าวรูปทรงพิเศษปิดหน้าด้วยหนังแผ่นบางเป็นส่วนประกอบส�ำคัญ ที่ท�ำให้เกิดเสียงสั่นสะเทือนจากการบรรเลง ทั้งนี้ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าจุดเริ่มต้นของซออู้ในสยามประเทศ มีมาตัง้ แต่เมือ่ ไร มีขอ้ สันนิษฐานว่า การประดิษฐ์ ซออู้ อาจเกีย่ วข้องกับ การสืบทอดงานช่างประดิษฐ์เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสีลักษณะ คล้ า ยๆ กั น มาตั้ ง แต่ ส มั ย เส้ น ทางการค้ า สายไหม (Silk Road) ในภูมิภาคนี้ และน่าจะมีใช้ในสยามประเทศตั้งแต่ก่อนสมัยอยุธยา ตอนกลาง ในช่วงระยะเวลาสองร้อยกว่าปีของยุครัตนโกสินทร์ ซออู้ มีบทบาทอยู่ในวงเครื่องสาย เครื่องสายผสม ปี่พาทย์ไม้นวม ปี่พาทย์ ดึกด�ำบรรพ์ การแสดงประกอบการเชิดหุ่น กระบอกในบทบรรยาย ความ การร้องเพลงพืน้ บ้าน เพลงแอ่วเคล้าซอ ซึง่ มักจะใช้ซออูส้ ดี น้ เคล้า กับการขับร้อง รวมไปถึงการใช้ซออูบ้ รรเลงประกอบการร้องแหล่ในการ ท�ำขวัญหรือเพลงลูกทุ่ง นอกจากนี้ ซออู้ยังมีบทบาทส�ำคัญในการเป็น เครือ่ งดนตรีประกอบการบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีฯ ในเพลงส้มต�ำและเพลงอื่นๆ เรียบเรียงโดย อานันท์ นาคคง พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

57


ในงานแกะสลักกะโหลกซอ ช่างฝีมอื ต้องมีความรูค้ วามเข้าใจเรือ่ งสายพันธุม์ ะพร้าวทีเ่ หมาะสมในการน�ำ มาใช้ประดิษฐ์กะโหลกซอ เพราะเป็นวัตถุดิบส�ำคัญในการประดิษฐ์ซออู้ สายพันธุ์มะพร้าวที่เหมาะสมในการท�ำ กะโหลกซออู้ คือ มะพร้าวสายพันธุ์ที่มีผลมะพร้าวขนาดใหญ่พอเหมาะ ช่างแกะสลักกะโหลกซออู้ต้องมีความรู้ความ ช�ำนาญในการสังคีตไทยเป็นอย่างดี มีความรู้เรื่องระดับเสียงของเครื่องดนตรี สามารถเทียบเสียง ตั้งเสียงได้อย่าง แม่นย�ำ เพื่อให้ได้เครื่องดนตรีที่ดี ช่างแกะสลักกะโหลกซอต้องมีความรู้ในการกลึงไม้ การเลือกหนัง (ลูกวัวหรือหนัง แพะฟอกบาง) เพือ่ น�ำมาขึน้ หน้าหนังของเครือ่ งดนตรีให้มคี ณ ุ ภาพเสียงตรงตามความต้องการ นอกจากนี้ ช่างแกะสลัก กะโหลกซอ ต้องมีความรูค้ วามสามารถในการสร้างเครือ่ งมือทีเ่ หมาะใช้ในการแกะสลักเพราะเนือ้ ไม้ของกะลามะพร้าว จะมีความแตกต่างจากเนื้อไม้อื่นๆ มีความรู้ในงานช่างอื่นๆ เช่น งานมุก งานประดับตบแต่ง งานฝังลาย ที่ส�ำคัญคือ ต้องมีความรู้ความช�ำนาญในการผูกลาย จนสามารถน�ำเสนอลายที่มีเอกลักษณ์สวยงาม จุดเด่นของงานช่างแกะสลัก กะโหลกซอคือ ความสามารถในสร้างลวดลายฉลุที่วิจิตรบรรจง เป็นร่องรูเสียงที่สามารถระบายอากาศได้ถูกต้องทาง กายภาพและได้คณ ุ ภาพ ซึง่ เมือ่ ประกอบกับองค์ความรูใ้ นกรรมวิธกี ารขึน้ หน้าหนังซอ องค์ความรูใ้ นการบังคับควบคุม ความยืดหยุ่นของหนังที่รับส่งขยายแรงสั่นสะเทือนระหว่างคันชักกับสายซอ ท�ำให้ได้เครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะ ถูกต้อง จึงถือเป็นภูมปิ ญ ั ญาลึกล�ำ้ ทีส่ ามารถผนวกเอาศาสตร์ของเสียงกับความงามของศิลปะการแกะสลักฉลุลวดลาย อันวิจิตรงดงามเข้าไว้ด้วยกัน กลวิธีการผลิตงานช่างฝีมือดั้งเดิม ๑. คัดเลือกกะลามะพร้าวทีไ่ ด้ขนาดสัดส่วนความงามทีเ่ หมาะสม มีขนาดความหนาของกะลา ประมาณ ๓๐-๔๐ มิลลิเมตร ซึ่งความหนาบางของกะลาจะมีผลต่อความสวยงาม ของการแกะคว้าน กะลาหนาจะแกะลายได้ ลึกและมีความทนทานต่อการกระทบกระแทก ๒. ปอกเปลือก ผ่า ขูดเปลือกนอกของผลมะพร้าวออกโดยเหลือเส้นใยเอาไว้บ้าง ใช้ช้อนคว้านขูดเนื้อ มะพร้าวภายในออกจนหมด ตากกะลาจนแห้ง อาจทาด้วยน�้ำยาวานิชเคลือบผิว หรือเก็บกะลาเอาไว้ก่อน โดยเก็บ ในที่มืด แห้ง ให้กะลาปรับตัวประมาณ ๖ เดือน แล้วน�ำออกมาแขวน ในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทแต่ไม่โดนแดด อีกประมาณ ๖ เดือน แล้วน�ำมาขัดเส้นใยออก

ลักษณะกะโหลกซอ ที่มา : นายสมพร เกตุแก้ว พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

58 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

เครื่องมือ ที่มา : นายสมพร เกตุแก้ว


๓. ใช้ ดิ น สอเขี ย นลายต้ น แบบลงบน กระดาษขาวบาง ผูกลายให้อยู่ในพื้นที่วงกลม ใช้วงเวียน เหล็ ก ในการค� ำ นวณพู นู น ของกะลาและวงขอบลาย ปริมาตรการผูกลายขึ้นอยู่กับการค�ำนวณขนาดของพู กะลาด้านที่จะน�ำมาบางกรณี ช่างอาจจะไม่ใช้กระดาษ ลายต้นแบบ แต่จะร่างเส้นดินสอลงไปบนช่วงกลมนูนของกะลาโดยตรงตามความช�ำนาญ ๔. แกะสลัก ปรุ ฉลุ ตามลวดลายทีร่างเอาไว้ ๕. ตัดแต่งหน้าซอเพื่อการขึ้นหน้าหนัง โดยใช้ความรู้ในการเลือกหนังที่จะใช้ขึ้นหน้าซอ (หมายเหตุ : ช่างสกุลต่างๆ จะมีวิธีการที่ไม่เหมือนกัน บางสกุลช่างจะปรุลายกะโหลกซอก่อน เมื่อเสร็จแล้วน�ำกะโหลกซอ ไปขายเลยก็มี บางสกุลช่างขึ้นหน้าหนังก่อนแล้วจึงปรุ สลักลาย บางสกุลช่างสลัก ฉลุ ปรุลายกะโหลกซอก่อน แล้วจึง ท�ำการขึ้นหน้าซอในภายหลัง) ๖. ตกแต่งผิวกะโหลกซอ ตามความต้องการ โดยอาจลงสี ย้อมสีกะลา หรือทาน�้ำมันชักเงา เคลือบลาย ให้เงางามทั่วกะลาซอ หรือบางกรณีช่างอาจขัดผิวกะลาด้วยผงอิฐป่นและใบตองแห้งจนเรียบสวยเป็นมันโดยไม่ต้อง ทาน�้ำมันเคลือบในขั้นตอนนี้อาจมีการต่อกรอบไม้ขุดเสริมส่วนหน้าให้ขอบกะลายาวขึ้นเพื่อใช้ขึ้นหน้าหนัง ๗. ขึ้นหน้าหนัง ๘. ประกอบส่วนประกอบต่างของซอ อาทิ คันทวน และส่วนประกอบ เช่น ลูกบิด คันชัก เท้าช้าง ลูกแก้ว ก้านทวน หรือเดือยกะโหลกซอ เข้าด้วยกันเป็นซออู้ การจั ด การองค์ ค วามรู ้ ใ นเชิ ง การสื บ ทอด เป็ น การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ยั ง ไม่ มี ร ะบบมาตรฐาน การถ่ายทอดองค์ความรู้ในหมู่ช่างส่วนใหญ่มักเป็นการถ่ายทอดให้กับบุคคลในครอบครัว หรือบุคคลที่สนใจเข้ามา ประกอบอาชีพเป็นช่างแกะสลัก ตามบริเวณพื้นที่ที่มีการประกอบอาชีพ ในระดับสังคมมีการท�ำวิทยานิพนธ์ในทุก ระดับการศึกษา มีการถ่ายทอดผ่านรายการโทรทัศน์ มีการบันทึกการให้สัมภาษณ์โดยสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ มีการจัดการ ประชุมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างช่างต่างสกุลช่าง มีการน�ำเอาผลงานส่วนตัวของช่างออกเผยแพร่ ในอินเทอเน็ตผ่านเว็บไซต์และโซเชียลมีเดียที่มีคนในวงการดนตรีไทยสมัยใหม่ให้ความสนใจผลงานสร้างสรรค์ใหม่ๆ ของช่างฝีมือหลายรายสามารถท�ำรายได้ให้แก่ช่างและร้านขายเครื่องดนตรีไทยที่เป็นตัวกลางได้อย่างดี

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

59


คุณค่าของงานแกะสลักกะโหลกซอ มีคณ ุ ค่าในความประณีตวิจติ รบรรจงของงานฝีมอื แกะสลักฉลุลวดลาย กะโหลกซออู้ มีคุณค่าในเชิงภูมิปัญญาด้านการประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์ของดนตรีไทยซึ่งมีทั้งความ เพียบพร้อมด้านคุณภาพเสียงผ่านการสั่งสมความรู้ความเข้าใจด้านอุโฆษวิทยาและคุณค่าเชิงศิลปะ งานแกะสลัก กะโหลกซอมีคุณค่าต่อความยั่งยืนของดนตรีไทย มีคุณค่าเชิงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของความเป็นคนไทยในการ แสดงให้เห็น พัฒนาการและการสั่งสมภูมิปัญญา และการด�ำรงอยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ และความสามารถ ในการบริหารจัดการและการน�ำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ได้อย่างชาญฉลาด สถานภาพปัจจุบนั ของการถ่ายทอดความรูท้ กั ษะของงานช่างสลักกะโหลกซอ นอกจากมีการปฏิบตั ผิ า่ น การถ่ า ยทอดภายในกลุ ่ ม ผู ้ ป ฏิ บั ติ แ ละยั ง มี ก ารถ่ า ยทอดผ่ า นสื่ อ กระแสหลั ก อื่ น ๆ เช่ น ทาง อิ น เทอร์ เ น็ ต สื่อสิ่งพิมพ์และรายการสารคดีทางโทรทัศน์ มีการรวบรวมลวดลายแกะสลักขึ้นเป็นหนังสือ มีการเผยแพร่ผลงานส่วน ตัวของช่างแกะสลักในโลกออนไลน์ และผ่านตามแหล่งขายเครื่องดนตรีไทย ประกอบกับมีการพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงเรียนรู้ ส่งผลให้ความรู้ความเข้าใจและความสนใจ ของสาธารณชนต่องานแกะสลักกะโหลกซอมีวงกว้างขึ้น

กะโหลกซอ ลายนางฟ้าสีซอสามสาย ฝีมือแกะลาย ช่างสว่าง จันทกูล

60

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ในด้านการพัฒนาเชิงทักษะฝีมือและเครื่องมือ ในปัจจุบันมีการพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์สมัยใหม่ เพื่อช่วยเสริมงานช่างสลักกะโหลกซอให้พัฒนามากยิ่งขึ้น เช่น เครื่องขัดกระดาษทราย เครื่องเจาะ เครื่องกลึง น�้ำยาเคมี กาวแห้งเร็ว เครื่องพ่นน�้ำยาเคลือบผิว ช่วยท�ำให้เกิดการพัฒนาด้านทักษะฝีมือที่ดีขึ้นด้วยเช่นกัน สิ่งที่น่าห่วงใยเกี่ยวกับสถานภาพของงานแกะสลักกะโหลกซอที่ส�ำคัญ คือ การสูญพันธุ์ของสายพันธุ์ มะพร้าวที่เหมาะต่อการท�ำกะโหลกซอ ทั้งนี้เพราะต้องต่อสู้กับโรคแมลงด�ำหนาม โรคเพลี้ยไฟระบาด และมลภาวะที่ ไม่พงึ ประสงค์จากการขยายตัวของประชากรและอุตสาหกรรมซึง่ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการเจริญเติบโตของสาย พันธุ์มะพร้าวกะโหลกซอซึ่งเพิ่มมากขึ้น การกลายพันธุ์ของมะพร้าวพันธุ์กะโหลกซอก�ำลังเป็นไปอย่างวิกฤติ และจะส่งผลกระทบต่องานแกะสลักกะโหลกซออย่างยิ่งยวด ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของกลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอมักอยู่ในพื้นที่ที่มีมะพร้าวสายพันธุ์กะโหลกซอ หรือบริเวณใกล้เคียง เช่น พื้นที่อ�ำเภอบางคนที และอ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม สามารถแบ่งตามกลุ่มพื้นที่ จังหวัดได้ดังนี้ :๑. กลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอพร้อมส่วนประกอบบ้านเขาปูน จังหวัดกาญจนบุรี ๒. กลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอพร้อมส่วนประกอบ กรุงเทพมหานคร ๓. กลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอพร้อมส่วนประกอบ จังหวัดสมุทรสงคราม ๔. กลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอพร้อมส่วนประกอบ จังหวัดสมุทรปราการ ๕. กลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอพร้อมส่วนประกอบ จังหวัดฉะเชิงเทรา ๖. กลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอตามภูมิภาคต่างๆ ที่แยกตัวไปจากผู้ประกอบการเดิม กลายเป็น กลุ่มช่างแกะสลักกะโหลกซอรายใหม่ตามชุมชนในภาคต่างๆ ของประเทศไทย เอกสารอ้างอิง

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอ�ำนวยการ จัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวฯ จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ สุรพล สุวรรณ สุพัฒน์ บุณยฤทธิกิจ ธิติ ตริตระการ. ดีด สี ตี เป่า บ้านครูช่างดนตรีไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ เอกลักษณ์และภูมปิ ญ ั ญา จังหวัดสมุทรสงคราม ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ อานันท์ นาคคง. ดนตรีไทยเดิม. พิมพลักษณ์, กรุงเทพฯ : สารคดี. ๒๕๕๐ อานันท์ นาคคง และ อัษฎาวุธ สาคริก. “ช่างท�ำเครื่องดนตรีไทย” หนังสือที่ระลึก ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๓๒ พ.ศ. ๒๕๔๐ อานันท์ นาคคง. ท�ำเนียบศิลปิน ท้องถิ่นอัมพวา. ๒๕๕๔.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

61


งานช่างตอกกระดาษ งานช่างตอกกระดาษเป็นงานช่างทีแ่ ยกตัวออกมาจาก “ช่างสลัก” ถือเป็นงานช่างประเภทหนึง่ ของไทย ช่างกระดาษพบทั่วไปได้ทุกภาคในประเทศไทย อยู่ในจารีตขนบวัฒนธรรมตามชุมชนและท้องถิ่นต่างๆ เช่น ภาคเหนือ จะพบงานช่างกระดาษทองอังกฤษหรือกระดาษสี ประดับปราสาท หีบศพ หรือปะร�ำ ในจารีตประเพณี ของชาวล้านนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะพบงานช่างกระดาษ ประดับประดาในงานบุญต่างๆ ในฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ เช่น ประดับประดาบัง้ ไฟในขบวนแห่บงั้ ไฟงานบุญเดือนหก เรือไฟบกในงานประเพณีไหลเรือไฟในประเพณี ออกพรรษา ตลอดจนงานศพตามแบบพื้นบ้านอีสาน ประดับประดาหอธรรมาสน์ในงานบุญผเวสภาคกลาง จะพบ งานช่างกระดาษในงานช่างสิบหมูข่ องไทย ในงานพระเมรุทอ้ งสนามหลวง การตอกกระดาษประดับพระเมรุมาศหรือ พระเมรุ ตลอดจนปะร�ำ อาคารสิ่งปลูกสร้างในงานพระราชพิธี ที่รู้จักกันในนาม “ช่างกระดาษทองย่น” ภาคใต้ จะพบงานช่างกระดาษ ในการประดับประดา เรือพนมพระในประเพณีชักพระทั้งทางบกและทางน�้ำ ในประเพณี งานบุญสารทเดือนสิบของภาคใต้ และหีบศพและเมรุเผาศพของชาวไทยพุทธ ใน ๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้ งานช่างตอกกระดาษที่พบอยู่ในชุมชนต่างๆ ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ถือเป็นงานช่างฝีมือพื้นบ้าน ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ประจ�ำท้องถิ่นต่างๆ ช่างตอกกระดาษแต่ละสกุลช่าง มีการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษลงมา นานหลายชัว่ อายุคน ลวดลายตอกกระดาษต่างๆ ทีแ่ สดงออกมาในรูปแบบของลวดลายเชิงสัญลักษณ์ บ่งบอกถึงแนว คติความเชื่อในเรื่องจารีตประเพณี และวัฒนธรรมของตนเองได้เป็นอย่างดี อาคารสิ่งก่อสร้างชั่วคราว หรือสิ่งของที่ สร้างขึ้นเพียงใช้งานชั่วคราวไม่ถาวร ล้วนแล้วแต่ต้องอาศัยงานช่างตอก-กระดาษ ประดับประดาเสมอ เช่น หีบศพ ปะร�ำ เมรุ พลับพลา ปราสาท ขบวนบั้งไฟ เรือไฟ ตลอดจนธรรมาสน์เทศในเทศกาลงานบุญผเวสของชาวอีสาน เป็นต้น สิง่ เหล่านีถ้ กู สร้างขึน้ ด้วยภูมปิ ญ ั ญาของช่างทีอ่ ยูใ่ นท้องถิน่ ต่างๆ ลวดลายและรูปแบบทีป่ รากฏ บางลวดลาย มีคติสอดแทรกความนึกคิดของช่างผู้ประดิษฐ์ บางลวดลายได้แรงบันดาลใจจากเรื่องราวในพุทธศาสนา เช่น ภาพตอกกระดาษในงานบุญผเวส บางลวดลายได้แรงบันดาลใจจากสิ่งของใกล้ตัวและธรรมชาติ นับเป็นความงาม ที่มีคติแฝงอยู่ในลวดลายประจ�ำตัวในท้องถิ่นต่างๆ เรียบเรียงโดย บุญชัย ทองเจริญบัวงาม 62

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


กลวิธีการฉลุหรือฉลักกระดาษนั้น ส่วนใหญ่จะใช้กระดาษทองย่นหรือกระดาษทองอังกฤษ หรือ บางท้องที่จะใช้กระดาษน�้ำตะโกมาเป็นวัตถุดิบ ระยะหลังมีการใช้กระดาษสีต่างๆ หรือผ้าดิบมาเป็นวัตถุดิบแทนวัสดุ ดัง้ เดิม การท�ำงานของช่างกระดาษนัน้ จะต้องมีแบบลายฉลุเป็นแม่แบบ เมือ่ วางแผ่นกระดาษทองอังกฤษซ้อนกันราว ๑๑ – ๑๒ แผ่นแล้วจึงวางกระดาษแม่แบบทับซ้อน ใช้สิ่วลักษณะต่างๆ ตอก ส่วนที่สกัดออกไป ลวดลายที่ตอกฉลุ ออกมานัน้ ใช้ไปผนึกกับแผ่นไม้หรือผ้า ในส่วนประดับประดาต่างๆ เช่น พลับพลา ปราสาท พระเมรุ หีบศพ เป็นต้น ตามแต่ละขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ในปัจจุบันมีวัสดุอื่นเข้ามาแทนที่กระดาษ ประกอบกับในบางชุมชน นายช่างเองล้วนแล้วแต่สูงอายุ ไม่มีใครสนใจหรือเล็งเห็นความส�ำคัญในงานช่างแขนงนี้ เป็นที่น่าเสียดายยิ่งนัก ถ้าหากไม่อนุรักษ์ภูมิปัญญา งานช่าง แขนงนี้ไว้ ในอนาคตคงจะสูญหายไปในที่สุดไม่ช้าก็เร็ว

เมรุนกหัสดีลิงค์ และหีบศพแอวขัน ประดับตกแต่งด้วยลายตอกกระดาษ สกุลช่างพื้นบ้าน กลุ่มช่างพระครูสิริธรรมโกวิท ที่มา: งานพระราชทานเพลิงศพพระครูพิพิธปริยัติคุณ อดีตเจ้าคณะต�ำบลเมืองไพร อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

หีบศพทรงโบราณประดับตกแต่งด้วยการตอกกระดาษ ที่มา: นครศรีธรรมราช ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

63


เมรุปราสาทนกหัสดีลิงค์ตามแบบพื้นบ้าน ภาคเหนือ ที่มา: http://www.tangyuak.com

พระเมรุ สถาปัตยกรรมไทยชั่วคราว ที่จ�ำลองงานสถาปัตยกรรมไทย ในงานพระราชพิธีออกพระเมรุ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ประดับประดาด้วยงานฉลุสลักกระดาษทองย่นสาบสี ที่มา: http://www.changsipmu.com

บุคคลอ้างอิง

ช่างตอกกระดาษ (ช่างสับกระดาษ หรือช่างสับเจี๊ยะ) สกุลช่าง ลูกศิษย์อาจารย์ค�ำหมา แสงงาม (ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ปี พ.ศ.๒๕๒๙) พระครูสิริธรรมโกวิท (สายทอง สิริธมฺโม) อายุ ๕๗ พรรษา วิทยฐานะนักธรรมเอก วัดบ้านดอนเกลือ ต�ำบลบึงงาม อ�ำเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ช่างตอกกระดาษพื้นบ้านภาคใต้ สกุลช่างนครศรีธรรมราชกลุ่มนายช่างเฉลิม เอียดนิมิตร และกลุ่มนายช่างสุรินทร์ รณศรี ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ ๙๕/๑ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลควนชุม อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มนายช่างร่าน เกิดแก้ว ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ ๕๓/๑ หมู่ที่ ๖ ต�ำบลควนชุม อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ช่างตอกกระดาษพื้นบ้านภาคใต้ สกุลช่างสงขลากลุ่มนายช่างวินิจ จันทร์เจริญ ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ ๑๕๙/๒ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลสทิงหม้อ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ช่างตอกกระดาษพื้นบ้านภาคใต้ สกุลช่างสงขลากลุ่มนายช่างเริ่ม ดิสโร ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ ๕ หมู่ที่ ๒ ต�ำบลชิงโค อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ช่างตอกกระดาษพื้นบ้านภาคใต้ สกุลช่างสงขลา กลุ่มนายช่างสมนึก หนูประพันธ์ ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ ๓/๑ หมู่ที่ ๕ ต�ำบลจะทิ้งพระ อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา กลุ่มนายช่างอรุณ แก้วสัตยา ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ ๑๔/๒ ต�ำบลท่าข้าม อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มนายช่างสงวน หนุดหละ ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ ๘๙/๑ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลควนรู อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา กลุ่มนายช่างพลเทพ บุญหมื่น ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๖๙ หมู่ ๑๑ ต�ำบลวังตาล อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มนายช่างพิทยา ศิลปศร ๙๐/๑ ม.๗ ต�ำบลหนองโสน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 64

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


งานช่างแกะสลักผักผลไม้

งานช่างแกะสลักผักผลไม้ เป็นงานช่างที่มีรูปแบบเฉพาะของคนไทย ซึ่งหาชาติอื่นใดมาเสมอเหมือน งานช่างแขนงนี้มีประวัติสืบเนื่องมาตั้งแต่ครั้งพบหลักฐานการประดิษฐ์กระทงลอยของนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬา ลักษณ์ที่ค้นคิดการประดิษฐ์กระทงลอยเป็นรูปดอกโกมุท ประดิษฐ์ด้วยกลีบดอกไม้นานาพันธุ์ มีการแกะสลักเครื่อง สดตกแต่งเป็นรูปมยุระก�ำลังจิกกินเกสรดอกโกมุท ถือเป็นหลักฐานในต�ำนานในครั้งนั้นว่ามีการคิดประดิษฐ์งานแกะ สลั ก ผั ก ผลไม้ ต ่ า งๆ ประกอบงานเครื่ อ งสด สื บ ทอดกั น มาตามยุ ค ตามสมั ย ตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยาเรื่ อ ยลงมาถึ ง สมัยรัตนโกสินทร์ ดังจะพบในการแกะสลักผักผลไม้ในส�ำรับอาหารไทยคาวหวาน ตลอดจนการแกะผักผลไม้ประดับ พระจิตกาธานในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ และพระศพในการออกพระเมรุ และแพร่ขยายไปสู่ ชาวบ้านในชุมชนคุ้มวัดต่างๆ ในการประดับประดาเชิงตะกอนที่ใช้เผาศพทั่วไป งานช่างแขนงนี้จะต้องอาศัยนายช่างผู้ที่ช�ำนาญการและมีความเชี่ยวชาญในด้านทักษะฝีมืออันเป็นเลิศ ตลอดจนกรรมวิธีต่างๆ เช่น การปอก การแกะ การแซะ และการคว้าน จะต้องมีความช�ำนาญเป็นพิเศษซึ่งจะต้อง ท�ำงานแข่งขันกับเวลา เนื่องจากวัสดุที่ใช้ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่ได้จากธรรมชาติทั้งสิ้น ดังนั้น เพื่อที่จะให้ของสด เหล่านีด้ สู ดใสอยูเ่ สมอ ไม่เหีย่ วเฉาง่ายจึงจ�ำเป็นต้องใช้ผคู้ นทีม่ คี วามช�ำนาญมาก ใช้ระยะเวลาในการท�ำงานให้เร็วทีส่ ดุ ผนวกกับก�ำลังฝีมอื ทีต่ อ้ งใช้มากในการใช้งานนัน้ ๆ ตัวอย่างดังจะปรากฏให้เห็น เช่น การแกะสลักผักผลไม้ประดับส�ำรับ อาหารไทย การปอกริว้ มะปราง การคว้านเม็ดผลไม้ตา่ งๆ และการแกะสลักผักผลไม้ประดับพระจิตกาธาน (เชิงตะกอน) ในงานพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ และพระศพในราชส�ำนัก และในรูปแบบการตกแต่งกองฟอนเชิงตะกอน เผาศพแบบดั้งเดิมของชาวบ้านภาคกลางทั่วไป

การแกะสลักผักผลไม้ส�ำหรับประดับและรับประทานบนส�ำรับคาว

การแกะสลักผักผลไม้ส�ำหรับประดับและรับประทานบนส�ำหรับหวาน

ที่มา: http://www.changsipmu.com

เรียบเรียงโดย บุญชัย ทองเจริญบัวงาม และผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิชัย สมานชาติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

65


งานช่างแกะสลักผักผลไม้ สามารถจ�ำแนกออกเป็น ๒ กลุ่ม ตามลักษณะการใช้งาน คือ ๑. การแกะสลักผักผลไม้ส�ำหรับประดับส�ำรับอาหารคาวหวาน ส่วนใหญ่จะเป็นการแกะสลักผักผลไม้เลียนแบบธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ใบไม้ ตลอดจนรูปสัตว์ต่างๆ งานช่างแขนงนี้แสดงถึงความละเอียดละไมในการเตรียมอาหารของคนไทย บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ไทยอย่างแท้จริง นายช่างจะต้องเป็นผู้มีทักษะความช�ำนาญในการประดิษฐ์ทั้งกรรมวิธีต่างๆ เช่น การปอก การแกะ การแซะ และการ คว้าน อีกทั้งต้องปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงานให้งดงามวิจิตรภายในระยะเวลาอันสั้นและรวดเร็ว เพื่อจะได้ไม่ท�ำให้ คุณค่ารสชาติของผักและผลไม้นั้นเสียไป ๒. การแกะสลักผักผลไม้ประดับพระจิตกาธาน (เชิงตะกอน) การแกะสลักผักผลไม้ เครื่องสดประกอบพระจิตกาธานในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระเพลิง พระบรมศพ และพระศพฯ ในพระราชพิธีออกพระเมรุท้องสนามหลวงถือเป็นงานช่างที่ส�ำคัญ ซึ่งในปัจจุบันหา นายช่างผู้ช�ำนาญการในด้านงานช่างฝีมือที่จะสืบทอดต่อเหลือน้อยลงอย่างน่าใจหาย เพราะความเปลี่ยนแปลงของ ระยะเวลาที่ทิ้งช่วงของพระราชพิธีที่ยาวนานและไม่มีการถ่ายทอดและบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร มีแต่การสืบทอด ต่อๆ มาจากรุ่นสู่รุ่น ถือเป็นงานที่ทรงคุณค่าทางด้านวิจิตรศิลป์ ทรงคุณค่าในงานช่างฝีมือแขนงหนึ่งของไทย มีกฎเกณฑ์ระบบจารีตธรรมเนียมปฏิบัติในราชส�ำนัก ประชาชนทั่วไปไม่ค่อยมีโอกาสได้พบเห็นในชีวิตประจ�ำวัน อีกทั้งบรรดานายช่างฝีมือจะต้องมีทักษะและความช�ำนาญ เมื่อมีวาระงานส�ำคัญจะต้องระดมอัตราก�ำลังแรงกายแรง ใจที่จะต้องสร้างสรรค์งานเพื่อที่จะถวายงานอย่างสุดฝีมือ

เครื่องสดในการประดับพระจิตกาธานงานพระราชทานเพลิงศพ พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโณ)

66

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ในปัจจุบันศูนย์กลางองค์ความรู้ในวิชาช่างแขนงนี้เป็นที่ทราบกันดีว่ามาจากมรดกภูมิปัญญา ความรู้ ของข้าราชส�ำนักในพระบรมมหาราชวังทีส่ ร้างสรรค์ผลงานขึน้ เพือ่ น้อมถวายในสถาบันพระมหากษัตริย์ และใช้ในงาน พระราชพิธีที่ส�ำคัญ ในระยะหลังวิชาองค์ความรู้เหล่านี้เริ่มแพร่ขยายไปในวงกว้าง ออกสู่ชุมชนและภูมิภาคต่างๆ ตลอดจนมีบทบาทในสถาบันการศึกษาต่างๆ ดังปรากฏในหลักสูตรการเรียนการสอนตัง้ แต่ในระดับชัน้ มัธยมไปจนถึง ชัน้ อุดมศึกษา ในด้านวิชาธุรกิจและการจัดการโรงแรมในด้านบริการ ซึง่ ปัจจุบนั ได้แพร่หลายขยายไปเกือบทุกภูมภิ าค ของประเทศไทย งานช่างแกะสลักผักผลไม้ มีคุณค่าทางด้านประโยชน์ใช้สอยซึ่งแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้ใน ๒ ลักษณะ กล่าวคือ (๑) การแกะสลักผักผลไม้ประกอบส�ำรับคาวหวานหรือตกแต่งในเครื่องเคียงในส�ำรับต�ำหรับ อาหารไทย และ (๒) การแกะสลักผักผลไม้ประดับพระจิตกาธาน (เชิงตะกอน) เช่น งานแกะสลักผักผลไม้ประดับ พระจิตกาธานพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร์ มีการคิดประดิษฐ์แกะสลักสัตว์หิมพานต์ เพื่อประดับประดาพระจิตกาธานงดงามนั้น แสดงให้เห็นถึงคุณค่า ภูมปิ ญ ั ญารวมทัง้ ฝีมอื ของเหล่านายช่างทีบ่ รรจงสร้างสรรค์ผลงานทีท่ ำ� ถวายเพือ่ เป็นพระราชกุศลอุทศิ แด่พระองค์เป็น ครัง้ สุดท้าย ทัง้ นีเ้ กิดขึน้ จากแรงบันดาลใจของช่างผนวกกับความรูใ้ นจารีตขนบธรรมเนียมประเพณีของงานช่างเครือ่ ง สดโบราณ นอกจากจะมีคุณค่าทางด้านการน�ำไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆแล้ว ยังมีคุณค่าทางด้านจิตใจ คือ ผู้ท�ำงาน แกะสลักผักผลไม้ ล้วนเป็นผูม้ อี ารมณ์เยือกเย็นสุขมุ มีสมาธิในการท�ำงานให้บรรลุผลส�ำเร็จสร้างความภาคภูมใิ จสามารถ เพิ่มคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์รวมถึงการบริการในสถานที่ต่างๆเช่น อาหารประจ�ำวันในโรงแรมภัตตาคาร ร้านอาหาร หรือการจัดตกแต่งอาหารในโอกาสพิเศษ เช่น การเลี้ยงรับรองแขกต่างประเทศ ที่ต้องแสดงให้เห็นเอกลักษณ์ไทย นอกจากนี้ ยังแพร่หลายไปสู่ต่างประเทศในรูปแบบการบริการและผลิตภัณฑ์สินค้าได้เป็นอย่างดี ดังนั้น งานช่างแกะ สลักผักผลไม้นับเป็นมรดกภูมิปัญญาที่มีคุณค่าและความส�ำคัญยิ่ง ในปัจจุบันงานช่างแกะสลักผักผลไม้มีการสืบทอดในสถาบันการศึกษาและโรงเรียนต่างๆ นอกจากนี้ ยังแพร่หลายไปสู่ต่างประเทศในรูปของการน�ำไปตกแต่งโดยเฉพาะด้านการจัดโต๊ะอาหารเป็นอย่างดี นับเป็น ความภาคภูมิใจของคนไทยที่ ต้องด�ำรงรักษาสืบทอดศิลปะนี้ไว้ตลอดไป บุคคลอ้างอิง

นางเพ็ญพรรณ สิทธิไตรย์ ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ สาขาทัศนศิลป์ (ประณีตศิลป์-. แกะสลักเครื่องสด) ข้าราชส�ำนักฝ่ายพระราชฐานชั้นใน ส�ำนักพระราชวัง โรงเรียนช่างฝีมือในวัง (ชาย) ในพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนช่างฝีมือในวัง (หญิง) ในพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวังเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิทยาลัยอาชีวศึกษาทั่วประเทศ เช่นวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราชวิทยาลัยอาชีวศึกษาพระนครศรีอยุธยา และวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่ เป็นต้น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตต่างๆ ทั่วประเทศ และมหาวิทยาลัยต่างๆ กลุ่มธุรกิจการโรงแรม ร้านอาหารไทยทั่วประเทศในเครือโรงแรมต่างๆ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

67


งานช่างดอกไม้สด งานช่างดอกไม้สด เป็นงานช่างดั้งเดิมแขนงหนึ่งของคนไทย มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน สืบเนื่อง ตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ดังจะพบในต�ำนานนางนพมาศ หรือประวัติของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ผู้คิดประดิษฐ์ กระทงลอยที่ประดับประดาด้วยงานเครื่องสดต่างๆ ถวายองค์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย จากต�ำนานในครั้งนั้นได้มีการ สืบทอดวิชางานช่าง การประดิษฐ์ดอกไม้สดมากมาย เกิดขึ้นในราชส�ำนักอย่างแท้จริงลักษณะพิเศษหรือเอกลักษณ์ ของงานช่างฝีมือดั้งเดิมซึ่งจะปรากฏให้พบเห็นในรูปแบบของการประดิษฐ์ดอกไม้ ใบไม้ ร้อยกรองเป็นพวงมาลัย แบบต่ างๆ การประดิษฐ์เ ครื่องแขวนชนิ ด ต่ า งๆ ส� ำ หรั บประดั บตกแต่ ง กลางเพดานพระที่ นั่ง ช่ อ งพระทวาร และพระบัญชร ในพระราชมณเฑียรสถาน ในมณฑลพิธี ปะร�ำ อาคาร พานพุ่มดอกไม้สด ที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อเป็น เครื่องสักการะบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในพุทธศาสนา เช่น เครื่องนมัสการ เครื่องทองทิศ เครื่องนมัสการเครื่องห้า เครื่องทองน้อย และพานพุ่มดอกไม้สดแบบต่างๆ การร้อยกรองตาข่ายดอกไม้สด ตลอดจนการประดิษฐ์ใบตอง เพื่อถวายในงานพระราชพิธีต่างๆ ในพระบรมมหาราชวัง ตลอดจนวันส�ำคัญในพุทธศาสนา เช่น ประเพณีถวายโคม แขวนพุทธบูชาในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา และในเทศกาลส�ำคัญๆ เท่าทีป่ รากฏในจารีตประเพณี ของคนไทย เช่น เทศกาลเข้าพรรษา มีการประดิษฐ์ตกแต่งเทียนจ�ำน�ำพรรษา ประดิษฐ์พุ่มเทียนจ�ำน�ำพรรษา ถวายพร้อมผ้าอาบน�้ำฝน งานประเพณีลอยกระทง และประเพณีเทศน์มหาชาติ ล้วนแล้วแต่มีการประดิษฐ์ดอกไม้ เป็นรูปแบบต่างๆ ถวายในแต่ละเทศกาล ศิลปะการประดิษฐ์ดอกไม้สดถือเป็นงานช่างที่ส�ำคัญ เพราะความสดของกลีบดอกไม้และกลิน่ หอมของ ดอกไม้ไทย ล้วนมีเสน่ห์อันสุนทรีย์ ยิ่งมีการร้อยกรองสลับสีสลับกลีบก็ยิ่งเพิ่มความวิจิตรพิสดารให้กับดอกไม้นั้นมาก ขึ้น ยิ่งการใช้งานตามประเพณีต่างๆ ล้วนมีการคิดประดิษฐ์รูปแบบให้เข้ากับจารีตประเพณีในสังคมไทย มีมาตรฐาน และการสืบทอดอย่างลงตัว เช่น การประดิษฐ์โคมแขวนถวายในวันเพ็ญเดือนมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา การประดิษฐ์กระทงลอยในประเพณีลอยกระทงเพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชาในวันส�ำคัญทางศาสนา การตกแต่งเครือ่ งแขวน ดอกไม้สดประดับประดารอบพระระเบียงพระอุโบสถ ตกแต่งกรอบประตูและหน้าต่าง รอบบุษบกซึง่ เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระพุทธรูป เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา เรียบเรียงโดย นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม 68

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


งานช่างดอกไม้สด ประกอบด้วย ๓ เทคนิค ที่ส�ำคัญ ๑. การร้อย คือ การร้อยมาลัยเป็นลวดลายต่างๆ โดยใช้กลีบ ใบ ของดอกไม้ ใบไม้ เช่น มะลิ กลีบกุหลาบมอญ ใบแก้ว ใบกระบือ กลีบบัวหลวง และน�ำมาร้อยเป็นมาลัยข้อพระกร มาลัยสองชาย เป็นต้น ๒. การกรอง คือ การคัดกลีบดอกไม้ให้มขี นาดเท่ากัน อาทิ การกรองดอกขจร กรองดอกพิกลุ กรองดอก ล�ำดวน กรองดอกบานไม้รู้โรย กรองมะลิ ซึ่งชิ้นงานการประดิษฐ์ดอกไม้ของไทยที่ใช้เทคนิควิธีการกรอง ได้แก่ ดอกขจรกรองมาจัดพุ่มดอกขจรกรอง มาลัยล�ำดวน และบานไม่รู้โรยหางแมว ๓. การถัก คือ การถักตาข่ายด้วยดอกไม้สด อาทิ ดอกพุด ดอกมะลิ โดยท�ำลวดลายเลียนแบบลายผ้า สลั บ ดอกสลั บ ก้ า นให้ เ กิ ด เป็ น ลวดลายที่ ส วยงาม อาทิ ลายเกล็ ด เต่ า ลาย ๔ ก้ า น ๔ ดอก ลาย ๓ ก้ า น ๓ ดอก ลายอกแมงมุ ม ลายดาวล้ อ มเดื อ น ลายพระอาทิ ต ย์ ชิ ง ดวง ลายแก้ ว ชิ ง ดวง และลายพุ ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ ซึ่งเทคนิคการถักนี้มักใช้ท�ำตาข่ายตกแต่งเครื่องแขวนแบบต่างๆ หรือ พานพุ่ม งานช่ า งดอกไม้ ส ด เป็ น ชื่ อ งานหนึ่ ง ใน ๓ แขนง ของงานช่ า งเครื่ อ งสด อั น เป็ น งานช่ า งดั้ ง เดิ ม ของไทย มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน ซึ่งประกอบอยู่ในส่วนของงานแกะสลักของอ่อน งานช่างแทงหยวก และ งานช่างดอกไม้สด ซึ่งงานช่างทั้ง ๓ แขนงนี้ ล้วนมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นเฉพาะตัว มีช่างฝีมือที่ต้องอาศัยทักษะและ ความช�ำนาญเฉพาะ ดังนั้น จุดเด่นและความวิจิตรบรรจงของงานที่ปรากฏต่อสายตาผู้ที่พบเห็นนั้น แสดงถึงความ วิจิตรของดอกไม้สดที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นอย่างสวยงาม ประกอบกับวัตถุที่ประดิษฐ์นั้น ล้วนได้มาจากธรรมชาติโดยทั้งสิ้น

บน: การร้อยตาข่ายดอกไม้สด ขวา: พานพุ่มดอกไม้สด

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

69


ในอดีตราชส�ำนักของไทย มีศิลปะการประดิษฐ์ดอกไม้ ใบไม้ ให้มีความงามด้านงานช่างวิจิตรศิลป์ ที่ปรากฏ ความงดงามตระการตาปรากฏด้วยความเป็นอัจฉริยะอันชาญฉลาดของเจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์ ที่ประทับในเขตพระราชฐานชั้นใน ซึ่งมีหน้าที่ร้อยกรองดอกไม้ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อทรงใช้ถวาย อุทิศเป็นพุทธบูชา หรือทรงใช้ในพระราชพิธีต่างๆ ในพระบรมมหาราชวัง เช่น การกรองกลีบดอกไม้เป็นพวงมาลัย เครื่องแขวน พานพุ่ม ตลอดจนงานประดิษฐ์ใบตอง เพื่อใช้ถวายในงานพระราชพิธีต่างๆ ในพระบรมมหาราชวัง รูปแบบและขนบธรรมเนียมของงานช่างแขนงนี้ จึงมีแบบแผนในจารีตประเพณี ตลอดจนขนบธรรมเนียม ในสังคมนั้นๆ เช่น การถวายเครื่องจ�ำน�ำพรรษาในเทศกาลเข้าพรรษา การตกแต่งเทียนจ�ำน�ำพรรษา การถวายพุ่มเข้า พรรษา การถวายเครื่องบูชาเทศน์มหาชาติ ในงานประเพณีเทศน์มหาชาติ การถวายพุ่มดอกไม้ เครื่องราชสักการะแด่ อดีตสมเด็จฯ พระบูรพกษัตราธิราชเจ้า การถวายพวงมาลาดอกไม้ประดิษฐ์ งานช่างดอกไม้สดถือเป็นงานช่างทีม่ กี ารสืบทอดมาจากบรรพบุรษุ มานานนับหลายร้อยปี ด้วยการสัง่ สม และถ่ายทอด ตกทอดลงมาสู่ปัจจุบัน หากจะสืบเนื่องก็นับตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ดังจะพบหลักฐานทั้งทาง โบราณคดีและรูปแบบที่ปรากฏ จุดศูนย์กลางขององค์ความรู้ของงานช่างแขนงนี้ เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่ามาจาก ภูมิปัญญาของกุลสตรีช่างดอกไม้ในราชส�ำนักฝ่ายในพระบรมมหาราชวัง ที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อถวายพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ เพื่อใช้ประกอบเครื่องพุทธบูชา ในงานพระราชพิธี และงานประเพณีที่ส�ำคัญต่างๆ ในราชส�ำนักฝ่ายในเองถือเป็นต้นแบบของงานช่างแขนงนี้ นอกจากนี้งานช่างดอกไม้สดยังเป็นงานช่างที่มีคุณค่า เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทย ที่แสดงถึงความละเอียดอ่อนสวยงาม ซึ่งเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยที่ได้รู้จัก นอกจากนีย้ งั มีคณ ุ ค่าทางเศรษฐ์กจิ ทีส่ ามารถสร้างมูลค่าเพิม่ สามารถสร้างรายได้ให้แก่ผปู้ ระกอบอาชีพงานช่างดอกไม้ สดได้เป็นอย่างดี เอกสารอ้างอิง

เจ้าพนักงานช่างดอกไม้สด เขตพระราชฐานชั้นใน พระบรมมหาราชวัง ส�ำนักพระราชวัง กรุงเทพมหานคร โรงเรียนช่างฝีมือในวัง (ชาย) ในพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนช่างฝีมือในวัง (หญิง) ในพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิทยาลัยอาชีวศึกษาทั่วประเทศ เช่น วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช วิทยาลัยอาชีวศึกษาพระนครศรีอยุธยา และวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่ เป็นต้น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตทั่วประเทศ มหาวิทยาลัยสถาบันราชภัฏทั่วประเทศ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

70 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


งานตีทองค�ำเปลว งานตีทองค�ำเปลว คือ กิจกรรมที่ท�ำโดยการใช้ทองค�ำแท้ ท�ำการรีดแผ่เป็นแผ่นบาง น�ำมาตัด และวาง ลงบนกระดาษ ซ้อนกัน ๗๐๐–๘๐๐ แผ่น บรรจุในกุบ แล้วใช้ค้อนในการตีแผ่แผ่นทองค�ำให้บางที่สุด แล้วตัดด้วยไม้ รวกเป็นแผ่นวางในกระดาษสองขา เพื่อใช้ปิดงานศิลปะบางชนิดให้งดงามแวววาว เช่น ปิดลงบนไม้ที่แกะสลักเป็น ลวดลาย พระพุทธรูป ลายรดน�้ำ ฯลฯ งานช่างที่ใช้ทองค�ำเปลวที่พบหลักฐานตามงานช่างต่างๆทุกสมัยของไทย สันนิษฐานว่าคงได้รับอิทธิพล จากศาสนาพุทธ ในประเทศอินเดียดังมีหลักฐานปรากฏทีเ่ ขางู จังหวัดราชบุรี พบพระพุทธรูปสมัยทวารวดีปรากฏร่อง รอยการ ปิดทองที่องค์และฐาน ในสมัยสุโขทัย มีหลักฐานพบว่า มีการปิดทองบนลวดลายประดับพระอุโบสถ พระเจดีย์ พระพุทธรูป และมีการปิดทอง เขียนสี ที่เรียกว่าจิตรกรรมฝาผนัง ที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว อ�ำเภอศรีสัชนาลัย ที่ซุ้มพระปรางค์วัดพระพายหลวง และองค์พระพุทธชินราช นอกจากนี้ บนศิลาจารึกพ่อขุนรามค�ำแหงหลักที่ ๑ ที่จารึกไว้ว่า “…..กลางเมืองสุโขทัยนี้มีวิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฏฐารศ….” จากค�ำว่าพระพุทธรูปทอง ในที่นี้อาจจะเป็นพระพุทธรูปที่ลงรักปิดทองก็เป็นได้ แสดงให้เห็นว่าการตีทองค�ำเปลวมีมาแต่ครั้งนั้น การท�ำทองค�ำเปลวหรือการตีทอง เป็นงานศิลปหัตถกรรมของคนไทยมาแต่โบราณกาล น่าจะมีใช้ ในงานศิลปะตัง้ แต่สมัยสุโขทัยแล้วแพร่หลายในสมัยอยุธยา ดังปรากฏหลักฐานทัง้ จากเอกสารต่างๆ และศิลปะโบราณ วัตถุที่ยังคงให้เห็นทุกวันนี้ เมื่อสิ้นสุดยุคกรุงศรีอยุธยา ต่อเนื่องมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ชาวบ้านที่มีอาชีพตีทอง ก็ย้ายมาตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพนี้ ในบริเวณที่เรียกว่า บ้านช่างทอง ณ บริเวณที่เรียกกันว่า ถนนตีทอง ถึงสี่แยกคอกวัวในปัจจุบัน กลวิธีการผลิตงานช่างฝีมือดั้งเดิม ๑. น�ำทองค�ำมาท�ำการรีดจนเป็นแผ่นบางๆ ๒. น�ำแผ่นทองที่ผ่านการรีดแล้วมาตัดเป็นชิ้นๆ ประมาณ ๑ เซนติเมตร (การรอนทอง) ๓. น�ำชิ้นทองมาวางกลางกระดาษกว้างประมาณ ๔ x ๔ นิ้ว ๔. น�ำทองทีใ่ ส่ในกระดาษแล้วมาซ้อนกันในกุบทีท่ ำ� จากหนังสัตว์วางบนแท่งหินและมีไม้กลัดยึดซองหนัง ไว้น�ำทองที่ใส่ในกระดาษแล้วมาซ้อนกันในกุบที่ท�ำจากหนังสัตว์วางบนแท่งหินและมีไม้กลัดยึดซองหนังไว้ ๕. แล้วเปลี่ยนถ่ายทองลงกระดาษขนาด ๖ x ๖ นิ้ว แล้วจึงน�ำไปตี อีกครั้งเพื่อให้ได้ขนาดใหญ่ขึ้น ๖. เมื่อได้ทองที่ตีเสร็จแล้วก็จะเปลี่ยน ถ่ายทองใส่ลงกระดาษสา (กระดาษดาม) การใช้ไม้รวกหรือไม้ไผ่ (ไม้เหี๊ยะ) ตัดทองตามขนาดขนาด ๔ x ๔ เซนติเมตรวางในกระดาษสองขา เรียบเรียงโดย ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

71


เมื่อสิ้นสุดยุคกรุงศรีอยุธยา ต่อเนื่องมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ชาวบ้านที่มีอาชีพตีทองก็ย้ายมาตั้งถิ่นฐาน และประกอบอาชีพนี้ ในบริเวณที่เรียกว่า บ้านช่างทอง ณ บริเวณที่เรียกกันว่า ถนนตีทองถึงสี่แยกคอกวัวในปัจจุบัน ชาวบ้านกลุ่มนี้ เดิมเป็นช่างท�ำทองหลวง ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ เรื่อยมาจนปัจจุบันนี้เหลือเพียง ๒ ครอบครัวเท่านั้น ที่ยังคงอาชีพตีทองอยู่ที่สี่แยกคอกวัว หลังที่ท�ำการไปรษณีย์ราชด�ำเนิน ครอบครัวแรก คือ นายสาธิต กับนางสุมาลี สุขุมาภัย อีกครอบครัวหนึ่งคือ ครอบครัวคุณจิตรา ศิริโพธิสมพร นอกนั้นก็กระจัดกระจายไปอยู่ที่อื่น เช่น ที่ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๔๒ ที่หมู่บ้านเศรษฐกิจ บางแค ที่วัวแดง ส�ำราญราษฎร์ และที่บางกระบือ เป็นต้น งานตีทองค�ำเปลว มีการสืบทอดกระบวนการและถ่ายทอดความรู้ในระดับเครือญาติ และเหล่าบรรดา ลูกจ้าง เช่น ในปัจจุบันกลุ่มช่างที่ท�ำงานตีทองค�ำเปลว อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มลูกจ้างปัจจุบันได้ แยกย้ายกลับถิ่นภูมิล�ำเนา ในภาคอีสาน ซึ่งการส่งเสริมให้มีการรักษาสืบทอดงานตีทองค�ำเปลวให้คงอยู่คู่กับสังคม ไปเป็นการแสดงให้เห็นถึงภูมปิ ัญญา ความรุ่งเรืองในเชิงการช่างของไทย เพื่อเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันแสดงให้เห็น ถึงเอกลักษณ์ของงานช่างตีทองค�ำเปลวของไทย

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

72 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


งานช่างฝีมือดั้งเดิมกับการสะท้อนสภาพสังคมไทยของงานตีทองค�ำเปลว ตามคติความเชื่อของคนไทย จากอดีตมาจนถึงปัจจุบันมีความนิยมใช้สีทอง เพราะให้ความรู้สึกหรูหรา โอ่อ่า มีราคา สูงค่า เป็นสิ่งส�ำคัญ แสดงถึง ความเจริญรุ่งเรือง ความสุข ความมั่งคั่ง ความร�่ำรวย สังเกตได้จากศิลปกรรมต่างๆ ของพระบรมมหาราชวัง วัด หรือพระพุทธรูป จะเห็นความอร่ามเรืองรองของทองที่ปิดประดับบนลวดลายที่หน้าบัน ซุ้มประตู หน้าต่าง พระพุทธรูป ตลอดจนเครื่องใช้ต่างๆ เช่น ตู้ โต๊ะ เตียง ธรรมาสน์ และยังน�ำงานลงรักปิดทองเข้าไปใช้ในอาคาร สถานที่ และเครื่องประดับตกแต่งอาคาร ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ ช่างปิดทองจึงพยายามคิดค้นหาวิธีการทางช่างที่จะใช้ทองอย่างประหยัดบนพื้นที่กว้าง จึงได้คิดหาวิธีน�ำทองค�ำมาตีแผ่เป็นแผ่นบางแล้วหุ้ม หรือปิดบนผิววัตถุที่ต้องการให้ดูเป็นทองทั้งหมด ซึ่งก็ยังต้องใช้ ทองจ�ำนวนมากอยู่ จึงคิดค้นหาวิธีต่อไปว่าท�ำอย่างไรจึงจะประหยัดทองให้ได้มากที่สุด จึงได้เกิดการตีทองให้บาง ยิ่งขึ้น จนเป็นทองค�ำเปลว ที่น�ำมาใช้ติดปิดประดับบนผิวชิ้นงาน ลวดลายศิลปกรรม เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเจริญ รุ่งเรือง ความมั่งคั่ง ความร�่ำรวยอีกทั้งมีความสวยงามสูงค่า ปัจจุบันงานประณีตศิลป์ ส่วนใหญ่ยังคงใช้ทองค�ำเปลวในการสร้างสรรค์งาน ไม่ว่าจะเป็นการเขียน ลายรดน�้ำ การปิดทองพระพุทธรูป การปิดทองส่วนประกอบงานสถาปัตยกรรมต่างๆ หรือแม้แต่ข้าวของเครื่องใช้ที่ ช่างศิลปกรรมได้บรรจงสร้างสรรค์ขึ้นมาให้มีความวิจิตรบรรจง สวยงามประณีต ที่มีความสวยงาม ทรงคุณค่า แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์งานศิลปกรรมของไทย ที่เป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรม และแสดงออกถึงคุณค่าภูมิปัญญา ของช่างไทย ปัจจุบันนี้ ราคาทองค�ำเปลวมีราคาค่อนข้างแพง ขึ้นอยู่กับราคาทองค�ำในท้องตลาด ซึ่งคาดว่า ในอนาคตงานประณีตศิลป์ที่ต้องใช้ทองค�ำเปลวในการสร้างสรรค์งาน อาจจะขาดช่วงหรือสูญหายจากสังคมไทย เนื่องจากตัวช่างผู้สร้างสรรค์งาน และผู้จ้างทนสู้กับราคาที่แพงขึ้นของทองค�ำไม่ไหวเหมือนงานช่างอื่นๆ ที่สูญหายไป จากสังคมนี้ เอกสารอ้างอิง

ทวีศักดิ์ เกษปทุม.สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนฯ. ฉบับเสริมการเรียนรู้.กรุงเทพฯ:โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระ ราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว,๒๕๕๐ ดารัสวัน เตียงตระการสุข. แรงคนแรงค้อน ก่อนเป็นทองค�ำเปลว.สารคดี,๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ประภาพร ตราชูชาติ .ความรู้ด้านการปิดทองทึบ.โครงการสร้างต้นแบบเพื่อจัดท�ำองค์ความรู้ ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ๒๕๕๓ http://www.siamwoodcarving.com http://www.Annbanntong.com http://www.siamgoldleaves.com/process.html http://www.ayothayagoldleaf.com/index.php?mode=process

บุคคลอ้างอิง

นายไพฑูรย์ ทองกระสา หมู่บ้าน ป ผาสุก ๑๖๓/๔๐ ต.พิมลราช อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

73


งานช่างผ้าลายทองแผ่ลวด

งานช่างผ้าลายทองแผ่ลวด คือ การที่ผู้มีความช�ำนาญในงานฝีมือหลายแขนงมารวมตัวกันสร้างสรรค์ งานศิลปกรรมที่มีขั้นตอนกระบวนการสร้างงาน ตั้งแต่การออกแบบลวดลาย น�ำมาตอก ฉลุ กางแผ่ต่อเป็นผืนใหญ่ น�ำไปปิดด้วยทองค�ำเปลว และประดับกระจก แล้วเย็บตรึงลวดลาย โดยใช้ดา้ ยเส้นใหญ่เดินเส้นไปตามแบบตัวลายเป็น เส้นลวด และใช้ด้ายเส้นเล็กเป็นการเย็บตรึงตามลวดลายให้ติดแน่นบนผืนผ้า เพื่อใช้ประกอบในงานศิลปกรรมต่างๆ เช่น ผ้าม่าน หลังคาเรือพระราชพิธี ฉัตรเครื่องสูงต่างๆ ธงงอนราชรถ ผ้าดาดหลังคาพระศีวิกากาญจน์ เป็นต้น งานพระราชพิธีพยุหยาตราชลมารค เป็นที่ทราบกันดีคือพระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินในเทศกาล ออกพรรษา ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ในปีพุทธศักราช ๒๕๐๓ โปรดฯ ให้จัดพระราชพิธี ถวายผ้าพระกฐินถวาย ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ประชาชนสองฟากฝัง่ แม่นำ�้ ได้มโี อกาสเผ้าถวายความ จงรักภักดี และประกาศให้ชาวโลกได้รู้จักโบราณราชประเพณีของไทย ขบวนเรือพระราชพิธีพยุหยาตราชลมารค เป็นริ้วกระบวนเรือที่จัดขึ้นเมื่อพระมหากษัตริย์ในสมัยโบราณเสด็จพระราชด�ำเนินไปในการพิธีต่างๆ มาตั้งแต่ สมัยสุโขทัยแล้ว และมีการปฏิบตั สิ บื ทอดมาจนถึงปัจจุบนั แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตามขัตติยราชประเพณีที่สืบทอดตลอดมา พระองค์ทรงฟื้นฟู สืบทอดพระราชพิธีพยุหยาตราชลมารค ท�ำให้มีการ สืบทอดงานศิลปกรรมประกอบเรือพระราชพิธีที่ส�ำคัญหลายอย่าง ดังเช่น งานช่างผ้าลายทองแผ่ลวด และยังมี เครื่องประกอบงานศิลปกรรมหลายแขนงมิให้สูญหาย เกิดการสืบทอดพัฒนางานช่างให้คงอยู่ต่อไป โดยส�ำนัก ช่างสิบหมู่เป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินการซ่อม และสร้างผ้าลายทองแผ่ลวด โดยจะเห็นจากหลังคา ผ้าม่าน และ เครื่องประกอบหลายอย่างในเรือพระราชพิธี เป็นต้น เรียบเรียงโดย ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

74 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


กลวิธีการผลิตงานช่างฝีมือดั้งเดิม ขั้นตอนที่ ๑ การออกแบบ เขียนแบบ ช่างเขียน ปฏิบัติงานเรื่องการออกแบบเขียนแบบก�ำหนด ขนาด รายละเอียดของลวดลาย จุดในการประดับกระจก ก�ำหนดสีผ้า เพื่อให้เกิดความสวยงามของชิ้นงาน ขั้นตอนที่ ๒ การตอกฉลุกระดาษ ช่างแกะสลัก ท�ำหน้าที่ฉลุกระดาษลายด้วยอุปกรณ์ช่างแกะสลัก ประเภทสิ่วหน้าต่างๆ ขั้นตอนที่ ๓ การปิดทอง ช่างปิดทองปิดทองกระดาษลาย ขั้นตอนที่ ๔ การประดับกระจก ช่างประดับกระจก ตัดกระจกสีต่างๆ ส�ำหรับประดับเป็นแวว ของลวดลายเพื่อเพิ่มความสวยงามและวิจิตรของชิ้นงานมากขึ้น ขั้นตอนที่ ๕ การเย็บผ้าลายทองแผ่ลวด ช่างสนะ ท�ำหน้าที่เย็บลวดลายกระดาษที่ปิดทอง และประดับ กระจกเรียบร้อยแล้ว ลงบนผ้าที่เลือกใช้ ขั้นตอนที่ ๖ การประกอบเพื่อใช้งาน ท�ำการเย็บชิ้นงานผ้าลายทองแผ่ลวดที่เสร็จแล้วประกอบเข้ากับ เครื่องประกอบด้วยความประณีตสวยงามเหมาะแก่การใช้งาน

การสร้างงานศิลปะกรรมประกอบเรือพระราชพิธี โดยส�ำนักช่างสิบหมู่ (นางประภาพร ตราชูชาติ)

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

75


งานผ้ า ลายทองแผ่ ล วดเป็ น กรรมวิ ธี ที่ มี ม าแต่ ก ่ อ น และได้ รั บ การถ่ า ยทอดให้ แ ก่ ค ณะช่ า งใน ส�ำนักช่างสิบหมู่มาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งกรรมวิธีที่มีมาตั้งเดิมหรืออาจมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากเดิมบ้างก็เป็นไปได้ ด้วยปัจจัยด้านวัสดุบางอย่างไม่สามารถหาได้ หรือปัจจุบันไม่มีแล้ว จึงจ�ำต้องหาวัสดุอื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมาใช้ งานแทน เพื่อให้ได้ผลงานออกมามีลักษณะใกล้เคียงของเดิมมากที่สุด ส�ำนักช่างสิบหมู่ เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ท�ำการสืบทอดกระบวนการช่างผ้าลายทองแผ่ลวด เมื่อมีการซ่อม งานศิลปกรรมผ้าลายทองแผ่ลวด บุคลากรภายในส�ำนักช่างสิบหมู่ ซึง่ ประกอบด้วยงานช่างหลายแขนงจะร่วมกันด�ำเนิน การสร้างชิ้นงานผ้าลายทองแผ่ลวดด้วยกระบวนการสร้างงานมีหลายขั้นตอน จึงมีการด�ำเนินงานเชิงบูรณาการ ในการท�ำงานเช่นช่างเขียนด�ำเนินการออกแบบลวดลาย ให้ช่างแกะสลักด�ำเนินการตอกฉลุลวดลายกระดาษ น�ำส่ง ให้ช่างปิดทองประดับกระจก และน�ำไปวางบนผืนผ้าท�ำการเย็บตรึงจนกระทั่งเสร็จเป็นชิ้นงานผ้าลายทองแผ่ลวด การสืบทอดกระบวนการงานช่างผ้าลายทองแผ่ลวด ส�ำนักช่างสิบหมูร่ ว่ มกันด�ำเนินงานระหว่างบุคลากร ภายในหน่วยงาน ถ่ายทอดความรูจ้ ากรุน่ พีส่ รู่ นุ่ น้อง และยังส่งเสริมให้ดำ� เนินการจัดฝึกอบรมบุคคลทัว่ ไปในการสืบทอด วิธีการ กระบวนการท�ำงาน อีกทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายช่าง เมื่อมีการด�ำเนินงานซ่อมงานผ้าลายทองแผ่ลวดเมื่อได้ ก็สามารถดึงกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีแววในการท�ำงานมาร่วมด�ำเนินงาน ผ้าลายทองแผ่ลวด เป็นงานช่างแขนงหนึ่งที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องภูษาอาภรณ์ของช่างไทยโบราณ โดยปรากฏเป็นชิ้นงานได้แก่ ชุดฉลองพระองค์ของพระมหากษัตริย์ ฉัตรเครื่องสูงต่างๆ ธงงอนราชรถ ผ้าดาดหลังคา พระศีวิกากาญจน์ ผ้าหลังคา และผ้าม่านในเรือพระราชพิธีทางชลมารค เป็นต้น เป็นกระบวนการงานช่างที่มีขั้นตอน ในการการสร้างงาน ตั้งแต่การออกแบบลวดลาย น�ำมาตอกฉลุ กางแผ่ต่อเป็นผืนใหญ่ ท�ำการปิดทองประดับกระจก แล้วเย็บตรึงลวดลาย โดยใช้ด้ายเส้นใหญ่เดินเส้นไปตามแบบตัวลายเป็นเส้นลวด และใช้ด้ายเส้นเล็กเป็นการเย็บตรึง ตามลวดลายให้ติดแน่นบนผืนผ้า ซึ่งต้องใช้ทักษะฝีมือของช่างแต่ละแขนงมาสร้างสรรค์ชิ้นงานผ้าลายทองแผ่ลวด งานช่างแขนงนี้มีมาแต่สมัยโบราณ ซึ่งท�ำขึ้นเพื่อสนองแก่สถาบันพระพุทธศาสนาและพระมหากษัตริย์ไม่นิยมใช้ ในสามัญชนเนื่องจากจัดว่าเป็นงานประณีตศิลป์ที่มีกระบวนการในการสร้างงานหลายขั้นตอน ต้องอาศัยผู้ช�ำนาญ บรรจงสร้างสรรค์ขนึ้ มาให้มคี วามวิจติ รบรรจง สวยงามประณีต ทีม่ คี วามสวยงาม ทรงคุณค่าแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ งานศิลปกรรมของไทยที่เป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและแสดงออกถึงคุณค่าภูมิปัญญาของช่างไทย

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

76 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


สถานภาพปัจจุบันของการถ่ายทอดความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับงานช่างฝีมือผ้าลายทองแผ่ลวด นับวันจะสูญหายไปเนื่องจากมีกระบวนการขั้นตอนการสร้างงานที่มีความซับซ้อนมีส่วนละเอียดปลีกย่อยมาก เนือ่ งจากงานผ้าลายทองแผ่ลวด เป็นงานทีไ่ ม่มกี ารใช้งานในวงจ�ำกัด หรือนานๆ ครัง้ จะมีการซ่อมหรือสร้างผ้าลายทอง ช่างจึงไม่มีโอกาสในการฝึกปรือฝีมือตนเอง หากจะลงทุนปฏิบัติเองก็ล�ำบากเนื่องจากต้องใช้งบประมาณสูง คาดว่า ในอนาคตงานประณีตศิลป์แขนงนี้อาจจะขาดช่วงหรือสูญหายจากสังคมไทย เอกสารอ้างอิง

เอกสารประกอบการฝึกอบรมส�ำหรับบุคคลทั่วไป ด้านการเย็บผ้าลายทองแผ่ลวด โดยศูนย์ศิลปะและการช่างไทย ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

บุคคลอ้างอิง

๑. ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม๙๓ หมู่ ๓ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๒. นายอ�ำพล สัมมาวุฒธิ ๓. นางสมคิด สัมมาวุฒธิ ๔. นางยุนีย์ ธีรนันท์ ๕. นางสุภาพร สายประสิทธิ์

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

77


เครื่องแต่งกายมโนห์รา

การประดิษฐ์เครือ่ งแต่งกายมโนห์รา หรือ มโนราห์ หรือโนรา เป็นงานช่างพืน้ บ้านทีม่ กี ารสืบสานถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่นที่มีควบคู่กับการแสดงมโนห์ราของชาวภาคใต้ มโนราห์เป็นศิลปะการแสดงที่ประกอบด้วยการร�ำและการขับบทร้องมีนักดนตรีหรือเรียกว่าลูกคู่ ท�ำหน้าที่บรรเลงเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ได้แก่ โหม่ง ฉิ่ง กลองตุ๊ก กลองทับ และปี่ ขณะท�ำการแสดง บทบาทของมโนห์ ราในสังคมนอกจากจะแสดงเพื่อความบันเทิงแล้วมโนห์รายังมีการแสดงที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมและความเชื่อของ คนในสังคมอีกด้วย แต่เดิมชาวภาคใต้เรียกว่า “ชาตรี” เมื่อชาตรีแพร่หลายสู่ภาคกลาง ชาวภาคกลางเห็นว่ามีลักษณะใกล้ ละครจึงเรียกว่าละครชาตรี ต่อมาชาตรีนิยมเล่นเรื่อง “มโนห์รา” จึงเรียนขานชื่อ “มโนห์รา” แทนชาตรี แล้วต่อมา “มโนห์รา” ก็กลายเป็น “โนรา” ตามความนิยมตัดทอนพยางค์ของภาษาถิ่นใต้ และลงความเห็นว่าโนราคงเกิดและ พัฒนาขึ้นเป็นศิลปะชั้นสูงขึ้นบริเวณเมืองพัทลุงโบราณมาแล้วตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นอย่างน้อยต่อมามีการปรับ ประสานกันกับละครภาคกลาง

ที่มา: เว็บไซต์ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา แห่งประเทศไทย

เรียบเรียงโดย วาที ทรัพย์สิน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

78 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การท�ำเครื่องแต่งกายมโนห์รา เป็นงานช่างที่ต้องอาศัยฝีมือช่างหลายแขนงในการสร้างชุดแต่งกาย และเครื่องประดับ ช่างเย็บปักถักร้อยจะน�ำทักษะฝีมือมาบูรณาการสร้างสรรค์ชุดแต่งกายของมโนห์รา ได้แก่ การตัดเย็บผ้านุ่งกางเกงสนับเพลา ผ้าห้อยหน้าและผ้าห้อยหลัง งานถักร้อยจะเกี่ยวข้องกับการน�ำเม็ดลูกปัดมาเรียง ร้อยเป็นตัวเสือ้ และส่วนประกอบอืน่ ๆ ของเครือ่ งแต่งกาย งานสลักดุลจะเกีย่ วข้องกับการท�ำเครือ่ งประดับ เช่น ปีกนก ทับทรวง และเล็บมโนห์รา เป็นต้น ส่วนงานกลึงและการลงลักปิดทองจะเกี่ยวกับการท�ำเทริดมโนห์รา ซึ่งถือเป็นส่วน ประกอบที่ส�ำคัญชิ้นหนึ่งของการแต่งกายมโนห์รา การแต่งกายของมโนห์รา นับเป็นงานฝีมือที่มีเอกลักษณ์ส�ำคัญท�ำให้ผู้ชมได้เห็นถึงฝีมือของช่าง ผู้สร้างสรรค์ชุดการแสดงและเครื่องประดับมโนห์รา ส่งผลให้เห็นถึงความงามของผู้แสดง มีคุณค่าทางศิลปะเชิงช่าง สะท้อนให้เห็นถึงความขยัน อดทนในการสร้างสรรค์ผลงานที่ประณีตชุดมโนห์รามีส่วนประกอบที่ส�ำคัญ ดังนี้ ๑. เทริด เป็นเครื่องประดับศีรษะของตัวนายโรงหรือโนราใหญ่ ท�ำเป็นรูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า มีด้ายมงคลประกอบ ๒. เครื่องลูกปัด เครื่องลูกปัดจะร้อยด้วยลูกปัดสีเป็นลายมีดอกดวง ใช้ส�ำหรับสวมล�ำตัวท่อนบนแทน เสื้อ ประกอบด้วยชิ้นส�ำคัญ ๕ ชิ้น คือ - บ่า ส�ำหรับสวมทับบนบ่าซ้าย – ขวา รวม ๒ ชิ้น - ปิ้งคอ ส�ำหรับสวมห้อยคอหน้า - หลัง คล้ายกรองคอ รวม ๒ ชิ้น - พานอก ร้ อ ยลู ก ปั ด เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ใช้ พั น รอบตั ว ตรงระดั บ อก บางถิ่ น เรี ย กว่ า “พานโครง”บางถิ่นเรียกว่า “รอบอก” ๓. ปีกนกแอ่น หรือปีกเหน่ง มักท�ำด้วยแผ่นเงินเป็นรูปคล้ายนกนางแอ่นก�ำลังกางปีก ใช้ส�ำหรับ โนราใหญ่ หรือตัวยืนเครื่องสวมติดกับสังวาลย์อยู่ที่ระดับเหนือสะเอวด้านซ้ายและขวา ๔. ซับทรวง หรือทับทรวง หรือตาบ ส�ำหรับสวมห้อยไว้ตามทรวงอก นิยมท�ำด้วยแผ่นเงินเป็นรูปคล้าย ขนมเปียกปูนสลักเป็นลวดลาย และอาจฝังเพชรพลอยเป็นดอกดวงหรืออาจร้อยด้วยลูกปัด ๕. ปีก หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หางหรือหางหงส์ นิยมท�ำด้วยเขาควายหรือโลหะเป็นรูปคล้ายปีกนก ๑ คู่ ซ้าย–ขวา ประกอบกัน ปลายปีกเชิดงอนขึ้นและผูกรวมกันไว้ มีพู่ท�ำด้วยด้ายสีติดไว้เหนือปลายปีก ใช้ลูกปัด ร้อยห้อยเป็นดอกดวงรายตลอดทั้งข้างซ้ายและขวาให้ดูคล้ายขนของนก ใช้ส�ำหรับสวมคาดทับผ้านุ่งตรงระดับสะเอว ปล่อยปลายปีกยื่นไปด้านหลังคล้ายหางกินรี ๖. ผ้านุ่ง เป็นผ้ายาวสี่เหลี่ยมผืนผ้า นุ่งทับชายแล้วรั้งไปเหน็บไว้ข้างหลัง ปล่อยปลายชายให้ห้อยลง เช่นเดียวกับหางกระเบน เรียกปลายชายที่พับแล้วห้อยลงพื้นว่า “หางหงส์” (แต่ชาวบ้านส่วนมากเรียกปีกว่า หางหงส์) การนุ่งผ้าของโนราจะรั้งสูงและรัดรูปแน่นกว่านุ่งโจงกระเบน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

79


๗. กางเกงสนับเพลาหรือที่คนใต้เรียก เหน็บเพลา “หนับเพลา” ก็ว่า ส�ำหรับสวมแล้วนุ่งผ้าทับ ปลายขาใช้ลูกปัดร้อยทับหรือร้อยแล้วทาบ ท�ำเป็นลวดลายดอกดวง เช่น ลายกรวยเชิงรักร้อย ๘. หน้าผ้าหรือผ้าห้อยหน้า ลักษณะเดียวกับชายไหว ถ้าเป็นของโนราใหญ่หรือนายโรงมักท�ำด้วยผ้า แล้วร้อยลูกปัดทาบเป็นลวดลาย ที่ท�ำเป็นผ้า ๓ แถบ คล้ายชายไหลล้อมด้วยชายแครงก็มี ถ้าเป็นของนางร�ำอาจใช้ผ้า พื้นสีต่างๆ ส�ำหรับคาดห้อยเช่นเดียวกับชายไหว ๙. ผ้าห้อยหรือผ้าห้อยข้าง คือ ผ้าสีต่างๆ ที่คาดห้อยคล้ายชายแครง แต่อาจมีมากกว่า โดยปกติจะใช้ ผ้าที่โปร่งบางสีสด แต่ละผืนจะเหน็บห้อยลงทั้งด้านซ้ายและด้านขวาของหน้าผ้า ๑๐. ก�ำไลต้นแขนและปลายแขน เป็นก�ำไลสวมต้นแขน เพือ่ ขบรัดกล้ามเนือ้ ให้ดทู ะมัดทะแมงและเพิม่ ให้สง่างามยิ่งขึ้น ๑๑. ก�ำไล ก�ำไลของโนรามักท�ำด้วยทองเหลือง ท�ำเป็นวงแหวน ใช้สวมมือและเท้าข้างละหลายๆ วง เช่น แขนแต่ละข้างอาจสวม ๕-๑๐ วงซ้อนกัน เพื่อเวลาปรับเปลี่ยนท่าจะได้มีเสียงดังเป็นจังหวะเร้าใจยิ่งขึ้น ๑๒. เล็บ เป็นเครื่องสวมนิ้วมือให้โค้งงามคล้ายเล็บกินนร กินรี ท�ำด้วยทองเหลืองหรือเงิน อาจต่อ ปลายด้วยหวายที่มีลูกปัดร้อยสอดสีไว้พองาม นิยมสวมมือละ ๔ นิ้ว ยกเว้นหัวแม่มือ

80

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ขั้นตอนการท�ำเทริด ๑. ยอดเทริดจะท�ำมาจากไม้เนื้ออ่อน เช่น ไม้มูกมัน ไม้ตีนเป็ด ไม้ขนุน เพราะมีคุณสมบัติที่เบาและมี นามเป็นมงคลด้วย นอกจากนี้ยอดเทริดมักจะมีการถอดสลักออกจากเพดานเทริดได้ด้วย ๒. ยอดเทริดมีลักษณะคล้ายเจดีย์ คือ มีฐานด้านล่างใหญ่ แล้วค่อยลดหลั่นเป็นปลายแหลมในทุกยอด ปลายบนสุดจะท�ำเป็นด้ามจับ ยอดบนสุดเป็นลูกแก้ว เพื่อประโยชน์ในการเล่นกับแสงไฟจะได้เกิดแสงแวววาว ฐานของยอดเทริดด้านในจะท�ำเป็นช่องโหว่เอาไว้ จากการสอบถามได้ความว่าในสมัยโบราณจะมีเล่นของ (ไสยศาสตร์) กันมากเพื่อเป็นการป้องกันตัวเองหรือใส่ของดีให้คนรักคนชอบก็จะซ่อนเอาไว้ใต้ฐานยอดเทริดด้วยเช่นกัน ๓. ดอกไม้ไหว ขนาดของดอกไม้ไหวอยู่ระหว่าง ๑.๕-๒ เซนติเมตร และมีความสูง ๒-๓ เซนติเมตร ขนาดของดอกไม้ ไหวของเทริดทรงผู้และทรงเมียจะมีขนาดเดียวกัน แต่จากการที่ค้นพบทราบว่าลักษณะของดอกไม้ไหวจะไม่เหมือน กันเพราะฝีมอื ของช่างแต่ละคนแตกต่างกัน เทริดทีพ่ บในจังหวัดนครศรีธรรมราช จะมีการตกแต่งดอกไม้ไหวสลับชัน้ กับตัวกระจัง แต่เทริดเก่าๆ ที่ตรวจค้นได้ไม่สามารถจะนับจ�ำนวนได้เนื่องจากการหลุดช�ำรุดขาดการซ่อมแซม ๔. ตัวกระจัง (วงนอกและวงใน) ๔.๑ ตัวกระจังวงนอกมีขนาดความกว้าง ๑.๕-๓ เซนติเมตร มีความกว้างของฐาน ๑-๒ เซนติเมตร และมีขนาดความสูง ๓- ๔ เซนติเมตร จ�ำนวนตัวกระจังรอบนอกประมาณ ๑๖-๒๓ ดอก มีระยะห่างประมาณ ๑-๓ เซนติเมตร ๔.๒ ตัวกระจังวงใน ทั้ง ๒ ชิ้น จะมีขนาดที่เท่ากัน คือ มีความกว้าง ๑.๕ เซนติเมตร ฐานของตัว กระจัง ๐.๕-๑ เซนติเมตร และมีความสูง ๒.๕-๓.๕ เซนติเมตร จ�ำนวนตัวกระจังวงในชั้นที่ ๑ มีจ�ำนวนประมาณ ๑๑-๑๘ ดอก ชั้นที่ ๒ ประมาณ ๑๐-๑๖ ดอก โดยมีระยะห่างประมาณ ๑-๓ เซนติเมตร เป็นสิ่งที่น่าสังเกตว่าเทริดหลายๆ ยอดที่กล่าว ตัวกระจังมักมีลักษณะเหมือนยอดพระธาตุ เมืองนครฯ โดยเฉพาะเทริดที่สร้างจากช่างแว็ก และช่างขาว ธุระเจน จะเป็นปรากฏเป็นยอดพระธาตุอย่างเด่นชัด น่าที่จะเป็น เอกลักษณ์อย่างหนึ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ๕. โครงเทริด ขนาดของโครงเทริดที่สืบค้นได้ จะแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนคือ ส่วนหน้า ส่วนข้าง ส่วนหลัง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

81


นอกจากนี้องค์ประกอบเสริมอื่นๆ ที่สืบค้นได้และน่าสนใจในการท�ำโครงเทริดดังกล่าว ๑. วัสดุที่ท�ำโครงเทริดประกอบด้วย ย่านลิเภา ไม้ไผ่สาน ไม้ทั้งท่อนมแกะเป็นโครงเทริด ทองเหลือง สังกะสี ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าวจะเริ่มท�ำก่อนหลังอย่างไรไม่สามารถสืบค้นได้ ๒. รูปทรงของโครงเทริดประกอบไปด้วย กรอบพักตร์ หูเทริด และท้ายทอยเทริด ๓. ด้านข้างของโครงเทริดกับด้านหลังจะมีความยาวเท่ากัน สาเหตุดงั กล่าวมีผลมาจากเทริดโนราสามารถ ที่จะวางบนพื้นระนาบได้โดยที่ไม่จ�ำเป็นต้องหาของมาเสริมเพื่อวาง ซึ่งจะแตกต่างกับชฎาและมงกุฎของละครไทย ๔. หูเทริด ขนาดของหูเทริดส่วนบน ๒-๕ เซนติเมตร ส่วนกลาง ๑.๕-๒.๕ เซนติเมตร ส่วนล่าง ๑-๑.๕ เซนติเมตร และมีความยาว ๑๐-๑๖ เซนติเมตร ๕. เพดานเทริด ขนาดของเพดานเทริดฐานรอบวงมีขนาด ๖๐-๖๕ เซนติเมตร โดยชั้นบนของเพดานเทริดท�ำเป็นชั้น ลดหลั่นจากต�่ำไปสูง ๓ ชั้น โดยมีความกว้างของแต่ละชั้น ๖. สี การระบายสีเทริดนิยมใช้พื้นสีเหลืองและพื้นสีแดง เทริดบางยอดนิยมการใช้สีเหลืองเป็นพื้นและตัดพื้น ด้วยสีแดง ตรงกับค�ำโบราณที่ว่าสีทองร่องชาด ๗. ส่วนประกอบเบ็ดเตล็ด เพื่อให้เทริดมีความงามและเพิ่มน่าศรัทธายิ่งขึ้น ผู้แสดงมักจะน�ำด้ายมงคล มาตกแต่งที่เทริดอีกด้วยนอกจากที่กล่าวแล้วข้างต้น ส่วนประกอบเทริดยังประกอบด้วย ต่างหู อุบะ และด้ายมงคล

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

82 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ความงามและความโดดเด่นของเครื่องแต่งกายมโนราห์ เป็นงานช่างเกิดจากจินตนาการและการ สร้างสรรค์ผลงานที่ต้องอาศัยความอดทน ตั้งแต่การเรียงร้อยลูกปัดทีละเม็ดเป็นส่วนประกอบของชุดแต่งกาย การตัดเย็บ และปักผ้า เพื่อน�ำมาใช้ประดับตกแต่ง ให้เกิดความงามของการแต่งกาย อีกทั้งการใช้ฝีมือการขึ้นรูป การสลักดุนลายด้วยเครื่องเงิน เพื่อน�ำมาตกแต่งให้เครื่องแต่งกายมโนราห์ดูสะดุดตารวมถึงฝีมือการกลึงขึ้นรูปเทริด การประดับตกแต่งด้วยกระจัง ลวดลาย และการประดับยอดเทริดด้วยแก้วและวัสดุทม่ี แี สงสะท้อนแวววาวล้วนแต่เป็น ภูมิปัญญาของช่างแต่ละแขนงที่น�ำมาเกี่ยวโยงบูรณาการสร้างสรรค์ จนท�ำให้ชุดแต่งกายมโนราห์ มีความงามโดดเด่น มีเอกลักษณ์ กลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ส�ำคัญของภาคใต้ ปัจจุบันในสถานศึกษา เช่น วิทยาลัยนาฏศิลป์และศิลปินพื้นบ้านมโนราห์ มีส่วนส�ำคัญต่อการอนุรักษ์ และสืบสานมรดกภูมิปัญญาการท�ำชุดแต่งกายและเครื่องประดับมโนราห์ โดยเฉพาะการร้อยชุดลูกปัดจะมีการสอน อยูใ่ นคณะมโนราห์ ส่วนเครือ่ งประดับชิน้ อืน่ ๆ ก็มกี ารสืบสานและถ่ายทอดสูเ่ ยาวชนอย่างเป็นระบบสิน้ สุดการสนทนา กลุ่ม/ชุมชนผู้ปฏิบัติสืบทอด วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง จังหวัดพัทลุง กลุ่มสมจิตร์ ศิลป์หัตถกรรม จังหวัดพัทลุง ละมัย ศรีฉลวย อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ธรรมนิต นิคมรัตน์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา สุพัฒน์ นาคเสน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จารีย์ เพชรทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช น้อม คงเกลี้ยง อ�ำเภอชะรัต จังหวัดพัทลุง ถวิล จ�ำปาทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง สกุณา แก้วกล้า อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เอกสารอ้างอิง สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ.๒๕๒๙ กรุงเทพฯ:อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๙.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

83


วรรณกรรมพื้นบ้าน ความหมายและประเภท วรรณกรรมพื้นบ้าน หมายถึง วรรณกรรมที่ถ่ายทอดอยู่ในวิถีชีวิตชาวบ้าน โดยครอบคลุมวรรณกรรม ที่ถ่ายทอดโดยวิธีการบอกเล่า และที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ประเภทของวรรณกรรมพื้นบ้าน ๑. นิทานพื้นบ้าน หมายถึง เรื่องเล่าสืบทอดต่อๆ กันมา เช่น นิทานจักรๆวงศ์ๆ นิทานประจ�ำถิ่น นิทานคติ นิทานอธิบายเหตุ นิทานเรื่องสัตว์ นิทานเรื่องผี นิทานมุขตลก นิทานเรื่องโม้ นิทานเข้าแบบ ๒. ต�ำนานพื้นบ้าน หมายถึง เรื่องเล่าสืบทอดต่อๆกันมาที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อ พิธีกรรม และศาสนาในชุมชนหรือท้องถิ่น ๓. บทร้องพื้นบ้าน หมายถึง ค�ำร้องที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาในโอกาสต่างๆ เช่น บทกล่อมเด็ก บทร้องเล่น บทเกี้ยวพาราสี บทจ๊อย ค�ำเซิ้ง ฯลฯ ๔. บทสวดหรือบทกล่าวในพิธีกรรม หมายถึง ค�ำสวดที่ใช้ประกอบในพิธีกรรมต่างๆ เช่น บทท�ำขวัญ ค�ำบูชา ค�ำสมา ค�ำเวนทาน บทสวดสรภัญญ์ คาถาบทอานิสงส์ บทประกอบการรักษาโรคพื้นบ้าน ค�ำให้พร ค�ำอธิษฐานฯลฯ ๕. ส�ำนวน ภาษิต หมายถึง ค�ำพูดหรือค�ำกล่าวที่สืบทอดกันมา มักมีสัมผัสคล้องจองกัน เช่น โวหาร ค�ำคม ค�ำพังเพย ค�ำอุปมาอุปไมย ค�ำขวัญ คติพจน์ ค�ำสบถสาบาน ค�ำสาปแช่ง ค�ำชม ค�ำคะนอง ฯลฯ ๖. ปริศนาค�ำทาย หมายถึง ค�ำหรือข้อความที่ตั้งเป็นค�ำถาม ค�ำตอบ ที่สืบทอดกันมา เพื่อให้ผู้ตอบได้ ทายหรือตอบปัญหา เช่น ค�ำทาย ปัญหาเชาวน์ ผะหมี ๗. ต�ำรา หมายถึง องค์ความรูท้ มี่ กี ารเขียนบันทึกในเอกสารโบราณ เช่น ต�ำราโหราศาสตร์ ต�ำราดูลกั ษณะ คนและสัตว์ ต�ำรายา ฯลฯ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

84 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียน ๑. เป็นเรื่องที่รู้จักแพร่หลายในระดับชาติ ภูมิภาค หรือท้องถิ่น ๒. เป็นเรื่องที่สะท้อนอัตลักษณ์ของภูมิภาคหรือท้องถิ่น ๓. เป็นเรื่องที่เป็นแกนยึดโยงและสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่นต่าง ๆ ๔. เป็นเรื่องที่ต้องได้รับการคุ้มครองอย่างเร่งด่วน เสี่ยงต่อการสูญหายหรือก�ำลังเผชิญกับภัยคุกคาม ๕. คุณสมบัติอื่นๆ ที่คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าเหมาะสม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

85


นิทานนายดัน นิทานเรือ่ งนายดัน ชาวใต้โดยเฉพาะชาวนครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และสงขลา เล่าสูก่ นั ฟังมาช้านาน เนื้อเรื่องสนุกให้อารมณ์ขัน มีคติธรรมและสะท้อนภาพชีวิตชาวใต้หลายแง่มุม ต่อมากวีชาวนครศรีธรรมราช แต่งเป็นค�ำกาพย์ (กาพย์ ๑๑, ๑๖, ๒๘) บันทึกลงในสมุดข่อย หรือหนังสือบุด ใช้สวดอ่านเพื่อความบันเทิงในเวลาว่าง ก่อนเริ่มเรื่องนายดัน กวีได้อารัมภบทไว้ว่า “ฉานสิทธิ์คิดจักแจ้ง แต่งเรื่องราวกล่าวให้ขัน ขอเชิญด�ำเนินผัน มาสิงสู่อยู่ในทรวง” ค�ำกาพย์ข้างต้นนี้ บอกชื่อนายสิทธิ์ผู้แต่ง แต่ไม่ทราบชัดเจนว่านายสิทธิ์เป็นใคร มีชีวิตอยู่สมัยใด นิทานนายดันมีเรื่องย่อดังนี้ นายดันเป็นบุตรตาพลายและยายเจ้ย นายดันตาพิการแบบตาบอดตาใส คนทัว่ ไปเข้าใจว่าสายตาดี เล่าว่าทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะชาติกอ่ นเขาท�ำหน้าทีค่ อยบอกพ่อแม่ เมือ่ เห็นพระภิกษุมาบิณฑบาต หน้าบ้าน แต่วันหนึ่งทั้งที่เห็นพระภิกษุมาแล้ว แต่นายดันแกล้งท�ำเป็นไม่เห็น ปล่อยให้ท่านยืนแกร่วอยู่นาน จนต้องกลับวัด ด้วยผลกรรมดังกล่าวจึงส่งผลให้เขาตาพิการในชาตินี้ ถึงแม้ตาบอด แต่นายดันมีความจ�ำและไหวพริบปฏิภาณเป็นเลิศ คือเมื่อท�ำสิ่งใดผิดพลาดก็สามารถ หาข้อแก้ตัวได้ทุกครั้งยิ่งกว่าคนตาดี จึงได้ชื่อว่า “นายดัน” เพราะความดันทุรัง ไม่ยอมรับผิดนั่นเอง ครั้นเมื่อนายดันอายุ ๓๐ ปี เขาได้บอกพ่อแม่ให้ไปสู่ขอนางสาวไร หรือริ้งไร สาวก�ำพร้าพ่อมีแต่แม่ชื่อ ยายทองสา ตอนแรกแม่นายดันปฏิเสธเพราะเกรงว่าคงไม่มีใครจะยกลูกสาวให้หนุ่มตาบอด แต่พ่อบอกให้ลองดู เผื่อเป็นเนื้อคู่กัน ในที่สุดด้วยความสามารถของยายอีแม่สื่อ ท�ำให้ยายทองสาตกลงยกลูกสาวให้แต่งงานกับนายดัน พิธีแต่งงานของนายดันสะท้อนภาพประเพณีชาวใต้สมัยนั้นอย่างน่าสนใจ ไม่ว่าการเตรียมงานขบวน ขันหมาก และอาหารการกิน เป็นต้น อย่างไรก็ตามเจ้าบ่าวตาบอดมีข้อผิดพลาดหลายครั้ง แต่สามารถแก้ตัวผ่านไปได้ ด้วยดี เช่น นายดันเดินชนต้นกล้วยก็แสร้งดึงใบกล้วยแล้วบอกว่านกขี้ใส่ช่วยเช็ดให้ด้วย เมื่อถึงบ้านเจ้าสาวแทนที่เดิน ขึน้ บันไดกลับเดินเข้าใต้ถนุ บ้าน พอรูต้ วั ว่าผิดก็แสร้งชีไ้ ปทีไ่ ม้ตงไม้รอดว่าไม่แข็งแรง จากนัน้ เดินขึน้ บนบ้าน แต่กลับไป นั่งที่นอกชาน ครั้นมีผู้มาเตือนก็บอกว่าเท้าโดนขี้ไก่ ขอน�้ำมาล้างด้วย จากนัน้ นายดันเดินเข้าสูห่ อ้ งพิธี เข้ารับพรและค�ำสอนจากปูย่ า่ ตายาย เสร็จแล้วแขกเรือ่ ร่วมวงกินอาหาร เมื่ออิ่มแล้วก็รับมอบของขวัญและลาเจ้าภาพ คงเหลือแต่ผู้อาวุโส ๔ คน รอท�ำพิธีเรียงสาดเรียงหมอนให้คู่บ่าวสาว เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ประพนธ์ เรืองณรงค์ 86

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


นายดันไหว้ผตี ายาย (ผีบรรพบุรษุ ) เสร็จแล้วน�ำเข้าสูห่ อ้ งเจ้าสาว แต่นายดันกลับเดินเข้าห้องครัวเมือ่ รูต้ วั ว่าผิดพลาดจึงแกล้งส่งเสียงบอกว่าลุงขุนอินทร์และหม่อมจินดาเป็นโรคตาลซางในปาก อย่าแกงให้เผ็ดนัก หลังพิธีแต่งงานแล้ว นายดันอยู่ที่บ้านภรรยา โดยมีเด็กผู้ชายชื่อไอ้เหล็กหมาดเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด ส่วนคนอื่นรวมทั้งนางไรภรรยายังไม่ทราบว่านายดันตาบอด และเขาแก้ตัวเอาตัวรอดได้เสมอ เช่น วันหนึ่งนายดัน กินข้าว ปรากฏว่าท�ำข้าวตกหล่นลงใต้ถุนบ้านเกลื่อนกลาด ขณะที่นางไรก�ำลังทอหูกอยู่ใต้ถุนบ้าน จึงร้องถามว่าไม่ พอใจอะไรจึงเทข้าวลงมา นายดันจึงแก้ตัวว่าเห็นไก่แต่ละตัวผ่ายผอมควรให้มันกินอิ่ม เหตุการณ์ต่อมาเมื่อสามี ต้องจ�ำใจไปไถนา ทั้งที่ไม่เคยจับคันไถ ในที่สุดวัววิ่งเตลิดหนี นายดันได้ยินเสียงใบไม้แห้งถูกลงแกว่งไกว เข้าใจว่าวัว หลบซ่อนอยู่ตรงนั้นจึงวิดน�้ำสาด ครั้งเมียมาพบเข้านายดันแก้ตัวว่าสาดรังแตนให้มันจมน�้ำ ในที่สุดพากันกลับบ้าน ตอนปลายเรื่องเล่าว่าวันหนึ่งหลังจากนายดันกินข้าวแล้ว อยากกินหมากแต่หาห่อปูนไม่พบจึงร้องถาม นางไร และบ่นเชิงดุภรรยาเป็นที่น่าร�ำคาญ ภรรยารู้สึกโกรธรีบเดินขึ้นบ้านและคว้าห่อปูนที่ปลายเท้านายดัน พลางควักปูนทาขยี้ที่ดวงตาสามี นายดันร้องด้วยความเจ็บปวดพลางบอกว่าตาบอดแน่แล้วนางไรเข้าใจว่าสามีพูดจริง จึงตกใจและรีบไปพบหมอชื่อตาบัวศรี ได้ยามารักษาจนกระทั่งนายดันหายกลายเป็นคนตาดี หมดเวรกรรมมาตั้งแต่ บัดนั้น ต่อมานายดันและนางไรมีบุตรชายชื่อนายทองดึง ช่วยกันท�ำการค้าขายด้วยความสุจริตจนเป็นเศรษฐี ตอนสุดท้ายนายดันได้รับอนุญาตจากครอบครัวออกบวชเพื่อหาความสุขทางธรรมในบั้นปลายของชีวิต นิทานนายดันที่บันทึกในหนังสือบุด หรือสมุดข่อย มีการปริวรรตเป็นอักษรไทยปัจจุบัน โดยตีพิมพ์ เผยแพร่เป็นรูปเล่มสวยงาม เช่น รวมกับนิทานอื่นๆ เรื่อง “นายดัน วันคาร โสฬนิมิต” ของศูนย์วัฒนธรรมภาคใต้ วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช และหนังสือชือ่ ชุดวรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ ๖ มีเรือ่ ง นายดันค�ำกาพย์ นอกจากนี้เรื่องนายดันยังจัดพิมพ์เป็นวรรณกรรมเยาวชน มีภาพประกอบสวยงาม รวมกับนิทานภาคใต้ เรื่องอื่นๆ อีกด้วย

ที่มา: วีดีโอ เรื่อง นิทานนายดัน จัดท�ำโดยสมาชิกชมรมกวีน้อยของโรงเรียนเทศบาลคลองท่อมใต้ จังหวัดกระบี่ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

87


ต�ำนานพญากงพญาพาน

พญากง พญาพาน เป็นต�ำนานประจ�ำถิ่นของจังหวัดนครปฐม เป็นชื่อที่รับรู้กันแพร่หลายทั่วไป มีชอื่ เรียกและรูปเขียนหลากหลายทัง้ พญากงพญาพาน พญากงพญาพาล (ใช้ “พาล” เพราะมองว่าการกระท�ำปิตฆุ าต เป็นการกระท�ำของคนพาล) พระยากงพระยาพาน บ้างเรียกว่า ต�ำนานพระปฐมเจดีย์ ต้นเค้าของเรื่องได้รับอิทธิพล มาจากคัมภีรป์ รุ าณะ คือเรือ่ งพญากังสะ (กงฺส) ฆ่าพระราชบิดาเพือ่ ชิงราชสมบัติ และตามฆ่าลูกชายของพระนางเทวกี ภายหลังถูกพระกฤษณะสังหาร เรื่องดังกล่าวได้แพร่หลายมากจนภายหลังมีการสร้างสรรค์ขึ้นใหม่เป็นแบบฉบับของ ไทยเพือ่ ใช้ผกู เรือ่ งส�ำหรับอธิบายโบราณสถานหรือสถานทีต่ า่ งๆ อาทิ ต�ำนานพญากงพญาพาน (ต�ำนานพระปฐมเจดีย)์ นิทานเรื่องอุษา บารส (ต�ำนานพระพุทธบาทบัวบก) อย่างไรก็ตามต�ำนานพญากงพญาพานฉบับที่เก่าที่สุดปรากฏอยู่ ในพงศาวดารเหนือที่เป็นการเรียบเรียงเรื่องราวมาจากสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งในพงศาวดารเหนือกล่าวถึงยุคสมัยของ เรื่องพญากง พญาพาน ว่าอยู่ในช่วงประมาณต้นกรุงศรีอยุธยา โครงเรื่องของเรื่องพญากงพญาพานกล่าวถึง ขณะนั้น พญากงได้ครองเมืองกาญจนบุรี (บางส�ำนวน ว่ า เป็ น เมื อ งนครชั ย ศรี ) มี พ ระมเหสี รู ป โฉมงดงาม เมื่ อ พระมเหสี ท รงพระครรภ์ โ หรหลวงได้ ท� ำ นายว่ า จะได้ พระราชโอรสเป็นผู้มีบุญ และจะได้เป็นใหญ่ภายหน้า แต่จะเป็นผู้ฆ่าพระราชบิดาเมื่อครบ ก�ำหนดพระมเหสี ก็ประสูติพระกุมาร ขณะที่ข้าราชบริพารได้เอาพานไปรองรับ บังเอิญหน้าผากของพระกุมาร กระทบขอบพาน เป็นแผล พญากงได้สั่งให้น�ำพระกุมารไปทิ้งตามยถากรรม ยายหอมไปพบเข้าน�ำไปเลี้ยงไว้ และตั้งชื่อว่า “พาน” เรียบเรียงโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิลักษณ์ เกษมผลกูล 88

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ครั้นเมื่อเด็กชายพานโตขึ้นยายหอมก็น�ำไปฝากให้เล่าเรียนที่วัด พานเป็นเด็กฉลาด สมภารวัดผู้เป็น อาจารย์จงึ รักใคร่เอ็นดูมวี ชิ าอะไรก็สอนให้หมดอาจารย์ได้นำ� พานไปฝากให้เข้ารับราชการกับเจ้าเมืองราชบุรี พานเป็น คนปัญญาดี เรียบร้อยและขยัน จึงเป็นทีโ่ ปรดปรานของเจ้าเมืองราชบุรมี าก จนถึงกับรับไว้เป็นโอรสบุญธรรม สมัยนัน้ เมืองราชบุรีขึ้นกับเมืองกาญจนบุรี (บางส�ำนวนว่าเมืองนครชัยศรี) พระยาราชบุรี ต้องส่งเครื่องบรรณาการทุกปี พญาพานเป็นผู้มีฝีมือในการรบจึงชักชวน ให้เจ้าเมืองราชบุรีแข็งเมืองยกกองทัพไปปราบพญายาพานเป็นแม่ทัพ ออกไปรบกับพญากง ทั้งสองท�ำยุทธหัตถีกัน ในที่สุดพญากงก็ถูกฟันด้วยของ้าวคอขาดตายในที่รบ เมื่อพญาพานเข้ายึดเมืองกาญจนบุรี (บางส�ำนวนว่าเมืองนครชัยศรี) ได้แล้ว ย่อมได้ทั้งราชสมบัติ ตลอดจนพระมเหสีของพญากงด้วย แต่ในขณะที่จะเข้าไปหาพระมเหสีนั้น เทวดาได้แปลงกายเป็นแมวแม่ลูกอ่อน ให้ลูกกินนมขวางประตูไว้ แล้วร้องทักเสียก่อน พญาพานจึงได้อธิษฐานว่า ถ้าพระมเหสีเป็นแม่ของตนจริงก็ขอให้มี น�้ำนมไหลซึมออกมา ก็เห็นน�้ำนมไหลออกมาจริง จึงได้รู้ว่าทั้งสองเป็นแม่ลูกกัน พญาพานจึงส�ำนึกได้ว่าได้กระท�ำ ปิตุฆาตฆ่าพระราชบิดา และโกรธที่ยายหอมปิดบังความจริง ด้วยโทสะจริตจึงสั่งให้น�ำยายหอมไปฆ่าเสีย ต่อมา ด้วยความส�ำนึกผิด ที่ได้ฆ่าพระราชบิดาและยายหอมผู้มีพระคุณ จึงได้สร้างพระเจดีย์ขนาดใหญ่ สูงชั่วนกเขาเหิน ตามค�ำแนะน�ำของพระอรหันต์ คือ พระปฐมเจดีย์ ที่เมืองนครชัยศรี (ปัจจุบันตั้งอยู่ในจังหวัดนครปฐม) เพื่อเป็นการ ล้างบาปที่ฆ่าพระราชบิดาให้บรรเทาลงบ้าง และสร้างพระประโทณเจดีย์ (ปัจจุบันตั้งอยู่ในจังหวัดนครปฐม) เพื่อล้างบาปที่ฆ่ายายหอม นอกจากนี้ยังมีเค้าโครงเรื่องที่มีรายละเอียดแตกต่างในตอนท้ายเรื่องอีก ๒ แบบ คือโครงเรื่องพญาพาน เป็นลูกเลีย้ งเมืองสุโขทัย เมือ่ ชนะสงครามเข้าเมือง มารดาเห็นก็ร้องไห้จนทราบว่าเป็นแม่ลกู กัน และอีกโครงเรื่องหนึง่ คือ เมื่อพญาพานชนะกลับมาที่เมืองคิดจะท�ำมารดาเป็นภรรยา เทวดาปลอมตัวเพื่อทักห้ามปรามโดยยามที่ ๑ เป็นแมว และยามที่ ๒ เป็นม้า ในยามที่ ๓ เมื่อพญาพานมาพบ มารดาก็ร้องไห้จนรู้ว่าเป็นแม่ลูกกัน ต�ำนานเรื่องพญากง พญาพานแพร่หลายอย่างมากในภาคกลางโดยเฉพาะในจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ ใกล้เคียง อาทิ จังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เป็นต�ำนานประจ�ำถิ่นที่ใช้อธิบายประวัติความเป็นมาของ พระปฐมเจดีย์ พระประโทณเจดีย์ ตลอดจนชื่อหมู่บ้าน ต�ำบล ตลอดจนแม่น�้ำล�ำคลองต่างๆ ในจังหวัดนครปฐม และจังหวัดใกล้เคียง อาทิ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี พระนครศรีอยุธยา เช่น บ้านถนนขาด (ถนนที่พญากงกับ พญาพานใช้สรู้ บกัน) บ้านสามพราน (บริเวณทีน่ ายพรานสามคนช่วยกันหาช้างให้พญาพานไปรบกับพญากง) บ้านดอน ยายหอม (บริเวณที่ตั้งบ้านเรือนยายหอม)

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

89


นอกจากนี้ยังมีการเล่าสืบต่อกันมาในรูปแบบต่างๆ ในมุขปาฐะ เช่น เพลงขอทานเรื่องพญากง พญาพาน เพลงฉ่อยเรื่องพญากง พญาพาน เพลงอีแซวเรื่องพญากง พญาพาน ลิเกเรื่องพญากง พญาพาน เพลงร�ำโทน เรื่องพญากง พญาพาน แหล่นอกเรื่องพญากง พญาพาน เพลงทรงเครื่องเรื่อง พญากง พญาพาน เป็ น ต้ น ส่ ว นรู ป แบบลายลั ก ษณ์ พ บสมุ ด ไทยที่ หอสมุดแห่งชาติ ๙ ฉบับ รวมถึงมีการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบของโรงพิมพ์ ราษฎร์เจริญ (วัดเกาะ) และโรงพิมพ์อื่นๆ อีกจ�ำนวนมาก และยังคงมีการ ตีพิมพ์ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีรูปปั้นพญากง ตั้งอยู่บริเวณตลาดทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ ใกล้กับพระปฐมเจดีย์ และศาลยายหอม ซึ่งมี ๓ แห่ง รูปปั้นยายหอม ภายในศาลคุณยายหอม ได้แก่ พระปฐมเจดีย์ วัดพระประโทณเจดีย์ และวัดดอนยายหอม ยังปรากฏ ที่วัดดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม สืบมาจนปัจจุบัน และเป็นที่เคารพนับถือของชาวจังหวัดนครปฐมอย่างยิ่ง เรื่องพญากง พญาพาน ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็น ต�ำนานประจ�ำถิน่ จังหวัดนครปฐม และมักมีการน�ำมาสร้างเป็นการแสดง ของจังหวัดนครปฐมในโอกาสต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนมีการน�ำมา ใช้ในการส่งเสริมการขายของผลิตภัณฑ์และการท่องเที่ยวของจังหวัด นครปฐม ในฐานะที่เป็นเอกลักษณ์ประจ�ำจังหวัดนครปฐมอีกด้วย เอกสารอ้างอิง

ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. พญากง พญาพาน: ตัวละครทีได้ที่มาจากวรรณคดีสันสกฤต. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย ปีที่ ๙, ฉบับที่ ๒ (ตุลาคม ๒๕๓๕): ๓๒-๓๘. ทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค), เจ้าพระยา. เรื่องพระปฐมเจดีย์. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๙. เทพ สุนทรศารทูล. กาพย์พญากงพญาภาณ. กรุงเทพฯ : พระนารายณ์, ๒๕๓๗. บุษย์ รจนา. พระยากง พระยาพาน. พระนคร : โรงพิมพ์ราษฏร์เจริญ, ๒๔๙๓. พงษ์อนันต์ สรรพานิช. ผจญภัยในต�ำนานพระยาพาน พระยากง. กรุงเทพฯ : บริษัท ไพลิน บุ๊คเน็ต, ๒๕๔๔. ลิเกเกียรติยศแห่งสยาม พญากง-พญาพาน แห่งสุวรรณภูมิ ณ โรงละครแห่งชาติ (โรงใหญ่) วันพุธที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๖. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม มติชน, ๒๕๔๖. สุกัญญา ภัทราชัย. พญากง พญาพาน ในเพลงพื้นบ้าน. วารสารเมืองโบราณ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ สิงหาคม - พฤศจิกายน ๒๕๒๕ สุจิตต์ วงษ์เทศ. พระปฐมเจดีย์ไม่ใช่เจดีย์แห่งแรกแต่เป็นมหาธาตุหลวงยุคทวารวดี. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๕.

90

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ต�ำนานพันท้ายนรสิงห์

ต�ำนานเกี่ยวกับพันท้ายนรสิงห์ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ ได้กล่าวถึง เหตุการณ์ใน พ.ศ.๒๒๔๖ - ๒๒๕๒ ว่าพระเจ้าเสือหรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๘ ประพาสปากน�้ำสาครบุรี (ปัจจุบัน คือจังหวัดสมุทรสาคร) ด้วยเรือพระที่นั่งเอกไชยเพื่อทรงเบ็ด มีพันท้ายนรสิงห์ ชาวบ้านนรสิงห์ แขวงเมืองอ่างทอง เป็นนายท้าย การเสด็จประพาสปากน�้ำสาครบุรีในครั้งนี้ เมื่อเรือพระที่น่ังไปถึงต�ำบลโคกขามคลองบริเวณดังกล่าว มีความคดเคี้ยวมาก แม้พันท้ายนรสิงห์พยายามคัดท้ายเรือพระที่น่ังอย่างระมัดระวังแต่ก็ไม่อาจหลบเลี่ยงอุบัติเหตุ ท�ำให้หัวเรือพระที่นั่งชนกิ่งไม้ใหญ่หักตกลงไปในน�้ำได้ พันท้ายนรสิงห์รู้โทษดีว่าความผิดครั้งนี้ถึงประหารชีวิตตามโบราณราชประเพณี จึงกราบทูลพระกรุณา น้อมรับโทษ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๘ ทรงพิจารณาเห็นว่าอุบัติเหตุครั้งนี้เป็นการสุดวิสัยมิใช่ความประมาท จึงพระราชทานอภัยโทษให้ แต่พนั ท้ายนรสิงห์กราบบังคมยืนยันขอให้ตดั ศีรษะตนเพือ่ รักษาพระราชก�ำหนดกฎหมาย และเพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอย่างสืบไป แม้สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๘ จะทรงโปรดให้ฝีพายทั้งปวงปั้นมูลดินเป็นรูปพันท้าย นรสิงห์ แล้วให้ตัดศีรษะรูปดินนั้นเพื่อเป็นการทดแทนกัน แต่พันท้ายนรสิงห์ยังคงกราบทูลยืนยันขอให้ประหารตน สมเด็จพระสรรเพชญ์ ที่ ๘ แม้จะทรงอาลัยรักน�้ำใจพันท้ายนรสิงห์เพียงใดก็ทรงจ�ำพระทัยปฎิบัติตาม พระราชก�ำหนดในกฎมณเทียรบาล ด�ำรัสสัง่ ให้เพชฌฆาตประหารพันท้ายนรสิงห์แล้วโปรดให้ตงั้ ศาลเพียงตา น�ำศีรษะ พันท้ายนรสิงห์กับหัวเรือพระที่นั่งเอกไชยซึ่งหักนั้นขึ้นพลีกรรมไว้ด้วยกัน ภายหลังพระเจ้าเสือได้ทรงให้พระยาราช สงครามคุมไพร่พลจ�ำนวน ๓,๐๐๐ คน ท�ำการขุดคลองลัดคลองโคกขามที่คดเคี้ยว ไปออกที่บริเวณแม่น�้ำท่าจีน กว้าง ๕ วา ลึก ๖ ศอก สร้างเสร็จในสมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ พ.ศ. ๒๒๕๒ ได้พระราชทานนามคลองนี้ว่าคลอง สนามไชย ต่อมาเรียกเป็นคลองมหาชัย ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเมืองมหาชัย แต่ชาวบ้านทางสมุทรสาครเรียกว่าคลองถ่าน เพราะสองข้างคลองแถบนี้มีการเผาถ่านอยู่มาก แต่ต้นคลองฝั่งธนบุรีมีการตั้งด่านอยู่ คนฝั่งธนบุรีจึงเรียกชื่อว่า คลองด่าน มีเรื่องพันท้ายนรสิงห์เป็นเกร็ดประวัติศาสตร์เล่าว่า มีนามเดิมว่า สิงห์ แต่ก่อนท่านก็เป็นนักมวย ที่เก่งมากและก็เคยขึ้นชกกับพระเจ้าเสือมาแล้ว แต่ว่าเสมอกัน พระเจ้าเสือรู้สึกประทับใจจึงให้เข้ารับราชการ เป็นมหาดเล็ก แล้วเลือ่ นขึน้ มาเป็นราชองครักษ์ ส่วนเหตุการณ์ทที่ ำ� ให้พนั ท้ายนรสิงห์ตอ้ งโทษประหารนัน้ เพราะท่าน ทราบว่าจะมีพวกกบฏมาดักท�ำร้ายพระเจ้าเสือ จึงจ�ำเป็นต้องถ่วงเวลาขบวนเสด็จด้วยการท�ำให้หัวเรือหักและยอมให้ ตนเองถูกประหารตามกฎมณเฑียรบาลเพือ่ มิให้ไปถึงจุดทีก่ บฏวางแผนเอาไว้ เมือ่ พระเจ้าเสือทรงทราบ จึงได้ให้บนั ทึก ไว้ในพงศาวดาร และให้ตั้งศาลขึ้น ณ ที่แห่งนั้น เรียบเรียงโดย วัฒนะ บุญจับ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

91


ในปัจจุบัน มีการน�ำเรื่องราวของพันท้ายนรสิงห์มาสร้างสรรค์เป็นนวนิยาย ละครเวที และภาพยนตร์ ส�ำหรับ ภาพยนตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ทรงน�ำเรื่องพันท้ายนรสิงห์ มาเขียนเป็นนวนิยาย เมือ่ ได้รบั ความนิยมมาก ในยุคทีล่ ะครเวทีเฟือ่ งฟู พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพนั ธ์ยคุ ล ได้ขายกิจการไทยฟิลม์ ให้กองภาพยนตร์ทหารอากาศ แล้วตั้งคณะละครชื่อ อัศวินการละคร และได้ทรงท�ำเรื่องพันท้ายนรสิงห์เป็นละครเวที เมื่อละครเวทีหมดความนิยม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ก็หันกลับมาสร้างภาพยนตร์อีกครั้งหนึ่ง ในนาม อัศวินภาพยนตร์ จึงได้น�ำเรื่องพันท้ายนรสิงห์มาสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่องแรก เนื้อเรื่องตามละครและภาพยนตร์ พระเจ้าเสือไม่ยอมประหารแต่ให้ปั้นรูปปั้นแล้วท�ำการตัดหัว รูปปั้นแทน แต่พันท้ายนรสิงห์ไม่ยอมเพราะจะเป็นการขัดกฎมณเฑียรบาล จึงขอให้ประหาร เพื่อมิให้ผู้อื่นเอาเป็น เยีย่ งอย่าง แต่กอ่ นทีจ่ ะประหารพันท้ายนรสิงห์ได้ขอกลับบ้านไปร�ำ่ ลาแม่สนี วลผูภ้ รรยา จากนัน้ พันท้ายนรสิงห์จงึ กลับ มารับโทษประหารในวันเดียวกัน ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของอัศวินภาพยนตร์ ถ่ายท�ำในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ในระบบฟิล์ม ๑๖ มม. ก�ำกับการแสดงโดย มารุต ถ่ายภาพโดย รัตน์ เปสตันยี อ�ำนวยการสร้างโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ภาณุพันธ์ยุคล (เสด็จพระองค์ชายใหญ่) กลับมาฉายใหม่อีก ๒ ครั้ง ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ และ พ.ศ. ๒๕๐๙

ที่มา : www.snr.ac.th/learning/sukan-thai/content.htm พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

92 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาพยนตร์เรื่องนี้ถูกน�ำมาสร้างใหม่อีกครั้งเป็นภาพยนตร์ ๓๕ มม. ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมีการ ปรับเปลี่ยนชื่อเรื่องใหม่เป็น พระเจ้าเสือ พันท้ายนรสิงห์ ก�ำกับการแสดงโดย เนรมิต นอกจากนัน้ ยังมีการน�ำเรือ่ งราวของพันท้ายนรสิงห์มาผลิตเป็น ภาพยนตร์โทรทัศน์ (ละครโทรทัศน์ทใี่ ช้ วิธีการถ่ายท�ำแบบภาพยนตร์) ที่มีก�ำหนดออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๓ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๗ ผลงานก�ำกับและเขียนบทของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล เรื่องราวของพันท้ายนรสิงห์ ผู้จงรักภักดีและซื่อสัตย์ ทีจ่ งั หวัดสมุทรสาครมี ศาลพันท้ายนรสิงห์ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นพันท้ายนรสิงห์ ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์ อ�ำเภอเมือง สมุทรสาคร เป็นอนุสรณ์สถานที่สร้างขึ้นเพื่อให้คนรุ่นหลังได้ร�ำลึกถึงความซื่อสัตย์ และเป็นผู้รักษากฎระเบียบยิ่งกว่า ชี วิ ต ของพั น ท้ า ยนรสิ ง ห์ ปั จ จุ บั น ได้ รั บ การ ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ ในราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ ม ๗๒ ตอนที่ ๒ เมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๘ กรมศิลปากร ได้ด�ำเนินการจัดสร้างศาลพันท้ายนรสิงห์ขึ้น อยู่ถัดจากศาลเก่าที่พังลงมาไม่มากนัก โดยกัน อาณาบริเวณรอบๆ ศาลไว้ประมาณ ๑๐๐ ไร่ เพื่อจัดตั้งเป็น “อุทยานพันท้ายนรสิงห์” ภายใน ศาลมีรปู ปัน้ ของพันท้ายนรสิงห์ขนาดเท่าคนจริง ในท่าถือท้ายคัดเรือ นอกจากนั้ น ชื่ อ ของ พั น ท้ า ย นรสิงห์ ยังถูกใช้เป็นเครื่องหมายการค้าส�ำหรับ สินค้าพื้นเมืองหลายประเภท เช่น น�้ำพริกเผา น�ำ้ จิม้ สุกี้ น�ำ้ จิม้ ไก่ ซอสปรุงรส น�ำ้ พริก กะปิ ฯลฯ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

93


ต�ำนานชาละวัน นิทานในภาคกลางที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับจระเข้ชื่อ ชาละวัน มีทั้งที่เป็นนิทานประจ�ำถิ่น และนิทานชีวิต นิทานประจ�ำถิ่น (legend) มี ๓ เรื่อง ได้แก่ ต�ำนานชาละวัน จังหวัดพิจิตร ต�ำนานไกรทอง ของจังหวัดนนทบุรี และ ต�ำนานท้าวพันตา-พญาพันวัง จังหวัดนครนายก ส่วนนิทานชีวิต (romantic tale) มี ๒ เรื่อง ได้แก่ เรื่อง ท้าวแสนตาและพญาพันวัง ต�ำนานชาละวัน เป็นนิทานที่รู้จักกันแพร่หลายมากในจังหวัดพิจิตร ชาละวันเป็นชื่อจระเข้ใหญ่ เลื่องชื่อในแง่ดุร้าย กัดกินคนเป็นจ�ำนวนมาก เชื่อกันว่าเคยอาศัยอยู่ในล�ำน�้ำน่านเก่าเมืองพิจิตร เรื่องที่เล่า สืบทอดกันมามีดังนี้ มีตายายคู่หนึ่ง อยู่กินกันมานานจนล่วงเข้าวัยชราแต่ไม่มีบุตร วันหนึ่งตายายลอยเรือหาปลาไปตาม ริมสระน�้ำใหญ่ ขณะที่ยายวาดคัดท้ายเรือเข้าหาฝั่งแลเห็นไข่จระเข้ฟองหนึ่งอยู่บนกอพงขอบสระ จึงเก็บมา ตั้งใจว่า จะเอาไปฟักให้เป็นตัวเลื้ยงไว้ที่บ้าน แม้ตาจะห้ามปรามไม่เห็นด้วย ยายก็ไม่ฟัง พอไข่ฟักเป็นตัว ยายก็เลี้ยงจระเข้น้อยนั้นไว้ในอ่างน�้ำให้กินเนื้อปลาสับเป็นชิ้นเล็กๆ ด้วยความเอาใจใส่ และเล่นหัวอย่างคุ้นเคยทั้งยายและตา เมื่อลูกจระเข้ตัวยาวเต็มอ่าง ตายายก็น�ำไปเลี้ยงไว้ในสระน�้ำใกล้บ้าน ยิ่งนานวันตายายก็ต้องมีภาระหาปลามาให้กินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ วันหนึ่งตาออกไปหาปลาเพียงคนเดียว ปล่อยให้ยายนอนซมอยู่กับบ้านด้วยพิษไข้ ถึงเวลาเย็น ตายังไม่กลับด้วยเกรงว่าจระเข้จะหิว ยายจึงฉวยข้องทีม่ ปี ลาขังอยู่ เดินไปทีส่ ระพร้อมกับส่งเสียงเรียกจระเข้ให้มากิน เหมือนเช่นเคย จระเข้ใหญ่ก�ำลังหิวจัด จึงใช้หางแว้งฟาดตัวยายตกลงไปในสระ รุ่งเช้าตาไม่เห็นยาย เข้าใจว่ายายคง ไปค้างที่อื่น ตกเย็นตากลับบ้านไม่พบยายอีก จึงตรงไปที่สระ มองเห็นข้องปลาจมปริ่มน�้ำอยู่ขอบสระ จึงแน่ใจว่า ยายต้องถูกจระเข้กินเสียแล้ว ขณะเดียวกันจระเข้ก็โผล่ขึ้นมาลากเอาตาลงไปกินอีกคน จากนั้นมาจระเข้ก็ไม่มี อาหารกิน เพราะไม่มีตายายคอยให้อาหาร เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ สุกัญญา สุจฉายา พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

94 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


จระเข้อดอยากอยูห่ ลายวัน เมือ่ ทนหิวไม่ไหวจึงคลานจากสระลงไปทีแ่ ม่นำ�้ น่านเก่าทีอ่ ยูห่ า่ งสระออกไป ประมาณ ๕๐๐ เมตร เที่ยวกัดกินคนที่อาบน�้ำในแม่น�้ำแถวนั้น จนผู้คนหวาดกลัวพากันหลบหนีไปอยู่ในละแวกอื่น กันหมด เรือที่พายไปมาจะถูกหนุนให้ล่มอยู่เสมอ จนเป็นที่หวาดผวาของผู้คนแถบริมฝั่งตลอดมา ชาวบ้านจึงพากัน เรียกชือ่ ตามพฤติกรรมทีม่ นั ท�ำร้ายคนไม่เว้นแต่ละวันว่า “ไอ้ตาละวัน” ตามเสียงเรียกของคนถิน่ นัน้ เรียกกันไปเรียก กันมาจึงเพี้ยนเป็น “ไอ้ชาละวัน” ชาละวันอาละวาดอยู่ในน่านน�้ำเมืองพิจิตรเก่าย่านเหนือ ตั้งแต่วังกระดี่ทอง ดงเศรษฐี ดงชาละวัน ดงชะพลู จนคนเข็ดขยาดไม่กล้าลงน�้ำ ชาละวันจึงล่องลงไปหากินทางตอนใต้ จนถึงเมืองพิจิตรเก่า ขณะนั้นธิดาสาว ของเศรษฐีเมืองพิจิตรก�ำลังอาบน�้ำอยู่บนแพท่าน�้ำหน้าบ้าน จึงถูกชาละวันแว้งคาบลงน�้ำจมหายไป เศรษฐีกบั ภรรยาเสียใจเป็นทีส่ ดุ จึงได้ประกาศตัง้ รางวัลอย่างงามเป็นเงินหลายสิบชัง่ กับธิดาสาวทีย่ งั เหลือ อยู่อีก ๑ คน ให้แก่ผู้ที่สังหารจระเข้ร้ายตัวนี้ได้ ผู้ขันอาสาต่างก็ถูกชาละวันท�ำร้ายกัดตายเสียหลายคน จนภายหลัง มีพ่อค้าเรือจากทางใต้น�ำ นายไกร ศิษย์เอกของอาจารย์หมอจระเข้ที่เรืองวิชามารับอาสาฆ่าชาละวันตายด้วยหอก ลงอาคม บางต�ำนานก็ว่าไกรทองเป็นผู้ปราบชาละวันได้ส�ำเร็จ บางต�ำนานก็ไม่ได้กล่าวว่ามีใครเป็นผู้ปราบ ความสัมพันธ์ของนิทานเรื่องนี้กับท้องถิ่นปรากฏในรูปแบบของสถานที่ต่างๆ ที่เป็นหลักฐานยืนยันถึงการเกิด เหตุการณ์ต่างๆ ในเรื่อง ชาวพิจิตรเคยเชื่อกันว่า ถ�้ำของชาละวันอยู่กลางล�ำน�้ำน่านเก่า ห่างจากวัดเก่าถ�้ำชาละวัน ไปทางใต้ประมาณ ๓๐๐ เมตร ที่วัดถ�้ำนี้มีฐานเจดีย์เก่าขนาดใหญ่อยู่หน้าวิหารหลวงพ่อทอง ที่หน้าเจดีย์มี ศาลตายาย ผู้เลี้ยงชาละวัน เล่ากันว่า หัวชาละวันใหญ่มาก “ยาวเป็นวา”น�ำไปตั้งที่ ศาลเพียงตาหน้าเมืองพิจิตร ชาละวันเวลาลอยตัวขึ้นมาจะขวางล�ำน�้ำหัวเกยอยู่ฝั่งหนึ่งหางจะทอดอยู่อีกฝั่งหนึ่ง บริเวณนี้จึงเรียก ย่านยาว และ ดงชาละวัน ต�ำนานไกรทอง เป็นนิทานประจ�ำถิ่น ของจั ง หวั ด นนทบุ รี เป็ น นิ ท านอี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ มี ความเกี่ยวข้องกับ จระเข้ชาละวัน ต�ำนานเรื่องนี้ กล่าวถึงนายไกรทอง ชาวบางกรวยเป็นหมอจระเข้ ผู้อาสาไปปราบจระเข้ใหญ่ชาละวันที่เมืองพิจิตร ได้ส�ำเร็จ สถานที่ในจังหวัดนนทบุรีหลายแห่งได้น�ำ ชื่อนายไกรทองมาตั้งเป็นที่ระลึก เช่น คลองบางไกร วัดบางไกรใน วัดบางไกรนอก และ ศาลนายไกรทอง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

95


ต� ำ นานท้ า วพั น ตา-พญาพั น วั ง เป็ น นิ ท านประจ� ำ ถิ่ น ของคนลุ ่ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาอี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ แพร่หลายมาก เล่ากันว่า สมัยก่อนทางหัวเมืองเหนือมีจระเข้ขนาดใหญ่ ตัวยาวถึงหนึ่งเส้นเศษ ชื่อว่าท้าวโคจร ปกครองอยู่ ส่วนหัวเมืองทางใต้มีหัวหน้าจระเข้ที่ดุร้ายมากสองตัว ชื่อว่าท้าวพันตา และพญาพันวัง คราวใดที่จระเข้ ทางหัวเมืองเหนือลงไปหากินในถิน่ ของจระเข้หวั เมืองใต้ ก็จะถูกจระเข้ทางหัวเมืองใต้รมุ กัด จระเข้หวั เมืองเหนือจึงน�ำ เรื่องไปรายงานท้าวโคจร ท�ำให้ท้าวโคจรโกรธมาก แปลงกายเป็นคนจะลงไปก�ำราบจระเข้ทางหัวเมืองใต้ เผอิญ มีสองตายายพายเรือผ่านมาท้าวโคจรจึงขออาศัยไปด้วย โดยอาสาพายเรือให้ เมื่อพายเรือมาสิบวันก็ถึงเขตของจระเข้ หัวเมืองใต้ ท้าวโคจรก็ลาตายายแล้วบอกว่าให้จอดเรืออยู่ข้างตลิ่ง ถ้าเห็นอะไรครึกโครมก็อย่าตกใจ และถ้าเห็นจระเข้ เข้ามาก็ให้เอาขมิ้นผงโรยลงในน�้ำ จระเข้จะหนีไป หลังจากนั้นท้าวโคจรก็กระโดดลงน�้ำ คืนร่างเป็นจระเข้ตัวใหญ่ฟาดหัวฟาดหางโครมคราม สถานที่ ตรงนั้นจึงได้ชื่อว่า “ดาวคะนอง” เนื่องมาจากความคึกคะนองของท้าวโคจร ท้าวโคจรได้เข้าต่อสู้จนจระเข้หัวเมืองใต้ ล้มตายไปมาก จระเข้เหล่านั้นจึงไปรายงานท้าวพันตา ท้าวพันตาก็เข้าต่อสู้กับท้าวโคจร จระเข้ทั้งสองสู้กันอยู่ถึง เจ็ดวันเจ็ดคืน สุดท้ายท้าวพันตาเป็นฝ่ายเสียท่าถูกท้าวโคจรฆ่าตาย พวกจระเข้บริวารเมื่อเห็นหัวหน้าของตนตาย ก็ไปรายงานพญาพันวัง พญาพันวังจึงขึ้นมาแก้แค้น แต่ก็เกือบจะเสียทีท้าวโคจร เนื่องจากท้าวพันวังมีก�ำลังน้อยกว่า กล่าวถึง เจ้าพ่อองครักษ์ ซึ่งเป็นเจ้าน�้ำบริเวณนั้น สงสารพญาพันวังซึ่งเป็นจระเข้อยู่ในถิ่นของตน เจ้าพ่อจึงลงประทับที่หัวของพญาพันวังท�ำให้พญาพันวังมีก�ำลังมากขึ้น และด้วยเหตุนี้คนทั่วไปจึงเรียกต�ำแหน่งนั้นว่า “ที่นั่งองค์อมรินทร์พระอินศวร” เมื่อท้าวโคจรเห็นว่าเจ้าพ่อองครักษ์ประทับอยู่บนหัวของพญาพันวังก็ตัดพ้อว่าเหตุใดจึงมาช่วยจระเข้ พาลอย่างพญาพันวัง แต่พญาพันวังกลับอวดดีบอกว่าตนเก่งเอง ไม่ได้มเี ทวดาทีไ่ หนมาช่วย เจ้าพ่อองครักษ์จงึ ออกจาก หัวของจระเข้ ท�ำให้พญาพันวังถูกท้าวโคจรฆ่าตายในที่สุด หลังจากนัน้ ท้าวโคจรก็ได้คาบหัวของท้าวพันวังมาท�ำพิธบี วงสรวงถวายเทวดาอารักษ์ทชี่ ว่ ยปราบจระเข้ พาลส�ำเร็จ ที่ศาลเจ้าพ่อพระปะแดง ด้วยเหตุนี้จึงเกิดธรรมเนียมน�ำหัวจระเข้ไปไว้ที่ศาลเจ้าพ่อตามล�ำแม่น�้ำ เมื่อปราบจระเข้พาลแล้วท้าวโคจรก็กลับไปยังถิ่นในภาคเหนือ

96

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ต� ำ นานประจ� ำ ถิ่ น เรื่ อ งนี้ เ ล่ า ต่ อ ๆกั น มา ในภายหลั ง ได้ มี ผู ้ น� ำ ไปผนวกเข้ า กั บ เรื่ อ งของ ไกรทอง หมอจระเข้ลือชื่อ จึงมาปรากฏอยู่ในตอนต้นของ บทละครนอก เรื่อง ไกรทอง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย เรื่ อ งเริ่ ม เมื่ อ ท้ า วโคจรทะเลาะวิ ว าทกั บ ท้ า วพั น ตาและพญาพั น วั ง จนฆ่ า กั น ตาย ทัง้ สามตัว แล้ว ชาละวันได้รบั มอบอ�ำนาจให้ปกครองบริวารทัง้ ปวง และเริม่ ประพฤติผดิ ศีลโดยจับมนุษย์กนิ เป็นอาหาร วันหนึ่งไปฉุดนางมนุษย์ตะเภาทองมาเป็นเมีย ไกรทองจึงออกมาปราบจนได้รับชื่อเสียงเงินทอง และได้แต่งงานกับ สองพี่น้องนางตะเภาทองและนางตะเภาแก้ว จะเห็นได้ว่าบทละครนอกเรื่อง ไกรทอง ได้เชื่อมโยงนิทานประจ�ำถิ่น ทั้ง ๓ เรื่องเข้าด้วยกัน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของคนในลุ่มน�้ำเจ้าพระยาตอนต้นน�้ำ คือ พิจิตร กลางน�้ำ คือ นนทบุรี และปลายน�้ำก่อนออกปากอ่าวไทยที่ ธนบุรี นิทานไทยภาคกลางสะท้อนภาพของจระเข้ในสังคมไทยว่าได้รับการยกย่องให้เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ เห็นได้ จากเรื่องราวของจระเข้เจ้าและจระเข้บริวารเจ้าพ่อเจ้าแม่ในต�ำนานประจ�ำถิ่นของภาคกลาง ทั้งยังมีหลักฐานยืนยัน เป็นศาลจระเข้เจ้าหรือศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่ที่มีจระเข้เป็นบริวารตั้งอยู่ประจ�ำถิ่นต่างๆ อีกด้วย คนไทยมีความเชื่อเรื่องจระเข้ว่า หากผู้ใดไม่ยอมท�ำบุญสุนทาน จะต้องกลายเป็นจระเข้เฝ้าขุมสมบัติ อยูอ่ ย่างทรมานจนตาย ซึง่ สอดคล้องกับความเชือ่ ทางพุทธศาสนาทีไ่ ด้บญ ั ญัตไิ ว้วา่ หากผูใ้ ดตระหนีใ่ นทานจะมีผวิ พรรณ ไม่สวยงาม และไม่มีเครื่องอุปโภคบริโภค เนื่องจากจระเข้เป็นสัตว์ที่มีผิวพรรณขรุขระไม่สวยงาม ทั้งยังต้องใช้เวลา หลายวันเพื่อหาเหยื่ออีกด้วย เอกสารอ้างอิง

ฉลอง สุวรรณโรจน์ “ชาละวัน : นิทาน” สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง เล่ม ๓ . หน้า ๑๘๑๙-๒๐. มูลนิธิสารานุกรม วัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ๒๕๔๑. พรรณราย ชาญหิรัญ. บทบาทของจระเข้ในนิทานไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๒. พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

97


ต�ำนานปู่แสะย่าแสะ ต�ำนานเกี่ยวกับ ปู่แสะย่าแสะ หรือ ผีปู่แสะย่าแสะ มีกล่าวถึงใน ต�ำนานเชียงใหม่ปางเดิม โดยเล่าว่า วันหนึ่ง ครั้งที่พระพุทธเจ้ายังไม่เข้าสู่นิพพานนั้น มีฝนเงินฝนทองตกลงมาห่าใหญ่ที่ดอยแห่งหนึ่ง พระพุทธองค์ จึงพยากรณ์ว่าในอนาคตดอยที่น่ีจะมีชื่อว่า “ดอยค�ำ” และได้สอบถามชาวเมืองทมิฬที่อยู่ในบริเวณนั้นว่า ชาวเมือง หายไปไหนกันหมด ชาวทมิฬจึงทูลแก่พระองค์ว่า เนื่องมาจากมียักษ์สองผัวเมียคู่หนึ่งอยู่ดอยเหนือและดอยใต้ มาจับชาวเมืองกินหมด พระองค์ได้ยินดังนั้นจึงไปหายักษ์ทั้งสองตน และได้สั่งห้ามยักษ์ทั้งสองว่าอย่าได้กินมนุษย์อีก ยักษ์ทงั้ สองได้ตอ่ รองกับพระพุทธเจ้าว่า ขอกินเดือนละคน พระองค์กไ็ ม่ทรงอนุญาต ขอกินปีละคน ก็ยงั ไม่ทรงอนุญาต จึงขอกินเพียงควายเขาค�ำ หรือควายรุ่นที่มีเขาเพียงหูปีละสองตัวแล้วจะดูแลพระศาสนาให้ถึงห้าพันปี พระพุทธองค์ จึงให้ศีลห้าแล้วก็เสด็จจากไป อีกส�ำนวนหนึ่ง จาก ต�ำนานดอยค�ำ เล่าว่า สมัยที่พระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรดสัตว์ ถึงดอยค�ำ ได้พบยักษ์สามตนพ่อแม่ลูกซึ่งยังชีพด้วยเนื้อสัตว์และเนื้อมนุษย์ เมื่อยักษ์ทั้งสามเห็นพระพุทธเจ้าก็จะจับ พระพุทธเจ้ากิน แต่พระพุทธองค์ทรงแผ่เมตตาจนยักษ์ทงั้ สามเกรงในพระบารมี จึงยอมแสดงความเคารพ พระพุทธเจ้า จึงทรงเทศนาและให้ยกั ษ์ทงั้ สามรักษาศีลห้า แต่ปแู่ สะย่าแสะไม่อาจรับศีลห้าได้ตลอด จึงขอกินเนือ้ มนุษย์ปลี ะสองคน เมื่อพระพุทธองค์ไม่ทรงอนุญาตก็ขอต่อรองลงมาเรื่อย ๆ จนขอกินเนื้อสัตว์แทน พระพุทธองค์ก็ทรงบอกให้ไปถาม เจ้าเมืองเอาเอง แล้วพระพุทธองค์กเ็ สด็จจากไปและให้พระเกศาธาตุไว้ซงึ่ ต่อมากลายเป็นพระธาตุดอยค�ำ ส่วนบุตรนัน้ มี ค วามประทั บ ใจในค�ำ สอนของพระพุ ท ธเจ้ า จึ ง ได้ ข อบวช แต่ พ ระองค์ ไ ม่ อ นุ ญ าต แต่ ใ ห้ บ วชเป็ น ฤาษี แ ทน เมื่อบวชแล้วจึงได้ชื่อว่า สุเทวฤาษี หรือ วาสุเทวฤาษี อันเป็นที่มาของชื่อดอยสุเทพ นอกจากนี้ยังมีเรื่องเล่าอีกบางส�ำนวนกล่าวว่า ปู่แสะย่าแสะเป็นผีของลัวะที่กลายมาเป็นผีประจ�ำเมือง เชียงใหม่ โดยท�ำหน้าที่คุ้มครองดูแลในบริเวณภายนอกเมือง เพราะภายในมีผีอื่นดูแลแล้ว ในส่วนของพิธีกรรมอันสืบเนื่องมาจากเรื่องราวในต�ำนาน เมื่อถึงเดือน ๙ ของทางภาคเหนือ ชาวบ้าน ก็จะเอาควายด�ำที่ยังไม่ได้ตอน และไม่เสียลักษณะของควายที่ดี ไปเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะที่อยู่ดอยเหนือ คือที่ ตีนดอยสุเทพตัวหนึ่ง และที่อยู่ตีนดอยใต้ คือ ดอยค�ำริมน�้ำแม่เหียะตัวหนึ่ง โดยเมื่อจักพลีกรรมบูชา ให้นิมนต์ รูปพระพุทธเจ้าทีว่ าดบนผ้าทีเ่ รียกว่า “พระบถ” สูง ๙ ศอก โดยให้หอ้ ยพระบถกับต้นไม้ และให้นมิ นต์พระทีอ่ ปุ สมบท ใหม่ ๘ รูป ไปสวดสมโภชพระบถนั้น ส่วนซากควายนั้นให้คนและพระฉันให้หมดในที่นั้น ถ้าเหลือให้เอาฝังดินเสีย อย่าได้เอามากินกันจะเป็นอัปมงคล อย่ า งไรก็ ต าม ในทางปฏิ บั ติ พระสงฆ์ ที่ นิ ม นต์ ม าสวดสมโภชพระบถนั้ น ไม่ ใช่ พ ระที่ บ วชใหม่ และเนื้อควายที่เหลือจากการบูชาแก่ผี ชาวบ้านก็น�ำไปแบ่งกันกินที่บ้านต่อไป พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

98 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์รังสรรค์ จันต๊ะ


คนในชุมชนแม่เหียะและบริเวณใกล้เคียงเขตเมืองเชียงใหม่ ยังคงผลิตซ�้ำต�ำนานและพิธีกรรมเลี้ยงผี ปู่แสะย่าแสะสืบทอดจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยผสมผสานลัทธิการบูชาผีสางเทวดากับพิธีกรรมทางพุทธศาสนา และศาสนาพราหมณ์ อันเป็นการกล่าวถวายบูชาท้าวจตุโลกบาล หรือ “ท้าวทั้งสี่” ที่แท่นบูชาก่อน โดยการปักไม้ ส�ำหรับวางกรวยส�ำรับอาหารที่ใช้บูชา แบ่งเป็น ๔ ที่ เพื่อถวายแก่ เทวดาทั้งสี่ นอกจากเนื้อหาเรื่องราวในต�ำนานผีปู่แสะย่าแสะแล้ว ยังมีค�ำกล่าวโอกาสเวนทานแก่ท้าวทั้งสี่นี้ด้วย ซึ่งได้กลายเป็นจุดส�ำคัญหรือหัวใจของพิธีกรรม โดยมีผู้ประกอบพิธีกรรมที่เรียกว่า “ตั้งข้าว” ท�ำหน้าที่เป็นสื่อคล้าย กับ “ทูต” เพื่อติดต่อสื่อสารระหว่างเทวดา ผี กับมนุษย์ โดยกล่าวอัญเชิญเทวดาท้าวทั้งสี่ และผีปู่แสะย่าแสะ เพื่อลง มารับเครื่องสังเวยนั้นด้วย “ตั้งข้าว” จะท�ำพิธีอัญเชิญเทวดาและผี โดยการสวดอ่านจากบันทึกค�ำโอกาสเวนทานนั้น นานประมาณครึ่งชั่วโมงก่อน แล้วพิธีอื่น ๆ จึงจะเริ่มตามมาได้ ในอดีต ชาวบ้านจะจัดให้มีพิธีเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะขึ้นที่เชิงดอยค�ำ ต�ำบลแม่เหียะ อ�ำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ ในอาณาบริเวณเดียวกันของอุทยานแห่งชาติปุย – สุเทพ โดยมีกษัตริย์ และขุนนางชั้นสูงอื่น ๆ เข้าร่วมด้วย โดยชาวบ้านในต�ำบลสุเทพจะเป็นผู้จัดเลี้ยงในบริเวณหอผีกลางบ้านของหมู่บ้านดอยสุเทพ (ปัจจุบันคือบริเวณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ขณะเดียวกันชาวบ้านต�ำบลแม่เหียะ ก็จะท�ำพิธีเลี้ยงผีเดียวกันนี้ขึ้นที่ “ดงย่าแสะ” บริเวณเชิงดอยค�ำในวันขึ้น ๑๔ ค�่ำ เดือน ๙ เหนือ ต่อมาราว พ.ศ. ๒๔๘๐ ทางการได้ห้ามจัดพิธีเลี้ยงผี ดังกล่าว มาจนถึงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ได้มีการฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน หากพิจารณาในแง่อิทธิพลปัจจัยทางสังคมที่มีต่อกระบวนการผลิตซ�้ำทางวัฒนธรรมของชุมชนทั้ง เรื่องราวด้านเนื้อหาของต�ำนานและรูปแบบของพิธีกรรมแล้ว กระแสการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมท้องถิ่นและกระแส การ ต่อต้านการเข้ามาของกระแสทุนโลกาภิวตั น์ทเี่ ร่งความเจริญเติบโตทางด้านกายภาพของความเป็นสังคมแบบเมือง รวมถึงปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าของกลุ่มทุนบ้านจัดสรรต่าง ๆ ถือเป็นปัจจัยทางสังคมที่เป็นแรงผลักดันอันส�ำคัญ ที่จะช่วยตอกย�้ำให้ชุมชนพยายามผลิตซ�้ำอุดมการณ์ของผีเมืองดังกล่าวให้เป็นรูปธรรมเพิ่มมากขึ้น โดยนัยดังกล่าว ต�ำนานและพิธีกรรมเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ ด้านหนึ่งจึงเป็นเรื่องการช่วงชิงพื้นที่ทางทางกายภาพและพื้นที่ทางสังคม ของชุมชนในนามของการปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน จึงท�ำให้พิธีกรรมยังคงมีบทบาทและเพิ่ม ความคึกคักมีชีวิตชีวามากขึ้น และเป็นที่รับรู้กันในสังคมวงกว้าง ท�ำให้มีคนทั่วไป รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานราชการและองค์กรสื่อสารมวลชนแขนงต่าง ๆ ได้เข้าร่วมในพิธีกรรมดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี เอกสารอ้างอิง

ฝ่ายวิจัยล้านนา,สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๓๗. ต�ำนานเชียงใหม่ปางเดิม, เอกสารวิชาการร่วมสมโภช ๗๐๐ ปี เมืองเชียงใหม่ อันดับที่ ๒ มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ, ๒๕๔๒. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ, “ปู่แสะ/ย่าแสะ” หน้า ๓๙๓๐ และ “ผีปู่แสะย่าแสะ”, หน้า ๔๑๐๑ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

99


เพลงแห่นางแมว

ในสังคมเกษตรกรรม ซึ่งน�้ำฝนมีความส�ำคัญอย่างมากต่อการเริ่มเพาะปลูกพืชพันธุ์ ถ้าปีใดฝนมาช้า พื้นดินแห้งแล้งไม่สามารถเพาะปลูกได้ ก็จะเกิดความเดือนร้อนไปทั่ว เกิดความอดอยาก ยากจน ไม่มีข้าว พืชไร่ ไว้เลี้ยงชีพ ไว้ขายส�ำหรับเอาเงินมาใช้จ่ายในเรื่องอื่น ๆ ในสังคมดังกล่าวจึงมีพธิ ี อันเนือ่ งมาจากความเชือ่ ทีจ่ ะท�ำลายอ�ำนาจทีท่ ำ� ให้ฝนแล้ง บันดาลให้ฝนตกลง ในเทศกาลดังกล่าวเพื่อที่จะ เริ่มชีวิตเกษตรกรรม ในสังคมไทยมีพิธีกรรมเกี่ยวกับความเจริญงอกงาม ที่ประพฤติเป็น ประเพณีสืบต่อกันมา คือเรื่องแห่นางแมว เรื่องปั้นเมฆของภาคกลาง และประเพณีการจุดบั้งไฟ ของภาคอีสาน การที่ท�ำพิธีแห่นางแมว เพราะมีความเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่กลัวน�้ำ จึงเป็นตัวที่ท�ำให้เกิดความแห้งแล้ง ฝนไม่ตกจึงต้องจับแมวมาตระเวนแห่ และให้ผคู้ นตักน�ำ้ รดราดแมวจนแมวเปียกหนาวสัน่ เพือ่ ท�ำลายความเป็นตัวแล้ง ให้หมดไป การแห่นางแมวของชาวบ้าน จะท�ำในปีที่ฝนมาล่าพิธีเริ่มต้น ตั้งแต่บ่ายโมงจนมืดค�่ำชาวบ้านจะเอา แมวตัวเมียใส่ชะลอมเข่งหรือตระกร้า เอาฝาปิดให้แน่น เอาไม้คานสอดเข้าแล้วหาบไป มีคนแห่แวดล้อมนางแมว คนหนึ่งถือพานน�ำหน้าร้องเชิญให้ทุกคนมาร่วมพิธีขอฝน นอกนั้นก็มีเครื่องดนตรีประกอบเพลง เช่น กลอง กรับ ฉิ่ง เมื่อเคลื่อนขบวนออกเดิน ต่างก็ร้องบทแห่นางแมว ซึ่งมีข้อความคล้ายกันหรือเพี้ยนแตกต่างกันบ้าง แห่ไปตาม ละแวกบ้าน จนทั่วแล้วก็กลับ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใคร เจ้าบ้านจะเอาภาชนะตักน�้ำ สาดลงไปในชะลอมเข่งหรือตะกร้า ที่ขังแมว เจ้าของบ้านจะให้รางวัลแก่พวกแห่นางแมว เป็นเหล้า ข้าวไข่กับขนมหรือเป็นเงินใส่พาน ท�ำเช่นนี้เรื่อยไป บางคนนึกสนุกก็มาร่วมร้องร�ำตามขบวนไป จนกว่าจะเย็นค�่ำ และเลิกขบวนไปในที่สุด เนื่องจากท�ำพิธีช่วงอากาศ ร้อนสุด ฝนจึงตกลงมาในวันนั้น ท�ำให้พิธีดูขลังมากขึ้น พิธีแห่นางแมวขอฝน ดูจะเป็นความเชื่อที่ไร้เหตุผลเพราะสภาพความแห้งแล้ง นั้นเป็นเพราะสภาพของ ธรรมชาติที่มีฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาวเปลี่ยนหมุนเวียนก็ไปทุก4 เดือน แต่การท�ำพิธีแห่นางแมวท�ำขึ้นเพื่อความสนุก ในสังคม ท่ามกลางธรรมชาติที่แห้งแล้ง การที่ออกมาร่วมขบวนร้องเพลง เล่นดนตรีพื้นบ้าน ก็ท�ำให้เกิดความบันเทิง พอทีจะลืมสภาพเดือดร้อนถ้าฝนไม่ตก นาไร่จะแห้งแล้งผู้คนจะอดอยาก อาจจะยากจนถึงกับต้องขายลูกหลาน สัตว์เลีย้ งไป แต่ถา้ ฝนตกสามารถท�ำนาได้ ชีวติ ก็จะมีความสุข สดชืน่ ไม่วา่ จะเป็นมนุษย์หรือสัตว์พชื มีการฉลองยกใหญ่ เรียบเรียงโดย สุมามาลย์ พงษ์ไพบูลย์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

100 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ปัจจุบันพิธีแห่นางแมวขอฝนมีปรากฏจริงในบางพื้นที่ เพราะปัจจุบันมีการกักเก็บน�้ำ ไว้ใช้ในการท�ำนา โดยไม่ต้องพึ่งธรรมชาติ มีการสร้างฝนเทียมขึ้นมาเพื่อไม่ให้เกิดความแห้งแล้ง ในสังคมอุตสาหกรรมและสังคม เกษตรกรรม ในปัจจุบนั พิธแี ห่นางแมวขอฝนอาจจะเลือนหายไปจากชีวติ จริง เหลือขบวนแห่นางแมวขอฝน ไว้ในขบวน พิธีแห่นางแมวขอฝนที่เป็นการสาธิต ในขบวนแห่ทางด้านวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น สังคมเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม เลือนหายไป พิธีแห่นางแมวขอฝนก็จะเลือนหายตามไปด้วย เนื้อเพลงแห่นางแมวขอฝน มีทั้งความสนุกสนานบันเทิง ความเศร้าใจที่ต้องอดอยาก ความดีใจเมื่อจะมี ฝน มีชีวิตที่เจริญงอกงาม และการสอดแทรกบทร้องที่เป็นเรื่องเพศ เข้ามาบ้าง นั้นคือสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นชีวิตที่ อุดมต่อไป ด้วยเหตุที่มีฝนตก ลงมานั้นเอง ดังตัวอย่างบทร้องเพลงแห่นางแมวขอฝนที่เก็บข้อมูลจากอ�ำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๑๖ นางแมวเอย มาร้องแป้วแป้ว ที่ฟากข้างโน้น ขอฟ้าขอฝน รดแมวข้ามั่ง ค่าจ้างแมวมา ได้เบี้ยยี่สิบ มาซื้อหมากดิบ มาล่อนางไม้ นางไม้ภูมิใจ นุ่งผ้าตะเข็บทอง ไอ้หุนตีกลอง ไอ้ฮักปักกะตู ไอ้งูพันกัน หัวล้านชนกัน ฝนก็เทลงมา ฝนก็เทลงมา เต็มทุ่งเต็มท่า เต็มนาสองห้อง นิมนต์พระมา สวดคาถาปลาช่อน ปั้นเมฆเสียก่อน มีละครสามวัน หัวล้านชนกัน ฝนก็เทลงมา ฝนก็เทลงมา แม่หม้ายเอย อย่าเพิ่งขายลูก ข้าวจะถูก ลูกไม้จะแพง ท�ำตาแดงแดง รอบไร่รอบนา นิมนต์ขรัวตา สวดคาถาปลาช่อน ปั้นเมฆเสียก่อน มีละครสามวัน หัวล้านชนกัน ฝนก็เทลงมา ฝนก็เทลงมา ฝนตกเจ็ดห่า ฟ้าผ่ายายชี ท�ำได้ท�ำดี ปีละร้อยเกวียน ปีละร้อยเกวียน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 101


เนื้อเพลงแห่นางแมว มีต่างส�ำนวนกันไปแต่ละท้องถิ่น แต่ก็คล้ายคลึงกัน คือมีหาร้องซ�้ำไปซ�้ำมา ในภาคเหนือและภาคอีสาน พบเพลงขอฝนในบทเซิ้งขอฝน และมีร้องเพลงแห่นางแมว ในบางท้องถิ่น ดังตัวอย่าง บทเซิ้ง นางแมวขอฝน เซิ้งอันนี้เผิ่นว่า เซิ้งนางแมว ย่างเป็นแถวกะนางแมวออกก่อน ไปตามบ่อนกะตามซอกตามซอย ไปบ่ถอยกะขอฝนขอฟ้า เฮาคอยถ้าให้ฝนเทลงมา ตามประสาแมวโพงแมวเป้า แมวด�ำกินปลาย่าง แมวด่างกินปลาแห้ง ฝนฟ้าแล้ง กะขอฟ้าขอฝน ขอน�้ำมนต์กะรดหัวแมวบ้าง (ชาวบ้านก็สาดน�้ำลงใส่) เทลงมากะฝนเทลงมา ท่วมไฮ่ท่วมนา ท่วมฮูปลาไหล ท่วมไม้โสงเสง หัวล้านชนกันฝนเทลงมา บทร้องเพลงแห่นางแมวที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นบทร้องง่าย ๆ ดังบทร้องพื้นบ้านทั่วไป ที่ใช้ค�ำน้อย มีวรรคละ ๓ – ๔ ค�ำ และคล้องจองต่อเนื่องกันไป วิธีการร้องจะร้องซ�้ำไปซ�้ำมา อาศัยการลงเสียง เมื่อจบหาร้อง และกระแทกเสียง ให้มีลีลาเข้ากับท่าร�ำ ในลักษณะของร�ำโทน ประกอบการแห่นางแมว เนื้อหาของบทร้องเพลงแห่นางแมว แสดงถึงคุณค่าขอฝน ที่เมื่อตกลงมาน�้ำท่าจะบริบูรณ์ เริ่มต้นการ เพาะปลูกได้จะเริ่มต้นขอฝนกับเทวดานางฟ้า หรือนางไม้ โดยมีวิธีการ เซ่นไหว้บูชา ด้วยของที่ชอบใจ และมีการแสดง ที่เทวดานางฟ้า นางไม้ชอบใจ เป็นการของเคล็ดและเป็นสัญลักษณ์ของการร่วมเพศ อันเป็นต้นเหตุ ของการเกิดชี้วัด มีการนิมนต์พระมาสวดคาถาปลาค่อ (อีสาน) ซึง่ บูชาเทวดาฟ้าดิน ให้มนี ำ�้ ท่า ปลาอุดมมีการปัน้ แมฆ ปัน้ ดินเหนียวเป็น เทวดา นางฟ้า ดั่งมีชีวิต มีละครฉลองสามวัน ถ้าฝนฟ้าตกลงมา ก็จะเริ่มต้นชีวิตใหม่ ไม่ยากจนเหมือนเดิม ขอร้อง ให้แม่ม่ายในสังคม ซึ่งเป็นบุคคลยากไร้ ไม่มีสามีเลี้ยงดู อย่าเพิ่งด่วนท�ำการใดใด เช่น ขายลูก หรือลงทุนอื่นใด ถ้ามีนาแห้งแล้งนักขอให้รอก่อน รอฝนตก ท�ำไร่ ท�ำนาได้ผล ก็จะพาให้หายล�ำบากยากจน มีคอื อิทธิพลของฝนในสังคม เกษตรกรรม ตามที่ปรากฏ ในเนื้อหาของหาเพลงแห่นางแมว เอกสารอ้างอิง

http://www.geocities.com/renunakhon2002/main/link/renu02.html http://www.oknation.net/blog/cat-a-blog/2007/10/27/entry-1 http://www.isangate.com/local/boran_isan_08.html http://www.openbase.in.th/node/8754 http://board.dserver.org/b/berm/00000053.html http://8152150link3.blogspot.com/2007/11/3.html พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

102 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


กาพย์เซิ้งบั้งไฟ กาพย์เซิ้งบั้งไฟเป็นร้อยกรองท้องถิ่นอีสานหรือเป็นเพลงพื้นบ้านประเภทเพลงประกอบพิธีของชาวบ้าน อีสาน ที่ร้องในขบวนแห่บั้งไฟในงานประเพณีบุญบั้งไฟ เดือน ๖ เป็นค�ำประพันธ์ที่มีลักษณะง่ายๆ คือ มีผู้น�ำคนหนึ่ง เป็นคนขับเนื้อความ แล้วคนอื่นๆในขบวนจะร้องรับไปเรื่อยๆ เรียกว่า การเซิ้ง ประกอบการฟ้อนตามจังหวะของ กลองตุ้มและเครื่องดนตรีอื่นๆที่ใช้ประกอบ เช่น พังฮาด โทน กาพย์เซิ้งบั้งไฟ แต่งด้วยค�ำประพันธ์ที่เรียกว่า กาพย์ ๗ ค�ำ วรรคหนึ่งมี ๗ ค�ำ ข้างหน้า ๓ ค�ำ ข้างหลัง ๔ ค�ำ ค�ำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ จะส่งเสียงสัมผัสไปที่ค�ำใดก็ได้ในวรรคต่อไป (ค�ำสัมผัสในภาษาอีสานเรียกว่า ค�ำก่าย) นิยมสัมผัสกับค�ำที่ ๓ โดยใช้ระดับเสียงของค�ำที่สัมผัสเป็นเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน บทหนึ่งจะมีกี่วรรคก็ได้ แล้วแต่ เนื้อความ กาพย์ ๗ ค�ำนิยมใช้กับการเซิ้งแบบต่างๆ เช่น เซิ้งนางด้ง เซิ้งนางแมว ค�ำสอน บทกล่อมเด็ก ตัวอย่างเช่น “ โอเฮ้าโอ เฮาโอ่เฮ้าโอ ข้อยสิโอ่ งานบุญบั้งไฟ เป็นจังใด ได้ฟังลองเบิ่ง สิเลิกเซิ้ง มากน้อยปานใด อันบั้งไฟ มีมาแต่เก่า โบราณเฮา ขอฟ้าขอฝน ปีละหน เฮ็ดบั้งไฟใหญ่ เอาใจใส่ งานประเพณี นิทานมี ผาแดงนางไอ่ หนองหารไง่ เป็นเถ้าธุลี...” การเซิง้ บัง้ ไฟแต่แรกเริม่ เป็นการละเล่นประกอบพิธกี รรมแห่บงั้ ไฟเพือ่ ขอฝนของชาวนา เป็นการบวงสรวง พญาแถน หรือเทวดาในความเชื่อดั้งเดิมของชาวไทลาว เพื่อขอให้ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล จึงจัดขึ้นในเดือน ๖ เพื่อเป็น สัญญาณเตรียมท�ำไร่ทำ� นา และเป็นการเสีย่ งทายดินฟ้าอากาศ หากจุดบัง้ ไฟไม่ขนึ้ หรือบัง้ ไฟแตก ท�ำนายว่าฝนจะแล้ง หากจุดบัง้ ไฟได้สงู แสดงว่าฝนฟ้าจะตกต้องตามฤดูกาล การเซิง้ บัง้ ไฟจึงเป็นพิธกี รรมเพือ่ ความอุดมสมบูรณ์ทตี่ อ้ งมีเรือ่ ง เพศเข้ามาเกีย่ วข้องตามคติความเชือ่ ของคนในสังคมเกษตรกรรม ท�ำให้ในขบวนเซิง้ ซึง่ แต่เดิมมีเฉพาะผูช้ ายและผูช้ าย แต่งกายเป็นหญิง น�ำหุ่นชายหญิงแสดงท่าทางการร่วมเพศชักไปตลอดทาง และในค�ำเซิ้งมีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องเพศ และเรื่องตลกหยาบโลนเพื่ออ้อนวอนให้เทวดาส่งฝนลงมาตามค�ำขอ ในสมัยต่อมาเมือ่ การเซิง้ บัง้ ไฟกลายเป็นงานประเพณีของชุมชน มีการประกวดแข่งขันกันระหว่างหมูบ่ า้ น อ�ำเภอ จังหวัด รูปแบบและเนือ้ หาของกาพย์เซิง้ บัง้ ไฟก็เปลีย่ นแปลงตามไปด้วย คณะเซิง้ มีทงั้ ผูช้ ายและผูห้ ญิงการฟ้อน ช้าๆตามจังหวะช้าๆของกลองตุ้มก็เปลี่ยนเป็นการประดิษฐ์ท่าร�ำให้อ่อนช้อนสวยงาม จังหวะและท่วงท�ำนองเปลี่ยน เป็นสนุกสนานตามลีลาของกลองยาวและแคน เนือ้ หาของกาพย์เซิง้ ในขบวนแห่มหี ลากหลายมากขึน้ มีทงั้ การร้องเล่า ต�ำนาน เช่น เรื่องผาแดงนางไอ่ เล่าค�ำสอน เช่น เรื่องกาพย์พระมุนี เล่าเกี่ยวกับสังคมและเหตุการณ์ปัจจุบัน เพิ่มเข้าไปด้วย และนิยมใช้เพลงลูกทุ่งแทนกาพย์เซิ้งแบบเดิม เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 103


รูปแบบที่นิยมในการขับกาพย์เซิ้งบั้งไฟในปัจจุบัน มีล�ำดับดังนี้ ๑. การขึ้นต้น แต่เดิมนิยมขึ้นต้นด้วย“ โอเฮ้าโอเฮาโอ่เฮ้าโอ” หรือ “โอ่เฮาโอ่ พวกเซิ้งเฮาโอ” ถ้าเป็นพิธีการจึงจะขึ้นต้นด้วยค�ำไหว้ครู “โอม พุทโธ นโมเป็นเจ้า” “โอมพุทโธ นโมเป็นเค้า” “สาธุสา ยกมือใส่เกล้า” ๒. การขับเนื้อเรื่อง มีหลากหลาย ได้แก่ กาพย์เซิ้งเล่าต�ำนาน กาพย์เซิ้งขอบริจาคเงินทองข้าวของ เหล้ากาพย์เซิ้งอวยพร กาพย์ตลกหยาบโลน กาพย์เซิ้งเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ตัวอย่างกาพย์เซิ้งเล่านิทานต�ำนานผาแดงนางไอ่ ข้าสิเว้า เรื่องเก่ามีมา หลานสิจา สาวงามนางไอ่ เมืองน้อยใหญ่ มาเบิ่งความงาม พ่อบ่ทราม ประกาศดังก้อง อยากได้น้อง นางไอ่ไปครอง เจ้าจงลองเฮ็ดไฟ บั้งใหญ่ ขึ้นไวไว เกิดเพิ่นทังหลาย ดั่งสมหมาย ได้ไอ่ไปซ้อน ข้าขอย้อน บั้งไฟผาแดง ขึ้นเหมิดแฮง เกินเพิ่นทั้งหลาย... (กวี ครองยุทธ์) ตัวอย่างกาพย์เซิ้งขอ ขอเหล้าเด็ด น�ำเจ้าจักโอ ขอเหล้าโท น�ำเจ้าจักถ้วย หวานจ้วยจ้วย ต้วยปากหลายชาย ตักมายาย หลานชายให้คู่ ยายบ่คู่ตูข้อย บ่หนี ตายเป็นผีซิ น�ำมาหลอก ออกนอกบ้านซิหว่านดินน�ำ ก�ำดินทราย หว่านน�ำฮอยเจ้า... ตัวอย่างกาพย์เซิ้งตลก สาวบ้านใด๋ กระโปรงใหม่ใหม่ ท้ายใหญ่ใหญ่เจ้าอยู่บ้านใด๋ มากับไผจักคนพวกหมู่ เจ้ามีคู่นอนซ้อนหรือยัง เจ้าอย่าบังบอกมาเดออุ่น แก้มจุ้นพุ่นบอกพี่โดยดี เจ้าอย่ามีความตั๋วความหลอก ให้เจ้าบอกตั้งแต่ความจริง เจ้าเป็นหญิงวาจาให้เที่ยง อย่าได้เลี่ยงไปหน้ามาหลัง เจ้ามีหวังกับไผหรือบ่ พ่อกับแม่พี่น้องทั้งหลาย การประกวดเซิ้งบั๊งไฟ จังหวัดยโสธร ยังซ�ำบายสู่คนตี้หล่า ให้เจ้าเว้าบอกพี่โดยดี (ดารา งามสะอาด) บทบาทของกาพย์เซิ้งบั้งไฟจากบทอ้อนวอนขอฝนของชุมชนจึงเปลี่ยนเป็นบทบาทการให้การศึกษา และความสนุกสนานเป็นหลัก พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

104 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


บทท�ำขวัญช้าง ขวัญ เป็นสิง่ ทีไ่ ม่มตี วั ตนแต่มผี ลต่อจิตใจ โบราณเชือ่ ว่าขวัญสิงอยูใ่ นตัวตนและเป็นสิง่ ทีท่ ำ� ให้เจ้าของขวัญ ทุกข์หรือสุขได้ หากมีเหตุที่ท�ำให้ขวัญไม่อยู่กับตัวหรือออกไปเที่ยวเล่นจะมีเหตุร้ายเจ็บป่วยหรือมีเคราะห์กรรม และถ้าต้องการให้ขวัญกลับเข้าสู่ร่างกายต้องมีพิธีท�ำขวัญอันหมายถึงการท�ำพิธีกรรมเพื่อเรียกขวัญให้กลับมาสู่ เจ้าของขวัญ ความเชื่อเรื่องขวัญและพิธีท�ำขวัญเป็นกระบวนการที่แสดงความผูกพันและความสัมพันธ์ในระบบ เครือญาติระหว่างบุคคลกับครอบครัวและบุคคลกับชุมชน พิธีท�ำขวัญปรากฏในทุกภาคของประเทศ โดยแบ่งการ ท�ำขวัญแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท คือ ท�ำขวัญคน ท�ำขวัญพืชและสัตว์ที่สัมพันธ์กับคน และท�ำขวัญสิ่งของ การท�ำขวัญช้าง จัดเป็นการท�ำขวัญพืชและสัตว์ทมี่ คี วามสัมพันธ์ในฐานะทีเ่ ป็นสัตว์ชนิดนัน้ มีคณ ุ ประโยชน์ ต่อคนและต่อส่วนรวม โดยมีจุดประสงค์เพื่อเสริมความเชื่อมั่น ร�ำลึกถึงบุญคุณและเป็นสิริมงคล ตัวอย่าง : บทท�ำขวัญช้าง ศรีศรีสวัสดี วันนี้เป็นวันดีเป็นวันสง่า ข้าจะเรียกเอาขวัญช้างแกล้วกล้าเลิศตัวดีงาม เจ้าอย่าเอาใจเป็น ช้างอุทามตัวบ่มีปลอก ขวัญเจ้าอย่าเอาใจออกจากเถื่อน อันฝูงเพื่อนเล่นหมู่เคยกิน ขวัญเจ้าอย่าใบวินหลายเถื่อน อันฝูงเพื่อนเล่นหมู่เคยกิน ขวัญเจ้าอย่าไปวินหลายเถื่อน ขวัญเจ้าอย่าไปเป็นเพื่อนหมู่วอกค่างกวางทรายค�ำขวัญ เจ้าจงมาสุขสบายจิม เจ้าจงมากินกล้วยและข้าว อันแต่งไว้เต็มขันเต็มวา ช้างสทันต์ก็ยังบ่เท่า เขากระท�ำอันใดบ่ถูกบ่ แม่น ก็ยังรู้ลนแล่นกระท�ำอันใดบ่แม่น ก็ยังรู้แสนสเคียน เหมือนดังนกเขียนร้องนั้นดาย บัดนี้เจ้าอย่าเอาใจเป็นช้างบ่ดี กัดปลอก เจ้าอย่าไปออกอูงอางแกว่งไกวตัว เจ้าอย่าได้ไกวหัวกวัดแกว่งแล่นไปมา เจ้าอย่าเยียะพาลาใจเกลียด ให้เจ้ารูเ้ หมียดเชือกอันจักข้องหลักและตอ แม้วา่ เชือกเท่าเชือกไก่ เจ้าก็อย่าได้คาบเคีย้ วให้ยอ้ ยตกดิน เจ้าอย่าวินหลาย เถือ่ นเดินไป ให้เจ้าคิดใจถึงทางบ้าน เจ้าย่าขีย้ า่ นรูต้ นื่ เต้นเรรน ถ้าว่าเห็นคนอย่าเรรนร�ำ่ ร้อง ถ้าว่าได้ยนิ เสียงกลองและ เสียงฆ้อง ทั้งเสียงพิณพาทย์และมโหรีรมย์ ทั้งฟ้ารวนร้อง และลมฝน อย่ารู้หนตื่นเต้นตกใจ ทั้งบอกไฟและสินาดก้อง ทั้งฟ้าร้องและลมตี ให้เจ้าตั้งใจให้ดีและมั่นเที่ยง อย่ารู้คว�่ำอัยงไปมา ข้าก็ตกแต่งภาชนดาเครื่องพร้อม มาต้อนรับรอง เอาขวัญเจ้ามากิน มีทั้งเสื่อด�ำนิลผืนงามล�้ำเลิศ ผ้าผืนประเสริฐอันเกิดจากเมืองสวรรค์ ผ้าแดงผืนยาววา ผ้าขาวหนา พอขนาด มีทั้งเงินห้าบาท พร้อมหมากพลูเทียน ข้าก็ตกแต่งเบียนภาชนะโตกตั้งไว้แล้ว ข้าขออัญเชิญขวัญช้างมงคล แกล้วกล้า พอมากินก่อนเทอญฯ เรียบเรียงโดย วัฒนะ บุญจับ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 105


โอมสิทฺธิกิจฺจํ สิทฺธิกมฺมํ สิทฺธิลาภํ ชยมงฺคลํ อมสมฺมาธิมา กุกฺกุมามาฯ อชฺช ในวันนี้ก็เป็นวันดี มีฤกษ์ก็งามมียามก็ปลอด วันนี้เป็นวันยอดพระยาวัน ข้าจะเรียกเอาขวัญช้าง หมากเต้างาแหลม ก็มีในวันนี้ ข้าจักเรียกเอาขวัญช้างแขมงามังก็ให้มาในวันนี้ จักเรียกเอาขวัญช้างที่นั่งมงคล ก็ให้มา วันนี้ ขวัญช้างเทียนตัวหลงหนีไปเป็นเป็นเพื่อนช้างเอราวัณ ก็ให้มาวันนี้ ขวัญช้างสทันต์เป็นเพื่อนอยู่ในเถื่อนกว้าง พมหพานต์ ก็ให้มาในวันนี้ ขวัญเจ้าอย่าไปเป็นเพื่อนช้างสารอยู่กลางดงไพรป่ากว้าง ก็ให้มาวันนี้ พ่อหมอสเบียงมอบ หมอเถ้า อันท่านคล้องเจ้ามาหัวที เขาไปไล่เลยเจ้ามาวันนี้ แม้ขวัญเจ้าได้ตกใจ ปางเมื่อหมอพิษณุเอาหนังประก�ำขึ้น ห้อย ปางเมื่อเจ้ายังน้อยแอ่วเถื่อนทวยแม่ไปมา บัดนี้เจ้าก็ได้คาจากเถื่อน ได้มาเป็นเพื่อนเป็นฝูง ขอขวัญเจ้ามาอยู่กับ ตน แม้ว่างัวกระทิงทนอย่าได้พาลา แรดร้ายอย่าพาหนี เสือหมีอย่าได้พาเอา ขวัญเจ้าลา แม้ว่าสัตว์ร้ายอันอยู่ในป่า เจ้าก็อย่าได้จากพ่อ แม้ว่าเขาสับเขาฟันด้วยพร้าและขอ ขวัญเจ้าก็อย่าอ่อนลืม ข้าก็เรียกเอาขวัญเจ้าหนหนึ่ง แล้วก็ลืม แถมถวน ถวนขวัญเจ้าอย่าไปตกใจหมองต�ำ่ ค้อย ปางเมือ่ เจ้าได้เป็นช้างน้อยแอ่วลาเล่นกลางดงไพร บัดนีไ้ ด้มาเป็นช้าง ในเมืองมนุษย์โลก บัดนี้ข้าก็ยกเอาภาชนะโคก เข้ารับรองเอาขวัญเจ้ามาเสวยก่อนเทอญฯ อชฺช ในวันนี้ก็เป็นวันดีศรีวันขึ้น เป็นวันถึงพื้นอักนิษฐา บัดนี้ข้าก็ตกแต่งดาพร�่ำพร้อม เพื่อว่าจักมา ท�ำขวัญเจ้า มีทั้งหม่อมเถ้าพร�่ำพร้อมหมู่นารี ทั้งข้าวของเงินค�ำดีต้ังใบเบียนภาชนะโตก ราชโชคสวาทัตถสีลคุณค้อง มีทั้งเงินค�ำเต็มถุงสพาด มีทั้งกล้วยอ้อยอาดเต็มพา มีทั้งเหล้ายาหลายเหลือยิ่ง บัดนี้หมอฤทธิ์ใหญ่ผู้นั่งคอก็จักเสียไพ ก็ว่ามีดีในวันนี้ หมอเถ้าผู้เพื่อนค้อง เจ้านั่งอยู่ท่าเสียไพ ก็ว่าดีในวันนี้ หมอไถ้เขาอยู่คอยสอนช้าง ก็จิงทักช้างร้ายหมู่ จังไร มีทั้งฟางไฟจับหน้าผาก ก็ให้หายเสียในวันนี้ ทั้งตัวหางขออยู่ปากอ้าอมโลบอมฝอย ก็ให้หายเสียในวันนี้ มีทั้งตัว หาก่าน ปากอมถ่านลิ้นก่านปล้องหมู่ขุยตุม มีทั้งขุมผีจับหน้าผาก หูหวากหวิดหวีขึ้นบั่งคอ ก็ให้หายเสียวันนี้ มีทั้งหัว หางขอนอใต้ท้องลิ้นก่าน ปล้องหมอเถ้าก็ว่าจังไร มีทั้งถวนไฟจับสีข้าง ม่านกั้งหมู่สามหาว ช้างตาขาวขี้ย่าน ก็ให้หาย เสียในวันนี้ ช้างขาห้วนช้างขาเห็ง ทัง้ ช้างหูเง็งพิวเพลา มันช้างต�ำเข้าแกว่งไกวตีน ก็ให้หายเสียในวันนี้ แรกแต่นไี้ ปหน้า ให้ขวัญเจ้ากล้าผาบแพ้แก่ศัตรู บัดนี้ผู้ข้าก็ตกแต่งเครื่องพร้อม มาต้อนมารับรองเอาขวัญเจ้าแล้ว จงมาอยู่กับเนื้อกับ ตัวเจ้า ทุกค�่ำเช้าวันยาม ก่อนเทอญฯ ปัจจุบนั ยังคงมีการท�ำขวัญช้างในพืน้ ทีท่ ยี่ งั คงใช้ชา้ งท�ำงาน เช่น เชียงใหม่ ล�ำปาง สุรนิ ทร์ ตรัง ทัง้ ยังเป็น ทุนทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วย พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

106 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ต�ำราพิชัยสงคราม ต�ำราพิชัยสงคราม เป็นค�ำที่ใช้เรียกหนังสือหรือเอกสารที่มีการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีการรบต่างๆ อาทิ การเตรียมก�ำลัง การจัดทัพ การเคลื่อนทัพ การแปรขบวนทัพ การรุก การรับ การใช้ อุบายท�ำลายข้าศึก เป็นต้น เนื้อหานั้นอาจแต่งเป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ ในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานเล่มที่ ๒๑ ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความของต�ำราพิชัยสงครามไว้ว่า “พิชัยสงคราม - ต�ำรา เป็นต�ำราว่าด้วยวิธีการเอาชนะข้าศึกในสงคราม ซึ่งนักปราชญ์ทางทหารสมัย โบราณ ได้แต่งขึ้นจากประสบการณ์ และจากการทดลอง เพื่อให้แม่ทัพนายกองใช้ศึกษา และเป็นคู่มือในการ อ�ำนวยการรบให้หน่วยทหารมีชัยชนะแก่ข้าศึก” ต�ำราพิชยั สงครามไทย มีรอ่ งรอยว่ามีใช้มาตัง้ แต่สมัย ทวาราวดี ศรีวชิ ยั สุโขทัย จนถึงอยุธยา เดิมสืบทอด กันมาแบบมุขปาฐะหรือท่องจ�ำต่อๆกันมา จนถึงสมัยอยุธยาได้มีการเขียนเป็นเอกสารขึ้นในรัชสมัย สมเด็จพระบรม ไตรโลกนารถ ในคราวทีพ่ ระองค์เตรียมท�ำสงครามกับ พระเจ้าติโลกราช แล้วได้เขียนขึน้ เป็นฉบับหลวงในรัชสมัย สมเด็จ พระรามาธิบดีที่ ๒ แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อจุลศักราช ๘๔๐ ตรงกับ พุทธศักราช ๒๐๒๑ โดยทรงโปรดเกล้าฯ ให้ท�ำการ รวบรวมและช�ำระต�ำราพิชัยสงครามฉบับต่างๆ ขึ้นเป็นฉบับหลวงเป็นครั้งแรก แล้วได้คัดลอก หรือท่องจ�ำ เพื่อใช้งาน ต่อๆกันมา มีการปรับปรุงเพิม่ เติมบางส่วนของต�ำราพิชยั สงคราม ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพือ่ ใช้ในสงคราม ยุคนัน้ หลังจากสงครามกับพม่าในปีพทุ ธศักราช ๒๓๑๐ แล้วปรากฏว่าต�ำราพิชยั สงครามฉบับหลวงได้กระจัดกระจาย สูญหายจ�ำนวนมาก คงเหลืออยู่แต่ฉบับที่มีผู้คัดลอกไว้บ้างเพียงบางตอนไม่ครบชุด บางส่วนก็ได้มีการแต่งขึ้นใหม่ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงให้ ท�ำการชุบต�ำราพิชัยสงคราม ขึน้ ใหม่จำ� นานหลายฉบับ เพือ่ ใช้ในราชการ ต่อมาในในปีพทุ ธศักราช ๒๓๖๘ สมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงแต่งตั้งให้สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นแม่กรอง ให้ช�ำระ ต�ำราพิชัยสงครามให้สมบูรณ์ โดยเชิญพระต�ำรับพิชัยสงครามฉบับข้างที่ (ฉบับหลวง) มาสอบสวนช�ำระ ๑๔ เล่ม สมุดไทย เมื่อช�ำระเสร็จแล้วได้คัดลอกออกเป็น ๒ ชุด ชุดละ ๕ เล่มสมุดไทย รวม ๑๐ เล่มสมุดไทย นับเป็นต�ำรา พิชัยสงครามฉบับสุดท้ายที่ช�ำระอย่างสมบูรณ์เพื่อใช้ในราชการในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เรียบเรียงโดย พันเอก(พิเศษ) อ�ำนาจ พุกศรีสุข พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 107


โครงสร้างต�ำราพิชัยสงครามไทย ประกอบด้วยสาระส�ำคัญ ๓ ส่วนคือ ๑. ยุทธศาสตร์และยุทธวิธี มักจะกล่าวรวมกันไว้ในตอนต้นของต�ำราพิชัยสงครามไทย มีสาระส�ำคัญ ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเตรียมพร้อมก่อนการเข้าสู่สมรภูมิได้แก่ การเตรียมการด้านก�ำลังคน การหาและประมวล ข่าวศึก การวางแผนการยุทธ์ การเตรียมพร้อมด้านยุทธปัจจัย ตลอดจนการจัดก�ำลังเพื่อเข้าท�ำการรบ ๑.๑ การเตรี ย มการทางด้ า นก� ำ ลั ง คน ในต� ำ ราพิ ชั ย สงครามแยกออกเป็ น ๔ ขั้ น ตอนคื อ การเกณฑ์ ค น การก�ำ หนดสายการบั ง คั บ บั ญ ชาและความรั บ ผิ ด ชอบ การก�ำ หนดลั ก ษณะของก�ำ ลั ง คน และ การจัดคนเข้าประจ�ำกอง ๑.๒ การข่าว คือการสืบหาความเป็นไปของข้าศึกทุกๆด้าน ในต�ำราพิชัยสงครามไม่ได้ก�ำหนด ให้หน่วยใดรับผิดชอบงานการข่าวโดยตรง แต่ก�ำหนดให้จัดส่งทหารออกไปสอดแนมในเขตศัตรูโดยมิให้ศัตรูรู้ตัว หรือท�ำโดยการส่งคนออกไปล่าจับคนของฝ่ายตรงข้ามและชาวบ้านในเขตยุทธภูมิมาซักถามข่าวต่างๆ ๑.๓ การวางแผนการยุทธ์ การเตรียมความพร้อมในด้านการวางแผนการยุทธ์นั้นกระท�ำโดยให้ แม่ทัพ นายกอง ท�ำการศึกษาต�ำราพิชัยสงครามให้แตกฉานเพื่อน�ำความรู้มาประมวลในการวางแผนการปฏิบัติ ๑.๔ การเตรียมพร้อมด้านยุทธปัจจัย ได้แก่ การจัดเตรียมเสบียงอาหาร การจัดเตรียมยุทธภัณฑ์ ได้แก่ สัตว์พาหนะ ยานพาหนะ เป็นต้น ๑.๕ ยุทธวิธี ลักษณะของยุทธวิธีที่ก�ำหนดไว้ในต�ำราพิชัยสงคราม มีเนื้อหาสาระประกอบด้วย การเคลื่อนทัพ การตั้งทัพ การจัดรูปขบวนทัพ การเข้าท�ำการยุทธ์ และการสิ้นสุดการยุทธ์ ๒. ต� ำ ราพิ ชั ย สงคราม ๒๑ กลศึ ก เป็ น ต� ำ ราพิ ชั ย สงครามที่ ส มบู ร ณ์ ใ นตั ว เองชุ ด หนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น ต�ำหรับที่ใช้กันมาก่อน ส่วนนี้เขียนเป็นกลศึก ๒๑ กลได้แก่ ฤทธี สีหจักร ลักษณ์ซ่อนเงื่อน เถื่อนก�ำบัง พังภูผา ม้ากิน สวน พวนเรือโยง โพงน�้ำบ่อ ล่อช้างป่า ฟ้าง�ำดิน อินทร์พิมาน ผลาญศัตรู ชูพิษแสลง แข็งให้อ่อน ยอนภูเขา เย้าให้ผอม จอมปราสาท ราชปัญญา ฟ้าสนั่นเสียง เรียงหลักยืน ปืนพระราม ซึ่งเมื่อถอดความกลศึกทั้ง ๒๑ กลแล้วน�ำมาร้อยเรียง กันใหม่ จะได้ต�ำหรับพิชัยสงครามที่สมบูรณ์แบบขึ้น ฉบับหนึ่ง

ภาพ : การจ�ำลองสงครามโบราณ สมัยรัชกาลที่ ๖ งานยุทธกีฬา จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

108 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๓. อ�ำนาจก�ำลังรบที่ไม่มีตัวตน ซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับนามธรรมและพลังลี้ลับ อันประกอบด้วย วิชาไสยศาสตร์ วิชาโหราศาสตร์ รวมถึงมนต์คาถาเพือ่ การรณรงค์สงคราม ส่วนนีเ้ ป็นส่วนเสริมสองส่วนแรก เป็นสาระ ส�ำคัญส่วนหนึ่งที่มีแทรกอยู่ในต�ำราพิชัยสงครามทุกฉบับ มิได้ถูกแยกออกมาเป็นส่วนเฉพาะ สิ่งลี้ลับเหล่านี้ สามารถแยกเป็นประเด็นต่างๆได้ดังต่อไปนี้ ๓.๑ ข้อพึงละเว้น หมายถึงพฤติกรรมที่ต้องละเว้นในการกระท�ำบางสิ่งบางอย่างแยกออกเป็น ข้อพึงละเว้นส่วนบุคคล ข้อห้ามส�ำหรับกองทัพ ๓.๒ ข้อพึงกระท�ำ หมายถึง พฤติกรรมที่พึงปฏิบัติ เพื่อให้ได้มาซึ่งสวัสดิ์มงคล แยกออกเป็น ข้อพึงกระท�ำส่วนบุคคล ข้อพึงกระท�ำส�ำหรับกองทัพ ๓.๓ โหราศาสตร์ เป็นเรื่องของการท�ำนายอนาคตในรูปแบบของการค�ำนวณ วัน เดือน ปี ควบคู่ กับการเคลือ่ นทีข่ องดวงดาวทีม่ อี ทิ ธิพลต่อชีวติ มนุษย์ รวมไปถึงการท�ำนายและนิมติ ต่างๆ เป็นศาสตร์สำ� คัญทีม่ บี ทบาท อย่างมากทั้งในภาวะปกติและภาวะสงคราม

ภาพ : ต�ำราพิชัยสงคราม จากหอวัฒนธรรมนครบาล เพชรบูรณ์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 109


๓.๔ ไสยศาสตร์ คือการใช้เวทมนต์ เพือ่ ชิงความเป็นเบีย้ บนหรือเพือ่ ให้ได้ชยั ชนะในการท�ำสงคราม รวมถึงการใช้คาถาอาคมเพื่อป้องกันภัยจากข้าศึกให้กับบุคคลและกองทัพ แบ่งออกเป็น ๓.๔.๑ ไสยศาสตร์เพื่อการป้องกัน ก. ไสยศาสตร์เพื่อการป้องกันบุคคล มีทั้งมนต์คาถา ซึ่งได้แก่ วิชาคงกระพัน วิชาชาตรี วิชาแคล้วคลาด วิชามหาอุด รวมทั้งคาถาอื่นๆและอาคม อาคมที่ปรากฏอยู่ในต�ำราพิชัยสงครามส่วนมาก เป็น ยันต์เพื่อใช้เขียนหรือจารึกลงในเครื่องใช้เพื่อให้เกิดความขลัง มี ๔ ประเภทคือ ยันต์ลงเสื้อ ยันต์ลงตะกรุด ยันต์ลงประเจียด และยันต์ลงหมวก ข. ไสยศาสตร์เพื่อการป้องกันกองทัพ แสดงออกในลักษณะของพิธีกรรมเพื่อสร้าง พลังอ�ำนาจในการป้องกันภยันตรายอันจะเกิดจากศัตรู หรือเพื่อความเป็นมงคลแก่คนทั้งกองทัพ ๓.๔.๒ ไสยศาสตร์เพื่อการจู่โจม คือพิธีกรรมในการสร้างอ�ำนาจก�ำลังรบที่ไม่มีตัวตน เพื่อให้สามารถสร้างความหายนะให้แก่ฝ่ายปรปักษ์ได้มากขึ้น แบ่งออกเป็น ไสยศาสตร์เพื่อการจู่โจมส�ำหรับบุคคล และไสยศาสตร์เพื่อการจู่โจมส�ำหรับกองทัพ ต�ำราพิชัยสงครามไทย เป็นหลักฐานส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ประเภทเดียวที่ให้ภาพโครงสร้างภายใน ของการทหารไทย เป็นต�ำหรับทางการทหารของนักการทหารไทยโบราณทุกยุคทุกสมัย อีกทั้งยังเป็นต�ำหรับทางการ ทหารประเภทแรกและประเภทเดียวที่ได้วางรูปแบบโครงสร้างทางการทหารไทยไว้อย่างเป็นระบบและมีเอกภาพ และก่อให้เกิด “จารีต” ในการท�ำสงคราม เนื้อหาและหลักการในต�ำราพิชัยสงครามสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ ในด้านการบริหารองค์กรต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ปัจจุบนั ต�ำราพิชยั สงคราม ส่วนหนึง่ เก็บรวบรวมไว้ที่ หอสมุดแห่งชาติ จัดอยูใ่ นหมวดต�ำรา ภายไต้บญ ั ชี หัวเรื่อง “บัญชีสังเขปต�ำรายุทธศาสตร์ ซึ่งบัญชีชุดนี้มีต�ำราพิชัยสงครามไทยจ�ำนวน ๑๘๓ ฉบับ ที่ผ่านมามีผู้ศึกษาค้นคว้า ต�ำราพิชัยสงครามไม่มากนัก แต่ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาค้นคว้าในเชิง ประวัติศาสตร์ ในปัจจุบันยังมีการเรียนการสอน ต�ำราพิชัยสงคราม กันอยู่ทั้งใน โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนเสนาธิการทหารบก และ วิทยาลัยการทัพบก เอกสารอ้างอิง

ชาญชัย วรรณวงศ์, การศึกษาวิเคราะห์สงครามไทยรบพม่า เฉพาะเรือ่ งยุทธศาสตร์และยุทธวิธที างการทหาร พ.ศ.๒๓๑๐ - พ.ศ.๒๓๙๗, วิทยานิพนธ์ประกอบการศึกษาหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ นิยะดา เหล่าสุนทร การศึกษาภูมิปัญญาไทยจากต�ำราพิชัยสงคราม และวรรณกรรมค�ำสอน เอกสารวิจัย สกว.เมธีวิจัยอาวุโส กรุงเทพ, ๒๕๔๓ ศิลปากร กรม ต�ำราพิชัยสงคราม พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปณกิจศพ นางตลับ บุณยรัตพันุ์ พันเอกอ�ำนาจ พุกศรีสุข ภูมิปัญญาทางการบริหารของไทยในต�ำราพิไชยสงคราม เอกสารวิจัยส่วนบุคคล วิทยาลัยการทัพบก สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง พ.ศ.๒๕๔๖ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

110 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ต�ำรานรลักษณ์ ต�ำรานรลักษณ์ เป็นต�ำราดูลักษณะดีร้ายของบุคคล นอกจากชื่อ ต�ำรานรลักษณ์แล้ว ต�ำราดูลักษณะ บุคคลในกลุม่ นี้ ยังมีชอื่ เรียกแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิน่ เช่น ในภาคกลางและภาคใต้เรียก ต�ำราดูลกั ษณะชายหญิง ต�ำราตรีภพ (ต�ำราเศษพระจอมเกล้า) ผูกนิพพานโลกีย์ ต�ำรับพระโยนี ส่วนในภาคอีสานและภาคเหนือเรียก ต�ำราดูลักษณะชายหญิง โสกชาย – โสกหญิง โฉลกชาย – โฉลกหญิง ซึ่งบางครั้งอาจมีแทรกในต�ำราพรหมชาติ หรือในวรรณกรรมท้องถิ่นเช่นในวรรณกรรมอีสานเรื่อง ท้าวค�ำสอน หรือ นิทานท้าวค�ำสอนเลือกสาว ต�ำรานรลักษณ์ของไทย ได้รับอิทธิพลจากทั้งในวัฒนธรรมจีน คือ ต�ำราดูโหงวเฮ้ง (ฉบับที่แพร่หลายมาก คื อ ต� ำ รานรลั ก ษณ์ ฉ บั บ พระมหามณเที ย ร สมั ย รั ช กาลที่ ๑ แปลโดยจี น แส) และในวั ฒ นธรรมอิ น เดี ย คือ คัมภีร์พฤหตฺสํหิตา ของ วราหมิหิร ซึ่งส่งอิทธิพลต่อความคิดเรื่อง “มหาปุริสลักษณะ” หรือลักษณะของมหาบุรุษ น�ำมาสู่การสร้างสรรค์งานศิลปกรรมเพื่อเป็นสิ่งแทนพระพุทธเจ้า หรือ พระพุทธรูป ซึ่งเป็นแบบจ�ำลองของรูปลักษณ์ อันเป็นมงคลมหาบุรุษในอุดมคติที่เป็นรูปธรรม

ลักษณะ ไฝ้ ปาน ดี ร้าย บนใบหน้า จากหนังสือต�ำรานรลักษณ์ ศาสตร์แห่งการท�ำนายลักษณะบุคคล โดย พลูหลวง

เรียบเรียงโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิลักษณ์ เกษมผลกูล พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 111


สาระส�ำคัญของต�ำรานรลักษณ์ โดยทัว่ ไปว่าด้วยการพยากรณ์ลกั ษณะบุคคลทัง้ หญิงและชาย ดูลกั ษณะ ร้ายดีต่างๆ ในร่างกายและกิริยาอาการ บางส�ำนวนมีการอ้างอิงบุคคลในประวัติศาสตร์เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ดังที่โดยมากต�ำรามักอ้างถึงการท�ำนายลักษณะของพระนางประทุมเทวี พระราชธิดาของพระเจ้ากรุงศรีสัชนาลัย ซึ่งเสียเมืองและยกพระธิดาให้แก่เจ้ากรุงสุโขทัย หรืออะแซหวุ่นกี้ ขอดูตัวแม่ทัพฝ่ายไทยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี คือเจ้าพระยาจักรี แล้วพยากรณ์ลกั ษณะ อย่างไรก็ตามเป็นทีน่ า่ สังเกตว่าต�ำราโดยมากเน้นการดูลกั ษณะดีรา้ ยของหญิง มากกว่าชาย ทั้งนี้เนื้อหาที่เกี่ยวกับการพยากรณ์ลักษณะนั้นอาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ การพยากรณ์พฤติกรรม อาทิ การดูลักษณะการกิน การดูลักษณะนอน การดูลักษณะนั่ง การดูลักษณะ เดิน การดูลักษณะการเจรจา การดูลักษณะการขับถ่าย การพยากรณ์รา่ งกาย อาทิ การดูลกั ษณะใบหน้า การดูลกั ษณะดวงตา การดูลกั ษณะใบหู การดูลกั ษณะ จมูก การดูลกั ษณะรูปร่างผิวพรรณ การดูลกั ษณะลิน้ การดูลกั ษณะปาก การดูลกั ษณะสะดือ การดูลกั ษณะและต�ำแหน่ง ของไฝ การดูลักษณะอวัยวะเพศ ตัวอย่างเนื้อความในต�ำรานรลักษณ์ฉบับภาคกลาง ยี่สิบแปดกล่าวแก่ นรลักษณ์ มีแก่หญิงชายศักดิ์ ใหญ่ล้น แดงแปดท่านชี้ชัก เริ่มแรก สองสิ่งยาวเยิ่นพ้น เหยียดเฟื้อยอันปลาย เล็บมือหนึ่งเล็บเท้า แดงดี พื้นหัตถ์ฝ่าเท้าสี สุกด้วย มือเท้าร่องลายมี โลหิต ควรนา สีปากขอบเนตรย้อย แปดนี้สีแดง เล็กย่อมห้าอย่างนี้ พึงจ�ำ นิ้วเล็กมือเหยียดก�ำ อ่อนแท้ อ�ำเอวรัดกลมข�ำ เท้าย่อม สุรเสียงส�ำเนียงแล้ เล็กห้าอย่างประสงค์

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

112 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ตัวอย่างเนือ้ ความในนิทานเรือ่ งท้าวค�ำสอน ของภาคอีสาน กล่าวถึงลักษณะสตรีทมี่ คี วามซือ่ สัตย์ตอ่ สามี ไม่เป็นชู้ ดังนี้ หญิงใดหลังตีนสูงขึ้นคือหลังดองเต่า หญิงนั้นใจซื่อแท้ประสงค์ตั้งต่อผัว เจ้าเอย ก็บ่มักเล่นชู้ชายอื่นมาชม ก็ท่อจงใจรักต่อผัวคีค้อยคีค้อย หญิงนั้นแม่นซิท�ำการสร้างอันใดก็เรืองรุ่ง แท้แล้ว แสนซิจมอยู่พื้นมาแล้วก็หากฟู ต�ำรานรลักษณ์ในอดีตถือได้ว่ามีบทบาทอย่างยิ่งในการคัดเลือกบุคคลเพื่อใช้ในวัตถุประสงค์ต่างๆ อาทิ การรับราชการ การเลือกคู่ครอง เป็นต้น เนื่องจากลักษณะของบุคคลดังกล่าวมานั้นเชื่อกันว่าจะส่งผลต่อหน้าที่การ งาน ผูบ้ งั คับบัญชา รวมถึงคูค่ รอง มีความเชือ่ มโยงกับภูมปิ ญ ั ญาด้านโหราศาสตร์ ด้วยเหตุดงั กล่าวมานีต้ ำ� รานรลักษณ์ จึงแพร่หลายอย่างมาก นอกจากนี้ต�ำรานรลักษณ์ ยังสัมพันธ์กับภูมิปัญญาด้านดาราศาสตร์โดยการเชื่อมโยงต�ำแหน่ง ของไฝ กับต�ำแหน่งของดวงดาว แล้วน�ำมาใช้พยากรณ์อีกด้วย ปัจจุบันต�ำรานรลักษณ์ยังคงมีบทบาทต่อคนไทย โดยเฉพาะในด้านของการเสริมความงาม ศัลยกรรม ต่างๆ เพื่อปรับแต่งลักษณะของบุคคลให้เป็นมงคลตามดวงชะตาตามความเชื่อว่าหากปรับแต่งให้สอดคล้องกับต�ำรา นรลักษณ์แล้วจะท�ำให้มีความเจริญรุ่งเรืองและเป็นมงคลต่อชีวิตในภายภาคหน้า เอกสารอ้างอิง

สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ต�ำราดูลักษณะผู้หญิง ฉบับวัดหนองสร้อย อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน. ใบลาน เส้นจาร. รหัสไมโครฟิล์ม ๘๐.๐๕๐.๑๑.๐๖๕-๐๖๖ ม้วนพิเศษ ๗ (เอกสารตัวเขียน) พลูหลวง (นามแฝง). ต�ำรานรลักษณ์: ศาสตร์แห่งการท�ำนายลักษณะบุคคล. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง, ๒๕๓๖. หรีด เรืองฤทธิ์. ต�ำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์ และต�ำรานรลักษณ์ ฉบับหลวงในรัชกาลที่ ๑. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเซียงจงเจริญ, ๒๕๐๘. อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. ผูกนิพพานโลกีย์: ต�ำรากามสูตรสัญชาติไทย. กรุงเทพฯ: มติชน,๒๕๕๐. อริยานุวัตร เขมจารีเถระ,พระ. ท้าวค�ำสอน. มหาสารคาม : ศูนย์อนุรักษ์วรรณคดี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ๒๕๑๓.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 113


กีฬาภูมิปัญญาไทย ความหมายและประเภท กีฬาภูมิปัญญาไทย หมายถึง การเล่น การกีฬา และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ที่มีการปฏิบัติกันอยู่ใน ประเทศไทยและมีเอกลักษณ์สะท้อนวิถีไทย ประเภทของกีฬาภูมิปัญญาไทย ๑. การเล่นพื้นบ้าน หมายถึง กิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายที่ท�ำด้วยความสมัครใจ ตามลักษณะ เฉพาะของท้องถิ่น เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน เกิดความรักและความสามัคคีในหมู่คณะ ๒. กีฬาพื้นบ้าน หมายถึง การเล่นที่มีลักษณะแข่งขันมีผลแพ้ชนะ โดยมีกฎกติกาที่เป็นลักษณะ เฉพาะถิ่น ๓. ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว หมายถึง วิธีการหรือรูปแบบการต่อสู้ที่ใช้ร่างกายหรืออุปกรณ์ โดยได้รับ การฝึกฝนตามวัฒนธรรมที่ได้รับการถ่ายทอดกันมา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

114 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียน

๑. เป็นการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์หรือ อัตลักษณ์เฉพาะท้องถิ่นหรือชาติพันธุ์ ๒. มีวิธีการเล่นหรือการแข่งขันที่ชัดเจน (เช่น ล�ำดับขั้นตอน กฎกติกา ช่วงระยะเวลา) ๓. มีการสืบทอด และยังคงมีการเล่น หรือการแข่งขันตามวาระโอกาสของกีฬา การเล่นนั้น ๆ ๔. มีคุณค่าทางกาย อารมณ์ สังคม วิถีชีวิตชุมชน และจิตวิญญาณของความเป็นไทย ๕. เป็นการเล่นพืน้ บ้าน กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการต่อสูป้ อ้ งกันตัวทีต่ อ้ งได้รบั การคุม้ ครองอย่างเร่งด่วน เสี่ยงต่อการสูญหายหรือก�ำลังเผชิญกับภัยคุกคาม ๖. คุณสมบัติอื่นๆ ที่คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าเหมาะสม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 115


แนดข้ามส้าว การเล่นแนดข้ามส้าวเป็นการเล่นของชายหนุ่มหญิงสาวชาวเหนือสมัยก่อน แหล่งที่เล่นกันมากคือ ในท้องที่จังหวัดล�ำปาง เล่นกันในช่วงก่อนจะถึงเทศกาลตรุษสงกรานต์ นิยมเล่นในเวลากลางคืนเดือนหงาย ค�ำว่า “แนด” หมายถึง การเล่นไล่จับของเด็กในภาคเหนือ ส่วนค�ำว่า “ส้าว” หมายถึง ไม้ไผ่หรือท่อนไม้ยาวๆ (จ.จ.ส, ๒๔๙๙) แนดข้ามส้าวจึงหมายถึงการเล่นไล่จับรอบๆ ไม้ไผ่หรือท่อนไม้ยาวๆ นั่นเอง พบว่าอย่างน้อยมีการ เล่นแนดข้ามส้าวกันแล้วตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๔๘๐ (กรมพลศึกษา, ๒๔๘๐) สันนิษฐานว่าเป็นการเล่นเลียนแบบการวิ่งหนี ภัยจากสัตว์ เช่น วัว ควาย หมูป่า หมา แมว ห่าน เป็ด ไก่ ไล่ขวิด ไล่กัด ไล่จิก ไปรอบๆ กอไผ่ หรือรอบท่อนไม้ใหญ่ ทีล่ ม้ ลงมานอนกับพืน้ ต่อมาชาวบ้านจึงน�ำไปดัดแปลงเป็นกีฬาเล่นกัน การเล่นแนดข้ามส้าวเป็นการเปิดโอกาสให้ชาย หนุม่ หญิงสาวได้รจู้ กั กัน มีความสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กัน อีกทัง้ ยังเป็นการเล่นเพือ่ ความสนุกสนานครึกครืน้ อันเป็นสัญลักษณ์ แสดงให้ทราบว่าใกล้จะถึงวันขึ้นปีใหม่ของชาวไทยภาคเหนือในสมัยเก่าก่อน ปัจจุบันไม่ปรากฏการเล่นชนิดนี้ ในเมืองแล้ว จะมีการเล่นอยู่บ้างในท้องถิ่นชนบทบางแห่งเท่านั้น และเนื่องจากเป็นการเล่นที่ทรงคุณค่าใน หลากหลายด้าน จึงสมควรต้องมีการฟื้นฟูพัฒนาการเล่นนี้ให้คงอยู่ มีชีวิตชีวาเป็นประโยชน์แก่คนในรุ่นปัจจุบันและ รุ่นต่อๆ ไปยิ่งขึ้น

เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

116 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แนดข้ามส้าวสะท้อนถึงวิถีชีวิตจริงของชาวบ้านในชนบทไทยที่มีวิธีหนีภัยเฉพาะหน้าจากสัตว์ ด้วยการ ใช้ท่อนไม้ที่ล้มตามธรรมชาติเป็นเครื่องป้องกันภัย วิ่งหนีไปรอบๆ ท่อนไม้เพื่อการเอาตัวรอด ซึ่งวิธีเล่นแบบการวิ่งไล่ จับกันรอบๆ ท่อนไม้ยาวเป็นการเล่นทีไ่ ม่คอ่ ยพบเห็นในประเทศอืน่ นับเป็นเอกลักษณ์ไทย และเป็นการสะท้อนให้เห็น ถึงความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ สัตว์ป่า และสัตว์เลี้ยงของไทย นอกจากนี้ ยังเป็นการสะท้อนให้เห็นคุณค่าและการ เรียนรู้วัฒนธรรมทางภาษาในภาคเหนือของไทย แนดข้ามส้าวมักจะเล่นกันในช่วงก่อนจะถึงเทศกาลสงกรานต์ นิยมเล่นในเวลากลางคืนเดือนหงาย ผู้เล่นนิยมเล่นในหมู่ชายหนุ่มหญิงสาว ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนผู้เล่น คนยิ่งมากยิ่งสนุก และสามารถแยกวงเล่นเป็นหลายวง ได้ อุปกรณ์การเล่นไม้ไผ่หรือไม้รวกขนาดโตเท่าก�ำมือ ยาวประมาณ ๓-๔ วา ๑ ล�ำ เรียกตามภาษาพื้นบ้านว่าส้าว หรือไม้ส้าว ทั้งนี้ สถานที่เล่นบริเวณลานกว้างทั่วไป เช่น ลานบ้าน ลานวัด โดยเขียนวงกลมลงบนพื้นให้มีขนาดเส้น ผ่าศูนย์กลางยาวกว่าความยาวของไม้ส้าวประมาณ ๑-๒ วา น�ำไม้ส้าววางไว้กลางวงให้หัวไม้ส้าวทั้ง ๒ ด้าน ห่างจากเส้นรอบวงเป็นระยะเท่าๆ กัน วิธีเล่น ผู้เล่นทั้งหมดท�ำการเสี่ยงทายเพื่อเป็นตัวแนด ๑ คน ให้ผู้เล่นที่เป็นตัวแนดยืนอยู่ที่หัวไม้ส้าว ด้านหนึ่ง ส่วนผู้เล่นคนอื่นๆ ยืนอยู่ที่หัวไม้ส้าวอีกด้านหนึ่ง เริ่มเล่นโดยให้ผู้เล่นที่เป็นตัวแนดวิ่งไล่แตะผู้เล่นอื่นๆ ไป รอบๆ ส้าว และผู้เล่นคนอื่นๆ ต้องวิ่งหนีตัวแนดไปรอบๆ ไม้ส้าวเช่นกัน ผู้เล่นคนอื่นๆ สามารถหยุดพักการหนีได้ โดยการเหยียบไม้ส้าวไว้ และตัวแนดจะแตะตัวผู้เล่นที่เหยียบส้าวไว้ไม่ได้ ผู้เล่นคนใดถูกตัวแนดไล่แตะได้ จะต้องเป็น ตัวแนดแทน ส่วนผู้เล่นที่เป็นตัวแนดอยู่ก่อนก็จะกลับกลายเป็นฝ่ายหนี หมุนเวียนสับเปลี่ยนกันเรื่อยไป จนกว่า จะเลิกเล่น กติกา คือ ผู้เล่นทั้งหมดจะต้องวิ่งไล่และหนีอยู่ภายในเขตวงกลมที่ก�ำหนด โดยห้ามผู้เล่นที่เป็นตัวแนด วิ่งข้ามส้าวที่วางไว้ แต่อนุญาตให้ผู้เล่นคนอื่นๆ วิ่งหนีข้ามเส้าได้

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 117


คุณค่า ๑. ทางร่างกาย จากลักษณะที่เป็นการวิ่งไล่จับกันเป็นวงกลม ภายในขอบเขตจ�ำกัด คือ วิ่งไปรอบๆ ไม้ส้าว เป็นการบังคับให้ผู้เล่นต้องวิ่งหนีให้เร็ว และต้องหลบหลีกการไล่อย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน บ่อยๆ ครั้งที่ผู้เล่น เป็นตัวแนดจะวิ่งย้อนกลับมาไล่ วิ่งหลอกล่อกลับไปกลับมา ท�ำให้ผู้เล่นฝ่ายหนีต้องวิ่งด้วยความระมัดระวัง และต้อง มีความคล่องตัวทีจ่ ะหยุดวิง่ กลับได้ทนั เหตุการณ์ดว้ ย กีฬานีจ้ งึ ช่วยส่งเสริมให้ผเู้ ล่นได้รบั คุณค่าทางด้านความแข็งแรง ความแคล่วคล่องว่องไว ความเร็ว ความอดทน ก�ำลัง และความสัมพันธ์ระหว่างระบบประสาทกับระบบกล้ามเนื้อ ได้เป็นอย่างดี หากมีการวิ่งไล่กันต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ ก็จะส่งเสริมให้เกิดความทนทานของระบบหายใจและระบบ ไหลเวียนโลหิตด้วย ๒. ทางจิ ต ใจ การวิ่ ง ไล่ ที่ จ วนตั ว การวิ่ ง หนี ที่ มี ค นวิ่ ง ไล่ ต ามมาติ ด ๆ การหลอกล่ อ การวิ่ ง ดั ก ภายในขอบเขตจ�ำกัด จะไปทางไหนก็มีแต่ความฉุกละหุก ซึ่งเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความตื่นเต้น สนุกสนานตลอด เวลา จึงเป็นการส่งเสริมให้ผู้เล่นได้รับคุณค่าทางจิตใจเกี่ยวกับความร่าเริงแจ่มใส ความเชื่อมั่นในตนเอง ความกล้า ความอดทน ความมุมานะ และเกิดก�ำลังใจที่ดี ๓. ทางอารมณ์ จากลักษณะการเล่นทีก่ ล่าวมาแล้ว ย่อมท�ำให้การเล่นมีความตืน่ เต้น และอาจมีอารมณ์ ต่างๆ เกิดขึน้ กับผูเ้ ล่นได้ เช่น ฝ่ายหนีอาจมีความรูส้ กึ ตกใจ เกลียด กลัว หรือโกรธ ฝ่ายไล่กอ็ าจมีความรูส้ กึ เช่นเดียวกัน แต่ก็ต้องระงับยับยั้ง และรู้จักเก็บอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ ไว้ เพราะเป็นการเล่นร่วมกับคนอื่นๆ หลายคน อีกทั้ง ยังมีกฎกติกาควบคุมอยู่ นอกจากนี้ ในเกมการเล่นผู้เล่นยังสามารถเกิดความพึงพอใจจากการเล่น และคลายอารมณ์ เครียดไปกับสภาพการณ์เล่นที่มีความสนุกสนานได้ด้วย ๔. ทางสติปัญญา การวิ่งไล่เป็นวงกลมในที่จ�ำกัด ท�ำให้ผู้เล่นฝ่ายหนีต้องใช้ความคิดมากขึ้นกว่าปกติ เพราะมีโอกาสหนีได้น้อยลง ท�ำให้ต้องรู้จักคิด รู้จักสังเกตลักษณะท่าทีของคนไล่ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เล่นรู้จักตัดสิน ใจฉับไวขึ้น ใช้ความคิดอย่างรวดเร็ว และรู้จักแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ๕. ทางสังคม กีฬานี้ช่วยส่งเสริมให้ผู้เล่นโดยเฉพาะฝ่ายหนี รู้จักปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม คือปรับตัว เข้ากับสภาพการหนีรอบไม้ส้าว ปรับตัวเข้ากับกลุ่มที่หนี เคารพกฎกติกาที่ร่วมกันก�ำหนดขึ้น ซื่อสัตย์ยุติธรรม และเคารพในสิทธิของคนไล่และคนหนีคนอื่นๆ นอกจากนี้สภาพการเล่นร่วมกันหลายๆ คน จะช่วยส่งเสริมให้เกิด ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความมีน�้ำใจนักกีฬาด้วย เอกสารอ้างอิง

กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร:โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ จ.จ.ส. พจนานุกรมภาคเหนือ. พระนคร:ส�ำนักพิมพ์คลังวิทยา, ๒๔๙๙ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๒๕ สามัคยาจารย์สมาคม. “ข่าวการกรีฑานักเรียนในนครเชียงใหม่”. วิทยาจารย์. (เล่ม ๑๖ ตอนที่ ๔ พ.ศ.๒๔๕๘) พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

118 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


โค้งตีนเกวียน โค้งตีนเกวียนเป็นการเล่นพื้นเมืองของจังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนืออื่นๆ เช่น จังหวัดมหาสารคาม อุบลราชธานี และนครราชสีมา บางท้องถิ่นเรียกว่าระวงตีนเกวียน โล่งโค้งกงเกวียน หรือ เสียนโตก เป็นการเล่นเลียนแบบล้อเกวียนที่หมุนบนพื้น (ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๒๕) หลังจากหลุดออก จากเพลาเกวียน ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเริ่มมีการเล่นโค้งตีนเกวียนตั้งแต่สมัยใด แต่พบว่าอย่างน้อยมีการเล่นโค้งตีน เกวียนกันแล้วในสมัยรัชกาลที่ ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ก่อน พ.ศ.๒๔๘๐ (กรมพลศึกษา, ๒๔๘๐) ในสมัยก่อนโค้งตีน เกวียนเป็นการเล่นทีน่ ยิ มเล่นทัง้ เด็กและผูใ้ หญ่ ปัจจุบนั ไม่คอ่ ยเป็นทีน่ ยิ มเล่นกันแล้ว จะยังมีอยูบ่ า้ งเฉพาะในบางท้อง ถิน่ ชนบทของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเนือ่ งจากเป็นการเล่นทีท่ รงคุณค่าในหลากหลายด้าน จึงสมควรต้องมีการ ฟื้นฟูพัฒนาการเล่นนี้ให้คงอยู่ มีชีวิตชีวาเป็นประโยชน์แก่คนในรุ่นปัจจุบันและรุ่นต่อๆ ไปยิ่งขึ้น โค้งตีนเกวียนสะท้อนถึงวิถีชีวิตจริงของชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไทย ที่นิยมใช้เกวียนเป็น พาหนะขนส่งสินค้า นอกจากนี้ วิธเี ล่นมีทงั้ แบบนัง่ ล้อมวงเหยียดขายันกับวงล้อเกวียนทีน่ อนบนพืน้ และแบบใช้คนนัง่ ล้อมวงเหยียดขาชนกัน แล้วอีกพวกยกแขนพวกนั่งให้ก้นพ้นพื้น แล้วหมุนเป็นวงคล้ายล้อเกวียนหมุน เป็นการเล่น ที่ไม่ค่อยพบเห็นในประเทศอื่น นับเป็นเอกลักษณ์ไทยที่สะท้อนให้เห็นคุณค่าและการเรียนรู้วัฒนธรรมการใช้เกวียน เป็นพาหนะ และสภาพของปัญหาเมื่อล้อเกวียนหลุดจากเพลาเกวียน

เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 119


โอกาสที่เล่นโค้งตีนเกวียนนั้น เล่นกันได้ทุกโอกาสที่ว่าง แต่มักจะมีการเล่นในงานเทศกาลต่างๆ เช่น งานบุญข้าวสาก งานตรุษสงกรานต์ เป็นต้น ผู้เล่นจะเล่นกันในหมู่เด็กทั้งชายและหญิง โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ พวก จ�ำนวนผู้เล่นพวกละเท่าๆ กัน อย่างน้อยควรมีจ�ำนวนผู้เล่นพวกละ ๓ คน โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ในการเล่น สถานที่เล่น สามารถเล่นบริเวณลานดินทั่วไป เช่น สนามหญ้า ลานบ้าน ลานวัด ไม่มีการก�ำหนดขอบเขตสนามเล่น วิธีเล่น ให้ผู้เล่นทั้ง ๒ พวกจับมือเป็นวงกลมวงเดียว โดยผู้เล่นของแต่ละพวกยืนสลับกัน แล้วให้หัวหน้า ของแต่ละพวกตกลงกันว่าฝ่ายใดจะเป็นฝ่ายยืน ฝ่ายใดจะเป็นฝ่ายนั่ง เมื่อตกลงกันแล้วให้ฝ่ายนั่งๆ ลง เหยียดเท้า ยันกันไว้ตรงกลางวง สมมุติให้เป็นซี่ล้อเกวียน และเท้าของแต่ละคนที่รวมอยู่ตรงกลางเป็นดุมเกวียน ฝ่ายยืนจะยืนจับ แขนฝ่ายนั่งไว้ ลักษณะจะสลับกัน คือ ฝ่ายยืนสลับด้วยฝ่ายนั่งจนรอบวงกลม (ในสมัยก่อนจะเล่นกับล้อเกวียนจริง โดยน�ำล้อเกวียนวางนอนลงกับพื้น ผู้เล่นทั้งสองพวกยืนล้อมกรอบล้อเกวียน ฝ่ายนั่งจะเหยียดเท้ายันวงนอกของล้อ เกวียนไว้ ต่อมาล้อเกวียนหายากขึ้น ชาวบ้านจึงพัฒนาวิธีเล่นเป็นไม่ใช้ล้อเกวียน แต่ใช้วิธีเหยียดเท้ายันกันไว้แทน) เริ่มเล่นโดยฝ่ายยืนจะต้องท�ำหน้าที่ยกแขนของฝ่ายนั่งให้ตึง แล้วเดินไปรอบวงกลมเป็นแนวเดียวกัน ฝ่ายนั่งจะต้อง เกร็งตัวเหยียดเท้ายันกันไว้ แล้วยกก้นขึ้น หมุนตามไป โดยใช้เท้าที่ยันกันไว้ตรงกลางนั้นเป็นจุดศูนย์กลาง ถ้าฝ่ายนั่ง ท�ำมือหลุดหรือเท้าหลุด เป็นเหตุให้วงแยกออกจากกัน ฝ่ายนั่งจะเสียสิทธิ์การนั่ง ต้องเปลี่ยนให้ฝ่ายยืนมานั่งบ้าง และฝ่ายนั่งเป็นคนยืนบ้าง สลับกันเช่นนี้เรื่อยไป จนกว่าจะเลิกเล่น คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การยืนจับมือกันโดยสลับให้ฝา่ ยหนึง่ เหยียดตัวเอง เท้ายันกันไว้ตรงกลางวง ท�ำให้ผเู้ ล่น ทุกคนได้ใช้ก�ำลังแขนในการดึงซึ่งกันและกัน ส�ำหรับผู้เล่นที่เหยียดตัวให้ตรงในท่านอนหงาย ต้องใช้กล้ามเนื้อท้อง และล�ำตัวส่วนอื่นๆ พร้อมกันเพื่อบังคับ ตัวเองให้เหยียดตรงและพ้นจากพื้น ฝึกการ ปรับตัวของประสาทในขณะทีล่ ำ� ตัวเคลือ่ นที่ หมุนไป และการควบคุมร่างกายได้ถูกต้อง ฝ่ า ยยื น ที่ เ ด่ น ให้ เ ป็ น วงก็ ไ ด้ อ อกก� ำ ลั ง ขา และแขนไปพร้อมๆ กัน เนือ่ งจากต้องรับน�ำ้ หนักอยู่ จึงจ�ำเป็นจะต้องรักษาการทรงตัวมิ ให้เสียหลักไปในทิศทางต่างๆ ถ้าเป็นการ เล่นทีน่ านจนเกิดความเหน็ดเหนือ่ ย จะมีผล ต่อความทนทานของกล้ามเนื้อ และระบบ การไหลเวียนโลหิตด้วย พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

120 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๒. ทางจิตใจ ส่งเสริมความกล้าและความเชือ่ มัน่ ในตนเองของผูเ้ ล่นทีเ่ ป็นฝ่ายนัง่ ฝึกความมานะพยายาม ของผู้เล่นที่ต้องอดทนต่อความเหน็ดเหนื่อย ท�ำให้จิตใจเข้มแข็ง มีใจกว้างเมื่อฝ่ายตนแพ้ก็ยอมรับผล แม้จะไม่ใช่เป็น ความผิดของตนเองและไม่เสียก�ำลังใจ และมีใจกว้างในการยอมรับข้อผิดพลาดของตนหรือค�ำติชมจากเพื่อนๆ ทุกคน ในขณะที่เล่นหรือหลังจากการเล่น ๓. ทางอารมณ์ สถานการณ์ในการเล่นช่วยส่งเสริมให้ผู้เล่นได้ผ่อนคลายความตึงเครียดทางอารมณ์ และสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ในลักษณะของความพอใจ ดีใจ เสียใจ อารมณ์โกรธ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในขณะเล่น ซึ่งการได้ควบคุมอารมณ์อยู่เสมอจะเป็นผลส่งเสริมให้มีคุณธรรมอันสูงในตัวเอง และใน การแสดงออกในสังคมในโอกาสต่อไป ๔. ทางสติปัญญา การเล่นโค้งตีนเกวียนท�ำให้ผู้เล่นได้เรียนรู้และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการปรับตัว ในภาวะต่างๆ เช่น การควบคุมร่างกายให้ตรงในขณะที่ผู้เล่นอีกฝ่ายหนึ่งเดินไปรอบๆ ว่าจะเกร็งกล้ามเนื้ออย่างไร จะจับข้อมืออย่างไร จึงมั่นคงไม่หลุดได้ง่าย หรือลักษณะของเท้าที่ยันกันควรจะเป็นอย่างไรจึงจะมั่นคง ลักษณะการ หมุนของวงกลมท�ำให้เกิดความคิดเปรียบเทียบกับการหมุนของล้อเกวียน ว่าเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร ๕. ทางสังคม เนื่องจากเป็นการเล่นรวมกันทั้งหมด เพราะทุกคนอยู่ในวงกลมเดียวกัน ผู้เล่นต่างก็จับมือ ซึ่งกันและกัน เป็นลักษณะของการเล่นที่มีความใกล้ชิดกัน แม้จะแข่งขันกันระหว่าง ๒ พวก แต่ก็ยังมีส่วนสัมพันธ์โดย ตลอด เป็นลักษณะของการดึงบุคคลเข้าสู่สังคมแบบอัตโนมัติ ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายต้องมีความสามัคคีพร้อมเพรียง เช่น ฝ่ายยืนต้องเดินไปทิศทางเดียวกันพร้อมกัน ฝ่ายทีน่ อนก็พยายามยันเท้าไว้ดว้ ยกันและหมุนไปทางเดียวกัน ในการเล่น ทุกคนได้แสดงความจริงใจต่อเพื่อนร่วมทีมด้วยกัน จึงเป็นการเล่นที่ส่งเสริมคุณค่าทางสังคมได้ดี เอกสารอ้างอิง

กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร : โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ สมเด็จพระมหาวีรวงษ์, พจนานุกรมภาคอิสาน-ภาคกลาง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๕ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, การเล่นของเด็กภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ :ส�ำนักพิมพ์ประกายพรึก, ๒๕๒๕

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 121


เสือข้ามห้วย

เสือข้ามห้วยเป็นการเล่นพื้นเมืองที่เล่นกันอย่างแพร่หลายในจังหวัดต่างๆ ของภาคกลางสมัยก่อน เช่น จังหวัดกรุงเทพฯ ธนบุรี ราชบุรี ตราด และพระนครศรีอยุธยา เป็นต้น (ชัชชัย โกมารทัต, ๒๕๒๗) นอกจากนี้ยังเป็น ที่นิยมเล่นกันแพร่หลายในภาคอื่นๆ ด้วย เสือข้ามห้วยเป็นการเล่นที่เล่นกันในหมู่เด็กๆ และคนหนุ่มสาว เป็นการเล่น เลียนแบบพฤติกรรมของสัตว์ที่มีความสามารถในการกระโดด กระโจนข้ามสิ่งกีดขวาง เช่น ห้วยน�้ำ ล�ำธารเล็กๆ ได้ อย่างแคล่วคล่องว่องไว ชาวบ้านสมัยก่อนจึงน�ำท่าทางการกระโดดของเสือมาเล่นเป็นเสือข้ามห้วยกัน เล่นเพื่อ ความสนุกสนานรื่นเริงและเป็นการออกก�ำลังกายอย่างหนึ่งด้วย บางท้องถิ่นเล่นกันในเทศกาลรื่นเริงต่างๆ เช่น งานสงกรานต์ สันนิษฐานว่าเสือข้ามห้วยจะมีการเล่นกันมานานกว่า ๑๒๐ ปีแล้ว (วรรณี วิบูลสวัสดิ์ แอนเดอร์สัน, ๒๕๒๖) ประมาณสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ช่วงรัชกาลที่ ๕ และนับได้ว่าการเล่นเสือข้ามห้วยเป็นการเล่นพื้นเมืองชนิด หนึ่งที่เป็นที่นิยมเล่นสืบทอดต่อเนื่องกันมาโดยตลอด แม้ในปัจจุบันนี้ยังเล่นกันอยู่ทั่วไปทั้งในเมืองและในชนบท และเนือ่ งจากเป็นการเล่นทีท่ รงคุณค่าในหลากหลายด้าน จึงสมควรต้องมีการฟืน้ ฟูพฒ ั นาการเล่นนีใ้ ห้คงอยู่ มีชวี ติ ชีวา เป็นประโยชน์แก่คนในรุ่นปัจจุบันและรุ่นต่อๆ ไปยิ่งขึ้น เสือข้ามห้วยสะท้อนถึงวิถชี วี ติ จริงของชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ทีต่ อ้ งใช้ชวี ติ เกีย่ วข้อง กับป่า เผชิญภัยกับเสือ ซึ่งวิธีเล่นแบบให้คนนั่งในท่าต่างๆโดยสมมุติว่าเป็นห้วย แล้วให้คนอื่นที่สมมุติว่าเป็น เสือกระโดดข้ามไป เป็นการเล่นที่ไม่ค่อยพบเห็นในประเทศอื่น นับเป็นเอกลักษณ์ไทยที่สะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญ ความอุดมสมบูรณ์ของเสือ ของป่า และเป็นการเรียนรู้วัฒนธรรมการใช้ชีวิตในป่า เช่น เรื่องของเสือ อาการกิริยา ของเสือ เรื่องของห้วย หนอง คลอง บึง ที่ปรากฏเป็นค�ำพูดเป็นสาระและเป็นพฤติกรรมของการเล่น เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

122 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เสือข้ามห้วยสามารถเล่นได้ทุกโอกาสที่ว่าง บางท้องถิ่นเล่นกันในเทศกาลสงกรานต์ก็มี เล่นได้ทั้งชาย และหญิง แต่โดยส่วนมากจะเล่นกันเฉพาะกลุ่ม คือ ชายก็นิยมเล่นกับชายด้วยกัน ส่วนหญิงก็มักจะเล่นกับ หญิงด้วยกัน แต่ถ้าชายกับหญิงเล่นร่วมกันมักจะมีการต่อระยะหรือต่อท่าทางในการกระโดดส�ำหรับหญิงให้ง่ายขึ้น ในการเล่นประเภทบุคคลจะเล่นได้ต้ังแต่จ�ำนวนผู้เล่น ๒ คนขึ้นไป ถ้ามีจ�ำนวนผู้เล่นมากๆ อาจเล่นแข่งขันกัน เป็นทีมได้ โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่ายๆ ละเท่าๆ กัน สถานที่เล่นบริเวณสนามหญ้าหรือลานกว้างทั่วไป เช่น ลานบ้าน หรือลานวัด เป็นต้น วิธีเล่น ผู้เล่นทุกคนเสี่ยงทายเพื่อหาผู้เล่น ๑ คนสมมุติให้เป็นห้วย ส่วนผู้เล่นที่เหลือทั้งหมดสมมุติ ให้เป็นเสือ ให้ผเู้ ล่นคนทีเ่ ป็นห้วยนัง่ ลงตามท่าทางต่างๆ ทีก่ ำ� หนดไว้ทลี ะท่าแล้วให้ผเู้ ล่นทีเ่ ป็นเสือทุกคน กระโดดข้าม ทีละคน เมื่อจบท่าหนึ่งก็ให้คนเป็นห้วยเปลี่ยนเป็นท่าอื่น ให้ผู้เล่นที่เป็นเสือกระโดดข้ามทีละคนเช่นนี้เรื่อยไป ท่าทาง ที่ผู้เล่นคนที่เป็นห้วยนิยมเล่นกันท�ำมีอยู่ ๙ ท่าดังนี้คือ ท่าที่ ๑ นั่งลงเหยียดเท้าไปข้างหน้าตั้งฝ่าเท้าขึ้นหันนิ้วเท้าขึ้นข้างบน ให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามเท้า ที่เหยียดไป ท่าที่ ๒ เหมือนท่าที่ ๑ แต่ใช้เท้าต่อที่ปลายเท้าเดิมเป็น ๒ เท้าซ้อนกัน ให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้าม เท้าไป ท่าที่ ๓ เหมือนท่าที่ ๒ แต่เพิม่ การใช้มอื ต่อขึน้ ไปอีกชัน้ หนึง่ โดยเหยียดแขนกางนิว้ ขึน้ ให้นวิ้ ก้อยตัง้ อยู่ บนหัวแม่เท้า ให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามมือไป ท่าที่ ๔ เหมือนท่าที่ ๓ แต่เพิ่มการใช้มืออีกข้างหนึ่งต่อขึ้นไปบนมือข้างที่ต่ออยู่ก่อน เป็นมือ ๒ ข้างต่อ ซ้อนเท้า ๒ เท้า กางนิ้วมือออกให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามมือไป ท่าที่ ๕ นัง่ ลงห่อตัวหมอบในท่าเข่าและแขนท่อนล่างชิดพืน้ ศีรษะก้มลงเรียกว่า ท่ากบหมอบ หรือช้าง หมอบ แล้วให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามหลังไป ท่าที่ ๖ เหมือนท่าที่ ๕ คือนั่งหมอบก้มศีรษะแต่ใช้ศอกทั้ง ๒ ข้างยกขึ้นยกลงอยู่ตลอดเวลาเรียกว่า ท่ายักเงี่ยง หรือปลาดุกยัก แล้วให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามหลังไป ท่าที่ ๗ คุกเข่าใช้มือยันพื้น เรียกว่าท่าช้างค่อม แล้วให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามหลังไป ท่าที่ ๘ ยืนขึ้นแล้วก้มตัวลงใช้มือยันพื้น เรียกว่าท่าช้างยืน แล้วให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามหลังไป ท่าที่ ๙ ยืนก้มตัวใช้มือยันเข่าไว้ เรียกว่าท่าช้างสูง แล้วให้ผู้เป็นเสือกระโดดข้ามหลังไป

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 123


ผูเ้ ป็นเสือคนใดกระโดดติด คือกระโดดไปแล้วส่วนหนึง่ ส่วนใดของร่างกายผูเ้ ป็นเสือถูกร่างกายผูเ้ ป็นห้วย จะถือว่าคนนั้นตาย และต้องมาเป็นห้วยแทนคนเดิม คนที่เป็นห้วยอยู่เดิมให้กลับเป็นเสือกระโดดข้ามห้วยแทน เมื่อมี การติดหรือตาย แล้วเปลี่ยนต�ำแหน่งหน้าที่ของผู้เล่นครั้งใด ให้เริ่มเล่นใหม่ตั้งแต่ท่าแรกทุกครั้งไป กรณีเล่นเป็นทีม ฝ่ายที่เป็นห้วยต้องนั่งท�ำท่าต่างๆ เป็นแถวตอนเรียงหนึ่ง เว้นระยะห่างพอกระโดดได้ แล้วฝ่ายที่เป็นเสือจะกระโดดข้ามคนเป็นห้วยทีละคนจนครบทุกคนในแต่ละท่า และต้องกระโดดผ่านผู้เล่นเป็นห้วย ทุกคนด้วย ถ้าติดหรือตายที่คนใดก็ต้องเปลี่ยนกันทั้งฝ่าย และต้องจ�ำไว้ว่าฝ่ายตนตายที่ท่าใด เมื่อได้ท�ำใหม่จะต้องเริ่ม ท�ำจากท่าที่ตายนั้นใหม่อีก กติกาของการเล่น คือ การกระโดดอนุญาตให้วิ่งกระโดดได้ แต่ต้องกระโดดเรียงตามล�ำดับก่อนหลัง การติดหรือตายให้ผู้เล่นตกลงกันว่า จะใช้วิธี “ติดผ้า” หรือ “ติดเนื้อ” ถ้าติดผ้าจะต้องกระโดดให้พ้นและระมัดระวัง ไม่ให้ส่วนใดๆ ของผ้าหรือส่วนใดๆ ของร่างกายผู้เป็นเสือถูกผ้าหรือร่างกายของผู้เป็นห้วย แต่ถ้าตกลงกันว่าติดเนื้อ ส่วนของผ้าจะถูกกันบ้างก็ไม่เป็นไร แต่ต้องระวังไม่ให้ส่วนของร่างกายถูกต้องกัน ผู้เป็นเสือต้องกระโดดให้ข้ามส่วนที่ ก�ำหนดไว้ เช่น กระโดดข้ามให้พ้นหลัง หรือพ้นขา โดยล�ำตัวทั้งหมด และขาทั้ง ๒ ข้างของผู้เป็นเสือ จะต้องกระโดด ให้พ้นบริเวณส่วนที่ก�ำหนดไว้

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

124 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การเล่นในลักษณะการกระโดดข้ามช่วยให้ได้ออกก�ำลังขา แขน และล�ำตัว เสริมสร้าง พลังของกล้ามเนือ้ ช่วยให้เกิดความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ และช่วยให้การทรงตัวดีขนึ้ ส�ำหรับผูเ้ ล่นทีป่ ฏิบตั ใิ นท่าต่างๆ ก็ได้บริหารร่างกายในลักษณะของการเหยียดเท้า เหยียดแขน ก้มตัวท�ำให้เกิดความอ่อนตัวของร่างกายได้ ๒. ทางจิตใจ การกระโดดข้ามสิ่งกีดขวางเป็นลักษณะของการตัดสินใจ และการทดสอบตัวเอง ท�ำให้ เกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง ความกล้า ความสุขุมรอบคอบ และความพยายามเพื่อให้บรรลุผลที่ต้องการ ๓. ทางอารมณ์ การเล่นเสือข้ามห้วย ส่งเสริมให้เกิดความสนุกสนาน ท้าทายความสามารถของผู้เล่น มีการเปรียบเทียบความสามารถของตนเองและเพื่อนๆ ส่งเสริมให้เกิดความพึงพอใจ อารมณ์แจ่มใส มีโอกาสควบคุม อารมณ์ของตนเองไม่แสดงออกทางอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม ๔. ทางสติปัญญา การกระโดดแต่ละขั้นมีความง่ายยากตามล�ำดับ ซึ่งผู้เล่นจะต้องคิดวางแผนล่วงหน้า ว่าจะกระโดดอย่างไร จึงจะออมก�ำลังและข้ามไปได้ โดยไม่ถูกผู้เล่นที่เป็นห้วย เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับการกระโดด เท้าเดียว การกระโดดสองเท้าพร้อมกัน และการลงสู่พื้นอย่างเหมาะสม ๕. ทางสังคม การเล่นจะต้องปฏิบัติตามล�ำดับก่อนหลัก ท�ำให้รู้จักการรอคอย ให้โอกาสแก่ผู้อื่น ค�ำนึง ถึงความปลอดภัยของเพื่อนร่วมเล่น มีความเห็นอกเห็นใจผู้เล่นที่เป็นห้วย ยอมรับข้อผิดพลาดของตนเอง ปฏิบัติตาม กติกา ไม่กลั่นแกล้งกัน ท�ำให้เกิดความใกล้ชิดสนิทสนมกันมากขึ้น จึงเป็นการส่งเสริมให้ผู้เล่นได้รับคุณค่าทางสังคม ในด้านต่างๆ ดังกล่าวมาแล้วนั้นได้เป็นอย่างดี เอกสารอ้างอิง

กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร : โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ วรรณี วิบูลย์สวัสดิ์ แอนเดอสัน. การเล่นของเด็กบ้านกลาง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๒๖

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 125


งูกินหาง งูกินหางเป็นการเล่นพื้นเมืองเก่าของไทยทางภาคกลาง เป็นการเล่นเลียนแบบลักษณะท่าทางการ เคลื่ อ นที่ ข องงู ที่ มี ลั ก ษณะล� ำ ตั ว ยาวและเลื้ อ ยคดเคี้ ย วไปมา สมั ย ก่ อ นนิ ย มเล่ น กั น ทั่ ว ไปแทบทุ ก จั ง หวั ด เช่ น ประจวบคีรีขันธ์ กรุงเทพฯ ธนบุรี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปราจีนบุรี ตราด และลพบุรี ไม่ปรากฏหลักฐาน ว่ามีการเล่นงูกินหางกันมาตั้งแต่เมื่อใด แต่พบการเล่นงูกินหางว่ามีการเล่นกันมาแล้วในสมัยรัชกาลที่ ๖ ดังจะเห็นได้ จากการเล่นกีฬาต่าง ๆ ที่จัดให้มีขึ้นในงานตรุษสงกรานต์ ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้จัดให้ มีการเล่นงูกินหางด้วย (สยามออบเซอร์เวอร์, ๖ เมษายน ๒๔๗๕) นอกจากนี้ใน พ.ศ.๒๔๗๕ ยังพบว่าการเล่น งูกินหางได้แพร่หลายไปยังจังหวัดต่าง ๆ แล้ว ดังปรากฏหลักฐานว่ามีการแข่งขันงูกินหางกันในงานกรีฑาเนื่องใน โอกาสเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ณ จังหวัดกระบี่ (บัญชีรายชื่อสิ่งของผู้บริจาค ให้รางวัลแก่นักเรียนผู้เข้าแข่งขันในการกรีฑาในงานเฉลิมพระชนมพรรษา พ.ศ. ๒๔๗๕ จังหวัดกระบี่, ๒๔๗๕) ด้วย การเล่นงูกินหางเป็นการเล่นสนุกสนานของชาวบ้านสมัยก่อน ซึ่งมักจัดให้มีการเล่นกันในงานตรุษสงกรานต์ และงานเฉลิมฉลองต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการเล่นเป็นการออกก�ำลังกายในหมู่ชาวบ้านในโอกาสที่มาช่วยงานต่างบ้าน หรือในยามว่างจากการงานด้วย งูกินหางไม่เพียงเป็นกีฬาที่เล่นกันมากในภาคกลาง แต่ยังเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันมาก ทั่วทุกภาคของประเทศไทยทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ด้วย ปัจจุบันการเล่นงูกินหางยังคงมี เล่นกันอยู่โดยทั่วไป แต่ผู้ใหญ่ไม่ใคร่นิยมเล่นกันแล้ว คงมีแต่เด็กๆ เล่นกัน งูกินหางสะท้อนถึงกริยาอาการที่งูเลื้อยเคลื่อนที่คดไปคดมา เป็นวิถีชีวิตจริงของชาวบ้านในภาคกลาง ของไทย ที่ประกอบอาชีพหลักในการเกษตร ท�ำไร่ ท�ำสวน ท�ำให้ต้องพบเห็นงูซึ่งเป็นสัตว์ที่มีอยู่มากมายหลายชนิด ในประเทศไทย โดยมีวธิ เี ล่นทีห่ วั แถววิง่ ไล่จบั หางแถว เปรียบเสมือนหัวงูเคลือ่ นทีไ่ ล่กดั กินหางงู เป็นการเล่นทีไ่ ม่พบเห็น ในประเทศอื่น นับเป็นเอกลักษณ์ไทยที่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาไทยในการเลียนแบบกิริยาท่าทางของงูที่เลื้อย เคลื่อนที่คดไปคดมา สามารถน�ำมาใช้เล่นเพื่อการผ่อนคลายและสนุกสนานร่วมกัน และเป็นการเรียนรู้ธรรมชาติ ของงูในวิถีชีวิตของชาวไทย งูกินหางสามารถเล่นได้ทุกโอกาสที่ว่าง มักจัดให้เล่นและแข่งขันกันในเทศกาลตรุษสงกรานต์หรือ งานเฉลิมฉลองต่างๆ เช่น งานเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นต้น เล่นได้ทั้งชายและหญิง ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และคนชรา จ�ำนวนผู้เล่นอย่างน้อยต้องมีตั้งแต่ ๗-๘ คนขึ้นไป เล่นได้ทั้งชายและหญิง ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และคนชรา สถานที่เล่นบริเวณสนามหญ้า ลานวัด ลานบ้าน หรือบริเวณลานกว้างทั่วไป เรียบเรียงโดย สุจริต บัวพิมพ์ และ รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

126 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


วิธีเล่น อาจจ�ำแนกได้เป็น ๓ วิธี วิธีแรกเป็นการเล่นแบบ “กินหางตัวเอง” วิธีที่สองเป็นการเล่นแบบ “กินหางตัวอื่น” ส่วนวิธีที่สามเป็นการเล่นแบบ “แม่งูกินลูกงู” สองวิธีแรกน่าจะเป็นวิธีเล่นแบบดั้งเดิม ส่วนวิธีที่สาม น่าจะเป็นวิธีเล่นที่ดัดแปลงขึ้นภายหลัง เนื่องจากพบหลักฐานว่าสองวิธีแรกมีการเล่นกันมากและแพร่หลายในเกือบ ทุกภาคของประเทศแล้วในปีพ.ศ. ๒๔๘๐ (กรมพลศึกษา, ๒๔๘๐) ๑. วิธีเล่นแบบ “กินหางตัวเอง” ให้ผู้เล่นยืนต่อกันเป็นแถวตอน คนหลังใช้มือทั้งสองข้างจับเอวคนข้างหน้าไว้ให้แน่น ผู้เล่นจะตกลง กันว่าจะให้ผเู้ ล่นคนใดอยูห่ วั แถว และผูเ้ ล่นคนใดจะอยูห่ างแถวหรือคนใดจะอยูล่ ำ� ดับไหนของแถว สมมติให้คนหัวแถว เป็นหัวงู บางแห่งเรียกว่า แม่งู ผู้เล่นในแถวเป็นตัวงู และผู้เล่นหางแถว 4 คนสุดท้ายเป็นหางงู ผู้เล่นหางแถว ๔ คน สุดท้ายจะมีชื่อเรียก เป็นบ่อต่าง ๆ ทุกคนโดยนับจากทางหัวแถวมาดังนี้ คนที่ ๑ เรียกว่า บ่อทอง (ร้องว่า ย่องไปก็ย่องมา) คนที่ ๒ เรียกว่า บ่อหิน (ร้องว่า บินไปก็บินมา) คนที่ ๓ เรียกว่า บ่อกรวด (ร้องว่า พรวดไปก็พรวดมา) คนที่ ๔ เรียกว่า บ่อทราย (ร้องว่า ย้ายไปก็ย้ายมา) เริ่มเล่นโดยหัวงูจะเดินวนไปวนมา ตัวงูและท้ายงูจะต้องเดินตามแนวทางที่หัวงูเดินไปโดยตลอด แล้วผู้เป็นหางงูคนสุดท้ายจะต้องร้องถามว่า “งูเอ๋ย กินน�้ำบ่อไหน” บางท้องถิ่นจะร้องถามว่า “แม่งูเอ๋ย กินน�้ำบ่อ ไหน” หัวงูจะเป็นผู้ตอบเพียงคนเดียว โดยเลือกตอบว่าจะกินน�้ำบ่อไหน ซึ่งตนเองพิจารณาแล้วว่าคงจะสามารถ ไล่จับผู้เล่นที่เป็นหางงูที่มีชื่อตรงกับบ่อที่ตน เลื อ กได้ ถ้ า หั ว งู ต อบว่ า “กิ น น�้ ำ บ่ อ ทอง” ให้ทุกคน ในแถวนอกจากหัวงูร้องพร้อมกันว่า “ย่องไปก็ย่องมา” หัวงูตอบบ่อใดก็ให้ร้องตาม เนื้อร้องของบ่อนั้น เมื่อร้องจบหัวงูจะพยายาม วิง่ วนหรือวิง่ ไล่จบั ผูเ้ ล่นทีเ่ ป็นหางงูคนทีม่ ชี อื่ ตรง กั บ ที่ หั ว งู ต อบ หางงู จ ะต้ อ งพยายามวิ่ ง หนี หลบหลีกอย่าให้หัวงูจับตัวได้ แต่ต้องไม่ให้มือ หลุดจากแถว

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 127


ถ้าหัวงูไล่จับผู้เล่นที่เป็นหางงูนั้นไม่ได้ ให้หางงูคนสุดท้ายร้องถามใหม่ หัวงูอาจเปลี่ยนไปกินน�้ำบ่ออื่น ก็ได้ ซึ่งก็หมายความว่าจะต้องไล่จับหางงูคนอื่นบ้าง ถ้าหัวงูไล่จับผู้เล่นที่เป็นหางงูคนที่มีชื่อตรงกับบ่อที่บอกไว้ได้ หางงูคนนัน้ จะต้องออกมาต่อทีห่ วั แถว เป็นหัวงูแทน คนอืน่ ในแถวก็จะเลือ่ นล�ำดับโดยอัตโนมัติ และคนสุดท้ายจะเป็น หางงูแทน หางงูทั้ง ๔ คนนั้นจะต้องส�ำรวจดูว่าตนเป็นหางงูคนที่เท่าใด และมีชื่อเรียกอย่างไรใหม่ เพราะต้องมีการ เปลี่ยนต�ำแหน่งผู้เล่นไปแล้ว จากนั้นด�ำเนินการเล่นเช่นเดียวกับที่เริ่มเล่นครั้งแรก หากหัวงูจับหางงูไม่ได้ภายในเวลา ที่ก�ำหนด เช่น ๒ นาที หรือ ๓ นาที หรือตามตกลงกัน คนเป็นหัวงูจะต้องถูกเปลี่ยนไปเป็นหางงู และให้คนในแถว ล�ำดับต่อไปขึ้นมาเป็นหัวงูแทน บางครั้งอาจมีการเปลี่ยนชื่อหางงูจากบ่อเดิมเป็นบ่อใหม่อีก ๔ บ่อก็ได้ เพื่อมิให้เกิดความซ�้ำซาก ในการร้อง เช่น คนที่ ๑ เรียกว่า บ่อเงิน (ร้องว่า เดินไปก็เดินมา) คนที่ ๒ เรียกว่า บ่อนาก (ร้องว่า ลากไปก็ลากมา) คนที่ ๓ เรียกว่า บ่อดิน (ร้องว่า บินไปก็บินมา) คนที่ ๔ เรียกว่า บ่ออิฐ (ร้องว่า บิดไปก็บิดมา) การเล่นจะสลับสับเปลีย่ นจากหางงูไปเป็นหัวงู จากหัวงูมาเป็นหางงู เปลีย่ นบทบาทเปลีย่ นผูเ้ ล่นเรือ่ ยไป ในการเล่นอาจก�ำหนดเวลาการเล่นไว้ เช่น ๒๐ หรือ ๓๐ นาที หรือก�ำหนดการเล่นว่าให้เล่นจนกว่าจะจับหางงูได้ กี่ครั้งหรือกี่คน ผู้เล่นหางงูคนใดหลบหลีกได้คล่องแคล่วไม่เคยถูกจับเป็นหัวงู หรือถูกจับเป็นหัวงูน้อยครั้งที่สุด ก็จะเป็นทีช่ นื่ ชมได้รบั การยอมรับจากเพือ่ นๆ ผูเ้ ล่นหัวงูถา้ จับใครไม่ได้เลยจนเหนือ่ ยอ่อน ก็อาจขอสลับบทบาทหน้าที่ กับเพื่อนคนอื่นได้ ๒. วิธีเล่นแบบ “กินหางตัวอื่น” แบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่ายจ�ำนวนผู้เล่นเท่า กัน แต่ละฝ่ายยืนจับเอวต่อกันเป็นแถวตอน คนหลังใช้มอื ทั้งสองข้างจับเอวคนข้างหน้าไว้ให้แน่น คนอยู่หัวแถว เปรียบเป็นหัวงูและคนอยูห่ างแถวเปรียบเป็นหางงู แต่ละ ฝ่ายเปรียบเป็นแม่งูสองตัว ยืนห่างกัน ๒-๓ เมตรให้หัวงู หันหน้าเข้าหากัน เริ่มเล่นโดยให้หัวงูตัวหนึ่งร้องถามหัวงู อีกตัวว่า “แม่งูเอ๋ย กินน�้ำบ่อไหน” หัวงูของอีกตัวจะเป็น ผู้ตอบเพียงคนเดียว โดยเลือกตอบว่าจะกินน�้ำบ่อไหน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

128 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ถ้าหัวงูตอบว่า “กินน�้ำบ่อทอง” ให้ทุกคนในแถวทั้งสองฝ่ายนอกจากหัวงู ร้องพร้อมกันว่า “ย่องไปก็ ย่องมา” หัวงูตอบบ่อใดก็ให้ร้องตามเนื้อร้องของบ่อนั้นเช่นเดียวกับวิธีเล่นแบบ “กินหางตัวเอง” เมื่อร้องจบหัวงูของ ทัง้ สองตัวจะต้องพยายามวิง่ วนหรือวิง่ ไล่จบั ผูเ้ ล่นทีเ่ ป็นหางงูของฝ่ายตรงข้าม หางงูจะต้องพยายามวิง่ หนีหลบหลีกอย่า ให้หัวงูของฝ่ายตรงข้ามจับตัวได้ แต่ต้องไม่ให้มือหลุดจากแถว ส่วนหัวงูก็จะต้องกางมือป้องกันไม่ให้หัวงูฝ่ายตรงข้าม จับตัวหางงูของตนได้ ฝ่ายใดจับหางของอีกฝ่ายได้ ก็จะเริ่มเล่นกันใหม่โดยหมุนเวียนสับเปลี่ยนกันเป็นหัวงูหางงู ภายในฝ่ายตัวเอง เช่นนี้เรื่อยไปจนกว่าจะเลิกเล่น ๓. วิธีเล่นแบบ “แม่งูกินลูกงู” แบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่ายจ�ำนวนผู้เล่นเท่ากัน แต่ละฝ่ายยืนจับเอวต่อกันเป็นแถวตอน คนหลังใช้มือทั้ง สองข้างจับเอวคนข้างหน้าไว้ให้แน่น คนอยูห่ วั แถวเปรียบเป็นหัวงูและคนอยูห่ างแถวเปรียบเป็นหางงู แต่ละฝ่ายเปรียบ เป็นแม่งูสองตัว ยืนห่างกัน ๒-๓ เมตรให้หัวงูหันหน้าเข้าหากัน เริ่มเล่นโดยให้หัวงูตัวหนึ่งร้องถามหัวงูอีกตัวว่า “แม่งูเอ๋ย กินน�้ำบ่อไหน” หัวงูของอีกตัวจะเป็นผู้ตอบเพียงคนเดียว โดยเลือกตอบว่าจะกินน�้ำบ่อไหน ถ้าหัวงูตอบ ว่า “กินน�้ำบ่อทอง” ให้ทุกคนในแถวทั้งสองฝ่ายนอกจากหัวงู ร้องพร้อมกันว่า “ย่องไปก็ย่องมา” หัวงูตอบบ่อใด ก็ให้รอ้ งตามเนือ้ ร้องของบ่อนัน้ เช่นเดียว กับวิธเี ล่นแบบ “กินหางตัวเอง” เมือ่ ร้อง จบหัวงูของทั้งสองตัวจะต้องพยายามวิ่ง วนหรือวิง่ ไล่จบั ผูเ้ ล่นทีเ่ ป็นหางงูของฝ่าย ตรงข้าม หางงูจะต้องพยายามวิง่ หนีหลบ หลีกอย่าให้หวั งูของฝ่ายตรงข้ามจับตัวได้ แต่ต้องไม่ให้มือหลุดจากแถว ส่วนหัวงูก็ จะต้องกางมือป้องกันไม่ให้หัวงูฝ่ายตรง ข้ามจับตัวหางงูของตนได้ ฝ่ายใดจับหาง ของอีกฝ่ายได้ ก็จะเริ่มเล่นกันใหม่โดย หมุนเวียนสับเปลี่ยนกันเป็นหัวงูหางงู ภายในฝ่ายตัวเอง เช่นนี้เรื่อยไปจนกว่า จะเลิกเล่น

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 129


คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การเคลือ่ นทีไ่ ปเป็นแถวตอนและจับเอวกันไว้ ท�ำให้ผเู้ ล่นทุกคนเคลือ่ นไหวในลักษณะ ของการเดิน การวิ่ง ท�ำให้กล้ามเนื้อขาได้ท�ำงาน การจับเอวกันโดยผู้เล่นคนหน้าจะดึงผู้เล่นคนหลัง ท�ำให้ผู้เล่นคน หลังได้ออกก�ำลังส่วนแขน มือ และล�ำตัวด้วย นอกจากนี้การเคลื่อนที่จะต้องเปลี่ยนทิศทางไปมาและโยกเอี้ยวตัว ช่วยให้เกิดความคล่องแคล่วว่องไวและความอ่อนตัวของร่างกายด้วย ๒. ทางจิตใจ เนื่องจากเป็นการเล่นรวมกันเป็นหมู่ ก่อให้เกิดความผูกพันทางด้านจิตใจ ท�ำให้เป็นคน ใจกว้าง ช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามหน้าที่ของการเล่น เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ผู้เล่นต้องมี ความเชื่อมั่นในตัวเองและกล้าแสดงออกซึ่งความสามารถตามบทบาทที่ตนเล่นด้วย จึงเป็นการส่งเสริมให้มีความเชื่อ มั่นและกล้าแสดงออก ๓. ทางอารมณ์ การเล่นจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันท�ำหน้าที่ต่างๆ เช่น หัวงูหรือ แม่งู ตัวงู หางงู เป็นต้น ซึ่งหน้าที่ต่าง ๆ มีความรับผิดชอบและปฏิบัติต่างกัน บางคนอาจจะรู้สึกไม่พอใจในหน้าที่เหล่านี้บ้าง หรือบาง ครั้งในขณะที่เล่นอยู่อาจจะเกิดการผิดพลาดกระทบกระแทกเหยียบเท้ากันบ้าง หรือการที่แย่งกินหางได้ หางงูอาจจะ เกิดความไม่พอใจบ้าง เหล่านีอ้ าจจะเป็นผลให้อารมณ์เปลีย่ นแปลงไปในลักษณะต่างๆ ได้ ซึง่ ผูเ้ ล่นจ�ำเป็นจะต้องควบคุม อารมณ์ของตนเองไว้ จึงเป็นการส่งเสริมคุณค่าทางอารมณ์ได้เป็นอย่างดี ๔. ทางสติปัญญา ผู้เล่นแต่ละคนและแต่ละต�ำแหน่งหน้าที่จะต้องวางแผนการเล่นของตัวเอง และของ พวกของฝ่ายที่ท�ำหน้าที่แต่ละอย่าง เช่น แม่งู หัวงู ตัวงูและหางงู เป็นต้น ผู้เล่นที่เป็นหัวงูจะต้องตัดสินใจเลือกว่า จะวิ่งไปทางไหน จะหลอกล่ออย่างไร จึงจะไปจับหางงูได้ ซึ่งหางงูก็ต้องใช้ไหวพริบในการหลบหลีกการจับของหัวงู ในการร้องถามตอบก็ต้องใช้ความจ�ำว่าใครจะร้องถาม ใครจะร้องตอบ ท�ำให้เกิดจินตนาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ของงู รู้จักคิด รู้จักจดจ�ำ รู้จักแก้ปัญหา เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ ๕. ทางสังคม เนื่องจากเป็นการเล่นที่ประกอบทั้งการเล่นประเภทเดี่ยวและประเภทหมู่ จึงส่งเสริม คุณธรรมทั้งทางด้านบุคคลและคุณธรรมทางสังคม เช่น ความร่วมมือร่วมใจของผู้เล่นที่เป็นตัวงู ผู้เล่นที่เป็นหางงูซึ่ง ต้องช่วยกันในการเคลื่อนไหวหลบหลีก และไล่ตาม ท�ำให้เกิดความสนิทสนมเข้าใจกันและสัมพันธ์กันดีขึ้น รู้จักการ ปฏิบตั ติ ามหน้าที่ เคารพกฎกติกาให้โอกาสแก่ผอู้ น่ื ยอมรับผลของการเล่น นอกจากนีย้ งั ช่วยส่งเสริมทางด้านการเป็น ผู้น�ำและผู้ตามที่ดี และมีน�้ำใจเป็นนักกีฬาด้วย เอกสารอ้างอิง

กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร : โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ บัญชีรายชือ่ สิง่ ของผูบ้ ริจาคให้รางวัลแก่นกั เรียนผูเ้ ข้าแข่งขันในการกรีฑาในงานเฉลิมพระชนมพรรษา พ.ศ. ๒๔๗๕ จังหวัดกระบี,่ ๒๔๗๕ สยามออบเซอร์เวอร์, ๖ เมษายน ๒๔๗๕ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

130 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


อีตัก อีตักเป็นการเล่นพื้นเมืองเก่าทางภาคกลางของไทย นิยมเล่นกันแถวจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี กาญจนบุรี และกรุงเทพฯ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเริม่ มีการเล่นครัง้ แรกเมือ่ ใด สันนิษฐานว่ามีการเล่นกันมาตัง้ แต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่พบหลักฐานว่ามีการเล่นกันนานกว่า ๑๓๐ ปีแล้ว ก่อน พ.ศ.๒๔๒๗ ที่ต�ำบลบ้านกลางและบ้าน ท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร (วิบูลย์สวัสดิ์ แอนเดอสัน, ๒๕๑๖) อีตักเป็นการเล่นที่เลียนแบบชีวิตประจ�ำวันของชาวสวน ที่ต้องมีการคัดเลือกเมล็ดพันธ์ุพืช ผลไม้ เพื่อเก็บไว้ขยายพันธ์ุที่ดีน�ำไปปลูกต่อในฤดูกาลต่อไป โดยการน�ำเมล็ดพืช หรือผลไม้ เช่น เมล็ดละมุด เมล็ดน้อยหน่า เมล็ดมะขาม มาหว่านลงบนพื้น แล้วใช้ใบไม้หรือกระดาษขนาดกว้าง ๒-๓ นิ้วมือยาวครึ่งฝ่ามือ เช่น ใบมะม่วง มาพับก้นจับขอบใบซ้ายขวาพับเข้าหากัน ให้เป็นกรวยปากกว้างก้นแหลมลึก ใช้มือข้างถนัดจับขอบบนด้านก้นลึกของใบไม้ ใช้กรวยใบไม้ดังกล่าวตักเมล็ดพืชผลไม้ ทีละเมล็ด ผลัดกันตักจนกว่า เมล็ดพืชผลไม้จะหมด ชาวบ้านในชนบทนิยมเล่นทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ปัจจุบันยังมีการเล่นกันอยู่บ้างในชนบทบางพื้นที่

เรียบเรียงโดย สุจริต บัวพิมพ์ และรองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 131


อีตักสะท้อนถึงวิถีชีวิตจริงของชาวบ้านในภาคกลางของไทย ที่ประกอบอาชีพหลักในการเกษตร ท�ำไร่ ท�ำสวน โดยมีการคัดเลือกเมล็ดพันธ์ุพืช ผลไม้ เพื่อเก็บไว้ขยายพันธุ์ที่ดีนำ� ไปปลูกต่อในฤดูกาลต่อไป วิธีเล่นด้วย การใช้เมล็ดพืชหรือผลไม้ เช่น เมล็ดละมุด เมล็ดน้อยหน่า เมล็ดมะขาม มาหว่านลงบนพื้น แล้วใช้ใบไม้หรือกระดาษ มาพับก้นจับขอบใบซ้ายขวาพับเข้าหากัน ให้เป็นกรวยปากกว้างก้นแหลมลึก ใช้กรวยใบไม้ดังกล่าวตักเมล็ดพืชผลไม้ เป็นการเล่นทีไ่ ม่พบเห็นในประเทศอืน่ นับเป็นเอกลักษณ์ไทยทีเ่ ป็นการสะท้อนให้เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาไทยในการประยุกต์ ใช้ใบไม้มาท�ำเป็นอุปกรณ์ใช้ตักสิ่งของ เป็นการสื่อให้เห็นประโยชน์ของใบไม้ ที่สามารถน�ำมาใช้ได้หลากหลายอย่างใน ชีวิตประจ�ำวัน รวมถึงการน�ำมาใช้เล่นเพื่อการผ่อนคลายและสนุกสนานร่วมกัน และเป็นการเรียนรู้วัฒนธรรมการใช้ ชีวิตของชาวสวนไทย ที่ต้องมีการคัดเลือกเมล็ดพันธ์พืช ผลไม้ เพื่อเก็บไว้ขยายพันธุ์ที่ดีน�ำไปปลูกต่อในฤดูกาลต่อไป โอกาสที่เล่นอีตักนั้น เล่นกันได้ทุกโอกาสที่ว่าง โดยเล่นกันทุกวัย แต่มักเล่นกันในหมู่เด็กๆ ทั้งชายและหญิง จ�ำนวน ผู้เล่นตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป อุปกรณ์การเล่น ประกอบด้วย เมล็ดพืชหรือผลไม้ เช่น เมล็ดละมุด เมล็ดน้อยหน่า เมล็ด มะขาม จ�ำนวนตามแต่จะตกลงกัน โดยทั่วไปมักมีกันคนละไม่น้อยกว่า ๑๐ เมล็ด และ ใบไม้หรือกระดาษขนาดกว้าง ๒-๓ นิ้วมือยาวครึ่งฝ่ามือ เช่น ใบมะม่วง มาพับก้นจับขอบใบซ้ายขวาพับเข้าหากัน ให้เป็นกรวยปากกว้างก้นแหลมลึก คนละ ๑ ใบ วิธีเล่น ให้ผู้เล่น ๒-๓ คนนั่งล้อมวง หันหน้าเข้าหากัน พื้นที่กลางวงให้ขีดหรือเขียนวงกลมเล็กๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๒ – ๒๐ นิ้ว ขนาดวงใหญ่เล็กตามแต่จะตกลงกัน ผู้เล่นที่มีสิทธิ์เริ่มเล่นก่อน รวบรวมเมล็ด พืชจากผู้เล่นคนอื่นๆ คนละจ�ำนวนเท่าๆ กัน เช่น คนละ ๑๐ เมล็ด เริ่มเล่นด้วยการหว่านเมล็ดพืชลงในวงกลม ไม่ให้เมล็ดพืชกระเด็นออกนอกวง แล้วใช้กรวยใบไม้ ตั ก เมล็ ด พื ช ที ล ะเมล็ ด โดยไม่ ใ ห้ ก รวยใบไม้ ไ ป กระทบถูกเมล็ดพืชอื่นๆ หากมีเมล็ดพืชกระเด็น ออกนอกวงให้ถือว่าผู้เล่นคนนั้นตาย หรือขณะ ตักเมล็ดพืชอยูน่ นั้ กรวยใบไม้หรือนิว้ หรือมือไปกระทบ ถูกเมล็ดพืชอื่นเขยื้อน ให้ถือว่าผู้เล่นคนนั้นตาย ต้องเปลี่ยนไปให้ผู้เล่นล�ำดับต่อไปมีสิทธิ์เล่น และ ผลัดกันเล่นเรื่อยไปจนกว่าเมล็ดพืชจะถูกตักหมด เมือ่ เมล็ดพืชหมดต้องมีการใส่เมล็ดพืชลงกองกลาง เพื่อเล่นกันใหม่ เล่นกันเรื่อยไปจนกว่าจะเลิกเล่น ผู้ที่ได้เมล็ดพืชมากที่สุดคือผู้ที่เก่งที่สุด พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

132 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การเล่นอีตักให้คุณค่าทางด้านร่างกายเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของแขนในลักษณะ การงอ การพลิกคว�่ำ พลิกหงาย การเคลื่อนไหวของมือในการหยิบจับเมล็ดพืช ส่งเสริมความสัมพันธ์ของประสาท และกล้ามเนื้อแขน นิ้วมือ ความสัมพันธ์ของตาและมือในการตัก ๒. ทางจิตใจ ฝึกจิตให้มั่นคง มีสมาธิ มีความสุขุมรอบคอบ และเยือกเย็น ส่งเสริมความมานะพยายาม การควบคุมตัวเอง ฝีกความกล้าในการแสดงออก ๓. ทางอารมณ์ ฝึกการควบคุมการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจเมื่อเกิดอารมณ์ ฉุนเฉียว หรือไม่พอใจตนเองในการเล่น โดยทั่วไปการเล่นจะท�ำให้เกิดความสนุกสนาน ช่วยส่งเสริมให้ผ่อนคลาย ความตึงเครียดทางอารมณ์ได้ ๔. ทางสติปัญญา เนื่องจากมีการเล่นหลายวิธีผู้เล่นจะต้องจดจ�ำล�ำดับ และวิธีการปฏิบัติได้ถูกต้อง รูจ้ กั การตัดสินใจทีเ่ หมาะสมตามสถานการณ์ของการเล่น สามารถแยกได้วา่ จะโยนเมล็ดพืชอย่างไร จะตักเมล็ดพืชเม็ด ไหนก่อนหลังในแต่ละครั้ง ๕. ทางสังคม เนื่องจากเป็นการเล่นร่วมกับผู้อื่น ท�ำให้มีโอกาสรู้จักและสนิทสนมกับเพื่อนมากขึ้น มีการปฏิบัติตามกติกา และยอมรับผลของการเล่น สามารถปรับตัวให้เหมาะสมในสังคมของการเล่นร่วมกัน เอกสารอ้างอิง

ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพื้นเมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คุณค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจัยทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ บุญเรือน บัวพิมพ์. (สัมภาษณ์) อายุ ๘๙ ปี อยู่อ�ำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วรรณี วิบูลย์สวัสดิ์ แอนเดอสัน. การเล่นของเด็กบ้านกลาง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๑๖ http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-1/no16-25-26-42/kong-dee-kong- thai/sec41.html http://www.st.ac.th/bhatips/thai_play.html

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 133


แข่งเรือ แข่งเรือเป็นกีฬาพื้นเมืองเก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่งของไทย ที่มีการเล่นสืบทอดต่อกันมาแต่สมัยโบราณ สันนิษฐานว่าน่าจะมีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยกรุงสุโขทัย เพราะการศึกสงครามในสมัยก่อนมีทั้งทางบกและ ทางน�ำ้ ซึง่ ต้องใช้เรือเป็นพาหนะ ย่อมต้องมีการฝึกฝนการพายเรือ แข่งเรือด้วย แต่ไม่มหี ลักฐานปรากฏเป็นลายลักษณ์ อักษร จากหลักฐานพบว่ามีการเล่นแข่งเรือกันแล้วในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดังปรากฏในกฎมณเฑียรบาลเกี่ยวกับ พระราชพิธีต่างๆ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้กล่าวถึงพระราชพิธีประจ�ำเดือน ๑๑ ซึ่งเป็นการอาษยุชพิธีนั้น จะมีพิธี แข่งเรือด้วย (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ๒๕๐๕) นอกจากนี้ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ ยังได้กล่าวถึง การเล่นแข่งเรือของชาวบ้านในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งมักมีการพนันปะปนอยู่ด้วย และเป็นการเล่นที่นิยมกันมาก ในสมัยนั้นทีเดียว (กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์, ๒๕๐๕) การเล่นแข่งเรือนับว่าเป็นกีฬาพื้นเมืองที่นิยมเล่นสืบทอด ต่อเนือ่ งกันมาโดยตลอด แม้ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์กป็ รากฏหลักฐานว่ามีการเล่นแข่งเรือกันเป็นประจ�ำเสมอมา เช่น ในสมัยรัชกาลที่ ๒ เมื่อครั้งทรงโปรดให้ปรับปรุงพระราชวัง มีการขุดสระภายในพระราชวังใน พ.ศ.๒๓๖๑ ก็ทรงโปรด ให้มีการแข่งเรือในครั้งนั้นด้วย (พระยาประมูลธนรักษ์, ๒๔๖๔) ในสมัยรัชกาลที่ ๕ การแข่งเรือเป็นกีฬาที่เล่นกัน อย่างแพร่หลาย เมื่อมีชาวต่างชาติมาเยี่ยมเยือนก็ได้จัดการเล่นแข่งเรือให้พวกชาวต่างชาติชมด้วย ดังปรากฏ ในพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งความว่า เยนวันนี้มีกานแข่งนาวา ที่กรงน่าต�ำหนักแพแม่น�้ำใหญ่ เรือที่นั่งกราบสี่เอกไชย มาพายให้เจ้าฝรั่งเขานั่งดู (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ๒๔๕๖) การเล่นแข่งเรือของชาวบ้านในภาคกลางสมัยก่อนมีจดุ มุง่ หมาย เพือ่ เป็นการท�ำบุญท�ำกุศล คือ ชาวบ้าน จะเล่นกันในเทศกาลทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ซึ่งจะอยู่ในช่วงเดือน ๑๐-๑๒ ซึ่งระยะนี้จะเป็นช่วงฤดูน�้ำมาก ชาวบ้านที่ อยู่ตามริมฝั่งแม่น�้ำจะใช้เรือเป็นพาหนะ เมื่อมีงานพิธีท�ำบุญจะมีการแห่แหนกันทางน�้ำ เพื่อน�ำองค์กฐิน องค์ผ้าป่าไป ยังวัด เมื่อเสร็จพิธีทางศาสนาแล้วก็จะมีการเล่นแข่งเรือกัน ซึ่งถือกันว่าผู้ที่ร่วมแข่งขันจะได้บุญอีกทางหนึ่งด้วย นอกจากนี้การเล่นแข่งเรือยังมีการเล่นเพื่อจุดมุ่งหมายอีกหลายประการ เช่น บางท้องถิ่นจะจัดให้มีการแข่งเรือในงาน ท�ำบุญไหว้พระประจ�ำปีของแต่ละท้องถิ่น บางแห่งจะมีการแข่งเรือเพื่อเป็นการบวงสรวงสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านนับถือ บางแห่งจัดให้มีการเล่นแข่งเรือในงานเทศกาลสนุกสนานรื่นเริงต่างๆ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการแข่ง เรือมักนิยมจัดให้มกี ารเล่นกันเฉพาะในฤดูนำ�้ มากเท่านัน้ การเล่นแข่งเรือของชาวบ้านสมัยก่อนในภาคกลาง มักจัดเป็น ประเพณีประจ�ำปี และมีการเล่นเป็นที่แพร่หลายแทบทุกจังหวัด เช่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ กาญจนบุรี กรุงเทพฯ จันทบุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี สิงห์บุรี และนครสวรรค์ เป็นต้น เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

134 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ไม่เพียงแต่ภาคกลางเท่านั้นที่นิยมเล่นการแข่งเรือ แต่ภาคอื่นๆ ทุกภาค ไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ก็ล้วนมีการแข่งเรือเป็นเทศกาลส�ำคัญของแต่ละภาคทั้งสิ้น เรือพายที่ใช้ในการ แข่งขันมีขนาดเล็กใหญ่ตามแต่จะตกลงกัน ชนิดของเรือที่ใช้แข่งขันกันก็มีมากมายหลายประเภท ตั้งแต่ใช้คนพาย ๑ คนไปจนมากกว่า ๖๐ คน ก็มี เช่น เรือแจว เรือบด เรือเพรียว เรือเข็ม เรือยาว เรือเผ่นม้า เรือมาด และเรือส�ำปั้น เป็นต้น มักจะใช้เรือที่มีชนิดและประเภทเดียวกันเข้าแข่งขันกัน บางท้องถิ่นจะใช้ธงติดทุ่นลอยไว้กลางแนวเส้นชัย เรือล�ำใดพายไปถึงธงและคว้าธงไว้ได้ก่อนจะเป็นผู้ชนะ บางท้องถิ่นจะนิยมใช้เรือยาว ซึ่งต้องใช้คนพายมาก ๒๐-๖๐ คน เรียกว่า แข่งเรือยาว จะมีคนหนึง่ คอยให้จงั หวะในการพาย มีการตีกรับ เคาะไม้ ตีกลอง หรือร้องเป็นจังหวะ เพื่อให้ทุกคนในเรือพายโดยพร้อมเพรียงกัน เป็นที่สนุกสนานครื้นเครงโดยทั่วกัน (ชัชชัย โกมารทัต: ๒๕๒๗)

แข่งเรือ จังหวัดชลบุรี

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 135


แข่งเรือ จังหวัดน่าน

อาจกล่าวได้วา่ การแข่งเรือเป็นกีฬาพืน้ เมืองของชาติไทยโดยแท้กว็ า่ ได้ เพราะมีการเล่นเป็นทีย่ อมรับว่า มีความส�ำคัญในทุกๆ ภาคของประเทศ ในปัจจุบันการเล่นแข่งเรือยังมีเล่นกันอยู่โดยทั่วไป และเนื่องจากเป็นการเล่น ที่ทรงคุณค่าในหลากหลายด้าน จึงสมควรต้องมีการฟื้นฟูพัฒนาการเล่นนี้ให้คงอยู่ มีชีวิตชีวาเป็นประโยชน์แก่คน ในรุ่นปัจจุบันและรุ่นต่อๆ ไปยิ่งขึ้น การแข่งเรือเป็นการสะท้อนถึงวิถชี วี ติ จริงของชาวบ้านในทุกภาคของไทย ทีม่ แี ม่นำ�้ ล�ำคลองอยูม่ ากมาย ทั่วประเทศ มีการใช้เรือหลากชนิดหลายประเภทตามความนิยมของแต่ละท้องถิ่น เป็นพาหนะในการเดินทางทางน�้ำ โดยวิธีเล่นด้วยการพายเรือแข่งกัน มีให้เห็นในเกือบทุกประเทศทั่วโลก แต่ในประเทศไทยมีชนิดและประเภทของเรือ ที่ใช้ในการเล่นแข่งขันหลากหลายชนิดกว่าประเทศอื่น ในแต่ละภาคแต่ละท้องถิ่นก็มีความนิยมแข่งเรือแตกต่างชนิด กันไป วิธีการเข้าเส้นชัยก็มีหลากหลายวิธี เช่นวิธีที่ผู้เล่นไปนั่งอยู่ที่ปลายสุดของหัวเรือแล้ววัดกันว่าเมื่อเรือไปถึง เส้นชัยใครคว้าธงชัยได้ก่อนจะเป็นผู้ชนะเป็นต้น เป็นการเล่นที่ไม่ค่อยพบเห็นในประเทศอื่น นับเป็นเอกลักษณ์ไทย ทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาไทยในการสร้างเรือได้หลากชนิดหลายประเภท เพือ่ ประโยชน์ในการเป็นพาหนะเดินทาง ทางน�้ำ และรู้จักประยุกต์เรือที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน มาเป็นกีฬาเล่นเพื่อการผ่อนคลายและสนุกสนานร่วมกัน และเป็นการเรียนรู้วัฒนธรรมการใช้ชีวิตของชาวไทยที่มีวิถีชีวิตผูกพันกับแม่น�้ำล�ำคลอง และการใช้เรือ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

136 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แข่งเรือเล่นกันในโอกาสงานท�ำบุญต่างๆ เช่น งานเข้าพรรษา งานออกพรรษา ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า งานไหว้พระ และงานรื่นเริงต่างๆ มักจัดให้มีการแข่งเรือกันในช่วงฤดูน�้ำมาก โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยไป และจัดกันมากขึน้ ในช่วงราวเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม โดยเล่นได้ทงั้ ชายและหญิง ส่วนมากจะเล่นกันในหมูผ่ ใู้ หญ่ โดยจะจัดผู้เล่นเป็นชุดหรือเป็นทีมประจ�ำเรือแต่ละล�ำ จ�ำนวนผู้เล่นแต่ละทีมจะมากน้อยแล้วแต่จะตกลงกัน และ ขึ้นอยู่กับขนาดของเรือที่จะใช้แข่งขัน แต่มักจัดผู้เล่นแต่ละทีมให้มีจ�ำนวนผู้เล่นทั้งชายและหญิงพอๆ กัน บางท้องที่ อาจจัดแข่งขันในระหว่างทีมชายกับทีมหญิง ซึง่ ฝ่ายทีมชายมักจะต่อจ�ำนวนให้ผเู้ ล่นทีมหญิงมีจำ� นวนมากกว่า เป็นต้น นิยมเล่นทีมละตั้งแต่ ๒ คน ไปจนมากกว่า ๖๐ คนก็มี อุปกรณ์การเล่น ประกอบด้วย เรือพายที่มีขนาดเล็กใหญ่ตาม แต่จะตกลงกัน ชนิดของเรือที่ใช้แข่งขันกันมีหลายประเภท เช่น เรือแจว เรือบด เรือเพรียว เรือเข็ม เรือยาว เรือเผ่นม้า เรือมาด และเรือส�ำปัน้ เป็นต้น มักจะใช้เรือทีม่ ชี นิดและประเภทเดียวกันเข้าแข่งขันกัน จ�ำนวนทีมละ ๑ ล�ำ และพายส�ำหรับใช้พายเรือ มีขนาดใกล้เคียงกันคนละ ๑ อัน โดยทัว่ ไปเล่นในแม่นำ�้ ล�ำคลอง บึง ทะเลสาบหรือบริเวณ ที่มีแหล่งน�้ำกว้าง โดยจะก�ำหนดให้มีแนวยาว เป็นทุ่นหรือปักธงไว้ที่ริมตลิ่งเป็นแนวตรงและเป็นแนวยาวกั้นทั้งสอง ฝัง่ เพือ่ เป็นเส้นเริม่ จากเส้นเริม่ เป็นระยะห่างตามแต่ละตกลงกัน (โดยมากมักแข่งขันกันเป็นระยะทางตัง้ แต่ ๒๐๐ เมตร ขึ้นไป) จะก�ำหนดแนวยาวโดยใช้ทุ่นหรือปักธงไว้ที่ริมตลิ่งทั้ง ๒ ด้าน เพื่อเป็นแนวเส้นชัย

แข่งเรือ จังหวัดพิจิตร พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 137


วิธเี ล่น เมือ่ ตกลงกันแล้วว่าเรือทีมใดจะแข่ง กับทีมใด อาจมีจ�ำนวนตั้งแต่ ๒ ล�ำขึ้นไปถึงหลายๆ ล�ำ ให้เรือแต่ละล�ำไปเตรียมพร้อมอยูท่ เี่ ส้นเริม่ หันหัวเรือไป ทางเส้นชัย แต่ละล�ำให้มีระยะห่างกันพอสมควร เมื่อ กรรมการให้สัญญาณเริ่มแข่งขัน ให้ผู้เล่นของเรือแต่ละ ล�ำช่วยกันพายเรือของตนไปให้ถึงเส้นชัยโดยเร็วที่สุด เรือล�ำใดไปถึงเส้นชัยก่อนจะเป็นผูช้ นะ บางท้องถิน่ จะใช้ ธงติดทุ่นลอยไว้กลางแนวเส้นชัย เรือล�ำใดพายไปถึงธง และคว้าธงไว้ได้ก่อนจะเป็นผู้ชนะ และบางท้องถิ่นจะใช้ เรือยาว ซึ่งต้องใช้คนพายมาก ๒๐-๖๐ คน เรียกว่าแข่ง เรือยาว จะมีคนหนึ่งคอยให้จังหวะในการพาย มีการตี กรับ เคาะไม้ ตีกลอง หรือร้องเป็นจังหวะ เพื่อให้ทุกคน ในเรือพายโดยพร้อมเพรียงกัน เป็นทีส่ นุกสนานครืน้ เครง โดยทั่วกัน กติกา คือ ก่อนเริ่มเล่น เรือทุกล�ำจะต้อง ลอยล�ำให้หัวเรือเสมอกันที่แนวเส้นเริ่ม ระหว่างพาย แข่งขันกันห้ามผูเ้ ล่นของเรือแต่ละล�ำกลัน่ แกล้งเรือล�ำอืน่ เรือล�ำใดจมระหว่างทาง จะถือว่าหมดสิทธิจากการ แข่งขัน และเรือล�ำใดฝ่าฝืนกติกาจะถือว่าหมดสิทธิในการ แข่งขันเช่นกัน กรรมการอย่างน้อย ๒ คน ท�ำหน้าที่ ควบคุมการแข่งขันที่เส้นเริ่ม และเส้นชัย และตัดสินผล การแข่งขัน ภาพ : พงษ์ชัย มูลสาร คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การพายเรือด้วยไม้พายเป็นการออกก�ำลังส่วนแขนและล�ำตัว ท�ำให้กล้ามเนือ้ ทีเ่ กีย่ วข้อง ท�ำงานมากขึ้น ส่งเสริมในด้านก�ำลังและความแข็งแรง และเนื่องจากการแข่งขันมักก�ำหนดระยะทางยาวประมาณ ๒๐๐ เมตร การพายด้วยก�ำลังเป็นระยะเวลานานๆ ช่วยส่งเสริมให้เกิดความทนทานของกล้ามเนื้อ ความทนทาน ของระบบการไหลเวียนโลหิต ส่งเสริมในด้านความอ่อนตัวในการก้มไปข้างหน้าและเอนตัวมาข้างหลัง ระบบการหายใจ ได้ท�ำงานเพิ่มขึ้น พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

138 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๒. ทางจิตใจ ส่งเสริมจิตใจให้มคี วามเข้มแข็งอดทนต่อความเหน็ดเหนือ่ ยต่อการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้เกิด ความพร้อมเพรียงในการพายแต่ละครัง้ ฝึกให้เป็นผูม้ จี ติ ใจกว้างขวาง ชอบการเข้าสังคม เพราะแต่ละทีมจะมีผเู้ ล่นเป็น จ�ำนวนมาก ฝึกการเสียสละ เช่น สละเวลาและก�ำลังกายในการฝึกซ้อมและการแข่งขัน ในการแข่งขันผู้เล่นย่อมได้รับ ความสนุกสนาน จึงท�ำให้จิตใจเบิกบานขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยฝึกทางด้านความเชื่อมั่นและความกล้าด้วย ๓. ทางอารมณ์ ผู้เล่นได้มีโอกาสควบคุมอารมณ์ของตนเอง รู้จักยับยั้งชั่งใจเมื่อเกิดความไม่พอใจต่างๆ ขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเป็นการแข่งขันเป็นทีม ซึ่งมีผู้เล่นเป็นจ�ำนวนมาก อาจจะมีการพลาดพลั้งในการกระท�ำขึ้นได้ หรือ ในการแข่งขัน ซึ่งผู้เล่นอาจจะเกิดพอใจหรือไม่พอใจขึ้นได้เสมอ ท�ำให้ผู้เล่นสามารถควบคุมอารมณ์ของตัวเองได้ดีขึ้น ๔. ทางสติปญ ั ญา ผูใ้ นการแข่งขันผูเ้ ล่นแต่ละคนจะต้องใช้ความคิดว่าจะพายอย่างไรจึงจะได้กำ� ลังส่งมาก ที่สุด การจัดล�ำดับการนั่ง ใครจะอยู่หน้า อยู่หลัง จังหวะการพายจะเร็วช้าอย่างไร ท�ำอย่างไรจึงจะพร้อมเพรียงกัน จะบังคับอย่างไรเรือจึงจะไปได้ตรงทิศทาง ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้ดีขึ้น ๕. ทางสังคม ผูเ้ ล่นแต่ละล�ำต้องมีความสามัคคี พร้อมเพรียงกัน เสียสละก�ำลังกายและทุม่ เทจิตใจอย่าง เต็มที่ทุกคน รับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ของตนเองอย่างสุดความสามารถ เพื่อให้ประสบชัยชนะ จึงเป็นการส่งเสริม การท�ำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี ระหว่างการแข่งขันก็มีโอกาสพูดคุยหรือรู้จักมักคุ้นกันได้ ถ้าเป็นการแข่งขันระหว่าง ชายกับหญิงก็ช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ การปรับตัวซึ่งกันและกันได้ ถ้าเป็นการแข่งขันที่มีคนหนึ่งเป็นคนให้จังหวะก็ เป็นการฝึกความเป็นผู้น�ำและผู้ตามที่ดี ฝึกความเป็นระเบียบวินัย มีน�้ำใจ รู้แพ้รู้ชนะและรู้อภัย เอกสารอ้างอิง

กรมพระนราธิปประพันธ์พงค์, จดหมายเหตุลาลูแบร์ เล่ม ๒. พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๐๕ กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร : โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระราชพิธีสิบสองเดือน. พระนคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองวัฒน์, ๒๕๐๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, กลอนไดอารี่ซึมทราบกับตามเสด็จประพาสไทรโยค. พระนคร : หอสมุดพระวชิรญาณ, ๒๔๕๖ พระยาประมูลธนรักษ์, จดหมายเหตุฉบับพระยาประมูลธนรักษ์ จุลศักราช ๑๐๘๗ ถึงจุลศักราช ๑๒๑๘. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิ พรรณธนากร, ๒๔๖๔

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 139


ตีขอบกระด้ง ตีขอบกระด้งเป็นกีฬาพื้นเมืองที่เล่นกันทั่วไปในจังหวัดต่างๆ ของภาคใต้ เป็นการเล่นของเด็กๆ ที่น�ำ อุปกรณ์เครือ่ งใช้ในบ้านทีไ่ ม่ใช้แล้ว มาเป็นเครือ่ งเล่นแข่งขันเพือ่ ออกก�ำลังกาย และเพือ่ ความสนุกสนานรืน่ เริงร่วมกัน โดยใช้กระด้งเก่าๆ เช่น กระด้งตากปลา กระด้งฝัดข้าว ซึ่งมีใช้กันอยู่ทั่วไปแทบทุกบ้านในสมัยก่อน เมื่อตัวกระด้งขาด ก็จะน�ำขอบกระด้งซึ่งมีลักษณะเป็นวงกลมมาตี ให้กลิ้งไปตามพื้นแข่งกัน (พูลศรี กนกวิจิตร, ๒๕๒๖) ไม่ปรากฏ หลักฐานว่าเริ่มมีการเล่นตีขอบกระด้งกันตั้งแต่เมื่อใด แต่จากหลักฐานพบว่าน่าจะมีการเล่นตีขอบกระด้งกันแล้ว ในสมัยรัชกาลที่ ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ก่อน พ.ศ.๒๔๘๐ (ชัชชัย โกมารทัต, ๒๕๒๗) มักเล่นในเวลาว่าง เช่น เมื่อไปช่วยกันตากปลา ท�ำปลาแห้ง ไปช่วยงานนวดข้าว ต�ำข้าว ฝัดข้าว ก็จะมีการเล่นสนุกสนานเป็นการคลาย ความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าจากการท�ำงาน ในปัจจุบันไม่ค่อยนิยมเล่นกันแล้ว เด็กๆ หันมาใช้ยางล้อจักรยาน หรือ ยางล้อรถจักรยานยนต์ตีเล่นแทน จะมีให้เห็นบ้างเฉพาะในชนบทบางพื้นที่เท่านั้น และเนื่องจากเป็นการเล่นที่ทรง คุณค่าในหลากหลายด้าน จึงสมควรต้องมีการฟืน้ ฟูพฒ ั นาการเล่นนีใ้ ห้คงอยู่ มีชวี ติ ชีวาเป็นประโยชน์แก่คนในรุน่ ปัจจุบนั และรุ่นต่อๆ ไปยิ่งขึ้น ตีขอบกระด้งสะท้อนถึงวิถีชีวิตจริงของชาวบ้านในภาคใต้ของไทย ที่ประกอบอาชีพหลักในการท�ำการ ประมง และการท�ำนา โดยมีการใช้กระด้งเป็นอุปกรณ์ช่วยในการประกอบอาชีพ และแปรรูปวัตถุดิบให้มีคุณค่ายิ่งขึ้น เช่นใช้ในการตากปลาเพื่อท�ำปลาแห้ง ใช้ในการฝัดข้าวเพื่อให้ได้ข้าวที่สะอาด มีคุณค่ายิ่งขึ้น ซึ่งวิธีเล่นด้วยการใช้ยาง รถจักรยานมาตีให้กลิง้ ไปอาจมีให้เห็นบ้างในบางประเทศ แต่การน�ำเอาขอบกระด้งทีต่ วั กระด้งขาดเหลือแต่ขอบกระด้ง ที่เป็นวงกลมมาตีให้กลิ้งไปตามพื้นแข่งกัน เป็นการเล่นที่ไม่พบเห็นในประเทศอื่น นับเป็นเอกลักษณ์ไทยที่สะท้อนให้ เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาไทยในการสร้างเครือ่ งมือเพือ่ ช่วยในการประกอบอาชีพประมง ท�ำนาและรูจ้ กั ประยุกต์ของใช้ในชีวติ ประจ�ำวันเช่นกระด้ง มาเป็นอุปกรณ์เล่นกีฬาเพื่อการผ่อนคลายและสนุกสนานร่วมกัน และเป็นการเรียนรู้วัฒนธรรม การใช้ชีวิตของชาวประมง และชาวนาไทย ที่เกี่ยวกับประโยชน์และคุณค่าของกระด้ง เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

140 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ตีขอบกระด้ง เล่นได้ทกุ โอกาสทีว่ า่ ง มักเล่นเป็นการผ่อนคลายความตึงเครียดจากการช่วยงานเพือ่ นบ้าน เช่น งานนวดข้าว ต�ำข้าว เป็นต้น โดยมักเล่นกันในหมูเ่ ด็กๆ ทัง้ ชายและหญิง จ�ำนวนผูเ้ ล่นตัง้ แต่ ๒ คนขึน้ ไป อุปกรณ์ การเล่น ประกอบด้วย ขอบกระด้งเก่าๆ ที่ตัวกระด้งขาดแล้ว เหลือแต่ขอบกระด้งที่เป็นวงกลมคนละ ๑ อัน และ ตีขอบกระด้ง เป็นไม้ขนาดเท่าหัวแม่มือยาวประมาณ ๑ ฟุต คนละ ๑ อัน โดยทั่วไปจะเล่นบริเวณลานกว้างมีพื้นราบ เรียบทั่วไป เช่น ลานบ้าน สนามหญ้าหรือที่ว่างทั่วไป โดยก�ำหนดเส้นยาว ๒ เส้นขนานกันเป็นเส้นเริ่มและเส้นชัย ให้มีระยะห่างกันประมาณ ๕๐-๖๐ เมตร วิธีเล่น ผู้เล่นทุกคนน�ำขอบกระด้งพร้อมไม้ตี ถือเตรียมพร้อมอยู่หลังเส้นเริ่ม ยืนเป็นแถวหน้ากระดาน ตามแนวเส้นเริม่ หันหน้าไปทางเส้นชัย เว้นระยะระหว่างคนห่างกันประมาณ ๒-๓ เมตร แล้วใช้มอื ซ้ายจับขอบกระด้ง ตัง้ อยูห่ ลังเส้นเริม่ มือขวาถือไม้ตเี ตรียมพร้อมไว้ เมือ่ ได้สญ ั ญาณเริม่ เล่นให้ผเู้ ล่นทุกคนใช้ไม้ตขี อบกระด้งให้กลิง้ ไปข้าง หน้าโดยเร็วแล้ววิ่งตามตีเรื่อยไป มุ่งหน้าไปให้ถึงเส้นชัยให้เร็วที่สุด ผู้เล่นคนใดตีขอบกระด้งถึงเส้นชัยก่อนคนอื่น จะเป็นผู้ชนะ ในบางท้องถิ่นจัดให้มีการตีขอบกระด้งเป็นระยะทางอ้อมไปอ้อมมา เช่น ตีขอบกระด้งอ้อมบ้าน อ้อมวัดแข่งกัน เป็นต้น ซึ่งจะต้องตีขอบกระด้งวิ่งเป็นทางตรงบ้าง โค้งบ้าง เลี้ยวบ้าง ใครตีขอบกระด้งถึงเส้นชัยก่อน คนอื่นจะเป็นผู้ชนะ กติกา คือ ผู้เล่นจะต้องใช้ไม้ตีขอบกระด้งให้กลิ้งไปเท่านั้น จะใช้มือประคองช่วยจับไม่ได้ ผู้ฝ่าฝืนจะถูก ปรับเป็นแพ้ ระหว่างเล่นถ้าขอบกระด้งล้มจะถือว่าแพ้ ให้มีกรรมการ ๑ คน ท�ำหน้าที่ควบคุมการเล่น และตัดสินผล การแข่งขัน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 141


คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การเล่นตีขอบกระด้งผูเ้ ล่นได้ออกก�ำลังกายในลักษณะของการวิง่ การใช้มอื ถือไม้ตขี อบ กระด้งให้กลิ้งไป บางครั้งอาจจะมีการเปลี่ยนทิศทางไปตามแนวทางที่ขอบกระด้งกลิ้งไป ช่วยส่งเสริมให้ผู้เล่นได้ ความแข็งแรง ก�ำลัง ความสัมพันธ์ของประสาทและกล้ามเนื้อและสายตา ฝึกความเร็ว ความแคล่วคล่องว่องไว และความอ่อนตัวในการก้มตัวตีขอบกระด้งด้วย ๒. ทางจิตใจ การตีขอบกระด้งให้กลิ้งไปได้เร็วและเป็นแนวตรง ผู้เล่นจะต้องอาศัยจิตใจที่มั่นคงแน่วแน่ มีความเชื่อมั่นในตัวเอง และมีความกล้าในการแสดงออก มีจิตใจเข้มแข็งในการเข้าแข่งขัน ๓. ทางอารมณ์ ลักษณะของการเล่นตีขอบกระด้งเป็นการเล่นแข่งขันในลักษณะที่แปลกไปกว่าชีวิต ประจ�ำวัน เพราะปกติแล้วกระด้งใช้ส�ำหรับฝัดข้าว แต่เมื่อมาใช้ตีให้กลิ้งไปจึงเป็นลักษณะที่แปลกออกไป ท�ำให้ผู้เล่น ได้รับความสนุกสนานจากการเล่น จึงช่วยส่งเสริมให้ผู้เล่นได้คลายความตึงเครียดทางอารมณ์ ๔. ทางสติปัญญา ผู้ในการแข่งขันผู้เล่นแต่ละคนจะต้องใช้ความคิดว่าจะพายอย่างไรจึงจะได้ก�ำลังส่ง มากทีส่ ดุ การจัดล�ำดับการนัง่ ใครจะอยูห่ น้า อยูห่ ลัง จังหวะการพายจะเร็วช้าอย่างไร ท�ำอย่างไรจึงจะพร้อมเพรียงกัน จะบังคับอย่างไรเรือจึงจะไปได้ตรงทิศทาง ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้ดีขึ้น ๕. ทางสังคม แม้จะเป็นการเล่นแข่งขันเฉพาะตัวบุคคล แต่ผู้เล่นก็มีโอกาสได้รู้จักพูดคุยกัน ช่วยให้เกิด ความสนิทสนมกันได้ รู้จักการปฏิบัติตามกติกา ยอมรับผลของการเล่น และยอมรับในความสามารถของผู้อื่น เอกสารอ้างอิง

กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร : โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ พูนศรี กานกวิจิตร. การละเล่นและกีฬาพื้นเมืองคนภาคใต้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิฆเนศ. ๒๕๒๖ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

142 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ตีไก่คน ตีไก่คนเป็นกีฬาพื้นเมืองของประเทศไทยที่นิยมเล่นกันโดยทั่วไปแทบทุกภาค มีลักษณะการเล่นเลียน แบบอาการที่ไก่ตีกันหรือการชนไก่ของชาวบ้าน (จารุวรรณ ธรรมจักร, ๒๕๒๓) โดยให้ผู้เล่นนั่งยองๆ แล้วกระโดดใช้ ไหล่ชนกัน ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการเล่นกันมาตั้งแต่สมัยใด แต่พบหลักฐานว่ามีการเล่นแข่งขันมาแล้วตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๔๗๕ ในงานกรีฑานักเรียนของจังหวัดสตูล เนือ่ งในโอกาสเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ซึ่งได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาตีไก่ส�ำหรับชายรุ่นใหญ่ขึ้นด้วย (รายงานการกรีฑานักเรียนจังหวัดสตูล เนื่องในงานเฉลิม พระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, ๒๔๗๕) กีฬาตีไก่เป็นที่นิยมเล่นกันมากในแทบทุกภาคของประเทศ ต่อมาภาคอื่นๆ ลดความนิยมลง ยังคงเหลือที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการเล่นกันทั่วไป พบว่านิยมเล่นกันมาก ในจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และนครราชสีมา เป็นต้น กีฬาตีไก่ของชาวบ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นการ เล่นสนุกสนานในยามว่าง และมักจัดให้มกี ารเล่นแข่งขันกันในเทศกาลตรุษสงกรานต์ (กรมพลศึกษา, ๒๔๘๐) ปัจจุบนั การเล่นตีไก่ยังมีให้เห็นอยู่โดยทั่วไป แต่มักจะเล่นกันในหมู่เด็กมากกว่าผู้ใหญ่และเนื่องจากเป็นการเล่นที่ทรงคุณค่า ในหลากหลายด้าน จึงสมควรต้องมีการฟื้นฟูพัฒนาการเล่นนี้ให้คงอยู่ มีชีวิตชีวาเป็นประโยชน์แก่คนในรุ่นปัจจุบัน และรุ่นต่อๆ ไปยิ่งขึ้น

เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 143


ตีไก่สะท้อนถึงวิถีชีวิตจริงของชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไทย ที่นิยมน�ำไก่มาตีเล่นกันเพื่อ ความเพลิดเพลินยามว่าง โดยวิธีเล่นแบบใช้คนนั่งยองๆ แล้วกระโดดใช้ไหล่ชนกันเลียนแบบอาการที่ไก่ตีกันหรือการ ชนไก่กนั ของชาวบ้าน เป็นการเล่นทีไ่ ม่คอ่ ยพบเห็นในประเทศอืน่ นับเป็นเอกลักษณ์ไทยทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญ ความอุดมสมบูรณ์ของไก่ และจุดมุ่งหมายที่หลากหลายของการเลี้ยงไก่ในชนบทไทยสมัยก่อน เช่น เพื่อการบริโภค เพือ่ ความสวยงาม เพือ่ ความผ่อนคลาย เป็นต้น และเป็นการสะท้อนให้เห็นคุณค่าและการเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมการใช้เวลา ว่างในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เช่น คุณค่าของการชนไก่หรือตีไก่เพื่อความเพลิดเพลิน แต่ก็แฝงด้วย ความหมายของการคัดบ�ำรุงพันธุ์ไก่ เพื่อพัฒนาให้มีคุณภาพดียิ่งๆ ขึ้นต่อไป ตีไก่คน เล่นได้ทุกโอกาสในยามว่างจากการงาน นิยมจัดเล่นและแข่งขันกันในเทศกาลตรุษสงกรานต์ โดยเล่นได้ทงั้ ผูใ้ หญ่และเด็ก ทัง้ ชายและหญิง ไม่จำ� กัดจ�ำนวนผูเ้ ล่น แต่อย่างน้อยต้องมีผเู้ ล่นตัง้ แต่ ๒ คนขึน้ ไป ทัว่ ไป จะเล่นบริเวณลานกว้างทั่วไป เช่น ลานบ้าน ลานวัด มีการก�ำหนดขอบเขตของสนามเล่นเป็นรูปวงกลมที่พื้น มีขนาดตามแต่จะตกลงกัน วิธีเล่น ให้ผู้เล่นแต่ละคนนั่งยองๆ ภายในวงกลม เอาแขนทั้งสองข้างสอดจับกันไว้ที่ใต้ขาพับให้แน่นเมื่อ ได้ยินสัญญาณเริ่มเล่น ให้ผู้เล่นแต่ละคนกระโดดเข้ามากลางสนาม แล้วใช้ด้านข้างล�ำตัวชนกัน ฝ่ายใดล้มหรือมือหลุด จากกันจะเป็นผู้แพ้ ผู้ที่สามารถชนคนอื่นล้มลง หรือท�ำให้คนอื่นมือหลุดจากกันหมดทุกคน จนเหลือเพียงคนเดียว ผู้นั้นจะเป็นผู้ชนะ กติกา คือ ผู้เล่นที่ถูกชนล้มลงหรือมือหลุดจากกัน จะถือว่าตาย ต้องออกจากสนามแข่งขัน ผู้เล่นต้องอยู่ ภายในเขตวงกลมที่ก�ำหนดให้ ถ้าออกนอกเขตจะถือว่าตาย ต้องออกจากสนามแข่งขัน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

144 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การนั่งยองๆ สปริงปลายเท้ากระโดดไปมา เพื่อเอาไหล่ชนกัน ท�ำให้กล้ามเนื้อส่วนเท้า และขาได้ท�ำงาน ช่วยให้เกิดความแข็งแรงและเกิดก�ำลังได้ดี ทั้งต้องอาศัยการทรงตัวในท่านั่งมิให้ล้มเสียหลักได้ง่าย การใช้มือจับกันไว้ใต้ขาพับท�ำให้ล�ำตัวก้มไปข้างหน้า ส่งเสริมให้เกิดความอ่อนตัวได้อีกทางหนึ่ง การกระโดดไปมาใน ท่าย่อตัวนานๆ ท�ำให้กล้ามเนื้อขาและเท้าต้องทนทานต่อการรับน�้ำหนักตัว ๒. ทางจิตใจ การแข่งขันกันตัวต่อตัวในลักษณะทีผ่ เู้ ล่นต้องใช้ความสามารถของตัวเองโดยเฉพาะเท่านัน้ จะช่วยส่งเสริมด้านความกล้าในการแสดงความสามารถ กล้าเผชิญหน้ากับคูแ่ ข่งขัน กล้าเสีย่ งเพือ่ ชัยชนะในการแข่งขัน ส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมั่นในตัวเองและความมานะอดทนในการต่อสู้ แข่งขัน ฝึกจิตใจให้เข้มแข็งไม่ย่อท้อต่อความ เหน็ดเหนื่อยและไม่กลัวความพ่ายแพ้ ๓. ทางอารมณ์ การกระทบไหล่กันอาจจะรู้สึกเจ็บบ้างเล็กน้อย หรือเมื่อแพ้จากการเล่นผู้เล่นอาจจะ เสียใจหรือไม่พอใจตัวเองหรือคู่แข่งขันได้ แต่ผู้เล่นจะต้องควบคุมอารมณ์ของตัวเอง รู้จักยั้งคิด ไม่ใช้อารมณ์ รู้จักเก็บ ความรู้สึก และท�ำอารมณ์ให้มั่นคง จากการเล่นผู้เล่นย่อมเกิดความสนุกสนาน ตื่นเต้น ท�ำให้ผู้เล่นมีโอกาส คลายความเครียดทางอารมณ์ได้ ๔. ทางสติปัญญา การใช้ไหล่ชนกันต้องใช้ไหวพริบ และการตัดสินใจที่ถูกต้อง รวดเร็ว ว่าจะเคลื่อนไป ทางไหน เมื่อใดจะถอยหนี จังหวะไหนจะเข้าชนไหล่หรือเมื่อถูกฝ่ายตรงกันข้ามชนจะแก้ปัญหาอย่างไร สิ่งเหล่านี้ จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรูแ้ ละเกิดประสบการณ์ได้หลายอย่างพร้อมๆ กัน เช่น วิธกี ารเคลือ่ นทีใ่ นท่านัง่ ยองๆ ไป ในทิศทางต่างๆ เป็นต้น ๕. ทางสังคม การเล่นตีไก่ ซึ่งใช้ไหล่ชนกัน แม้จะมีปะทะกันแต่ก็เป็นการปะทะกันฉันท์เพื่อนเล่น มิใช่เป็นการแกล้งเพื่อให้เกิดการบาดเจ็บ ท�ำให้ผู้เล่นได้ใกล้ชิดกัน ส่งเสริมให้เกิดความเข้าอกเข้าใจกัน เห็นใจกัน การให้อภัยแก่กันและกัน เพราะต่างฝ่ายต่างก็ถูกชนเหมือนกัน เมื่อฝ่ายใดแพ้ก็ยอมรับความสามารถของผู้ชนะ เอกสารอ้างอิง

กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร : โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ จารุวรรณ ธรรมวัตร. การละเล่นพื้นเมืองของเด็กอีสาน. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, ๒๕๒๓ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ รายงานการกรีฑานักเรียนจังหวัดสตูล เนื่องในงานเฉลิมพระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๔๗๕, (ศธ. ๑๖/๔๙ กรีฑานักเรียน), กจช.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 145


รถม้าชาวเสียม ชาวเหนือนิยมนั่งรถม้าจนเป็นที่ติดปากของชาวต่างชาติว่ารถม้าชาวสยาม ต่อมาส�ำเนียงที่เรียกรถม้า ชาวสยามเพี้ยนไป เป็นรถม้าชาวเสียม ค�ำว่า เสียม หมายถึงสยามหรือไทยนั่นเอง (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๒๕) กีฬารถม้าชาวเสียมเป็นการเล่นพืน้ เมืองของชาวจังหวัดแพร่ ทีด่ ดั แปลงมาจากการนัง่ รถม้าชาวสยาม มีเล่นกันมานาน แต่สมัยเก่า พบว่าชาวเหนือนิยมเล่นกันมาตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๕๘ แล้ว โดยจัดเล่นเป็นการแข่งขันกันในงานกรีฑานักเรียน ของจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งในครั้งนั้นเรียกการเล่นลักษณะคล้ายคลึงกันนี้ว่าการแข่งม้าสมมติ (สามัคคยาจารย์สมาคม, ๒๔๕๘ ) โดยให้ผู้เล่นคนหนึ่งเป็นม้า อีกคนหนึ่งเป็นคนขี่ ขึ้นขี่วิ่งแข่งขันกัน ต่อมามีการเพิ่มเติมผู้เล่นเป็น ๓ คน โดยให้ผู้เล่น ๒ คน เป็นรถม้า อีกคนเป็นคนขี่ ขึ้นขี่วิ่งแข่งขันกัน ในปัจจุบันยังคงมีเล่นกันอยู่บ้างตามท้องถิ่นชนบท ของจังหวัดเชียงใหม่ ล�ำปาง และแพร่ และเนื่องจากเป็นการเล่นที่ทรงคุณค่าในหลากหลายด้าน จึงสมควรต้องมีการ ฟื้นฟูพัฒนาการเล่นนี้ให้คงอยู่ มีชีวิตชีวาเป็นประโยชน์แก่คนในรุ่นปัจจุบันและรุ่นต่อๆไปยิ่งขึ้น รถม้าชาวเสียมสะท้อนถึงวิถีชีวิตจริงของชาวบ้านในภาคเหนือไทย ที่นิยมใช้รถม้าเป็นพาหนะในการ เดินทาง โดยมีวิธีเล่นแบบใช้คนต่อตัววิ่งแข่งกัน โดยให้ผู้เล่น ๒ คนเป็นรถม้า อีกคนเป็นคนขี่ เป็นการเล่นที่ไม่ค่อย พบเห็นในประเทศอื่น นับเป็นเอกลักษณ์ไทยที่สะท้อนให้เห็นคุณค่าและการเรียนรู้วัฒนธรรมทางภาษาในภาคเหนือ ของไทย เช่น คุณค่าและความหมายของค�ำว่าสยาม เพี้ยนเป็นเสียม เป็นต้น

เรียบเรียง โดย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

146 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


รถม้าชาวเสียมสามารถเล่นได้ทุกโอกาส เล่นกันเฉพาะในหมู่ผู้ชายทั้งเด็กและผู้ใหญ่ โดยแบ่งผู้เล่นเป็น กลุ่ม ๆ ละ ๓ คน ผู้เล่นทั้ง ๓ คนในกลุ่มควรเป็นคนรูปร่างใหญ่ ๒ คน และรูปร่างเล็ก ๑ คน ทั่วไปเล่นกันบริเวณ สนามกว้าง เช่น สนามในโรงเรียน ลานวัด หรือชายทุง่ เป็นต้น โดยก�ำหนดเส้นเริม่ และเส้นชัยให้มรี ะยะห่างกันประมาณ ๕๐ เมตร วิธีเล่น ผู้เล่นแต่ละกลุ่มไปยืนเตรียมพร้อมที่หลังเส้นเริ่ม ให้ผู้เล่น ๒ คนในกลุ่มเป็นรถม้า และอีกคนที่ มีรูปร่างเล็กกว่าเป็นคนขี่ โดยให้คนที่เป็นรถม้าทั้ง ๒ คน ยืนเคียงข้างกัน หันหน้าไปยังเส้นชัย ใช้มือประสานไว้ข้าง หลังของตน ส่วนผู้เล่นที่เป็นคนขี่ยืนอยู่ข้างหลังคนที่เป็นรถม้า การเล่นเริ่มเล่นโดยผู้ตัดสินจะให้สัญญาณเริ่มเล่น เมื่อได้ยินสัญญาณเริ่มเล่น ผู้ขี่จะต้องกระโดดเอาเท้าเหยียบไปในช่องมือที่ประสานกันไว้ของคนที่เป็นรถม้าทั้งสอง โดยใช้เท้าเหยียบคนละข้าง และใช้มือกอดคอคนที่เป็นรถม้าไว้คนละข้าง กอดไม่ให้รถม้าผละออกจากกัน เมื่อขึ้นขี่ เรียบร้อยแล้ว รถม้าจึงออกวิ่งไปยังเส้นชัย พวกใดไปถึงเส้นชัยก่อนโดยคนขี่ไม่ตกระหว่างทาง ถือว่าเป็นผู้ชนะ พวกใดคนขี่ตกจากหลังม้า หรือไปถึงเส้นชัยทีหลังถือว่าเป็นผู้แพ้ กติกา คือ ต้องให้คนขี่ขึ้นขี่เรียบร้อยเสียก่อน รถม้าจึงออกวิ่งได้ และคนขี่ตกจากหลังม้าถือเป็นแพ้

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 147


คุณค่า ๑. ทางร่างกาย การเล่นรถม้าชาวเสียม ผู้เป็นรถม้าจะต้องรับน�้ำหนักของผู้เป็นคนขี่เพิ่มขึ้น และจาก การวิ่งแข่งที่ต้องมีน�้ำหนักเพิ่มขึ้น จึงเป็นการส่งเสริมให้ผู้เล่นที่เป็นรถม้าได้พัฒนาเกี่ยวกับความแข็งแรงของร่างกาย โดยเฉพาะส่วนแขนและขา ได้พัฒนาก�ำลังความเร็ว ความทนทาน และความอ่อนตัว ส่วนผู้เป็นคนขี่ต้องทรงตัวยืน บนมือของผูเ้ ป็นรถม้า และจับคอผูเ้ ป็นรถม้าไว้นนั้ จะได้รบั ประโยชน์ในแง่การส่งเสริมให้ได้พฒ ั นาทางด้านการทรงตัว ก�ำลัง และความอ่อนตัว ๒. ทางจิตใจ การแข่งขันโดยการวิง่ แข่งเป็นกลุม่ พวกเช่นนี้ เป็นลักษณะทีก่ อ่ ให้เกิดความสนุกสนานแก่ ผู้เล่น และการยืนบนมือแล้วพาวิ่งดังกล่าวเป็นลักษณะที่แปลกกว่าปกติธรรมดา จึงก่อให้เกิดความตลกขบขันแก่ ผู้เล่นและผู้ชม นอกจากนี้ผู้เล่นโดยเฉพาะคนที่เป็นคนขี่ ยังต้องใช้ความกล้าและความเชื่อมั่นมากด้วย เพราะอาจ ตกลงมาบาดเจ็บได้ จึงเป็นการส่งเสริมให้ผู้เล่นมีความร่าเริงแจ่มใส มีความกล้า และเชื่อมั่นในตนเอง ๓. ทางอารมณ์ ในการแข่งขันผู้เล่นจะต้องระงับความตื่นเต้น ความดีใจหรือเสียใจเมื่อชนะหรือแพ้ ไม่ให้แสดงออกมากจนเกินไป นอกจากนี้ผู้เล่นยังได้รับความพอใจจากการเล่น จึงเป็นการส่งเสริมให้ผู้เล่นได้รู้จักเก็บ ความรู้สึก มีความอดกลั้น และได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ๔. ทางสติ ป ั ญ ญา การแข่ ง ขั น รถม้ า ชาวเสี ย ม ผู ้ เ ล่ น จะต้ อ งใช้ ค วามคิ ด และต้ อ งแก้ ป ั ญ หามาก เช่นท�ำอย่างไรจึงจะทรงตัวได้ดีไม่ตกจากม้า ท�ำอย่างไรจึงจะวิ่งได้เร็ว ท�ำอย่างไรการวิ่งจึงจะสัมพันธ์กันทั้ง ๒ คน เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ช่วยส่งเสริมให้ผู้เล่นได้ใช้ความคิด พิจารณาอย่างมีเหตุมีผล รู้จักแก้ปัญหา มีความพยายาม และ เกิดก�ำลังใจในการแข่งขัน ๕. ทางสังคม จากการเล่นและจากทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วพอจะวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางสังคมได้วา่ จะช่วยส่งเสริม ให้ผเู้ ล่นรูจ้ กั เสียสละยอมเป็นรถม้า เคารพในความคิดเห็นของเพือ่ นร่วมทีม มีการประสานงานทีด่ ี รูจ้ กั ร่วมมือท�ำงาน กับผู้อื่น รู้จักปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และมีความรักความสามัคคีต่อหมู่คณะ เอกสารอ้างอิง

กรมพลศึกษา, กระทรวงธรรมการ. กีฬาพื้นเมือง. พระนคร : โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช, ๒๔๘๐ ชัชชัย โกมารทัต และคณะ, กีฬาพืน้ เมืองไทย : ศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางด้านพลศึกษา, งานวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๒๕ สามัคยาจารย์สมาคม. “ข่าวการกรีฑานักเรียนในนครเชียงใหม่”. วิทยาจารย์. (เล่ม ๑๖ ตอนที่ ๔ พ.ศ. ๒๔๕๘)

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

148 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แข่งโพน จังหวัดพัทลุง การแข่งโพนเป็นกีฬาพื้นบ้านที่มีวิวัฒนการมาจากการตีโพนในงานประเพณีลากพระ ซึ่งจะมีขึ้น ในวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ อันเป็นวันออกพรรษา วัดต่างๆ จะเตรียมการท�ำบุษบก หุ้มโพน เตรียมโพนประจ�ำเรือ เพื่อตีบอกชาวบ้านว่าจะมีงานลากพระตามวัดต่างๆ เนื่องจากวัดส่วนมากจะอยู่ในละแวกเดียวกัน จึงแข่งกัน ตีโพนให้มีเสียงดัง เพื่อชวนเชิญให้มางานวัด นอกจากนี้ ยังเป็นการบอกจังหวะให้คนลากเรือ ถ้าตีรัวให้ถี่ๆ ลากเร็ว ถ้าตีช้าๆ ให้ลากช้า จึงเกิดการแข่งโพนของแต่ละวัดขึ้น การแข่งโพนโดยทั่วไปมีการแข่งในงานประเพณีลากพระ ทั้งระดับจังหวัด ระดับอ�ำเภอและระดับท้องถิ่น การแข่งโพน แบ่งได้เป็น ๒ อย่าง คือ ๑. การแข่งขันมือ (ตีทน) การแข่งขันแบบนี้ไม่ค่อยได้รับความนิยม เพราะกินเวลานาน แข่งขันจน ผู้ตีมืออ่อนหรือหมอแรงจึงตัดสินได้ ๒. การแข่งขันเสียง การแข่งขันแบบนี้เป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน เพราะใช้เวลาสั้นๆ ก็สามารถตัดสิน คนชนะได้

เรียบเรียงโดย ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 149


โพน เป็นเครื่องดนตรีพื้นบ้าน เป็นเครื่องให้จังหวะสัญญาณ เพื่อบ่งบอกว่าจะมีประเพณีการแห่ชักพระ ของแต่ละวัดในจังหวัดภาคใต้ ไม่มีหลักฐานว่าเกิดขึ้นเมื่อใด บรรพบุรุษในอดีตกาลได้น�ำเอาหนังวัว หนังควายมาหุ้ม ปลายไม้ท่อนที่เจาะกลวงทะลุทั้งสองด้าน แล้วน�ำมาท�ำสลักตีขึงให้ตึง เรียกว่า “กลอง” ชาวพัทลุงเรียก “โพน” หรือ “ตะโพน” การประดิษฐ์ ลีลาในการตี การใช้ประโยชน์จากโพน และความนิยมการแข่งขันของชาวพัทลุงแตกต่างไป จากท้องถิ่นอื่น จึงถือได้ว่าการแข่งตีโพน คือ “เอกลักษณ์ของโพนเมืองพัทลุง” การแข่งโพนจังหวัดพัทลุง ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ “จะร้อยพันแม้นหมืน่ เสียงตะโกน ฤาจะสูเ้ สียงแข่งโพนทีเ่ มือง ลุง” ทีส่ ะท้อนถึงความยิง่ ใหญ่และชือ่ เสียงประเพณีการแข่งโพนของจังหวัดพัทลุง ทีไ่ ด้รบั การสืบทอดและวิวฒ ั นาการ มาหลายทศวรรษ เคียงคู่ประเพณีลากพระของชาวพัทลุง แม้โพนจะมีใช้กันทั่วไปในทุกวัดของภาคใต้ แต่ไม่มีการแข่ง โพนที่จะยิ่งใหญ่และสนุกสนานไปกว่าเมืองพัทลุง วิธีเล่น องค์ประกอบในการแข่งโพนประกอบด้วย (๑) โพน (๒) ไม้ตีโพน (๓) ผู้ตีโพน (๔) โฆษกสนาม บนเวที (๕) กติกาการแข่งขัน (๖) กรรมการตัดสิน การแข่งโพนจะแบ่งโพนที่เข้าแข่งขันออกตามขนาด เล็ก กลาง ใหญ่ ตามกติกาที่ก�ำหนด แต่ละขนาดมี เลขหมายประจ�ำโพน ประกบคู่ด้วยวิธีจับสลาก การแข่งโพนบนเวทีแข่งกันครั้งละ ๒ ใบ แบบแพ้คัดออกจนเหลือคู่ ชิงชนะเลิศ เมื่อขึ้นเวทีแล้วจะเทียบเสียงว่าใบใดมีเสียงทุ้ม ใบใดมีเสียงแหลม การแข่งขันรอบแรกจนถึงรอบรองชนะ เลิศใช้เวลาคู่ละ ๓ นาที คู่ชิงชนะเลิศใช้เวลา ๕ นาที ผู้ตีจะมีวิธีตีอย่างไรแล้วแต่ศิลปะ ไหวพริบ และความช�ำนาญ ของผู้ตี การตีโพน โพนเสียงทุม้ จะต้องตีเป็นจังหวะยืน โพนเสียงแหลมจะต้องตีขดั ผูต้ จี ะออกลีลาท่าทางลวดลาย หรือลูกเล่นของแต่ละคน โพนที่อยู่ในรุ่นเดียวกันใช่ว่าโพนใบใหญ่จะมีเสียงดังมากกว่าโพนใบเล็กเสมอไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับคุณภาพของหนังหุ้มโพน รูปร่าง รูปทรงของโพน และที่ส�ำคัญผู้ตีต้องมีพละก�ำลังและความสามารถในการตีเฉพาะ ตัวด้วย การตัดสิน มีคณะกรรมการจับเวลา กรรมการรวบรวมคะแนน โฆษกสนามบนเวที และกรรมการให้ คะแนน แต่เดิมมีการตัดสินเพียงจุดเดียว โดยให้ฟังเสียงโพนห่างจากจุดแข่งโพน และส่งสัญญาณจากจุดตัดสิน ฝ่ายใดเสียงดังกว่าเป็นฝ่ายชนะ การส่งผลการตัดสิน หากโพนเสียงทุ้มชนะ กรรมการจะตีโพนเป็นสัญญาณ ๑ ครั้ง หากเสี ย งโพนแหลมชนะ กรรมการจะตี โ พนสั ญ ญาณ ๒ ครั้ ง ในปั จ จุ บั น มี ก ารก� ำ หนดจุ ด ตั ด สิ น แบ่ ง เป็ น ๓ ชุดๆ ละ ๒ คน ตัง้ จุดตัดสินห่างจากเวทีแข่งขัน ๓๐๐ – ๘๐๐ เมตร ขึน้ อยูก่ บั สภาพแวดล้อมและทิศทางลม กรรมการ จะตัดสินโดย (๑) ฟังปรกติ (๒) อุดหูข้างหนึ่งหรือสองข้าง (๓) ใช้วิธีอินเดียแดง คืออุดหูข้างหนึ่งแนบพื้นดินข้างหนึ่ง เมื่อรู้ผลจะรายงานผลไปที่กรรมการกลาง ผลคะแนน ที่ส่งมา ถือเอาผลชนะของ ๒ ใน ๓ จุดของกรรมการตัดสิน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

150 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


คุณค่า ๑. คุณค่าต่อครอบครัว ท�ำให้เกิดรายได้แก่ผู้ผลิตโพนและครอบครัว ผู้ตีโพนและครอบครัว ๒. คุณค่าต่อชุมชน ท�ำให้เกิดความสมานสามัคคีในชุมชน ร่วมกันฝึกซ้อม ร่วมกันท�ำโพนเพื่อสืบทอด ภูมิปัญญาการท�ำโพน ๓. คุณค่าต่อสังคม ท�ำให้เกิดกิจกรรมการรวมกลุ่มของกลุ่มชนต่างๆ ทั้งเด็ก เยาวชนและประชาชน ได้ท�ำกิจกรรมร่วมกันมีผลท�ำให้ไม่เกิดปัญหายาเสพติด ๔. คุณค่าต่อศาสนา การแข่งโพนในงานประเพณีลากพระ เด็กๆ เยาวชนและประชาชนได้รว่ มกันกิจกรรม ลากพระของวัดต่างๆ ในวันออกพรรษา ปลูกจิตส�ำนึกในวันส�ำคัญทางศาสนา เอกสารอ้างอิง

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. “วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดพัทลุง” กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ, พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๔ ประจวบ เพชรน้อย, ผู้อ�ำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอ�ำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. “โพน”. เอกสารโรเนียว ขนาด เอสี่ เทศบาลเมืองพัทลุง. หนังสือที่ระลึก “ประเพณีแข่งโพน-ลากพระจังหวัดพัทลุง ประจ�ำปี ๒๕๔๘ และกีฬานักเรียนเทศบาลและเมืองพัทยา ระดับ ภาคใต้ ครั้งที่ ๒๓”. เทศบาลเมืองพัทลุง. เอกสารประกอบการแถลงข่าว “งานประเพณีแข่งโพน-ลากพระจังหวัดพัทลุง ประจ�ำปี ๒๕๔๗”. ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด. สภาวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง กระทรวงวัฒนธรรม “การแข่งโพน ท�ำโพน เอกสารเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของการจัดเก็บ ข้อมูลด้านศิลปะการแสดง ตามโครงการภูมิบ้านภูมิเมือง พ.ศ. ๒๕๔๙ ของส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. สัญญา วัชรพันธ์และศรีมาลา เนียมรัตน์ “โพน เอกลักษณ์เมืองลุง” พัทลุง: ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพัทลุง. ______. สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม ๖, ๒๕๒๙ สงขลา. สถาบันคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ______. สูจิบัตร งานประเพณีแข่งโพน ลากพระ จังหวัดพัทลุง ประจ�ำปี ๒๕๔๗. พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 151


แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล ความหมายและประเภท แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในแนวทางเดียวกันของ คนในชุมชนทีส่ บื ทอดต่อกันมาบนหนทางของมงคลวิธี น�ำไปสูส่ งั คมแห่งสันติสขุ แสดงให้เห็นอัตลักษณ์ของชุมชนและ ชาติพันธุ์นั้นๆ ประเภทของแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล ๑. มารยาท หมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่ดีงามต่อผู้อื่น ๒. ขนบธรรมเนียมประเพณี หมายถึง การประพฤติปฏิบัติและการกระท�ำกิจกรรมที่สืบทอดต่อๆ กันมาในวิถีชีวิตและสังคมของชุมชนนั้นๆ ๒.๑ ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับศาสนา ๒.๒ ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับเทศกาล ๒.๓ ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับวงจรชีวิต ๒.๔ ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับการท�ำมาหากิน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

152 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียน ๑. มีคุณสมบัติเฉพาะที่แสดงอัตลักษณ์ หรือเอกลักษณ์ ในด้านประวัติความเป็นมา ภูมิธรรม ภูมิปัญญา ที่เป็นคุณค่า คุณประโยชน์กระบวนการคัดสรรกลั่นกรอง การน�ำมาปรับเปลี่ยน พัฒนาในชุมชน จนเป็นที่ยอมรับและ สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ๒. มีรูปแบบการปฏิบัติ ช่วงเวลา วิธีการและขั้นตอนที่ชัดเจน ๓. มีการปฏิบัติสืบสานกันมาหลายชั่วคน ยังคงมีการปฏิบัติอยู่ หรือมีหลักฐานว่าเคยปฏิบัติในชุมชน ๔ เป็นกิจกรรมที่รู้จัก ประพฤติ ปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในระดับกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ชุมชน ท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศชาติ ๕. แสดงออกถึงภูมิธรรม ภูมิปัญญาที่มีคุณค่าต่อจิตใจ วิถีชีวิตและสังคม ๖. เป็นแกนยึดโยงและสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ของคนในชุมชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ ๗. เสี่ยงต่อการสูญหายหรือน�ำไปใช้อย่างไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม ๘. คุณสมบัติอื่นๆ ที่คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าเหมาะสม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 153


ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ประเพณีแห่เทียนพรรษา เป็นประเพณีปฏิบัติของชาวพุทธที่ได้กระท�ำมาแต่ครั้งพุทธกาล เหตุที่ท�ำให้ เกิดประเพณีนี้ เพราะสมัยก่อน ในช่วงฤดูฝน มีภิกษุได้เดินไปเหยียบย�่ำข้าวกล้าในนาของชาวบ้านท�ำให้ ได้รับ ความเดือดร้อน ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงได้อนุญาตให้ภิกษุสามเณรอยู่จ�ำพรรษาที่วัดเป็นเวลา ๓ เดือน คือในช่วงวันแรม ๑ ค�ำ่ เดือน ๘ ถึงวันขึน้ ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๑๑ ซึง่ เป็นช่วงสิน้ สุดการเก็บเกีย่ วของชาวบ้านพอดี ในช่วงเข้าพรรษานีป้ ระชาชน จะน�ำเทียนไปถวายพระภิกษุ เพื่อประกอบพิธีทางศาสนาและศึกษาเล่าเรียน ในเวลาค�่ำคืน เพราะเชื่อว่าจะท�ำให้ตน เฉลียวฉลาดมีไหวพริบปฏิภาณประดุจแสงเทียนที่ส่องทางสว่าง ขจัดความมืดมนทางปัญญาได้ ดังจะปรากฏอยู่ใน ฮีตสิบสองคองสิบสี่ หลักปฏิบัติที่ชาวอีสานยึดถือมาเป็นเวลานาน ประวัติความเป็นมาของประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี เมืองอุบลราชธานี มีประวัตคิ วามเป็นมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะเมืองอุบลราชธานีเมือ่ ครัง้ อดีต ถือเป็น เมืองทีต่ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ คี่ นอีสานเรียกขนานนามกันว่า “ดงอูผ่ งึ้ ” เป็นป่าทีเ่ ป็นแหล่งท�ำรังของผึง้ หลวงขนาดใหญ่ ในช่วง เดือน ๕ เมษาของทุกปี จะมีชาวบ้านที่มีอาชีพเก็บน�้ำผึ้งป่าจากดงอู่ผึ้ง ซึ่งถือว่าเป็นน�้ำผึ้งป่าที่ดีที่สุดในป่าภาคอีสาน ผลพลอยได้จากการเก็บน�้ำผึ้งป่า คือ รังผึ้งป่า ก็คือขี้ผึ้งนั่นเอง จึงเกิดภูมิปัญญาจากการใช้ขี้ผึ้งป่าจากธรรมชาติมาท�ำ เทียนเพือ่ ใช้ในการให้แสงสว่างประกอบกับในช่วงเวลาเดือน ๘ คือ งานบุญเข้าพรรษาตามฮีตคองของชาวอีสาน จึงถือ เป็นประเพณีในการถวายเทียนพรรษา เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ได้ใช้ประโยชน์จากแสงเทียนในการส่องสว่างส�ำหรับใช้ใน การศึกษาพระธรรมวินัยขณะจ�ำพรรษา

เรียบเรียงโดย บุญชัย ทองเจริญบัวงาม และส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุบลราชธานี พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

154 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ในอดีต เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ได้เสด็จฯ มาเป็นผู้ส�ำเร็จราชการ ต่างพระองค์ ในมณฑลหัวเมืองลาวกาว ประทับทีเ่ มืองอุบลราชธานี ทรงกล่าวถึงประเพณีการถวายเทียนของชาวเมือง อุบลฯ ไว้ว่า “ชาวเมืองอุบลฯ จะฟั่นเทียนยาวรอบศีรษะ (เทียนเวียนหัว) ไปถวายวัดเพื่อ จุดบูชาจ�ำน�ำพรรษา หาน�ำ้ มันไปใส่ตะเกียงให้พระภิกษุสงฆ์ได้ใช้จดุ ดูหนังสือ และจัดหาเครือ่ งไทยธรรม ผ้าอาบน�ำ้ ฝนไปถวายพระตามจารีต ของเมือง” การแห่เทียนพรรษาแต่เดิมมิได้ยิ่งใหญ่เหมือนในปัจจุบัน มีเพียงแต่ชาวบ้านร่วมกันบริจาคเทียนให้กับ หัวหน้าชุมชน แล้วน�ำมามัดติดกันกับล�ำไม้ไผ่เป็นปล้องๆ เรียกว่า “เทียนมัดรวม” แล้วปิดรอยต่อด้วยกระดาษสี (กระดาษทอง-เงิน) ตอกเป็นลวดลายต่างๆ เสร็จแล้วน�ำต้นเทียนมัด ไปมัดติดกับฐานทีท่ ำ� จากปีบ๊ น�ำ้ มันก๊าด หรือน�ำ้ มัน มะพร้าว แห่แหนไปถวายวัดต่างๆ ในชุมชนของตน สมัยก่อนจะนิยมใช้พาหนะเกวียนเทียมวัวหรือใช้คนลากจูง มีขบวนแห่ ตีกลอง ฆ้อง กรับ ฟ้อนร�ำสนุกสนานรื่นเริง ต่อมาการท�ำเทียนได้พัฒนาขึ้นถึงการต้มหล่อลงไปในแม่พิมพ์ ออกมาเป็นดอกเป็นดวงคล้ายลายไทยน�ำมาติดประดับตกแต่ง ต้นเทียนที่มีลักษณะเรียบ เรียกว่า “เทียนประเภท ติดพิมพ์” นายช่างคนแรกเป็นผู้คิดเริ่มท�ำต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ของเมืองอุบลราชธานี คือ นายโพธิ์ ส่งศรี สมัยต่อมา นายสวน คูณผล ช่างฝีมือได้คิดประยุกต์วิธีดังกล่าวตกแต่งต้นเทียนให้มีความวิจิตรยิ่งขึ้น โดยการท�ำฐาน เทียนเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ด้วยการปั้นและการตกแต่งด้วยขี้ผึ้ง ท�ำให้เทียนพรรษาของจังหวัดอุบลราชธานีมีความงดงาม ละเอียดมากยิ่งขึ้น ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ประชาขนเริม่ ให้ความสนใจ และเห็นความส�ำคัญในการตกแต่งเทียนพรรษา และประเพณี แห่เทียนพรรษามากยิง่ ขึน้ เมือ่ ทางจังหวัดได้สง่ เสริมให้เข้ากับงานประเพณีเข้าพรรษา เป็นงานประเพณีประจ�ำจังหวัด ในครั้งแรกชนิดของต้นเทียนมี ๒ ประเภท คือ เทียนพรรษาประเภทมัดรวมตกแต่งด้วยกระดาษสี และประเภท ติดพิมพ์ เท่านั้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ นายอารี สินสวัสดิ์ และนายประดับ ก้อนแก้ว นายช่างท�ำเทียนพรรษาได้พัฒนาวิธีท�ำ เทียนพรรษาให้งดงามวิจิตรพิสดารมากยิ่งขึ้น โดยใช้หินสบู่ส�ำหรับลับมีดโกนปลงผมพระภิกษุสงฆ์น�ำมาแกะแม่พิมพ์ เป็นลวดลายต่างๆ แล้วกดขี้ผึ้งลงไป ออกมาเป็นลวดลายต่างๆ ขี้ผึ้งที่ใช้ใช้ขี้ผึ้งบริสุทธิ์ (ขี้ผึ้งแท้ธรรมชาติ) ท�ำให้เกิด สีสันของต้นเทียนและลวดลายออกมาชัดเจน พ.ศ. ๒๕๐๙ นายค�ำหมา แสงงาม ได้คิดวิธีการแกะเทียนพรรษาทั้งต้น เป็นการคิดขึ้นมาใหม่ครั้งแรก ในเมืองอุบลฯ ครั้งนั้น ท�ำให้วิธีนี้ถือเป็นการแสดงฝีมือในเชิงช่างอย่างแท้จริง ช่างแกะสลักต้นเทียน จึงเริ่มเรียนรู้ และฝึกหัดถ่ายทอดออกมาอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 155


ประเภทของเทียนพรรษาที่ใช้ประกวดในปัจจุบัน มี ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. เทียนพรรษา ประเภทมัดรวมติดลาย (เทียนโบราณ) หมายถึงเทียนที่น�ำเอาเทียนเล่มเล็กๆ หลายเล่มมามัดรวมกันเป็นต้นเดียวด้วยด้าย เชือก หรือลวดเส้น เล็กๆ กับแกนไม้ไผ่หรือแกนไม้ทกี่ ลึงกลม หรือต้นกล้วย (ปัจจุบนั นิยมใช้ทอ่ พลาสติก หรือไม้อดั ท�ำเป็นรูปทรงสีเ่ หลีย่ ม หกเหลี่ยม แปดเหลี่ยม) ตั้งบนฐานไม้รูปเหลี่ยมหรือปี๊บน�้ำมันหรือทรงกลม แล้วใช้กระดาษเงินกระดาษทองหรือ สีต่าง ๆ (กระดาษจังโก) ตัดเจาะเป็นลวดลายพันรอบ ๆ รอยต่อของฐาน ล�ำต้นเทียน และตกแต่งด้วยลายดอกผึ้ง การท�ำเทียนพรรษาแบบมัดรวมติดลายเป็นการท�ำเทียนแบบโบราณโดยการน�ำเอาเทียนเล่มเล็กๆ มามัดรวมกัน เป็นต้นเดียว ตกแต่งด้วยกระดาษสีและดอกผึ้งที่ท�ำจากกรรมวิธีแบบโบราณ มีขั้นตอนการท�ำ ๕ ขั้นตอน คือ ขั้นที่ ๑ การท�ำฐานต้นเทียน ขั้นที่ ๒ การท�ำแกนต้นเทียน ขั้นที่ ๓ การมัดรวมต้นเทียน ขั้นที่ ๔ การติดลายกระดาษ ขั้นที่ ๕ การติดลายดอกผึ้ง และมีการตกแต่งและประดับด้วยผ้าสี ดอกไม้ให้สวยงาม เทียนพรรษาโบราณแบบมัดรวมติดลาย เป็นประติมากรรมเทียนพรรษาที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านศิลปกรรมที่มีความงดงามละเอียดอ่อน กรรมวิธีการท�ำง่าย ไม่ยุ่งยาก ใช้แรงงานคนไม่มากท�ำจากความศรัทธา และความสามัคคีของชาวบ้าน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

156 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


จังหวัดอุบลราชธานี ได้คดิ ค้นท�ำต้นเทียน และตัง้ ชือ่ ของเทียนตาม ลักษณะต่างๆ ของเทียนมัดรวม (เทียนโบราณ) มี ๔ แบบ คือ เทียนมัดรวม เทียน พุ่ม เทียนมณฑป และเทียนปราสาท อันเป็นพื้นฐานเบื้องต้นของเทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ดังนี้ (๑) เทียนมัดรวม เป็นต้นเทียนทีเ่ กิดขึน้ ในยุคแรกของเทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี คือการน�ำเอาเทียนหลายเล่มมามัดรวมกันบนแกนไม้หรือ ต้นกล้วยเรียกว่า “ต้นเทียน” ประดับตกแต่งด้วยกระดาษสีมารัดเป็นเปาะๆ ให้ แปลกตา ให้เกิดความสวยงาม

(๒) เทียนพุ่ม เกิดความคิดสร้างสรรค์จากเทียน มั ด รวม คื อ การน� ำ เอาเที ย นหลายเล่ ม มามั ด รวมกั น เป็ น ชั้ น ลดหลั่นกันให้เป็นรูปทรงพุ่ม เป็นชั้น ๆ จึงเรียกว่า “เทียนพุ่ม” ความมุ่งหมาย จัดท�ำเพื่อถวายแก่พระสงฆ์ด้วยความศรัทธา แต่ก่อนจะถวายพระก็น�ำมามัดรวมกันไว้ ส่วนมากเป็นเทียน ที่ฟั่นเสร็จตั้งในขันหรือพานไม้ ให้ไส้เทียนอยู่ด้านบน

(๓) เทียนมณฑป คือ การหล่อเทียนแล้วท�ำหอ ครอบเทียนเป็นทรงมณฑปจึงเรียกชื่อว่า “เทียนมณฑป” ถือว่า ท�ำมาตั้งแต่สมัยก่อน ท�ำเป็นที่วางเครื่องบริขารในการทอดกฐิน มณฑปนีถ้ า้ เรียกชือ่ อีกอย่างก็ดเู หมือนว่า “บุษบก” เพราะรูปแบบ คล้ายคลึงกัน เพือ่ ให้เครือ่ งบริขารและบริวารทีจ่ ะน�ำไปทอดถวาย พระสงฆ์ มีความโบราณโดดเด่นและสวยงาม สมกับเป็นเครือ่ งบูชา พระรัตนตรัย เพื่อให้เกิดความศักดิ์สิทธิ์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 157


(๔) เที ย นประสาทผึ้ ง เป็ น เที ย นที่ ท� ำ เป็ น รู ป ทรงปราสาท ความหมาย ก็คือท�ำขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศล ให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ส่วนความหมายอีกอย่างก็คือ ท�ำเพื่อแก้บน การท�ำเทียนแบบนี้จะใช้กาบกล้วย ซึง่ แกะออกจากล�ำต้นกล้วย มาตัดเป็นรูปเหลีย่ มให้ได้รปู ทรง ใช้ดอกผึง้ พิมพ์จาก แบบพิมพ์ แม่พิมพ์ก็อาศัยแบบจากตัดเอาก้านกล้วยบ้าง เผือก มันแกวหรือผล ไม้มาแกะเป็นรูปดอกไม้ ใช้ไม้เสียบ จุ่มลงในขี้ผึ้งที่ต้มที่ละลายแล้ว เอาลงจุ่ม ในน�้ำเย็น ดอกจะหลุดออกเมื่อแข็งตัวแล้ว น�ำดอกผึ้งไปติดกับล�ำต้นกล้วย ที่เตรียมไว้ให้เกิดความสวยงาม ๒. เทียนพรรษา ประเภทติดพิมพ์ เทียนพรรษาประเภทติดพิมพ์ เป็นต้นเทียนที่มีลายละเอียดอ่อน มีขั้นตอนและต้องใช้คนจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะต้องใช้ขี้ผึ้งแท้ เป็นส่วนใหญ่ในการท�ำดอกผึ้ง (ลายเทียน) ส่วนต้นเทียนเดิมใช้ขี้ผึ้งถ้วยผสมกับขี้ผึ้งแท้ หล่อล�ำต้น แต่ในปัจจุบันบางคุ้มวัดจะใช้เชือกพันรอบแกนเหล็กเทรอบด้วยปูนปลาสเตอร์ ตกแต่งให้กลมแล้วทาด้วย สีพลาสติก หรือใช้ไม้อัดท�ำเป็นเหลี่ยม หกเหลี่ยม แปดเหลี่ยม หรือเหลี่ยมย่อมุม แทนการหล่อให้กลมเพียงอย่างเดียว การท�ำต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ซึ่งเป็นภูมิปัญญาชั้นสูงของช่างเทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี มี ๗ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. การออกแบบ ๒. การหล่อต้นเทียน ๓. การกลึงต้นเทียน ๔. การท�ำผึ้งแผ่น ๕. การท�ำดอกผึ้งแผ่น ๖. การท�ำดอกผึ้งติดพิมพ์ ๗. การติดดอกผึ้ง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

158 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๓. เทียนพรรษา ประเภทแกะสลัก ต้นเทียนประเภทแกะสลัก เป็นต้นเทียนสมัยใหม่ ท�ำเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยนายค�ำหมา แสงงาม ต้นเทียนต้นหนึ่งจะใช้ขี้ผึ้งประมาณ ๗๐-๑๐๐ กิโลกรัม โดยใช้ขี้ผึ้งดีผสมกับขี้ผึ้งชนิดไม่ดี ในอัตราส่วน ๕ ต่อ ๑ หลังจากหล่อและกลึงต้นเทียนแล้ว จะเริ่มการแกะสลักต้นเทียน โดยการจัดเตรียมคล้ายกับการจัดท�ำต้น เทียนพรรษาประเภทติดพิมพ์ แต่จะมีส่วนที่แตกต่างกัน คือ ขี้ผึ้งและลักษณะการออกแบบต้นเทียนพรรษาที่แตกต่าง ไปตามความคิดสร้างสรรค์จากจินตนาการของช่างผู้สร้างสรรค์งานศิลป์ โดยมีองค์ความคิดว่ายึดหลักธรรมค�ำสั่งสอน ในพระพุทธศาสนา โดยออกแบบลายที่จะแกะสลัก โดยการร่างทั้งส่วนฐานล�ำต้นและยอดเทียน ใช้เครื่องมือแกะสลัก ซึ่งจะมีการเซาะ เจาะ ขีด และขูด ให้เป็นรูปสามมิติ เหมือนของจริง หรือรูปที่ร่างไว้ตามจินตนาการ ด้วยเครื่องมือที่ มีคมขนาดต่าง ๆ หรือเครื่องมือแกะสลักแกะลงไปในเนื้อเทียนเพื่อให้เกิดรูปร่างหรือเรื่องราวตามที่ต้องการ ประกอบ ด้วย ๑) มีด ๒) สิ่ว ๓) ตะขอเหล็กและเหล็กขูด ๔) แปรงทาสีชนิดดี งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เป็ น ประเพณี ท างพุ ท ธ ศาสนา ของชาวอุ บ ลราชธานี ซึ่ ง บ่ ง บอกถึ ง ความเจริ ญ ในพุ ท ธศาสนา วั ฒ นธรรม และ ประเพณีมาเป็นเวลายาวนาน ถือเป็นงานบุญทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของจังหวัดอุบลราชธานี โดยได้กำ� หนด จัดงานในวันเข้าพรรษา วันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๘ ของทุกปี ณ บริเวณสวนสาธารณะทุ่งศรีเมือง อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี

ภาพ : อ�ำนาจ เกตุชื่น พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 159


พัฒนาการของงานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี จากเดิมเป็นงานประจ�ำปีท้องถิ่น ได้พัฒนามาสู่เป็นงานประเพณีระดับชาติ ดังนี้ งานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี เริ่มแรกนั้น ไม่มีการประกวดเทียนพรรษาแต่อย่างใด มีเพียงจัดเฉพาะตามคุ้มวัดต่างๆ เท่านั้น แต่ด้วยเสียงร�่ำลือของชาวบ้าน ว่าเทียนคุ้มวัดนี้สวย วัดนั้นงาม ผู้ส�ำเร็จราชการเมืองอุบลฯ ในอดีต จึงเห็นควรให้มีการประกวดเทียนพรรษา โดยให้ แห่รอบเมืองก่อนที่จะน�ำไปถวายพระที่วัด การจัดงานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี มีพัฒนาการ อย่างต่อเนือ่ ง โดยชาวบ้านในแต่ละคุม้ วัดก็จดั ตกแต่งต้นเทียนของวัดตนให้สวยงาม น�ำมารวมกันทีบ่ ริเวณทุง่ ศรีเมือง เพื่อประกวดกัน จากงานของชาวบ้านก็พัฒนามาสู่การสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมกับประชาชน และใน ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ จังหวัดอุบลราชธานีได้เชิญ องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อ.ส.ท. ในขณะนั้น) มาสังเกตการณ์ และตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เป็นต้นมา ก็ได้รับการสนับสนุนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้เป็นงานประเพณีระดับชาติ เทียนพรรษาพระราชทาน เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดเดียวของประเทศไทยที่ได้รับพระกรุณา โปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานเทียนหลวงมาถวายยังอารามหลวง ในจังหวัด อุบลราชธานี โดยจังหวัดอัญเชิญเทียนหลวงเป็นเทียนน�ำชัยขบวนแห่เทียนพรรษาพระราชทาน เป็นเทียนหล่อส�ำเร็จ ประดับด้วยลายไทย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๔ นิ้ว สูงประมาณ ๑ เมตร ทรงแปดเหลี่ยม ล�ำต้นสีแดง ตรงโคนและยอดเป็นสีทอง มีฐานเป็นไม้ทรง แปดเหลีย่ มคล้ายพานรองรับ องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ ทีพ่ ระราชทานพร้อม กับต้นเทียน ๓ อย่าง ได้แก่ ไจฝ้ายส�ำหรับท�ำไส้เทียน ๑ ไจ เทียนชนวน ท�ำจากขี้ผึ้งแท้ ๑ เล่ม และไม้ขีดไฟ ๑ กลัก

เอกสารอ้างอิง

ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุบลราชธานี หนังสือระลึก ๒๐๐ ปี เมืองอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๓๕

บุคคลอ้างอิง

นางกรกมล เพชรล้อมทอง วัฒนธรรมจังหวัดอุบลราชธานี พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

160 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ประเพณีลากพระ

ประเพณีลากพระเป็นประเพณีสำ� คัญอย่างหนึง่ ของชาวไทยภาคใต้ ทีไ่ ด้ปฏิบตั สิ บื ต่อกันมาเป็นเวลานาน มากแล้ว ตั้งแต่ครั้งบรรพชน การที่เรียกชื่อประเพณีนี้ว่า “ประเพณีลากพระ” เพราะหมายเอาการใช้แรงจากการ พายเรือลากพระไปในแม่นำ�้ ล�ำคลองหรือคนจ�ำนวนหนึง่ ดึงเชือกลากพระไปบนถนนหรือเส้นทางทีใ่ ช้เป็นทางเดินประจ�ำ สมัยก่อนการลากพระนิยมลากกันทางน�ำ้ เป็นส่วนมาก ต่อมามีการลากพระทางบกหรือบนถนนมากขึน้ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันการลากพระยังคงมีทั้งสองลักษณะ หลักฐานเก่าสุดที่เป็นเอกสารเท่าที่พบแล้วเกี่ยวกับการลากพระหรือ ประเพณีลากพระ คือบันทึกของภิกษุอี้จริงที่มาหยุดที่นครศรีธรรมราชเพื่อเดินทางต่อไปอินเดียซึ่งสมัยนั้นเรียกชื่อว่า ตามพรลิงค์หรือจีนออกเสียงเป็น “ตั้งเหม่ยหลิง” หรือ “ตันเหม่ยหลิว” หรือ”โฮลิง” เมื่อพุทธศตวรรษที่ ๑๒ (พ.ศ.๑๑๐๐ เศษ) กล่าวถึง การลากพระ ความว่า คนเมืองนี้ น�ำพระพุทธรูปลงในยานพาหนะแล้วช่วยกันดึงเชือกลาก ไปหรือแบกแห่ไป มีประโคมดนตรี ดังข้อความว่า “...พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งมีคนแห่แหนน�ำมาจากวัด ประดิษฐานบนรถหรือบนแคร่ มีพระสงฆ์และฆราวาสหมู่ใหญ่แวดล้อมมา มีการตีกลองและบรรเลงดนตรีต่างๆ มีการ ถวายของหอมดอกไม้และถือธงชนิดต่างๆ ที่ทอแสงในกลางแดด พระพุทธรูปเสด็จไปสู่หมู่บ้าน ด้วยวิธีดังกล่าวนี้ ภายใต้เพดานกว้างขวาง...” ...นีค่ อื บันทึกการลากพระทีช่ าวจีนได้บนั ทึกเอาไว้ นอกจากนีว้ รรณกรรมมุขปาฐะของไทย ภาคใต้ประเภทเพลงร้องเรือเด็ก(เพลงกล่อมเด็ก) ยังได้บันทึกด้วยความจ�ำเกี่ยวกับเรื่องราวของการลากพระเอาไว้ว่า ฮา เอ่อ ไปไหนเหอ ไปปล้ะหัวนอนสักเดียว ไปเซ้อสารเหนียว แทงต้มลากพระ อี้ถูกอี้แพง อี้แดงไม่ละ แทงต้มลากพระ วัดสระหัวนอน บ้าน เอ่อ เหอ (จ�ำจาก นางเฟื่อง คุระศรี และนางฟอง ธรรมชาติ) เรียบเรียงโดย รองศาตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 161


เพลงร้องเรือบทนีม้ คี ำ� ว่า “ลากพระ” เป็นการบ่งชีว้ า่ ประเพณีนเี้ รียกแต่โบราณมานานแล้วว่า “ประเพณี ลากพระ” ในการปฏิบัติประเพณีลากพระอย่างหนึ่งคือ การแทงต้ม หมายถึงการท�ำต้มด้วยข้าวเหนียวผัดกะทิแล้ว น�ำไปห่อท�ำเป็นและต้ม ใช้ใบจากอ่อนและใบกะพ้อห่อ ถ้าใบจากจะท�ำเป็นลูกยาวๆ แล้วใช้เชือกพันรอบๆ และมัดดึง หัวท้ายให้ตึง ถ้าท�ำกับใบกะพ้อจะท�ำเป็นรูปสามเหลี่ยมสอดใบกะพ้อให้ซ้อนขัดกันแล้วดึงให้แน่นไม่ต้องใช้เชือกมัด แต่อย่างใด การจะใช้ใบจากหรือใบกะพ้อขึ้นอยู่กับพืชพันธุ์วัสดุในท้องถิ่น สถานที่อยู่ใกล้แม่น�้ำล�ำคลองมักใช้ใบจาก อ่อนเพราะมีต้นจากมาก สถานที่อยู่ไกลแม่น�้ำล�ำคลองมีต้นกะพ้อมากก็มักใช้ใบกะพ้อ การท�ำที่สอดพับสลับไปมาให้ แน่นนัน้ เรียกว่า การแทง เป็นการใช้ปลายของใบจากหรือใบกะพ้อพับหรือม้วนสอดนัน่ เอง ต้มจึงเป็นขนมสัญลักษณ์ ของประเพณีลากพระ เพราะใช้ต้มถวายพระลาก ถวายพระที่วัด และมอบให้ผู้เฒ่าผู้แก่ ผู้มีพระคุณ และบุคคลทั่วไป ในวันลากพระจึงมีต้มออกมาให้เห็นจ�ำนวนมากหลากหลายแหล่งหลายที่ที่มีการลากพระ ประเพณีลากพระกล่าวกันว่าสืบเนื่องมาจากการที่พระพุทธองค์เสด็จลงมาทางบันไดแก้วจากสวรรค์ ชัน้ ดาวดึงส์ หลังจากทีท่ รงโปรดพระพุทธมารดา (พระนางสิรมิ หามายาซึง่ ไปเสวยพระชาติเป็นเทพมหามายาในสวรรค์ ชั้นดุสิต) เมื่อพระองค์เสด็จลงมา บรรดาพุทธสาวกและพุทธศาสนิกจ�ำนวนมากก็ไปรับเสด็จมีการน�ำอาหารไปถวาย พระพุทธเจ้า เนื่องจากมีผู้คนและอาหารจ�ำนวนมากผู้ที่อยู่ด้านหลังเข้าไปไม่ถึงองค์พระพุทธเจ้า จึงน�ำเอาใบไม้ห่อ และมัดส่งไปตามล�ำดับ จนถึงองค์พระพุทธเจ้า บ้างก็ซัดห่อภัตตาหารไปที่พระพุทธเจ้า และห่อภัตตาหารลงในบาตร การถวายภัตหารในวันนี้เรียกว่า “ตักบาตรเทโวโรหนะ” หรือ “ตักบาตรเทโว” คือ ตักบาตรในวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จ ลงมาจากสวรรค์ในวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑ และวันต่อมาวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ เป็นวันออกพรรษา ก็จะมีการ ลากพระ ประหนึ่งว่ารับเสด็จพระพุทธเจ้ากลับสู่ที่ประทับนั่นเอง แต่ในการลากพระนั้นจะมีรายละเอียดต่างๆ หลายประการ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

162 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เริม่ จากการเตรียมการจัดท�ำหรือตกแต่งเรือพระให้มคี วามสวยงามตามทีต่ อ้ งการซึง่ บางวัดจะใช้เวลานาน และผู้มีฝีมือทางด้านศิลปะจะต้องช่วยเหลือกัน เพื่อให้เรือพระของวัดตน หมู่บ้านตนมีความสวยงาม ยิ่งประกวดด้วย แล้วก็จะดมบรรดาฝีมอื ศิลป์ทงั้ หลายอย่างพร้อมเพรียง บางวัดลงทุนสูงเพือ่ หมายเอาชนะการประกวด บางแห่งมีการ ประกวดรับถ้วยพระราชทานฯ เป็นรางวัลสูงสุด ดังนั้น จึงมีการท�ำเรือพระอย่างเอาจริงเอาจังเพื่อเกียรติและศักดิ์ศรี ของวัดตนหมู่บ้านตน จุดเด่นที่ต้องท�ำให้สวยงามคือพนมพระหรือบุษบก (ชาวไทยภาคใต้เรียกว่านมพระ) ก่อนถึง วันลากพระจริง จะมีการ “คุมพระ” (ประโคมดนตรี) หนึ่งวันหนึ่งคืน ดนตรีที่มักใช้กัน ตะโพน ปืด และระฆัง (เหล็กแผ่น) บางที่ไม่มีปืด (คล้ายกลองสองหน้าเป็นดนตรีไทยภาคใต้) เด็กๆ ก็จะช่วยกันคุมพระหรือตีดนตรีดังกล่าว นีต้ ลอดเวลาไม่มกี ารหยุด หากไม่มเี ด็กตี ผูใ้ หญ่กจ็ ะเข้าตีแทนที่ เสียงคุมพระหรือประโคมดนตรีกจ็ ะได้ยนิ ทัว่ ทัง้ หมูบ่ า้ น หรือชุมชนนั้นๆ ต้มที่ท�ำกันก็จะน�ำไปถวายพระลาก บ้างก็ห้อยแขวนที่พระหัตถ์ บ้างก็ใส่ภาชนะตั้งใกล้องค์พระลาก เมื่อถึงวันลากพระก็จะช่วยกันอัญเชิญพระลากไปลงเรือพระหรือพาหนะที่เตรียมไว้กรณีลากพระบก จากนั้นก็จะพายเรือเพรียวลากพระไปจากท่าน�้ำวัดสู่จุดหมายที่นัดรวมเรือพระหรือที่วัดใดวัดหนึ่ง ถ้าลากพระบก ก็จะใช้เชือกเส้นใหญ่สองเส้นคล้องที่พาหนะที่เป็นที่ประทับพระลาก (มักเรียกว่าเรือพระเช่นกัน)แล้วช่วยกันลากไป ในขณะที่ลากไปนั้นจะมีการร้องเพลงลากพระ มีการร้องน�ำด้วยต้นเสียงหนึ่งคนหรือหลายคนพร้อมๆ กันว่า “อีส้าละพา” และผู้ที่ลากพระร่วมกัน หรือฝีพายที่จ้วงน�้ำพายเรือไปก็จะรับว่า “เฮโลๆ” ถ้าต้นเสียงว่าซ�้ำก็จะรับเช่น นี้ทุกครั้งไป ส่วนเนื้อร้องจะเป็นการว่าของพ่อเพลงแม่เพลง เมื่อจบอี้สาละพา เฮโลๆ แล้ว เช่น “คนนั้นแกใสเสื้อเขียว หยุดเดียวก่อนต้า มาช่วยลากพระกันต้าสาวเหย” ครั้นแม่เพลงว่าจบผู้ร่วมลากพระก็จะรับต่อว่า “อี้ส้าละพา เฮโลๆ” การขับร้องเพลงลากพระก็จะมีเรื่อยไปเปลี่ยนเนื้อร้องไปตามต้องการเป็นลักษณะกลอนปฏิภาณ (ภาษาไทยภาคใต้ เรียกว่า มุตโต) เพื่อความสนุกสนาน และไม่รู้สึกเหนื่อย ใครที่จะท�ำบุญถวายต้มพระพุทธเจ้า ก็จะแอบเรือเข้าไปเอา ต้มใส่ที่เรือพระ ถ้าไกลก็ซัดไปที่เรือพระก็จะมีคนรับ พระบกก็เช่นกันก็จะท�ำเช่นเดียวกัน ค�ำที่ถวายต้มหรือท�ำบุญใส่ บาตรเรือพระบกใช้ค�ำว่า “ตักบาตรหน้าล้อ” ก็มี เมื่อเรือพระถึงจุดนัดพบก็จะจอดเรือพระไว้ที่นั่นหนึ่งวันหนึ่งคืน เพื่อร่วมกันท�ำบุญใส่บาตร ส่วนมากก็น�ำต้มไปถวายพระลาก และน�ำเหรียญหรือธนบัตรใส่ลงในบาตรพระลาก หรือบาตรที่ตั้งด้านหัวเรือพระ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 163


สิ่งที่ประกวดประขันกันคือความสวยงามของเรือพระ และพนมพระหรือบุษบก(ภาษาไทยภาคใต้ เรียกนมพระ) เรือพระทีส่ ง่ เข้าประกวดก็จะมีการตัดสินกันในวันทีเ่ รือพระไปถึง บางแห่งตัง้ รางวัลไว้สงู ทัง้ ถ้วยพระราช ทานฯ ถ้วยบุคคลส�ำคัญ และเงินรางวัล นอกจากนี้ยังมีการให้ช่วยค่าใช้จ่ายในการท�ำเรือพระ พนมพระ แก่ทุกวัดด้วย ก็มี แสดงให้เห็นถึงการส่งเสริมประเพณีซงึ่ เป็นศิลปะและวัฒนธรรมอย่างหนึง่ ของคนไทยภาคใต้ เมือ่ ครบตามก�ำหนด แล้วก็จะช่วยกันลากเรือพระกลับวัด เชื่อกันว่าเรือกสวนไร่นาใครที่เรือพระผ่านไปจะมีพืชพันธุ์อุดมสมบูรณ์ ดังนั้น ชาวไทยภาคใต้จึงชอบที่จะให้เรือพระผ่านไปทางไร่นาของตน เรือพระวัดใดได้รับรางวัลชนะเลิศก็จะลากไปอวด ในที่ต่างๆ ก่อนจะลากเรือพระกลับวัด และบางครั้งมีการลักเรือพระเรียกค่าไถ่ หากไม่เฝ้าให้ดี แต่มักเป็นเรือพระ ที่สวยงาม ทั้งนี้เพื่อความสนุกสนานนั่นเอง ในการจัดประเพณีลากพระยังมีกจิ กรรมส�ำคัญอย่างหนึง่ คือ การแข่งเรือเพรียวซึง่ เป็นเรือทีม่ ลี กั ษณะยาว และผอม ไม่เหมือนเรือยาวของไทยภาคกลางที่ล�ำเรือจะอ้วนกว่า ในการแข่งขันเรือเพรียวนั้นจะจัดกัน ๒-๓ วัน แบ่งออกเป็นประเภทหรือรุ่นต่างๆ มีขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ การแข่งขันเรือเพรียวเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง ของแต่ละวัดและตัวแทนหมู่บ้าน ด้วยเหตุนี้ก่อนที่จะถึงวันลากพระแข่งเรือเพรียวแต่ละวัดหรือแต่ละหมู่บ้านที่ส่งเรือ เพรียวเข้าแข่งขันก็จะมีการฝึกซ้อมฝีพายอย่างเอาจริงเอาจัง ฝีพายจะคัดเลือกจากชายฉกรรจ์ของชุมชนหรือหมู่บ้าน นอกจากนี้ ยังมีเรือที่มาจากต่างจังหวัดภาคอื่นๆ ส่งลงแข่งขันก็มี การแข่งขันชิงเจ้าความเร็วทางน�้ำประเภทเรือเพรียว นี้เป็นที่นิยมกันมาตั้งแต่ครั้งบรรพชน ปัจจุบันมีการเล่นต่อรองแพ้ชนะกันเช่นเดียวกับการชกมวย ในกรณีของเรือ ทีมชี อื่ เสียงและมีความเร็วเป็นทีเ่ ชือ่ มัน่ นอกจากการแข่งเรือเพรียวแล้วยังมีรายการบันเทิงต่างๆ ทัง้ กลางวันและกลาง คืน เช่น แข่งกลองยาว ประกวดเทพีประเพณีลากพระ แข่งมวยทะเล แข่งจับเป็ด และพายเรือกระทะ เป็นต้น กลางคืนมีการแสดงหนังตะลุง มโนห์รา เพลงบอก และดนตรีลูกทุ่ง เป็นต้น ที่อ�ำเภอปากพนังมีการเล่นซัดหลุด (โคลนตม) บริเวณทะเลในด้วย ส่วนมากมักจะเป็นการเล่นของหนุ่มสาว ประเพณีลากพระเป็นประเพณีที่สืบทอดมาตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันในภาคใต้ของประเทศไทย นับวันว่า จะจัดฉลองประเพณีลากพระยิ่งใหญ่ยิ่งขึ้นตามล�ำดับ ภูมิปัญญาหลักที่มีในประเพณีนี้คือการแสดงออกถึงการบูชา ศรัทธาในพระพุทธศาสนา การแสดงออกถึงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ การสร้างความสามัคคี การสร้างความบันเทิง และรักษาสิง่ ดีๆ มีคณ ุ ค่าของไทยเอาไว้ให้คงอยูต่ ลอดไป ประเพณีลากพระในภาคใต้ทนี่ ยิ มจัดอย่างยิง่ ใหญ่และมีผคู้ น ไปร่วมกิจกรรมมากคือ ที่อ�ำเภอปากพนัง เชียรใหญ่ หัวไทร และอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นต้น อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา และอ�ำเภอเมือง อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็นต้น นอกจากนี้ก็มีจัดทั่วไปในภาคใต้ที่มีขนาดกิจกรรมย่อมลงไป เชื่อว่าประเพณีลากพระในภาคใต้ของประเทศไทย จะด�ำรงอยู่ต่อไปอีกนานแสนนาน ทั้งนี้เพราะแรงศรัทธาในพระพุทธศาสนายังมีอยู่อย่างเข้มแข็งและเข้มข้นนั่นเอง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

164 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ประเพณีมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ นครศรีธรรมราช หรือประเพณีแห่ผ้าพระบฏ(ผ้าที่ใช้บูชาพระพุทธเจ้า) เป็นประเพณีทสี่ บื ทอดกันมาตัง้ แต่ครัง้ บรรพชนของคนไทยสยามทีอ่ ยูใ่ นอาณาจักรศรีธรรมราชมหานคร ซึง่ ในศิลาจารึก ปรากฏชื่อว่า ศรีธรรมราช ดังข้อความว่า “...สังฆราชปราชญ์เรียนจบปิฎกไตร หลวกกว่าปู่ครูทั้งหลายในเมืองนี้ ทุกคนลุกแต่ศรีธรรมราชมา...” การที่ชื่อประเพณีเรียกอย่างนี้เพราะการปฏิบัติบูชาเช่นนี้ในขณะนั้นมีในดินแดนไทย ภาคใต้ราว พ.ศ.๑๗๐๐ เศษมีเพียงทีเ่ ดียว คือทีศ่ นู ย์กลางการปกครองของศรีธรรมราชมหานครหรือเมือง ๑๒ นักษัตร คือที่ที่มีองค์พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชประดิษฐานอยู่ซึ่งเป็นสถานที่ส�ำคัญอยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนปัจจุบัน การเริม่ ต้นของประเพณีมาฆบูชาแห่ผา้ ขึน้ ธาตุนครศรีธรรมราช หรือทีช่ าวนครศรีธรรมราชและชาวไทย ภาคใต้เรียกโดยทัว่ ไปเรียกว่า “แห่ผา้ ขึน้ ธาตุ” นัน้ มีความเป็นมาคือ เมือ่ สมัยของพระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราช ราว พ.ศ.๑๗๐๐ เศษ มีผ้าผืนยาวที่วาดเรื่องราวพระพุทธเจ้าลอยมาติดริมฝั่งชายทะเลปากพนัง ซึ่งอยู่ในเขต ศรีธรรมราชมหานคร ชาวปากพนังในขณะนัน้ เห็นว่าเป็นผ้าส�ำคัญจึงช่วยกันอัญเชิญไปถวายพระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมา โศกราชซึง่ ประทับทีร่ าชวังในตัวเมืองนครศรีธรรมราชปัจจุบนั พระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราชทรงเห็นว่าเป็นผ้า ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาจึงรับสั่งให้ซักให้สะอาดแล้วตากให้แห้งในท้องพระโรง ต่อมามีผู้พบคนแต่งตัวชุดขาว จ�ำนวนหนึ่งบริเวณบ้านปากน�้ำนครและปากพญา และได้พาคนเหล่านี้เข้าเฝ้าพระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราช หัวหน้า ผู้ที่มาจากแดนไกลได้ทูลว่าเป็นชาวเมืองอินทรปัตถ์อัญเชิญผ้าพระบฏ(ผ้าที่วาดรูปพระพุทธเจ้าหรือเรื่องราว พระพุทธเจ้า) ลงเรือมาหมายจะอัญเชิญไปบูชาพระบรมธาตุเจดีย์ที่ลังกา แต่เรือถูกพายุพัดล่มจมลง บริวาร ทีม่ าด้วยกันส่วนมากจมน�ำ้ เสียชีวติ ส่วนน้อยรอดชีวติ ขึน้ ฝัง่ ทีป่ ากนครและปากพญา เมือ่ หัวหน้าคนแต่งชุดขาวได้เห็น ผ้าพระบฏที่ชาวปากพนังได้น�ำไปถวายพระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราชก็ร�่ำไห้ และทูลว่าผ้าผืนนี้ที่ตนและบริวาร ได้อัญเชิญลงเรือมา เรียบเรียงโดย รองศาตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 165


ครัน้ วันเพ็ญเดือนหกถึงวันวิสาขบูชาเป็นวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา พระเจ้าจันทรภาณูศรีธรรมาโศก ราชทรงจัดสมโภชพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช และให้แห่แหนผ้าพระบฏรอบเมืองแล้วอัญเชิญขึ้นห่มรอบ องค์พระบรมธาตุเจดีย์เป็นการบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าการบูชาด้วยการแห่ผ้าพระบฏขึ้นองค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราชจึงมีมาตั้งแต่บัดนั้นจนถึงปัจจุบันนี้ แต่การแห่ผ้าพระบฏห่มองค์พระบรมธาตุฯ หรือแห่ผ้าขึ้นธาตุ ครั้งใหญ่นี้ ต่อมาเปลี่ยนเป็นเนื่องในวันมาฆบูชาหรือวันเพ็ญเดือนสาม เรียกกันเป็นทางการว่า ประเพณีมาฆบูชา แห่ผ้าขึ้นธาตุ การปรับเปลี่ยนวันแห่ผ้าขึ้นธาตุหรือผ้าพระบฏนี้เชื่อกันว่าเพราะต้องการให้ชาวศรีธรรมราชมหานคร ในสมัยนั้น ซึ่งมีตั้งแต่ประจวบคีรีขันธ์ลงไปถึงสุดปลายคาบสมุทรสยาม-มลายูได้เดินทางไปสักการบูชาพระบรมธาตุ เจดีย์นครฯ ได้สะดวกยิ่งขึ้น เพราะเดือนหกฝนตกมาก เดือนสามฝนไม่ตกเป็นฤดูร้อน การเดินทางสะดวกกว่า อย่างไรก็ตาม การแห่ผา้ ขึน้ ธาตุหรือแห่ผา้ พระบฏของชาวไทยภาคใต้ (ทัง้ สยามและไทกลุม่ อืน่ ๆ) ทีแ่ ห่กนั ในวันวิสาขบูชา และวั น อื่ น ๆ ก็ ยั ง มี อ ยู ่ ต ลอดทั้ ง ปี แต่ ก ารแห่ ผ ้ า ขึ้ น ธาตุ ที่ มี ค นมากและให้ ค วามส�ำ คั ญ มากคื อ วั น มาฆบู ช า และวันวิสาขบูชา บ้างก็เรียกว่า ประเพณีมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ และประเพณีวิสาขบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ ผ้าพระบฏ หรือผ้าขึ้นธาตุที่แห่นั้น ถ้าเป็นของส่วนรวมคือผ้าพระบฏผืนที่ชาวปากพนังอัญเชิญไปถวายพระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราช ในส่วนของราษฎรโดยทั่วไปก็จัดหาผ้ากันเองอย่างที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน

ภาพ: เสกสรร เสาวรส พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

166 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แม้เวลาผ่านไปนานมากแล้ว แต่การปฏิบัติดังกล่าวนี้ก็อยู่ในวิถีชีวิตของลูกหลานชาวเมืองศรีธรรมราช มหานครหรือเมือง ๑๒ นักษัตร คือเมืองกลันตัน ปาหัง ไทรบุรี สายบุรี ปัตตานี พัทลุง ตรัง บันทายสมอ สระอุเลา ตะกั่วป่า ถลาง ชุมพร และกระบุรี จึงกลายเป็นประเพณีส�ำคัญเรียกกันมาว่า ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ด้วยเวลาที่ผ่าน ไปยาวนานผ้าพระบฏดั้งเดิมก็ขาดหายถูกท�ำลายด้วยกาลเวลา ดังนั้น ชาวเมืองนครศรีธรรมราชและชาวไทยภาคใต้ จึงแห่ผ้าขึ้นธาตุด้วยการจัดท�ำผ้าพระบฏกันขึ้นมาเอง บ้างก็สีขาววาดเรื่องราวพระพุทธเจ้า บ้างก็สีเหลืองและสีแดง ก็มี ทั้งนี้จุดประสงค์ส�ำคัญคือการได้น�ำผ้าขึ้นห่มบูชาองค์พระบรมธาตุเจดีย์นครฯ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๐ หน่วยงาน ราชการก็ทำ� หนังสือกราบทูลขอผ้าพระบฏพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์ พระราชทานมาและชาวนครศรีธรรมราช ชาวใต้ และชาวไทยจากต่างจังหวัดภาคอื่นๆ ก็ได้ร่วมกันอัญเชิญแห่ขึ้นห่ม องค์พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ในวันมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุหรือประเพณีมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ ต่อมาชาว นครศรีธรรมราชก็ได้กราบทูลขอผ้าพระบฏพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จึงนับได้ว่าเป็นสิริมงคลยิ่งแก่ชาวนครศรีธรรมราช ชาวไทยภาคใต้ ชาวไทย และเหล่าพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุนครศรีธรรมราชต่อมาได้ด�ำเนินการให้สัมพันธ์กับ ประเทศอื่นที่นับถือศาสนาพุทธ จึงเชิญให้ประเทศดังกล่าวมาร่วมแสดงผ้าพระบฏของแต่ละประเทศ และนิมนต์ พระภิกษุจากต่างประเทศมาร่วมในพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาด้วย และเรียกชื่อประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุแต่เดิมเป็น “ประเพณีมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติที่เมืองนครศรีธรรมราช” ประเทศที่เข้าร่วมน�ำผ้าพระบฏมาแสดงและ พระภิกษุมาร่วมในพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ ศรีลังกา อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา มาเลเซีย ธิเบต เนปาล ญี่ปุ่น และจีน ประเพณีมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ หรือแห่ผ้าพระบฏในปัจจุบันจึงกลายเป็นประเพณีนานาชาติ มิได้จ�ำกัด อยูเ่ ฉพาะในกลุม่ คนไทย และประเทศเพือ่ นบ้านใกล้เคียงเท่านัน้ แต่ได้ขยายวงกว้างออกไปในกลุม่ ประเทศเอเชียแทบ ทั้งหมด จึงนับเป็นก้าวส�ำคัญในการสร้างความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของชาวเอเชียโดยมีพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราชประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง การหลอมใจของชาวเอเชียให้เป็นหนึง่ เดียวกันได้เช่นนีน้ บั ว่าเป็นภูมปิ ญ ั ญา ส�ำคัญยิง่ เพราะความรักความสามัคคีความสัมพันธ์ทดี่ จี ะเกิดขึน้ ในกลุม่ ประเทศทีม่ าร่วมกันในประเพณีแห่ผา้ พระบฏ นานาชาติที่นครศรีธรรมราช หรือแห่ผ้าขึ้นธาตุ(เมืองนครฯ) ดังกล่าวนี้

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 167


การปฏิบัติประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุหรือแห่ผ้าพระบฏนั้นยังปฏิบัติกันอยู่อย่างเข้มแข็ง เพราะเมื่อถึงวัน ดังกล่าวนี้จะมีผู้คนหลั่งไหลไปที่วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช (วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช) จ�ำนวนมากแน่นขนัดไปทัง้ วัดและล้นออกมานอกวัด ในการแห่ผา้ จะมีผคู้ นเข้าร่วมขบวนแห่จำ� นวนมาก และมีหน่วยงาน ราชการ บริษทั ห้างร้านจ�ำนวนมากท�ำผ้าพระบฏเข้าร่วมในขบวนมีความยาวหลายกิโลเมตร เริม่ ต้นการแห่ทหี่ น้าศาลา ประดู่หกซึ่งอยู่ตรงกันข้ามสนามหน้าเมืองนครศรีธรรมราช ในการแห่จะมีผ้าพระบฏพระราชทานเป็นประธาน และมี ผ้าพระบฏของหน่วยต่างๆ ทัง้ ทีม่ วี าดเรือ่ งราวพระพุทธเจ้าและไม่มี หลากสีทงั้ สีขาว สีเหลืองและสีแดง เข้าร่วมขบวน แห่ ก่อนถึงวันแห่จะมีการจัดสมโภชผ้าพระราชทานก่อน โดยจัดสมโภชที่อ�ำเภอปากพนัง เพราะเป็นสถานที่พบผ้า พระบฏผืนแรกในสมัยของพระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราช รุ่งเช้าอัญเชิญมาที่นครศรีธรรมราช เมื่อหลายปีก่อน อัญเชิญตั้งไว้ศาลาประดู่หก ต่อมาอัญเชิญไปตั้งไว้ที่สวนสาธารณะศรีธรรมาโศกราชเพื่อให้พุทธศาสนิกได้บูชา ตอนเย็นถึงค�่ำมีการท�ำพิธีทางพระพุทธศาสนาอีกครั้งหนึ่ง รุ่งขึ้นเช้าถึงวันมาฆบูชาก็อัญเชิญออกแห่ไปสู่วัดพระบรม ธาตุนครศรีธรรมราชดังกล่าวแล้ว ก่อนถึงวันมาฆบูชาจะมีการกวนข้าวยาคู (ชาวไทยภาคใต้เรียกข้าวยาโค) หรือ ข้าวมธุปายาสเพื่อเป็นพุทธบูชา ในการกวนข้าวยาคูหรือข้าวมธุปายาสนั้นกวนที่ด้านทิศเหนือขององค์พระบรมธาตุฯ ใกล้กับรอยพระพุทธบาท พิธีกวนข้าวยาคู(ยาโค)หรือมธุปายาสจะเริ่มตั้งแต่ตอนบ่ายของวันก่อนวันรุ่งขึ้นเป็นวัน มาฆบูชา ทั้งนี้เพื่อร�ำลึกถึงการกวนข้าวมธุปายาสของนางสุชาดาที่กวนข้าวมธุปายาสถวายแด่องค์พระสัมมา สัมพุทธเจ้าเมื่อครั้งพุทธกาลและส่งผลให้พระพุทธเจ้าตรัสรู้ในช่วงเวลาใกล้รุ่งของวันต่อมา ที่ส�ำคัญคือเสมือนหนึ่ง เป็นการปฏิบัติบูชาต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอันเนื่องในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนานั่นเอง ข้าวมธุปายาสดังกล่าวนี้ จะแจกจ่ายให้แก่ผู้ไปในประเพณีมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ ผู้ที่ได้รับก็มักจะบริจาคปัจจัยเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา การกวนข้าวมธุปายาสซึ่งถือว่าเป็นอาหารอายุวัฒนะนั้น นอกจากจะกวนกันในวัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราชแล้ว ยังมีการกวนกันทีว่ ดั ต่างๆ และทีส่ วนสาธารณะศรีธรรมาโศกราชด้วย ทัง้ นีเ้ พราะต้องการกระจาย บุญกุศลให้ทั่วถึงกันนั่นเอง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

168 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาพ: จามิกร ศรีค�ำ

ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ หรือมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุนครศรีธรรมราช หรือแห่ผ้าขึ้นธาตุนานาชาติ เมืองนครศรีธรรมราช นับวันจะมีผู้คนหลั่งไหลเข้ามามากขึ้นตามล�ำดับ เพราะชาวพุทธทั่วโลกส่วนใหญ่รู้จัก พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช อันเนื่องจากการจัดประเพณีที่มีความกว้างใหญ่มากขึ้นขยายขอบเขตการ ด�ำเนินการไปสู่ประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงและชาวต่างประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา อีกทั้งอยู่ระหว่างการขอ ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกอยู่ในบัญชีเบื้องต้นแล้ว ประกอบกับการสื่อสารที่ทันสมัยรวดเร็วและการไปมาสะดวกกว่า สมัยก่อน จึงท�ำให้ตัวเมืองนครศรีธรรมราชในวันดังกล่าวคลาคล�่ำไปด้วยผู้คนจากที่ต่างๆ ทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศ และมีการถ่ายทอดวิทยุ และวิทยุโทรทัศน์ออกไปสูเ่ ขตพืน้ ทีท่ วั่ ประเทศและวิทยุโทรทัศน์ดาวเทียมทัว่ โลก จึงท�ำให้การรับรู้เรื่องประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุที่นครศรีธรรมราชมีมากขึ้นและขยายวงกว้างไปทั่วโลก เอกสารอ้างอิง

ต�ำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ฉบับ อักขรวิธีเดิม

บุคคลอ้างอิง

พระเทพวินยาภรณ์ เจ้าอาวาส วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร พระครูวิศิษฏ์คณาทร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธาตุวรมหาวิหาร ผศ. ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 169


ประเพณีการท�ำบุญในพุทธศาสนา    “บุ ญ ”หรื อ “ปุ ญ ญ” แปลว่ า ช� ำ ระ มี ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ว่า “เครือ่ งช�ำระสันดาน ความดี คุณงามความดี กุศล ความสุข ความประพฤติชอบทางกาย วาจาและใจ ความสะอาด ความผ่องแผ้วแห่งจิต” “บุญ” อาจกล่าวอธิบายได้ ๓ ประการ คือ ๑. กล่าวโดยเหตุ “บุญ” คือ การกระท�ำความดีตามหลักค�ำสอนในพระพุทธศาสนา อันหมายถึงการท�ำ กิจใดๆ ที่เป็นการช�ำระหรือล้างจิตใจให้บริสุทธิ์ ผ่องใส หมดจดจากมลทิน เครื่องเศร้าหมอง อันได้แก่ โลภะ โทสะ และโมหะ เพื่อให้ได้ความสุขกายสบายใจ ๒. กล่าวโดยผล “บุญ” คือ ความสุขอันเกิดขึน้ จากใจทีส่ งบ เมือ่ เกิดขึน้ ในจิตใจแล้วท�ำให้จติ ใจใสสะอาด ปราศจากความเศร้าหมองขุ่นมัว คิดพูดและท�ำสิ่งที่ดี ที่ถูก ที่ควร ที่เป็นประโยชน์ ๓. กล่าวโดยสภาพ “บุญ” คือ จิตใจที่บริสุทธิ์ผ่องใส อันเกิดจากการที่จิตใจได้รับการช�ำระล้างจากการ ท�ำบุญ หรือการท�ำความดี นั่นเอง วิธีการท�ำบุญ ในพระพุทธศาสนาเรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ซึ่งในพระไตรปิฎกระบุไว้ ๓ อย่าง คือ ทาน ศีล ภาวนา และในคัมภีรส์ มุ งั คลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกาย มีขอ้ ปลีกย่อยเพิม่ นอกเหนือจากในพระไตรปิฎก อีก ๗ ประการ คือ อปจารยะ เวยยาวัจจะ ปัตติทานะ ปัตตานุโมทนา ธัมมัสสวนะ ธัมมเทสนา ทิฏฐุชุกัมม์ จึงรวมเป็น บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ หมวด คือ หมวดทาน หมวดศีล และหมวดภาวนา แหล่งปฏิบัติในการท�ำบุญ ยังยึดถือปฏิบัติกันอยู่ทั่วไปในสังคมไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา เรียบเรียงโดย พ.อ.(พิเศษ) อ�ำนาจ พุกศรีสุข พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

170 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


วิธีท�ำบุญแบ่งออกได้ ๒ อย่างคือ ๑.การท�ำบุญเกี่ยวกับจารีตประเพณี และ ๒. การท�ำบุญโดยปกติ ๑. การท�ำบุญเกี่ยวกับจารีตประเพณี การท�ำบุญเกี่ยวกับจารีตประเพณี คือการท�ำบุญเนื่องในงานประเพณีที่มีมาแต่เดิม ซึ่งเป็นประเพณี เกี่ยวกับชีวิตของชาวไทย แบ่งออกได้ ๒ ประเภทคือ ๑.๑ ประเพณีเกี่ยวกับชีวิตและครอบครัว ได้แก่ ประเพณีเกี่ยวกับการเกิด ประเพณีเกี่ยวกับการ เลี้ยงลูก ประเพณีบวชนาค ประเพณีแต่งงาน ประเพณีปลูกเรือน ประเพณีท�ำบุญบ้าน ประเพณีท�ำบุญอายุ ประเพณีท�ำศพ ๑.๒ ประเพณีเ กี่ยวกั บส่ วนรวม เนื่ อ งด้ วยเทศกาล คื อ คราวสมั ย ที่ ก� ำ หนดขึ้ น เป็ น ประเพณี เพื่อท�ำบุญและรื่นเริง เช่น ตรุษ สงกรานต์ เข้าพรรษา สารท และออกพรรษา เป็นต้น ประเพณีที่กล่าวมาแล้วเหล่านี้ ย่อมมีการท�ำบุญทางพระพุทธศาสนาอยู่ด้วย เช่น ท�ำบุญเลี้ยงพระ และท�ำบุญตักบาตร เป็นต้น ๒. การท�ำบุญโดยปกติ ๒.๑ หมวดทาน ๑) ทาน (ทานมัย) คือ วิธีการท�ำบุญด้วยการบริจาค การให้ การเอื้อเฟื้อ การเผื่อแผ่แบ่งปัน หรือ การสละสิ่งของหรือทรัพย์สมบัติที่ควรให้ของตน ไม่ว่าจะเป็นเงินทอง ข้าวของเครื่องใช้ หรือสิ่งอื่นใดที่มีอยู่ ให้แก่ผู้ที่ ควรให้ เพื่อประโยชน์แก่เขา โดยมุ่งหวังจะจุนเจือให้เขาได้รับประโยชน์และความสุข ด้วยความเมตตา การท�ำทานนั้น ควรให้ดว้ ยเจตนาทีบ่ ริสทุ ธิ์ ให้ดว้ ยความปรารถนาดี เพือ่ ให้ผรู้ บั ได้สงิ่ จ�ำเป็นทีเ่ ขาต้องการ สิง่ ของทีใ่ ห้ตอ้ งอยู่ ในสภาพ ที่ใช้งานได้ และการบริจาค ต้องดูความเหมาะสมของสิ่งที่ให้กับผู้ได้รับด้วย การให้นั้นต้องมีผู้รับ จะเป็นพระ ฆราวาส คนรวย คนจน คนมีศีล คนไม่ศีล แม้แต่สัตว์เดรัจฉาน หรือเปรตบางจ�ำพวกก็ได้ ทั้งนี้ผู้รับทานนั้น หากเป็นคนดี มีคุณธรรมมาก อานิสงส์แห่งทานก็ยิ่งมากตามไปด้วย

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 171


วัตถุประสงค์ของการให้ทานในทางพระพุทธศาสนา มีดังนี้ คือ (๑) เพื่ออนุเคราะห์ คือ ช่วยเหลือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ เช่นผู้ประสบภัย ขาดแคลน หรือได้ รับความทุกข์ยาก ด้วยความกรุณา คือคิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์ (๒) เพื่อสงเคราะห์ คือ เกื้อกูลกันในหมู่ญาติ เพื่อนบ้าน มิตรสหาย เป็นการแสดงไมตรีจิตต่อกัน ด้วยความเมตตา คือคิดจะให้เขาเป็นสุข (๓) เพือ่ บูชาคุณ เช่น บูชาคุณบิดา มารดา ผูม้ อี ปุ การะอืน่ ๆ รวมทัง้ พระภิกษุ สามเณร ผูป้ ระพฤติดี ประพฤติชอบ เป็นการบูชาท่านผู้ควรบูชา เราจ�ำแนกทานออกเป็น ๒ ประเภท คือ อามิสทานและธรรมทาน ๑.๑) อามิสทาน หมายถึงการให้ทานด้วยการสละทรัพย์หรือวัตถุทเี่ ป็นของนอกกาย เช่น เงิน สิง่ ของ หรือของในกาย เช่น เลือด อวัยวะ แก่ผู้อื่น ด้วยความเมตตา เช่น ถวายทานแด่พระภิกษุสามเณร ให้ทานแก่คนชรา ขอทาน ผู้ตกยาก เป็นต้น ซึ่งผลบุญที่ได้จากทานนั้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก ๔ อย่าง (พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ ข้อ ๗๑๙) คือ ๑.๑.๑) ผูใ้ ห้ทานมีความบริสทุ ธิ์ หมายถึง ผูใ้ ห้ตอ้ งมีศลี มีธรรมและมีเจตนาทีบ่ ริสทุ ธิใ์ นการ ท�ำจึงจะได้บุญมาก หากผู้ท�ำทานเป็นคนไม่ถือศีลเลย เวลาเราท�ำทานก็จะได้บุญน้อย หากผู้ท�ำทานเป็นคนถือศีล ก็จะได้บุญมากขึ้น ยิ่งศีลมากขึ้น ก็จะยิ่งได้บุญมากขึ้นด้วย ๑.๑.๒) เจตนาของผู้ให้บริสุทธิ์ คือ เจตนาในขณะให้ทานบริสุทธิ์ หากผู้ให้มีความตั้งใจดี ให้ทานด้วยความบริสุทธิ์ใจ ด้วยความเมตตา ด้วยความปรารถนาดี ทั้งก่อนให้ก็มีความสุขที่จะได้ให้ ขณะให้ก็มี ความสุขใจ และหลังจากให้แล้วก็เบิกบานใจ คิดถึงบุญกุศลที่ได้ท�ำเมื่อใด จิตใจก็ผ่องใสเมื่อนั้น เช่นนี้ก็จะท�ำให้ผู้ท�ำ ได้บุญมาก ถ้าไม่รู้สึกเช่นนั้น บุญก็ลดน้อยถอยลงตามเจตนา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

172 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๑.๑.๓) วัตถุที่ให้มีความบริสุทธิ์ คือ วัตถุทานที่ให้ ได้แก่ สิ่งของ ทรัพย์สมบัติ ที่ตนได้สละ ให้เป็นทานนั้นจะต้องเป็นของที่บริสุทธิ์ เป็นสิ่งของที่ตนเองได้แสวงหามาโดยชอบ ได้มาด้วยความบริสุทธิ์ในการ ประกอบอาชีพ ไม่ใช่ของที่ได้มาเพราะการเบียดเบียนผู้อื่น เป็นของที่เหมาะและมีประโยชน์ต่อผู้รับ ๑.๑.๔) ผู้รับมีความบริสุทธิ์ ผู้รับคือ “เนื้อนาบุญ” จะต้องเป็นผู้มีศีล มีคุณธรรมความดี แต่ไม่จ�ำเป็นจะต้องเป็นพระสงฆ์ หรือนักบวช จะเป็นคนทั่วไปก็ได้ ถ้าผู้รับดี ผู้ท�ำก็ได้บุญมาก หากผู้รับไม่ดีก็อาจจะ ท�ำให้เราได้บุญน้อย เปรียบดังการหว่านเมล็ดข้าว หากหว่านลงนาดีย่อมได้ผลผลิตมาก แต่หากหว่านลงไปบนพื้นดิน แห้งก็คงไม่ได้อะไร ฉะนั้นในการท�ำทาน ตัวบุคคลผู้รับของที่เราให้ทานจึงเป็นเงื่อนไขที่ส�ำคัญที่สุด ๑.๒) ธรรมทาน หมายถึงการให้อะไรก็ตามที่ไม่ใช่วัตถุสิ่งของ เช่น การให้ความรู้ ให้อภัย ให้สติ ให้ข้อคิด เป็นต้น แบ่งออกเป็น ความรู้ทางโลก เช่น ให้วิชาความรู้ต่างๆ เรียกว่า วิทยาทาน และความรู้ทางธรรม เป็นการแนะน�ำสั่งสอนชี้แจงให้ผู้อื่นรู้จักบาปบุญคุณโทษ เช่น สอนให้ละชั่ว ประพฤติดี ท�ำใจให้ผ่องใส เรียกว่า ธรรมทาน ถือว่าเป็นการให้ทานที่ได้บุญสูงสุด ๒) ปัตติทานะ (ปัตติทานมัย) คือ การอุทิศส่วนบุญ ที่ตนถึงพร้อมแล้วแก่ผู้อื่น สามารถให้ได้ทั้งผู้ที่มี ชีวติ อยูแ่ ละล่วงลับไปแล้ว การอุทศิ บุญนัน้ ผูท้ จี่ ะรับผลบุญต้องโมทนาบุญคือยินดีในบุญทีเ่ ขาให้จงึ จะได้รบั บุญ ถ้าเป็น คนด้วยกันก็สามารถบอกกล่าวกันได้โดยตรงว่า“วันนีไ้ ปท�ำบุญมานะ เอาบุญมาฝาก” ให้เขาอนุโมทนา คนตายก็อธิษฐาน ไปให้ได้ และเทวดาก็สามารถส่งจิตถึงท่านได้ แต่ส�ำหรับสัตว์ในอบายภูมิปกติจะไม่สามารถรับบุญจากการอุทิศส่วน บุญได้ ยกเว้นเปรตบางประเภทที่เรียกว่า ปรทัตตุปชีวิกเปรต เปรตประเภทนี้อยู่ได้ด้วยการขอส่วนบุญ ส่วนการอุทิศ บุญให้สมั ภเวสีคอื วิญญาณเร่รอ่ นทีต่ ายก่อนถึงอายุขยั ด้วยอุปฆาตกรรมนัน้ จะต้องเฉพาะเจาะจงชือ่ จึงจะได้รบั ผลบุญ นอกจากนี้ ปัตติทานมัย ยังหมายรวมถึงการเปิดโอกาสให้คนอื่นได้มาร่วมท�ำบุญด้วย ๓) ปัตตานุโมทนา (ปัตตานุโมทนามัย) คือ การยอมรับหรือการพลอยยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นท�ำ โดยกล่าวสาธุ (หรืออนุโมทนาในใจ) ก็ได้บญ ุ แล้ว แม้ตนเองไม่ได้ประกอบการท�ำบุญขึน้ มาเอง แต่ได้ไปพบ ได้รบั ทราบ ว่ามีผู้ท�ำบุญ ก็ร่วมอนุโมทนา ที่เขามีโอกาสได้ไปท�ำบุญ รู้สึกชื่นชมยินดีไปด้วย จะท�ำให้เรามีจิตใจไม่เศร้าหมอง แต่จะแช่มชื่นอยู่เสมอ เพราะได้ยินดีกับกุศลผลบุญต่างๆ อยู่ตลอดเวลา แม้จะมิได้ท�ำเองโดยตรงก็ตาม การอนุโมทนา หรือร่วมยินดีด้วย เป็นการเพิ่มบุญให้กับตนเอง และผู้ประกอบบุญนั้นๆ การอนุโมทนาที่สมบูรณ์ต้องมีจิตประกอบ ด้วยปีติโสมนัส

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 173


๒.๒ หมวดศีล “ศีล” นั้น แปลว่า “ปกติ” คือ สิ่งหรือกติกาที่บุคคลจะต้องระวังรักษาตามเพศและฐานะ ศีลมีหลาย ระดับ คือ ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ และ ศีล ๒๒๗ และในบรรดาศีลชนิดเดียวกันก็ยังจัดแบ่งออกเป็นระดับธรรมดา มัชฌิมศีล (ศีลระดับกลาง) และอธิศีล (ศีลอย่างสูง ศีลอย่างอุกฤษฏ์) ๔) ศีล (ศีลมัย) คือ ข้อบัญญัติทางพระพุทธศาสนา ที่ก�ำหนดไว้เพื่อให้ส�ำรวมกาย วาจา ใจ ให้สงบ เรียบร้อย มีความประพฤติดี อันเป็นทีต่ งั้ แห่งกุศลธรรม การรักษาศีล เป็นการฝึกฝนมิให้ไปเบียดเบียนสร้างความเดือด ร้อนให้แก่ตนเองและผูอ้ นื่ ในขณะเดียวกันก็เป็นการลด ละ เลิกความชัว่ มุง่ ให้กระท�ำความดี อันเป็นการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต มิให้ตกต�่ำลง ศีลมัยจ�ำแนกเป็นระดับต่างๆ คือ ๔.๑) ศีล ๕ ส�ำหรับสามัญชนทั่วไป ๔.๒) ศีล ๘ หรือ อุโบสถศีล ส�ำหรับอุบาสกอุบาสิกา ๔.๓) ศีล ๑๐ ส�ำหรับสามเณร ๔.๔) ศีล ๒๒๗ ส�ำหรับพระภิกษุ การรับศีล (วิรัติศีล) นั้น ในพระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๑–หน้าที่ ๕๕๘ ได้กล่าวเอาไว้ว่า ศีลสามารถวิรัติศีล ได้ ๓ วิธีคือ (๑) สัมปัตตวิรัติ ได้แก่ เจตนางดเว้น ซึ่งเกิดขึ้นในทันทีทันใด ที่ประจวบกับเหตุที่จะท�ำให้เสียศีล หมายความว่า เดิมไม่ได้ตั้งใจจะรักษาศีล ไม่ได้สมาทานไว้ แต่เมื่อพบกับเหตุที่ตนจะล่วงศีลได้ จึงคิดงดเว้นขึ้น ในขณะนั้น ท�ำให้ศีลเกิดขึ้น เฉพาะชั่วระยะหนึ่ง ขณะที่จิตคิดงดเว้นเท่านั้น ก่อนนั้นก็ไม่มีศีล หลังจากนั้นก็ไม่มีศีล จ�ำเพาะมีในเวลาตั้งใจ งดเว้นเท่านั้น (๒) สมาทานวิรัติ คือ การงดเว้นด้วยการสมาทาน หมายความว่า เราได้ตั้งใจไว้ก่อนว่า จะรักษา ศีล(ไม่ว่าจะเป็นการไปรับสมาทานศีลที่วัด หรือกล่าวเองที่บ้าน หรือ คิดขึ้นมาในใจว่าเราจะรักษาศีลที่เรียกว่า เจตนาวิรัติ อย่างนี้ก็ถือเป็นสมาทานวิรัติเหมือนกัน) ครั้นไปพบเหตุการณ์อันชวนให้ล่วงศีล ก็ไม่ล่วงเพราะถือว่า ตนได้สมาทานศีลไว้ (๓) สมุจเฉทวิรัติ แปลว่า งดเว้นเด็ดขาด หมายถึง การงดเว้นของพระอริยะตั้งแต่พระโสดาบัน เป็นต้นไป พระอริยบุคคลทั้งหลายไม่เคยแม้แต่จะเกิดความคิดว่า เราจักฆ่าสัตว์มีชีวิต หรือ เบียดเบียนผู้อื่น ดังนั้น ท่านจึงมีศีลบริสุทธิ์ ตลอดเวลา ไม่มีความเศร้าหมองของศีล

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

174 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๕) อปจารยนะ (อปจายนมัย) คือ ความเป็นผูน้ อบน้อมไม่แข็งกระด้าง แสดงคารวะต่อผูท้ คี่ วรนอบน้อม ทั้งผู้ที่สูงกว่าด้วยวัย ด้วยชาติตระกูล และด้วยคุณธรรม ๖) เวยยาวัจจะ (เวยยาวัจจมัย) คือ การขวนขวายช่วยเหลือในกิจที่ชอบที่ควรกระท�ำให้ลุล่วง คือ ใช้ทรัพย์ แรงกาย สติปัญญา และก�ำลังใจ ช่วยงานผู้อื่นหรือช่วยงานสาธารณะให้ลุล่วง หรือผ่านพ้นปัญหาอุปสรรค ไปได้ด้วยดี ด้วยวิธีที่ถูกที่ควร ๒.๓ หมวดภาวนา ๗) ธัมมัสสวนะ (ธัมมัสสวนมัย) คือ การฟังธรรม หรือฟังค�ำแนะน�ำอันเป็นธรรม เป็นการศึกษา หาความรู้เพื่อให้เข้าใจในหลักพระธรรมค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จนเกิดปัญญา ไม่ว่าจะฟังธรรมโดยตรง หรือจากสื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ ก็นับว่าเป็นการฟังธรรมทั้งนั้น ๘) ธัมมเทสนา (ธัมมเทสนามัย) คือ การแสดงธรรม เมื่อได้ศึกษาธรรมะแล้ว ท�ำการถ่ายทอด หรือให้ค�ำแนะน�ำอันเป็นธรรมแก่ผู้อื่น ด้วยใจที่หวังจะให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์ โดยที่ตนมิได้มุ่งหวังในลาภสักการะใดๆ การแนะน�ำคนให้เกิดปัญญาแม้เล็กน้อย นับเป็นบุญประการหนึ่ง ที่ให้ผลมากว่าทานทั้งปวง ๙) ภาวนา (ภาวนามัย) คือ การอบรมจิตให้ตงั้ มัน่ อยูใ่ นความดี ภาวนาส�ำหรับคนทัว่ ไป ได้แก่ การศึกษา เล่าเรียน หมั่นฟัง หมั่นคิด หมั่นท่องบ่นหลักวิชาการต่างๆ หมั่นสนทนากับ ท่านผู้รู้จนเกิดความฉลาด หรือโดยการ สวดมนต์ อ่านหนังสือธรรมะ ฯลฯ เพื่อท�ำใจให้สงบ ท�ำปัญญา (ความรู้แจ้งเห็นจริง) ให้เกิดขึ้น การภาวนาที่ละเอียด มากขึ้น ได้แก่ สมถภาวนา (สมถกัมมัฏฐาน) คือการท�ำจิตให้อยู่ในอารมณ์เดียว ด้วยการนั่งสมาธิ และวิปัสสนา ภาวนา (วิปัสสนากัมมัฏฐาน) คือใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นแจ้งในธรรมชาติของสังขารธรรมทั้งปวง ด้วยการฝึกฝน การทรมาน การดัดสันดานและด้วยการข่มใจ ๒.๔ หมวดที่เข้าได้กับทุกหมวด ๑๐) ทิฏฐุชุกัมม์ (ทิฏฐุชุกัมม์) คือ การท�ำหรือการปรับปรุงความคิดเห็นของตนให้ให้ตรง (ตามท�ำนอง คลองธรรม) หรือ สัมมาทิฏฐิ แปลว่า ความเห็นถูกต้อง หมายถึงความเห็นที่ถูกคลองธรรม เห็นตามความเป็นจริง เป็นความเห็นที่เกิดจากโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยปัญญา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 175


บุญ คือที่พึ่งของสัตว์โลก กล่าวคือ มนุษย์หรือสัตว์โลกทั้งหลายจะอยู่ดีมีสุขก็ด้วยบุญกุศล จะทุกข์ยาก เดือดร้อนก็ด้วยบาปอกุศลที่ตนได้เคยกระท�ำไว้ บุญอันบุคคลได้บ�ำเพ็ญและสั่งสมไว้ดีแล้ว ย่อมให้ผลเป็นความส�ำเร็จ เป็นความเจริญรุ่งเรือง และสันติสุขในชีวิต กิจที่ท�ำในการท�ำบุญ นั้นต้องเป็นประโยชน์ต่อตนเอง และผู้อ่ืน โดยถูก ท�ำนองคลองธรรม ซึ่งการท�ำความดีทุกอย่างย่อมไม่มีข้อจ�ำกัดเขตหรือจ�ำกัดเวลาใดๆ ถ้าเป็นการท�ำความดีแล้ว จะท�ำอย่างไรหรือเมื่อไรก็นับเป็นการท�ำบุญทั้งสิ้น และการท�ำบุญหมายรวมถึงการเว้นความชั่วด้วย ทานเป็นเครื่องก�ำจัดกิเลสอย่างหยาบคือความโลภ เพราะการให้ทานเป็นการลดความเห็นแก่ตัว ความตระหนี่ถี่เหนียว และความคับแคบในจิตใจให้น้อยลง ท�ำให้เราไม่ยึดติดในวัตถุสิ่งของ อีกทั้งสิ่งที่เราบริจาคหรือ ให้ทานแก่ผอู้ นื่ ก็จะช่วยบรรเทาความเดือดร้อน และเป็นประโยชน์ตอ่ ผูร้ บั และสังคมโดยส่วนรวม ผูท้ ไี่ ด้บญ ุ จากทานมัย ย่อมเป็นคนกว้างขวาง เป็นที่รักและเคารพของปวงชน ศีลมัย เป็นกิจที่ช่วยก�ำจัดกิเลสอย่างกลาง คือความโกรธได้ ผู้ที่ได้บุญจากศีลมัยย่อมกลายเป็นคนสุขุม เยือกเย็น เป็นที่รักและเคารพของชนทั้งหลาย หมดความรังเกียจซึ่งกันและกัน ทั้งท�ำให้เป็นคนองอาจด้วย การรักษาศีลได้อานิสงส์มากกว่าการให้ทาน ภาวนามัย เป็นข้อส�ำคัญที่สุดในบุญกิริยาทั้งหลาย ผู้ที่ได้บุญจากการภาวนามัยย่อมเป็นคนหนักแน่น มั่นคง แม้กระทบกระทั่งอารมณ์ใดๆ ย่อมจะไม่หวั่นไหวไปตามอารมณ์นั้นๆ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ นั้น มีเฉพาะทานเท่านั้นที่ต้องใช้ทรัพย์สินเงินทองในการท�ำ และในบรรดาทาน ทั้งปวง ธรรมทาน มีคุณค่ากว่าการให้ทานทั้งปวง เพราะท�ำให้ผู้รับมีปัญญารู้เท่าทันกิเลส สามารถน�ำไปใช้ได้ไม่รู้จัก จบสิ้น ทั้งชาตินี้และชาติต่อไป ส่วนทานชนิดอื่นๆ ผู้รับได้รับแล้วไม่ช้าก็หมดสิ้นไป ดังพุทธพจน์ “สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ” การให้ธรรมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง อานิสงส์การให้ธรรมเป็นทานพระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “แม้ให้พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์สาวก นั่งเรียงกันจากโลกมนุษย์ไปจนถึงพรมโลก แล้วถวายผ้าไตรครบทุกองค์ยังได้บุญน้อยกว่าการให้ธรรมทาน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

176 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


สถานภาพปัจจุบนั และผลทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เรือ่ งของเจตนาในการท�ำบุญเป็นเรือ่ งทีล่ ะเอียดอ่อนมากและสร้าง ความแตกต่างในบุญได้มากทีส่ ดุ เพราะเป็นเรือ่ งของจิตใจ เจตนาทีไ่ ม่คอ่ ยบริสทุ ธิก์ บั เจตนาทีบ่ ริสทุ ธิม์ ากๆ จะสามารถ ให้ผลบุญทีแ่ ตกต่างกันเป็นล้านๆ เท่า ในปัจจุบนั สังคมโลกถูกครอบง�ำโดยความคิดจากระบบทุนนิยม การท�ำบุญจึงได้ รับผลกระทบไปด้วยเช่นเช่นเดียวกันโดยเฉพาะท�ำให้เจตนาในการให้ทานเปลี่ยนไป เช่น บางคนให้ทานโดยหวังผล ประโยชน์บางอย่างตอบแทน ให้เพราะอยากได้หน้า ให้ไปแล้วรู้สึกเสียดายทั้งก่อนให้ ขณะให้และหลังจากให้ไปแล้ว ท�ำให้จิตตั้งอยู่บนความเศร้าหมอง ขุ่นมัว ผลบุญที่ได้ย่อมลดลง ในบุญกิริยาวัตถุทั้ง ๑๐ ประการ เป็นการท�ำบุญที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ในพระพุทธศาสนา โดยไม่ต้อง ใช้จ่ายเงินทองมากมาย มีบุญกิริยาประการเดียวคือ การให้วัตถุทานเท่านั้นที่ต้องใช้เงินทอง บุญกิริยาที่เหลืออีก ๙ ประการ มิต้องใช้เงินทองเลย ใครก็ตามแม้จะไม่มีโอกาส “ให้ทาน” อันเป็นการท�ำบุญที่ง่ายและเป็นรูปธรรมที่สุด แต่ก็สามารถเลือกท�ำบุญในลักษณะอื่นๆ ได้อีกถึง ๙ วิธี และเป็นสิ่งที่ท�ำได้ไม่ยาก เช่น การอ่อนน้อมถ่อมตน การช่วยเหลือแนะน�ำน้องๆ ที่ท�ำงาน การไม่ถือทิฐิหรือดื้อรั้น การร่วมยินดีกับการท�ำบุญของเพื่อน เป็นต้น ก็ถือว่า เป็นการท�ำบุญทีเ่ ห็นผลทันตา คือ ความอ่อนน้อมถ่อมตนท�ำให้ผใู้ หญ่เมตตาต่อเรา การช่วยเหลือเพือ่ นฝูงท�ำให้เพือ่ นๆ ก็รักใคร่ยินดีต้อนรับ ดังนั้น เริ่มต้นท�ำ“บุญ”เมื่อใด บุญก็ส่งให้เห็น“ผล”เมื่อนั้น ในสังคมปัจจุบันบุคคลทั่วไปมีความเข้าใจในเรื่องการท�ำบุญน้อยลง มัวแต่ดิ้นรนแสวงหา สะสมสิ่งต่างๆ ที่ในที่สุดก็ต้องทิ้งต้องจากไป มีความประมาทไม่เล็งเห็นผลของการสั่งสมบุญในชีวิตประจ�ำวัน ประมาทในบุญเล็กๆ น้อยๆ ว่ายังไม่ควรท�ำ ที่จริงแม้บุญเล็กน้อยนั้นถ้าได้สั่งสมบ่อยๆ ก็มีผลให้เกิดความสุข ฉะนั้นจึงมีความเร่งด่วน ที่จะต้องส่งเสริมให้มีการให้การศึกษาเรื่องการท�ำบุญที่ถูกต้องแก่มหาชน เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของคนทั้งหลาย และเพื่อความสงบสุขของสังคมโดยรวม เอกสารอ้างอิง

อรรถกถาพระไตรปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต อรรถกถาสูตร ที่ ๕ ประวัติพระอนุรุทธเถระ . อรรถกถาพระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลเมื่อ ๑-๗-๕๒ อรรถกถา เล่มที่ ๗๕ หน้า ๔๒๗ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ – หน้าที่ ๓๐๗ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๖ ข้อ ๔๔ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๑ – หน้า ๕๕๘ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ปิยังกรสูตร

ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูตร โอวาทปาฏิโมกข์ อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต อุทายีสูตร วิสุทิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ สติปัฏฐานสูตร ข้อ ๑๓๑ – ๑๕๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค สติปัฏฐานสูตร ข้อ ๒๗๓ – ๓๐๐ มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ อานิสงค์ ของการสร้างบุญบารมี โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก หนังสือ “ฉลาดท�ำบุญ” โดยเครือข่ายชาวพุทธเพื่อพระพุทธ ศาสนาและสังคมไทย พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 177


การแต่งงานแบบไทย ประเพณีแต่งงาน ถือเป็นธรรมเนียมที่ดีงาม เป็นประเพณีที่ส�ำคัญส�ำหรับวิถีชีวิตไทยที่ถือปฏิบัติ สืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนาน เป็นพิธีทีช่วยเสริมความเป็นสิริมงคลให้แก่ชีวิตคู่ส�ำหรับบ่าวสาวในการตัดสินใจ ครองคู่กันได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นการบ่งบอกว่าผู้ที่แต่งงานนั้นมีความเป็นผู้ใหญ่แล้ว มีความรับผิดชอบมากขึ้น การ แต่งงานเกิดขึ้นเมื่อชาย-หญิง มีความรักใคร่ต่อกันจนสุกงอม และพร้อมที่จะด�ำเนินชีวิตร่วมกัน เป็นครอบครัวอย่าง สามีภรรยา ประเพณีแต่งงานในประเทศไทย ยังคงยึดถือปฏิบัติกันอยู่ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งในแต่ละ ภูมิภาคจะมีขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ขั้นตอนและพิธีการที่แตกต่างกัน

พิธีแต่งงานภาคกลาง

พิธแี ต่งงานแบบไทยภาคกลาง ถือเป็นพิธแี ต่งงานทีค่ นุ้ เคยกันอยูเ่ ป็นอย่างดี เพราะส่วนใหญ่นยิ มแต่งงาน ตามแบบภาคกลาง ซึง่ ขึน้ ตอนของพิธกี ารแต่งงานแบบภาคกลางจะเริม่ ต้นจากหนุม่ สาวคูห่ นึง่ ทีต่ กลงปลงใจจะใช้ชวี ติ คู่ร่วมกันและพร้อมที่จะเข้าพิธีแต่งงานอย่างเป็นทางการ จะต้องมีการตกลงกันของทั้งสองฝ่ายเรื่องสินสอด รวมถึง ฤกษ์งานแต่งงาน ทั้งนี้เพื่อความเป็นสิริมงคลในการเริ่มต้นชีวิตคู่ ซึ่งมีล�ำดับพิธีการตามแบบฉบับภาคกลางดังนี้ ๑. พิธีสงฆ์ เป็นพิธีการแรกของการแต่งงาน เพื่อสร้างความเป็นสิริมงคลในงานแต่งงานของคู่บ่าวสาว ซึ่งเมื่อเสร็จพิธีสงฆ์แล้วล�ำดับต่อไป คือ พิธีขันหมาก

เรียบเรียงโดย พ.อ.(พิเศษ) อ�ำนาจ พุกศรีสุข พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

178 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๒. พิธขี นั หมาก ประกอบไปด้วย พิธกี ารตัง้ ขบวนแห่ขนั หมาก แห่ขนั หมาก รับขันหมาก ในปัจจุบนั นิยม จัดพิธีหมั้นและพิธีแต่งในวันเดียว ดังนั้น จึงมีการรวบรัดเอาขันหมากหมั้นและขันหมากแต่งเข้าไว้ด้วยกัน โดยจะที่มี ทั้งขันหมากเอกและขันหมากโท และเมื่อตั้งขบวนขันหมากเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนใหญ่จะมีขบวนกลองยาว น�ำหน้าเพือ่ สร้างความครึกครืน้ โดยขัน้ ตอนนีต้ อ้ งให้เจ้าสาวเตรียมตัวรอขันหมากบนบ้าน ส่วนเจ้าบ่าวก็จะไปบริเวณ ที่จัดขบวนขันหมาก เตรียมตัวรอฤกษ์เคลื่อนขบวนมาบ้านเจ้าสาว จากนั้นขบวนขันหมากจะเตรียมตัวเข้าไปในบ้าน ซึ่งจะต้องผ่านด่าน พิธีกั้นประตูทั้ง ๓ คือ ประตูนาก ประตูเงิน และประตูทอง โดยเจ้าบ่าวจะเตรียมซองเงินไว้ เพื่อเป็นสิ่งแลกเปลี่ยนขอผ่านประตู หลังจากนี้ถือเป็นพิธีการช่วงต่อไป ๓. พิธีสู่ขอและพิธีนับสินสอด ขั้นตอนต่อจากพิธีขันหมาก คือ การน�ำของจากขบวนขันหมากมาจัดวาง เรียงกัน จากนั้นเฒ่าแก่ฝ่ายชายจะเริ่มการเจรจาสู่ขอ เมื่อตกลงยินยอมยกลูกสาวให้ ผู้ใหญ่ฝ่ายเจ้าสาวจะน�ำพาน สินสอดออกมาเปิด เพื่อเข้าสู่พิธีนับสินสอด หลังจากนับสินสอดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายจะช่วยกัน โปรยถั่ว งา ข้าวเปลือก ข้าวตอก ดอกไม้ ใบเงิน ใบทอง ที่บรรจุมาในพานขันหมากเอกลงบนสินสอด แล้วท�ำพิธี สวมแหวนหมั้นต่อไป เมื่อเสร็จพิธีสวมแหวนหมั้นแล้วจึงเข้าสู่พิธีหลั่งน�้ำพระพุทธมนต์และประสาทพร ๔. พิธีหลั่งน�้ำพระพุทธมนต์และประสาทพร บ่าวสาวนั่งที่ตั่งเพื่อท�ำพิธีรดน�้ำสังข์ ซึ่งเจ้าสาวต้องนั่ง ด้านซ้ายของเจ้าบ่าวเสมอ ประธานในพิธคี ล้องพวงมาลัย สวมมงคลแฝดบนศีรษะของบ่าวสาว พร้อมกับเจิมทีห่ น้าผาก จากนั้นประธานหลั่งน�้ำพระพุทธมนต์และประสาทพรให้บ่าวสาว ตามด้วยพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ ผู้ร่วมงานที่เป็นผู้ใหญ่ และเชิญแขกอื่นๆ เข้ารดน�้ำตามล�ำดับความอาวุโส เมื่อเสร็จพิธีหลั่งน�้ำพระพุทธมนต์และประสาทพรเป็นพิธีรับไหว้

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 179


๕. พิธีรับไหว้ เป็นพิธีไหว้ผู้ใหญ่ เพื่อเป็นการฝากเนื้อฝากตัวของคู่บ่าวสาว ด้วยการก้มกราบแล้วจึง ส่งพานธูปเทียนให้ผู้ใหญ่ ท่านจะรับไหว้และผูกสายสิญจน์ที่ข้อมือคู่บ่าวสาว พร้อมกับให้พรและใส่ซองเงินหรือ ของมีค่าอย่างอื่นลงบนพานให้ไว้เป็นเงินทุนในการสร้างครอบครัว ๖. การกินเลี้ยงฉลองพิธีมงคลสมรส เมื่อเสร็จพิธีหลั่งน�้ำสังข์แล้ว จะมีการเลี้ยงอาหารแขกผู้มาร่วมงาน อาจมีดนตรีประกอบเพื่อความสนุกสนาน ครื้นเครง ถ้ามีการกินเลี้ยงในตอนเย็น เจ้าสาวมักเปลี่ยนจากชุดไทย เป็นชุดราตรียาว หรือที่เรียกกันว่า “ชุดเจ้าสาว” ในงานเจ้าสาว จะดูโดดเด่นและสวยกว่าใคร ๗. พิธีส่งตัวเข้าหอ เป็นพิธีส�ำคัญในช่วงสุดท้าย โดยผู้ใหญ่จะน�ำเจ้าสาวมาส่งตัวเข้าหอ ซึ่งเจ้าบ่าว จะมารออยู่ที่ห้องหอก่อนแล้ว ส่วนส�ำคัญของพิธีนี้จะอยู่ที่คู่ผู้ใหญ่ที่จะมาท�ำพิธีปูที่นอน ก่อนที่จะพาเจ้าบ่าวเข้ามา ในห้องหอแล้วเจิมหน้าผาก และน�ำตัวเจ้าสาวเข้ามา โดยที่เจ้าสาวจะต้องกราบพ่อแม่และญาติผู้ใหญ่ของตัวเอง เพื่อเป็นการขอพร และเมื่อเจ้าสาวเข้ามาในห้องแล้ว แม่เจ้าสาวต้องเป็นคนพาเจ้าสาวมามอบให้กับเจ้าบ่าว พร้อมพูดจาฝากฝังให้ช่วยดูแลลูกสาวด้วย จากนั้นจะกล่าวให้โอวาทเกี่ยวกับการใช้ชีวิตคู่ ในขั้นตอนนี้ธรรมเนียม บางท้องถิ่นจะให้พ่อแม่เจ้าสาวเป็นผู้กล่าวก็สามารถท�ำได้เช่นกัน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

180 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


พิธีแต่งงานภาคเหนือ

พิธีแต่งงานภาคเหนือ คือ แบบล้านนา ที่ชาวเหนือเรียกว่า “ประเพณีการกินแขก” หมายถึง การเชิญ ผู้ที่เคารพนับถือ ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านใกล้เคียงจ�ำนวนมาก เข้ามาร่วมรับประทานอาหาร เนื่องในวันงานมงคลสมรส หรืองานแต่งงาน งานกินแขก มีล�ำดับขั้นตอน ดังนี้ คือ ๑. การแต่งงานแบบสู่ขอ หลังจากที่ชายและหญิงมีความพึงพอใจกัน ฝ่ายชายจะต้องบอกพ่อแม่ และญาติพี่น้องไปจัดการสู่ขอ และร่วมปรึกษาหารือระหว่างชายและหญิง หากไม่ขัดข้องก็ตกลงนัดวันหมั้นหมาย พร้อมวันแต่งงาน ๒. พิธีการแต่งงาน หลังจากที่ได้ฤกษ์แต่งงานมาแล้ว ชายหญิงจะต้องบอกญาติพี่น้องและผู้ที่ให้ ความเคารพให้มาร่วมงาน รวมทั้งจัดขันปอกมือหรือพานบายศรี และอาหารส�ำหรับต้อนรับแขกและเครื่องสักการะ ในบายศรี เมื่อพร้อมแล้ว ญาติทางฝ่ายเจ้าสาวจะให้ผู้แทนถือขันข้าวตอกดอกไม้หรือพานดอกไม้ มาเชิญฝ่ายเจ้าบ่าว ไปยังบ้านเจ้าสาว และฝ่ายเจ้าบ่าวพร้อมญาติผู้ใหญ่ก็จะตั้งขบวนแห่ไปยังบ้านเจ้าสาว ซึ่งในขบวนแห่จะประกอบด้วย ดนตรีพื้นเมืองที่เน้นความสนุกสนาน มีเจ้าบ่าวถือดาบและหีบ ส่วนญาติถือสิ่งของที่เตรียมมาทั้งหมดน�ำหน้าขบวน พอถึงบ้านเจ้าสาวแล้ว ฝ่ายเจ้าสาวจะมีผแู้ ทนคอยปิดกัน้ ประตูไม่ให้เจ้าบ่าวเข้าไป ซึง่ จะมีการกัน้ ประตูโดยใช้สร้อยคอ หรือเข็มขัดเงิน-ทอง บริเวณทางเข้าจะมีเด็กๆ ญาติฝ่ายเจ้าสาวมาตักน�้ำล้างเท้าให้เจ้าบ่าว หรือท�ำเป็นเช็ดเท้าให้บ่าว ก่อนที่เจ้าบ่าวจะจ่ายเงินให้ตามสมควร จากนั้นญาติฝ่ายเจ้าสาวจะเชื้อเชิญญาติผู้ใหญ่ฝ่ายเจ้าบ่าวขึ้นมานั่งร่วมท�ำพิธี และจูงมือเจ้าบ่าวให้มานั่งเคียงข้างเจ้าสาว โดยให้หญิงนั่งซ้าย ชายนั่งขวา เอาขันปอกมือหรือพานบายศรีไว้ตรงกลาง แล้วให้เจ้าบ่าวเอาแหวนหรือสร้อยสวมใส่ให้แก่เจ้าสาว จากนั้นก็เชิญปู่อาจารย์ท�ำพิธีปัดเคราะห์เรียกขวัญเจ้าบ่าว เจ้าสาว ผูกมือ และกล่าวค�ำอวยพร ด้วยการท�ำ พิธีเรียกขวัญ โดยปู่อาจารย์ ซึ่งคู่บ่าวสาวเข้าประจ�ำโต๊ะพิธีการ หรือ จุดพิธีการ โดยสวมมาลัยแล้วสวมมงคลคู่ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่คู่บ่าวสาว โดยมีแขกมาร่วมท�ำพิธีเป็นสักขีพยาน และอวยพร ส่วนผู้ที่ท�ำการเรียกขวัญจะท่องเรียกขวัญเป็นภาษาท้องถิ่นในท�ำนองโบราณ หลังจากที่ปู่อาจารย์ท�ำการ เรียกขวัญเสร็จ แขกที่มาร่วมในงานจะอวยพรให้กับคู่บ่าวสาวโดยการผูกด้ายสายสิญจน์

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 181


๓. พิธีจูงเข้าหอ เมื่อเสร็จพิธีผูกข้อมือแล้ว จากนั้นเจ้าภาพจะเชิญคู่ของญาติผู้ใหญ่ หรือแขกอาวุโส ที่มีชีวิตแต่งงานราบรื่นและเจริญรุ่งเรือง มีลูกหลานเต็มบ้าน ลูกหลานเหล่านั้นก็เจริญก้าวหน้ามีเกียรติปรากฏทั่วไป มาจูงเจ้าบ่าวเจ้าสาวเข้าสู่ห้องหอตามฤกษ์ เมื่อจูงมือเข้าห้องหอแล้วให้เจ้าบ่าวเจ้าสาวนั่งบนเตียง หรือบนฟูกที่จัด ตกแต่งไว้ ให้หญิงนัง่ ซ้าย ชายนัง่ ขวา ให้ทงั้ สองหันหน้ามาหาผูใ้ หญ่ทจี่ งู เข้าห้องเพือ่ รับโอวาท สัง่ สอนในการครองเรือน ให้รักทะนุถนอมรักษาน�้ำใจ เสียสละซึ่งกันและกัน ๔. การไหว้พ่อแม่ เมื่อหนุ่มสาวอยู่กินกันได้ ๓ วัน หรือ ๗ วันแล้ว จากนั้นจะพากันไป “ไหว้พ่อแม่” ตลอดถึงญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชาย โดยคู่สามี-ภรรยาใหม่ จะช่วยกันหาเครื่องสักการะอุปโภคและบริโภค เช่น เสื้อผ้า อาหารแห้ง ขนม ให้ครบตามจ�ำนวนบุคคลที่ตนจะไหว้ตามสมควร พร้อมทั้งมีพานดอกไม้ ธูปเทียน ไปเคารพกราบไว้ โดยมีความหมายว่า ไปคารวะฝากเนื้อฝากตัวเป็นลูกหลานในตระกูล และขอค�ำแนะน�ำในการครองเรือน ตลอดถึง การขอศีลขอพรจากผู้ใหญ่ให้เป็นสิริมงคล ซึ่งทางญาติผู้ใหญ่อาจเตรียมทุนไว้มอบให้ เพื่อสร้างครอบครัวตามฐานะ ของแต่ละท่าน เรียกว่า “เงินขวัญถุง” ๕. พิธีร่วมท�ำบุญตักบาตรของคู่บ่าวสาว พิธีร่วมกันท�ำบุญตักบาตรของคู่บ่าวสาว นิยมกระท�ำกันหลัง จากท�ำการไหว้พ่อแม่เสร็จเรียบร้อยแล้ว คือ เจ้าภาพจะนิมนต์พระมาเจริญพุทธมนต์และรับอาหารบิณฑบาต ๖. พิธีท�ำบุญสืบชะตา การสืบชะตาของคู่บ่าวสาวนั้นเป็นเหมือนการเริ่มต้นชีวิตใหม่ เพื่อให้คู่บ่าวสาว มีชาตะที่ดียืนยาวและมีความสุขต่อไป ก่อนที่จะท�ำการสืบชะตา เจ้าภาพจะต้องจัดเตรียมเครื่องพิธีกรรมหรือ เครื่องบูชาต่างๆ ไว้ โดยน�ำเครื่องพิธีกรรมมารวมกันตั้งไว้ตรงกลางที่ท�ำพิธี ท�ำเป็นกระโจมไม้ ๓ ขา หรือท�ำเป็น สามสุ่มแบบปืน ๓ กระบอก พิงกันหรือแบบขาหยั่ง ให้กว้างพอที่บ่าวสาวเข้ามานั่งตรงกลางได้ ใช้ด้ายสายสิญจน์โยง ศีรษะติดกับขากระโจมทั้ง ๓ ขา เอาเงื่อนไปไว้ที่ที่ตั้งน�้ำพระพุทธมนต์หน้าพระพุทธรูป นิยมนิมนต์พระสงฆ์ ๗ หรือ ๙ รูป และท�ำบุญถวายสังฆทาน ถวายเพล พร้อมกันทีเดียว

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

182 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


พิธีแต่งงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พิธีแต่งงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ เป็นอีกหนึ่งประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน โดยเรียก พิธีแต่งงานตามภาษาอีสานว่า “การกินดอง” หมายถึง การกินเลี้ยงเพื่อฉลองการเกี่ยวดองเป็นครอบครัวเดียวกัน ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ คือ ๑. การสู่ขอ หลังจากหนุ่มสาวมีความชอบพอกัน และตกลงที่จะอยู่ใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน ฝ่ายชายจะเป็น ฝ่ายบอกญาติผู้ใหญ่ของตนเอง ให้ไปสู่ขอฝ่ายหญิงจากญาติผู้ใหญ่ เรียกว่า การโอม ๒. พิธีขันหมาก หลังจากที่มีการโอมสาวหรือการสู่ขอจากญาติผู้ใหญ่กันแล้ว หลังจากนั้นจะมีการตกลง ค่าสินสอดทองหมั้น รวมทั้งต้องมีการก�ำหนดวันแต่งงานขึ้น ซึ่งหลังจากได้ฤกษ์วันแต่งงานมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ฝ่ายเจ้าบ่าวและญาติๆ จะแห่ขนั หมากเพือ่ ไปท�ำพิธแี ต่งงานทีบ่ า้ นเจ้าสาว ซึง่ การแห่ขนั หมากนีเ้ ป็นเหมือนการประกาศ ให้ทุกคนได้รับรู้ว่า คู่บ่าวสาวก�ำลังจะแต่งงานกัน พร้อมเชิญชวนให้มาร่วมแสดงความยินดี ๒.๑ พิธีแห่ขันหมาก มีล�ำดับของขบวนแห่ที่เริ่มต้นจากหัวขบวนเรียงไปท้าย คือ ญาติผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ และเจ้าโคตรหรือเฒ่าแก่ จะเดินหน้าพร้อมถือขันเงินสินสอด ถัดจากนั้นคือ เจ้าบ่าว จากนั้นคือ ขบวนพา ขวัญ ที่ถือโดยหญิงสาวบริสุทธิ์ ขันหมากพลู ขันเหล้ายา ญาติพี่น้อง และปิดท้ายด้วยขบวนดนตรีพื้นบ้าน ปี่ แคน และกลอง เป็นต้น ๒.๒ พิธีรับขันหมาก เมื่อขบวนขันหมากมาถึงบ้านฝ่ายหญิงแล้ว ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงจะออกมาต้อนรับ โดยก่อนทีจ่ ะเข้าบ้าน ญาติทอี่ ายุนอ้ ยกว่าฝ่ายหญิงจะเป็นคนล้างเท้าให้เจ้าบ่าว และเฒ่าแก่ทถี่ อื ขันสินสอด โดยท�ำการ ล้างเท้าบนหินลับมีดที่ปูด้วยใบตอง และช่วยเช็ดเท้าให้เป็นการแสดงความเคารพ ซึ่งก่อนจะพบกับเจ้าสาว ฝ่ายเจ้าบ่าวจะพบประตูเงิน ประตูทอง จากบรรดาญาติๆ ของฝ่ายหญิงก่อน ซึ่งจะให้เบิกทางด้วยเงินทองตามสมควร ๒.๓ พิธนี บั สินสอด หลังจากทีฝ่ า่ ยชายผ่านประตูเงินประตูทองมาแล้ว เมือ่ ถึงฤกษ์ดใี ห้ฝา่ ยชายมอบ สินสอดให้กับผู้ใหญ่ฝ่ายหญิง โดยฝ่ายเจ้าสาวจะต้องท�ำการนับสินสอด แล้วโปรยด้วยเมล็ดข้าวเปลือก ถั่ว และงา ลงบนสินสอด แล้วขอพรให้เงินทองนี้งอกเงยเหมือนเมล็ดพันธุ์เหล่านี้ หลังจากนั้นจึงเปิดขันหมากละแจกเหล้ากินกัน ๓. พิธีสู่ขวัญ ให้เจ้าบ่าวและเพื่อนเจ้าบ่าวนั่งอยู่ทางขวา เจ้าสาวและเพื่อนเจ้าสาวนั่งอยู่ทางซ้าย จากนั้นเจ้าบ่าวและเจ้าสาวจะจับพาขวัญไว้โดยใช้แขนไขว้กัน ซึ่ง “ประเพณีสู่ขวัญ” จะเริ่มต้นพิธีโดยหมอสูตร หรือพราหมณ์ชาวบ้านจะกล่าวค�ำสวดค�ำขวัญอวยพร เสร็จแล้วหมอสูตรจะป้อนไข่แบ่งให้เจ้าบ่าวและเจ้าสาวกิน คนละครึ่งใบ โดยใช้มือขวาป้อนไข่ท้าวหรือฝ่ายชาย และมือซ้ายป้อนไข่นางหรือฝ่ายเจ้าสาว เสร็จแล้วก็ใช้ฝ้าย ผูกข้อมือของคู่บ่าวสาวพร้อมกับอวยพร

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 183


๔. การขอขมาญาติผู้ใหญ่ หรือการสมนา คือ การมอบสิ่งของเพื่อขอบคุณญาติผู้ใหญ่ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งแต่ก่อนจะเป็นการมอบผ้าซิ่นและเสื้อส�ำหรับผู้หญิงให้ญาติผู้ใหญ่ที่เป็นผู้หญิง และมอบผ้าโสร่งและเสื้อผู้ชาย ให้กับญาติผู้ใหญ่ที่เป็นผู้ชาย หลังจากที่ได้รับของเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะมีการให้โอวาทแก่บ่าวสาว เป็นอันเสร็จพิธี ๕. การปูที่นอน และการส่งตัวเข้าหอ เริ่มต้นด้วยการให้คู่รักที่เป็นญาติผู้ใหญ่ที่มีฐานะดี และยังคงรัก ใคร่กันดี เป็นผู้ปูที่นอนให้บ่าวสาว โดยให้ปูของผู้ชายไว้ทางขาว ให้มีต�ำแหน่งสูงกว่า และของผู้หญิงปูไว้ทางซ้าย ให้มีต�ำแหน่งต�่ำกว่าฝ่ายชาย แล้วท�ำพิธีนอนเอาฤกษ์ จากนั้นค่อยจูงเจ้าบ่าวและเจ้าสาวเข้าเรือนหอ และให้โอวาท ในการอยู่ร่วมกัน เป็นอันเสร็จพิธีแต่งงานตามขนบธรรมเนียมของภาคอีสาน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

184 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


พิธีแต่งงานในภาคใต้ พิธีแต่งงานในภาคใต้ตอนบน (ตามประเพณีพุทธ) ประเพณีแต่งงานตามวัฒนธรรมไทยพุทธภาคใต้ แต่ละถิ่นเรียกไม่เหมือนกัน บางท้องถิ่นเรียกว่า “ไหว้เมีย” บางท้องถิ่นเรียกว่า “กินเหนียว” บางท้องถิ่นเรียกว่า “วันไหว้” ค�ำเหล่านี้ตามชนบทบางแห่งยังมีใช้กันอยู่ แต่ส่วนใหญ่ในปัจจุบันนิยมใช้ค�ำว่า แต่งงาน แต่เดิมชาวภาคใต้ถือเอาการแต่งงานเป็นเครื่องวัดความบรรลุนิติภาวะ หรือความเป็นผู้ใหญ่อย่างสมบูรณ์ และผู้ที่ผ่านการแต่งงานแล้วจะเป็นที่เชื่อถือของสังคมมากกว่าตอนที่ยังเป็นโสด ทัง้ นีเ้ พราะชายทีจ่ ะแต่งงานได้จะต้องได้รบั การบวชเรียนเสียก่อน ด้วยเหตุทกี่ ารแต่งงานเป็นการก้าวเข้าสูช่ ว่ งทีส่ ำ� คัญ ทีส่ ดุ ทัง้ ฝ่ายหญิงและชายต้องมีความรับผิดชอบร่วมกัน ต้องวางแผนในการใช้ชวี ติ คู่ การแต่งงานจึงต้องมีกระบวนการ และพิธีการเพื่อไม่ให้บกพร่องด้วยประการทั้งปวง การแต่งงานของชาวไทยพุทธภาคใต้ มีขั้นตอนที่เป็นไปตามค่านิยม ความเชื่อ และประเพณีนิยม ดังต่อไปนี้ ๑) การผูกสัมพันธ์ การผูกสัมพันธ์ เรียกการที่หนุ่มสร้างสัมพันธ์กับสาวว่า บ้าหญิง บางถิ่นเรียกว่า บ้าเมีย ๒) การทาบทาม (แยบเมีย) เมือ่ ฝ่ายหนุม่ ต่างเห็นชอบต้องกันแล้วว่าจะเลือกหญิงคนใดแต่งงานด้วย ก็จะด�ำเนินการทาบทามตามประเพณี เรียกการทาบทามว่า แยบ โดยปกติคนที่จะไปแยบมักเป็นญาติฝ่ายชายที่เป็น ผูห้ ญิงทีม่ เี กียรติ แต่มกั จะเป็นผูอ้ าวุโสหรือนางเฒ่า ก่อนทีน่ างเฒ่าจะไปทาบทามจะต้องดูฤกษ์ยามเสียก่อนว่าวันเวลา ใดจึงจะเหมาะ โดยเลือกวันดี ซึ่งถือว่าถ้าไปทาบทามในวันนั้นจะประสบความส�ำเร็จทุกประการ เครื่องประกอบที่น�ำ ไปแยบแต่ละถิน่ ถือปฏิบตั แิ ตกต่างกันไปแต่เรียกตรงกันว่า ขันหมากแยบ มักใช้ขนั ลงหินหรือถ้ามีฐานะดีอาจเป็นขันทอง ค�ำจัดหมากและพลูลงในขันหมากแล้วจึงเอาผ้าหุม้ ขันหมาก มัดตรงยอดกรวยให้สวยงาม หลังจากจัดขันหมากเรียบร้อย แล้ว นางเฒ่าจะเดินทางไปบ้านของฝ่ายหญิง เมือ่ ฝ่ายหญิงเชือ้ เชิญและตอนรับกันตามธรรมเนียมแล้ว ก็จะเริม่ ต้นพูดจา ทาบทามกัน เมื่อพ่อแม่ฝ่ายหญิงตอบไม่ขัดข้อง ฝ่ายชายก็จะจัดพิธีสู่ขอตามประเพณี ๓) การสู่ขอ ชาวภาคใต้เรียกว่า ขอเมีย ซึ่งเป็นการกระท�ำสองขั้นตอนควบคู่กันไปคือการสู่ขอและ การหมั้น ขันหมากขอตามแบบดั้งเดิมของภาคใต้ ประกอบด้วยขันหมาก ๓ ขัน คือ ขันหมากหัว ขันหมากถาม และ ขันหมากต่อ ภายหลังการสู่ขอและการหมั้นแล้ว ผู้ชายก็หมักมาอยู่บ้านฝ่ายหญิง ในฐานะเตรียมเป็นลูกเขยเป็นเวลา หลายเดือนหรือเป็นแรมปีบางแห่งเรียกว่า ฝากบ�ำเรอ บางท้องถิ่นเรียกว่า อาสา เพื่อเป็นการศึกษาอุปนิสัยใจคอที่แท้ จริงด้วยกันทั้งสองฝ่าย พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 185


๔) ก�ำหนดวันแต่งงาน เมื่อการสู่ขอผ่านไปอย่างเรียบร้อย ขั้นต่อไปก็เป็นการก�ำหนดวันแต่งงานซึ่ง เรียกว่าไหว้เมียหรือ วันไหว้ โดยทั้งสองฝ่ายจะต้องหาฤกษ์ยามและเตรียมการอื่นๆ ให้พร้อม ฤกษ์ยามแต่งงาน จะเลือกเอาวันที่เหมาะแก่การท�ำการมงคล ๕) การเตรียมการส�ำหรับการแต่งงาน หลังจากที่ได้รับก�ำหนดวันประกอบพิธีแต่งงานกันเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว ทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายจะมีการเตรียมการส�ำหรับการแต่งงานไว้ให้พร้อมในทุกๆ ด้าน คือ เตรียมข้าวสาร เตรียมเงิน เตรียมเครือ่ งบริโภคส�ำหรับผูม้ าในงาน เตรียมสถานที่ องค์ประกอบในพิธกี รรมทีส่ ำ� คัญมาก ทีฝ่ า่ ยหญิงต้องเตรียมให้พร้อมคือ ห้อง หรือทีจ่ ะใช้ประกอบพิธซี งึ่ มีรปู แบบการจัดสิง่ ของเครือ่ งใช้ในพิธเี ป็นแบบฉบับ เฉพาะตัวตามจารีตประเพณีที่ปฏิบัติกันมาแต่โบราณ ในตอนเย็นของวันสุกดิบ ที่บ้านของฝ่ายชายนอกเหนือ จากเลี้ยงอย่างสนุกสนานแล้วจะมีการจัดขันหมากและข้าวของต่างที่จะต้องน�ำไปในพิธีแต่งงานในวันรุ่งขึ้น ๖) พิธีแต่งงาน เมื่อเข้าสู่พิธีแต่งงาน ฝ่ายเจ้าบ่าวเตรียมขบวนแห่ขันหมากแล้วยกไปสู่บ้านเจ้าสาว เพื่อท�ำพิธีแต่งงาน ซึ่งไม่ต่างจากภาคกลางมากนัก พิธีแต่งงานในภาคใต้ตอนล่าง (ตามประเพณีอิสลาม) พิธแี ต่งงานในภาคใต้ตอนล่าง นัน้ มีความแตกต่างไปจากภาคอืน่ ๆ เนือ่ งจากประชากรในภาคนีส้ ว่ นใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม ท�ำให้พธิ แี ต่งงานมีขนั้ ตอนตามความเชือ่ ทีอ่ า้ งอิงไปตามศาสนาอิสลาม ซึง่ ชาวมุสลิมหรือผูน้ บั ถือ ศาสนาอิสลาม จะมีพิธีการจัดงานแต่งงานที่แตกต่างกับภาคอื่นๆ โดยชาวมุสลิมจะเรียกพิธีนี้ว่า “นิกะห์” ที่เป็น ความสัมพันธ์ระหว่างชายและหญิง เป็นสิ่งที่ท�ำให้มนุษย์มีความสูงส่ง เหนือสัตว์โลกอื่นๆ และเชื่อว่า ความผูกพัน ระหว่างชายหญิงจะเป็นความผูกพันด้วยชีวิต การประกอบพิธีแต่งงาน หรือพิธีนิกะห์ แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ การแต่งงานตามบทบัญญัติของศาสนา และการแต่งงานตามประเพณีที่ปฏิบัติกัน การแบ่งการแต่งงานหรือการประกอบพิธีนิกะห์ออกเป็น ๒ ประเภทนั้น ท�ำเพื่อให้มีความแตกต่างกัน เพราะการแต่งงานของชาวมุสลิมบางคนผสมผสานวัฒนธรรมชุมชนเข้าไป เช่น การแห่เจ้าสาวเข้ามัสยิด โดยมีตน้ กล้วย ต้นอ้อย น�ำหน้าขบวน หรือการมีขนมหวานอย่างการแต่งงานแบบไทยนั้นเป็นการปฏิบัติตามประเพณีท้องถิ่นดั้งเดิม ไม่ใช่พิธีกรรมของอิสลาม เพราะการแต่งงานแบบอิสลามนั้น เป็นบทบัญญัติมีอายุมากกว่า ๑,๔๐๐ ปี และห้าม เสริมเติมแต่งหลักการที่มีอยู่เป็นอย่างอื่น

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

186 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๑) การสู่ขอ ประเพณีการแต่งงานในศาสนาอิสลาม เริ่มจากการสู่ขอ โดยมีเงื่อนไขว่าต้องสู่ขอสตรี ที่สามารถแต่งงานได้ด้วยเท่านั้น หมายถึงหญิงที่ไม่ได้อยู่ระหว่าง อิดดะฮ (อยู่ในช่วงสามเดือนแรกของการหย่าร้าง) หรือหญิงสามีตาย (ซึง่ ต้องรอจนครบสีเ่ ดือนกับสิบวันเสียก่อนจึงจะสูข่ อได้) เมือ่ ฝ่ายหญิงตอบตกลงและก�ำหนด “มะฮัร” คือเงินที่ฝ่ายชายมอบให้ฝ่ายหญิงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ต้องหาวันแต่งงานตามสะดวก วันแต่งงานเจ้าบ่าวจะต้องยก ของหมั้นหรือมะฮัรมาที่บ้านเจ้าสาว หรือนัดวะลีย์ และพยานทั้งสองฝ่ายไปเจอกันที่มัสยิดก็ได้ นอกจากนี้ ยังมีการ ก�ำหนดวันแต่งงาน เนื่องจากความเชื่อของศาสนาอิสลามไม่เชื่อในเรื่องโชคชะตา จึงไม่นิยมดูฤกษ์ยามก่อนแต่งงาน และมีข้อห้ามไม่ให้เชื่อเรื่องดวงดาวและโชคชะตาต่างๆ อีกด้วย ดังนั้น ชาวมุสลิมจึงไม่มีฤกษ์วันแต่งงาน นอกจาก ความสะดวกทั้งสองฝ่ายเท่านั้น ๒) ค�ำกล่าวที่ใช้ในพิธีนิกะห์ ค�ำเสนอของวะลีย์ คือ ค�ำกล่าวของผู้ปกครองฝ่ายเจ้าสาวเพื่อให้เจ้าบ่าว ยอมรั บ การแต่ ง งานครั้ ง นี้ ซึ่ ง เป็ น การตอบรั บ ระหว่ า งชายหญิ ง หลั ง จากนั้ น จะมี ก ารอ่ า นคั ม ภี ร ์ อั ล กุ ร อาน (บทที่ว่าด้วยการครองเรือน) ให้บ่าวสาวฟัง เพียงแค่นี้ก็เสร็จสมบูรณ์ ๓) การเลีย้ งฉลองการแต่งงาน หลังแต่งงานสามารถจัดงานเลีย้ งฉลองได้ เรียกว่า “วะลีมะฮ” ซึง่ จัดเลีย้ ง ทีบ่ า้ น สโมสร หรือโรงแรมก็ได้ตามสะดวก การเลีย้ งฉลองอาจไม่ตอ้ งท�ำในวันเดียวกับวันนิกะห์กไ็ ด้ แต่การเลีย้ งฉลอง นั้นต้องไม่เกิน ๒ วัน เพราะอิสลามเคร่งครัดในเรื่องของงานเลี้ยงที่ฟุ่มเฟือย โดยมีค�ำกล่าวไว้ว่า “งานเลี้ยงที่เลวที่สุด คืองานเลี้ยงนิกะห์ และเลี้ยงเฉพาะคนรวย” เพราะศาสนาอิสลามเชื่อว่าทุกคนเท่าเทียมกันไม่มีการแบ่งชั้นวรรณะ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 187


โดยธรรมชาติของสิ่งที่มีชีวิตแล้วย่อมมีความต้องการทางเพศสัมพันธ์ และต้องการสืบสกุลต่อไป เพื่อ ท�ำให้เกิดความแตกต่างกันระหว่างมนุษย์กับสัตว์ เมื่อชาย-หญิง มีความรักใคร่ต่อกันจนสุกงอม มีความเห็นอกเห็นใจ กันและพร้อมที่จะด�ำเนินชีวิตร่วมกันเป็นครอบครัวอย่างสามีภรรยา ถือเป็นภูมิปัญญาบุรุษของไทยที่มองการณ์ไกล และมีความละเอียดอ่อน จึงจัดให้มีประเพณีแต่งงานขึ้น เพื่อเป็นการบ�ำบัดความต้องการทางเพศของมนุษย์ โดยให้ เป็นไปตามประเพณีที่งดงามเหมาะสม แสดงถึงความเจริญงอกงามทางวัฒนธรรมด้านจิตใจ และวัฒนธรรมทางด้าน วัตถุของของสังคมทีต่ นอยู่ มีผใู้ หญ่ทงั้ สองฝ่ายยอมรับและสังคมรับรู้ ด้วยเหตุนปี้ ระเพณีการแต่งงานจึงจ�ำเป็นต้องจัด ให้มีพิธีกรรมตามขั้นตอนของประเพณีไทย เริ่มตั้งแต่การทาบทาม สู่ขอ หมั้น และแต่งงาน พิธีการแต่งงานนี้ถ้าจะให้ ถูกต้องเหมาะสม จะต้องประกอบพิธีทางศาสนาด้วยในตอนเช้า และอีกพิธีคือจะต้องจดทะเบียนสมรสให้ถูกต้องตาม กฎหมาย ก็ถือว่า การแต่งงานนั้นถูกต้องสมบูรณ์ สถานภาพปัจจุบนั และผลทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ปัจจุบนั มีบริษทั ทีท่ ำ� ธุรกิจรับจัด พิธมี งคลสมรส ครบวงจรเกิดขึน้ มากมาย มีการแข่งขันกันสูงมาก ต่างฝ่ายต่างเสนอความแปลกใหม่ ทั้งการจัดสถานที่และพิธีการ ให้มีความโดดเด่น เฉพาะตัวยากที่ใครจะลอกเลียนแบบได้ เพื่อให้ทุกคู่รักที่ต้องการหลีกหนีจากบรรยากาศซ�้ำซากจ�ำเจของรูปแบบการ จัดงานเดิมๆ ชื่นชอบในบรรยากาศที่แปลกใหม่นั้น โดยเสนอพิธีการตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยที่ได้ผสมผสาน รูปแบบความเลิศหรู ด้วยการตกแต่งตามรูปแบบของวัฒนธรรมต่างชาติตา่ งศาสนา ท่ามกลางการดัดแปลงพิธกี ารเพือ่ การแข่งขันทางธุรกิจนี้ท�ำให้ พิธีการแบบไทยโบราณ ซึ่งมุ่งเน้นพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ สวยงาม ค่อยๆเปลี่ยนแปลงไป และสูญเสียอัตลักษณ์แห่งความเป็นไทยไปทีละน้อย ปัจจัยคุกคามในเรื่องของการแต่งงานมีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงทางประเพณีวัฒนธรรม เพื่อผล ประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยไม่ได้ทำ� การศึกษาในขนบธรรมเนียมประเพณีนนั้ อย่างลึกซึง้ จะก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ไปในทิศทางที่ไม่เหมาะสม และเป็นการท�ำลายประเพณีนั้นในทางอ้อม ประเพณีแต่งงานก็เช่นเดียวกัน เอกสารอ้างอิง

สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย โดย ส.พลายน้อย,ส�ำนักพิมพ์ พิมพ์ค�ำ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้, กรุงเทพฯ, มูลนิธิ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิชย์.๒๕๔๒ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ,กรุงเทพฯ ,มูลนิธิ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิชย์. ๒๕๔๒ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง ,กรุงเทพฯ ,มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิชย์.๒๕๔๒ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน,กรุงเทพฯ,มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณิชย์.๒๕๔๒ สารานุกรม วัฒนธรรมไทย, จัดพิมพ์เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ http://www.dddwedding.com/webboards.html

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

188 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


สวดพระมาลัยภาคใต้ เรื่องพระมาลัยมีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อความเชื่อของคนไทยในเรื่อง นรก สวรรค์ บาป บุญ คุณ โทษ คือเชื่อว่า เมื่อท�ำบาปก็จะได้รับผลตอบแทนที่ไม่ดีคือตกนรก ส่วนเมื่อท�ำบุญ ท�ำทานอันเป็นความดีก็จะได้รับ ผลตอบแทนที่ดีคือได้ขึ้นสวรรค์ เป็นต้น พระมาลัย เป็นชื่อพระอรหันตสาวกองค์สุดท้ายหลังจากพระพุทธเจ้า เสด็จดับขันธ์ไปแล้วได้ ๕๐๐ ปี เรือ่ งราวของพระมาลัยเป็นทีป่ ระทับใจ มีการน�ำมาสวดในงานพิธตี า่ งๆ เช่น พิธแี ต่งงาน ตอนเจ้าบ่าวไปนอนเฝ้าหอ และใช้สวดหน้าศพ จึงมีผู้น�ำมาแต่งเป็นวรรณกรรมหลายส�ำนวน ทั้งในภาคกลาง ภาคใต้ ภาคอีสาน การสวดพระมาลัยภาคใต้ เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมในงานศพ โดยน�ำเอาเรื่องราวต่างๆ ของพระมาลัย มาสวดตามส�ำเนียงของภาคใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยไม่ให้งานศพดูเหงาและเศร้าจนเกินไป การสวดพระมาลัย ส่วนใหญ่จะสวดหลังจากเสร็จพิธีสงฆ์แล้ว และจะสวดเฉพาะตอนกลางคืนเท่านั้น เดิมใช้บทสวดจากหนังสือพระมาลัยหรือที่เรียกว่าพระมาลัยค�ำสวด (ค�ำสอน) เนื้อหาเป็นธรรมะสั่งสอนให้ผู้ฟังเกรง กลัวต่อบาป กลัวอกุศลกรรม ต่อมาได้มกี ารคิดประดิษฐ์คำ� ร้องท�ำนองต่างๆ ขึน้ มาใหม่ เนือ้ ร้องมี พระมาลัยไว้เล็กน้อย และบางครัง้ ยังน�ำเรือ่ งจากวรรณคดีเข้าแทรกเป็นตอนๆ คณะมาลัยคณะหนึง่ ๆ จะมีคนสวดพระมาลัยอย่างน้อย ๔ คน คือ แม่เพลง ๒ คน และลูกคู่ ๒ คน ดนตรีร�ำมะนากับขลุ่ย หรือไม่ใช้ดนตรีก็ได้ อุปกรณ์อื่นๆ ก็มี ตาลปัตร แป้งผัดหน้า หนวดปลอม เขี้ยวปลอม แว่นตา ฯลฯ มีธรรมเนียมการเล่นเป็นล�ำดับคือ เริ่มต้นจากเตรียมหมากพลู ธูปเทียนบูชา พระรัตนตรัย แล้วร้องเกริ่นก่อนไหว้ครูโดยมีตาลปัตรบังหน้า บอกกล่าวผู้ชมท�ำนองออกตัวหากเล่นไม่ดีก็ขออภัย จากนั้นท�ำพิธีและร้องไหว้ครู แล้วร�ำเบิกโรง โดยมีบทเพลงแต่งขึ้นเองตามแต่จะเล่น หรือตัดตอนบทมาจากวรรณคดี เพื่ อความสนุก สนาน จะมีก ารสวดพระมาลั ย แทรกคื อ มี ผู ้ แ สดงเป็ นพระมาลั ย ออกมาร่ า ยร� ำ เนื้ อ หาสวดว่ า ด้วยพระมาลัยไปเยี่ยมนรกและไปเยี่ยมสวรรค์ แจกแจงว่าใครท�ำชั่วได้รับโทษกรรมอย่างไรเมื่อตายไป ใครท�ำดี ได้ผลแห่งกรรมดีนั้นอย่างไรเมื่อตายไป ใครท�ำดีได้ผลแห่งกรรมดีนั้นอย่างไรเมื่อตายไป เรียบเรียงโดย ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 189


เนื้อหาของการสวดพระมาลัยมีดังนี้ “พระมาลัย เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งมีฤทธิ์มาก เคยไปโปรดสัตว์ใน นรกและเทศน์สั่งสอนประชาชนทั่วไปให้ปฏิบัติดีเพื่อหลีกเลี่ยงนรก วันหนึ่งพระมาลัยรับดอกบัวจากชายคนหนึ่ง พระมาลัยน�ำดอกบัวไปบูชาพระเจดียจ์ ฬุ ามณีในสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ และได้สนทนากับพระอินทร์ และได้ถามพระอินทร์ ถึงเรื่องการประกอบกรรมดี การบ�ำเพ็ญกุศลต่างๆ ในที่สุดพระศรีอาริย์ได้ร่วมสนทนาด้วย โดยไต่ถามความเป็นไป ของโลกมนุษย์ และพระศรีอาริย์ได้เทศน์ให้พระมาลัยฟังว่า พระองค์จะเสด็จมาประกาศศาสนาเมื่อศาสนาของ พระพุทธองค์สนิ้ สุด ๕,๐๐๐ ปีแล้ว ผูท้ จี่ ะเกิดในศาสนานีไ้ ด้ตอ้ งท�ำบุญฟังเทศน์มหาชาติถาคาพันจบได้ (ทัง้ ๑๓ กัณฑ์) เมื่อหมดศาสนาของพระองค์จะเกิดกลียุค อายุคนทั้งโลกจะสั้นมาก เพียง ๕-๑๐ปีเท่านั้น ครั้นผ่านกลียุคจะเกิด ความอุดมสมบูรณ์ทวั่ ไป ในระยะนีเ้ องทีพ่ ระศรีอาริยจ์ ะมาโปรดให้ทกุ คนท�ำความดี พระมาลัยจึงน�ำมาเล่าให้ประชาชน ทุกคนในชุมชนฟัง”

ภาพ: ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

190 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาพ: ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช

๑. เริ่มต้นด้วย “ตั้งราษฏ์” ท�ำเพื่อไหว้เจ้าที่ โดยมีอุปกรณ์ คือ หมาก พลู ธูปเทียน อย่างละ ๙ ชิ้น และ เหล้า ๑ แก้ว บุหรี่ ๑ มวน ๒. การสวด “ถามหาที่สวด” ท�ำเพื่อขอที่สวด (หรือเรียกว่า ตั้งโลง) ๓. การสวด “นโม” เพื่อเป็นการสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย (๓ ครั้ง) ๔. กล่าวบท “ฉันท์รบั บท” เพือ่ ไหว้ครูอาจารย์และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ เี่ คารพนับถือเป็นการสวดเพือ่ สรรเสริญ พระคุณครู พระพุทธองค์และพระเกียรติคุณ ๕. กล่าวบท “ในกาล” เป็นการกล่าวถึงประวัติพระมาลัย ๖. กล่าวบท“ล�ำนอก” หรือ “เรื่องเบ็ดเตล็ด”เป็นบทที่บอกเรื่องพระมาลัยเป็นการสวดเพื่อความนาน การสวดพระมาลัยเป็นวัฒนธรรมพืน้ บ้าน มีบทบาทหน้าทีแ่ ละเป็นเครือ่ งแสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน มีการสืบทอดถ่ายโยงจากปากต่อปากสืบต่อกันมา โดยไม่มีการขีดเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร จึงจัดเป็นพวกมุขปาฐะ ซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของคติชนวิทยาหรือคติชาวบ้าน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 191


ในสมัยก่อนการสวดพระมาลัยมีปัญหาในการฝึกหัดฝึกซ้อมเป็นอันมาก ทั้งนี้เพราะมีความเชื่อว่าหาก ฝึกหัดหรือซ้อมการสวดพระมาลัยบนบ้านจะเป็นเสนียดจัญไรแก่บ้าน ดังนั้นผู้ฝึกหัดจึงต้องหาสถานที่นอกบ้าน เช่น ขน�ำกลางนา ชายป่าช้า ในวัด หรือในโรงนาแต่ส�ำหรับในปัจจุบันความเชื่อเช่นนี้หมดไป ผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีอายุมากกว่า ๗๐ ปีขึ้นไปเล่าว่า แต่ก่อนการสวดพระมาลัยมีแพร่หลาย งานศพทุกงานจะต้องมีสวด พระมาลัยเสมอ ปัจจุบัน การสวดมาลั ย ได้ สู ญ หายไปเกื อ บหมดแล้ ว ตามยุ ค สมั ย ที่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช มี ค ณะสวดมาลั ย เหลื อ อยู ่ เป็นคณะสุดท้าย ซึ่งผู้สวดแต่ละคนอายุมากแล้ว คือ คณะครูแก้ว ผลความดี อาศัยอยู่ที่ชุมชนวัดท้ายส�ำเภา อ�ำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช ส่วนคณะสวดมาลัยในจังหวัด สุราษฎร์ธานีมีเหลือเพียง ๔ คณะ คือ ที่อ�ำเภอไชยา ได้แก่ คณะสวดมาลัยนายวารี ปัญญาอภิวงศ์ คณะสวดมาลัยบ้านสามสัก และคณะสวดมาลัยบ้านยาง เตี้ย และที่อ�ำเภอท่าชนะ ได้แก่ คณะสวดมาลัยสมอทอง ส�ำหรับองค์ความรู้ของการสวดมาลัยแต่ละคณะ เกี่ยวกับ โอกาสทีแ่ สดง ผูส้ วด ล�ำดับการสวด บทบาทของการสวด ความเชือ่ และความคลีค่ ลายเปลีย่ นแปลง มีทงั้ ทีย่ งั คงสภาพ เดิม และมีบางอย่างที่เปลี่ยนแปลงไปบ้าง ปัจจุบันการสวดมาลัยหมดความนิยม ผู้สวดพระมาลัยที่เหลืออยู่ก็แก่เฒ่า ผู้สนใจฝึกหัดเพื่อสืบต่อก็ไม่มี จึงท�ำให้พิธีกรรมการสวดพระมาลัยค่อยๆ เสื่อมหายไปในปัจจุบัน เอกสารอ้างอิง

- หนังสือหลักสูตรศิลปะการแสดงพื้นบ้าน(การสวดพระมาลัย) คณะครูแก้ว ผลความดี ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช - สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต้ –กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

192 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


พิธีไหว้บูชาแม่โพสพ

คนไทยและชนชาติอื่นในอุษาคเนย์เชื่อกันว่า ข้าวมีเทพธิดาประจ�ำอยู่ ชาวบ้านไทยทั่วไปในภาคกลาง ภาคใต้เรียกนามท่านว่า “แม่โพสพ” ส่วนคนอีสานเรียกว่า “แม่โคสก”โดยมีความเชื่อว่า หากใครปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ต่อต้นข้าว เม็ดข้าว ก็จะส่งผลให้เกิดความมั่งคั่ง สุขสมบูรณ์ ใครปฏิบัติไม่ดีต่อข้าว ทุ่งข้าว เม็ดข้าว ก็จะอดอยาก เกิดวิบัตินานา คนไทยจึงนับถือข้าวว่าเป็นของมีบุญคุณต่อชีวิต ข้าวคือพืชที่เลี้ยงชีวิตเผ่าพันธุ์ไทยยั่งยืนมาแต่โบราณ จนถึงปัจจุบันคนไทยจึงมีความกตัญญูต่อข้าว ยกย่องข้าวเป็นพืชศักดิ์สิทธิ์ นับถือแม่โพสพที่สถิตอยู่ในต้นข้าว เสมอมารดาของชีวิต ดังนั้นผู้เฒ่าผู้แก่จึงสั่งสอนว่าไม่ให้เหยียบย�่ำข้าว ไม่ให้สาดข้าวหรือท�ำข้าวหกกินข้าวเสร็จแล้ว ก็สอนให้ไหว้แม่โพสพขอบคุณแม้การมหรสพของชาวบ้านยามเมื่อร้องบทไหว้ครูก็จะมีการร้องระลึกคุณแม่โพสพ ไว้ด้วยดังบทไหว้ครูเพลงเรือบทหนึ่งมีความว่า “.......จะยกบายศรีขึ้นสี่มุม ลูกจะไหว้พระภูมิ ที่มาไหว้ทั้งแม่ข้าวเจ้า ทั้งพ่อข้าวเหนียว เสียเเหละ เมื่อลูกนี้เกี่ยวกันมาลูกจะไหว้โพสพ สิบนิ้วนอบนบ นิ้วหน้า ขอให้มาปกปักรักษาลูก ขออย่าให้มีทุกข์เลยหนาขอให้มา เป็นมงคลสวมบนเกศา กันแต่เมื่อเวลานี้เอย.....” ชาวไทยทั้ง ๔ ภาค จึงนับถือบูชาแม่โพสพอย่างยิ่ง และมีเรื่องเล่าต�ำนานที่มาของแม่โพสพไว้ทั่วทุกภาค โดยต�ำนานแม่โพสพนี้มีแตกต่างเป็น ๒ กลุ่มชน คือ ต�ำนานทางภาคกลางและภาคใต้กลุ่มหนึ่ง อีกกลุ่มคือต�ำนาน ทางภาคเหนือและภาคอีสาน เรียบเรียงโดย นิพัทธ์พร เพ็งแก้ว

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 193


พิธีไหว้บูชาแม่โพสพ

พิธีแรกหว่านข้าวในทุกปี ชาวนาจะอัญเชิญขวัญข้าวหรือแม่โพสพขึ้นไว้บนยุ้งฉางหลังจากเก็บเกี่ยวแล้ว ดังนั้นเมื่อจะหว่านข้าวในข้าวนาหว่านนั้น ต้องท�ำพิธีแรกหว่านข้าวหรือเชิญแม่โพสพลงนา โดยหาวันเวลาที่เป็นวันดี ตามความเชื่อ เป็นวันที่ผีไม่มากินข้าว ข้าวกล้าจึงจะงอกงามอุดมดี ไม่มีศัตรูต่างๆมาเบียดเบียน พิธีกรรมนี้เจ้าของนา หรือเจ้าของข้าวจะจัดกันขึ้นภายในครอบครัว โดยการเตรียมดินบริเวณมุมคันนาในวันดี เอาข้าวขวัญที่เก็บไว้มารวม กับข้าวปลูก แล้วหว่านเมล็ดข้าวเพื่อเอาฤกษ์เอาชัย บอกกล่าวด้วยคาถา ด้วยถ้อยค�ำดีๆ ขอให้แม่โพสพอย่าตกใจ ฝากแม่โพสพไว้กับแม่ธรณี พระภูมิ และผีต่างๆในทุ่งนา เมื่อท�ำพิธีแรกหว่านแล้ว ต่อไปจะหว่านข้าววันไหนก็ได้ ในฤดูกาลนั้นๆ พิธีแรกด�ำนา ส�ำหรับข้าวนาด�ำ การแรกด�ำนาก็ต้องตรวจหาวันที่เชื่อว่าเป็นวันดีมากที่สุด เป็นวันที่จะ ท�ำให้ทั้งคน ข้าว สัตว์ มีความอุดมสมบูรณ์ ปลอดภัย แม่โพสพอยู่ได้อย่างร่มเย็น ซึ่งในพิธีต้องขอร้องให้พระภูมิเจ้าที่ แม่ธรณี ผีตาแฮก ผีทุ่ง ผีนา ตลอดถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆที่นับถือ ขอร้องให้ช่วยกันดูแลแม่โพสพให้ดีด้วย โดยสัญญาว่า จะน�ำสิ่งของมาเซ่นสังเวยในโอกาสต่างๆต่อไป พิธีรับขวัญแม่โพสพ ข้าวพันธุ์พื้นเมืองโดยทั่วไปจะเริ่มตั้งท้องประมาณต้นเดือน ๑๑ (ประมาณเดือน ตุลาคม) ยกเว้นภาคใต้ที่จะต้องท้องประมาณเดือนอ้าย (ประมาณเดือนธันวาคม) เมื่อข้าวเริ่มตั้งท้องชาวนาจะสร้าง ศาลเพียงตาชั่วคราวขึ้นใส่เครื่องสังเวยรับขวัญแม่โพสพ และเพื่อเป็นการเตือนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ช่วยดูแลอย่างใกล้ชิด เครื่องเซ่นแม่โพสพมี ข้าว ปลา กล้วย อ้อย ถั่ว งา ขนม ผลไม้รสเปรี้ยว แป้ง กระจก เสื้อ หวี พิธีรับขวัญแม่โพสพนี้ ภาคใต้เรียกว่าพิธีคดข้าว ภาคกลางบางถิ่นเรียกส่งข้าวบิณฑ์ ทางเพชรบุรีเรียกว่าพิธีท�ำขวัญข้าว เพื่อรับขวัญแม่โพสพ ที่เริ่มตั้งท้อง ชาวนาเพชรบุรีนิยมจัดพิธีนี้ในวันศุกร์ ข้างขึ้น เดือน ๑๒ พิธีท�ำขวัญลานนวดข้าว คนสมัยก่อนเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างมี “ขวัญ” (ไม่ใช่วิญญาณ) คนก็มีขวัญอยู่ใน อวัยวะทุกส่วน สัตว์ก็มีขวัญ แม้ลานนวดข้าวก็มีขวัญด้วย เมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ก่อนนวดข้าว ชาวนาจึงต้องมี พิธีท�ำขวัญ เพื่อบอกกล่าว ขอขมา และเป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตตลอดปีว่าจะมีข้าวกินตลอดไปพิธีกรรมนี้ ทางภาคกลางเรียกท�ำขวัญลาน(นวดข้าว) แต่ทางอีสานและลาวบริเวณสองฝั่งโขงเรียก บุญคูณลาน การท�ำขวัญลานนวดข้าว เป็นพิธีท�ำบุญสู่ขวัญข้าวและเฉลิมฉลองในโอกาสเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ ชาวนา จะประกอบพิธีในเดือนยี่ แต่จะเป็นวันใดขึ้นอยู่กับหมอขวัญหรือหมอยามจะดูฤกษ์ว่า มียามมงคลตรงกับช่วงใด ถึงวันท�ำพิธีจะมีพระสงฆ์สวดมนต์เย็นที่ลานนวดข้าวรุ่งเช้าท�ำบุญเลี้ยงพระบริเวณเดิม เพื่อบูชาคุณของข้าว และอุทิศ ส่วนกุศลให้แม่ธรณี ตายาย และสิ่งอื่นๆ ตามความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น เช่น ผีไม่มีญาติ ครั้นเสร็จพิธีสงฆ์แล้ว พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

194 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


หมอขวัญท�ำพิธสี ขู่ วัญด้วยค�ำสูข่ วัญเพือ่ แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที และกล่อมขวัญแม่โพสพให้หายตกใจ และขอ ขมาลาโทษที่ได้ล่วงเกิน และเจ้าภาพก็จะเตรียมอาหารคาวหวานเครื่องเซ่นบูชาไว้ถวายแม่โพสพ ชาวนาท�ำพิธีนี้ เพื่อแสดงความกตัญญูรู้คุณแก่ข้าว รวมถึงคุณของสิ่งศักดิ์สิทธิ์และธรรมชาติต่างๆ ที่มีส่วนสัมพันธ์กับการท�ำนา จึงกล่าวได้ว่าการท�ำขวัญลานนวดข้าวก็คือพิธีกรรม ที่เปรียบเสมือนหลักประกันในความมั่นคงแห่งชีวิตของชาวนา ทั้งในแง่ของจิตใจของตนเองและความอุดมสมบูรณ์แห่งผลผลิตของข้าวที่จะได้รับ พิธีสู่ขวัญข้าวบนยุ้ง เมื่อมีการเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ชาวนาก็ท�ำพิธีเฉลิมฉลองผลผลิตที่ได้ถือโอกาส เลี้ยงอาหารเพื่อนบ้านเพื่อแก้บน เซ่นสังเวยเทพอารักษ์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆที่ให้การคุ้มครองปกปักรักษาคน สัตว์ พืชพรรณธัญญาหารให้ได้ผลดีอยู่เย็นเป็นสุขตลอดฤดูกาลที่ผ่านมา ชาวนามักนิมนต์พระสงฆ์มาบ�ำเพ็ญบุญ หรือไม่ ก็ไปร่วมท�ำบุญในวัดแล้วอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้เทพเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ รวมถึงแม่โพสพ พระฤาษี ตายาย ผี ปู่ย่า เจ้าที่ สรรพสัตว์ฯลฯ ให้มารับเอาส่วนบุญส่วนกุศลทั้งหลายไปด้วย และส�ำหรับการไหว้บูชาแม่โพสพหลังเก็บ เกี่ยวนี้ ชาวนาจะท�ำพิธีสู่ขวัญข้าวบนยุ้งเป็นพิธีกรรมภายในครอบครัว จัดขึ้นหลังเอาข้าวขึ้นยุ้งแล้ว ท�ำกันในช่วง เดือนยี่ (ประมาณเดือนมกราคม) จนกระทัง่ ถึงเดือนหก(ประมาณเดือนพฤษภาคม) เพือ่ กล่อมขวัญแม่โพสพให้อยูเ่ หย้า เฝ้ายุ้ง อย่าตื่นตกใจหนีไปอยู่ป่าอยู่เขา และเพื่อขอขมาลาโทษที่ได้ล่วงเกินแม่โพสพ เช่นได้นวด ได้ด�ำ ได้ถอน ได้หว่าน ได้ปักด�ำ ได้เก็บเกี่ยว หาบคอน ตลอดฤดูกาลที่ผ่านมาและที่จะกระท�ำต่อไป ขอแม่โพสพจงอย่าได้ถือสา และให้ อโหสิกรรมด้วย

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 195


การเสื่อมสลายของความเชื่อในแม่โพสพ

วิถีชีวิตของเกษตรกรไทยได้เริ่มเปลี่ยนเข้า สู่ระบบเกษตรกรรมแบบเคมีแทนการเกษตรแบบยังชีพ โดยอาศัยปัจจัยการผลิตทีน่ ำ� เข้าจากภายนอก ทัง้ พันธ์พุ ชื พันธุ์สัตว์ ปุ๋ย และสารเคมีต่างๆ ที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เว้นแม้อต่เครื่องจักรทางการเกษตร ชาวนาไทยใช้ปุ๋ย ใช้ ย าฆ่ า แมลง ใช้ เ ครื่ อ งจั ก รกลแทนแรงงานสั ต ว์ ใช้เทคโนโลยีต่างๆ ในทุกขั้นตอนการท�ำนาและมีการ ท�ำนาปีหนึง่ หลายครัง้ จนผืนนาทรุดโทรม ดินเปรีย้ ว แห้ง แข็งไปทั่วทุกพื้นที่ โครงสร้างทางการเกษตรของชาวนา ไทยในอดีตที่เคยพึ่งพิงตัวเองได้ เสื่อมสลายลง และ ชาวนาไทยมีความเชื่อเรื่องแม่โพสพลดน้อยลง ท�ำให้ พิ ธี ก รรมเกี่ ย วกั บ ข้ า ว เกี่ ย วกั บ แม่ โ พสพ เกี่ ย วกั บ การท� ำ นา มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปจนเกื อ บสู ญ หายไป จากวิถีชีวิตชาวนา แม้แต่ในหมู่บ้านลูกหลานชาวนารุ่น ปัจจุบันก็แทบไม่เคยรู้จัก ไม่เคยเห็นพิธีกรรมหลายอย่าง ที่ผูกพันกับแม่โพสพ เรื่องราวของแม่โพสพ แม่ธรณี แม่คงคาแทบจะสูญสลายไปจากการรับรู้ของชาวนายุค ปัจจุบัน จะคงเหลืออยู่บ้างก็ในพื้นที่ท�ำนาน�้ำฝน และใน พืน้ ทีท่ ำ� นาเกษตรอินทรีย์ เช่น โรงเรียนชาวนา ของมูลนิธขิ า้ วขวัญ จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จดั พิธี “ไหว้ครูบชู าแม่โพสพ” ให้ชาวนาไทยและลูกหลานชาวนาได้มาไหว้บูชาแม่โพสพอยู่เป็นประจ�ำในวันพืชมงคลของทุกปี ติดต่อกันมาแล้ว หลายปี ขณะนี้ ป ระเทศไทยมี ป ั ญ หาทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม สารพิ ษ สารเคมี ทางการเกษตรอย่ า งรุ น แรง และเยาวชนไทย ไม่มีความเชื่อมโยงใดๆกับคนรุ่นบรรพชน ไม่รู้จักไม่ศรัทธาในเทพธรรมชาติดังเช่นแม่ธรณี แม่คงคา แม่โพสพ ซึ่งเคยเป็นเทพส�ำคัญของโลกในวันวาน และเคยท�ำให้ประชาชนและเกษตรกรไทยมีวิถีชีวิตที่สงบร่มเย็น

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

196 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ซื่อสัตย์ ไม่โลภ ยึดถือสัจจะและความพอเพียงของชีวิตเป็นส�ำคัญ การฟื้นฟูความเชื่อศรัทธาในแม่โพสพจึงควรมีการ ปลูกฝังลงสูเ่ ยาวชนไทยผ่านทางต�ำราเรียนในหลักสูตรการศึกษาตัง้ แต่วยั เด็ก เด็กไทยควรได้เรียนรูว้ ถิ เี กษตรธรรมชาติ วิถขี องเกษตรกรไทยด้วยการทดลองลงสูช่ นบทและพืน้ ทีท่ างการเกษตรในภูมภิ าคต่างๆ เพือ่ จะได้สมั ผัสดิน น�ำ้ อากาศ ทุ่งข้าว ด้วยสองมือของตนเองอย่างแท้จริง อันจะเป็นการปลูกฝังความเข้าใจ-ศรัทธาในแม่โพสพและวิถีชีวิตแบบ เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างแจ่มชัด เมือ่ เยาวชนไทยเข้าใจและเห็นความส�ำคัญของวิถเี กษตรอินทรีย์ ก็จะน�ำไปสูก่ ารลด ช่องว่างระหว่างคนเมืองกับชนบท ลดช่องว่างระหว่างคนในวิชาชีพอืน่ ๆ กับเกษตรกรรากหญ้าอันเป็นการช่วยแก้ปญ ั หา ความแตกแยกรุนแรงของสังคมไทยที่มีมายาวนานตลอดช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา .................................................................. เอกสารอ้างอิง

๑. “แม่โพสพเทวีแห่งข้าว” โดย สุกัญญา ภัทราชัย ในข้าวกับวิถีชีวิตไทย (น.๑๒๙ - ๑๓๑) ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่ง ชาติ จัดพิมพ์ครั้งที่ ๒พ.ศ.๒๕๓๖ ๒. วัฒนธรรมข้าว พิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวและการท�ำนา โดย อ.เอี่ยม ทองดี ที่ระลึกพิธีอัญเชิญแม่โพสพคืนนาเฉลิมพระเกียรติฯ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๑ ณ โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด�ำริ ต�ำบลสีบัวทอง อ.แสวงหา จ.อ่างทอง พิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๑ ๓. ชุมนุมแหล่เครื่องเล่นมหาชาติ เล่ม ๒ รวบรวมโดย จ. เปรียญ ส�ำนักพิมพ์ธรรมบรรณาคาร กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๒๓ ๔. มูลนิธิข้าวขวัญ จังหวัดสุพรรณบุรี พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 197


พิธีกรรมขอฝน พิธีกรรมขอฝน เป็นพิธีกรรมที่จัดขึ้นเพื่อขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้ฝนตกเพื่อประโยชน์ในการ เกษตรกรรม จัดเป็นพิธีกรรมเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเป็นการสร้างขวัญและก�ำลังใจของ ชาวนาชาวไร่ ซึ่งพิธีกรรมขอฝนนั้นมีทั้งพิธีกรรมขอฝนที่เป็นพิธีหลวง ได้แก่ พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ และพิธีกรรม ขอฝนของชาวบ้านในภาคต่างๆ ของประเทศไทย พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ พระราชพิธี “พิรณ ุ ศาสตร์” สมัยโบราณเรียก “พรุณศาสตร์” เป็นพิธพี ราหมณ์ ปฏิบตั ขิ อฝนบ�ำรุงแผ่นดิน เป็นการขจัดภัยแล้งเมื่อฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เพื่อให้บ้านเมืองอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร อาณา ประชาราษฎร์ประกอบอาชีพเกษตรกรรมอย่างร่มเย็นเป็นสุข มีมาแต่สมัยสุโขทัย สมัยรัตนโกสินทร์ก�ำหนดเป็นพระราชพิธีจร มิได้จัดเป็นการประจ�ำทุกปี มีการจัดมาแล้วหลายครั้ง จะประกอบเฉพาะเมื่อบ้านเมืองเกิดฝนแล้งหรือมีทุพภิกขภัย ต้นสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑–๓ การพระราชพิธี คงเป็นพิธีพราหมณ์เช่นที่ถือปฏิบัติมาแต่โบราณ รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ทรงเพิ่มพิธีสงฆ์เพื่อความสวัสดิมงคลด้วย และถือปฏิบัติในรัชกาลที่ ๕ ตลอดรัชกาล โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ หนังสือเรื่องพระราชพิธีสิบสองเดือน ทรงเล่ารายละเอียดถึงมูลเหตุที่มีมาของพระราชพิธีพิรุณศาสตร์ไว้อย่าง กว้างขวาง เมื่อสิ้นรัชกาลแล้วปรากฏว่าในรัชกาลต่อมา ทั้งรัชกาลที่ ๖ รัชกาลที่ ๗ และรัชกาลที่ ๘ ไม่ได้มีการจัด พระราชพิธีนี้เลย ตราบรัชกาลปัจจุบัน

เรียบเรียงโดย สายไหม จบกลศึก, ผู้ช่วยศาตราจารย์เรณู อรรฐาเมศร์, รองศาตราจารย์วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ และ พ.อ.(พิเศษ) อ�ำนาจ พุกศรีสุข

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

198 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


พระราชพิธพี ริ ณ ุ ศาสตร์ในรัชกาลปัจจุบนั ปรากฏว่าได้จดั ขึน้ ครัง้ เดียว เมือ่ วันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๓ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ ม ให้ จั ด การพระราชพิ ธี พิ รุ ณ ศาสตร์ ณ วั ด ศี ล ขั น ธาราม อ� ำ เภอเมื อ งอ่ า งทอง จั ง หวั ด อ่ า งทอง ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งพระองค์เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงประกอบพระราชพิธี อนุโลมตามพระราชพิธีพิรุณศาสตร์ ครั้งรัชกาลที่ ๕ ในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปทีเ่ นือ่ งในการพระราชพิธพี ริ ณ ุ ศาสตร์ คือ พระคันธารราษฎร์ เรียกเป็น สามัญว่า พระขอฝน ซึง่ เป็นพระพุทธรูปส�ำคัญในหลายรัชกาล อัญเชิญมาจากหอราชพงศานุสร วัดพระศรีรตั นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ได้แก่ พระคันธารราษฎร์ รัชกาลที่ ๑ พระคันธารราษฎร์ รัชกาลที่ ๖ พระคันธารราษฎร์จีน พระอุปคุตหรือพระบัวเข็ม พระชัยนวโลหะ รัชกาลที่ ๔ และพระชัยนวโลหะ รัชกาลที่ ๕ หน้าอุโบสถ สร้างปะร�ำส�ำหรับพราหมณ์ประกอบพิธี ขุดสระน�้ำ กว้าง ๙ ศอก ยาว ๙ ศอก ลึก ๔ ศอก กลางสระตั้งบุษบกปิดทองประดิษฐานเจว็ด รูปพระอินทร์ ตกแต่งสระที่มุมทั้ง ๔ ด้วยราชวัตร ฉัตร ธง ต้นกล้วย ต้นอ้อย ขอบสระตั้งโต๊ะประดิษฐานรูปท้าวจตุโลกบาล ๔ ทิศ ในสระปล่อยสัตว์น�้ำ ประกอบด้วย กุ้ง ปู ปลาหมอ ปลาช่อน ปลาดุก ปลาตะเพียน กบ เต่า และตะพาบน�้ำ เริ่มพิธีด้วยหัวหน้าพราหมณ์ประกอบพิธีบูชาถวายเครื่องกระยาบวชและผลไม้แด่เทพเจ้าที่เชิญมา ในพระราชพิธี สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนินเข้าสูอ่ โุ บสถ ทรงพระสุหร่ายสรงพระพุทธ รูป ทรงคล้องพวงมาลัยถวายพระพุทธรูป ทรงโปรยดอกมะลิ ทรงจุดเทียนทอง เทียนเงิน ธูป เทียนก�ำลังวัน และเทียน หน้าพระคันธารราษฎร์จีน ทรงคม (ไหว้) แล้วจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการทองทิศบูชาพระพุทธรูปและพระประธาน ในอุโบสถ ทรงกราบอธิษฐาน ประทับพระราชอาสน์ พระสงฆ์ถวายศีล หัวหน้าพราหมณ์อา่ นประกาศพระราชพิธพี ริ ณ ุ ศาสตร์ พระสงฆ์จดุ เทียนชัยและเจริญคาถาจุดเทียนชัย พระสงฆ์ ๒๒ รูป เจริญพระพุทธมนต์แล้วสวดคาถาพิรณ ุ ศาสตร์ ต่อด้วยคาถาพระพุทธมนต์ จบแล้วสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม ถวายพระสงฆ์ ๒๒ รูป พระสวดภาณวาร ๔ รูป และพระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินทสุวัณโณ) วัดประดู่ฉิมพลี นั่งเจริญภาวนาขอฝน ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก จบ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ ไปทรงจุดเทียนก�ำลังวันที่ติดรอบขันพระสาครหน้าตู้เทียนชัยแล้วเสด็จฯ ไปทรงกราบ ทีห่ น้าเครือ่ งนมัสการ ทรงลาพระสงฆ์ ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งบูชากระบะมุก ทีห่ น้าอาสนสงฆ์พระสวดภาณวารทรงคม พระราชสังวราภิมณฑ์เจริญภาวนาขอฝนต่อไป

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 199


สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินออกจากอุโบสถไปยังมณฑลพิธีพราหมณ์ หน้าอุโบสถ ทรงพระสุหร่ายสรงเทวรูป ทรงโปรยดอกมะลิ ทรงจุดเทียนทอง เทียนเงิน ธูปเทียนก�ำลังวันบูชาเทวรูป และทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งสักการะท้ายทีน่ งั่ ทรงกราบอธิษฐาน พราหมณ์ทำ� พิธรี า่ ยพระเวทขอฝน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จฯ ไปยังสระน�ำ้ ทรงพระสุหร่ายพระอินทร์และท้าวจตุโลกบาล ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระอินทร์ และทรงจุดเทียนก�ำลังวัน ทรงโปรยข้าวตอกให้สัตว์น�้ำ ขณะเดียวกันพราหมณ์ประกอบพิธีบูชาพระเป็นเจ้าที่ หน้าศาลพระอินทร์ โหรหลวงบูชาท้าวจตุโลกบาล สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ประทับพลับพลา ทอดพระเนตรขบวนแห่นางแมว ๓ รอบ แล้วเสด็จพระราชด�ำเนินกลับพระสงฆ์ดับเทียนชัย จากนั้นจึงน�ำ กุ้ง ปู ปลา กบ เต่า ตะพาบ ฯลฯ ที่อยู่ในสระไปปล่อยลงแม่น�้ำพร้อมเชิญน�้ำที่ทรงหลั่ง ทักษิโณทกและน�้ำในขันพระสาครเทลงไปด้วย เป็นเสร็จพิธี นับแต่พุทธศักราช ๒๕๒๓ ถึงปัจจุบัน ไม่ปรากฏได้มีการจัดพระราชพิธีนี้ นอกจากมีการอัญเชิญ พระคันธารราษฎร์ ซึ่งเรียกว่า “พระพุทธรูปขอฝน” ออกประดิษฐานในการพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล แรกนาขวัญ ทุกครั้งตลอดมา พิธีกรรมขอฝนของชาวบ้านมีพบอยู่ในทุกภาคของประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อเกิดแล้งจัด ฝนไม่ตกต้อง ตามฤดูกาล ส่วนใหญ่มักกระท�ำในช่วงต้นฤดูฝน ประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม ในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง พิธีกรรมขอฝนของชาวบ้าน จ�ำนวน ๔ เรื่อง ได้แก่ พิธีแห่พระเจ้าฝนแสนห่า แห่มอม การแข่งเรือพญานาคเมืองน่าน และแห่นางแมว มากล่าวไว้พอสังเขปดังนี้

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

200 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แห่พระเจ้าฝนแสนห่า พระเจ้าฝนแสนห่า หรือพระเจ้าฝน พระเจ้าแสนแซ่ พระเจ้าฝนแสนทอง (วัดป่าตึง) เป็ น ค� ำ เรี ย กพระพุ ท ธรู ป ของล้ า นนา ที่ ม าจาก ปรัมปราคตินทิ าน เชือ่ ว่าพระเจ้าฝนแสนห่า มาจาก พระฤๅษีได้เนรมิตให้ฝนตกลงมาโปรดมนุษย์และได้ บันทึกลงในธรรม และมีเรื่องเล่าถึงพระพุทธรูปที่ หายไป บางต�ำนานสะท้อนว่าเป็นของคูบ่ า้ นคูเ่ มือง เป็นของเก่าแก่ ได้แก่ พญาเม็งราย เริ่มสร้างเมือง ก็สร้างพระพุทธรูปเก้าองค์ การหล่อพระฝนแสน ห่ามีเกจิอาจารย์หรือมหาเถระ ผู้อาวุโสเมืองเหนือ เรียกว่า “ครูบา” จ�ำนวน ๑๐๘ รูป เขียนคาถา ต่ า งๆ ลงในแผ่ น ทองหรื อ แท่ ง ทองทุ ก ๆ แผ่ น หรือแท่งก่อนจะหลอมเทลงเบ้าแม่พิมพ์ เวลา เททองลง พระเกจิทกุ รูปก็จะสวดพระคาถาของฝน และสวดไปจนกว่าพิธีเททองนั้นจะเสร็จสิ้น การแห่ พ ระเจ้ า ฝนแสนห่ า ทาง ภาคเหนือ ของประเทศไทย เชื่อว่าปฏิบัติมานาน กว่า ๕๐๐ ปีแล้ว ปัจจุบัน ในจังหวัดเชียงใหม่ จะท�ำพิธีบูชาพระเจ้าฝนแสนห่า ๒ ประเพณี คือ แห่ในวันสงกรานต์ และอีกวาระหนึ่งเมื่อถึงวัน เดือนปีทจี่ ะมีพธิ แี ห่พระพุทธรูปส�ำคัญ หรือพิธบี ชู า เสาอิ น ทขิ ล ทางเทศบาลนครเชี ย งใหม่ จ ะท� ำ หนั ง สื อ ขออนุ ญ าตอั ญ เชิ ญ พระเจ้ า ฝนแสนห่ า มาร่วมพิธีดังกล่าวทุกครั้ง

ขบวนแห่พระเจ้าฝนแสนห่า วัดเหมืองง่า จังหวัดล�ำพูน ที่มาภาพ อ�ำภาพันธ์ รินปัญโญ

ขบวนแห่พระเจ้าฝนแสนห่าจากวัดช่างแต้ม ที่มา นายสุทธิรักษ์ โกช่วย พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 201


แห่มอม “มอม” เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ มีลักษณะเป็นสัตว์ผสมระหว่างสิงโตกับลิง มอมเป็นพาหานะของ ท้าวปัชชุนนเทวบุตรซึ่งเป็นเทพแห่งเมฆและฝน บางความเชื่อเล่าว่ามอมมีก�ำลังมหาศาลจึงลืมตัว ชอบแสดงอ�ำนาจ จึงกลับสู่สวรรค์ไม่ได้ เทพปัชชุนนะจึงสั่งให้เฝ้าพุทธสถาน เพื่อจะได้ฟังธรรม จนกว่าจะละความทะนงตนจึงจะได้กลับ คืนไปเป็นเทพพาหนะ ในปั จ จุ บั น ไม่ มี ป ระเพณี ก ารแห่ ม อมเพื่ อ ขอฝนแล้ ว แต่ เ ดิ ม เชื่ อ ว่ า บู ช าเพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคล น�ำความร่มเย็นเป็นสุข ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล บ้านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์ เมื่อก่อนชาวล้านนาจะสร้างมอมไม้ ทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่เอาไว้แห่เพื่อขอฝน นอกจากนี้ บางแห่งชาวบ้านได้มาบนบานมอม เพื่อขอพึ่งพิงเรื่องต่างๆ เพิม่ ขึน้ นอกจากเรือ่ งความอุดมสมบูรณ์ให้ฝนตกต้องฤดูกาล โดยบนบานเรือ่ งการท�ำมาหากินทีเ่ ปลีย่ นไป และขอเรือ่ ง ต�ำแหน่งการงาน ในปัจจุบนั มอมไม้ทเี่ อาไว้แห่ไม่คอ่ ยมีให้เห็นแล้ว ทีย่ งั เหลืออยูจ่ ะเป็นมอมปูนปัน้ หมอบอยูแ่ ถวบันได โบสถ์ วิหารตามวัด และผู้คนก็ไม่ค่อยรู้จัก

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

202 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การแข่งเรือพญานาคเมืองน่าน เมืองน่านเป็นเมืองโบราณทีป่ รากฏชือ่ ตัง้ แต่ราว พ.ศ.๑๘๒๐ ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามค�ำแหงยุคสุโขทัย นอกจากนั้นยังมีอีกชื่อว่า “นาเคนทรนคร” ซึ่งหมายถึง เมืองแห่งพญานาค ที่แสดงถึงความสัมพันธ์กับผู้ตั้งเมืองคือ “ขุนนุ่น” และ “ขุนฟอง” ราชบุตรบุญธรรมของพระญาภูคา ที่ถือก�ำเนิดมาจากไข่พญานาค นอกจากนั้นชื่อเมือง ตามระบบภูมิทักษา ยังตรงกับ “นาคนาม” ด้วยเหตุนี้จึงพบรูปพญานาคอยู่ทั่วไปในศาสนสถาน รวมถึงสิ่งที่แสดงถึง ความอุดมสมบูรณ์และผูกพันกับวิถีชีวิตของผู้คน นั่นคือ “เรือ” ในอดีตคนเมืองน่านใช้เรือเป็นพาหนะส�ำคัญในการ เดินทาง ถึงกับมีการตรากฎหมายที่ว่าด้วยเรือเอาไว้อย่างละเอียดดังปรากฏใน “อาณาจักรหลักค�ำ” กฎหมายโบราณ ของเมืองน่านว่า ถ้าผู้ใดขโมยเรือของผู้อื่นไปหากถูกจับได้จะต้องเสียค่าปรับ ๑๑๐ น�้ำผ่า (มาตราเงินสมัยโบราณ) แต่ถ้าเรือที่ขโมยไปเกิดความเสียหายก็ให้จ่ายค่าเสียหายตามราคาจริงของเรือและถูกปรับอีก ๑๑๐ น�้ำผ่า ถ้ามี ความจ�ำเป็นต้องใช้เรือจริงๆ ก็ให้เช่าหรือยืมจากเจ้าของให้ถูกต้องเสียก่อน ในกฎหมายยังบัญญัติอีกว่าถ้าหากเรือ ของผูใ้ ดหลุดไหลไปตามน�ำ้ ถ้ามีผเู้ ก็บได้จะต้องให้รางวัลแก่ผนู้ นั้ ตามระยะทางทีเ่ รือไหลไป เช่น ถ้าเรือไหลจากท่าเวียง ไปถึงเมืองสา ให้จ่าย ๕๐ ธ็อก (มาตราเงินสมัยโบราณ) ถ้าผู้เก็บได้หมายจะครอบครองไว้เสียเอง ถ้ารู้ภายหลังก็จะ ต้องเสียเงินให้แก่เจ้าของเรือ ๒๒๐ น�้ำผ่า แต่ถ้าเจ้าของเรือไปเอาโดยพลการโดยไม่แจ้งผู้เก็บได้เสียก่อน เจ้าของเรือ ก็ตอ้ งเสียค่าปรับให้แก่ผเู้ ก็บได้ ๕๒ น�ำ้ ผ่า จะเห็นได้วา่ อาณาจักรหลักค�ำได้ให้ความเป็นธรรมแก่ราษฎรอย่างเสมอหน้า

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 203


จากการที่ชาวน่านใช้เรือเป็นหลัก จึงก่อให้เกิดประเพณีแข่งเรือที่สันนิษฐานว่าน่าจะมีมาไม่ต�่ำกว่า ๒๐๐ ปี ดังปรากฏหลักฐานเป็นเรือขุดโบราณที่พบในเมืองน่าน เช่น เรือเสือเฒ่าท่าล้อ ที่ขุดเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๙ ปัจจุบัน ก็มีอายุถึง ๑๙๗ ปี และที่ส�ำคัญเรือเหล่านั้นต่างมีเอกลักษณ์โดดเด่นคือการประดับส่วนหัวเรือเป็นรูปพญานาคทั้งสิ้น ดังนั้น เรือจึงมิใช่เป็นเพียงพาหนะเพื่อการคมนาคมเท่านั้น หากแต่ยังเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมโดยเฉพาะพิธีกรรม แห่งความอุดมสมบูรณ์ ผ่านประเพณีแข่งเรือ ชาวน่านเชื่อกันว่าเมื่อใดที่มีการแข่งเรือที่เป็นรูปพญานาคนี้แล้ว จะท�ำให้เกิดฝนตก เพราะเปรียบเสมือนการน�ำนาคลงเล่นน�้ำ จึงเปรียบเสมือนการ “ขอฝน” การแข่งเรือของเมืองน่านเท่าที่มีการสืบพบจะจัดขึ้นหลังจากออกพรรษา พร้อมประเพณีตานก๋วยสลาก (ถวายทานสลากภัต) ทีช่ าวบ้านแต่ละหมูบ่ า้ นจัดเตรียมของไปร่วมประเพณีตานก๋วยสลาก และเกิดการแข่งขันพานเรือ เพื่อความสามัคคีและสนุกสนาน ต่อมาภายหลังทางราชการจึงเริ่มมีการจัดการแข่งขันเป็นการเฉพาะกิจ หลังจากที่ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ได้โปรดให้มีการแข่งขันเรือขึ้นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๐ เพื่อต้อนรับสมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระนครสวรรค์วรพินติ เมือ่ คราวเสด็จมาตรวจราชการทีเ่ มืองน่าน หลังจากนัน้ ข้าหลวงและข้าราชการทีม่ าประจ�ำ ที่เมืองน่าน ก็ได้ส่งเสริมประเพณีแข่งเรือของเมืองน่านมาโดยล�ำดับ ซึ่งการจัดให้มีการแข่งเรือประเพณีเพื่อเป็นการ เฉลิ ม ฉลองและเป็ น ประเพณี สื บ ต่ อ กั น มาทุ ก ปี เริ่ ม ต้ น ในปี พ.ศ.๒๔๖๗ ในสมั ย ของพระยาวรวิ ชั ย วุ ฒิ ก ร (เลื่อนสนธิรัตน์) ปลัดมณฑลประจ�ำจังหวัดน่าน ได้ริเริ่มให้มีการทอดกฐินสามัคคีของจังหวัดน่านขึ้นอย่างเป็นทางการ ต่อมาประเพณีแข่งเรือจึงค่อยพัฒนาเป็นล�ำดับ ดังเช่น พ.ศ.๒๔๗๙ พระเกษตรสรรพกิจ (นุ่น วรรณโกมล) ข้าหลวง ประจ�ำจังหวัดน่าน ได้จัดให้มีกฎกติกาการแข่งขันเรือขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นกติกาง่ายๆ เช่น มีจุดปล่อยและเส้นชัย ส่วนรางวัลก็มีธง(ช่อ)ปักหัวเรือ มอบให้เรือที่ได้รับรางวัลที่ ๑ ต่อมาเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๘ นายมานิต บุรณพรรค ผูว้ า่ ราชการจังหวัดน่าน ได้จดั ให้องค์การดุรยิ างค์นาฏศิลป์ กรมศิลปากร มาถ่ายท�ำภาพยนตร์สารคดีเพือ่ เป็นหลักฐาน ทางด้านมนุษยชาติ วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

204 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


หลังจากนั้นการแข่งเรือเมืองน่าน ได้ไปสัมพันธ์กับการทอด“กฐินหลวง” เมื่อหลวงอนุมัติราชกิจ (อัน๋ อนุมตั ริ าชกิจ) ผูว้ า่ ราชการจังหวัดน่าน ได้ขอพระราชทานผ้าพระกฐินพระราชทานน�ำไปทอด ณ วัดพระธาตุชา้ งค�ำ้ วรวิหาร การแข่งเรือประเพณีในปีนั้นจึงเป็นการแข่งเรือกฐินพระราชทานตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๓ และมีพัฒนาการ ในการจัดการแข่งขันต่อมา ดังในปี พ.ศ.๒๕๒๒ พันโทนายแพทย์อุดม เพชรศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน ได้ก�ำหนดให้ มีการแข่งเรือประเพณีนัดเปิดสนามในงานประเพณีทานสลากภัตของวัดพระธาตุช้างค�้ำวรวิหาร ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ ประมาณเดือนกันยายน และให้มีการแข่งเรือประเพณีนัดปิดสนามในงานทอดกฐินพระราชทาน ซึ่งก�ำหนด ในวันเสาร์–อาทิตย์ หลังออกพรรษาประมาณ ๑–๒ สัปดาห์ อยูใ่ นช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน จึงถือเป็นข้อปฏิบตั ิ จนถึงปัจจุบัน การแข่งเรือพญานาคเมืองน่านยิ่งเพิ่มความส�ำคัญมากขึ้น เมื่อนายชัยวัฒน์ หุตะเจริญ ผู้ว่าราชการ จังหวัดน่าน ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานถ้วยรางวัลประเภทเรือใหญ่ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช เพื่อเป็นรางวัลให้กับเรือแข่งที่ชนะเลิศ ในปี พ.ศ.๒๕๒๖ เรือขุนน่าน บ้านศรีบุญเรือง อ�ำเภอภูเพียง ได้รบั พระราชทานถ้วยรางวัลเป็นปีแรก ต่อจากนัน้ มาจึงมีการทูลขอพระราชทานถ้วยรางวัลจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และปีที่สร้างความปิติยินดีแก่ชาวน่าน คือ ปี พ.ศ.๒๕๒๗ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน เป็นองค์ประธาน ในพิธีปิดการแข่งขันเรือประเพณีจังหวัดน่าน และได้พระราชทานถ้วยรางวัลให้แก่เรือแข่งที่ชนะเลิศในการแข่งขัน นับแต่นั้นมาการแข่งเรือเมืองน่านก็ได้รับความสนพระทัยจากพระบรมวงศานุวงษ์มาโดยตลอด โดยเฉพาะจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงให้มีการจัดการพายเรือพญานาคนี้ให้แก่พระราชอาคันตุกะ จากต่างประเทศได้ร่วมชื่นชม พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 205


แห่นางแมว ประเพณีแห่นางแมวเป็นพิธีอ้อนวอนขอฝนของพวกชาวบ้านที่มีมาช้านาน ซึ่งเป็นพิธีกรรมของชาวไทย ชนบททัว่ ไป ทัง้ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะจัดท�ำขึน้ ในปีทที่ อ้ งถิน่ แห้งแล้ง ผิดปกติ ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล อันจะท�ำให้ชาวบ้านเดือดร้อน กล่าวคือ ในสังคมของไทยเรานั้นส่วนใหญ่แล้ว ประชาชนจะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก การประกอบอาชีพทางเกษตรในสมัยก่อน ต้องพึ่งพาสภาพดินฟ้า อากาศ ซึง่ เป็นไปตามธรรมชาติ ดังนัน้ ปัจจัยของความสมบูรณ์จงึ มีความเกีย่ วข้องกับฝนเป็นหลัก ตามความเชือ่ ดัง้ เดิม “ฝน” เป็นสิ่งที่เบื้องบนประทานลงมา ถ้าปีไหนฝนดีข้าวกล้าในนาก็เจริญงอกงาม หากปีใดฝนแล้งหรือฝนไม่ตกต้อง ตามฤดูกาล ข้าวกล้าในนาก็จะเสียหาย ไม่มีน�้ำจะท�ำนา อาจถึงกับให้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพงได้ และชาวนา ส่วนใหญ่มีความเชื่อว่าการพึ่งพิงอ�ำนาจที่เหนือธรรมชาติ ว่าปีใดฝนเกิดแห้งแล้ง ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ชาวนาทั้ง หลายก็จะไม่สามารถท�ำนาได้เนื่องจากไม่มีน�้ำ ชาวนาไม่มีวิธีการอื่นใดที่จะช่วยได้ จึงพึ่งพาสิ่งเหนือธรรมชาติต่างๆ จึงท�ำให้เกิดพิธีกรรมที่เรียกว่า “การแห่นางแมว” ซึ่งเป็นความเชื่อว่าหากกระท�ำเช่นนั้นแล้วจะช่วยให้ฝนตกได้ ภายใน ๓ วันหรือ ๗ วัน การแห่นางแมวจึงเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตราบจนทุกวันนี้ อีกทั้งพิธีแห่นางแมวไม่ได้ บ่งบอกถึงเพียงความเชื่อของคนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเท่านั้นแต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในหมู่บ้าน ให้แนบแน่นยิง่ ขึน้ ได้ โดยกลุม่ คนทีม่ อี าชีพเกษตรกรรมได้กลับมารวมตัวกันอีกครัง้ หนึง่ ท�ำให้เกิดความสร้างสรรค์สามัคคี สามารถท�ำให้ชุมชน ชาวนามีความเป็นปึกแผ่นมากขึ้นด้วย

ที่มา : http://202.129.59.73/nana/legend/cat/cat.htm

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

206 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


สิ่งส�ำคัญที่ใช้ในพิธีแห่นางแมว ๑) กะทอหรือเข่งหรือกระบุง ที่มีฝาปิดข้างบน ๑ อัน ๒) แมวสีสวาทหรือ สีด�ำตัวเมีย ๑-๓ ตัว(เหตุที่ใช้แมวสีด�ำเพราะ ให้เป็นสีด�ำเหมือนก้อนเมฆเมื่อฝนตก) ๓) เทียน ๕ คู่ ๔) ดอกไม้ ๕ คู่ และ ๕) ไม่ส�ำหรับสอดกะทอให้คนหาม ๑ หรือ ๒ อัน ประเพณีแห่นางแมวจะต้องใช้คนประมาณ ๑๕ ถึง ๒๐ คน เมื่อจะแห่นางแมวเพื่อขอฝน ชาวบ้าน โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำในการเกษตรกรรม ทั้งคนแก่ คนหนุ่ม และเด็กทั้งผู้ชายและผู้หญิง ปรึกษาหารือกัน จัดคนทีจ่ ะเป็นผูน้ ำ� ร้องเพลงหรือกล่าวเซิง้ เพือ่ ให้ผไู้ ปแห่ทงั้ หมดเป็นผูว้ า่ ตาม ส่วนใหญ่จะเป็นคนเฒ่า คนแก่ในหมู่บ้าน ขบวนแห่นางแมว ประกอบด้วย คานหามแมว คือน�ำกะทอ เข่ง กระบุง หรือตะกร้าใบหนึ่งมาตกแต่ง ให้สวยงาม แล้วผู้เฒ่าที่รู้ประเพณีจะหานางแมว (แมวตัวเมียสีด�ำหรือแมวไทยพันธุ์สีสวาด ซึ่งคนไทยโบราณเรียก แมวมาเลศ) โดยคัดเลือกตัวที่มีรูปร่างปราดเปรียว สวยงาม ๑-๓ ตัวใส่ในกะทอ ก่อนที่จะน�ำนางแมวเข้ากระทอหรือ กระบุง คนทีเ่ ป็นผูอ้ าวุโสทีส่ ดุ จะพูดกับนางแมวว่า “นางแมวเอย ขอฟ้าขอฝน ให้ตกลงมาด้วยนะ” พอหย่อนนางแมว ลงกระทอแล้ว ใช้เชือกผูกปิดปากะทอไม่ให้แมวออกได้ และใช้ไม้คานสอดกะทอให้คนหามหัวท้าย ๒ คน ตั้งคาย ด้วยขันธ์ห้า เป่าสักเคเทวดา เพื่อให้เทวดาบันดาลให้ฝนตก พอได้เวลา (บางที่ท�ำเมื่อเวลาพลบค�่ำผู้คนก�ำลังอยู่บ้าน บางที่อาจจะแห่ไปเรื่อยๆ จากเช้าจนถึงค�่ำ) ก็เริม่ ขบวนแห่โดยหามกะทอแมวออกข้างหน้า แล้วตามด้วยคนหาบข้าวปลาอาหารทีช่ าวบ้านให้เป็นรางวัลมา ถัดจาก ขบวนหาบเป็นขบวนนักร�ำ ขบวนไอ้ขิกซึ่งจะมีการเอาไอ้ขิกไล่ทิ่มชาวบ้านที่ยืนดูขบวนเป็นการหยอกล้อกันอย่าง สนุกสนาน และขบวนนักร้องกลองยาว มีคนร้องเพลงหรือว่าค�ำเซิ้ง และผู้แห่ว่าตามเป็นท่อนๆ ไป โดยมีกลองยาวน�ำ ขบวน ในขบวนก็จะมีการตีเกราะเคาะไม้เพื่อให้เกิดจังหวะ ร้องร�ำท�ำเพลงที่สนุกสนานเฮฮาตามไปด้วยพร้อมกับร้อง เพลงแห่นางแมวหรือว่าค�ำเซิง้ พร้อมมีเหล้ายาอาหารอย่างพอเพียง ผูห้ ญิงทีเ่ ข้าร่วมในพิธแี ห่ จะผัดหน้าขาว ทัดดอกไม้ สดดอกโตๆ แห่ขบวนไปตามหมู่บ้านทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านนั้นๆ เมื่อแห่ไปถึงบ้านไหนเจ้าของบ้านก็ต้องออกมา ต้อนรับอย่างเต็มที่ และจะเอากระบวยตักน�้ำสาดหรือรดที่ตัวแมวให้เปียก(ประเพณีบางบ้านก็สาดใส่ขบวนเฉยๆ โดยไม่สาดให้ถกู แมว เพราะเกรงว่าแมวจะตาย) ท�ำให้แมวร้อง และสาดใส่ขบวนเซิง้ ด้วย พร้อมทัง้ ให้รางวัลแก่พวกแห่ เช่น เหล้า ข้าวสาร ปลาย่าง ปลาเค็ม ไข่ต้ม สิ่งของ สตางค์บ้าง และของกินอื่นๆ ตามมีตามเกิด ปลาย่างนั้นส�ำหรับ ให้แมวกิน แล้วเคลื่อนต่อไปเรื่อยๆ จนหมดเขตหมู่บ้านก็น�ำของนั้นมาเลี้ยงกัน ของที่กินไม่ได้ เช่น ข้าวสาร หอม กระเทียม ก็น�ำไปถวายพระที่วัด สตางค์ก็น�ำไปซื้อของ เช่น ถ้วยชาม ถ้าแห่แล้วฝนยังไม่ตก ก็ต้องแห่ซ�้ำในวันรุ่งขึ้น และวันต่อๆ ไปจนกว่าฝนจะตกเชื่อกันว่า ถ้าแห่นางแมวแล้วฝนจะตก ภายใน ๓ วันหรือ ๗ วัน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 207


นอกเหนือจากพิธกี รรมขอฝนของชาวบ้านดังกล่าวข้างต้น ยังปรากฏว่ามีพธิ ขี อฝนของชาวบ้านทีเ่ ห็นกัน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ การแห่ช้างปัจจัยนาเคนทร์ เป็นพิธีที่จัดขึ้นเนื่องจากจุดบั้งไฟแล้วฝนก็ยังไม่ตก แห่นางแมวแล้วฝนก็ยัง ไม่ตก เป็นงานที่จัดขึ้นในระดับต�ำบลหรืออ�ำเภอเพราะมีผู้มาร่วมงานอย่างล้นหลาม แต่ก็ไม่ได้จัดบ่อยนัก ช้างปัจจัย นาเคนทร์ ซึ่งเป็นช้างคู่บารมีของพระเวสสันดร ช้างปัจจัยนาเคนทร์อยู่ที่ใดที่นั่นก็จะอุดมสมบูรณ์ จึงมีแต่คนอยากได้ ซึ่งพระองค์ทรงบ�ำเพ็ญทานหรือทานบารมี โดยให้ช้างปัจจัยนาเคนทร์แก่บ้านเมืองอื่น เพราะบ้านเมืองที่แห้งแล้ง ฝนไม่ตกจะได้ชุ่มชื่น เรื่องราวของช้างปัจจัยนาเคนทร์ที่น�ำความอุดมสมบูรณ์มาให้ จึงได้มีการจัดพิธีแห่ช้างปัจจัย นาเคนทร์ขึ้นมีการจ�ำลองเหตุการณ์ที่เหมือนจริงตามเรื่อง มีการน�ำไม้ไผ่ ผ้า กระดาษสีต่างๆ มาท�ำเป็นช้างตัวใหญ่ มหึมาสวยงาม มีการแห่จากหมูบ่ า้ นหนึง่ ไปยังอีกหมูบ่ า้ นหนึง่ และขับร้องกลอนล�ำเป็นเรือ่ งราวระหว่างทาง ตลอดขบวน แห่ก็มีการสาดน�้ำ ฟ้อนร�ำสนุกสนานกันทั่วหน้า ไม่นานฝนที่ท�ำท่ามืดครึ้มก็ตกลงมาให้เย็นชุ่มฉ�่ำกัน การจุดบั้งไฟขอฝนจากพญาแถนที่คนภาคตะวันออกเฉียงเหนือเชื่อว่าเป็นเทพที่ท�ำให้เกิดฝนตก จึงจัด พิธีจุดบั้งไฟบูชาพญาแถนซึ่งมีปรากฏให้เห็นในวรรณกรรมและต�ำนานพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถ้าฝน ยังไม่ตกก็จะมีการแห่นางแมวกัน ซึ่งถือว่าเป็นการสนุกสนานไปในตัว กล่าวโดยสรุปได้ว่า พิธีกรรมขอฝนของคนไทย ถือเป็นวัฒนธรรมประเพณีที่มีมานาน คู่กับสังคมไทย ที่เป็นสังคมเกษตรกรรม จ�ำเป็นที่จะต้องใช้น�้ำในการอุปโภค บริโภค ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ในงานด้านการเกษตร ด้วยเหตุที่ฟ้าฝนชลประทานไม่ตกต้องตามฤดูกาล คนไทยจึงอยู่นิ่งดูดายไม่ได้เพื่อความอยู่รอดจึงต้องหาวิธีอะไร สักอย่างที่จะท�ำให้ฝนตกลงมา ในปัจจุบันมีความเชื่อเรื่องการขอฝนยังมีอยู่โดยทั่วไป ปีใดที่ฝนแล้งไม่ตกต้องตาม ฤดูกาลชาวบ้านจะชักชวนกันท�ำพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นประเพณีที่มีมาแต่โบราณ ควบคู่กับการท�ำฝนหลวง ซึ่งเป็น กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ฝนตกเพื่อการท�ำเกษตรกรรมของคนไทย

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

208 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เอกสารอ้างอิง

กองสารสนเทศสิ่ ง แวดล้ อ ม กรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม. ฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่จังหวัดน่าน. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: กองสารสนเทศสิง่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม, ๒๕๔๓. คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดน่าน. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย ; กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๒. คณะท�ำงานเอกลักษณ์น่าน. เอกลักษณ์น่าน. เชียงใหม่: ส�ำนักพิมพ์ Maxx Print, ๒๕๔๙. ประสิทธ์ พงศ์อุดม. นันทบุรีศรีน่าน: ประวัติศาสตร์ สังคม และ คริสต์ศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ ๑. เชียงใหม่: ฝ่ายประวัติศาสตร์ สภาคริสตจักรในประเทศไทย, ๒๕๓๙. ประเสริฐ ณ นคร. “ประวัตศิ าสตร์เมืองน่านจากต�ำนานและจารึก,” เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ โบราณคดีและ ประวัติศาสตร์เมืองน่าน ณ โรงแรมเทวราช จ.น่าน วันที่ ๔-๖ มีนาคม ๒๕๓๐. พงศาวดารเมืองน่าน. เชียงใหม่: ธนุชพริ้งติ้ง, ๒๕๔๓. “พงศาวดารเมืองน่าน” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่ม ๔ ภาคที่ ๑๐. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ก้าวหน้า, ๒๕๐๗. พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ จากนิตยสารศิลปากร ฉบับ พ.ศ.๒๕๒๓ พิ ษ ณุ จั น ทร์ วิ ทั น . ล้ า นนาไทยในแผ่ น ดิ น พระพุ ท ธเจ้ า หลวง. กรุงเทพฯฯ: บริษัท แปลน พริ้นติ้ง จ�ำกัด, ๒๕๓๙ พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. เมืองน่าน. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๐. ศรีศักร วัลลิโภดม. ลุ่มน�้ำน่าน: ประวัติศาสตร์โบราณคดีของ พิ ษ ณุ โ ลก“เมื อ งอกแตก”. กรุ ง เทพฯ: บริ ษั ท พิ ฆ เณศ พริ้นติ้ง เซนเตอร์จ�ำกัด, ๒๕๔๖.

ศิลปากร, กรม. เมืองน่าน. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, ๒๕๓๐ ศิลาจารึกของหมื่นดาบเรือง, สารานุกรมล้านนาเล่ม ๘, สารานุกรมวัฒนธรรม ของส�ำนักวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์ กรมศิลปากร สุจิตต์ วงษ์เทศ, นาค ในประวัติศาสตร์อุษาคเนย์. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิม มติชน จ�ำกัด, ๒๕๔๖. สรัสวดี อ๋องสกุล. พื้นเมืองน่าน ฉบับวัดพระเกิด. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์อมรินทร์วิชาการ, ๒๕๓๙. สุริยพงษ์ผริตเดชฯ, พระเจ้า. พงศาวดารเมืองน่าน. พระนคร: หอพระสมุดวชิรญาณ, ๒๔๑๖ หนั ง สื อ “ข้ า วบนแผ่ น ดิ น กลายเป็ น อื่ น ” โดยเมี ย งซอ คีรีมัญจา,ปกรณ์ คงสวัสดิ์ หมายก�ำหนดการพระราชพิธีพิรุณศาสตร์ ส�ำนักพระราชวัง พ.ศ.๒๕๒๓ อนุรตั น์ วัฒนาวงศ์สว่าง และศิรศิ กั ดิ์ คุม้ รักษา. น่าน. กรุงเทพฯ: สารคดี, ๒๕๔๔. อรุณรัตน์ วิเชียรเขียวและโรเบิรต์ ลิเซก .วัดในล้านนา, ๒๕๓๕.

บุคคลอ้างอิง

นางอ�ำภาพร รินปัญโญ นักศึกษาปริญญาโทชาคติชนวิทยาพัฒนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ นางชนานันทน์ ฟองศิริ นักศึกษาปริญญาโทชาคติชนวิทยาพัฒนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ สุทธิรักษ์ โกช่วย นักศึกษาปริญญาโทชาคติชนวิทยาพัฒนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, นายรุ่งโรจน์ สุพรรณพร คนท�ำสวนวัดพระสิงห์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเขียงใหม่ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 209


ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล ความหมายและประเภท ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล หมายถึง องค์ความรู้ วิธีการ ทักษะ ความเชื่อ แนวปฏิบัติและการแสดงออกที่พัฒนาขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติและ เหนือธรรมชาติ ประเภทของความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล ๑. อาหารและโภชนาการ หมายถึง สิ่งที่มนุษย์บริโภค รวมถึงวิธีการปรุงและประกอบอาหาร รูปแบบ การบริโภค และคุณค่าทางโภชนาการ ๒. การแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ๒.๑ การแพทย์แผนไทย หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์ เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บ�ำบัด รักษา หรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์หรือ/และสัตว์ ด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ๒.๒ การแพทย์พื้นบ้าน หมายถึง การดูแลสุขภาพตนเองในชุมชนแบบดั้งเดิม โดยอาศัยความเชื่อ พิธีกรรม และทรัพยากรที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

210 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


๓. โหราศาสตร์และดาราศาสตร์ ๓.๑ โหราศาสตร์ หมายถึง ความรูใ้ นการท�ำนายโชคชะตา ท�ำนายอนาคตของบุคคล และบ้านเมือง โดยอาศัยต�ำแหน่งของดวงดาวในเวลาที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ๓.๒ ดาราศาสตร์ หมายถึง ความรู้ที่เกี่ยวกับการสังเกตและอธิบายปรากฏการณ์ของธรรมชาติ ของดวงดาวและเทหฟ้า ๔. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ความรู้ ความเชือ่ ในการจัดการระบบนิเวศ เพือ่ การอนุรกั ษ์ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ๕. ชัยภูมิและการตั้งถิ่นฐาน หมายถึง ความรู้และความเชื่อในการเลือกที่อยู่อาศัย ที่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม และวัฒนธรรมของชุมชน

เกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียน ๑. มีการสืบทอดและยังปฏิบัติอยู่ในวิถีชีวิต ๒. เป็นเรื่องที่สะท้อนเอกลักษณ์ของชาติ หรืออัตลักษณ์ของชุมชนหรือภูมิภาค ๓. เป็นเรื่องที่เสี่ยงต่อการสูญหายหรือก�ำลังเผชิญกับภัยคุกคาม ๔. คุณสมบัติอื่นๆ ที่คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าเหมาะสม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 211


ข้าวต้มมัด

ข้าวต้มมัด เป็นขนมพืน้ บ้าน จัดอยูใ่ นเครือ่ งไทยทานถวายพระภิกษุในเทศกาลตักบาตรเทโวและเทศกาล ออกพรรษา นิยมท�ำกันทั่วทุกภาคของประเทศไทยและมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปโดยมีส่วนประกอบและวิธีท�ำ จะแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย แต่ก็ยังคงเอกลักษณ์เด่นๆ ไว้ คือ ข้าวเหนียว กล้วยน�้ำว้า น�้ำตาล เกลือเล็กน้อยและวัสดุ ที่ใช้ห่อ คือใบตอง หรือวัสดุอื่นตามธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น ในวรรณกรรมล้านนา เรื่อง ต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก เล่ากันว่าในสมัยพุทธกาล ชาวบ้านนิยมท�ำข้าวต้ม มัดไปท�ำบุญตักบาตร เพราะสะดวก กินง่าย และเก็บไว้ได้นาน พระสงฆ์สามารถใช้เป็นเสบียงอาหารเวลาเดินทางไป เผยแพร่พระธรรมค�ำสอน การท�ำขนมชนิดนี้เริ่มต้นเหมือนกัน โดยการน�ำข้าวเหนียวไปแช่น�้ำหรือ “หม่า”ในภาษาเหนือและ ภาษาอีสานไว้สัก ๒-๓ ชั่วโมง จากนั้นน�ำออกมาทิ้งให้สะเด็ดน�้ำห่อด้วยใบตองกล้วยที่ตัดทิ้งไว้ ๑ คืน ใส่ไส้กล้วยแล้ว น�ำไปท�ำให้สุกโดยการนึ่งหรือต้ม ข้าวต้มมัดหรือ ข้าวต้มผัดของภาคกลาง เรียกตามกรรมวิธีการท�ำ ท�ำจากข้าวเหนียวผัดกับกะทิ ที่ผสมน�้ำตาลและเกลือเล็กน้อย จนงวดได้ที่ ข้าวเหนียวขึ้นมันแล้วจึงน�ำมาใส่ใบตองแผ่ข้าวเหนียวออกเป็นแผ่นบางๆ วางกล้วยน�ำ้ ว้าเป็นไส้ใน น�ำถัว่ ด�ำมาตกแต่งทีข่ า้ วเหนียวห่อด้วยใบตองกล้วย น�ำข้าวเหนียวทีห่ อ่ แล้วมาประกบเข้าเป็น คู่ๆ แล้วใช้ตอกมัดให้ติดกันเป็นคู่ๆ แล้วน�ำไปต้ม หากน�ำไปนึ่งก็ไม่ต้องมัด แต่เรียงจัดให้เบียดชิดกันในลังถึง นึ่งให้สุก ข้าวต้มมัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางแห่งเรียกว่า ข้าวต้มกล้วย ท�ำได้สองแบบ แบบแรก ท�ำเหมือนของภาคกลาง แบบที่สองไม่ใส่กะทิ น�ำข้าวเหนียวดิบมาคลุกกับถั่วด�ำหรือถั่วลิสงพรมน�้ำเกลือให้พอเปียก แล้วน�ำมาห่อด้วยใบตอง บางครัง้ ใช้ใบเตยและใบทองกวาว แทนใบตอง ซึง่ จะให้รสชาติหอมต่างกัน แล้วใช้เชือกกล้วย และตอกใบไผ่มามัด ๒-๓ เปลาะ แล้วน�ำไปต้มจนสุก ข้าวต้มมัดของภาคเหนือ เรียกว่า เข้าต้ม การท�ำไม่แตกต่างจากภาคอีสาน ข้าวต้มของคนล้านนา จะใส่กล้วยน�้ำว้าสุกผ่าครึ่ง เรียกว่า เข้าต้มกล้วย หรือใส่ไส้ถั่วลิสงก็ต้องแช่ถั่วลิสงไว้ ๒ ชั่วโมง เรียกว่า เข้าต้มถั่วดิน บางทีก็ใส่ทั้งกล้วยและถั่วลิสง ไม่มีการใส่น�้ำตาลหรือน�้ำกะทิ ไม่มีการปรุงรสใดๆ แต่ถ้าหั่นเข้าต้มเป็นท่อนพอค�ำ แล้วขูดมะพร้าวโรยหน้า จะเรียกว่า เข้าต้มหัวหงอก การต้มเข้าต้มนั้นห่อข้าวต้มเสร็จแล้ว จะน�ำ ๔– ๕ ห่อมารวมกัน แล้วมัดด้วยตอกหัวท้าย จากนั้นน�ำไป ต้มจนสุกได้ที่ ในการต้มนั้นมักมีการห่อใบตองเลียนแบบการห่อเข้าต้มแล้วน�ำไปต้มพร้อมกันด้วย เรียกว่า จู้เข้าหนม (ชู้ขนม) เชื่อว่าจะท�ำให้ข้าวต้มสุกทั่ว เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา, รองศาสตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ, สง่า ดามาพงษ์ และ ชัชวาล ทองดีเลิศ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

212 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ข้าวต้มมัด ที่มา: http://baankhanom.blogspot.com /2011/09/blog-post_16.html

เข้าต้มกล้วย ที่มา: ส�ำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ข้าวต้มลูกโยน ที่มา: http://www.siambig.com/shop/photo_ product/FreshNhongmon163119.jpg

ข้าวต้มมัดภาคใต้ คล้ายคลึงกับข้าวต้มผัดของภาคกลาง เรียกว่า เหนียวห่อกล้วย คือ เหนียว (ข้าวเหนียวขาว) ห่อกล้วยรอบๆ และด้านนอกสุดมีใบตองห่อ และใช้เชือกพันหรือมัดหัวท้ายให้แน่น นอกจากนี้ยังมี ข้าวต้มลูกโยน หรือข้าวต้มใช้ข้าวเหนียวผสมถั่วด�ำไม่มีกล้วยแล้วห่อด้วยใบพ้อ หรือ ใบมะพร้าวเป็นรูปรี ผูกเข้าด้วยกันเป็นพวงแล้วน�ำไปต้ม มีต�ำนานเล่าต่อกันมาว่า สมัยพุทธกาลชาวบ้านเบียดเสียด กันใส่บาตรให้พระพุทธเจ้า บางคนเข้าไม่ถึงพระองค์จึงใช้วิธีโยนข้าวต้มไปแทน จึงกลายเป็น “ข้าวต้มลูกโยน” ตั้งแต่นั้นมา คุณค่าทางโภชนาการของข้าวต้มมัด นักโภชนาการยอมรับว่า เป็นอาหารว่างหรือขนมของไทยที่ให้สาร อาหารครบ ๕ ชนิดที่อยู่ในห่อเดียวกัน กล่าวคือ ได้สารอาหารคาร์โบไฮเดรตที่ให้พลังงานจากข้าวเหนียว ได้วิตามิน และแร่ธาตุจากกล้วย ได้โปรตีนจากถั่วด�ำ และได้ไขมันจากกะทิ นอกจากนี้ยังพกพาสะดวก กินง่ายไม่ต้องใช้ภาชนะ เหมาะแก่การใช้เป็นเสบียงอาหารเวลาเดินทาง และเป็นอาหารในยามเกิดภัยพิบัติที่อาหารหลักขาดแคลนเข้าถึงยาก สิ่งที่เป็นปัญหาอยู่บ้างในขณะนี้คือ ผู้ที่ทำ� ข้าวต้มมัดเป็นนั้นมีน้อยลง ดังนั้น ควรที่จะมีการถ่ายทอด ภูมิปัญญานี้ไปสู่คนรุ่นหลังให้มากขึ้น และควรน�ำไปสอนในสถานศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาเป็นต้นไป ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมานี้ ข้าวต้มมัดสะท้อนให้เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาอันหลักแหลมของบรรพบุรษุ ไทยทีม่ คี วามเป็น เอกลักษณ์ สรรหาอาหารอันทรงคุณค่าให้ลูกหลานได้กินเป็นอาหารว่างและขนมสืบต่อกันมาช้านานจนถึงปัจจุบัน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 213


เมี่ยงค�ำ

เมีย่ งค�ำ เป็นอาหารว่างของคนไทยทีน่ ยิ มกินกันมาเป็นระยะเวลาช้านานแล้ว ดังปรากฏในบทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ว่า “เมี่ยงค�ำน�้ำลายสอ เมี่ยงสมอเมี่ยงปลาทู ข้าวคลุกคลุกไก่หมู น�้ำพริกคั่วทั่วโอชา” ดูจากลักษณะของอาหารทีใ่ ช้ทรัพยากรของสวนหลายอย่าง จึงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นอาหารของชาวสวน จนนักโภชนาการในปัจจุบนั ได้ให้การยอมรับว่าเป็นอาหารว่างทีม่ คี ณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง เป็นอาหารว่างไม่กชี่ นิดทีม่ ี ธาตุอาหารครบ ๕ หมู่อยู่ในค�ำเดียวกัน รวมทั้งมีคุณค่าสมุนไพรมากมาย เมีย่ งค�ำประกอบด้วยส่วนประกอบสามส่วนคือ เครือ่ งเมีย่ ง น�ำ้ เมีย่ ง และผักทีใ่ ช้หอ่ เครือ่ งเมีย่ งประกอบ ด้วย มะพร้าวคั่ว กุ้งแห้ง ขิง ถั่วลิสงคั่ว หอมแดง มะนาว ตะไคร้ และพริกขี้หนู ส่วนน�้ำเมี่ยงประกอบด้วยน�้ำตาลปิ๊บ น�้ำปลา กะปิกุ้งแห้งป่น และผักที่ใช้ห่อนิยม ใบชะพลู และใบทองหลางที่ไม่อ่อนไม่แก่จนเกินไป วิธีปรุงเครื่องเมี่ยงคือ หั่นมะพร้าวที่ไม่แก่จัดจนเกินไปชิ้นบางๆ แล้วคั่วด้วยไฟอ่อนๆ หั่นหอมแดง ขิง มะนาวเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มลูกเต๋า ซอยพริกขีห้ นูชนิ้ บางๆ ส่วนปรุงน�ำ้ เมีย่ งนัน่ เคีย่ วน�ำ้ ตาลปิบ๊ ให้เหนียวข้นปรุงด้วยน�ำ้ ปลา กะปิและกุ้งแห้ง เมื่อจะรับประทาน น�ำใบชะพลูหรือใบทองหลางล้างน�้ำให้สะอาด น�ำเครื่องเมี่ยงใส่ลงในใบชะพลู หรือ ใบทองหลาง ตักน�้ำเมี่ยงหยอดลงไปแล้วห่อเป็นค�ำ กินเป็นอาหารว่างที่มีครบทุกรสอยู่ในค�ำเดียวกัน หวาน มัน เค็ม เปรี้ยว เผ็ด

ตัวอย่างเครื่องเมี่ยง ที่มา: http://www.cosmenet.in.th/upload/medialibrary/11a/mengkum_11.jpg

เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา, สง่า ดามาพงษ์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

214 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เมี่ยงค�ำ เป็นอาหารว่างครบ ๕ หมู่ อยู่ในค�ำเดียวกัน เพราะได้วิตามินแร่ธาตุจากผักที่ใช้ห่อและจาก มะนาว ได้โปรตีนจากกุง้ แห้ง ได้คาร์โบไฮเดรตจากน�ำ้ ตาลและได้ไขมันจากมะพร้าวและถัว่ ลิสง และยังได้ใยอาหารและ สารพวกพฤกษาเคมีทอี่ อกฤทธิต์ า้ นอนุมลู อิสระ ลดความเสีย่ งต่อการเกิดโรคมะเร็งบางชนิดได้ นอกจากนี้ ยังให้คณ ุ ค่า ทางสมุนไพรจากหอมแดง ขิง และใบชะพลูอีกด้วย การรับประทานเมี่ยงค�ำยังบ่งบอกถึงมารยาทการกินอาหาร ต่างคนต่างหยิบใบชะพลูและเครื่องเมี่ยง ทีละชิ้นห่อเป็นค�ำๆ ขนาดพอเคี้ยว จะไม่แย่งกันหยิบจนมือชนกัน เมี่ยงค�ำเป็นอาหารที่รับประทานพร้อมกันหลายๆ คนในหมู่ญาติสนิทมิตรสหาย นับว่าเป็นอาหารว่างที่ต้องใช้ศิลปะทั้งในการท�ำ การจัด และการรับประทาน เมี่ยงค�ำถือเป็นอาหารว่างของไทยที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่างโดดเด่น นับเป็นภูมิปัญญาทางอาหาร และโภชนาการของคนไทยที่ส�ำคัญยิ่ง ปัจจุบันมีผู้นิยมใช้ใบคะน้าแทนใบชะพลู ใบทองหลาง และเอาเครื่องปรุง ทุกชนิดรวมคลุกเคล้ากันกับน�ำ้ เมีย่ ง ตักใส่คะน้ารับประทานเป็นค�ำๆ แทนทีจ่ ะยกเครือ่ งปรุงออกและหยิบใส่ใบชะพลู ใบทองหลางทีละชิ้นแบบโบราณ เรียกว่า “เมี่ยงคะน้า”

ที่มา: http://webiz.co.th/files/photos/0/09/81/98108/1490923.jpg

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 215


มังคุดคัด มังคุดคัด เป็นภูมิปัญญาการน�ำผลมังคุดดิบมาคัด (งัด) เอาเปลือกออก โดยให้เนื้อและเมล็ดคงรูปเดิม ไม่แตกกระจายออกจากกัน ที่เรียกว่ามังคุดคัดนั้น เพราะเป็นผลมังคุดที่ชาวสวนเห็นว่าไม่อาจเจริญสมบูรณ์ได้ อาจเนื่องจากมีผลดกเกินไป หรือขนาดผลเล็กผิดปกติ จึงคัดเลือกออกจากต้น เพื่อให้ผลที่เหลือเจริญเติบโตเต็มที่ เมือ่ คัดเลือกออกแล้วก็มกี ารน�ำมาแปรรูปให้สามารถรับประทานได้ ท�ำให้มมี งั คุดรับประทานก่อนฤดูกาล และในฤดูกาล มังคุดคัดที่มีรสชาติแปลกไปจากมังคุดสุก ประวัติการเกิดมังคุดคัดมีว่าแม่บ้านในครอบครัวหนึ่งที่ชุมชนรถไฟนครศรีธรรมราช ด้วยความยากจน เห็นมังคุดแก่ถูกทิ้งเอาไว้ใกล้ทางเดินจึงน�ำเอาไปกรีดเอาเปลือกออก เพื่อให้รับประทานได้ไม่ถูกยางมังคุดกัดปาก แล้วน�ำไปแช่น�้ำเกลือ ปรากฏว่าไม่มียางติดเนื้อมังคุดแก่และรับประทานได้อย่างปลอดภัยและมีรสชาติ หวาน มัน กรอบ อร่อย หลังจากนีก้ น็ ำ� มังคุดแก่ทถี่ กู ทิง้ ไว้มาปอกเปลือกหรือคัด(งัด)เปลือกออกแล้วน�ำมาแช่นำ�้ เกลือรับประทาน กันในครอบครัวของตนเป็นประจ�ำ เมื่อเพื่อนในชุมชนและคนที่ไปเห็นลองรับประทานบ้าง ก็ชอบใจในรสชาติก็มีการ ท�ำมังคุดคัดรับประทานกันมากขึน้ เมือ่ เริม่ เป็นทีน่ ยิ มกว้างออกไป แม่บา้ นของครอบครัวนีก้ น็ ำ� มังคุดคัดออกไปจ�ำหน่าย ในบริเวณใกล้กับชุมชนสถานีรถไฟนครศรีธรรมราช เมื่อเห็นว่าขายได้เป็นที่นิยมรับประทานจึงสอนให้ลูกหลาน ในครอบครัวท�ำมังคุดคัดขายกัน เมือ่ มังคุดแก่ทแี่ ม่คา้ คัดทิง้ ไม่มากพอจะท�ำมังคุดคัดเพือ่ น�ำไปขาย ก็ตอ้ งเข้าไปซือ้ มังคุด แก่ในสวนมังคุด หรือสั่งซื้อโดยตรงผ่านแม่ค้า เพื่อน�ำมาท�ำมังคุดคัด มังคุดคัดจึงเป็นสินค้าขายดีและเป็นที่นิยม ครอบครัวดังกล่าวนี้และลูกหลานก็ท�ำมังคุดคัดขายกันต่อมาจนปัจจุบันนี้ มังคุดคัดท�ำจากผลมังคุดแก่ (ดิบ) ขณะที่ยังมีเปลือกสีเขียว มีอายุประมาณ ๒๕ วัน หรือที่เรียกว่า “มังคุดก่อนเป็นเส้นสายเลือด” ปลายผลขึ้นนูนเล็กน้อย มีลักษณะเป็นรูปดอกไม้ที่บ่งบอกได้ว่ามังคุดลูกนี้จะมี กี่เม็ด

เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

216 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


วิธีการท�ำมังคุดคัด คือ น�ำผลมังคุดแก่ที่จะคัดมาล้างให้สะอาด ใช้มีดที่คมขนาดกลางปาดหัวปาดท้าย กรีดเปลือกมังคุดตามความเหมาะสมและความช�ำนาญ ใช้มีดแกะสลักหรือมีดขนาดเล็กค่อยๆ งัด(คัด) เปลือกมังคุด ออกเป็นส่วนๆ ด้วยความประณีตและรวดเร็ว เพื่อมิให้กลีบเนื้อมังคุดถูกมีดเฉือนเป็นแผล และกลายเป็นสีแดง เมื่องัดหรือคัดเปลือกออกหมดแล้วต้องรีบเอาเนื้อมังคุดใส่ลงในภาชนะที่ใส่น�้ำเกลือ ทิ้งไว้ให้น�้ำเกลือดูดซึมเข้าในเนื้อ จนทั่ ว ท� ำ เช่ น นี้ จ� ำ นวน ๒-๓ ครั้ ง หรื อ ๒-๓ น�้ ำ เพื่ อ ให้ เ นื้ อ มั ง คุ ด คั ด มี สี ข าวสวยไม่ มี ย างและกรอบอร่ อ ย เมื่อล้าง หรือแช่น�้ำครบครั้งตามที่ต้องการแล้ว ก็น�ำไปเสียบด้วยไม้ไผ่ที่มีขนาดเล็กและมีปลายแหลม ไม้หนึ่งๆ จะมี ผลมังคุดคัดเพียง ๓-๔ ผล ขึ้นอยู่กับขนาดของผลมังคุด มังคุดคัดจะมีสีขาวสะอาด กรอบ รสชาติหวาน มัน อร่อย รับประทานได้ทั้งเนื้อและเมล็ด มังคุดคัดเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีทั้งวิตามิน และเกลือแร่ที่ท�ำให้ผู้รับประทาน มีสุขภาพดี ผลไม้ชนิดนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็น“ราชินีแห่งผลไม้” คู่กับทุเรียนที่ได้รับการขานชื่อว่า “ราชาแห่ง ผลไม้” ปัจจุบันมีการศึกษาทางการแพทย์พบว่าธาตุหรือสารอาหารในมังคุดช่วยลดน�้ำตาลและความดันสูงได้ การท� ำ มั ง คุ ด คั ด เป็ น ความรู ้ พิ เ ศษเฉพาะกลุ ่ ม ปั จ จุ บั น พบอยู ่ ที่ ชุ ม ชนหน้ า สถานี ร ถไฟจั ง หวั ด นครศรีธรรมราชเท่านัน้ ภูมปิ ญ ั ญาการท�ำมังคุดคัดคือการน�ำเอาสิง่ ทีผ่ อู้ นื่ ไม่เห็นค่าแล้วมาท�ำให้เกิดค่าและตามมาด้วย คุณค่า และที่น่าสนใจคือการคิดอาหารที่แปลกไม่มีใครเหมือนให้ได้รับประทาน ปกติมังคุดแก่จะรับประทานไม่ได้ เพราะมียางที่เป็นอันตรายต่อริมฝีปาก แต่การใช้ภูมิปัญญาเพื่อขจัดยางมังคุด และสามารถท�ำให้มีรสชาติอร่อย หวาน มัน กรอบ นั่นนับว่าเป็นภูมิปัญญาที่น่ายกย่อง ด้วยคุณสมบัติด้านอาหารผลไม้มังคุดดังกล่าวนี้เองจึงท�ำให้เป็นที่นิยมรับประทานของคนในจังหวัด นครศรีธรรมราช คนไทยภาคใต้ ผู้คนที่ได้ไปพบเห็นทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ นอกจากนี้ มังคุดคัด ยังเป็น อีกกรรมวิธีหนึ่งในการแปรรูปผลไม้ที่ไม่ใช้แล้ว แทนที่จะต้องทิ้งไป กลับน�ำมาเพิ่มมูลค่าและจ�ำหน่ายได้ในราคา ที่สูงขึ้นกว่าเดิมอีกด้วย แต่ปัจจุบันมังคุดแก่ที่ท�ำมังคุดคัดต้องซื้อหา จะเก็บจากที่แม่ค้าหรือเจ้าของสวนมังคุดคัดทิ้ง ไม่มีอีกแล้ว เพราะเป็นสิ่งที่มีมูลค่า เอกสารอ้างอิง

สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต้, กรุงเทพฯ มูลนิธิ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. ๒๕๔๒ สัมภาษณ์ : นางสุมณฑา ภาณุรัตน์ ๑๘๑๙/๑ ชุมชนหน้าสถานีรถไฟ ต�ำบลท่าวัด อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 217


แกงพุงปลา แกงพุงปลา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แกงไตปลา เป็นแกงที่ท�ำจาก “พุงปลา” ซึ่งเป็นชิ้นส่วนของปลา ในช่องท้อง อันประกอบด้วย ตับ ไส้ และไต แต่เมื่อถึงขั้นปรุงส่วนของไตซึ่งเป็นเม็ดแข็งจะถูกกรองออกทิ้งไป ส่วนอื่นๆจะละลายรวมไปกับน�้ำร้อนกลายเป็นต้มพุงปลา ภูมิปัญญาอาหารคาวของชาวไทยภาคใต้ชนิดนี้จึงเรียกกัน ว่า “แกงพุงปลา” วิธีการท�ำพุงปลา น�ำเอาพุงปลาซึ่งประกอบด้วย ตับ และไส้ (ไตติดมาด้วย) เอาดีออก (ยกเว้นพุงปลา กระดี่ที่มีขนาดเล็กมาก จึงมักมีดีติดไปบ้างจึงท�ำให้มีรสหลอม (ขมเล็กน้อยเมื่อท�ำแกง) มาหมักเกลือแต่พอดีเป็นเวลา ประมาณ ๕-๗ วัน โดยใส่ในภาชนะที่ปิดมิดชิดมิให้แมลงวันหรือสัตว์ลงไปได้ ภาชนะที่ใช้มักจะเป็นไห หรือโอ่ง ขนาดกลาง ในกรณี ที่ ท� ำ พุ ง ปลาเพื่ อ จ� ำ หน่ า ย หากท� ำ เพื่ อ รั บ ประทานก็ ใ ส่ ภ าชนะขนาดเล็ ก ลงตามปริ ม าณ ของพุงปลาที่มี

เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

218 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การถนอมอาหารพุงปลา เกิดจากมีปลาจ�ำนวนมากรับประทานไม่ทันจึงน�ำมาถนอมอาหาร ตัวปลาท�ำ ปลาร้าและปลาแห้ง ส่วนของพุงไม่ทิ้งเปล่าเอามาท�ำเป็นพุงปลา พุงปลาที่นิยมน�ำมาหมัก เช่น พุงปลาบอก พุงปลาลัง (ปลาทู) พุงปลาช่อน และพุงปลากระดี่ เป็นต้น ในการน�ำพุงปลามาปรุงเป็นอาหารนั้น มีวิธีการดังนี้ ๑. เริม่ จากการต้มน�ำ้ ให้เดือด เมือ่ เดือดแล้วเทลงในพุงปลาทีเ่ ตรียมไว้ ใช้ชอ้ นกวนหรือคนให้ทวั่ เนือ้ ของ พุงปลาจะละลายปนอยู่กับน�้ำ ส่วนของเศษที่แข็งรวมทั้งไตปลาด้วยก็จะกรองทิ้ง เพื่อให้เหลือเฉพาะสิ่งเหลว (พุงปลา ที่ไม่ต้องกรองคือพุงปลาช่อน เพราะพุงปลาช่อนมีความนิ่มทุกส่วนรวมทั้งไต เมื่อรับประทานไม่ก่อให้เกิดสะดุด และเสียรสชาติ) ๒. เมื่อได้น�้ำพุงปลาแล้วก็น�ำเครื่องแกงใส่ลงไปพร้อมด้วยเคย (กะปิ) เล็กน้อย ส่วนประกอบของเครื่อง แกงคือ พริกขี้หนู (สดหรือแห้งก็ได้) ตะไคร้ หอม กระเทียม ผิวมะกรูด และขมิ้น สัดส่วนตามความชอบของผู้ปรุง หากต้องการรสจัดก็ใส่ปริมาณมาก ในบางแห่งนิยมพริกขีห้ นูสด เพราะมีความหอมและรสชาติเด็ดกว่า เมือ่ ต้มจนเดือด ก็ใส่ปลาทอด (ปลาที่ใช้เพิ่มหวานหรือรสชาติ) อาจจะเป็นปลาย่างหรือปลาสดหรือปลานึ่งก็ได้ เมื่อตั้งไฟได้ประมาณ ๕ นาที ก็ชิมรสตามความต้องการ เมื่อเป็นที่พอใจก็เอาลงจากเตาพร้อมรับประทาน แกงพุงปลาจะมีรสหอมชวนรับ ประทาน เมื่อก่อนแกงพุงปลาเป็นอาหารคนยากจน แต่ปัจจุบันพุงปลาเป็นอาหารขึ้นภัตตาคาร และบรรจุภาชนะ ส่งขายทั้งในและต่างประเทศ พุงปลามีคุณค่าทางโภชนาการหลายอย่างทั้งวิตามินและเกลือแร่ การบริโภคแกงพุงปลาจึงมีอย่าง แพร่หลาย ในปัจจุบัน พุงปลาเป็นการถนอมอาหารที่ดียิ่ง เพราะเก็บไว้ได้นานทั้งพุงปลาดิบและแกงพุงปลา พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 219


น�้ำตาลมะพร้าว การท�ำน�้ำตาลมะพร้าว เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวสวนมะพร้าวที่ถ่ายทอดกันมายาวนาน จากการ เฝ้าสังเกตและเรียนรู้จากพืชที่สามารถผลิตน�้ำหวานไว้ที่ดอก จึงได้คิดค้นเพื่อเอาน�้ำหวานจากจั่น (ดอก) มะพร้าวมา ผ่านกรรมวิธกี ารต้ม เคีย่ วจนงวดเหลือแค่เนือ้ ข้นสีนำ�้ ตาล ละเอียด นุม่ ลิน้ เรียกว่า“น�ำ้ ตาลมะพร้าว” ใช้เป็นเครือ่ งปรุง รสอาหาร ทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน สันนิษฐานว่าคนไทยคงรู้จักท�ำน�้ำหวานจากตาลโตนดก่อนมะพร้าวจึงเรียกน�้ำหวานนี้ว่า “น�้ำตาล” ต่อมาเมื่อรู้จักน�ำน�้ำหวานจากจั่นมะพร้าวมาท�ำน�้ำตาลจึงเรียกว่า “น�้ำตาลมะพร้าว” มีหลักฐานมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย แล้วว่าคนไทยรู้จักท�ำสวนมะพร้าว ดังปรากฏในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามค�ำแหง ด้านที่ ๒ บรรทัดที่ ๓-๔ ว่า “ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้” ในสมัยรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีหลักฐานว่า มะพร้าวเป็นพืชส�ำคัญชนิดหนึ่งใน ๘ ชนิดที่ เจ้าของสวนต้องเสียอากรสวนใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ หลักฐานจากหนังสือวชิรญาณวิเศษ เล่ม ๖ ร.ศ. ๑๑๐ ระบุว่า “แต่ก่อนนั้นมะพร้าวในแขวงเมืองนนทบุรีมีมากกว่าทุกแขวงทุกต�ำบล มาในสมัยนี้ไม่ใคร่จะมีต้นแลผล” หนังสือ สมุดราชบุรี ซึ่งจัดท�ำขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๖ เพื่อประกอบการจัดแสดงการประกวดพืชผลทาง ด้านการเกษตรของสยามทีเ่ รียกว่า การแสดงสยามรัฐพิพธิ ภัณฑ์ ในปี พ.ศ.๒๔๖๘ ระบุวา่ ทัง้ มณฑลราชบุรมี ตี น้ มะพร้าว ใหญ่ ๖๖๒,๒๐๐ ต้น และมะพร้าวหมูสี ๓๔๖,๐๐๐ ต้น การท�ำน�้ำตาลมะพร้าวท�ำกันมากที่สุดในท้องที่จังหวัด สมุทรสงคราม รองมาคือ จังหวัดราชบุรี (หน้า๑๐๙-๑๑๐) มะพร้าว มีชอื่ วิทยาศาสตร์ Cocos nucifera Linn. เป็นพืชตระกูลปาล์มทีม่ ถี นิ่ ก�ำเนิดอยูใ่ นเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เป็นไม้ยืนต้นเนื้ออ่อนที่มีล�ำต้นเป็นปล้อง มีเปลือกหุ้มล�ำต้น สูงประมาณ ๒ ศอก ถึง ๕ วา (ราว ๑๐ ม.) ใบมีลักษณะเป็นแฉกๆ คล้ายขนนก กว้างประมาณ ๑ - ๒.๕ นิ้ว ดอกออกเป็นช่อตามบริเวณกาบที่หุ้ม เรียกว่า “จั่นมะพร้าว” ดอกย่อยขนาดเล็ก ดอกหนึ่งมีกลีบดอกประมาณ ๖ กลีบ ผลมะพร้าวมีลักษณะรูปกลมหรือรี ยาวประมาณ ๘.๑๔ นิ้ว เส้นผ่าศูนย์กลางยาวประมาณ ๘ - ๙.๕ นิ้ว เปลือกนอกเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนมีสีเขียวเมื่อแก่ มีสีน�้ำตาล เปลือกชั้นกลางเป็นเส้นใยนุ่ม เปลือกชั้นในจะแข็งเป็นกะลา เปลือกชั้นต่อไปเป็นเนื้อผลมีสีขาวนุ่ม และภายในมีน�้ำใส รสจืดหรือหวาน เรียบเรียงโดย ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

220 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


มะพร้าวพันธุ์เศรษฐกิจที่เพาะปลูกในประเทศไทยแบ่งออกได้เป็น ๒ สายพันธุ์ คือ พันธุ์ต้นสูงและพันธุ์ ต้นเตี้ย พันธุ์ต้นสูงหรือมะพร้าวแกง เป็นพันธุ์ต้นสูงใหญ่ มีอายุยืนถึง ๑๐๐ ปี มีผลกลม ขนาดใหญ่ เปลือกหนา นิยมปลูกกันมากในภาคใต้ของประเทศ ส่วนพันธุ์ต้นเตี้ย มีล�ำต้นขนาดเล็ก เตี้ยสั้น มีอายุประมาณ ๔๐ ปี เป็นพันธุ์ ที่พัฒนามาจากมะพร้าวพื้นเมืองพันธุ์หมูสีซึ่งนิยมปลูกในพื้นที่ภาคกลางบริเวณลุ่มน�้ำแม่กลอง ท่าจีน บางปะกง โดยเพาะปลูกในระบบสวนในพื้นที่จังหวัดราชบุรี สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม มะพร้าวพันธุ์ต้นเตี้ยนี้เป็นพันธุ์ ที่ชาวสวนนิยมน�ำมาท�ำน�้ำตาลมะพร้าว มะพร้าวที่เหมาะสมส�ำหรับท�ำน�้ำตาลควรออกจั่นประมาณ ๑๒ - ๑๔ จั่นต่อปี จั่นจะออกมากในเดือน พฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคมเนือ่ งจากระยะนีม้ ะพร้าวได้นำ�้ ฝน การออกจัน่ มะพร้าวครัง้ แรกชาวสวนบางรายจะยังไม่ ท�ำน�้ำตาลแต่จะเริ่มท�ำน�้ำตาลในจั่นต่อไป เนื่องจากมีความเชื่อว่าจั่นแรกของต้นจะให้น�้ำตาลน้อย จั่นที่จะน�ำมาใช้ จึงต้องไม่อ่อนหรือแก่เกินไป การท�ำน�้ำตาลจากมะพร้าวเป็นภูมิปัญญาของชาวสวนมะพร้าว หากเป็นมะพร้าวต้นสูงก็จะใช้พะอง (ไม้ไผ่ทั้งล�ำตัดให้มีตาติดอยู่กับต้นพอเอาเท้ายืนเหยียบได้) พาดผูกติดกับต้นแล้วขึ้นไปตรวจดูจ่ันมะพร้าว ถ้าจั่นใดดี พอจะท�ำน�้ำตาลได้ก็ตัดปลายจั่นออกประมาณ ๓-๔ นิ้ว แล้วเอาเชือกผูกโน้มให้เอนต�่ำลงทีละน้อยระวังมิให้จั่นหักใช้ เวลา ๓-๕วัน จะเอนต�่ำ ๖๐-๘๐ องศา การโน้มจั่นลงนั้นเพื่อให้ได้น�้ำตาลสดปริมาณมาก จากนั้นจึงปอกเปลือกที่หุ้ม จั่นออกแล้วเอาเชือกมัดเป็นเปลาะๆ เพื่อไม่ให้จั่นแตกกระจายออกไปเอามีดปาดปลายจั่นทั้งเช้าเย็นทุกวัน เมื่อเห็น น�้ำตาลออกดีแล้วจึงเอากระบอกไม้ไผ่ไปรอง สมัยก่อนใช้กระบอกไม้ไผ่สีสุกยาว ๑ ศอกรองน�้ำตาล ที่ปากกระบอกเจาะรู ๑ รู ส�ำหรับเอาเชือกผูกร้อย ไว้ เรียกว่า หูกระบอก ใช้ผกู โยงกระบอกเวลารองน�ำ้ ตาล และสะดวกในการร้อยใส่คานหาบเอาไปรองน�ำ้ ตาล ปัจจุบนั นิยมใช้กระบอกอะลูมิเนียมหรือกระบอกพลาสติกแทน วิธรี องน�ำ้ ตาล นิยมน�ำกระบอกไปรองเวลาเย็นเพราะน�ำ้ ตาลจะออกมากกว่า ซึง่ ชาวบ้านเรียกน�ำ้ ตาลช่วง เย็นว่า “น�้ำตาลเที่ยง” ในกระบอกใส่เปลือกไม้ที่มีความฝาด เช่น พะยอม เคี่ยม เพื่อป้องกันน�้ำตาลบูด ทิ้งไว้ ๑ คืน รุ่งเช้าจึงขึ้นไปปลดกระบอก น�้ำตาลมะพร้าวที่รองได้ไม่ควรเก็บไว้นานเกิน ๑๘ ชั่วโมง การเก็บน�้ำตาลจะเก็บวันละ ๒ ครั้ง คือ เช้า เวลาประมาณ ๐๕.๓๐–๐๙.๐๐ น. และเย็น เวลาประมาณ ๑๕.๐๐-๑๘.๐๐ น. หากเก็บน�้ำตาล เวลาสาย อากาศจะร้อนท�ำให้น�้ำตาลเสียได้ง่าย เมื่อได้น�้ำตาลมะพร้าวมาแล้วอาจมีแมลงหรือดอกมะพร้าวปนอยู่ ชาวสวนจะน�ำมากรองด้วยผ้าขาวบางก่อนน�ำไปตั้งไฟเคี่ยว

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 221


การเคีย่ วน�ำ้ ตาลมะพร้าว จะเคีย่ วในกระทะขนาดใหญ่ เคีย่ วจนน�ำ้ ตาลงวดข้นเป็นสีแดงคล�ำ้ เหนียวเป็น ยางจึงราไฟ แล้วจึงยกกระทะลงจากเตาไฟวางบนเสวียน (ท�ำด้วยหญ้า หวาย หรือฟาง ถักหรือมัดเป็นวงกลม มีหูสอง ข้างส�ำหรับหิว้ ใช้รองก้นภาชนะ) ในอดีตจะใช้พายคนจนน�ำ้ ตาลแห้งพอหยดลงหม้อได้ จึงเทใส่หม้อหรือหยอดใส่พมิ พ์ น�้ำตาลมะพร้าวที่มีคุณภาพดีรสจะหวานหอม ไม่เหนียวแข็ง มีรสมันเล็กน้อย ต่อมาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้มีการพัฒนาจากการใช้พายมาเป็นเหล็กกระแทก หรือเรียกว่า “เหล็กกระทุ้ง” ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ ภาชนะที่ใช้บรรจุน�้ำตาลมะพร้าวเป็นหม้อดินเผาที่เรียกว่า “ทะนน” โดยรัฐบาลได้ตั้งโรงเตาเผาหม้อที่จังหวัดสมุทรสงครามจ�ำหน่ายให้แก่ผู้ท�ำน�้ำตาลทั่วไป จึงเรียกน�้ำตาลที่บรรจุในหม้อ ว่า “น�้ำตาลหม้อ” สมัยต่อมาเห็นว่าการบรรจุน�้ำตาลด้วยหม้อมีความยุ่งยากเพราะหม้อตาลมีขนาดเล็กและมักแตก ง่าย จึงมีการน�ำปี๊บน�้ำมันก๊าดที่ท�ำความสะอาดแล้ว มาใส่น�้ำตาลมะพร้าวแทนหม้อตาล จึงเรียกว่า “น�้ำตาลปี๊บ” น�้ำตาลมะพร้าวในปัจจุบันจะท�ำน�้ำตาลให้เป็นก้อน หรือใช้ภาชนะ เช่น ถ้วยชาม รองก้นด้วยใบตองแห้งหรือ ผ้าขาวบาง เมือ่ น�ำ้ ตาลแห้งก็จะใช้ใบตองห่อเป็นก้อนหรือแกะออกจากผ้าได้งา่ ย จึงเรียกตามรูปลักษณ์วา่ “น�ำ้ ตาลปึก” ภูมิปัญญาการท�ำน�้ำตาลมะพร้าวจากน�้ำตาลแท้นั้นหายากในปัจจุบัน จากการนิยมใช้น�้ำตาลทราย หรือ แม้แต่เกษตรกรไม่คมุ้ ทุนในการท�ำน�ำ้ ตาลมะพร้าวแท้จงึ มีการผสมน�ำ้ ตาลทรายในขัน้ ตอนการผลิต เพือ่ เป็นการอนุรกั ษ์ การท�ำน�้ำตาลมะพร้าวจึงเกิดศูนย์สาธิตการท�ำน�้ำตาลมะพร้าว หรือเตาตาล เพื่อสืบทอดภูมิปัญญาน�้ำตาลมะพร้าว ไม่ให้สูญหาย ในปัจจุบันพื้นที่ที่มีการผลิตน�้ำตาลมะพร้าวมีอยู่หลายจังหวัด เช่น สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี เอกสารอ้างอิง

ฉลอง สุนทราวณิชย์, บรรณาธิการ. ๒๕๕๐. สมุดราชบุรี พ.ศ.๒๔๖๘. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร:สมาคมมิตรภาพไทย-ญี่ปุ่น. วีระ เทพกรณ์. ๒๕๔๘. น�้ำตาลมะพร้าว ความหวานจากภูมิปัญญาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์. พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

222 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การย่างไฟ

การย่างไฟ เป็นวิธีการรักษาสุขภาพวิธีหนึ่งของการแพทย์พื้นบ้านอีสาน ใช้รักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุ เช่น ตกต้นไม้ ควายชน หรือรถจักรยานยนต์ล้ม ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุมีอาการเคล็ดขัดยอก ฟกช�้ำด�ำเขียว แผลถลอก การย่างไฟ มีจดุ เด่นในการแก้อาการเจ็บป่วยโดยช่วยให้เลือดลมในร่างกายไหลเวียนดี ท�ำให้เลือดกระจาย และป้องกันเลือดตกในหรือเลือดคัง่ ค้าง การย่างไฟ เป็นการใช้ความร้อนทีเ่ หมาะสมผ่านตัวยาสมุนไพรเพือ่ ให้ออกฤทธิ์ และความร้อน ไออุ่นจะท�ำให้น�้ำมันหอมระเหยในสมุนไพร ช่วยบ�ำบัดเลือดลมในร่างกายให้เป็นปกติด้วย การย่างไฟ เป็นทัง้ กระบวนการปฐมพยาบาลและรักษาผูท้ ปี่ ระสบอุบตั เิ หตุทมี่ กี ารใช้มานานนับร้อยปี โดยเฉพาะในกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ต่างๆ ในภาคอีสาน ในขณะนี้ยังไม่มีรายงานจากภาคอื่นๆ ของประเทศไทย วิธีการย่างไฟ ๑. น�ำแคร่มาวางไว้ที่โล่ง ติดไฟ ใช้ไม้ฟืนหรือถ่านก็ได้ ถ้าใช้ไม้ ไม้ที่นิยมน�ำมาใช้ เช่น จิก(เต็ง) ขี้เหล็ก สะแกนา จากนั้นเทข้าวเปลือกที่นึ่งใหม่ แล้วเกลี่ยกระจายให้ทั่วบริเวณแคร่ตามที่ต้องการ ๒. วางสมุนไพรลงบนแคร่ให้ทั่ว (แล้วแต่สูตรต�ำรับ) ปูผ้าหรือเสื่อที่ชุบน�้ำแล้วบนชั้นของสมุนไพร (ต้องชุบน�้ำก่อนย่างเสมอ และหลังจากย่างได้ ๒-๓ ชั่วโมงต้องพรมน�้ำให้ชุ่ม) ๓. ก่อนผู้ป่วยจะได้รับการรักษา จะต้องดื่มเหล้าขาว ๔๐ ดีกรี ๑-๒ ก๊ง (ประมาณ ๓๐-๔๐ มิลลิลิตร) ผสมน�้ำตาลทราย ๑-๒ ช้อนโต๊ะก่อน เพื่อป้องกัน/รักษาอาการ “เลือดตีขึ้น” หมายถึงภาวะเลือดตกใน ๔. ผู้ป่วยต้องอาบน�้ำให้สะอาด โดยการอาบน�้ำอุ่นที่มีส่วนผสมของใบมะขามและใบหนาดต้มให้เดือด เรียบเรียงโดย อุษา กลิ่นหอม พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 223


๕. ให้ ส วมเสื้ อ ผ้ า หลวมๆ ระบายอากาศหรื อ ถ่ า ยเทความร้ อ นได้ ดี เวลาย่ า งไฟจะได้ ไ ม่ อ บและ ร้อนเกินไป ๖. การนอนบนแคร่ที่มีไอร้อนต้องมีการเฝ้าระวังหรือประเมินอาการผู้ป่วยทุกระยะ เพื่อป้องกัน ไม่ให้ความร้อนมากเกินไปจนผิวหนังลวกพอง ๗. การย่างจะใช้ระยะเวลาโดยขึ้นกับอาการของผู้ป่วย - ระดับเล็กน้อย ย่างไฟครั้งละ ๒-๔ ชั่วโมง ท�ำต่อเนื่อง ๑-๒ วัน - ระดับปานกลาง ย่างไฟครั้งละ ๓-๕ ชั่วโมง ท�ำต่อเนื่อง ๒-๔ วัน - ระดับการเจ็บป่วยรุนแรง เช่นกระดูกหัก หมดสติ ย่างไฟครั้งละ ๔- ๗ ชั่วโมง ท�ำต่อเนื่อง ๓-๕ วัน สมุนไพรที่ใช้ในการย่างไฟ กลุ่มที่ ๑ สมุนไพรส่วนผสมหลัก จ�ำนวน ๑๑ ชนิด ได้แก่ แดง ตะไคร้หอม เถาเอ็นอ่อน เปล้าใหญ่ เปล้าน้อย พลับพลึง ไพล มะขาม ละหุ่ง หนาด และข้าวเหนียว กลุ่มที่ ๒ สมุนไพรส่วนผสมรอง จ�ำนวน ๑๖ ชนิด ได้แก่ กระบก กระเทียม โกทา ขมิ้นชัน ขิง เจตมูล เพลิงแดง ชะพลู ดีปลี เตยหอม ถั่วแฮ เปล้าตองแตก เป็นต้น แหล่งที่มีการปฏิบัติในปัจจุบัน ปัจจุบนั ยังมีการถือปฏิบตั อิ ยู่ หลายชุมชนยังมีการใช้ภมู ปิ ญ ั ญาการย่างไฟในการรักษาผูป้ ระสบอุบตั เิ หตุ โดยแต่ละชุมชนมีหลักการเหมือนกัน แต่อาจมีต�ำรับยาที่ใช้ในการย่างไฟแตกต่างกัน ดังเอกสารของวีระ ทองเนตร และถวิล ชนะบุญ (๒๕๕๔) ได้ศึกษาต�ำรับการย่างไฟไว้ ๘ พื้นที่ดังนี้ ๑) บ้านเชียงเหียน อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ๒) ต�ำบลนาข่า อ�ำเภอวาปีปทุม และต�ำบลวังแสง อ�ำเภอแกด�ำ จังหวัดมหาสารคาม ๓) อ�ำเภอเมือง และอ�ำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร ๔) อ�ำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ๕) อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ๖) อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เอกสารอ้างอิง

วีระ ทองเนตร และถวิล ชนะบุญ. การย่างไฟ : ภูมิปัญญาอีสานรักษาผู้ป่วยอุบัติเหตุ. วีระพงษ์ เกรียงสินยศ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสุขภาพไทย, 2554. http://www.localherodoctor.com พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

224 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การสักยา การสักยา เป็นภูมิปัญญาในการรักษาโรคประเภทหนึ่งของชาวอีสานเช่น สักเพื่อลดอาการปวดศีรษะ ลดอาการปวดบวมตามข้อ ถอนพิษต่างๆ โดยเฉพาะพิษจากแมงมุมกัด ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ น�้ำยาที่ใช้ประกอบการสัก และวิธีการสัก น�้ำยาที่ใช้ประกอบในการสัก ประกอบด้วย ว่านกระจาย ว่านแก้เส้นขอด ว่านขมิ้นขาว ว่านถอนพิษ ร้อยแปด และน�ำ้ มันบึง้ แดง ถ้าไม่มใี ห้ใช้นำ�้ มันเลียงผาแทน แต่คณ ุ ภาพจะด้อวยกว่าน�ำ้ มันจากบึง้ แดง การเตรียมน�ำ้ ยา เพื่อใช้ในการสัก ให้น�ำหัวว่านสดทั้งหมด มาหั่นให้เป็นชิ้นบางๆ แล้วน�ำไปหุงกับน�้ำมันมะพร้าวผสมกับน�้ำมันงา และ มีคาถาก�ำกับในการสัก การจับบึ้งแดงมาใช้ต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะถ้าถูกบึ้งกัดอาจท�ำให้ตายได้ ผู้ที่ท�ำการจับได้ ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ

เรียบเรียงโดย อุษา กลิ่นหอม พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 225


วิธีการสัก เริ่มจากการหยดน�้ำยาลงบริเวณที่ต้องการรักษา เช่น กรณีรักษาพิษ ให้หยดน�้ำยารอบๆ ปากแผล แต่ถ้ารักษาอาการปวดเมื่อยให้หยดน�้ำยาไปตามเส้นที่ต้องการรักษาอาการปวด จากนั้นใช้เข็มสักบริเวณ ที่มีหยดน�้ำยาทุกหยด ๕-๖ ครั้ง แทงบริเวณผิวๆ ไม่ลึกเหมือนการสักยันต์ เมื่อน�้ำยาแห้งแล้วใช้ส�ำลีชุบน�้ำมันบึ้งแดง หรือน�้ำมันเลียงผาเช็ดบริเวณที่สักไว้ ต�ำรับพ่อแพง นาคะอินทร์ มีคาถาในขณะเช็ดน�้ำมันว่า “โอมสามเฒ่า โอมสาม แก่ โอมสามพาข้าว โอมเฒ่าผีโพง โอมเฒ่าผีพาย โอมสหายยาเด้อ มนตร์อนั นีก้ ซู อิ อ่ ยเลือดขึน้ มนต์รอ์ นั นีก้ ซู อิ อ่ ยเลือด ลง ว่าซิลงเลือดแล้ว กูซิเป่าเลือดหมู่นี้ให้มันมุ่น บัดนี้แล้วนคร โอมสะหะ โอมสหาย ยาเพ้อ” (คาถาสลายเลือด) การท�ำความสะอาดเข็มสักในอดีตใช้ลนไฟฆ่าเชือ้ แต่ในปัจจุบนั นิยมใช้แอลกอฮอล์ เข็มทีใ่ ช้ในการสักเดิม เป็นโลหะที่มีหัวเข็มเป็นเข็มคู่ แต่ในปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้เข็มฉีดยา ผู้รู้ที่ท�ำการสักรักษาในปัจจุบันพบว่ามีเฉพาะผู้ชาย ทั้งนี้เนื่องจากการสักต้องมีคาถาและต้องใช้ ของมีคม ซึ่งเป็นเรื่องที่ผู้หญิงส่วนใหญ่ไม่ถนัด ข้อห้ามของการสักรักษามี ๒ ประการ คือ น�้ำยาที่สกัดจากว่าน ห้ามน�ำ มาสูดดม และเมือ่ ท�ำการรักษาด้วยการสักไปแล้ว ห้ามรับประทานดักแด้โดยเด็ดขาด เพราะโปรตีนจากดักแด้จะไปลด ประสิทธิภาพของยาที่เข้าอยู่ในร่างกาย สรุปได้ว่าการสักคือการท�ำให้ผิวหนังเป็นรู เพื่อให้น�้ำยาซึมเข้าสู่บริเวณที่เป็นปัญหาโดยตรง ส่วนน�้ำมัน ที่ใช้มีลักษณะเป็นน�้ำกระสายยา (Vehicle) ช่วยให้ยาเดินได้ดีขึ้น จากบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ท�ำให้ปัจจุบันการสักเพื่อรักษาโรคเสื่อมถอยลง ในปัจจุบันอาจมี ผู้รู้ไม่เกิน ๒๐ ท่าน ปัญหาที่ส�ำคัญคือยังไม่มีการถอดองค์ความรู้ทางด้านนี้ เพื่อน�ำมาอนุรักษ์ ฟื้นฟูและพัฒนาการใช้ ในขั้นต่อไป ชุมชนผู้ปฏิบัติงาน การสักเพื่อใช้ในการรักษาโรคยังคงปรากฏในหมอสักในบางพื้นที่ เช่น จังหวัดสกลนคร อุดรธานี มหาสารคามและบางส่วนในภาคเหนือ เช่น ในจังหวัดเชียงราย เอกสารอ้างอิง

http://www.itti-patihan.com http://en.wikipedia.org/wiki/Tattoo http://www.literatureandhistory.go.th http://www.smithsonianmag.com/history-archaeology/tattoo.html# บันทึก “เล่าเรื่องเมืองไทยของสังฆราชปาลเลกัวซ์ บันทึกของ ดับบิวล์ เจ อาร์เชอร์ (๒๔๓๕) ข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์ นายบุญจันทร์ ภูนาเพชร บ้านเลขที่ ๔๙ หมู่ที่ ๖ ต�ำบลมะยาว อ�ำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์ นายแพง นาคะอินทร์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

226 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


โหราศาสตร์ไทย

ภาพเทวดาเหาะแปรขบวนเป็นรูปกลุ่มดาวนักษัตรฤกษ์ที่ ๕ (มฤคเสียร) ในงานจิตรกรรมพระอุโบสถวันราชนัดดาราชวรวิหาร

ความรู้ที่ว่าด้วยจักรวาล ท้องฟ้า ดวงดาว และวันเวลา รวมเรียกว่า “โชยติศาสตร์” โชติยศาสตร์ (สํ,บาลี โชติสตฺถา) หมายถึง ศาสตร์ว่าด้วยดวงดาว ต่อมามักใช้ค�ำว่า “โหราศาสตร์” ซึ่งมาจาก อโห-ราตฺร หมายถึง วันและ คืน รวมความแล้วคือศาสตร์ที่ว่าด้วยการก�ำหนดเวลาซึ่งมีที่มาจากการโคจรของดวงดาว เมื่อวิทยาการต่างๆ ของโลก ได้กา้ วหน้ามากขึน้ การศึกษาความเป็นไปของจักรวาลและดวงดาวมีการใช้สมมติฐานและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษา จึงพัฒนาเป็น “ดาราศาสตร์”ในระบบที่สามารถตรวจพิสูจน์ได้ด้วยกฎเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานแน่นอน แต่การศึกษาดาราศาสตร์โบราณหรือทีเ่ รียกว่าโหราศาสตร์นนั้ นอกจากมุง่ เน้นศึกษาการปรากฏขึน้ และ โคจรทีแ่ น่นอนของดวงดาวแล้ว ยังรวมเอาศาสตร์ตา่ งๆ อีกหลายแขนง ได้แก่ ปรัชญา ศาสนา สังคมวิทยา คติชนวิทยา มาประกอบกันเพื่ออธิบายผลอันเกิดจากจังหวะของการเกิดขึ้น เปลี่ยนแปลงไปของวัตถุท้องฟ้าสะท้อนความเป็นไป ในสังคมตั้งแต่ระดับมหภาค ได้แก่ เมือง ชุมชน ลงไปถึงระดับปัจเจกชน โหราศาสตร์จึงได้รับการพัฒนา ด�ำรงอยู่ และสืบทอดองค์ความรู้เพื่อรับใช้สังคมมนุษย์ด�ำเนินไปอย่างราบรื่น เหมาะสม สัมพันธ์กับช่วงเวลาต่างๆ และพร้อม รับกับสถานการณ์ที่คาดการณ์ได้ว่าจะส่งผลดีหรือร้ายต่อสังคมโดยรวมตลอดจนวิถีมนุษย์แต่ละบุคคลได้ การศึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้และขนบโหราศาสตร์ไทยที่เป็นแบบแผนแน่นอนนั้น อยู่ในกลุ่มของ ชนชั้นผู้ปกครอง พราหมณ์ นักบวช และเสนาบดี ซึ่งศึกษาวิธีการค�ำนวณ การพยากรณ์ และอธิบายการโคจรของวัตถุ ท้องฟ้าต่างๆ ด้วยต�ำราดาราศาสตร์ของอินเดียโบราณซึ่งสืบหลักฐานไปถึงคัมภีร์พระเวทของพราหมณ์ก่อนพุทธกาล ซึ่งองค์ประกอบอันเป็นลักษณะเฉพาะของโหราศาสตร์ไทยประกอบด้วย เรียบเรียงโดย วรพล ไม้สน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 227


๑) โหราศาสตร์ภาคค�ำนวณ ปรากฏผลอยู่ในรูปแบบตารางปฏิทิน ได้แก่ ปูมโหร ปูมดาว หรือ ปฏิทิน ปูม คือ ปฏิทินบอกต�ำแหน่งดวงดาวในช่วงเวลานั้น เป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้เป็นหลักในการศึกษาการโคจร ของดวงดาว ใช้ในการพยากรณ์ การวางฤกษ์เพื่อประกอบพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นหน้าที่ของโหรหรือผู้ที่มีความรู้ที่ต้อง จัดท�ำและบันทึกการเปลี่ยนไปของท้องฟ้าเป็นประจ�ำ ทั้งนี้การค�ำนวณต�ำแหน่งของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์นั้น ค�ำนวณจากคัมภีร์สุริยยาตร์ ซึ่งถ่ายทอดมาจากคัมภีร์สูรยสิทธานต์ของวราหมิหิรา นักปราชญ์ชาวอินเดียซึ่งได้บันทึก ไว้เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๑ เป็นสูตรค�ำนวณที่ใช้ร่วมกันทั่วทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ในการค�ำนวณวันที่ ดวงอาทิตย์ย้ายเข้าสู่ราศีเมษอันเป็นที่มาของเทศกาลมหาสงกรานต์–เถลิงศก หรือปีใหม่เมืองในล้านนา ตลอดจนใช้ การจัดท�ำปฏิทินจันทรคติประจ�ำปี อันเป็นระบบปฏิทินราชการก่อนที่จะมีการปรับใช้ระบบปฏิทินสุริยคติในปัจจุบัน ซึง่ ต้องท�ำให้ถกู ต้องกับฤดูกาลเพราะมีสว่ นส�ำคัญต่อการประกอบอาชีพหรือกิจกรรมทางสังคม ความเชือ่ พิธกี รรมซึง่ สัมพันธ์กับการด�ำเนินชีวิตในรอบปีหรือประเพณี ๑๒ เดือน ส่วนการค�ำนวณต�ำแหน่งดาวเคราะห์อื่นๆ ได้แก่ พุธ ศุกร์ อังคาร พฤหัสบดี เสาร์ และราหูนั้น อาณาจักรต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่างก็ใช้คมั ภีรว์ ธิ กี ารค�ำนวณจากคัมภีรส์ รู ยสิทธานต์ในพุทธศตวรรษที่ ๑๑ เช่นเดียวกันทั้งสิ้น ยกเว้นระบบโหราศาสตร์ไทยได้ปรับใช้วิธีการค�ำนวณจากคัมภีร์ลฆุมนัส (ต่อมาชื่อคัมภีร์กร่อน เป็นคัมภีร์มานัตต์) ที่พัฒนาขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๕ เพราะมีความถูกต้องในการค�ำนวณต�ำแหน่งดาวบนฟ้า ในขณะนั้นมากกว่าคัมภีร์เดิม มีหลักฐานปรากฏในช่วงอยุธยาตอนปลาย นอกจากนี้ในช่วงปลายรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ได้มีคิดสูตรการค�ำนวณดาวยูเรนัสหรือ ในระบบโหราศาสตร์ไทย เรียกว่า ดาวมฤตยู มาใช้เพิ่มเติม ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่ค้นพบใหม่ในยุคนั้น รวมถึงมีการค�ำนวณต�ำแหน่งดาวเกตุขึ้นใช้ซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะของโหราศาสตร์ไทยซึ่งใช้ต�ำแหน่งดาว ๑๐ ดวงหรือทศเคราะห์ แม้ว่าในสมัยต่อมาเมื่อวิทยาการ ของโลกจะมีการปรับปรุงการค�ำนวณทางดาราศาสตร์ให้ถูกต้องมากขึ้น สามารถอธิบายปรากฏการณ์และก�ำหนด ต�ำแหน่งดวงดาวได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แล้ว แต่ต�ำแหน่งดวงดาวซึ่งค�ำนวณจากคัมภีร์สุริยยาตร์และ มานัตต์ยังคงใช้อยู่ในระบบโหราศาสตร์ไทยสืบมาจนถึงปัจจุบัน โดยเน้นหนักไปในด้านการพยากรณ์ และในเรื่อง พิธีกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

228 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การบันทึกต�ำแหน่งดวงดาว ณ เวลาที่ก�ำหนด มักอยู่ในรูปแบบของดวงชะตาซึ่งปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ ในศิลาจารึกและเอกสารต่างๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้นมา เพื่อใช้สอบทานกับระบบเวลาที่ปรากฏอยู่คู่กันนั้นได้ อย่างแน่นอนและแม่นย�ำมากขึ้น ในส่วนดวงชะตาของบุคคลนั้นนิยมบันทึกไว้ในวัสดุต่างๆ กัน เช่น ใบลาน ผืนผ้า แผ่นกระดาษ หรือแผ่นโลหะ เป็นต้น เพื่อให้ทราบบุคคลนั้นก�ำเนิดในช่วงเวลาใด มีประโยชน์ส�ำหรับการใช้สอบทาน อายุของบุคคล และการหาฤกษ์ยามในโอกาสส�ำคัญในชีวิต เช่น การอุปสมบท การปลูกบ้าน และการแต่งงาน เป็นต้น ในส่วนของพระราชพิธีส�ำคัญ คือ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก มีพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏพระปรมาภิไธย ดวงพระบรม ราชสมภพ เพื่อประโยชน์ในการสอบเทียบพระชนมพรรษา รวมถึงวันรัชกาลคือจ�ำนวนวันที่นับทวีขึ้นตั้งแต่ทรงครอง ราชย์ หรือมีการจารึกดวงฤกษ์อนั เป็นช่วงเวลาส�ำคัญในการเริม่ ต้นหรือสิน้ สุดการก่อสร้างถาวรวัตถุตา่ งๆ เพือ่ เป็นการ บันทึกประวัติศาสตร์อันเกี่ยวเนื่องกับสิ่งต่างๆ เหล่านั้น ๒) โหราศาสตร์ภาคพยากรณ์ ได้แก่ การพยากรณ์ดวงชะตาบุคคลส�ำคัญต่างๆ เช่น ดวงพระราชสมภพ เป็นต้น การพยากรณ์ในวันครบรอบการตั้งเสาหลักพระนคร การพยากรณ์เนื่องในเทศกาลสงกรานต์-เถลิงศก ตลอดจนเรือ่ งของฤกษ์ยามประจ�ำปีหรือกาลโยค ซึง่ เป็นเรือ่ งทีร่ บั รูก้ นั ได้โดยทัว่ ไป และส่งผลต่อวิถชี วี ติ ของประชาชน ในปีนั้นๆ เช่น การหาฤกษ์ยามในโอกาสส�ำคัญ รวมถึงการพยากรณ์และการเสี่ยงทายผ้านุ่ง และตั้งเลี้ยงพระโค ในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล-แรกนาขวัญ การพยากรณ์ดวงชะตาบุคคลทั่วไปนั้น โหราศาสตร์ไทยเน้นการพยากรณ์ในระดับที่มีการเฉพาะเจาะจง ไปในแต่ละบุคคล คือ ต้องทราบเวลาก�ำเนิดของบุคคลนั้นเพื่อการค�ำนวณต�ำแหน่งดวงดาวและลัคนาในดวงชะตา แม้ว่ามีรายละเอียดไม่เพียงพอเช่นทราบเพียงวัน เดือน หรือปี ก็มีการปรับใช้ระบบเลขแทนวัน เดือน ปี มาใช้ในการ ท�ำนาย หรือพยากรณ์จากต�ำราพรหมชาติเป็นการทดแทน ๓) โหราศาสตร์ภาคพิธีกรรม คติความเชื่อเรื่องเทพยดานพเคราะห์ โชคลาง และโหราศาสตร์ ถูกหลอมรวมเป็นวัฒนธรรมทีม่ องดวงดาวว่าเป็นสิง่ ทีส่ ามารถบันดาลโชคดีโชคร้าย การโคจรหมุนเวียนไปในแต่ละราศี ย่อมส่งผลให้บุคคลที่เกิดในเวลาต่างๆ กันได้รับผลดังกล่าว ดังนั้น ในทัศนคติของชาวบ้านดาวดาวจึงมิใช่วัตถุท้องฟ้า เพียงอย่างเดียว หากทรงไว้ดว้ ยอ�ำนาจแห่งเทพยดาทีส่ มั พันธ์กบั ดาวดวงนัน้ ๆ จึงเกิดเป็นคติการบูชาเทพยดานพเคราะห์ ต่างๆ ท�ำหน้าที่หมุนเวียนกันเข้ามาบันดาลผลดีผลร้ายเมื่อถึงวาระของแต่ละองค์ ที่เรียกว่า เทวดาเสวยอายุ จึงมีการ สวดและสังเวยในสิ่งที่แต่ละองค์ จะได้ดลบันดาลสิ่งดีเป็นมงคลและงดโทษที่เป็นผลร้าย ต่อมา ในช่วงต้นรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ ได้รเิ ริม่ ให้มกี ารจัดพิธกี ารสวดนวัคคหายุสมธัมม์ คือ ธรรมเป็น เครื่องเสมออายุด้วยนพเคราะห์ เพื่อให้ฝ่ายพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ใช้สวดร่วมกับพิธีพราหมณ์ในการสวด สังเวยเทวดานพเคราะห์ในพิธีเดียวกัน อันเป็นลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นเนื่องจากความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์ไทย พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 229


๔) โหราศาสตร์ภาคปรากฏการณ์ คือ การค�ำนวณและพยากรณ์ผลของสุริยุปราคา จันทรุปราคา ดวงจันทร์บังดาวเคราะห์หรือดาวฤกษ์ การปรากฏขึ้นของดาวหาง อุกกาบาตตกหรือผีพุ่งไต้ พระอาทิตย์ทรงกลด พระจันทร์ทรงกลด แผ่นดินไหว อากาศวิปริตต่างๆ เป็นต้น อันส่งผลโดยตรงต่อความเชื่อเรื่องเสถียรภาพของชุมชน และการปกครอง ตลอดจนความเป็นอยู่ของประชาชนทั่วไป ๕) โหราศาสตร์ในขนบประเพณีและวิถชี วี ติ เช่น การก�ำหนดทิศทาง คติทถี่ อื ทิศว่าทิศใดเป็นมงคลหรือ อัปมงคล การเรียนรูเ้ รือ่ งทิศทางของลมและฝนในแต่ละฤดูกาล การเรียนรูก้ ารเคลือ่ นตัวของดวงอาทิตย์ในท้องฟ้าเพือ่ ใช้กำ� หนดเวลาทีเ่ รียกว่า ชัน้ ฉาย การสังเกตในเรือ่ งตะวันอ้อมเหนือ-อ้อมใต้ หรือตะวันอ้อมข้าว ส่วนการใช้ประโยชน์ จากแสงจันทร์ทสี่ ว่างพอสมควรสามารถใช้ประกอบกิจกรรมบางอย่าง เช่น การมหรสพสมโภช การเดินป่า การล่าสัตว์ และในการสงครามนั้น เวลาที่พระจันทร์ลับแสงคือเวลา เข้าตีและเวลาพรางตัวหนีข้าศึก การก�ำหนดระยะเวลา ในช่วงเวลากลางคืน ก�ำหนดได้จากอาการขึ้นและตกของ ดวงจันทร์และดวงดาว ได้แก่ ดาวจระเข้ อันเป็นส่วนหนึ่ง ของกลุ่มดาวหมีใหญ่ ซึ่งภาคเหนือและภาคอีสานเรียกว่า ดาวช้าง หรือดาวหัวช้าง ดาวเต่าในกลุ่มดาวนายพราน ดาวข่าง ดาวว่าว ซึง่ เป็นดาวเรียงเด่นในกลุม่ ดาวกางเขนใต้ กระจุกดาวลูกไก่ เป็นกระจุกดาวเปิดอยูใ่ นกลุม่ ดาวพฤษภ หรือกลุม่ ดาววัว ส่วนทางภาคเหนือและอีสาน เรียกว่าดาว ไก่น้อย หรือมีอีกชื่อเรียกว่า ดาววี การใช้ดาวศุกร์ คือดาว ประจ�ำเมืองและดาวประกายพฤกษ์ในการก�ำหนดเวลาใน ช่วงหัวค�่ำและเช้ามืด รวมถึง การเล่าขานถึงต�ำนานของ ดวงดาวแต่ ล ะดวง แต่ ล ะกลุ ่ ม เช่ น นิ ท านดาวลู ก ไก่ (ดาววีไก่น้อย) ดาวจระเข้ นิทานดาวม้าผูกโยงกับเรื่อง ของม้ากัณฐกะในพุทธประวัติ ต�ำนานกลุ่มดาวหมาใหญ่ หมาเล็ ก ก็ ผู ก โยงกั บ เรื่ อ งของพระยุ ธิ ษ เฐี ย รขึ้ น สู ่ ดวงชะตาฤกษ์บันทึกเหตุการณ์การสร้างพระอุโบสถ วัดเกาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นการบันทึกวันเวลาและเหตุการณ์ เขาพระสุเมรุในมหาภารตยุทธ หรือต�ำนานดาวไถผูกโยง ด้วยระบบดวงดาวบนท้องฟ้า กั บ เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ ต อนศึ ก กุ ม ภกรรณ รวมถึ ง ต� ำ นาน ดาวนักษัตรฤกษ์ ๒๗ กลุ่มซึ่งใช้ในวิชาโหราศาสตร์และ การพยากรณ์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

230 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ในสภาพสังคมปัจจุบัน โหราศาสตร์ถูกมองว่าเป็นศาสตร์ที่มุ่งไปในทางพยากรณ์ และการประกอบ พิธีกรรมแต่เพียงอย่างเดียว รวมถึงการเข้าใจผิดว่าศาสตร์ด้านการพยากรณ์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับดวงดาว ล้วนอยู่ใน โหราศาสตร์ทั้งสิ้น ท�ำให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนไปจากเดิมมาก เมื่อเปิดรับวิทยาการจากต่างประเทศมากขึ้น โดยน�ำเอาวิทยาการสมัยใหม่อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ในขณะที่การท�ำความเข้าใจ สืบค้น และอธิบายข้อมูลโหราศาสตร์อันเป็นพื้นฐานหลักของวิทยาการดั้งเดิมถูกละเลย ในที่สุดก็ถูกมองว่าคร�ำ่ ครึ ล้าสมัย ไม่พฒ ั นา เมือ่ ถึงคราวทีท่ ำ� การสืบค้นขึน้ ใหม่ ก็ขาดข้อมูลเชือ่ มโยงทีท่ ำ� ให้เห็นภาพรวมในการติดตามพัฒนาการ ได้อย่างต่อเนื่องและชัดเจน อีกทั้งมุมมองและทัศนคติต่อโหราศาสตร์ตามสภาพความเป็นจริงกับการเปรียบเทียบ ผลที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปด้วยความยากล�ำบาก การเผยแพร่ภมู ปิ ญ ั ญาก็เป็นไปในลักษณะจ�ำกัด เพราะเดิมใช้ระบบการท่องจ�ำแบบมุขปาฐะและคัดลอก ด้วยมือ จึงมีการเผยแพร่เฉพาะในกลุ่มคนที่ต้องการศึกษาจริงจังเท่านั้น และส่วนมากเน้นในการพยากรณ์แต่เพียง อย่างเดียว อีกทั้งมีการเข้าใจผิดว่าระบบการพยากรณ์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบท้องฟ้าและดวงดาว เช่น การทรงเจ้า การประกอบพิธีกรรมทางไสยศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของระบบโหราศาสตร์ไทยด้วย ท�ำให้บุคคลทั่วไปมี ทัศนคติในเชิงลบต่อวิชาโหราศาสตร์ไทยในภาพรวม ท�ำให้ตำ� ราอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับภาคพยากรณ์และพิธกี รรม ได้แก่ วิชาที่เกี่ยวข้องกับการค�ำนวณต�ำแหน่งของดวงดาว การค�ำนวณสุริยุปราคา จันทรุปราคา การวางตัวของดาวนักษัตร ฤกษ์ ต�ำราดาวหาง การค�ำนวณและจัดท�ำปฏิทินจันทรคติถูกเผยแพร่อย่างจ�ำกัดตามไปด้วย ส่วนผู้ที่รู้และสามารถ เข้าใจในระบบโหราศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับจารีตประเพณีและวิถีชีวิตจริงๆ เช่น การสังเกตต�ำแหน่งดาวเพื่อหาเวลา ทิศทางเพื่อก�ำหนดฤดูกาลเกษตรกรรมนั้นพบได้น้อยมาก และก็ล้วนแต่เป็นผู้สูงอายุ ท�ำให้การสืบทอดอาจขาดช่วง ประกอบกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งสามารถก�ำหนดเวลาและวงรอบฤดูกาลของได้ละเอียด มากยิ่งขึ้น รวมถึงมีการเตือนภัยอันเนื่องมาจากเหตุผิดปกติของธรรมชาติ ได้แก่ การอุตุนิยมวิทยา และแบบจ�ำลอง การคาดการณ์สภาพอากาศ ท�ำให้องค์ความรู้ทางด้านโหราศาสตร์และความรู้ด้านการดูดาว การดูทิศทางลมอันเกี่ยว เนื่องกับวงรอบการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว ซึ่งเดิมถูกละเลย และมีแนวโน้มว่าจะเลือนหายไปในที่สุดนั้น ปัจจุบันเริ่มมีการน�ำโหราศาสตร์กลับมาศึกษา ค้นคว้า ฟื้นฟู และปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น ตามล�ำดับ ในหลักวิชาและแนวทางที่ได้กลั่นกรองแล้วว่ามีความเหมาะสมต่อสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน โดยมี หน่วยงาน ชุมชน ทีย่ งั มีการเก็บรักษาและถ่ายทอดความรู้ ตลอดจนเป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญด้านโหราศาสตร์ไทย ได้แก่

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 231


เพดานดาวบนวิหารวัดพระธาตุดอยสุเทพ ถ่ายทอดระบบนักษัตร ฤกษ์ ๒๗ กลุ่มจากคัมภีร์โบราณไว้ในงานสถาปัตยกรรม สะท้อน ภาพว่าดวงดาวเป็นของสูงและศักดิ์สิทธิ์

โหราเสนายักษ์ ภาพจิตรกรรมฝาผนังระเบียงรอบพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภาพสะท้อนการใช้โหราศาสตร์ในการวางแผนชีวิต

๑) ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ส�ำนักวิทยบริการ(หอสมุด) ในมหาวิทยาลัยต่างๆ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ และพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ด้านโหราศาสตร์ท้องถิ่น ๒) ส�ำนักราชเลขาธิการและส�ำนักพระราชวัง รับผิดชอบการจัดท�ำปฏิทินหลวง ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาพระราชทานแก่ผู้ที่ไปลงนามถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ทุกปี ๓) หมวดงานโหร กองพระราชพิธี ส�ำนักพระราชวังและมหาเถรสมาคม พิจารณาปฏิทนิ จันทรคติประจ�ำ ปีดว้ ยระบบการอ้างอิงฤดูกาลด้วยต�ำแหน่งดาวฤกษ์ โดยต้องก�ำหนดวันเข้าพรรษาและออกพรรษาให้ถกู ต้องกับนักษัตร ฤกษ์ทางพุทธบัญญัติ ก�ำหนดฤกษ์ยามในพระราชพิธีต่างๆ ๔) คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เช่น วัดบวรนิเวศวิหาร วัดโสมนัสราชวรวิหาร เป็นต้น ยังคงใช้ระเบียบ ปฏิทินและกระดานปักขคณนาตามที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนา ๕) มูลนิธิสมาคมโหรแห่งประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ์ ถ่ายทอดการค�ำนวณต�ำแหน่งดาวเคราะห์ ด้วยคัมภีร์สุริยยาตร์และต�ำราดาราศาสตร์โบราณของราชส�ำนัก รวมถึงสมาคมหรือสถาบันทางโหราศาสตร์อื่นๆ ที่เน้นถ่ายทอดด้านการพยากรณ์และพิธีกรรมที่เกี่ยวข้อง ๖) ชมรมปั ก ขทื น ล้ า นนาเชี ย งใหม่ ถ่ า ยทอดการค� ำ นวณปฏิ ทิ น ปี ใ หม่ เ มื อ ง (ปฏิ ทิ น สงกรานต์ ) วันตามความเชื่อ และอื่นๆ ๗) กระทรวงวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส่งเสริมและงานประเพณีต่างๆ ที่ก�ำหนด เทศกาลจากปฏิทินจันทรคติประจ�ำปี ๘) สมาคมดาราศาสตร์ไทยและสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์กรมหาชน) เผยแพร่ความรู้ ทางดาราศาสตร์และเหตุการณ์ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ส�ำคัญ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

232 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ไก่ชนไทย

ไก่ชนไทย พัฒนามาจากไก่บ้านที่มีถิ่นก�ำเนิดในดินแดนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Gallus gallus Domesticus ไก่เป็นสัตว์เลี้ยงของชาวนาไทยมานมนานไม่สามารถระบุหลักฐานได้แน่ชัด เพราะอาหารหลักของไก่คือข้าวเปลือกและแมลงต่างๆ คนในวัฒนธรรมข้าวจึงล้วนเลี้ยงไก่ควบคู่มากับควายหรือวัว ที่ใช้ในการท�ำนา ขณะเดียวกันธรรมชาติของไก่ตัวผู้นั้นมีความเป็นนักสู้ที่ชอบจิกตีกันเป็นประจ�ำ เด็กผู้ชายในอดีตจึง นิยมน�ำไก่มาเล่นชนกัน และพัฒนาเป็นการละเล่นพื้นบ้านและการพนันไปในที่สุด โดยมีค่านิยมว่า ผู้ที่มีไก่ชนเก่ง ไว้ครอบครองแสดงถึงบารมีและความเป็นลูกผู้ชาย ขณะเดียวกันไก่ชนในอุดมคติของนักเลงไก่ไทยควรจะมีลักษณะ “เชิงไทย ไวพม่า หนังหนาแบบเวียดนาม” กล่าวคือ มีฝีมือในการชนแบบไก่ชนสายพันธุ์ไทย มีความว่องไวแบบไก่ชน สายพันธุ์พม่า และมีความอดทนสูงแบบไก่ชนสายพันธุ์เวียดนาม ไก่ชนสายพันธุไ์ ทยเป็นไก่ขนาดกลาง มีนำ�้ หนักประมาณ ๓ กิโลกรัม ลักษณะเด่นของเชิงไก่สายพันธุไ์ ทย คือ เป็นไก่กอด ไก่ล็อค กดหัว จิกตี ขณะชนจะคลุกเข้าวงใน เอาหัวมุดงัดปีกฝ่ายตรงข้ามแล้วหมุนเป็นวงกลม หาจังหวะ เมื่อได้จังหวะจะจิกหัวฝ่ายตรงข้ามแล้วจึงกระโดดเตะ(ตี) การละเล่นไก่ชนมีอยูใ่ นสังคมไทยมาอย่างยาวนาน ดังปรากฏในต�ำนาน นิทานและพงศาวดาร เช่น นิทาน เรื่องนางสิบสอง พระรถเสนมีไก่ชนตัวเก่งสามารถชนไก่ชนะเจ้าเมือง ชาวบ้านแถบอ�ำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เชื่อกันว่า ไก่ชนพันธุ์ท้องถิ่นที่เรียกว่า ไก่พระรถ สืบสายพันธุ์มาจากไก่พื้นเมืองแถบเมืองโบราณในจังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา ที่เรียกว่า เมืองพระรถ ส่วนหลักฐานทางพงศาวดาร ปรากฏเรื่องการชนไก่ของพระนเรศวรกับพระมหา อุปราชาแห่งหงสาวดี ครั้งยังประทับอยู่ในฐานะเชลยที่พม่า ไก่ของพระนเรศวรที่ชนะเป็นไก่ชนสายพันธุ์ไทยที่เรียกว่า ไก่เหลืองหางขาว หรือไก่พระเจ้าห้าพระองค์ ชาวบ้านถือว่าไก่สายพันธุ์นี้เป็นไก่เจ้า ไก่งาม ไก่สง่า ลักษณะคือ ปากขาว ขาขาว เดือยขาว เล็บขาวและหางขาว เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 233


แต่ละภูมภิ าคของไทยมีความนิยมไก่ชนสายพันธุแ์ ตกต่างกันดูได้จาก สี ขน และรูปร่างลักษณะ ปัจจุบนั สายพันธุ์ไก่ชนที่ได้การรับรองจากสมาคมอนุรักษ์และพัฒนาไก่พื้นเมืองไทยมีทั้งหมด ๑๐ สายพันธุ์ ได้แก่ ๑. เหลืองหางขาว (พัฒนามาจากไก่อูแถบบ้านกร่าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก) ๒. ประดู ่ ห างด� ำ (พั ฒ นามาจากไก่ อู แถบจั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ฉะเชิ ง เทรา กรุงเทพมหานคร สิงห์บุรีและอ่างทอง) ๓. เขียวหางด�ำ (พัฒนามาจากไก่อูแถบจังหวัดภาคตะวันออกแถบชลบุรี เรียก ไก่พระรถ ทางอุตรดิตถ์ เรียก เขียวพาลี หรือ เขียวพระยาพิชัยดาบหัก) ๔. เทาหางขาว (มีแหล่งก�ำเนิดแถบจังหวัดตาก ชลบุรี (พนัสนิคม) เพชรบุรี (อ�ำเภอบ้านแหลม) ๕. นกแดงหางแดง (จังหวัดกาญจนบุรี พิษณุโลก นครสวรรค์ และพระนครศรีอยุธยา) ๖. ทองแดงหางด�ำ (พบทั่วไปในจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี พระนครศรีอยุธยาและชลบุรี) ๗. นกกดหางด�ำ (มีถิ่นก�ำเนิดแถบจังหวัดนครสวรรค์ ราชบุรี เพชรบุรี นครปฐม และกาญจนบุรี) ๘. ลายหางขาว (เป็นไก่ที่มาจากภาคเหนือแถบเชียงราย พะเยา เพชรบุรี) ๙. เขียวเลาหางขาว (มีแหล่งก�ำเนิดแถบก�ำแพงเพชร เพชรบุรี พระนครศรีอยุธยา พิษณุโลก เพชรบุรี) ๑๐. ประดูเ่ ลาหางขาว (อ�ำเภอหนองจอก มีนบุรี กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี สุพรรณบุรี ก�ำแพงเพชร สุโขทัย ประจวบคีรีขันธ์)

เหลืองหางขาว พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

234 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

ประดู่หางด�ำ


เขียวหางด�ำ

เทาหางขาว

นกแดงหางแดง

ทองแดงหางด�ำ

นกกดหางด�ำ

ลายหางขาว

เขียวเลาหางขาว

ประดู่เลาหางขาว พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 235


ลักษณะเบื้องต้นของไก่ชน คือ ต้องแข็งแรง รูปร่างดี เชิงดี ตีเจ็บ และหลบหลีกเก่ง ลักษณะไก่ชนที่ดี ต้องมีลักษณะ หน้าหงอนบาง กลางหงอนสูง ปลายกดกระหม่อม สร้อยระย้า หน้านกยูง ไหล่ยก อกตั้งหางพุ่งยาว นอกจากนี้ ไก่ชนต้องมีช่วงคอใหญ่ ล�ำตัวสูงโปร่ง แข้งยาวเรียวเล็ก มีเกล็ดใหญ่เต็มนิ้วเรียวยาวมีเกล็ดประมาณ ๒๐ เกล็ด ตากลมใสคล้ายตาเหยี่ยว มีสีสันถูกโฉลก คือ สีปากกับสีแข้งต้องเหมือนกัน เช่น ปากขาวแข้งขาว เป็นต้น ไก่ชนที่ปลดระวางแล้วมักได้เป็นพ่อพันธุ์ ดังนั้น การเล่นไก่ชนจึงเป็นการคัดเลือกสายพันธุ์ไก่โดยวิธี ธรรมชาติ กล่าวได้ว่า การที่ไก่พื้นเมืองไทยปัจจุบัน แข็งแรง ต้านทานโรค เลี้ยงลูกเก่ง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการ คัดเลือกไก่สายพันธุ์ดีจากการเล่น “ไก่ชน” ของคนไทยนั่นเอง พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

236 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


การเลี้ยงและพัฒนาไก่พื้นเมืองธรรมดาให้เป็นไก่ชนที่เหมาะแก่การละเล่นแข่งขันเป็นกระบวนการ ที่ซับซ้อนและประกอบไปด้วยการใช้ภูมิปัญญาและทักษะของชาวนาไทยที่สืบเนื่องกันมายาวนาน ภูมิปัญญาในการ เลี้ยงไก่ชน ประกอบด้วย การคัดเลือกสายพันธุ์ การเลี้ยงดู การฝึกฝนที่เรียกว่า “การปรนไก่” และการรักษาพยาบาล ผู้เลี้ยงไก่ชนส่วนใหญ่เชื่อว่า ความเก่งกาจของไก่ชนเป็นผลมาจากการคัดเลือกสายพันธุ์เป็นส�ำคัญ องค์ความรู้คือ เชิงไก่สืบทอดทางสายพ่อ แต่รูปร่างและล�ำหนักเบาสืบทอดทางสายแม่ ดังนั้นผู้เลี้ยงไก่จึงพิถีพิถัน ในการคัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ไก่อย่างมาก การคัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์เป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา ต้องสืบย้อน ขึน้ ไปดูตน้ ตระกูลไก่หลายชัน้ เพือ่ ให้แน่ใจว่าไก่ตวั นัน้ เก่งจริง นอกจากนี้ ผูเ้ ลีย้ งไก่ยงั มีความเชือ่ ว่า ไก่ชนทีเ่ กิดจากการ ผสมข้ามสายพันธุ์ จะมีเชิงชนที่ “จัด” และ “รอบด้าน” มากยิ่งขึ้นด้วย การเพาะพันธุ์ไก่ชนจึงต้องท�ำอย่างเอาใจใส่ รอบคอบ และมีความรัดกุมอย่างยิ่ง คนไทยมีความเชื่อเกี่ยวกับ ลักษณะไก่ที่เป็นมงคลและไก่อัปมงคลสืบมา ดังนี้ ไก่มงคล ๕ ประเภท ได้แก่ ไก่พระเจ้าห้าพระองค์ ไก่พญาหงส์ ไก่ทรงไตรภพ ไก่จบกระบวนยุทธและ ไก่พูดรู้ภาษาคน ผู้ใดเลี้ยงไก่ดังกล่าวจะได้ลาภ ตรงข้ามกับไก่อัปมงคล เช่น ไก่ตีนเป็ด ไก่ชอบจิกตีเจ้าของและคนใน บ้าน หากเลี้ยงไว้จะท�ำให้เสียทรัพย์เสียชื่อเสียง นอกจากนีผ้ เู้ ลีย้ งไก่ชนต้องมีความรูค้ วามเข้าใจ “วงจรชีวติ ไก่” เป็นอย่างดี ไก่หนุม่ ทีจ่ ะน�ำมาฝึกฝนเป็น ไก่ชนได้ต้องมีอายุ ๘ เดือนขึ้นไป การเข้าค่ายเพื่อฝึกฝนด�ำเนินไปอย่างเข้มข้นโดยใช้เวลาประมาณ ๓ เดือน ประกอบ ด้วย การกราดไก่ การวิ่งสุ่ม การกระโดดบ่อ การล่อไก่ การเตะกระสอบ การลงนวมคู่ และการซ้อมคู่ เป็นต้น การฝึกฝนเป็นกระบวนการทีเ่ สริมสร้างให้ไก่มรี า่ งกายทีแ่ ข็งแรง หนังหนา ทนทาน มีสภาพจิตใจทีแ่ ข็งแกร่งดังทีผ่ เู้ ลีย้ ง ไก่เรียกว่า “เป็นมวย” ไก่ชนจะได้รบั การดูแลอย่างดีและพิเศษ ผูเ้ ลีย้ งจะดูแล ให้อาหาร ให้อาหารเสริม ดูแลสุม่ ทีน่ อน รวมทั้งสังเกตเสียงขัน สีหน้า เหนียง ขน ท่าทางและ มูลของไก่เพื่อให้แน่ใจว่าไก่มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ภูมิปัญญาที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งในการเลี้ยงไก่ชน คือ ภูมิปัญญาในการรักษาพยาบาล ผู้เลี้ยงไก่ชน สามารถดูแลรักษาไก่ได้ตั้งแต่ปัญหาเล็กๆน้อยๆ เช่น การถ่ายพยาธิ การก�ำจัดไร การให้สมุนไพรช่วยย่อย ไปจนถึง กรณีบาดเจ็บหนัก เช่น เมื่อไก่ได้รับบาดเจ็บ ตาปิด ตาแตก ปากฉีก ปากหลุด “หมอไก่” หรือ “มือน�้ำ” ก็สามารถที่ จะรักษาพยาบาลไก่ได้ ในการชนไก่ มือน�้ำจะมี “อะไหล่” ติดตัวไปด้วยเสมอ อะไหล่ไก่ประกอบไปด้วย ปีกไก่ ซึ่งมือน�้ำจะท�ำการต่อปีกก่อนการแข่งขัน “มือน�้ำ” มีองค์ความรู้ที่สามารถระบุได้ว่า ไก่แต่ละตัวมีขนปีกกี่อัน ด้านไหนของขนปีกนั้นเป็นด้านบนด้านล่าง เพราะในการต่อปีกต้องท�ำให้เหมือนสภาพปกติ ในธรรมชาติของไก่ มากที่สุด อีกทั้งยังมีอะไหล่ “ปากไก่” ที่เก็บรวมรวมจากไก่ที่ตายแล้วเพื่อประกอบเข้าปากให้ไก่ ในกรณีที่ไก่ชน เกิดปากหลุดในระหว่างการแข่งขัน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 237


นอกจากนี้ องค์ความรู้ส�ำคัญอีกประการหนึ่งของมือน�้ำยังสะท้อนให้เห็นได้จาก การเปรียบไก่ ที่ “มือน�้ำ” เพียงแต่ดูไก่จากสภาพภายนอก ก็สามารถคาดเดาได้ว่า ไก่ตัวนั้นสายพันธุ์อะไร อายุเท่าไร เชิงชนแบบไหน ล�ำหนักเบาประการใด และแข็งแรงสมบูรณ์เต็มที่หรือไม่ เป็นต้น การเปรียบไก่ถือเป็นหัวใจอย่างหนึ่งของ การละเล่นชนไก่ การคัดเลือกสายพันธุ์ การเลี้ยงดูฝึกฝน และการรักษาพยาบาลไก่ชนจึงเป็นภูมิปัญญาที่เกิดจากการ ทีค่ นอยูใ่ กล้ชดิ กับไก่มานาน มีการสังเกต ลองผิดลองถูกกระทัง่ เกิดเป็นองค์ความรูแ้ ละสืบทอดต่อกันมา สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ การเลี้ยงไก่ชนไม่สามารถท�ำได้ในระบบอุตสาหกรรมแบบเบ็ดเสร็จ เพราะไก่จะไม่แข็งแรง ไก่ชนที่ผ่านคัดเลือก สายพันธุ์และฝึกฝนมาแล้ว จะมีราคาตั้งแต่หลักพัน หมื่น แสน ไปกระทั่งถึงหลักล้าน ไก่ชนจึงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ ทีส่ ำ� คัญของชาวนาไทย สามารถตอบสนองความต้องการพืน้ ฐานทัง้ การน�ำไปบริโภค การสันทนาการซึง่ มีทงั้ การน�ำไป ชนไก่และการประกวดประเภทสวยงาม ตลอดจนการเลี้ยงไก่ชนเป็นธุรกิจเพื่อการส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ที่นิยม กีฬาชนไก่ การเลี้ยงไก่ชนนิยมกันอย่างกว้างขวางทั่วทั้งประเทศไทย มีสนามไก่ชนที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย อยูท่ วั่ ไปทัง้ ในกรุงเทพฯและต่างจังหวัด ชุมชนทีม่ กี ารเลีย้ งไก่ชนจึงเป็นไปอย่างกว้างขวางกระจายไปทัว่ ทัง้ ประเทศไทย ปัจจุบันมีการรวมตัวเป็นสมาคมอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์ไก่พื้นเมืองในภาคต่างๆ แม้การเลี้ยงไก่ชนจะเป็นไปอย่าง กว้างขวางและมีภูมิปัญญาการเลี้ยงที่สืบทอดกันมา แต่สภาพปัจจุบันพบว่า “มือน�้ำ” หรือ “หมอไก่” ขาดผู้เรียนรู้ สืบทอด ทั้งนี้เพราะการเรียนเป็นหมอไก่ ต้องเข้าไปคลุกคลีฝากตัวเป็นศิษย์รับใช้และต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ฝึกฝน อย่างยาวนานด้วยใจรัก มือน�้ำมักกล่าวตรงกันว่าตนเองใช้ประสบการณ์ทั้งชีวิตในการเรียนรู้ไก่ การขาดแคลนมือน�้ำ ย่อมหมายถึง การเสี่ยงต่อการสูญหายของภูมิปัญญาในการดูแล รักษาพยาบาลไก่ด้วย เอกสารอ้างอิง

บุญมี พิบูลย์สมบัติ. ชนไก่: กีฬา .ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๔.หน้า ๑๗๔๙-๑๗๕๒. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรม วัฒนธรรมไทยฯ ธนาคารไทยพาณิย์, ๒๕๔๒. สาโรจน์ เจียระคงมั่น . ไก่ชนในภาคกลาง. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง ฉบับเพิ่มเติม เล่ม ๑. หน้า ๘๐-๙๖. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สารานุกรมวัฒนธรรมไทยฯ ธนาคารไทยพาณิย์, ๒๕๕๑.

ข้อมุลสัมภาษณ์

นายประมวล จันทวงษ์, ซุ้มบ้านบึง กิ่ง อ.เกาะจันทร์ จ.ชลบุรี,สัมภาษณ์ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖. ดร. ปรารถนา งามวงษ์วาน, สนามไก่ชนซีพี กิ่ง อ.เกาะจันทร์ จ.ชลบุรี, ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖. นายสาโรจน์ เจียรคงมั่น, ศูนย์วิจัยและพัฒนาไก่พื้นเมือง จ.ชลบุรี,สัมภาษณ์ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖. นายห้อย มหาชัย, ซุ้มสรศักดิ์ อ.มหาชัย จ.สมุทรสาคร,สัมภาษณ์ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

238 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แมวไทย “แมวไทย” (Siamese Cat) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Felis silvestris catus แมวไทยจัดเป็นแมวพันธุ์แท้ ที่สืบเชื้อสายมาจากแมวโบราณ เป็นสัตว์ขนสั้นที่สวยสง่าที่สุดในโลก เลี้ยงลูกด้วยนม กินเนื้อเป็นอาหาร มีเขี้ยว และเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้เช่นเดียวกับเสือ โดยทั่วไป ศีรษะไม่กลมหรือแหลมจนเกินไป หน้าผากกว้าง จมูกสั้น หูตั้งสั้น ล�ำตัวเพรียวบาง รูปร่างขนาดปานกลาง ขายาวเรียวได้สัดส่วนกับล�ำตัว ขนแน่นอ่อนนุ่มไปทั้ง เรือนร่าง หางยาว โคนหางใหญ่ปลายหางเรียวแหลมชี้ตรง และมีสีสันงดงามแปลกตา แมวไทยมี อุ ป นิ สั ย ที่ โ ดดเด่ น คื อ มี ค วามฉลาด มี ค วามเป็ น ตั ว ของตั ว เอง รู ้ จั ก คิ ด รู ้ จั ก ประจบ รักบ้าน รักเจ้าของ และเหนืออื่นใด คือ รักความอิสระเป็นชีวิตจิตใจ ซึ่งถือว่าเป็นบุคลิกประจ�ำตัวที่ท�ำให้แตกต่าง จากแมวพันธุ์อื่น ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ได้พระราชทานแมววิเชียรมาศคู่หนึ่ง ให้แก่ นายโอเวน กูลด์ กงสุลอังกฤษประจ�ำประเทศไทยเมื่อลากลับไปประเทศอังกฤษในปี พ.ศ.๒๔๒๗ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๒๘ ที่คริสตันพาเลซ กรุงลอนดอน มีการจัดประกวดแมวโลกขึ้นเป็นครั้งแรก แมวคู่นี้ถูกส่งเข้าประกวด และได้รับรางวัลชนะเลิศ ท�ำให้ชาวอังกฤษพากันตื่นเต้นกับแมวไทยถึงกับมีการจัดตั้งสโมสรแมวไทยในปี พ.ศ.๒๔๔๓ มีชื่อว่า The Siamese Cat Clubs และต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๗๑ มีการตั้งสมาคมแมวไทยแห่งจักรวรรดิอังกฤษ หรือ The Siamese Cat Society of British Empire ท�ำให้แมววิเชียรมาศจดทะเบียนเป็นสัตว์พันธุ์แท้ของโลก โดยใช้ชื่อว่า ไซมิสแคท (Siamese Cat) ในปี พ.ศ.๒๕๐๒ นางยีน จอห์นสัน ชาวสหรัฐอเมริกาได้เดินทางเข้ามาประเทศไทยและได้น�ำแมวโคราช (แมวสีสวาด หรือดอกเลา) กลับไปสหรัฐอเมริกา ๒ ตัว ชื่อ นารา และ ดารา ในปี พ.ศ.๒๕๐๘ ได้มีการก่อตั้งสมาคม ผู้เลี้ยงแมวไทยพันธุ์โคราชขึ้นในสหรัฐอเมริกา และจดทะเบียนเป็นสัตว์ประจ�ำชาติไทยในปี พ.ศ.๒๕๕๒ เรียบเรียงโดย ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 239


ภูมิปัญญาการคัดเลือกสายพันธุ์แมวไทย คนไทยนิยมเลี้ยงแมวมาแต่โบราณ ด้วยมีความเชื่อว่าแมว ที่มีลักษณะดีจะให้คุณแก่ผู้เลี้ยง จะท�ำให้ผู้เลี้ยงมีโชคลาภ มีฐานะร�่ำรวย ค้าขายได้กำ� ไร เจริญยศศักดิ์สูงขึ้น เป็นที่รัก ใคร่ของคนทั่วไป หรือได้รับสิ่งของที่เป็นมงคล ส่วนแมวที่มีลักษณะไม่ดีมีความเชื่อว่าจะให้โทษแก่ผู้เลี้ยง จึงได้มีการ จดบันทึกเรื่องราวไว้ในหนังสือต�ำราแมว โดยรวมลักษณะที่ดีแบ่งเป็น ๑๗ ชนิดและลักษณะร้าย ๖ ชนิด ปัจจุบัน แมวไทยที่มีลักษณะดีเหลืออยู่เพียง ๕ ชนิด ได้แก่ ๑. ศุภลักษณ์ หรือทองแดง มีขน เล็บ ลิ้นสีทองแดง (สีนำ�้ ตาลเข้มคล้ายสีสนิม) ดวงตาออกเป็นลักษณะ เหลืองอ�ำพัน จะน�ำยศศักดิ์ให้ผู้เลี้ยง ๒. แมวมาเลศ หรือ ดอกเลา ปัจจุบันคือ แมวสายพันธุ์โคราช หรือที่คนไทยเรียกว่า แมวสีสวาด ถือเป็น แมวแห่งโชคลาภ นิยมใช้ในพิธีกรรมขอฝนเพราะมีสีขนเหมือนเมฆฝน แมวโคราชมีขนสั้น สีกายเป็นสีดอกเลา เล็บ และหนวดสีขาว ดวงตาสีขาวใส เมื่อร้องมีเสียงก้องไพเราะ ๓. วิเชียรมาศ เป็นแมวที่นิยมเลี้ยงแพร่หลายมาก มีล�ำตัวสีขาว มีแต้มสีครั่ง หรือสีนำ�้ ตาลไหม้ที่บริเวณ ใบหน้า หูทั้งสองข้าง เท้าทั้งสี่ หางและที่อวัยวะเพศ รวมเก้าแห่ง ปัจจุบันมีการผสมสายพันธุ์ใหม่เกิดแต้มสีแปลกๆ มากขึ้น เช่น สีกลีบบัว นัยน์ตาแมววิเชียรมาศจะมีสีฟ้าใส มีความเชื่อว่าหากใครเลี้ยงไว้จะได้ทรัพย์สินเพิ่มพูน ๔. โกนจา หรือร่องมด เป็นแมวสีดา� สนิททั้งตัว มีรอ่ งสีขาวยาวจากใต้คางไปตามท้องจนสุดทวาร นัยน์ตา สีเหลืองดอกบวบ ปากแหลม หางเรียวงาม มักเดินทอดน่อง เท้าคล้ายสิงห์ ๕. ขาวมณี หรือขาวปลอด เป็นแมวโบราณทีไ่ ม่ได้อยูใ่ นต�ำราแมว แต่ถอื ว่ามีลกั ษณะดี และพบมากทีส่ ดุ ในปัจจุบัน มีสีขาวทั้งตัว นัยน์ตาสีฟ้าหรือเหลืองอ�ำพัน ภูมปิ ญ ั ญาการพัฒนาสายพันธุแ์ มวไทย สืบเนือ่ งจากคนไทยมีความเชือ่ ว่าแมวแต่ละชนิดให้คณ ุ แตกต่าง กันไป ดังนั้นจึงมีการผสมพันธุ์เพื่อรักษาสายพันธุ์แท้ โดยผสมพันธุ์แมวสายพันธุ์เดียวกันแต่ไม่เป็นเครือญาติกัน เพือ่ ป้องกันการเกิดเลือดชิด ท�ำให้ได้ลกู แมวทีม่ คี วามแข็งแรง มีลกั ษณะตรงตามสายพันธุแ์ ท้ ในปัจจุบนั ถือว่าแมวไทย สายพันธุ์แท้มีอยู่เพียง ๕ สายพันธุ์ เพื่อเป็นการอนุรักษ์สายพันธุ์แมวไทยให้คงอยู่ จึงมีการสืบเสาะตามสถานที่ต่างๆ เพือ่ หาแมวไทยทีม่ ลี กั ษณะใกล้เคียงพันธุแ์ ท้มาใช้ในการผสมพันธุ์ เพือ่ ให้เกิดระดับพันธุแ์ ท้ทสี่ งู ขึน้ หลังจากนัน้ วางแผน การผสมพันธุ์ภายในเครือญาติ และคัดเลือกพันธุ์ให้ตรงกับสายพันธุ์ รวมทั้งคัดเลือกลักษณะความแข็งแรงด้วย จนกระทั่งถึงชั่วรุ่นที่ ๘ จึงถือว่าเป็นแมวไทยพันธุ์แท้ ผู้เลี้ยงได้ใช้ความรู้ดั้งเดิมว่าด้วยลักษณะเด่นของแมวไทย สายพันธุ์ต่างๆ ในการคัดเลือกพันธุ์ เพื่อจับคู่ผสมพันธุ์เพื่อให้เกิดลักษณะที่ต้องการ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

240 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แมวโกนจา

แมวมาเลศ

แมววิเชียรมาศ

ภูมิปัญญาการเลี้ยงแมวไทย แต่เดิมผู้เลี้ยงแมวจะเลี้ยงด้วยอาหารที่ปรุงขึ้นเองในครัว ได้แก่ ข้าวคลุก ปลาทู เนือ่ งจากเป็นอาหารทีห่ าได้งา่ ย แมวเป็นสัตว์ทคี่ อ่ นข้างเลือกกิน ดังนัน้ อาหารทีใ่ ห้ตอ้ งมีกลิน่ หอม การสับเปลีย่ น อาหารจะท�ำให้แมวไม่เบื่ออาหาร ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ของแมวได้มีการถ่ายทอดเป็นองค์ความรู้สืบต่อกันมา การเลี้ยง แมวจะนิยมเลี้ยงตามลักษณะแมวให้คุณตามต�ำราแมวโบราณว่า การเลี้ยงแมวตามลักษณะที่ดีต้องดูแลอย่างดี ไม่ให้ดุด่า ท�ำร้ายทุบตีแมว แต่ต้องจัดอาหารใส่ภาชนะดีๆ ให้กิน อาบน�้ำทาแป้ง ประพรมด้วยเครื่องหอม แมวก็จะให้ คุณแก่ผู้เลี้ยง แต่หากเลี้ยงไม่ดีก็อาจส่งผลให้เกิดโทษได้ ปัจจุบันสายพันธุ์แมวไทยมีการสูญหายคงเหลือเพียงไม่กี่ชนิด จึงเป็นสาเหตุให้เกิดการอนุรักษ์สายพันธุ์ แมวไทยเพาะพันธุจ์ นได้สายพันธุแ์ มวไทยแท้ กระทัง่ มีการจัดตัง้ ศูนย์อนุรกั ษ์แมวไทย เช่น ศูนย์อนุรกั ษ์แมวไทยโบราณ ต�ำบลแควอ้อม อ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ในชุมชน ให้บุคคลที่สนใจเข้าชมและศึกษา สายพันธุ์แมวไทยที่อนุรักษ์ไว้ เอกสารอ้างอิง

วิชิต สิงห์ทอง, ๒๕๔๐, สารคดี ชุด สัตว์เลี้ยงไทย แมวไทย, พิมพ์ครั้งที่ ๑, กรุงเทพมหานคร: เลิฟแอนด์ลิพเพรส จ�ำกัด. ดนุพล เขียวสาคู, ๒๕๔๘, รู้เรื่องแมวเมืองไทย, พิมพ์ครั้งที่ ๑, กรุงเทพมหานคร: โหลทอง มาสเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด สมุดข่อยโบราณ ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ ก�ำนันปรีชา พุคคะบุตร ศูนย์อนุรักษ์แมวไทยโบราณ ต�ำบลแควอ้อม อ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ดร.กัลยา บุญญานุวัตร. นักวิชาการสัตวบาลช�ำนาญการพิเศษ กรมปศุสัตว์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 241


ภาษา ความหมายและประเภท ภาษา หมายถึง เครือ่ งมือทีใ่ ช้สอ่ื สารในวิถกี ารด�ำรงชีวติ ของชนกลุม่ ต่าง ๆ ซึง่ สะท้อน โลกทัศน์ ภูมปิ ญ ั ญา และวัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มชน ทั้งเสียงพูด ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงพูด ประเภทของภาษา ๑. ภาษาไทย หมายถึง ภาษาประจ�ำชาติ หรือภาษาราชการที่ใช้ในประเทศไทย ๒. ภาษาท้องถิ่น หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งและมักเป็นภาษาแม่ของคน ในท้องถิ่นนั้น ในประเทศไทยมีภาษาท้องถิ่นทั้งที่เป็นภาษาตระกูลไทและภาษาตระกูลอื่นๆ แบ่งออกเป็น ภาษาไทย ถิ่นตามภูมิภาค ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย เช่น ภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาไทยถิน่ เหนือ ภาษาไทยถิน่ ใต้ และภาษาชาติพนั ธุ์ ซึง่ เป็นภาษาทีใ่ ช้สอื่ สารในชุมชนท้องถิน่ ต่างๆ ของประเทศไทย เช่น ภาษาเขมรถิ่นไทย ภาษามลายูปาตานี ภาษาม้ง ภาษาอาข่า ภาษาชอง ภาษามอแกน ภาษาลื้อ ภาษายอง ภาษาญ้อ ภาษาภูไท ภาษาพวน ภาษาไทยเบิ้ง/เดิ้ง หรือภาษาไทยโคราช เป็นต้น ๓. ภาษาสัญลักษณ์ หมายถึง ภาษาทีใ่ ช้ตดิ ต่อสือ่ สารด้วยภาษามือ ภาษาท่าทาง หรือเครือ่ งหมายต่างๆ เป็นต้น

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

242 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


เกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียน ๑. เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของชุมชน ๒. เป็นภาษาที่เคยใช้หรือใช้ในชุมชน และเสี่ยงต่อการสูญหายหรือเผชิญกับภัยคุกคาม ๓. มีการสืบทอดและยังปฏิบัติอยู่ในวิถีชีวิต ๔. เป็นเอกลักษณ์ของชาติ หรืออัตลักษณ์ของชุมชนหรือภูมิภาค ๕. คุณสมบัติอื่นๆ ที่คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าเหมาะสม

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 243


ภาษาญ้อ กลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ แต่เดิมอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมากในเมืองหงสาและค�ำม่วน ซึ่งเป็นดินแดนที่อยู่ใน ประเทศลาว ต่อมาได้อพยพมาตัง้ ถิน่ ฐานในเขตประเทศไทยบริเวณพืน้ ทีใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก ของไทยพบมีกลุม่ ชาติพนั ธุญ ์ อ้ ย้ายมาตัง้ ถิน่ ฐานหลายจังหวัด ได้แก่ จังหวัดหนองคาย อุดรธานี มหาสารคาม สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ขอนแก่น นครสวรรค์ สระบุรี ปราจีนบุรี และสระแก้ว นอกจากนี้ ยังพบว่า มีกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ อาศัยอยู่ในประเทศกัมพูชา ได้แก่ จังหวัดบันทายมีชัยและอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชาอีกด้วย การย้ายถิน่ ฐานของกลุม่ ชาติพนั ธุญ ์ อ้ มีสาเหตุมาจากการถูกเกณฑ์และอพยพมาในภายหลังเพือ่ ตัง้ ถิน่ ฐาน ตามญาติพี่น้องที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย โดยการอพยพแต่ละครั้ง จะมีผู้น�ำมาด้วย เช่น ในปี พ.ศ. ๒๓๕๑ ญ้อเมืองท่าอุเทน มีท้าวหม้อ เป็นหัวหน้า ได้พาลูกเมียและบ่าวไพร่จ�ำนวน ๑๐๐ คน ตั้งบ้านเมืองอยู่ที่ ปากแม่น�้ำสงครามซึ่งอยู่ในบริเวณพื้นที่จังหวัดนครพนม แต่หลังจากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ได้มีการอพยพกลับไปตั้ง ถิ่นฐานอยู่ฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขงที่เมืองปุงลิง (ปัจจุบันอยู่ในแขวงค�ำม่วน ประเทศลาว) และในปี พ.ศ. ๒๓๗๑ ก็อพยพกลับ มาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ของเมืองไชยบุรี (ปัจจุบันเป็นแขวงไชยบุรี ประเทศลาว) ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๓๗๖ เจ้าเมืองหลวง ปุงลิงได้พาครอบครัวและบ่าวไพร่ข้ามแม่น�้ำโขงมาประเทศไทยโดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งถิ่นฐานที่เมืองท่าอุเทน ปัจจุบันเป็นอ�ำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ส่วนหัวหน้าของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้ออีกกลุ่มหนึ่ง คือ พระค�ำก้อน เจ้าเมืองค�ำเกิด ประเทศลาวได้ขอ สวามิภักดิ์ต่อกรุงสยาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. ๒๓๗๙ และในปี พ.ศ. ๒๓๘๒ ได้อพยพมามาตั้งถิ่นฐานที่เมืองท่าขอนยาง (ปัจจุบันเป็น ต�ำบลท่าขอนยาง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม) กลุ่มชาติพันธุ์ญ้อในประเทศไทยมีวัฒนธรรมคล้ายคลึงกับคนไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาก ประเพณีที่ถือว่าเป็นเอกลักษณะเฉพาะของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อคือประเพณีไหลเรือไฟในวันขึ้น ๑๕ ค�่ำเดือน ๑๑ หรือ วันออกพรรษา เรียกว่า “ไหลเฮื่อไฟ” นอกจากนี้ ยังมีวัฒนธรรมการละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ คือ หมากโข่งโหล่ง หมากต่อไก่ หมากนู่เนียม ปาบึกแล่นมาฮาด หม่อจ�้ำหม่อมี และหมากอีหมากอ�ำ การละเล่น แต่ละประเภทจะมีวิธีการเล่นและมีเพลงประกอบการละเล่นด้วย เช่น การละเล่นหม่อจ�้ำหม่อมี มีเพลงประกอบว่า จั้มหม่อมี่มาจี่หม่อหม่น หักคอคนเซอหน้านกกด หน้านกกดหน้าลิงหน้าลาย หน้าผีพายหน้ากิกหน้าก่อม หน้ากิก (หน้าสั้น) หน้าก่อม(หน้ากลม) ยอมแยะแตะปีกผึ่งวะผึ่งวะ (ซ�้ำตั้งแต่ต้นไปเรื่อยๆ) เป็นต้น เรียบเรียงโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัญญัติ สาลี พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

244 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


จากงานวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อของ บัญญัติ สาลี และคณะ (๒๕๕๑) พบหลักฐานการตั้งถิ่นฐาน ของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อในหมู่บ้านท่าขอนยาง พบจารึก ๒ แผ่น คือ จารึกใบเสมาและจารึกบนฐานพระพุทธรูป ซึ่งพบที่วัดมหาผลบ้านท่าขอนยาง ต�ำบลท่าขอนยาง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในจารึกทั้ง ๒ หลักได้ กล่าวถึงเจ้าเมืองท่าขอนยาง นามว่า พระสุวรรณภักดี ซึ่งเป็นหัวหน้ากลุ่มชาติพันธุ์ญ้อได้สร้างพัทธสีมาและพระพุทธ รูปในจุลศักราช ๑๒๒๒

ศิลาจารึกพบที่วัดมหาผล บ้านท่าขอนยาง

จารึกฐานพระพุทธรูปวัดมหาผล

ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของภาษาญ้อซึ่งถือว่าเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของภาษาญ้อ ได้แก่ เสียงสระ เออ ของค�ำที่ตรงกับเสียงสระ ใ –ของภาษาไทยมาตรฐาน (ถ่ายถอดเสียงเป็นอักษรไทยตาม ธนานันท์ ตรงดี, ๒๕๕๗) เช่น หัวเจ๋อ = หัวใจ เฮอ = ให้ ผู้เญ่อ = ผู้ใหญ่ ลูกเพ่อหรือลุเพ่อ = ลูกสะใภ้ เส้อ = ใส่ เบ๋อ = ใบไม้ เม่อ = ใหม่ เสอ = ใส เตอ = ใต้ เกอ = ใกล้ เญ่อ = ใหญ่ เน้อ = ใน ลักษณะที่โดดเด่นอีกประการหนึ่งก็คือ ค�ำแสดงค�ำถาม เช่น เตอ/เบอะเตอ = อะไร นั่นเตอ / นั่นเบอะเตอ = นั่นอะไร เจ้า เฮ็ดเตอ / เจ้า เฮ้อ เบอเต๋อ = คุณท�ำอะไร เฮ็ดเตอ = ท�ำไม ถาม ข้อย เฮ็ด เตอ = ถามฉันท�ำไม เลอ เล่อ / จั้งเลอ = อย่างไร เช่น เขา เว่อ เลอ เล่อ = เขาพูดอย่างไร แม่ ซิ เฮ็ด เลอ เล่อ = แม่จะท�ำอย่างไร เจา ซิ เว่า จั้งเลอ = คุณจะพูดอย่างไร มื่อเลอ = เมื่อใด/เมื่อไร เช่น เจา คึ้น เฮือน มื่อเลอ = คุณขึ้นบ้านใหม่เมื่อใด กะเลอ = ที่ไหน / ไหน เจา ซิ ไป กะเลอ =คุณจะไปไหน ค�ำศัพท์ที่ใช้ในประโยคค�ำถามเกี่ยวกับบุคคล ใช้ค�ำว่า เพอ = ใคร เพอเลอ = ใคร สามารถใช้ทั้งขึ้นต้น และลงท้ายประโยค เช่น เพอ มา ห่า ข้อย = ใครมาหาฉัน เพอเลอ เอิ้น ข้อย = ใครเรียกฉัน นั่นคือเพอ = นั่นคือใคร เฮือนของเพอเลอ = บ้านของใคร พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 245


แม้ว่าจะมีการใช้ภาษาญ้อในชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น แต่ผู้ที่พูดภาษาญ้อเริ่มมีจ�ำนวน ลดน้อยลงไปเรื่อยๆ หากไม่มีแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสืบทอด จึงจัดได้ว่า ภาษาญ้อเป็นภาษาหนึ่งที่อยู่ใน ภาวะวิกฤต การฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์ภาษาจึงเป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็น จึงมีหน่วยงานหลายฝ่ายทีร่ ว่ มกันฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์ทงั้ ทีเ่ ป็น งานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และกิจกรรมเสริมสร้างให้เกิดความส�ำนึกในการอนุรักษ์ภาษา ดังที่กลุ่มชาติพันธุ์ญ้อ ท่าขอนยาง อ�ำเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม จัดให้มโี ครงการหลายประเภท เพือ่ การฟืน้ ฟูและการอนุรกั ษ์ภาษา ญ้อ เช่น โครงการวิจัยเรื่อง การฟื้นฟูและการอนุรักษ์ภาษา ต�ำนาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และการละเล่นพื้นบ้านญ้อ บ้านท่าขอนยาง ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม นอกจากนี้ยังมีการจัดศาลาวัฒนธรรมญ้อ สร้างขึ้นเป็นศูนย์รวมวัฒนธรรมญ้อ ชุมนุมวัฒนธรรมญ้อก่อตัวขึ้นมาในโรงเรียน ประเพณีไหลเรือไฟได้รับการฟื้นฟู การละเล่นญ้อปรากฏอยู่ในลานวัด จัดท�ำป้ายแหล่งวัฒนธรรมญ้อ และร่วมสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมญ้อ ท่าขอนยาง ปฏิบัติการทางสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ญ้อเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมและภาษาของตนเอง ท่ามกลางการสูญหายไปของภาษาและวัฒนธรรม จึงควรยกระดับภาษาญ้อขึน้ เป็นมรดกทางสังคม เพือ่ จะได้สนับสนุน และเสริมแรงใจให้กลุ่มชาติพันธุ์ญ้อได้ร่วมสร้างส�ำนึก อนุรักษ์ และฟื้นฟูวัฒนธรรมของตนเองสืบไป เอกสารอ้างอิง

ปฏิบัติการฟื้นฟูภาษาญ้อท่าขอนยาง

การถ่ายทอดภาษาญ้อ จังหวัดสกลนคร พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

จ�ำรูญ พัฒนศร. (๒๕๒๑). ประวัติเมืองอรัญ (ตอนที่ ๑). ปราจีนบุรี : โรงพิมพ์ประเสริฐศิริ. บัญญัติ สาลี และคณะ.(๒๕๕๑). การฟื้นฟูภาษา ต�ำนาน การละเล่น และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นญ้อท่า ขอนยาง. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). บัญญัติ สาลี. (๒๕๕๔). ฮากเหง้าเผ่าพันธุ์ ญ้อ บ้านท่าขอนยาง : มุมมองด้านภาษา ต�ำนานประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นและการละเล่นพื้นบ้านญ้อ ผ่านงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: วนิดาการพิมพ์. ทีมวิจัยไทญ้อ. (๒๕๕๑). รากเหง้าเผ่าพันธุ์ญ้อท่าขอนยาง. มหาสารคาม : งานบริการวิชาการ โครงการ รูปแบบการพัฒนาชุมชนรอบมหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ธนานันท์ ตรงดี และคณะ. (๒๕๕๐). การฟื้นฟูและการอนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมญ้อท่าขอนยาง. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาสารคาม : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ธนานันท์ ตรงดี. (๒๕๕๗). เสน่ห์ภาษาญ้อ. เอกสารอัดส�ำเนา มหาสารคาม : คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. นันตพร นิลจินดา. (๒๕๓๒). การศึกษาเรือ่ งศัพท์ภาษาญ้อในจังหวัดสกลนคร นครพนม และปราจีนบุร.ี วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : ,มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปิ่นกนก ค�ำเรืองศรี. (๒๕๔๕). การแบ่งกลุ่มภาษาญ้อโดยใช้ระบบเสียงวรรณยุกต์เป็นเกณฑ์. การค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พรวลี เข้มแข็ง. (๒๕๔๕). การศึกษาเสียงวรรณยุกต์ภาษาญ้อในผู้พูดที่มีอายุต่างกัน บ้านท่าขอนยาง อ�ำเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม. การศึกษาค้นคว้าอิสระ (กศ.ม. ภาษาไทย )” พระสุ ขุ ม มั ช ชิ ก านั ง . (๒๕๔๒). ลั ก ษณะค� ำ และการเรี ย งค� ำ ในภาษาญ้ อ หมู ่ บ ้ า นท่ า ขอนยาง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร. ศรี พิ น สิ ริ วิ ศิ ษ ฐ์ กุ ล . (๒๕๒๙). ลั ก ษณะภาษาย้ อ (ญ้ อ )ที่ ต� ำ บลคลองน�้ ำ ใส อ� ำ เภออรั ญ ประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

246 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษาแสก

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยซึง่ เป็นภูมภิ าคทีม่ คี วามหลากหลายทางด้านชาติพนั ธุ์ ภาษา และวัฒนธรรม ภาษาแสกเป็นภาษาหนึ่งในภาษาตระกูลไทกลุ่มเหนือ (Northern Tai Group) ตามการแบ่งของ นักภาษาศาสตร์คือ ฟังกวยลี (Fang Kuei Li 1959) ปกติภาษาตระกูลไทกลุ่มเหนือจะมีพูดในประเทศจีนทั้งหมดแต่ ภาษาแสกเป็นภาษาไทกลุ่มเหนือเพียงภาษาเดียวที่มีผู้พูดอาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและประเทศไทยซึง่ เป็นพืน้ ทีข่ องผูพ้ ดู ภาษาตระกูลไทกลุม่ ตะวันตกเฉียงใต้ (Southwestern Tai Group) ชาวแสกในประเทศไทยเล่าต่อ ๆ กันมาว่าถิ่นฐานเดิมของชาวแสกอยู่ในประเทศเวียดนาม ต่อมาได้ฆ่า ช้างเผือกของกษัตริยเ์ วียดนามเพือ่ น�ำมาเป็นอาหาร เมือ่ กษัตริยเ์ วียดนามทราบเรือ่ ง พระองค์โปรดฯ ให้ ชาวแสกชดใช้ เงินจ�ำนวนมากเกินกว่าที่ชาวแสกจะหามาได้ แต่ได้มีข้าราชการชาวเวียดนามคนหนึ่งที่ชาวแสกเรียกว่า “องค์มู่” ให้ชาวแสกยืมเงินเพื่อน�ำไปชดใช้แก่กษัตริย์เวียดนาม ชาวแสกจึงเคารพนับถือและส�ำนึกในบุญคุณขององค์มู่มาก หลังจากเหตุการณ์นนั้ ชาวแสกก็อพยพเข้ามาอยูใ่ นประเทศไทยทีบ่ า้ นอาจสามารถ และยังคงระลึกถึงบุญคุณขององค์มู่ อยู่เสมอ โดยชาวแสกเชื่อว่าเมื่อองค์มู่สิ้นชีวิตลงวิญญาณขององค์มู่ก็ตามมาปกปักรักษาชาวแสกที่บ้านอาจสามารถ ชาวแสกที่บ้านอาจสามารถจึงสร้างศาลขึ้นที่ริมแม่น�้ำโขงและท�ำพิธีบวงสรวงวิญญาณขององค์มู่เป็นประจ�ำทุกปี ผู้เฒ่าผู้แก่ชาวแสกเล่าว่าเดิมชาวแสกมีวัฒนธรรมประเพณีหลายอย่างที่แตกต่างไปจากชาวไทยอีสานและชาวไทย ที่อื่นๆ แต่ปัจจุบันชาวแสกมีวัฒนธรรมและประเพณีที่คล้ายคลึงกับคนไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาก ประเพณี ที่ถือได้ว่าเป็นลักษณะเฉพาะของชาวแสกคือ ประเพณีสังเวยผีหรือเหลี่ยงเดน จัดในวันขึ้น ๒ ค�่ำ เดือน ๓ ของทุกปี ชาวแสกที่บ้านอาจสามารถจะเตรียมอาหารไปสังเวยผีที่เดนหรือศาลเจ้าประจ�ำหมู่บ้าน เสร็จแล้วจะน�ำอาหาร เหล่านั้นมาปรุงรสชาติใหม่แล้วมารับประทานร่วมกัน หลังจากนั้นจะมีการเต้นร�ำถวายเรียกว่า “การเต้นสาก” โดย ในการเต้นจะมีผู้หญิง ๑๐ คู่ นั่งหันหน้าเรียงกันเป็นแถวถือไม้พลองตีเป็นจังหวะ ส่วนผู้เต้นจับคู่กันเต้นไปตามจังหวะ ในระหว่างช่องไม้พลอง ตามปกติการเต้นสากจะเต้นกันปีละครั้งในวันสังเวยผีเท่านั้น ปัจจุบันในประเทศไทยมีจ�ำนวนผู้พูดภาษาแสก ประมาณ ๓,๐๐๐ กว่าคนใน ๔ หมู่บ้านของจังหวัดนครพนม โดยมีบ้านบะหว้า ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอนาหว้า เป็นหมู่บ้านหลัก ที่ยังคงใช้ภาษาแสกในชีวิตประจ�ำวัน ภาษาแสกจึงถูกจัดให้เป็น ภาษาที่อยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญหาย แสกเต้นสาก ถ่ายเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๔

เรียบเรียงโดย ดุจฉัตร จิตบรรจง และรองศาสตราจารย์สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 247


ที่มา: ศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต มหาวิทยาลัยมหิดล

จากงานวิจยั ด้านภาษาศาสตร์พบว่า ภาษาแสกทีบ่ า้ นบะหว้า ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม มีพยัญชนะต้นเดี่ยว ๒๑ หน่วยเสียง พยัญชนะต้นควบกล�้ำ ๗ หน่วยเสียง ลักษณะเด่นคือเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว ที่มีลักษณะเป็นเสียงก้อง/ฅ/ เช่นค�ำว่า ฅอ = คอ ฅ�่ำ = ค�่ำ พยัญชนะควบกล�้ำ /ถร/ /บล/ และ /มล/ เช่นค�ำว่า ^ = หัว เถรี่ยว = รีบ เบรี๋ยน = เดือน (พระจันทร์) บรี๋ = ดี (อวัยวะ) มราด = จืด แมร็ก = เมล็ด มีเสียงพยัญชนะ เถรา ท้าย ๙ หน่วยเสียง หน่วยเสียงสระเดี่ยว ๑๘ หน่วยเสียง หน่วยเสียงสระประสม ๓ หน่วยเสียง หน่วยเสียงวรรณยุกต์ มี ๖ หน่วยเสียง และมีการแตกตัวเป็น ๓ ทาง ด้านการใช้ศัพท์ มีศัพท์เฉพาะ เช่น หอก = ผัว พ๊า = เมีย บึ๊ก = ใหญ่ ^ บึ๋น = ท้องฟ้า ทั๊วจะปรุ๊ก = ปลวก ทั๊วโหร่ย = ผึ้ง มากถ้าด = พริก มากหลุ้ง = กล้วย เตริฅง = ไข่ เตียก = เสียดาย นอกจากนั้นยังมีค�ำศัพท์ที่ใช้ร่วมกับภาษาเวียดนาม เช่น เหล้ย = เหงือก หง่อน = อร่อย แหน๋ง = ฟัน มากหวึ๋ง = งา (ระบบการเขียนภาษาแสกด้วยตัวอักษรไทยใช้ตามที่ปรากฏในงานวิจัยของปรีชา ชัยปัญหา และคณะ, ๒๕๕๖) แม้ว่าจะมีการใช้ภาษาแสกในชุมชน แต่ผู้ที่พูดภาษาแสกได้มีจ�ำนวนน้อยและมีแนวโน้มที่จะสูญหาย ไปจากสังคมไทย หากไม่มีแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสืบทอด ด้วยเหตุนี้จึงมีความพยายามของเจ้าของภาษา และนักวิชาการที่ตระหนักในคุณค่าของภาษาแสก จึงได้ศึกษาและรวบรวมภาษาแสกไว้เพื่อเป็นมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมของชาติต่อไป เอกสารอ้างอิง

ปรีชา ชัยปัญหา และคณะ. (๒๕๕๖). รายงานการวิจยั เรือ่ ง “แนวทางการจัดท�ำพจนานุกรมภาษาแสกฉบับชาวบ้านเพือ่ การอนุรกั ษ์ และฟืน้ ฟูภาษาและภูมปิ ญ ั ญาแสกบ้านบะหว้า ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม.” กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. ศรินยา จิตบรรจง. (๒๕๔๕). “การวิเคราะห์การแปรการใช้ศัพท์ของคนสามระดับอายุในภาษาแสก อ�ำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

248 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษาอึมปี้ อึมปี้ (Mpi) เป็นชื่อของภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่ง อาศัยอยู่ที่บ้านดง จังหวัดแพร่ คนไทย ถิ่นเหนือเรียกคนกลุ่มนี้ว่า “ก่อ” “ก้อเมืองแพร่” “ก้อบ้านดง” นอกจากนี้แล้วยังมีคนเขียนหรือเรียกคนกลุ่มนี้ว่า มฺปี มปี มปี้ ท�ำให้อ่านออกเสียงว่า มะปี หรือ มะปี้ เพื่อให้มีการเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์นี้อย่างถูกต้อง ชุมชนเจ้าของ ภาษาจึงได้หารือและตกลงร่วมกันทีจ่ ะเรียกและเขียนชือ่ ภาษาและกลุม่ ชาติพนั ธุข์ องตนว่า “อึมปี”้ โดยออกเสียงพยางค์ หน้าเพียงครึ่งเดียว ริมฝีปากปิดสนิท และมีการลงเสียงหนักพยางค์ท้าย จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ นับย้อนหลังไปสู่อดีตหลายร้อยปีล่วงมาแล้ว เกิดความขัดแย้งและ สู้รบกันระหว่างชนกลุ่มน้อยเผ่าต่างๆ ในแคว้นสิบสองปันนา ส่งผลให้มกี ารอพยพของชนเผ่าต่างๆ กระจัดกระจายกัน ออกไป ส่วนใหญ่อพยพลงทางตอนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีน ส่วนคนอึมปี้บางส่วนอพยพลงสู่เมืองพรหมในประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๒๒๕ เจ้าเมืองแพร่องค์หนึ่งที่รู้จักกันในนาม “เจ้าหลวงขาแค” (เจ้าหลวงขาเป๋) ได้ยกทัพไปท�ำสงครามที่เมืองพรหมและได้รับชัยชนะ จึงกวาดต้อนผู้คนกลับมายัง เมืองแพร่ รวมถึงชาวอึมปีด้ ว้ ย ระหว่างทางทีเ่ ดินทัพกลับ มีการสัง่ ให้ผถู้ กู กวาดต้อนส่วนหนึง่ พักอาศัยอยูท่ บี่ า้ นสะเกิน หรือเสือกืน๋ ใกล้กบั ดอยภูลงั กาในเขตต�ำบลยอด อ�ำเภอปง จังหวัดเชียงราย (ปัจจุบนั อยูเ่ ขตต�ำบลยอด อ�ำเภอสองแคว จังหวัดน่าน) และได้น�ำคนอึมปี้ ๖ คู่กลับมาอยู่เมืองแพร่ โดยให้ท�ำหน้าที่เลี้ยงม้า เลี้ยงช้าง คนอึมปี้จึงได้ตั้งถิ่นฐาน ที่บ้านดงมาจนถึงทุกวันนี้ ภาษาอึมปีเ้ ป็นภาษาทีจ่ ดั อยูใ่ นตระกูลจีน-ทิเบต สาขาโลโล และเป็นภาษาทีอ่ ยูใ่ นภาวะวิกฤตภาษาหนึง่ เนื่องจากเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก จ�ำนวนประชากรทั้งหมดประมาณ ๑,๐๐๐ คน เยาวชนนิยมพูดค�ำเมืองและ ภาษาไทยมากกว่าภาษาแม่ ดังนั้น นักวิชาการซึ่งมองเห็นสถานการณ์นี้ เกรงว่าจะเกิดวิกฤตหนักจึงได้หารือกับแกน น�ำของชุมชน เพือ่ สร้างความตระหนักเรือ่ งวิกฤตทางภาษาและวัฒนธรรมของชาวอึมปี้ และได้มกี ารปฏิบตั กิ ารร่วมกัน เพื่อชะลอการตายของภาษาและวัฒนธรรมซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงอัตลักษณ์ของชาวอึมปี้ โดยเริ่มจากการพัฒนาระบบ เพื่อบันทึกเรื่องราวต่างๆ ศึกษาและรวบรวมความรู้ท้องถิ่น และพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับคนภายในและ ภายนอกชุมชน ซ้าย ชาวอึมปี้ กลาง พิธีไหว้เทวดา (อะลาเว้อ) ขวา พิธีถวายข้าวล้นบาตร

ที่มา ศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมในภาวะวิกฤต มหาวิทยาลัยมหิดล

เรียบเรียงโดย มยุรี ถาวรพัฒน์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 249


พยัญชนะต้นเดี่ยวภาษาอึมปี้ มี ๑๙ หน่วยเสียง พยัญชนะควบกล�้ำได้แก่ ปย มย ฮย พย ตย กย คย นย ตว พยัญชนะสะกดมีน้อยมากซึ่งเป็นลักษณะเด่นของภาษาตระกูลทิเบต-พม่า สระมีทั้งสระธรรมดา (ordinary vowel) เช่น โง่ = ฉัน โย = ช้าง เป้ = ให้ กี่ = เคียว สระเสียงต�่ำลึก (creaky vowel) เช่น ว่าอ์ = หมู ปู่อ์ = ขวด สระเสียงขึ้นจมูก (nasalized vowel) แจง์ = จาน อะเมง์ = แมว แฮง์ = ห่าน และเสียงขึ้นจมูกพร้อมกับเสียงต�่ำลึก แนงอ์ = ควาย แป๎งอ์ = บาตร(พระ) ส่วนความสั้นยาวของสระไม่ท�ำให้ความหมายแตกต่างกัน วรรณยุกต์ มี ๖ หน่วย เสียง ได้แก่ เสียงกลางระดับ เช่น ซี = สี เสียงกลาง-ขึ้น-ตก เช่น ซี้ = ฟั่น (เชือก) เสียงต�่ำ เช่น ซี่ = เลือด เสียงต�่ำ-ขึ้น เช่น ซี๋ = บูด เสียงสูง เช่น ซี๊ = สี่ เสียงสูง-ขึ้น-ตก เช่น ซี = ตาย การเรียงค�ำในประโยคมีลักษณะแบบ ประธาน-กรรม-กริยา (SOV) เช่น โง่ ฮ่อ โจ๋ <ฉัน-ข้าว-กิน>= ฉันกินข้าว โง่ อึมพ๎า กุ๋ง <ฉัน-เห็ด-ขาย> โง่ คื่อ ย๊า ตือ <ฉัน-หมา-หน่วยแสดงกรรม-ตี> = ฉันตีสุนัข คื่อ โง่ ย๊า ที <สุนัข-ฉัน-หน่วยแสดงกรรม-กัด> = สุนัขกัดฉัน นอ ฮ่อ โจ๋ โล่ <คุณ-ข้าว-กิน-หรือยัง> = คุณกินข้าวหรือยัง ประโยค ปฏิเสธจะปรากฏค�ำว่า ม่า = ไม่ น�ำหน้าค�ำกริยา เช่น อะโม อีล๊อ ม่า เมยาะ <แม่-งู-ไม่-เห็น> = แม่ไม่เห็นงู ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่คนอึมปี้ช่วยกันรวบรวม ได้แก่ ๑) ประวัติศาสตร์หรือความเป็นมาของ ชุมชน ๒) อะลาเว้อ (พิธีไหว้เทวดา) ซึ่งชาวอึมปี้จะประกอบพิธีไหว้เทวดาหรือที่เรียกว่า “ออลอ” ๔ ครั้งด้วยกัน คือ วันแรม ๔ ค�่ำเดือน ๔ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา และวันที่ ๑๖ เมษายน โดยเชื่อว่าออลอหรือเทวดาเป็นผู้ที่คอย ปกปักรักษาหมู่บ้านและสมาชิก ๓) ปูจาเค (ประเพณีสะเดาะเคราะห์) ชาวอึมปี้จะน�ำเสื้อผ้าของคนที่อยู่ในบ้านคนละ หนึ่งชิ้นมาพับใส่ในภาชนะพร้อมด้วยข้าวปั้น ธูป และดอกไม้ แล้วน�ำไปที่วัดเพื่อเป็นสิริมงคล และสะเดาะเคราะห์ ลบล้างสิ่งชั่วร้ายของคนในบ้านให้พบแต่ความสุขความเจริญ ๔) คะลง ป๊าเค (ประเพณีข้าวล้นบาตร) เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๔ (มกราคม) หรือขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๒ (ตามปฏิทิน) หรือทางเหนือเรียกว่า ประเพณีวัน ๔ เป็ง ชาวอึมปี้จะประกอบประเพณีทานข้าวใหม่เพื่อขอพรให้การท�ำนาครั้งต่อไปได้ข้าวเพิ่มพูนทวีงอกงาม และอุทิศ ส่วนบุญกุศลให้แก่บุพการีที่ล่วงลับไปแล้ว โดยการน�ำข้าวสาร ข้าวเปลือก ข้าวสุก พร้อมทั้งอาหารคาว หวาน ไปถวายแต่พระสงฆ์ที่วัด ส่วนอาชีพของชาวอึมปี้ก็คือ การท�ำการเกษตร ท�ำไม้กวาด และรับจ้างทั่วไป เอกสารอ้างอิง

ธีรภพ เขื่อนสี่ และคณะ. (๒๕๕๒). รายงานวิจัย “โครงการสร้างระบบตัวเขียน: สืบชะตาภาษาอึมปี้ บ้านดง ต�ำบลสวนเขื่อน อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่”. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) Srinuan Duanghom. (1976). An Mpi dictionary: Working papers in phonetics and phonology. Edited by Woranoot Pantupong. Indigenous Languages of Thailand Research Project. Central Institute of English Language. Volume1. No. 1. Bangkok พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

250 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษาบีซู บีซู (Bisu) หรือบี่สู่ มบีซู มีซู มีบีซู เลาเมียน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่า ค�ำว่า “บีซู” เป็นชื่อที่ชาวบ้านเรียกตนเองและเรียกภาษาของเขา และในทางราชการหรือคนทั่วไปเรียกชนกลุ่มนี้ว่า “ลัวะ” คนบีซูตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านดอยชมภู อ�ำเภอแม่ลาว บ้านปุยค�ำ อ�ำเภอเมือง และบ้านผาแดง อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย มีจ�ำนวนประชากรประมาณ ๕๐๐ คน ภาษานี้จัดอยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า สาขาโลโล ตามหลักฐานพงศาวดารจีน ค.ศ. ๑๘๐๑ (พ.ศ. ๒๓๔๔) บีซูน่าจะมาจากสิบสองปันนา ประเทศจีน ตอนใต้ โดยมีผู้น�ำของชนเผ่าละหู่ ๒ คน ชื่อว่า ลี เวนมิง (Li Wenming) และ ลี เซียวลาว (Li Xiaolao) ร่วมมือกับ ชาวบีซูต่อต้านผู้ว่าราชการและจักรพรรดิจีนที่มีชื่อว่า เจียคิง (Jia Qing) ซึ่งเป็นผู้ที่มีความโหดร้ายมาก แต่ทั้งชนเผ่า ละหู่และบีซูก่อการปฏิวัติไม่ส�ำเร็จ จึงหนีเข้ามาในประเทศไทย ภาษาบีซูจัดอยู่ในตระกูลจีน-ทิเบต (Sino-Tibetan) ตระกูลย่อย ทิเบต-พม่า สาขาโลโล ภาษาบีซู ที่บ้านดอยชมภู ต�ำบลโป่งแพร่ อ�ำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย มีพยัญชนะต้น ๒๙ หน่วยเสียง มี ๔ หน่วยเสียง ที่คน รุ่นใหม่ไม่ออกเสียง ได้แก่ ฮน ฮม ฮย และ ฮล สระมี ๑๐ หน่วยเสียง ความสั้นยาวของเสียงสระไม่มีนัยส�ำคัญทาง ความหมายซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของภาษาตระกูลทิเบต-พม่า กล่าวคือ จะออกเสียงสระเสียงสั้นหรือยาวก็ได้ ไม่ได้ท�ำให้ ความหมายเปลี่ยนไป เช่น ยะ-ยา “ไร่” ซึ่งต่างจากภาษาไทยที่การออกเสียงสระสั้นหรือยาวท�ำให้ความหมาย เปลี่ยนแปลง วรรณยุกต์มี ๓ หน่วยเสียง ได้แก่ เสียงระดับกลาง เช่น ยา = ไร่ ระดับต�่ำตก เช่น ย่า = คัน และระดับ สูงขึ้น เช่น ย้า = ไก่ การเรียงค�ำในประโยคมีลักษณะแบบ ประธาน-กรรม-กริยา (SOV) เช่น กงา ฮ่าง จร่า <ฉัน-ข้าวกิน> = ฉันกินข้าว กงา นางนา ค่าลาว วือ ปี่ ล่าแอ่ <ฉัน-คุณ-เสื้อ-ซื้อ-ให้> = ฉันซื้อเสื้อให้คุณ นาง อางเมง บา เจอ<คุณ-ชื่อ-อะไร> = คุณชื่ออะไร ยูม เกิ้ง เวอ <บ้าน-ที่ไหน-อยู่>= บ้านอยู่ที่ไหน

ที่มา: ศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมในภาวะวิกฤต มหาวิทยาลัยมหิดล

เรียบเรียงโดย มยุรี ถาวรพัฒน์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 251


ปัจจุบันสถานการณ์ภาษาบีซูอยู่ในภาวะถดถอย เด็กบีซูไม่สามารถสื่อสารด้วยภาษาบีซูกับพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย สาเหตุของการใช้ภาษาบีซนู อ้ ยลงนัน้ เนือ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงวิธกี ารเลีย้ งดูเด็กบีซใู นช่วงเด็กเล็ก ทีแ่ ต่เดิม เมื่อเด็กบีซูเกิดมา ผู้ที่ท�ำหน้าที่อบรมเลี้ยงดู คือ พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ภาษาที่เด็กบีซูได้รู้จักและพูดได้เป็นภาษาแรก คือ ภาษาบีซู แต่ปัจจุบันจากวิถีชีวิตของชาวบีซูที่ต้องดิ้นรนในเรื่องการประกอบอาชีพ มีการท�ำงานรับจ้างต่างหมู่บ้าน ภาษาที่เด็กบีซูได้เรียนรู้เป็นภาษาแรกจึงกลายเป็นภาษาค�ำเมืองตามภาษาที่ผู้ดูแลใช้ ส�ำหรับกลุ่มวัยกลางคนและ ผู้สูงอายุ มีแนวโน้มจะใช้ภาษาค�ำเมืองมากขึ้น แต่ก็ยังมีความสามารถในการใช้ภาษาบีซูได้อย่างดี การอนุรักษ์และฟื้นฟูภาษาบีซูเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ มีการพัฒนาระบบตัวเขียนภาษาบีซู โดยใช้อักษรไทย การสร้างสื่อการเรียนการสอนประเภทต่างๆ เช่น หนังสือเล่มเล็ก หนังสือเล่มยักษ์ แบบเรียนภาษา บีซู เพลง แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนนี้เป็นเพียงการเรียนการสอนตามอัธยาศัย และสอนในระดับเด็กก่อนวัยเรียน แต่ยังไม่ได้น�ำเข้าสู่การเรียนการสอนในระบบโรงเรียน ทั้งนี้โดยการสนับสนุนของ เอส ไอ แอล อินเตอร์เนชัน่ แนล ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และศูนย์ศกึ ษาและฟืน้ ฟูภาษา-วัฒนธรรม ในภาวะวิกฤต มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากจะมีการอนุรักษ์และฟื้นฟูภาษาแล้ว ยังมีการฟื้นฟูเรื่องวัฒนธรรมการแต่งกาย โดยการสืบค้น จากลักษณะแต่งกายของคนบีซูที่อยู่ในสิบสองปันนา และตัดเย็บโดยใช้วัสดุท่ีหาได้ภายในประเทศไทย ทุกวันนี้ ชาวบีซูมีการแต่งกายที่สามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ของตนได้อีกอย่างหนึ่ง คนบีซูส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา แต่ยังมีความเชื่อเรื่องเหนือธรรมชาติ เช่น พิธีไหว้ผีประจ�ำหมู่บ้าน (อางจางไว) ทางภาคเหนือเรียกว่า “ผีเสื้อบ้าน” หมายถึง วิญญาณที่ดูแลรักษาคนในหมู่บ้าน ชาวบีซูจะมีการ ตั้งศาลส�ำหรับเทวาอารักษ์ประจ�ำหมู่บ้าน ซึ่งจะอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน ในการประกอบพิธีนี้ ตอนเช้ า ชาวบ้ า นจะน� ำ ดอกไม้ ธู ป เที ย น และ สิ่งของ อื่นๆ ที่จ�ำเป็นในการประกอบพิธีมารวมกัน ที่บ้านของอาจารย์ผู้ประกอบพิธีของหมู่บ้าน พิธี อางจางไวหรือพิธีบูชาหอผีประจ�ำหมู่บ้านนี้จะจัดขึ้น จ�ำนวน ๓ ครัง้ ต่อปีพธิ จี ะเริม่ ครัง้ แรกเดือน ๔ ทางภาค เหนือ (ตรงกับเดือนกุมภาพันธ์) เดือน ๘ (มิถุนายน) และเดือน ๑๒ (ตุลาคม) ตามล�ำดับ โดยจะมีการน�ำ สิ่งของที่เกี่ยวกับการเซ่นไหว้มารวมกัน เช่น ดอกไม้ ธูป เทียน ไก่ และเหล้า

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

252 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ชาวบีซูรับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก ส่วนกับข้าวนั้นเป็นพืชผักที่สามารถปลูกได้เอง บางทีก็ซื้อจาก ร้านค้าเพื่อน�ำมาปรุงอาหาร ส่วนอาหารประเภทโปรตีนนั้นได้จากสัตว์ที่เลี้ยงไว้ เช่น สุกร โค กระบือ ส่วนที่หาได้จาก ล�ำห้วย ได้แก่ กุ้ง หอย ปู ปลา นอกจากนี้ก็มีอาหารที่ได้จากป่าที่อยู่บริเวณรอบหมู่บ้าน อาหารยอดนิยมของชนเผ่าบี ซูมีลาบพริก (ล่าพี่ ซร่า ทอ) ชาวบีซูมีนิทานพื้นบ้านที่เล่าสืบต่อกันมา เช่น คื่ออางบา (แม่หมา) อู่โฮ่งตาค่าม (เต่าทอง) อางตู่ตู่คยาม (หัวกะโหลก) เซนเทอ (เหา) อู่บาพู่ลู่ (ผลบุก) อางบลอง แมปอ (สามีตาบอด) และพบว่ายังมีการร้องเพลงกล่อมลูก ภาษาบีซูที่บ้านปุยค�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ตัวอย่างเนื้อเพลงรักษ์บีซู กงูบ่า บี่ซู่ นี้ง เน จี่ต่างก่ามแพ นา อ่าลูม คูโจ. ชาวเรา บีซู นี้ ภาษาพูด อย่าลืม นะ เกิ้ง ดืง จี่ กาโว เกิ้ง ดืง จี่ กาโว. ที่ใหน อยู่ พูด ด้วย ที่ไหน อยู่ พูด ด้วย กงู เน บี่ซู่ อางลีบ อางลีบ. เรา บีซู วัฒนธรรม วัฒนธรรม “ชาวบีซูเราอย่าลืมภาษาพูดนะ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ให้พูดกัน วัฒนธรรมของชาวบีซู” เอกสารอ้างอิง

ประวัติเครือข่ายบีซู. ๒๕๔๗. เอกสารอัดส�ำเนา นายพิบูลชัย สวัสดิ์สกุลไพร และคณะ. ๒๕๕๓. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย “ศึกษาแนวทางการสร้างศูนย์เด็กเล็กเพื่อฟื้นฟู ภาษาทีเ่ หมาะสมกับชาวบีซู บ้านดอยชมภู ต.โป่งแพร่ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย” ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (ฝ่ายวิจยั เพื่อท้องถิ่น) Nuamkaew, Vacharee. 1987. The phonology of the Bisu language as spoken in Chiangrai Province. Bangkok: Mahidol University thesis. Kirk, Person. (2001). “Writing Bisu: A Community-Based Approach to Orthography Development” [Papers from the Ninth Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society. Ed. Graham Thurgood] Tempe: Arizona State University Press, pp. 171-200. พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 253


ภาษากะซอง ผู้พูดภาษากะซอง

ค�ำว่า กะซอง เป็นชื่อที่ผู้พูดเรียกภาษาของตัวเองและเรียกกลุ่มชาติพันธุ์ของพวกเขา สันนิษฐานว่า มีความหมายว่า “คน” ภาษากะซองเป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มย่อยเดียวกันกับ ภาษาชองที่จังหวัดจันทบุรีและภาษาซัมเรที่จังหวัดตราด ผู้พูดกะซองมีถิ่นฐานอยู่ที่อ�ำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด เขตชายแดนติดต่อกับกัมพูชา ภาษานี้เดิมเป็นที่รู้จักของคนภายนอกว่า “ชองจังหวัดตราด (Chong of Trat)” ด้วยมีความคล้ายคลึงของชื่อและความใกล้เคียงของภาษา ท�ำให้เข้าใจว่าเป็นภาษาเดียวกัน ชาวกะซองเองบางคน ก็เรียกตัวเองว่า คนชอง พูดชอง ด้วยเหมือนกัน ภาษากะซองมีพยัญชนะต้น ๒๑ หน่วยเสียง สระเดี่ยว ๑๗ หน่วยเสียง สระประสมหน่วยเสียงเดียว คือ <อัว> และพยัญชนะท้าย ๑๒ หน่วยเสียง โดยเฉพาะเสียงตัวสะกด <จ> <ญ> <ล> และ <ฮ> แสดงลักษณะของ ภาษากลุ่มมอญ-เขมร ภาษากะซองในปัจจุบันจัดว่ามีลักษณะน�ำ้ เสียงแบบผสมผสาน นั่นคือใช้ลักษณะน�้ำเสียงและ ระดับเสียงด้วยกันในการแยกความต่างของค�ำ นี้แตกต่างจากระบบเสียงภาษาชองและซัมเร ลักษณะน�้ำเสียงแบบ ผสมผสานในภาษากะซองมี ๔ ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะน�้ำเสียงปกติระดับเสียงกลาง (เช่น ปาง = ดอกไม้) ลักษณะ น�้ำเสียงปกติระดับเสียงกึ่งสูง-สูง-ตก (เช่น ช้อ = หมา) ลักษณะน�้ำเสียงพ่นลมระดับเสียงกลาง-กึ่งสูง-ตก (เช่น จฺอ = เปรี้ยว) และลักษณะน�้ำเสียงพ่นลมระดับเสียงกึ่งต�่ำ (เช่น ป่าง = พรุ่งนี้) ทั้งนี้ภาษากะซองก�ำลังอยู่ในช่วง เปลี่ยนแปลงไปสู่ภาษามีวรรณยุกต์จากอิทธิพลภาษาไทย ด้านการใช้ศัพท์ มีศัพท์เฉพาะ เช่น ระแนง = ปาก, ครัน = น่อง, คัด = กัด, ตัก = ใหญ่, มาล = ไร่ เป็นต้น การเพิ่มหน่วยค�ำเติมซึ่งเป็นลักษณะส�ำคัญของภาษากลุ่ม มอญ-เขมรยังพบในค�ำภาษากะซอง ตัวอย่างคู่ค�ำที่เพิ่มหน่วยเติมหน้า เช่น คึน = ตัวเมีย กับ ส�ำคึน = ผู้หญิง, ฮ้อบ = กิน(ข้าว) กับ นะฮ้อบ = ของกิน(อาหาร) เป็นต้น ทว่าลักษณะการสร้างค�ำเช่นนี้ก�ำลังจะสูญหายไปพร้อมกับ การเลิกใช้ค�ำ การเรียงค�ำในประโยคมีลักษณะแบบ ประธาน-กริยา-กรรม (SVO) เช่น ฮ้อบ กลง ฮือ นาน <กิน-ข้าว-หรือ-ยัง> = กินข้าวหรือยัง อัยปี่ ท่อ จาม แปจ <ใคร-ท�ำ-ชาม-แตก> = ใครท�ำชามแตก อาวัน ทู่ นัฮ <วันนี้-ร้อน-มาก> = วันนี้ร้อนมาก เป็นต้น เรียบเรียงโดย ศาสตราจารย์สุวิไล เปรมศรีรัตน์, สุนี ค�ำนวลศิลป์ และณัฐมน โรจนกุล พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

254 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ชาวกะซองส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่หมู่บ้านคลองแสง บ้านด่านชุมพล และจ�ำนวนเล็กน้อยอยู่ที่บ้านปะเดา ในต�ำบลด่านชุมพล อ�ำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด พวกเขาอยู่กระจัดกระจายกันและปะปนกับคนไทยและคนกลุ่มอื่นๆ เช่น ลาวอีสาน จีน เขมร ที่เข้ามาตั้งรกรากทีหลัง บริเวณถิ่นที่อยู่เป็นที่ราบเชิงเขาและเนินเตี้ยๆ อาชีพที่ท�ำคือ เกษตรกรรม อาทิ ปลูกยางพารา ท�ำไร่สับปะรด และสวนผลไม้ ท�ำนาเพื่อบริโภคในครัวเรือนและไว้ขายบ้าง นอกจาก นี้ยังมีรายได้เสริมจากการเก็บของป่าในช่วงฤดูแล้ง ชาวกะซองมีการแต่งงานกับคนนอกกลุ่มจึงเกิดการผสมผสาน ระหว่างเชื้อสายและวัฒนธรรมตามแบบไทย ส่งผลให้ประเพณีดั้งเดิมหลายอย่างเลือนหาย ที่ยังคงปฏิบัติกันอยู่ตาม แบบฉบับของกลุม่ เห็นจะมีพธิ แี ต่งงาน การบูชาผีเรือนหรือผีบรรพบุรษุ และประเพณีการเล่นผีแม่มด ซึง่ มีการประกอบ พิธีเชิญผีมาเข้าร่างทรงเพื่อช่วยให้คนป่วยหายเจ็บไข้ตามความเชื่อ แต่ไม่เคร่งครัดในการจัดแล้วและการเล่นผีแม่มด ในหมู่บ้านกะซองปัจจุบันก็ไม่คึกคักเท่าของกลุ่มซัมเรที่มีประเพณีการเล่นนี้เช่นกัน ผู้พูดภาษาในปัจจุบันเป็นกลุ่มสุดท้ายที่ยังใช้ภาษากะซองสื่อสารได้ มีที่รู้ภาษาดีไม่เกิน ๑๐ คน ซึ่งล้วน เป็นผู้สูงอายุ และจ�ำนวนลดลงเรื่อยๆ คนกะซองในวัยกลางคนจนถึงรุ่นเยาว์สื่อสารกันด้วยภาษาไทย แม้จะมีความ เข้าใจในภาษาของตนอยู่บ้างแต่ไม่สามารถสื่อสารเป็นประโยคยาวๆ ได้ ลูกหลานไม่สนใจที่จะเรียนรู้ภาษาของตน จากพ่อแม่ ภาษากะซองในปัจจุบนั นับว่าอยูใ่ นขัน้ วิกฤตร้ายแรง รวมถึงวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาทีก่ ำ� ลังสูญหายไปตาม กาลเวลาพร้อมกับค�ำศัพท์ในภาษา โดยเฉพาะที่เป็นความรู้เกี่ยวกับป่า พรรณพืช สมุนไพร อาหาร พิธีกรรมและ ความเชื่อที่เชื่อมโยงวิถีชีวิตและประวัติของชุมชน

(ซ้าย) หมอท�ำพิธีสะเดาะเคราะห์ และ (ขวา) พิธีแต่งงาน

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 255


ทายาทของผู้พูดภาษากะซอง ที่มีความพยายามฟื้นฟูและเรียนรู้ภาษาของตนเอง

ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ชาวกะซองได้ มี ค วามพยายามฟื ้ น ฟู ภ าษาและภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของตนเอง โดยการสนับสนุนจากทีมวิจัย เริ่มจากการสร้างระบบตัวเขียนภาษากะซองด้วยตัวอักษรไทย ผลิตหนังสือนิทานภาษา กะซองเพื่อเป็นคู่มือในการสอนภาษาและพยายามที่จะน�ำเข้าไปสอนในโรงเรียนของชุมชน รวมทั้งมีการสร้างแผนที่ ชุมชนและแหล่งภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ แต่กระนัน้ ภาษากะซองยังอยูใ่ นภาวะทีไ่ ม่ดขี นึ้ มากนัก เนือ่ งจากผูส้ งู วัยทีเ่ ป็นแหล่ง ความรูเ้ ริม่ ล้มหายลง ในปัจจุบนั ทีมชาวบ้านทีค่ นุ้ เคยกับการผลิตวรรณกรรมภาษากะซองร่วมกันท�ำการฟืน้ ฟูลมหายใจ สุดท้ายของภาษาตนเอง มีแนวคิดในการสร้างเยาวชนที่พูดภาษากะซองได้ เริ่มด้วยการฝึกทักษะฟัง-พูดภาษากะซอง อย่างเข้มข้นกับครูภูมิปัญญาในวันหยุด ด้วยความหวังว่าจะสามารถสร้างผู้พูดภาษากะซองรุ่นใหม่และกระตุ้นการ เรียนรู้ภาษาของตนเองให้กับคนในชุมชน เพื่อส่งต่อองค์ความรู้ของบรรพบุรุษให้กับลูกหลานกะซองได้เพิ่มมากขึ้น เอกสารอ้างอิง

นายสันติ เกตุถึก และคณะ. ๒๕๕๒. รายงานวิจัย “แนวทางการพลิกฟื้นภาษากะซองเพื่อสืบทอดให้คนรุ่นหลังอย่างยั่งยืน บ้านคลอง แสง ต.ด่านชุมพล อ.บ่อไร่ .จ.ตราด”. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น). สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และพรสวรรค์ พลอยแก้ว. (๒๕๔๘). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: กะซองและซัมเร. กรุงเทพฯ: เอกพิมพ์ไทย จ�ำกัด. Sunee Kamnuansin. (2002). Kasong Syntax. M.A. thesis, Institute of Language and Culture for Rural Development, Mahidol University. พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

256 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษาซัมเร

ภาษาซัมเรมีผพู้ ดู ตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ่ นอ�ำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ทีห่ มูบ่ า้ นมะม่วง บ้านนนทรีย์ และบ้านคลองโอน เขตต� ำ บลนนทรี ย ์ เชื่ อ ว่ า ชาวซั ม เรเป็ น คนพื้ น ถิ่ น แต่ ดั้ ง เดิ ม อพยพมาจากบริ เวณเทื อ กเขาบรรทั ด ในกั ม พู ช า ค�ำว่า ซัมเร มีความหมายว่า “คน (คนท�ำนา)” เป็นชื่อที่ผู้พูดเรียกกลุ่มตนเองและภาษาของเขา แต่บุคคลภายนอก เรียกว่า ชอง เช่นเดียวกับกลุ่มกะซองซึ่งอยู่ในต�ำบลใกล้ๆ กัน ชาวบ้านเองก็ยอมรับชื่อที่คนภายนอกเรียกกลุ่มตน ไปด้วย ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นคนละกลุ่มคนละภาษากัน ภาษาซัมเรเป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุม่ ย่อยเปียริก เช่นเดียวกับภาษาชอง และกะซองทั้งสามภาษานี้มีความใกล้เคียงกันแต่ก็มีความแตกต่างในลักษณะทางภาษาซึ่งเจ้าของภาษารู้สึกถึง ความแตกต่างอาทิเช่นค�ำศัพท์ภาษาซัมเรมีพยัญชนะต้น ๒๑ หน่วยเสียง และพยัญชนะท้าย ๑๓ หน่วยเสียง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งมีการใช้ตัวสะกด จ ญ และ ฮ ที่แสดงลักษณะภาษาของกลุ่มมอญ-เขมรอย่างชัดเจน ปัจจุบันภาษาซัมเร เปลีย่ นแปลงไปเป็นภาษาทีม่ วี รรณยุกต์ ใช้ระดับเสียงเป็นลักษณะเด่นในการแยกความหมายของค�ำซึง่ แตกต่างไปจาก ภาษาชองและกะซอง (สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และพรสวรรค์ พลอยแก้ว ๒๕๔๘: ๑๔-๑๖) เช่น ซวง = ร�ำ ซ่วง = ดม ซ้วง = บอก เป็นต้น อย่างไรก็ตามผู้พูดภาษาซัมเรยังมีลักษณะน�้ำเสียงผสมผสานที่แสดงลักษณะดั้งเดิมของภาษา กลุ่มมอญ-เขมร ท�ำให้เกิดเสียงที่ผู้ฟังรับรู้ถึงลักษณะเสียง เช่น เสียงทุ้ม เสียงต�่ำหรือเสียงหนัก เสียงพ่นลม เป็นต้น ควบคู่ไปกับระดับเสียงหรือวรรณยุกต์ การเรียงค�ำในประโยคมีลักษณะแบบ ประธาน-กริยา-กรรม (SVO) เช่น ฮวบ กล็อง ฮือ นาน <กิน-ข้าว-หรือ-ยัง> = กินข้าวหรือยัง จีว ติฮ นี่ ยิบ <ไป-ที่-ไหน-มา> = ไปไหนมา โป่ ญ้าย ปะซา จัมปี อีน น่าด <แก-พูด-ภาษา-อะไร-ได้-บ้าง> = คุณพูดภาษาอะไรได้บ้าง เว่ย คีน ต่อปี <ตี-ลูก-ท�ำไม> = ตีลูกท�ำไม เป็นต้น

ผู้พูดชาวซัมเร

พิธีกรรมเกี่ยวกับการรักษาอาการเจ็บป่วย

เรียบเรียงโดย สุนี ค�ำนวลศิลป์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 257


วิถชี วี ติ ของกลุม่ ซัมเรไม่คอ่ ยเป็นทีร่ จู้ กั ของสังคมภายนอก แม้วา่ จะเป็นคนพืน้ ถิน่ ทีอ่ ยูม่ าช้านานในเขตแดน จังหวัดตราดและมีสญ ั ชาติไทยกันทุกคน ทัง้ นีอ้ าจเป็นเพราะพืน้ ทีท่ พี่ วกเขาอาศัยอยูน่ นั้ ค่อนข้างทุรกันดารห่างไกลและ ยังเป็นเขตชายแดนคนซัมเรด�ำรงชีวิตด้วยการหาอาหารจากธรรมชาติรอบตัวและเก็บของป่า เช่น หน่อไม้ หวาย สัตว์ป่า และสมุนไพรต่างๆ ไปขาย บางครอบครัวที่มีที่ดินท�ำกินก็จะท�ำไร่สับปะรด ปลูกมันส�ำปะหลัง ผลไม้ยืนต้น ปลูกข้าวไว้กินเองและขายบ้าง บ้างก็หาเช้ากินค�่ำโดยการรับจ้างเหมือนกับคน ทั่วไปในท้องถิ่นนั้น นอกจากภาษาแล้ว กลุ่มซัมเรมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ พวกเขามีความเชื่อและนับถือผี ดังนั้นการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เกี่ยวกับชีวิต จึงมักจะมีการเซ่นไหว้ผี การเล่นผีแม่มดเป็นประเพณีที่ส�ำคัญของคนซัมเร เช่น เดียวกับคนกะซองที่มีการเล่นนี้ด้วยเหมือนกันแต่อาจแตกต่างกันในรายละเอียด การเล่นผีแม่มดมีวัตถุประสงค์เพื่อปัดเป่าความเจ็บไข้ให้หายไปจากคนป่วย ตามความเชือ่ ของกลุม่ คนทีเ่ ข้าป่าแล้วเกิดท�ำสิง่ ทีไ่ ม่ควรหรือไม่เคารพสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ผีจะตามมาและท�ำให้เจ็บป่วย ในพิธีจะมีการเชิญผีแม่มดมาเข้าร่างทรงและ บอกผีชว่ ยให้หายป่วยมีการเล่นตีกลองและร้องร�ำกันอย่างครึกครืน้ นับเป็นโอกาส ที่เพื่อนบ้านจะมารวมตัวกัน ร่วมกันประกอบพิธีกรรมและร่วมสนุกสนานรื่นเริง ทุกวันนี้ก็ยังคงมีการเล่นผีแม่มดโดยจะจัดในเดือนสาม แต่น่าเสียดายว่าทั้งภาษาและวัฒนธรรมดั้งเดิมหลายอย่างของชาวซัมเรก�ำลังสูญหาย โดยเฉพาะ ภาษาซึง่ เป็นเครือ่ งบ่งชีถ้ งึ ชาติพนั ธุท์ สี่ ำ� คัญยิง่ และยังเป็นเครือ่ งบันทึกความรูแ้ ละภูมปิ ญ ั ญาต่างๆ ปัจจุบนั มีผพู้ ดู ภาษา ซัมเรในประเทศไทยประมาณ ๕๐ คน โดยผู้รู้ภาษาดีมีไม่เกิน ๑๐ คน ซึ่งส่วนใหญ่อายุมากกว่า ๖๐ ปี เนื่องจากผู้พูด ภาษาซัมเรเป็นบุคคลทวิภาษาคือพูดภาษาซัมเรและภาษาไทย ทั้งยังใช้ภาษาไทยมากกว่าภาษาของตนเอง เพราะอยู่ ร่วมกับคนไทยอื่นๆ ในท้องถิ่น ภาษาของตนจะใช้ในกลุ่มผู้สูงอายุที่พูดได้เท่านั้น เด็กๆ เรียนภาษาไทยจากโรงเรียน และไม่หัดพูดภาษาแม่ของตนเลย คนวัยหนุ่มสาวก็ไม่เห็นความส�ำคัญและรู้สึกว่าภาษาของตนเองด้อยกว่าภาษาไทย ภาษาซัมเรนับเป็นภาษาในกลุ่มภาวะวิกฤตขั้นรุนแรง คาดได้ว่าอีกหนึ่งหรือสองช่วงอายุคนคงจะสูญหายไปโอกาสที่ จะฟื้นฟูให้คงอยู่ต่อไปเป็นไปได้ยาก เพราะขาดบุคคลที่จะร่วมสืบทอด จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษา และเก็บรวบรวมองค์ความรู้ภาษาและวัฒนธรรมกลุ่มซัมเรนี้ไว้ให้มากที่สุดและจัดท�ำเป็นคลังข้อมูล อนุรักษ์ และเพื่อ เผยแพร่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติต่อไป เอกสารอ้างอิง

พรสวรรค์ พลอยแก้ว. (๒๕๔๗). รายงานการวิจัยโครงการวิจัยศัพทานุกรมหมวดค�ำศัพท์ภาษาซัมเร : สื่อสะท้อนโลกทัศน์ของกลุ่ม ชาติพันธุ์ในภาวะวิกฤตขั้นสุดท้าย. ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และพรสวรรค์ พลอยแก้ว. (๒๕๔๘). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: กะซองและซัมเร. กรุงเทพฯ: เอกพิมพ์ไทย จ�ำกัด. พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

258 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษาชอุง ค�ำว่า ชอุง มีความหมายว่า “คน” ออกเสียงด้วยลักษณะน�ำ้ เสียงต�ำ่ กระตุกคล้ายค�ำว่า ชอง ในภาษาชอง ชาวชอุงปัจจุบนั อยูท่ บี่ า้ นทุง่ นา อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ และบางส่วนอยูใ่ นอ�ำเภอลาดหญ้า จังหวัดกาญจนบุรี ถิน่ ฐานเดิมของ พวกเขาอยู่ในจังหวัดกัมปงโสม จังหวัดชายทะเลทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา โดยสันนิษฐานว่า ชาวชอุง ที่อยู่ในประเทศไทยอพยพเข้ามาในช่วงเวลาของสงครามอานามสยามยุทธราวพุทธศักราช ๒๓๗๔ – ๒๓๘๗ โดยพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทัพน�ำชาวชอุงเดินทางจากตะวันออกสู่จังหวัดกาญจนบุรี สุดแดน ตะวันตกของประเทศไทย และให้ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณริมแม่น�้ำแคว อ�ำเภอลาดหญ้า ก่อนที่ชาวชอุงกลุ่มใหญ่ จะย้ายไปยังอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ในปัจจุบัน พวกเขาเป็นที่รู้จักในชื่อ อูด ข่าสะอูด ชองอูด หรือ นาอูด ค�ำว่า อูด มีความหมายในภาษาชอุงว่า “ไม้ฟืน” พวกเขาเรียกตนเองว่า ชอุ์ง และไม่ชอบให้ผู้อื่นเรียกว่า อูด หรือ สะโอจ (ตามเอกสารเก่าอ้างที่ถึงชาวชอุงในประเทศกัมพูชา) ซึ่งมีความหมายในเชิงดูถูก

ภาพบน: บ้านเรือนของชาวชอุง ภาพล่าง: ชาวชอุงรุ่นพ่อแม่และลูกหลาน

เรียบเรียงโดย สุนี ค�ำนวลศิลป์ และ ณัฐมน โรจนกุล พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 259


ภาษาชอุงจัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกสาขามอญ-เขมร กลุ่มย่อยเปียริก เช่นเดียวกับภาษา ชองจังหวัดจันทบุรี ภาษากะซองและภาษาซัมเรจังหวัดตราด ทั้งสี่ภาษามีความใกล้เคียงกันมาก เช่น “คน” ภาษาชอุง ว่า กะเจิ่ม, ชอุ์ง ภาษาชองว่า กะชึ่ม, ช์อง ภาษากะซองว่า กะซึ่มและภาษาซัมเรว่า กะซุ้มภาษาชอุงมี พยัญชนะต้น ๒๑ หน่วยเสียงพยัญชนะสะกด ๑๓ หน่วยเสียง พยัญชนะประสม ๙ หน่วยเสียง สระเสียงสั้นและยาว ๑๘ หน่วยเสียง โดยมีพยัญชนะสะกดที่เป็นลักษณะของภาษากลุ่มมอญ-เขมร ได้แก่ <จ><ญ><ล>และ <ฮ> รวมทั้ง มีลักษณะน�้ำเสียงที่เป็นลักษณะส�ำคัญของภาษากลุ่มนี้ ภาษาชอุงมีลักษณะน�้ำเสียง ๔ แบบ ได้แก่ ลักษณะน�้ำเสียง กลางปกติ เช่น ตาก= ถั่ว, ลักษณะน�้ำเสียงสูงบีบ (เสียงปกติตามด้วยการกักของเส้นเสียง) เช่น ต้าก= ลิ้น, ลักษณะน�้ำ เสียงต�่ำใหญ่ (เสียงก้องมีลม) เช่น ต่าก= น�้ำ, และลักษณะน�้ำเสียงต�่ำกระตุก (เสียงก้องมีลมตามด้วยการกักของเส้น เสียง) เช่น มู์ย= หนึ่ง ลักษณะทางไวยากรณ์มีการเรียงประโยคแบบ ประธาน-กริยา-กรรม เช่น เอ็ญเจวท็อง พีงเม์ว เออะ.เกลา “ฉัน – ไป – ตก(ปลา) – ปลา – ที่.บ่อ” ยังมีการสร้างค�ำด้วยการเติมหน่วยค�ำเติมหน้า (Prefix) ตามลักษณะภาษากลุ่มมอญ-เขมร ได้แก่ ปะ และ เออะ “ที่” ที่แสดงการระบุสถานที่ของค�ำนาม และ เปิง ที่เปลี่ยน จากค�ำว่า โฮจ “ตาย” ให้เป็น เปิงโฮจ “ฆ่า” ลักษณะไวยากรณ์ที่น่าสนใจคือการใช้ค�ำปฏิเสธ ๒ ค�ำ ประกบค�ำกริยา หรือกริยาวลี เช่น ท็ก – บืด – เอฮ “ไม่ – ดี – ไม่” เป็นต้นภาษาชอุงมีความใกล้ชิดกับภาษาชองมากกว่าภาษากะ ซองและซัมเร ทั้งลักษณะน�้ำเสียง ๔ ลักษณะ เช่น ค�ำว่า เม์ว ทั้งในภาษาชอุงและชองมีความหมายว่า “ปลา” เหมือนกัน มีวงศ์ค�ำศัพท์ที่คล้ายคลึงกัน เช่น “ข้าวสุก” ภาษาชอุงและชองว่า ปล็อง ในขณะที่ภาษากะซองว่า กลง และภาษาซัมเรว่า กล็อง รวมทั้งการใช้หน่วยค�ำปฏิเสธสองค�ำประกบกริยาวลีเช่นเดียวกับภาษาชอง แตกต่างกันที่ หน่วยค�ำที่ใช้ในภาษาชองจะใช้หน่วยค�ำซ�้ำกันคือ อิฮ - อิฮ “ไม่ – ไม่” แต่ภาษาชอุงจะใช้ค�ำต่างกันคือ ท็ก - เอฮ “ไม่ – ไม่” คนชอุงมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ปลูกมะพร้าว พริก หมาก และจับปลา จากเขื่อนศรีนครินทร์ไปขายตามฤดูกาล จ�ำนวนประชากรชาวชอุงที่เหลืออยู่ไม่มาก พวกเขาอยู่อาศัยร่วมกับ กลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ในหมู่บ้านเดียวกัน เช่น ลาว กะเหรี่ยง ขมุ รวมทั้งไทยที่เป็นกลุ่มใหญ่กว่า ส่งผลให้ชาวชอุง มีจ�ำนวนน้อยลง ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมและภาษาที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะกลุ่มค่อยๆ สูญหายและกลมกลืนไปกับ กลุ่มอื่นๆ ผู้พูดภาษากลุ่มสุดท้ายเป็นผู้สูงอายุภาษาและวัฒนธรรมของชอุงไม่สามารถส่งต่อให้กับลูกหลาน คนชอุง รุ่นใหม่มักออกมาหางานท�ำภายนอกหมู่บ้าน ภาษาไทยจึงมีบทบาทส�ำคัญกับพวกเขามากกว่าปัจจุบันภาษาชอุง ในประเทศไทยอยู่ในสภาวะวิกฤตรุนแรง ไม่แตกต่างไปจากภาษาซัมเร กะซอง และชอง ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาเดียวกัน รวมไปถึงภาษาชอุงในประเทศกัมพูชาด้วย นับว่ามีโอกาสน้อยมากที่จะฟื้นฟูภาษาชอุงรวมทั้งวัฒนธรรมให้คงอยู่ ต่อไป เนื่องจากขาดทั้งผู้ถ่ายทอดและผู้สืบทอด จึงจ�ำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะมีการรวบรวมองค์ความรู้ทางภาษาและ วัฒนธรรมชอุงในประเทศไทยไว้ให้มากที่สุด และจัดท�ำเป็นคลังข้อมูลเพื่อเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติต่อไป พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

260 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษามลาบรี มลาบรี แปลว่า คนป่า หรือ คนอยู่ป่า (มลา = คน + บรี = ป่า) ในอดีตคนไทยจะรู้จักคนกลุ่มนี้ ในชื่ออื่นๆ เช่น ผีตองเหลือง ข่าตองเหลือง ซึ่งเป็นชื่อที่คนภายนอกเรียก มลาบรีจะไม่ชอบให้ผู้อื่นเรียกชื่อ ในลั ก ษณะเช่ น นั้ น เพราะเป็ น ค� ำ ที่ เรี ย กในเชิ ง ดู ถู ก ที่ แ ปลว่ า ผี ไม่ ใช่ ค นหรื อ เป็ น ทาส (ข่ า ) ในประเทศไทย มีชาวมลาบรีอาศัยอยู่ประมาณ ๔๐๐ คนในจังหวัดแพร่และจังหวัดน่านโดยอาศัยอยู่ใน ๕ หมู่บ้านที่ห่างไกลกัน และในแขวงไซยะบุรีของประเทศลาวมีประมาณ ๒๐ คน เดิมทีชาวมลาบรีเป็นกลุ่มสังคมที่มีวัฒนธรรมแบบ เก็ บ หาของป่ า -ล่ า สั ต ว์ และเคลื่ อ นย้ า ยอพยพไปตามแหล่ ง ที่ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ใช้ ใ นการด� ำ รงชี วิ ต ที่อดุ มสมบูรณ์ และเชือ่ ว่าในอดีตทีผ่ ืนป่าในประเทศไทยยังเป็นผืนป่าผืนเดียวที่เชื่อมโยงติดต่อกัน มลาบรีเคยเดินทาง ท่องเที่ยวเคลื่อนย้ายไปทั่วเขตจังหวัดเลย จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน รวมถึงแขวงไซยะบุรีของประเทศลาว รูปแบบ วิถีชีวิตวัฒนธรรมแบบมลาบรีนั้นเป็นวัฒนธรรมที่ค่อนข้างโดดเด่น เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้เรื่องพืชอย่างมาก มีภูมิปัญญาการใช้พืช ทั้งอาหาร ยาสมุนไพร เครื่องจักสานหัตถกรรม และเป็นกลุ่มชนที่รักอิสระอย่างไม่ยึดติด ในวัตถุสิ่งของ ไม่เก็บกักตุนอาหาร มีการแบ่งปันทรัพยากรอย่างเหมาะสมและเท่าเทียม รักธรรมชาติต้นไม้ป่าเขา มลาบรีสามารถเป่าแคนได้อย่างไพเราะและร้องเพลงส�ำเนียงหมอล�ำแต่เป็นภาษามลาบรีได้อย่างไพเราะ ภาษามลาบรีเป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มย่อยขมุอิค ภาษากลุ่มย่อยที่มี ความใกล้เคียงกันได้แก่ ภาษาขมุ ภาษามัล/ปรัย(ลัวะ) ในจังหวัดน่าน เชียงราย ภาษามลาบรีมลี กั ษณะของภาษาตระกูล มอญ-เขมรที่ชัดเจน โดยมีพยัญชนะต้น ๓๑ ตัว เสียงสะกด ๑๒ ตัว โดยเฉพาะเสียงสะกด ญ, จ , ฮ ส่วนเสียงสระ ของภาษามลาบรี ไม่แยกเสียงสั้นหรือเสียงยาว โดยมีการเขียนค�ำเรียกชื่อคนกลุ่มนี้สองแบบคือ “มลาบรี” กับ “มละบริ” ตัวอย่างค�ำศัพท์ในภาษามลาบรี เช่น บรี = ป่า, เกรว = ไปหา, มาด = ตา, มอฮ = จมูก, กวาย = หัวมัน ป่ า ไวยากรณ์ ภ าษามลาบรี โ ดยทั่ ว ไปมี ก ารเรี ย งค� ำ ใน ลักษณะ ประธาน, กริยา, กรรม เช่นเดียวกับกลุ่มภาษา มอญเขมรอื่นๆ เช่นประโยคว่า โอฮ ฌาก แฆง = ฉัน-ไปบ้าน, ประโยคปฏิเสธ โอฮ กิ มาด รวาย = ฉัน -ไม่(เคย)เห็น-เสือ ภาษามลาบรีมกั จะลากเสียงท้ายสูงและยาวกว่า ปกติท�ำให้เหมือนกับพูดภาษาดนตรีที่มีความไพเราะแต่ ไม่ใช่เสียงวรรณยุกต์ เรียบเรียงโดย ชุมพล โพธิสาร พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 261


ปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติในป่าที่เป็นฐานของวัฒนธรรมมลาบรีได้ถูกท�ำลายลงอย่างมากกระทั่ง ไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถด� ำ รงชี วิ ต แบบหาของป่ า -ล่ า สั ต ว์ ไ ด้ อี ก ปั จ จุ บั น ชาวมลาบรี ไ ด้ เ ปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต มายึดอาชีพรับจ้างปลูกข้าวโพดเป็นแรงงาน มีการจัดตัง้ หมูบ่ า้ นและทีอ่ ยูอ่ าศัยเป็นหลักแหล่ง ความเปลีย่ นแปลงอย่าง ใหญ่หลวงของมลาบรีนี้ท�ำให้มลาบรีต้องเผชิญกับการปรับตัวทางวัฒนธรรมที่ค่อนข้างยากล�ำบาก ความไม่รู้เท่า ทันโลก ความไม่สามารถพึ่งตัวเองได้ ปัญหาสิทธิมนุษยชน การท่องเที่ยวชนเผ่า สุขภาพอนามัย การเสื่อมถอยของ ภูมปิ ญ ั ญาและวัฒนธรรม ความเครียด หวาดระแวง และมีสถิตกิ ารพยายามฆ่าตัวตายเพือ่ หนีจากภาวะบีบคัน้ ทางจิตใจ สูงมาก รวมถึงภาษาวิกฤติเสี่ยงขั้นรุนแรงภาษาหนึ่งในประเทศไทยต่อการสูญหายของภาษาและวัฒนธรรม

ภาษามลาบรี เป็นภาษาทีม่ คี วามส�ำคัญและมีคณ ุ ค่าในแง่มรดกทางวัฒนธรรมทีไ่ ด้สบื ทอดกันมายาวนาน ในภาษามีองค์ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติมากมาย ทั้งพืชที่กินได้ พืชที่เป็นยา พืชที่สัตว์กิน พืชที่น�ำมาใช้ประโยชน์ ในงานหัตถกรรม สานกระเป๋า ท�ำตะกร้าหวาย ทั้งภาษามลาบรีเองก็ยังเป็นภาษาที่แสดงว่ามลาบรีเป็นกลุ่มคนที่ให้ คุณค่ากับความเสมอภาค ความเท่าเทียม ไม่มีชนชั้นหรือความแก่งแย่ง หากภาษามลาบรีหายไป ก็จะเป็นการสูญเสีย ครั้งยิ่งใหญ่ต่อมรดกทางภูมิปัญญาอันมีค่านี้ อย่างไรก็ดี เยาวชนมลาบรีรุ่นใหม่หลายๆ คนที่บ้านห้วยหยวกและ บ้านห้วยลู่ จังหวัดน่าน ได้มีความสนใจที่จะอนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมของตนเพื่อไม่ให้สูญหายไป ทั้งยังเป็นการ น�ำความรู้ภูมิปัญญาในอดีตมาปรับใช้กับโลกปัจจุบันด้วย เอกสารอ้างอิง

อิสระ ชูศรี และคณะ. งานวิจัยการศึกษากระบวนการเปลี่ยนผ่านจากวิถีชีวิตเร่ร่อนหาของป่าล่าสัตว์สู่การเป็นชาวบ้านของ กลุ่มชาติพันธุ์ มลาบรี (ตองเหลือง) เพื่อหาแนวทางการพัฒนาโดยใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นฐาน. Jorgen Rischel. (1995). Minor Mlabri: A Hunter-Gatherer Language of Northern Indochina, Museum Tusculanum Press University of Copenhagen.

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

262 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษามอแกน ไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่า “มอแกน” มีความหมายว่า อย่ า งไร แต่ จ ากการบอกเล่ า ของคนเฒ่ า คนแก่ อ าจ สันนิษฐานได้วา่ ค�ำว่า“มอแกน”มาจากนิทานพืน้ บ้านทีม่ ี การเล่าสืบทอดกันมา โดยน่าจะมาจากค�ำว่า “ละมอ” ซึ่งแปลว่า “จม” รวมกับค�ำว่า “เอาะเกน” ซึ่งแปลว่า “ทะเล” กลายเป็นค�ำว่า “มอแกน” คนทัว่ ไปรูจ้ กั คนกลุม่ นีใ้ นนาม “ชาวเล” ชาวมอแกนมีวถิ ชี วี ติ ทีผ่ กู พันกับท้องทะเล เป็นอย่างมาก โดยในอดีตนัน้ พวกเขาอาศัยและด�ำรงชีพอยูต่ ามเกาะและชายฝัง่ ต่างๆ ปัจจุบนั พบชาวมอแกนอาศัยอยู่ ในจังหวัดต่างๆ ทางตอนใต้ฝั่งทะเลอันดามัน ได้แก่ จังหวัดระนอง จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต ภาษามอแกน เป็นภาษาที่อยู่ในตระกูลออสโตรเนเชียน สาขามลาโย – โพลีเนเชียน สาขาย่อยมอแกนมอแกลน มีความใกล้เคียงกับภาษามอแกลนซึ่งอยู่ในสาขาย่อยเดียวกัน จากการส�ำรวจของนักภาษาศาสตร์ (เช่น Naw Say Bay, D. Horgan, M. Larish เป็นต้น) พบว่า ภาษามอแกนในประเทศไทยน่าจะเป็นภาษา ถิ่นเดียวกับภาษามอแกนที่พูดบริเวณเกาะย่านเชือก สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ภาษามอแกนไม่มีระบบเสียง วรรณยุกต์ และมีการเรียงค�ำแบบ ประธาน-กริยา-กรรม (SVO) เช่นเดียวกับหลายภาษาที่พูดในบริเวณภาคพื้นเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประโยคว่า จี ญัม จอน กะ <ฉัน-กิน-ข้าว-แล้ว> = ฉันกินข้าวแล้ว ปัจจุบัน ภาษามอแกนอยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญหาย เนื่องจากการรุกคืบของคนไทยที่เข้ามาอาศัยปะปน รวมทั้งสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไป ท�ำให้ภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวมอแกนอยู่ในภาวะถดถอย เยาวชนเริ่มมีการใช้ภาษาแม่ของตนน้อยลงไปเรื่อยๆ และใช้ภาษาไทยเป็นภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ชาวมอแกนได้มีความพยายามฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมของตนเอง โดยได้มีการเริ่มต้นพัฒนา ระบบตัวเขียนและเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีการเก็บบันทึกภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่ง เพื่อบันทึกภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมต่างๆ ที่ก�ำลังจะสูญหายไป ในอดีต ชาวมอแกนจะใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในเรือและจะเข้าฝั่งเมื่อต้องการซ่อมแซมเรือหรือมีเหตุจ�ำเป็น บางอย่าง เช่น หลบลมมรสุม หาน�ำ้ อาหาร หรือมีคนเจ็บ เป็นต้น ชาวมอแกนด�ำรงชีวติ ด้วยการหาของทะเลเป็นอาหาร โดยผู้ชายมอแกนมีหน้าที่หลักในการออกทะเลหาอาหารเพื่อน�ำมาเลี้ยงดูครอบครัว ส�ำหรับผู้หญิงมอแกนส่วนใหญ่ จะท�ำหน้าที่เลี้ยงดูบุตรท�ำงานบ้านหรือหาสัตว์ทะเลเล็กๆ น้อยๆ ตามบริเวณชายฝั่งหรือโขดหิน แต่เมื่อสภาพสังคม เปลี่ยนไปท�ำให้คนมอแกนส่วนใหญ่ต้องเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากเดิมในอดีตที่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในทะเลมาอาศัยอยู่บน ฝั่งและออกทะเลเป็นครั้งคราว เรียบเรียงโดย สราวุฒิ ไกรเสม พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 263


ชาวมอแกนมี ค วามรู ้ แ ละความผู ก พั น กั บ ธรรมชาติเป็นอย่างมากโดยเฉพาะความรู้ทางด้านทะเล สภาพอากาศ สัตว์น�้ำและพืชชนิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ด� ำ รงชี วิ ต และการรั ก ษาโรค โดยพวกเขาจะบู ร ณาการ ความรู ้ เ หล่ า นั้ น เข้ า ด้ ว ยกั น และถ่ า ยทอดจากรุ ่ น สู ่ รุ ่ น ผ่านภาษาพูด และเนือ่ งจากภาษามอแกนไม่มรี ะบบตัวเขียน ส�ำหรับการจดบันทึกความรูต้ า่ งๆ จึงมีผลให้ความรูบ้ างอย่าง ลดเลือนหายไปหรือไม่รเู้ หตุผลเบือ้ งหลังขององค์ความรูน้ ั้น องค์ความรูต้ า่ งๆของชาวมอแกนทีไ่ ด้กล่าวมา ข้างต้นสะท้อนได้จากภาษาที่ใช้ในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ไม่ว่าจะเป็นค�ำศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระแสน�้ำขึ้น/น�้ำลง การแบ่งประเภทและจัดหมวดหมูส่ ตั ว์ชนิดต่างๆ หรือแม้แต่ ความรู้ทางด้านการแพทย์พื้นบ้าน ที่สะท้อนออกมาจากวิธี การรั ก ษาโรคและภาษาที่ ใช้ ใ นระหว่ า งการรั ก ษาหรื อ พิธีกรรม เป็นต้น พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

264 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

พิธีลอยเรือและการตกแต่งเรือเพื่อใช้ในพิธี


ภาษาผู้ไทย ภาษาผูไ้ ทย เป็นภาษาในตระกูลภาษาไท มีผพู้ ดู จ�ำนวนมากกระจายในภูมภิ าคต่างๆ ในประเทศไทยลาว และเวียดนาม ผู้พูดภาษาผู้ไทยในประเทศไทยส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในบริเวณจังหวัดภาคตะวันออกหรือภาคอีสาน ตอนบน ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร นอกจากนี้ยังมีอีกเล็กน้อยอาศัยบริเวณ จังหวัดร้อยเอ็ด อุดรธานี อุบลราชธานี และอ�ำนาจเจริญ โดยภาษาผู้ไทยในแต่ละท้องถิ่นต่างมีส�ำเนียงและค�ำศัพท์ ทีใ่ ช้แตกต่างกันไป นอกจากนีย้ งั มีคำ� ยืมจากภาษาถิน่ อีสานซึง่ เป็นภาษาถิน่ ทีค่ นส่วนใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ในภาษาผูไ้ ทยบ้าง แต่ไม่มากนัก ชาวผูไ้ ทยส่วนใหญ่มกั พูดภาษาถิน่ อีสานได้ แต่ชาวไทยทีพ่ ดู ภาษาอีสานไม่สามารถ พูดหรือฟังภาษาผู้ไทยอย่างเข้าใจโดยสมบูรณ์ ภาษาผู้ไทยมีชื่อเรียกอื่น คือ ภาษาผู้ไท ภาษาภูไท หลักฐานทางประวัติศาสตร์และพงศาวดาร พบว่า ชาวผู้ไทดั้งเดิมเป็นกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบ สิบสองจุไท ทั้งบริเวณตอนเหนือของลาวและเวียดนาม และทางตอนใต้ของจีน มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองไลและเมืองแถง (เดิมชื่อ เมืองแถน ค�ำว่า แถน แปลว่า ฟ้า) เมืองแถน คือ เมืองที่เจ้าฟ้าพระมหากษัตริย์ผู้เป็นใหญ่สร้างขึ้น หรืออยูอ่ าศัย ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ กลุม่ ชาติพนั ธ์ผุ ไู้ ทหรือปูไ่ ทมีการสักการะกราบไหว้ “บรรพบุรษุ ” มาตัง้ แต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน เช่น ประเพณีจุดบั้งไฟบูชาพระยาแถน เพื่อขอน�้ำจากฟ้าหรือขอน�้ำฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล ให้ลูกหลานได้ ท�ำนาเลี้ยงชีพและเลี้ยงลูกหลานต่อไป หรือประเพณีผีฟ้า หรือหมอเหยา เพื่อเชิญผีแถน มาช่วยดูแลรักษาปัดเป่า สิ่งชั่วร้าย โรคภัยไข้เจ็บ ให้ลูกหลานหายเจ็บไข้ เป็นต้น

การแสดงดนตรีพื้นบ้าน

ประเพณีบุญพวงมาลัยของชาวผู้ไทยจังหวัดกาฬสินธุ์

ที่มา: ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาฬสินธุ์

เรียบเรียงโดย เฉลิมชัย แก้วมณีชัย และรองศาสตราจารย์ชลธิชา บ�ำรุงรักษ์ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 265


การสืบทอดภาษาผู้ไทยของจังหวัดสกลนคร ภาพ: ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสกลนคร

กลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไท (ปู่ไท คือ คนไทเดิม) ที่อาศัยอยู่ที่เมืองแถง เรียกว่า กลุ่มผู้ไทด�ำและที่อาศัย อยู่ที่เมืองไลและเมืองอื่นๆ เรียกว่า กลุ่มผู้ไทขาว ประกอบด้วย ๔ อาณาเขต คือ เมืองไล เมืองเจียน เมืองมุน เมืองบาง มีเมืองไลเป็นเมืองใหญ่ปกครอง ส่วนกลุ่มผู้ไทด�ำ ประกอบด้วย ๘ อาณาเขต คือ เมืองแถง เมืองควาย เมื อ งดุ ง เมื อ งม่ ว ย เมื อ งลา เมื อ งโมะ เมื อ งหวั ด เมื อ งซาง มี เ มื อ งแถงเป็ น เมื อ งใหญ่ ป กครอง ส่ ง ผลท� ำ ให้ กลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทนี้ มีเมืองอยู่ในการปกครองตนเอง รวม ๑๒ อาณาเขต จึงเรียกดินแดนแห่งนี้รวมกันว่า “สิบสองเมืองผู้ไท” หรือ “สิบสองจุไทย” หรือ “สิบสองปู่ไทย” หรือ “สิบสองเจ้าไทย” ต่อมากลุ่มผู้ไทเมืองวังเกิดเหตุวุ่นวาย ท�ำให้ลูกหลานส่วนหนึ่งต้องอพยพข้ามแม่น�้ำโขงมาตั้งบ้านเรือน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย บริเวณเมืองเรณูนคร จังหวัดนครพนม และเมืองพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร ต่อมา พระเจ้ากรุงธนบุรีหรือ “พระเจ้าตากสินมหาราช” ได้ท�ำสงครามขยายอาณาเขตได้อพยพ ชาวเมืองผูไ้ ทให้ยา้ ยมาตัง้ บ้านเรือนอยูใ่ นเขตจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี และสระแก้ว จนถึงปัจจุบนั นอกจากนี้ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทได้อพยพข้าม แม่น�้ำโขงมาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดต่างๆ ในภาคอีสานมากขึ้น อาทิ นครพนม สกลนคร มุกดาหาร และมาอยู่รวมกับ กลุม่ ชนชาติพนั ธุผ์ ไู้ ททีอ่ พยพเข้ามาก่อนหน้านีใ้ นเขตจังหวัดต่างๆ คือ นครพนม สกลนคร มุกดาหาร กาฬสินธุ์ หนองคาย ยโสธร อ�ำนาจเจริญ อุบลราชธานี เป็นต้น ต่อมาเรียกกลุ่มผู้ไทที่อาศัยอยู่ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในจังหวัดเหล่านี้ว่า กลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทย ส่วนคนชาติพันธุ์ผู้ไทที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยบริเวณจังหวัดต่างๆ มีชื่อเรียก แตกต่างกันไป เช่น ผู้ไทย ไทยโซ่ง ไทยทรงด�ำ ไทยพวน ไทด�ำ ไทขาว ไทแดง พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

266 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


กลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทย (คนไต) หรือ ปู่ไท (คนไทเดิม) เคยมีความเจริญรุ่งเรืองในอดีต มีภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีวัฒนธรรมอันโดดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์เป็นของตนเอง มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย รักสงบ และรักอิสระ ผู้ชายมีความเข้มแข็งกล้าหาญอดทน นิยมเดินทางไกลเพื่อค้าขาย น�ำรายได้มาเลี้ยงครอบครัว ผู้หญิงผู้ไทยมีรูปร่าง ผิวพรรณสวยงาม สะอาดตา พูดจาไพเราะ มีความซื่อสัตย์สุจริต ชอบท�ำงานบ้าน ท�ำอาหาร มีฝีมือในการทอผ้าและ การเย็บปักถักร้อย ตลอดจนมีพรสวรรค์ในศิลปะด้านดนตรีและการฟ้อนร�ำ ในด้านภาษา เนื่องจากภาษาผู้ไทยเป็นภาษาถิ่นในภาษาตระกูลไท จึงมีลักษณะเด่นบางประการร่วมกับ ภาษาไทยถิ่นอื่น กล่าวคือ เป็นภาษาค�ำโดด เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ ค�ำมักเป็นค�ำพยางค์เดียว โครงสร้างประโยค พื้นฐาน ได้แก่ “ประธาน กริยา กรรม” เป็นภาษาที่ไม่มีวิภัตติ-ปัจจัย แต่มีลักษณะนามเช่นเดียวกับภาษาตระกูลไทย ถิ่นอื่นๆ ภาษาผู้ไทยมีพยัญชนะ ๑๙ หน่วยเสียง ได้แก่ /p, t, c, k, ph, th, kh, b, d, f, s, m, n, , ,h, l, w, ?/ สระเดี่ยว ๑๘ หน่วยเสียง คือ ภาษาผู้ไทย ไม่ มี ส ระประสม และมี ก ารแยกเสี ย งชั ด เจนในค� ำ ที่ ใ ช้ -ใ และ -ไ โดยค� ำ ที่ ใ ช้ -ใ จะออกเสี ย งเป็ น หน่วยเสียงวรรณยุกต์ในภาษาผู้ไทมี ๕ หน่วยเสียง ลักษณะบางประการที่ถือว่าเป็นลักษณะเด่นอื่นๆ มีหลายประการ อาทิ ด้านค�ำศัพท์ มีค�ำศัพท์ที่ แตกต่างไปจากภาษาถิ่นอีสานหรือภาษาไทยกลาง เช่น หา หมายถึง ขา เฮ้า หมายถึง เข้า เห็ม หมายถึง เข็ม เหือก หมายถึง เหงือก เต้อ หมายถึง ใต้ เนอ หมายถึง ใน เผอ หมายถึง ใคร เท่าเลอ/ท่อเลอ หมายถึง เท่าไร ซิเลอ หมายถึง ที่ไหน มิ หมายถึง ไม่ ภาษาผู้ไทยเป็นภาษาที่มีผู้ใช้จ�ำนวนมาก แต่ในปัจจุบันกลับถูกกระแสโลกาภิวัตน์ท�ำลายลักษณะส�ำคัญ ทางภาษาอันเป็นมรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรมไป ท�ำให้สญ ู เสียอัตลักษณ์ และความลุม่ ลึกทางปัญญาของมนุษยชาติ การรักษามรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรมเหล่านีไ้ ม่ให้สญ ู หายและอยูร่ อดอย่างยัง่ ยืน จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีช่ มุ ชนซึง่ เกีย่ วข้อง ต้องมีจิตส�ำนึกเข้ามีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครอง ด้วยการคิด ตัดสินใจวางแผน และด�ำเนินการโดยชุมชนเพื่อ ชุมชนเอง เพื่อให้ภาษาและวัฒนธรรมของคนกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทยคงอยู่สืบไป

การแสดงและการสืบทอดภาษาผู้ไทยของจังหวัดนครพนม ที่มา: โรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 267


มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๒-๒๕๕๖ ศิลปะการแสดง จ�ำนวน ๕๑ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑. วงสะล้อ ซอ ปิน ๒. ซอล้านนา ๓. หมอล�ำพื้น ๔. หมอล�ำกลอน ๕. ล�ำผญา ๖. เพลงโคราช ๗. ดิเกร์ฮูลู ๘. โขน ๙. หนังใหญ่ ๑๐. ละครชาตรี ๑๑. โนรา ๑๒. หนังตะลุง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ปี่พาทย์ ๒. ละครใน ๓. หุ่นกระบอก ๔. ลิเกทรงเครื่อง ๕. ร�ำเพลงช้า-เพลงเร็ว ๖. แม่ท่ายักษ์-ลิง พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. กระจับปี่ ๒. เปี๊ยะ ๓. ขับเสภา ๔. ละครนอก ๕. การแสดงในพระราชพิธี ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลีซู ๒. ซอสามสาย ๓. เพลงหน้าพาทย์ ๔. กันตรึม ๕. เจรียง ๖. กาหลอ ๗. ก้านกกิงกะหร่า ๘. ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ๙. ร�ำฝรั่งคู่ ๑๐. ละครดึกด�ำบรรพ์ ๑๑. โนราโรงครู ๑๒. มะโย่ง ๑๓. รองเง็ง

268 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ศิลปะการแสดง จ�ำนวน ๕๑ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. วงปี่จุม ๒. วงมังคละ ๓. วงมโหรี ๔. แคน ๕. พิณ ๖. กรือโต๊ะ ๗. ล�ำตัด ๘. เพลงอีแซว ๙. สวดสรภัญญ์ ๑๐. เพลงบอก ๑๑. เพลงเรือแหลมโพธิ์ จ.สงขลา ๑๒. ฟ้อนเล็บ ๑๓. ร�ำประเลง ๑๔. ฟ้อนกลองตุ้ม ๑๕. ลิเกป่า

งานช่างฝีมือดั้งเดิม จ�ำนวน ๔๒ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑. ซิ่นตีนจก ๒. ผ้าแพรวา ๓. ผ้าทอนาหมื่นศรี ๔. ก่องข้าวดอก ๕. เครื่องจักสานย่านลิเภา ๖. เครื่องปั้นดินเผาเวียงกาหลง ๗. มีดอรัญญิก ๘. กระดิ่งทองเหลือง ๙. กริช ๑๐. เกวียนสลักลาย ๑๑. รูปหนังตะลุง ๑๒. เครื่องทองโบราณ สกุลช่างเพชรบุรี ๑๓. ปราสาทศพสกุลช่างล�ำปาง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ผ้ายก ๒. ผ้ามัดหมี่ ๓. การปั้นหล่อพระพุทธรูป

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 269


งานช่างฝีมือดั้งเดิม จ�ำนวน ๔๒ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. ผ้าย้อมคราม ๒. เครื่องจักสานไม้ไผ่ ๓. เรือนไทยพื้นบ้านดั้งเดิม ๔. เรือกอและ ๕. งานช่างแทงหยวก ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. ผ้าทอไทครั่ง ๒. ผ้าทอไทลื้อ ๓. ผ้าทอกะเหรี่ยง ๔. ผ้าทอไทยวน ๕. ผ้าทอผู้ไทย ๖. เครื่องมุกไทย ๗. เครื่องรัก ๘. ขันลงหินบ้านบุ ๙. บาตรบ้านบาตร ๑๐. สัตตภัณฑ์ล้านนา ๑๑. โคมล้านนา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. ผ้าทอไทพวน ๒. ผ้าขาวม้า ๓. ตะกร้อหวาย ๔. ขัวแตะ ๕. เครื่องทองเหลือง บ้านปะอาว ๖. ฆ้องบ้านทรายมูล ๗. ประเกือมสุรินทร์ ๘. งานคร�่ำ ๙. หัวโขน ๑๐. บายศรี

270 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


วรรณกรรมพื้นบ้าน จ�ำนวน ๔๓ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. นิทานศรีธนญชัย ๒. นิทานสังข์ทอง ๓. นิทานขุนช้างขุนแผน ๔. นิทานดาวลูกไก่ ๕. ต�ำนานพระแก้วมรกต ๖. ต�ำนานพระเจ้าห้าพระองค์ ๗. ต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก ๘. ต�ำนานพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ๙. ต�ำนานพระพุทธสิหิงค์ ๑๐. ต�ำนานพญาคันคาก ๑๑. บทท�ำขวัญข้าว ๑๒. บทท�ำขวัญนาค ๑๓. บทท�ำขวัญควาย ๑๔. ต�ำราแมวไทย ๑๕. ต�ำราเลขยันต์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. นิทานปลาบู่ทอง ๒. ต�ำนานจามเทวี ๓. ต�ำนานผาแดงนางไอ่ ๔. ต�ำนานแม่นากพระโขนง ๕. ต�ำนานนางเลือดขาว

ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. นิทานวรวงศ์ ๒. นิทานตาม่องล่าย ๓. นิทานพระสุธนมโนห์รา ภาคใต้ ๔. นิทานวันคาร ๕. ต�ำนานพระร่วง ๖. ต�ำนานเจ้าหลวงค�ำแดง ๗. ต�ำนานพระธาตุดอยตุง ๘. ต�ำนานเจ้าแม่สองนาง ๙. ต�ำนานอุรังคธาตุ ๑๐. ต�ำนานหลวงปู่ทวด ๑๑. ต�ำนานนางโภควดี ๑๒. ต�ำนานสร้างโลกภาคใต้ ๑๓. ปักขะทืนล้านนา ๑๔. ต�ำราศาสตรา ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. นิทานยายกะตา ๒. นิทานปัญญาสชาดก ๓. ต�ำนานก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ ๔. ต�ำนานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว ๕. ต�ำนานกบกินเดือน ๖. ต�ำนานเจ้าแม่เขาสามมุก ๗. บทเวนทาน ๘. ผญาอีสาน ๙. ต�ำราพรหมชาติ พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 271


กีฬาภูมิปัญญาไทย จ�ำนวน ๒๐ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. มวยไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. ว่าวไทย ๒. ตะกร้อ ๓. แย้ลงรู ๔. ตี่จับ ๕. กระบี่กระบอง

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. กาฟักไข่ ๒. หนอนซ้อน ๓. มวยตับจาก ๔. มวยทะเล ๕. ซีละ ๖. มวยโบราณสกลนคร

ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. ไม้หึ่ม ๒. หมากเก็บ ๓. เสือกินวัว ๔. หมากรุกไทย ๕. ตะกร้อลอดห่วง ๖. วิ่งวัว ๗. วิ่งควาย ๘. เจิง

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

272 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล จ�ำนวน ๒๒ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. การแสดงความเคารพแบบไทย ๒. สงกรานต์ ๓. ลอยกระทง ๔. พิธีไหว้ครู ๕. ประเพณีท�ำขวัญข้าว ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. เทศน์มหาชาติ ๒. ประเพณีรับบัว ๓. การผูกเกลอ ๔. การผูกเสี่ยว ๕. พิธีท�ำบุญต่ออายุ ๖. สารทเดือนสิบ ๗. การแต่งกายบาบ๋า เพอนารากัน

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. ประเพณีตักบาตรเทโว ๒. ประเพณีบุญบั้งไฟ ๓. ประเพณีการละเล่นผีตาโขน ในงานบุญหลวง จังหวัดเลย ๔. ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ๕. พิธีโกนจุก ๖. พิธีบายศรีสู่ขวัญ ๗. พิธีท�ำขวัญนาค ๘. ประเพณีลงเล ๙. ประเพณีกองข้าวศรีราชา จังหวัดชลบุรี ๑๐. ประเพณีแห่พญายม บางพระ จ. ชลบุรี

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 273


ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล จ�ำนวน ๒๕ รายการ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. น�้ำปลาไทย ๒. ต้มย�ำกุ้ง ๓. ผัดไทย ๔. ฤๅษีดัดตน ๕. การนวดไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. ส�ำรับอาหารไทย ๒. แกงเผ็ด ๓. แกงเขียวหวาน ๔. ส้มต�ำ ๕. น�้ำพริก ๖. ปลาร้า ๗. ลูกประคบ ๘. ยาหอม ๙. หมอพื้นบ้านรักษากระดูกหัก ๑๐. คชศาสตร์ชาวกูย ๑๑. ดอนปู่ตา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. อาหารบาบ๋า ๒. กระยาสารท ๓. ขนมเบื้อง ๔. ข้าวย�ำ ๕. ข้าวหลาม ๖. ยาหม่อง ๗. คึฉื่ยของกะเหรี่ยง ๘. ข้าวหอมมะลิ ๙. ปลากัดไทย

274 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


ภาษา

จ�ำนวน ๔๓ รายการ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. อักษรธรรมล้านนา ๒. อักษรไทยน้อย ๓. อักษรธรรมอีสาน ๔. ภาษาชอง ๕. ภาษาญัฮกุร ๖. ภาษากฺ๋อง ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. ภาษาเลอเวือะ ๒. ภาษาโซ่ (ทะวึง) ๓. ภาษาตากใบ (เจ๊ะเห) ๔. ภาษาสะกอม ๕. ภาษาอูรักลาโวยจ ๖. ภาษามานิ (ซาไก) ๗. ภาษาไทยโคราช/ไทยเบิ้ง ๘. ภาษาพิเทน ๙. ภาษาเขมรถิ่นไทย

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 275


คณะกรรมการอ�ำนวยการ ขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ที่ปรึกษา

ศาสตราจารย์พิเศษประคอง นิมมานเหมินท์ นางสาวิตรี สุวรรณสถิตย์ หม่อมราชวงศ์รุจยา อาภากร

คณะกรรมการ

นายชาย นครชัย อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ประธาน นายด�ำรงค์ ทองสม รองอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รองประธาน นายพะนอม แก้วก�ำเนิด นางมยุรี ถาวรพัฒน์ ศาสตราจารย์วิบูลย์ ลี้สุวรรณ ผู้แทนส�ำนักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ศาสตราจารย์ศิราพร ณ ถลาง กระทรวงวัฒนธรรม ศาสตราจารย์จรินทร์ ธานีรัตน์ ผู้แทนกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ศาสตราจารย์สุวิไล เปรมศรีรัตน์ ผู้แทนกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม รองศาสตราจารย์ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ ผู้แทนกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา ผู้แทนกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต และแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข รองศาสตราจารย์มานพ วิสุทธิแพทย์ ผู้แทนการกีฬาแห่งประเทศไทย รองศาสตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ นางกุลยา เรือนทองดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงศ์พันธ์ อนันต์วรณิชย์    ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม พันเอก (พิเศษ) อ�ำนาจ พุกศรีสุข นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท นายวัฒนะ บุญจับ    ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา เลขานุการ นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม นายธนิต ชังถาวร นายสิทธิศักดิ์ จรรยาวุฒิ นายวรพล ไม้สน พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

276 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สาขาศิลปะการแสดง

รองศาสตราจารย์ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ ประธาน นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา รองประธาน รองศาสตราจารย์มานพ วิสุทธิแพทย์ รองศาสตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ รองศาสตราจารย์กาญจนา อินทรสุนานนท์ รองศาสตราจารย์ปิยพันธ์ แสนทวีสุข รองศาสตราจารย์พรรัตน์ ด�ำรุง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สนิท บุญฤทธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์ นายประเมษฐ์ บุณยะชัย นายอานันท์ นาคคง นายสิทธิศักดิ์ จรรยาวุฒิ นายชุมเดช เดชภิมล นายสุรชัย ไวยวรรณจิตร นายพิพัฒน์พงศ์ มาศิริ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการสังคีต กรมศิลปากร นางกุลยา เรือนทองดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา

สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม

ศาสตราจารย์วิบูลย์ ลี้สุวรรณ ประธาน นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา รองประธาน รองศาสตราจารย์สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ผดุง พรมมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงศ์พันธ์ อนันต์วรณิชย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิชัย สมานชาติ นายสมชาย นิลอาธิ นางณัฏฐภัทร จันทวิช นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม นายวาที ทรัพย์สิน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร นางกุลยา เรือนทองดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 277


สาขาวรรณกรรมพื้นบ้าน

ศาสตราจารย์ศิราพร ณ ถลาง ประธาน นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา รองประธาน รองศาสตราจารย์ประพนธ์ เรืองณรงค์ รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา รองศาสตราจารย์รังสรรค์ จันต๊ะ รองศาตราจารย์กัญญรัตน์ เวชชศาสตร์ รองศาตราจารย์ภูมิจิต เรืองเดช รองศาสตราจารย์วิมล ด�ำศรี รองศาสตราจารย์ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนกูล รองศาตราจารย์ปฐม หงศ์สุวรรณ ผู้ช่วยศาตราจารย์เสาวณิต วิงวอน ผู้ช่วยศาตราจารย์อภิลักษณ์ เกษมผลกูล นางสุมามาลย์ พงษ์ไพบูลย์ นายวัฒนะ บุญจับ นางกุลยา เรือนทองดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

สาขากีฬาภูมิปัญญาไทย

ศาสตราจารย์จรินทร์ ธานีรัตน์ ประธาน นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา รองประธาน รองศาสตราจารย์ชัชชัย โกมารทัต นายสมโภชน์ ฉายะเกษตริน นายวีรพจน์ ไพรัช นายประดิษฐ์ รักษาพราหมณ์ นายชิตประชา ทองศิริ นายสุจริต บัวพิมพ์ พ.อ.(พิเศษ) อ�ำนาจ พุกศรีสุข นางสาวเย็นฤดี วงศ์พุฒ นายสุเมต สุวรรณพรหม ผู้แทนกรมพลศึกษา ผู้แทนส�ำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ผู้แทนสมาคมกีฬาไทยแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ นางกุลยา เรือนทองดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา

278 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗


สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล

นายพะนอม แก้วก�ำเนิด ประธาน นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา รองประธาน รองศาสตราจารย์สืบพงศ์ ธรรมชาติ รองศาสตราจารย์อัจฉรา ภาณุรัตน์ รองศาสตราจารย์สมมาตร์ ผลเกิด รองศาสตราจารย์วรลัญจก์ บุญสุรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สนิท บุญฤทธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เรณู อรรฐาเมศร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชื่น ศรีสวัสดิ์ นายชูพินิจ เกษมณี นางสายไหม จบกลศึก นางสาวนิพัทธ์พร เพ็งแก้ว นายไพฑูรย์ ปานประชา พ.อ.(พิเศษ) อ�ำนาจ พุกศรีสุข ผู้แทนจากกรมการศาสนา นางกุลยา เรือนทองดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา

สาขาความรู้แนวแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ ธรรมชาติและจักรวาล

รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา ประธาน นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา รองประธาน รองศาสตราจารย์พัชรินทร์ สิรสุนทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีสมร คงพันธุ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย นิลอาธิ นายชัชวาลย์ ทองดีเลิศ นายสง่า ดามาพงษ์ นายภุชชงค์ จันทวิช นางอุษา กลิ่นหอม นางสาวสมศรี ชัยวณิชยา นางกัลยาณี พรหมสุภา นายธนิต ชังถาวร นายภาณุพงศ์ อุดมศิลป์ ผู้แทนจากกรมการศาสนา ผูแ้ ทนกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ผู้แทนสมาคมแพทย์แผนไทยแห่งประเทศไทย ผู้แทนสมาคมโหรแห่งประเทศไทย นางกุลยา เรือนทองดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ 279


สาขาภาษา

ศาสตราจารย์สุวิไล เปรมศรีรัตน์ ประธาน นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา รองประธาน นายสถาพร ศรีสัจจัง รองศาสตราจารย์ประพนธ์ เรืองณรงค์ รองศาสตราจารย์ชลธิชา บ�ำรุงรักษ์ รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ รองศาสตราจารย์สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ รองศาสตราจารย์สุพัตรา จิรนันทนาภรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรวรรณ บุญยฤทธิ์

ที่ปรึกษาโครงการ

นายชาย นครชัย นายด�ำรงค์ ทองสม นางสาวทัศชล เทพก�ำปนาท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัญญัติ สาลี นายประพนธ์ พลอยพุ่ม นางศิริวรรณ ฉายะเกษตริน นางมยุรี ถาวรพัฒน์ นางสาวอุมาภรณ์ สังขมาน นายแวยูโซะ สามะอาลี นางกุลยา เรือนทองดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านภูมิปัญญา

คณะผู้จัดท�ำ อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รองอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ผู้อ�ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา

คณะท�ำงาน

ผู้รับผิดชอบโครงการ

นางสาวกิตติพร ใจบุญ นักวิชาการวัฒนธรรมช�ำนาญการพิเศษ นางสุกัญญา เย็นสุข นักวิชาการวัฒนธรรมช�ำนาญการ นางสาวหทัยรัตน์ จิวจินดา นักวิชาการวัฒนธรรมช�ำนาญการ นางสาวเบ็ญจรัศม์ มาประณีต นักวิชาการวัฒนธรรมช�ำนาญการ นางสาวสุมาลี เจียมจังหรีด นักวิชาการวัฒนธรรมช�ำนาญการ นางสาวปิยะวรรณ ศิลาเลิศ นักศึกษาฝึกงานจาก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

กลุ่มบริหารจัดการมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรม สถาบันวัฒนธรรมศึกษา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม โทรศัพท์ ๐๒ ๒๔๗ ๐๐๑๓ ต่อ ๑๓๑๒-๔ โทรสาร ๐๒ ๖๔๕ ๓๐๖๑ http://ich.culture.go.th

กลุ่มศิลปกรรม สถาบันวัฒนธรรมศึกษา

 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

ออกแบบ

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน

280 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.