SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 109 - จังหวัดอุทัยธานี

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดอุทัยธานี ประจ�ำปี 2563

UTHAI THANI จังหวัดอุทัยธานี

EXCLUSIVE

“ผดุงไว้ซึ่งเมตตาธรรมค�้ำจุนโลก” นายวีระเกียรติ สานุทัศน์ ผู้อ�ำนวยการส� ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี

Vol.10 Issue 109/2020

www.issuu.com

.indd 3

วัดถ�้ำเขาวง อ.บ้านไร่

29/7/2563 14:59:34

“เป สงข ภาคใต แว



_Artwork_1P.indd 3

29/7/2563 16:02:55


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดถ�้ำเขาวง THAM KHAO WONG TEMPLE ธรรมสถานอันสงบงาม ร่มรื่น ร่มเย็น DHARMA PLACE, PEACEFUL, BEAUTIFUL, SHADY พระบุญรุ่ง ทีปโก เจ้าอาวาสวัดถ้ำ�เขาวง PHRA BUN RUNG THIPKO IS THE ABBOT. วัดถ�้ำเขาวง ตั้งอยู่ที่บ้านหินตุ้ม ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี พระบุญรุ่ง ทีปโก เจ้าอาวาส ได้เรียบเรียงประวัติวัดถ�้ำเขาวงไว้ดังนี้...แต่เดิม ชื่อ ธรรมสถานถ�้ำเขาวง เนื่องจากสภาพภูมิประเทศมีภูเขาล้อมรอบ ด้านบนมีถ�้ำ หลายแห่ง ในหน้าฝนจะมีน�้ำตกไหลให้ความร่มเย็นชุ่มชื่น พระภิกษุที่มาอยู่อาศัย ก็มีความตั้งใจที่จะพัฒนาสถานที่ให้เป็นที่ปฏิบัติธรรม จึงได้ตั้งชื่อว่า ธรรมสถาน ถ�้ำเขาวง Phra Bun Rung Thipko (The abbot of the temple) have told us about the history of Tham Khao Wong Temple that original name is Tham Khao Wong Dharma place. Due to this temple surrounded by many mountains. There are many caves above. In the rainy season, there will be waterfalls flowing, refreshing. The monks who come to live here also have the intention to develop the place to be a Dharma practice. Therefore they named this temple as is Tham Khao Wong Dharma place. 4

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 4

29/7/2563 15:51:06


ในอดีตที่ผ่านมา หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ เจ้าอาวาสวัดสังฆทาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ได้พาคณะพระภิกษุซึ่งเป็นศิษยานุศิษย์ เดินธุดงค์ผ่านมาพบเห็นสถานที่นี้ เป็นสถานที่ที่มีความวิเวก สงบ ร่มเย็น ทั้งมีถ�้ำให้ได้พอพักอาศัย จึงพักอยู่ 2-3 วัน แล้วก็ออกเดิน ทางต่อไป In the past, Pastor Sanong Kotapunyo, Abbot of Sangkathan Temple, Muang Nonthaburi District, Nonthaburi Province. He brought a group of monks who were walk and hike to see this place. This place is a very peaceful, with enough caves to stay for monks, they will stay 2-3 days and then continue traveling. ต่อมาภายหลังหลวงพ่อบุญส่ง ปิยธมโม ซึ่งเป็นลูกศิษย์หลวงพ่อ สนอง กตปุญโญ ได้พาหมู่คณะพระภิกษุเดินทางผ่านมาทางนี้อีก หลายหน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2528 โดยประมาณท่านเห็นว่าสถานที่ นี้เป็นสถานที่ที่ดีไม่ห่างไกลหมู่บ้านจนเกินไป และเป็นสถานที่ที่วิเวก เหมาะเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ประจวบกับในช่วงนั้นไม่มีพระอยู่ อาศัย จึงขออนุญาตหลวงพ่อสนอง กตปุญโญ ซึ่งเป็นครูบาอาจารย์ เพื่อมาพัฒนาสถานที่แห่งนี้ซึ่งท่านก็อนุญาตด้วยดี Later, after Pastor Boonsong Piyathamma, a pupil of Pastor Sanong Kotapunyo, has brought a group of monks traveled through this route many times until about 1985, he saw that this place. It was a good place, not too far from the village. And is a place that is suitable for meditation. When the temple does not have any monks, they will use this chance to develop this place.

หลังจากนั้นท่านก็ได้พาหมู่คณะพระภิกษุมาอยู่จ�ำพรรษาหลาย รูปด้วยกัน ในพรรษาแรก ๆ ความเป็นอยู่ของพระก็เป็นไปด้วยความ อัตคัดพอสมควร กุฏิที่พักก็เป็นถ�้ำเสียส่วนใหญ่ มีกระต๊อบมุงหญ้าคา ทีช่ าวบ้านมาช่วยสร้างถวาย 2-3 หลัง เนือ่ งจากว่าเป็นสถานทีท่ หี่ า่ งไกล ความเจริญ มีหมู่บ้านไม่กี่หลังคาเรือน ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชาวขมุ ภาษาที่ใช้พูดเป็นภาษาข่า ในสมัยนั้นไข้มาลาเรียที่นี่ชุมมากเพราะ ว่ายังมีป่าที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ไม่มีถนนมีแต่ทางเกวียน ใครที่คิดว่า จะเดินทางไปซื้อของที่ตลาดจะต้องเดินกันเป็นวันเลยทีเดียว He brought a group of monks came here and stayed in the rainy season. In the beginning of the rainy season these monks was a little bit uncomfortable with this place. The cloister is mostly a cave with a thatched cottage. The villagers came to help build 2-3 houses, because is a place far away from prosperity. There are a few villages and houses. Most villagers are Khmu people. The language spoken is in ga. In those days, there was a malaria in the community because there had many forests. No road, if anyone want to buy things at the market must walk for a day.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 5

5

17/7/2563 15:44:24


ประมาณปี พ.ศ. 2530 หลวงพ่อท่านคิดว่าการจ�ำพรรษาอยูด่ า้ นบน เป็นการล�ำบากมากเพราะว่าเวลาที่มีญาติโยมจะท�ำบุญฟังเทศน์ ฟังธรรมก็ต้องปีนบันไดลิงขึ้นไป เวลาพระจะไปบิณฑบาตก็ต้อง ปีนลงมา จึงคิดย้ายลงมาตั้งส�ำนักอยู่ข้างล่าง ประจวบกับมีนายทง คนหาร หรือโยมถุง มีจิตศรัทธาถวายที่ให้จำ� นวนหนึ่ง นับตั้งแต่นั้นมา ท่านจึงลงมาเป็นผู้น�ำบุญ พัฒนาสร้างกุฏิศาลาที่พักให้มีความสะดวก สบายขึ้น ในการสร้างกุฏิศาลานั้น ท่านจะเลือกเอาตรงบริเวณที่เป็น เนินหินบ้าง ตรงที่ไม่มีต้นไม้บ้าง เพราะว่าท่านชอบธรรมชาติและ เป็นพระอนุรักษ์รูปหนึ่ง ดังจะเห็นว่าครั้งหนึ่ง(ประมาณปี พ.ศ. 2533) ท่านร่วมกับชาวบ้านท�ำการบวชต้นไม้จ�ำนวนหลายร้อยต้น โดยการจัดหาผ้าเหลืองผ้าจีวรน�ำไปผูกต้นไม้ยืนต้น เป็นสัญลักษณ์ ว่าต้นนี้บวชแล้วห้ามใครตัดโค่น เป็นต้น ท่านได้ท�ำการขุดสระเพื่อ ส�ำรองน�้ำใช้หน้าแล้ง ปลูกต้นไม้เพื่อให้ความร่มเย็น(เดิมเป็นไร่นา) Around 1987, Pastor thought that stay in the temple amount the rainy season is very difficult because when people come and want to make merit or listen to the dharma, they have to climb the stairs. When monks go on alms they must climb down. Therefore he thought to move down to establish an office below. At that time had someone gave a piece of land, then he managed to the development a cloister which is more convenience of accommodation. In the building of the pavilion he will choose the place in a rocky area and where there are trees. Because he likes nature and is a conservation Buddha. He and the villagers ordained hundreds of trees. By procuring yellow robes to tie the tree. To show that this tree is ordained and forbidden to cut down, etc. He has dug a pond to reserve water, use the dry season. Planting trees for comfort.

6

4

ประมาณปี พ.ศ. 2536-2537 ท่านเริ่มท�ำการปลูกสร้างศาลา ทรงไทยเอนกประสงค์ขึ้น โดยด�ำริว่าจะสร้างไว้ให้ลูกหลานได้ดู ได้รู้ว่า ครั้งหนึ่งพระพุทธศาสนาได้มาเจริญอยู่ ณ สถานที่นี้ และ เป็นการเชิดชูสถาปัตยกรรมไทย เพราะนับวันบ้านทรงไทยจะหาดู ได้ ย ากขึ้ น ทุ ก วั น ท่ า นจึ ง ชั ก ชวนญาติ โ ยมหาทุ น ทรั พ ย์ ม าท� ำ การ ก่อสร้าง อาศัยหมู่พระภิกษุที่ร่วมกันเสียสละน�ำปัจจัยต่างๆ ที่ได้จาก การไปกิจนิมนต์บ้าง กฐินผ้าป่าบ้างมารวมกันและชาวบ้านก็มา ช่วยกันก่อสร้างพัฒนาโดยมีหลวงพ่อบุญส่งท่านท�ำการควบคุมการ ก่อสร้างด้วยตนเอง Around the year 1993-1994, he began to build a multi-purpose Thai pavilion. With the idea that it will be built for the children to see and know that Once Buddhism has been here. And is a glorification of Thai architecture because Thai style houses are harder to find in present. He then persuaded the villagers to find funds for construction. The group of monks who sacrificed some money from the activities, and the villagers come to help each other to build and develop, with Pastor Bunsong controlling the construction by himself.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 6

17/7/2563 15:44:29


มีคนเคยถามท่านว่า หลวงพ่อจะก่อสร้างไปท�ำไมใหญ่โต ท่าน บอกว่า ภายหน้าพระภิกษุสามเณร-ญาติโยมมาอยู่ประพฤติปฏิบัติ จะได้สะดวกสบาย ไม่ต้องกังวลกับเสนาสนะ ไม่ต้องมาพะวงกับ การก่อสร้าง ท่านจะได้ประพฤติปฏิบัติกันอย่างเต็มที่ เป็นเสนาสนะ ที่ร่มรื่น ทั้งเรายังได้มีโอกาสสร้างบารมีด้วย ต่อมาภายหลังภาวะ เศรษฐกิจไม่ดี การพัฒนาจึงล่าช้าลงกับทั้งวัสดุสิ่งของมีราคาเพิ่มขึ้น ท่านจึงคิดที่จะน�ำวัตถุดิบจากธรรมชาติที่มีอยู่น�ำมาประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์ เช่น ตอไม้รากไม้ ไม้แกนร่อนที่ถูกไฟไหม้ก็เอามา ประกอบขึ้นเป็นสะพาน หรือตอไม้ใหญ่หาไม่ได้แล้ว ท่านก็ใช้ปูนปั้น ขึ้นเป็นรูปตอไม้ เป็นไม้แผ่น เป็นกุฏิ เป็นห้องน�้ำ เป็นถ�้ำ แม้แต่การ จัดสวนดอกไม้ท่านบอกว่าสวนก็ดี สระน�้ำก็ดี มันจะช่วยให้ศาลาทรง ไทยสวยเด่นขึ้น ถ้าไม่มีสองอย่างนี้มันจะดูแห้งแล้ง ไม่สดชื่น ไม่น่า รื่นรมย์อะไร Someone once asked him why the construction was so big. He said that in the future, monks, novices and villagers would be comfortable. No need to worry about construction. We also have the opportunity to create dignity. Later, after the bad economic conditions, so he thought to use natural materials that were used to be useful, such as trees, roots, sifted wood, firewood, then assembled into a bridge. And he also built this temple to be shady as well.

ปัจจุบันวัดถ�้ำเขาวงเป็นสถานที่แห่งหนึ่งที่สร้างความภาคภูมิใจ ให้กับคนไทย ล้วนเกิดจากการเสียสละของหลวงพ่อสนอง กตปุญโญ, หลวงพ่อบุญส่ง ปิยธมโม และคณะพระภิกษุสามเณร ตลอดจน ญาติโยมที่ให้การอุปัฏฐากอุปถัมภ์ทุกคน ที่ได้ร่วมกันสร้างไว้ด้วย ก�ำลังกายก�ำลังใจ ท�ำงานเพื่องานด้วยความวิริยะอุตสาหะ ด้วยความ เสี ย สละเป็ น ที่ ยิ่ ง สถานที่ นี้ จ ะยั ง คงด� ำ รงอยู ่ เป็ น ประโยชน์ แ ก่ พระภิกษุสามเณร-นักบวช นักปฏิบัติ ชาวบ้านญาติโยม สืบไป In the present, Tham Khao Wong Temple is a place that creates pride for Thai people Were all caused by the sacrifice of Pastor San Kampot Puno, Pastor Bunsong Piyathamo and a group of monks. They built this temple with diligence and encouragement. This place will still exist and to be useful for monks - priests, villagers, practitioners, and other people. UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 7

7

17/7/2563 15:44:37


_Artwork_2P_New.indd 8

3/8/2563 9:00:34


_Artwork_2P_New.indd 9

3/8/2563 9:00:41


_Artwork_2P.indd 10

3/8/2563 9:14:18


_Artwork_2P.indd 11

3/8/2563 9:14:38


_Artwork_2P.indd 12

3/8/2563 9:23:20


_Artwork_2P.indd 13

3/8/2563 9:23:35


_Artwork_1P_New.indd 14

29/7/2563 16:06:40


SBL

EDITOR’S

บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 109/2020

บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

เมือ่ เอ่ยนามถึง “จังหวัดอุทยั ธานี” หลายท่านคงนึกภาพบ้านเมืองทีย่ อ้ นกลับไปหลายสิบปี ผูค้ นมีวถิ ชี วี ติ สงบ สุขและเรียบง่าย ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะว่า ชาวอุทยั มีความภาคภูมใิ จในประวัตคิ วามเป็นมาทีม่ กี ารตัง้ บ้านแปงเมืองอูไ่ ทย มาแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ชาวอุทัยในยุคปัจจุบันจึงร่วมแรงร่วมใจกันอนุรักษ์อาคารบ้านเรือน และสืบทอด วิถแี ห่งความเป็นเมือง “อูไ่ ทย” ไว้อย่างเรียบง่าย ทว่างดงาม ไม่เพียงเท่านัน้ จังหวัดอุทยั ธานียงั มีพระเถระผูม้ ชี อื่ เสียง เป็นทีเ่ คารพศรัทธาของคนไทยทัง้ ประเทศ นัน่ ก็คอื พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤๅษีลงิ ด�ำ) พระเถระผูเ้ ปีย่ มล้นด้วยเมตตาบารมีธรรม และสร้างคุณปู การมหาศาลทัง้ แก่สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ แม้ในปัจจุบันวัดวาอารามตลอดจนพระภิกษุสงฆ์ ยังคงเป็นที่พึ่งให้กับประชาชนในยามตกทุกข์ได้ยาก ดังเช่น สถานการณ์โควิดที่เราทุกคนล้วนเผชิญอยู่ขณะนี้ ในนามของนิตยสาร SBL บันทึกวัดทัว่ ไทย ผมขอส่งก�ำลังใจให้ประชาชนคนไทยทุกท่าน สามารถผ่านพ้นวิกฤต ในครั้งนี้ได้อย่างปลอดภัย และมีพลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคต่างๆ นานาได้อย่างเข้มแข็งครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ ปัจจุบนั นับเป็นข่าวดีทที่ างรัฐบาลไทย ได้มมี าตรการผ่อนคลายความเข้มงวดในการด�ำเนินชีวติ และเริม่ รณรงค์ ให้คนไทยออกเดินทางท่องเที่ยวและพักผ่อนยังสถานที่ต่างๆ ทั้งการสนับสนุนค่าใช้จ่ายด้านที่พักหรือการจับจ่าย ใช้สอยต่างๆ ในช่วงหนึง่ เดือนทีผ่ า่ นมา ผมและทีมงานได้ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ เก็บข้อมูลเกีย่ วกับสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงศาสนา เพือ่ น�ำเสนอ ถึงความงดงามทั้งของสถานที่ ตลอดจนความงดงามของพระภิกษุสงฆ์ในจังหวัดอุทัยธานี ที่มีบทบาทในการท�ำนุ บ�ำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป โดยไม่ลืมที่จะให้การช่วยเหลือแก่ญาติโยมผู้ตกทุกข์ได้ยาก ซึ่งในยาม ปกติท่านเหล่านี้ได้ให้การอุปถัมภ์ค�้ำจุนพระศาสนามาโดยตลอด ผมจึงอยากจะเชิญชวนท่านผู้อ่านให้มาเที่ยว ที่จังหวัดอุทัยธานีกันมากๆ เพื่อช่วยกันขับเคลื่อนเศรษฐกิจในจังหวัดอุทัยธานี จังหวัดเล็กๆ ที่งดงามตามวิถีพุทธ วิถีไทยครับ ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด ท�ำให้องค์กรภาคเอกชนต่างได้รับผลกระทบ มีบางแห่งต้องล้มหายตาย จากไป บางแห่งต้องปรับตัวรับมือกับ New Normal บริษทั สมาร์ท บิซสิเนส ไลน์ เองก็ได้รบั ผลกระทบพอสมควรครับ พวกเราสามคนพี่น้องประชุมโต๊ะกลมกันหลายครั้งมาก ว่าเราจะไปต่อหรือไม่ แต่ทุกครั้ง เรามักจะสรุปตรงกันว่า เราจะประคับประคองบริษทั ทีค่ ณ ุ พ่อศุภกิจท่านได้รเิ ริม่ ไว้ให้อย่างดีทสี่ ดุ อีกทัง้ น้องๆ เพือ่ นๆ และพีๆ่ ทีมงานของเรา ก็ยืนหยัดที่จะก้าวไปกับเรา เพื่อที่จะเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ให้กับองค์การและบุคคลต่างๆ ที่อาจถูกมองข้าม ให้ได้ มีโอกาสน�ำเสนอผลงานที่ได้สร้างสรรค์ไว้ ให้เป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชน สมดังเจตนารมณ์ของคุณพ่อครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล

บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน :ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

SBL MAGAZINE

Editor's talk.indd 15

29/7/2563 14:24:51


109

ISSUE

สารบัญ

CONTENTS 4 18

วัดถ�้ำเขาวง

ธรรมสถานอันสงบงาม ร่มรื่น ร่มเย็น

UTHAI THANI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี

129 Editor's talk.indd 16

26 30 34

วัดเนินตูม

สร้างเส้นทางบุญผู้มีจิตศรัทธา

วัดขุมทรัพย์

วัดเก่าแก่อายุ 100ปี

วัดหนองโพธิ์

วัดเก่าแก่อายุกว่า 150ปี

29/7/2563 14:24:59


วัดหนองเต่า วัดวังปลากด วัดจักษาภัทราราม วัดอุโปสถาราม (วัดโบสถ์) วัดเนินเหล็ก วัดหนองหญ้านาง วัดหนองพังค่า วัดเขาพะแวง วัดคูเมือง(หนองสะแก) วัดห้วยรอบ วัดมโนราช (ทุ่งปาจาน) วัดดอนกลอย วัดดงขวาง วัดสุทธาวาส วัดหนองขุนชาติ วัดแจ้ง วัดป่าช้า วัดหัวเมือง วัดถ�้ำรัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) วัดเขาน้อย วัดป่าเลา

38 40 42 44 46 48 50 51 52 54 56 58 60 61 64 70 74 78 82 88 92

UTHAI THANI

165

Editor's talk.indd 17

100 104 106 112 114 116 122 126 127 128 130 136 140 142 144 146 150 156 160 166 172 174 176 180

วัดใหญ่ วัดบ่อทับใต้ วัดตลุกดู่ วัดหนองกระดี่นอก วัดหนองสระ วัดหนองจิกยาว วัดเขาหินเทิน วัดเขาดาวเรือง วัดทุ่งสงบ วัดบ่อชุมแสง วัดเขาถ�้ำประทุน วัดวังพง (เขาช่องลม) วัดหนองหิน วัดป่าสักทอง วัดภูจวง วัดหนองบ่มกล้วย วัดลานสัก วัดเขาพระยาพายเรือ วัดเขาฆ้องชัย วัดห้วยโศก วัดปางไม้ ไผ่ วัดโกรกลึกเทพสุวรรณราษฎร์บ�ำรุง วัดบ่อน�้ำเย็น วัดหนองยาง

เมืองอุทยั ธานีมหี ลักฐานทางด้านประวัตศิ าสตร์ ของกรมศิลปากรยืนยันไว้ว่า เป็นที่อยู่อาศัยของ มนุษย์กอ่ นประวัตศิ าสตร์ เมือ่ ประมาณ 3,000 ปี มา แล้ว โดยพบหลักฐานยืนยันในหลายพื้นที่ เช่น โครง กระดูก เครือ่ งมือหินกะเทาะจากหินกรวด ภาพเขียน สมั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ บ นหน้ า ผา (เขาปลาร้ า ) เป็นต้น

เมืองพระชนกจักรี ต� ำ นานเก่ า เล่ า ว่ า ในสมั ย กรุ ง สุ โขทั ย เจริ ญ รุ่งเรืองนั้น ท้าวมหาพรหมได้เข้ามาสร้างเมืองที่บ้าน อุทยั เก่า คือ อ�ำเภอหนองฉางในปัจจุบนั นี้ แล้วพาคน ไทยเข้ า มาอยู ่ ท ่ า มกลางหมู ่ บ ้ า นคนมอญและคน กะเหรี่ยง จึงเรียกว่า “เมืองอู่ไทย” ตามกลุ่มหรือที่ อยู่ของคนไทยซึ่งพากันตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างหนา แน่น มีพืชพันธุ์และอาหารอุดมสมบูรณ์กว่าแห่งอื่น ต่อมากระแสน�้ำเปลี่ยนทางเดินและเกิดกันดารน�้ำ เมืองอู่ไทยจึงถูกทิ้งร้าง จนในที่สุด พะตะเบิดได้เข้า มาปรับปรุงเมืองอูไ่ ทย โดยขุดทีเ่ ก็บกักน�ำ้ ไว้ใกล้เมือง และพะตะเบิดได้เป็นผู้ปกครองเมืองอู่ไทยเป็นคน แรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมืองอู่ไทยต่อมาได้เรียกกันเป็น “เมืองอุไทย” คาดว่าเพี้ยนไปตามส�ำเนียงชาวพื้นเมืองเดิม ได้มี ฐานะเป็นหัวเมืองด่านชัน้ นอก มีพระพลสงครามเป็น นายด่านแม่กลอง และพระอินทรเดชเป็นนายด่าน หนองหลวง (ปั จ จุ บั น แม่ ก ลองคื อ อ� ำ เภออุ ้ ม ผาง จังหวัดตาก และหนองหลวงคือต�ำบลหนองหลวง อ� ำ เภออุ ้ ม ผาง) คอยดู แ ลพม่ า ที่ จ ะยกทั พ มาตาม เส้นทางชายแดนด่านแม่ละเมา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148-2163) ได้โปรดเกล้าฯ ให้บญ ั ญัตอิ ำ� นาจการใช้ ตราประจ�ำต�ำแหน่ง มีบัญชาการตามหัวเมืองนั้น ได้ ระบุในกฎหมายเก่าลักษณะพระธรรมนูญว่า “เมือง อุไทยธานี เป็นหัวเมืองขึ้นแก่มหาดไทย” เมืองอุไทยธานีเป็นเมืองที่อยู่บนที่ดอนและลึก เข้าไป ไม่มีแม่น�้ำสายใหญ่และไม่สามารถติดต่อทาง เรือได้ ดังนัน้ ชาวเมืองจึงต้องขนข้าวบรรทุกเกวียนมา ลงทีแ่ ม่นำ�้ จึงท�ำให้พอ่ ค้าพากันไปตัง้ ยุง้ ฉางรับซือ้ ข้าว ที่ ริ ม แม่ น�้ ำ จนเป็ น หมู ่ บ ้ า นใหญ่ เรี ย กว่ า หมู ่ บ ้ า น “สะแกกรัง” เนือ่ งจากเป็นพืน้ ทีม่ ปี า่ สะแกขึน้ เต็มริม น�้ำและมีต้นสะแกใหญ่อยู่กลางหมู่บ้าน บ้านสะแก กรัง ชาวจีนเรียกเพีย้ นเป็น “ซิเกีย๋ กัง้ ” เป็นตลาดซือ้ ข้าวที่มีพ่อค้าคนจีนนิยมไปตั้งบ้านเรือนและยุ้งฉาง ต่อมาในระยะหลังได้มเี จ้านายและขุนนางมาตัง้ บ้าน เรือนอยู่ เพราะความสะดวกในการกะเกณฑ์สิ่งของ ส่ ง เมื อ งหลวงซึ่ ง เป็ น จ� ำ พวกมู ล ค้ า งคาว ไม้ ซุ ง กระวาน และช้างป่า อีกทัง้ ยังมีชอ่ งทางในการค้าข้าว อีกด้วย

29/7/2563 14:25:05


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

“ผดุงไว้ซึ่งเมตตาธรรมค�้ำจุนโลก”

UTHAI THANI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นายวี ร ะเกี ย รติ สานุ ทัศ น์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี

SBL บันทึกประเทศไทย มีความภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้สนทนาอย่างเป็นกันเองกับท่านวีระเกียรติ สานุทัศน์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาจังหวัดอุทัยธานี ในช่วงภาวะที่ประเทศไทยและทั่วโลกประสบกับภาวะโรคระบาดโควิด -19 ที่เราพบว่า หนทางที่พระพุทธเจ้าได้วางไว้ใน หลักอริยมรรคมีองค์ 8 ประการ สามารถน�ำมาแก้ไขปัญหาโควิดให้ลดการแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว ด้วยหลักสัมมาทิฐิ ความเห็นชอบตรงกับ ในหลักการ เว้นระยะห่างทางสังคม (SOCIAL DISTANCING) จนสามารถต้านภัยโควิด -19 ได้อย่างประสบความส�ำเร็จเป็นที่น่าพอใจ ซึ่งทั่วโลก ต่างยกย่องประเทศไทยในการแก้ปัญหาโควิดได้อย่างชาญฉลาด โดยประกอบด้วยหลักการเมตตา กรุณา ต่อเพื่อนร่วมทุกข์ ด้วยการแบ่งปัน ตู้ปันสุข และเครื่องอุปโภค บริโภคให้กันและกันมาจนถึงทุกวันนี้

18

6

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

อนุสรณ์สถานท้ าวสุรนารี าโม) อ�ำเภอเมือง . .indd(ย่18

24/7/2563 14:18:11


EXC LU S IV E

ส�ำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี และคณะสงฆ์กว่า 2,000 รูป จากวัดกว่า 298 แห่ง ได้ร่วมแรงร่วมใจปิดทองหลังพระช่วยเหลือ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานีมาโดยตลอดจนสถานการณ์วิกฤติผ่านไปด้วยดี ดังที่ท่านวีระเกียรติ สานุทัศน์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี กล่าวว่า “เราท�ำหน้าที่ทุกอย่างเต็มก�ำลังความสามารถของพุทธบริษัท ที่พร้อมดูแลชาติ พระพุทธศาสนา พระมหากษัตริย์ และพระภิกษุสงฆ์ อันเป็นที่พึ่งของชาวไทยทั้งแผ่นดิน ให้ได้รับความสงบเย็นใจในทุกช่วงเวลา แม้ในวิกฤติโควิด-19 ระบาดที่ผ่านมา เราอยู่เคียงข้าง ช่วยเหลือประชาชนทุกวันอย่างเต็มก�ำลัง”

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 19

19

24/7/2563 14:18:15


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

ประวัติความเป็นมา จากการที่ รั ฐ บาลประกาศใช้ พ ระราช บั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ซึ่งประกาศในราชกิจ จานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ส่งผลให้เกิดส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2454 เป็นต้นมา โดยมีฐานะเป็นหน่วยงานระดับกรม ขึ้นตรง ต่อนายกรัฐมนตรี และเพื่อให้สอดคล้องกับ บทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บ บริหารราชการแผ่นดิน พันต�ำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ออก กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เมื่ อ วั น ที่ 9

20

6

ตุลาคม พ.ศ.2545 ซึ่งคณะกรรมการก�ำหนด เป้ า หมายและนโยบายก� ำ ลั ง คนภาครั ฐ ส� ำ นั ก งาน ก.พ. มี ม ติ อ นุ มั ติ ใ ห้ ก� ำ หนด ต�ำแหน่งในส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จ�ำนวน 222 ต�ำแหน่ง โดยมี นายสุทธิวงศ์ ตันตยาพิศาลสุทธิ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ในขณะนัน้ ได้แต่งตัง้ ข้ า ราชการให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ตามที่ ก.พ. ก�ำหนด ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2545 ต่อมาเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2549 พันต�ำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น ได้ยกเลิกกฎกระทรวง แบ่งส่วน ราชการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

พ.ศ.2545 และได้ออกกฎกระทรวง แบ่งส่วน ราชการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2549 โดยมีผลให้ส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาจังหวัดอุทัยธานี เป็นหน่วยงานสังกัด ราชการบริ ห ารส่ ว นภู มิ ภ าค อยู ่ ใ นบั ง คั บ บั ญ ชาของผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเมื่อครั้งเริ่มก่อตั้งส�ำนักงานตั้งอยู่ที่อาคาร อุ ทั ย ธรรมสภา วั ด มณี ส ถิ ต กปิ ฎ ฐาราม (พระอารามหลวง) อ� ำ เภอเมื อ งอุ ทั ย ธานี เนื่องจากศาลากลางจังหวัดไม่มีพื้นที่ว่างพอ ที่เป็นที่ตั้งของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดอุทัยธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.

.indd 20

24/7/2563 14:18:17


วิสัยทัศน์ และพันธกิจ เป็นองค์กรขับเคลื่อนกิจการพระพุทธ ศาสนาสู่ความมั่นคง สังคมด�ำรงศีลธรรม น�ำ สันติสุขอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจหลัก ๆ 5 ประการ ดังนี้ 1. เสริมสร้างให้สถาบันและกิจการทาง พระพุทธศาสนามีความมั่นคงยั่งยืน 2. ส นั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม และจั ด การศึ ก ษา สงฆ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อ พัฒนาให้มีความรู้คู้คุณธรรม 3. จัดการศึกษาสงฆ์เพื่อผลิตและพัฒนา ศาสนทายาท ที่ เ ปี ่ ย มปั ญ ญาพุ ท ธธรรม เผยแผ่ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญ งอกงาม และร่วมสร้างสังคมพุทธธรรมที่มี ความเข้มแข็ง 4. ด� ำ เนิ น การให้ ป ระเทศไทยเป็ น ศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาโลก 5. พั ฒ นาการดู แ ลรั ก ษาและจั ด การ ศาสนสมบัติ ให้เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนาและสั ง คม เพื่ อ ให้ ส ามารถบรรลุ เป้าหมายตามพันธกิจ

อ�ำนาจหน้าที่ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด อุทัยธานี ได้สนองงานคณะสงฆ์และท�ำนุ บ�ำรุงส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การ อุปถัมภ์ คุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนางาน พระพุทธศาสนา ดูแล รักษาจัดการศาสน สมบั ติ รวมทั้ ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม พัฒนาบุคลากรทางศาสนาในระดับจังหวัด ตามอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1. ด� ำ เนิ น การตามบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ กฎหมาย ว่าด้วยก�ำหนดวิทยฐานะ ผู้ส�ำเร็จ วิชาทางพระพุทธศาสนา รวมทัง้ ร่างกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง 2. รับสนองงาน ประสานงาน และถวาย การสนั บ สนุ น กิ จ การ และการบริ ห าร ปกครองคณะสงฆ์

3. ด�ำเนินการตามนโยบายและมาตรการ ในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา 4. ส่งเสริม ดูแล รักษาและท�ำนุบ�ำรุง ศาสนสถาน และศาสนวัตถุทางพระพุทธ ศาสนา 5. ดูแล รักษา จัดการวัดร้างและศาสน สมบัติกลาง 6. ท�ำนุบ�ำรุงพุทธศาสนศึกษา ส่งเสริม การปฏิบัติธรรมและการเผยแผ่ศาสนธรรม เพื่อพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม 7. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ก ฎหมาย ก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ หรือนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีมอบหมายในระดับจังหวัด UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 21

21

24/7/2563 14:18:20


ผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา นอกเหนือจากภาระหน้าที่ในการสนอง งานคณะสงฆ์ และการท�ำนุบำ� รุงศาสนสถาน และศาสนวั ต ถุ ท างพระพุ ท ธศาสนาแล้ ว ในช่วงที่เกิดภาวะวิกฤตจากโรคระบาด ทาง ส� ำ นั ก งานฯก็ ไ ด้ มี โ อกาสช่ ว ยเหลื อ พี่ น ้ อ ง ประชาชนทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อนด้วยเช่นกัน อาทิ - วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.00 น. นายวีระเกียรติ สานุทศั น์ ผูอ้ ำ� นวย การส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด อุทัยธานี ร่วมกิจกรรมมอบโภคภัณฑ์และ อาหารปรุ ง ส� ำ เร็ จ แก่ ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโควิด 19 จ�ำนวน 287 ราย ณ วัดจันทาราม(ท่าซุง) อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี - วั น พุ ธ ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2563 เวลา 9.00 น. นายธรรมนันท์ จุฑาธนทรัพย์ นักวิชาการศาสนาช�ำนาญการ ร่วมมอบถุง ยังชีพ แก่ผู้ได้รับผลกระทบการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อโควิด 19 ณ วัดทุ่งสงบ ต�ำบล ไผ่เขียว อ�ำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทยั ธานี 22

6

- วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2563 เวลา 9.00 น. นายธรรมนั น ท์ จุ ฑ าธนทรั พ ย์ นักวิชาการศาสนาช�ำนาญการ ร่วมมอบถุง ยังชีพ แก่ผู้ได้รับผลกระทบการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ณ วัดหนอง กระดี(่ เก่า) ต�ำบลหนองยายดา อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี - วันพุธที่ 12 พฤษภาคม 2563 เวลา 9.00 น. นายวีระเกียรติ สานุทนั ศ์ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี ร่วมมอบถุงยังชีพ แก่ผู้ได้รับผลกระทบการ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ณ วัดเขาฆ้องชัย ต�ำบลป่าอ้อ อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี จ�ำนวน 110 ชุด - วั น ที่ 23 พฤษภาคม 2563 เวลา 09.30 น. นายณรงค์ ทรงอารมณ์ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นประธาน ในพิธเี ปิดโครงการวิถพี ทุ ธ วิถเี กษตร สวนครัว น�ำสุข พอเพียง ตามรอยศาสตร์พระราชา

โดยเจ้าพระคุณสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อั ม พร อมฺ พ โร) สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ได้ประทานเมล็ดพันธุ์ ผัก 10 ชนิด เพื่อน�ำลงแปลงเกษตรอินทรีย์ วัดท่าซุง จังหวัดอุทัยธานี โดยมีพระครูปลัด สมนึก สุธมฺมถิรสทฺโธ พร้อมด้วยคณะสงฆ์ และศิษยานุศษิ ย์หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง ให้การต้อนรับ และร่วมกิจกรรม ปลูกผักสวนครัวในแปลงสาธิต อีกทั้งปลูก ต้นไม้ยืนต้นในสวนป่าวัดท่าซุง และในการนี้ นายวี ร ะเกี ย รติ สานุ ทั ศ น์ ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุทัยธานี และข้าราชการในสังกัด เข้าร่วมกิจกรรมด้วย ความพร้อมเพรียง การด�ำเนินงานเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย โดยท่านวีระเกียรติ สานุทัศน์ ผู้อ�ำนวย การส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด อุทัยธานี ได้กล่าวว่า “ทั้งหมดนี้เป็นเพียง ส่วนหนึ่งของหน้าที่ของเรา ที่ผดุงไว้ซึ่ง เมตตาธรรมย่อมค�ำ้ จุนโลก”

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.

.indd 22

24/7/2563 14:18:23


วัดส�ำคัญของจังหวัด 1.วัดมณีสถิตกปิฏฐาราม (วัดทุ่งแก้ว) เดิ ม ชื่ อ วั ด มณี ธุ ด งค์ ส งฆ์ มู ลิ ก าวาส พระอารามหลวง วั ด กลางเมื อ งอุ ทั ย ธานี ต�ำบลอุทัยใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อพุทธศักราช 2434 2.วั ด อุ โ ปสถาราม เดิ ม ชื่ อ วั ด โบสถ์ มโนรมย์ ชาวบ้านเรียกว่าวัดโบสถ์ ศาสน สถานเก่ า กาล สถาปั ต ยกรรมงดงามริ ม แม่น�้ำสะแกกรัง

3.วัดสังกัสรัตนคีรี ตัง้ อยูเ่ ชิงเขาสะแกกรัง สุดถนนท่าช้าง ในเขตเทศบาลเมือง เป็นวัด ทีม่ ชี อื่ เสียงและเป็นทีร่ จู้ กั ของพุทธศาสนิกชน ทั่วไป ในเรื่องประเพณีตักบาตรเทโว ที่จัด ขึ้นในวันแรม 1 ค�่ำ เดือน 11 ของทุกปี ถือ เป็ น ประเพณี ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ในวันดังกล่าวจะมีพระสงฆ์กว่า 500 รูป เดินลงมาตามบันได 449 ขั้น จากมณฑปบน ยอดเขาสะแกกรั ง สู ่ ล านวั ด สั ง กั ส รั ต นคี รี เบื้องล่าง เพื่อมารับบิณฑบาต สอดคล้อง กั บ พุ ท ธประวั ติ ก ล่ า วว่ า ในวั น ที่ ส มเด็ จ

พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากสวรรค์ ชั้ น ดาวดึ ง ส์ ภายหลั ง ประทั บ จ� ำ พรรษา เ พื่ อ เ ท ศ น า โ ป ร ด พ ร ะ ม า ร ด า ค รั้ ง ถึ ง วั น ออกพรรษาได้ เ สด็ จ ลงจากเทวโลก ณ เมืองสังกัสนคร ภายในวัดสังกัสรัตนคีรี ยั ง ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ ง “พระพุ ท ธมงคลศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ” พระพุ ท ธรู ป ส� ำ ริ ด ปางมารวิ ชั ย ศิ ล ปะสุ โขทั ย ที่ มี พุ ท ธ ลั ก ษณะงดงาม สั น นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งขึ้ น ใน สมัยพญาลิไท มีอายุประมาณ 600 - 700 ปี ที่ได้อัญเชิญมาจากสุโขทัย

แนะน�ำสถานที่ปฏิบัติธรรม 1.วัดจันทาราม(วัดท่าซุง) ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ต�ำบลน�้ำซึม ห่างจากอ�ำเภอเมืองอุทัยธานี ประมาณ 5 กิโลเมตร ตั้งมาก่อนสร้างกรุงศรีอยุธยา 30 ปี ประมาณปี พ.ศ.1863 ในยุคต้นของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลวงพ่อใหญ่องค์แรกที่เป็นผู้สร้างวัด ชื่อ “ปาน” แต่ที่มาโด่งดังมากๆ ก็ในยุคของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน หรือที่รู้จักกันในนามหลวงพ่อฤาษีลิงด�ำ 2. ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำเขาวง ตั้งอยู่ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอบ้านไร่ เป็นวัดไม้เก่าแก่ท่ามกลางภูเขาหินปูน ซึ่งนักท่องเที่ยวต่างขนานนามว่า Unseen Thailand วัดสวยท่ามกลางขุนเขา และยังเป็นสถานปฏิบัติธรรมอันงดงามท่ามกลางธรรมชาติอีกด้วย UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 23

23

24/7/2563 14:18:27


S P ECI A L P R O V INC IA L บันทึกเส้นทางพิเศษของจังหวัดอุทัยธานี

?

TRAVEL

Beautiful Place UTHAI THANI

asd.1.indd 24

30/7/2563 9:52:00


UTHAI THANI MAP แผนที่จังหวัดอุทัยธานี

LOCATION 1 2 3 4

หุบป่าตาด อ�ำเภอลานสัก ถนนคนเดินตรอกโรงยา อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี วัดจันทาราม (วัดท่าซุง) อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี น�้ำตกผาร่มเย็น อ�ำเภอบ้านไร่

5 เกาะเทโพ อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี 6 วัดถ�้ำเขาวง อ�ำเภอบ้านไร่ 7 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อ�ำเภอลานสัก 8 ถ�้ำพุหวาย อ�ำเภอบ้านไร่ 9 วัดอุโปสถาราม อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

asd.1.indd 25

25

30/7/2563 9:52:07


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดเนินตูม WAT NOEN TUM พระมหาธีรเมธี ธีรวํโส (พระอาจารย์ดอกอ้อ)​ รักษาการแทน เจ้าอาวาสวัดเนินตูม วัดเนินตูม ตั้งอยู่เลขที่ 131/6 หมู่ 2 ต�ำบลสะแกกรัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี Wat Noen Tum is located at 131/6 village no.2, Sakae Krang sub-district, Mueang district, Uthai Thani province.

สถานที่ตั้งวัดเนินตูม เดิมเป็นวัดป่าดงดิบมีสัตว์ป่าและโจรผู้ร้ายชุกชุมมากเป็นที่ หยุดทัพเวลายกทัพไปต่างเมืองหรือปราบโจร แม่ทพั นายกองจะสัง่ หยุดทัพทีเ่ นินแห่งนี้ เพราะสะดวก บริเวณนั้นเป็นทางสัญจรผ่านด้วยการเดินเท้าเกวียนเพื่อไปต่างหมู่บ้าน หรือต่างอ�ำเภอ เป็นเนินอยูต่ ดิ กับแม่นำ�้ สะแกกรัง พระธุดงค์จงึ แวะปักกลดพักอาศัยอยู่ เสมอ ในปี พ.ศ. 2410 ขณะนัน้ พระอาจารย์เพ็งได้ธดุ งค์ผา่ นมาปักกลดอยูแ่ ละประกอบ กับท่านเป็นพระที่เก่งมีวิชาอาคมเป็นหมอยา สมุนไพรเป็นที่พึ่งของชาวบ้านได้ ชาวบ้านจึงนิมนต์ท่านให้อยู่ฉลองศรัทธาเพราะขณะนั้นเวลาท�ำบุญหรือประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา ต้องเดินทางไปท�ำที่อื่นซึ่งอยู่ไกลล�ำบากมาก ท่านจึงรับนิมนต์ ต่อจากนั้นชาวบ้านจึงได้สร้างศาลาท�ำบุญและกุฎิสงฆ์ให้ท่านอยู่ตามล�ำดับและเอา สถานที่เป็นเนินป่ามะตูม ซึ่งเป็นพื้นที่สูงในช่วงฤดูฝนน�้ำหลาก น�ำ้ จะไม่ท่วมบริเวณนี้ เป็นทีต่ งั้ วัดใช้เป็นชือ่ หมูบ่ า้ นและชือ่ วัด ต่อมาพระอาจารย์เพ็งท่านอยูจ่ ำ� พรรษาได้ 2 ปี ก็ได้ย้ายไปอยู่วัดขวิด และท่านอยู่ได้ 2 ปี ก็มรณภาพ ท�ำให้วัดเนินตูมเป็นวัดร้างไป 26

4

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 26

17/7/2563 12:50:38


Location of Wat Noen Tum – Formerly, this area was tropical rain forest which had various wild animals, many thieves and criminals. It was also a place for armies to temporarily rest when they march an army to foreign land or subjugate bandits. The generals always stop armies at the hill in this area because it was convenient since this area was a passageway by foot and cart in order to go to other village or district. It was the hill on the bank of Sakae Krang River, monk on pilgrimage usually came to rest at this place. In B.E.2410, Phra Ajarn Pheng had stayed at this area during his pilgrimage which he was a monk who mastered magic and was a skillful apothecary, the one that locals had always been relied on. Locals then invited him to repay him with all their capability because during that time, if they make merit or perform religious rite, they must travel to other area which is extremely far from this area. Then, he accepted their invitation. After that, locals built merit-making pavilion and monk’s house for him respectively. They built these buildings on the hill of bael fruit which is the highland that will not be flooded even in rainy season. Then, they named the village in this area and temple’s name after environment of this hill (Bael fruit is Matum in Thai). After that, he had lived at this temple for 2 years, then, moved to Wat Chawid and passed away after 2 years of living at that temple which made Wat Noen Tum became an abandoned temple. หลังจากท่านย้ายไปแล้วชาวบ้านก็ได้ไปนิมนต์พระมาจ�ำพรรษา หลายรูป เช่น 1. พระอาจารย์เชย อยู่ได้ 4 พรรษาก็มรณภาพ 2. พระอาจารย์ไม้ อยู่ได้ 2 ปี ก็ลาสิกขา 3. พระอาจารย์บุตร อยู่ได้ 1 พรรษา ก็มรณภาพ 4. พระอาจารย์เกลี่ย อยู่ได้ 1 พรรษา ก็ย้ายไปอยู่ที่อื่น 5. พระอาจารย์ละม้าย อยู่ได้ 2 พรรษาก็มรณภาพ 6. พระอาจารย์พยุง อยู่ได้ 2 พรรษา ก็มรณภาพ 7. พระอาจารย์ชื่น อยู่ได้ 3 พรรษา ก็มรณภาพลงเป็นหัวหน้า ที่พักสงฆ์รูปสุดท้าย (ปี 2426)

พระมหาธีรเมธี ธีรวํโส (พระอาจารย์ดอกอ้อ) รักษาการแทน เจ้าอาวาสวัดเนินตูม

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 27

27

17/7/2563 12:50:49


ประมาณปี พ.ศ. 2510 ชาวบ้านมีความต้องการที่จะมีวัดมีพระ ส�ำหรับท�ำบุญและประกอบพิธกี รรมทางศาสนา จึงได้นมิ นต์พระทีแ่ วะ เวียนมาพักให้ท่านอยู่ฉลองศรัทธาซึ่งพระภิกษุเหล่านั้นก็ไม่แน่นอน และอยู่ไม่นาน ในปี พ.ศ. 2529 พระอาจารย์สละ ได้อุปสมบทแล้วได้ มาอยู่ที่พักสงฆ์บ้านเนินตูม จากนั้นก็ได้ก่อสร้างเสนาสนะตั้งวัดขึ้นมา ใหม่ในเนื้อที่ใกล้กับวัดร้างเดิม ซึ่งพระอาจารย์เพ็งได้เคยบอกบุญ ชาวบ้านซื้อไว้และก็ได้น�ำชาวบ้านสร้างศาลาไม้มุงสังกะสี 1 หลัง เมรุ 1 หลัง กุฎิ 1 หลัง ปี พ.ศ. 2536 พระอาจารย์สละได้เกิดอาพาธและ มรณภาพลง ชาวบ้านจึงได้นิมนต์หลวงพ่อไสว จากวัดไก่ดิ้น อ�ำเภอ บ้านไร่ มาเป็นเจ้าอาวาสแทน และในปี พ.ศ. 2539 กรมศาสนา ประกาศยกวัดเนินตูมเป็นวัดร้าง ให้เป็นวัดที่มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา อย่างถูกต้อง ต่อมาด้วยหลวงพ่อไสวมีโรคประจ�ำตัวท่านจึงมรณภาพ ลงในปี พ.ศ. 2546 ในขณะนั้นวัดเนินตูมมีพระสงฆ์มาอยู่ไม่เป็นหลัก แน่นอน พระครูอุเทศธรรมโฆษิต เจ้าคณะปกครองต�ำบลสะแกกรัง วัดอุโปสถารามจึงได้มอบให้พระอธิการไสว ผลญาโณ มาเป็นเจ้าอาวาสแทน Around B.E.2510, villagers wanted a temple with monk for making merit and performing religious rite. They then invited monk that travelled pass this area and took a rest to live at this temple which those monks were inconstant and left shortly afterwards. In B.E.2529, Phra Ajarn Sala had ordained and moved to resting place for monk at 28

4

2

Ban Noen Tum. After that, he built buildings and established new temple near an old abandoned temple which Phra Ajarn Pheng had told locals to buy it in the past and collaborated with locals to build wooden pavilion that roofed with galvanized iron and monk’s house. In B.E.2536, Phra Ajarn Sala was sick and passed away afterward. Locals then invited Luang Phor Sawai from Wat Kai Din, Ban Rai district, to be an abbot at this temple. In B.E.2539, Department of Religious Affairs announced the promotion of Wat Noen Tum from abandoned temple to official temple that has a monk. After that, Luang Phor Sawai had passed away in B.E.2546 due to his chronic health condition. At that time, Wat Noen Tum had no monk who lived at this temple permanently. Therefore, Phra Khru Uthetthamkosit, Sakae Krang sub-district monk dean of Wat Uposatharam, then appointed Phra Athikarn Sawai Phonyano as abbot of this temple. ซึ่งนับจากเริ่มก่อสร้างวัดขึ้นมาใหม่มีเจ้าอาวาสอย่างถูกต้องคือ 1. พระอธิการไสว เขมทสโส อยู่ได้ 10 พรรษา มรณภาพ 2. พระอธิการไสว ผลญาโณ ย้ายไปจ�ำพรรษาที่อื่น

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 28

17/7/2563 12:50:55


ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาร่วมสร้างเส้นทางบุญสามารถโอนเงินเข้าบัญชีวัดเนินตูม ชื่อบัญชี กฐินสามัคคีอุโบสถวัดเนินตูม ธนาคารออมสิน สาขาอุทัยธานี เลขที่ 020300232087 โทร 092 329 3659 พระอาจารย์ดอกอ้อ

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 29

29

21/7/2563 14:25:18


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดขุมทรัพย์ WAT KHUMSUB พระอธิการ สมศักดิ์ ป ÚญสกÚโก เจ้าอาวาสวัดขุมทรัพย์

ประวัติวัดขุมทรัพย์

PHRA ATHIKARN SOMSAK PUNYASAKO, ABBOT OF WAT KHUMSUB

แรกเริ่มวัดขุมทรัพย์เป็นที่ของ พ่อพุ่ม - แม่มอน แต่ตอนหลังเป็น ที่ของหมื่นท่าซุงชํานิ และโยมเป้ง โดยการหักหนี้กัน ต่อมาโยมไพล โยมพิน โยมกรุต และญาติๆ ได้คิดสร้างวัดขึ้นมา จึงใช้ให้โยมช่วง ไปกราบนิ ม นต์พระภิก ษุที่วัด ใหญ่ อ.มโนรมย์ จ.ชั ย นาท มาอยู ่ จํ า พรรษา ซึ่ ง วั ด ใหญ่ ใ นสมั ย นั้ น มี ห ลวงพ่ อ ไกรดํ า รงตํ า แหน่ ง เจ้าอาวาส หลวงพ่อไกร จึงมอบหมายให้ อาจารย์โอด เป็นธุระใน การจัดหาพระภิกษุทั้ง 5 รูป คือ พระบุญยัง หลวงลุงคง หลวงน้าบัว หลวงน้าคุ้ม และพระทองอยู่ มาอยู่จําพรรษาที่วัดขุมสุนักข์ แต่ก่อน ยังไม่ได้เปลี่ยนเป็นวัดขุมทรัพย์ ในวันโกนขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8 พ.ศ. 2467 โดยเริ่มแรกนั้นได้สร้างศาลาพื้นอยู่ติดดิน กับมุงด้วยหญ้าแฝก พอได้อาศัยทําบุญกันไป ทางพระภิกษุสงฆ์โดยการนําของหลวงพ่อ บุญยัง และมัคนายกและญาติโยมร่วมกันจัดงานก่อนพระทรายบ้าง แสดงพระธรรมเทศนาบ้าง ในสมัยนั้นนิยมฟังเทศน์กันแบบ 2, 3 30

4

ธรรมาสน์ คือ แบบปุจฉา วิสัชนา หรือแบบถาม - ตอบ เพื่อ นําปัจจัย ที่ได้นํามาซื้อเรือนบ้าง เลื่อยไม้บ้าง และอีกส่วนหนึ่งโยมมีจิตศรัทธา ถวายเรือน เพื่อนํามาสร้างกุฏิ ศาล, สุขา โดยศาลาหลังใหญ่ หลังแรก นั้นใช้เวลา 4 ปี จึงแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาหลวงพ่อบุญยัง ก็ ร ่ ว มกั บ ญาติ โ ยมสร้ า งหอสวดมนต์ พระปฏิ ม ากรณ์ 1 องค์ เชิงตะกอนเผาศพ หอระฆัง และพระเจดีย์ปูน เมื่อทุกอย่างแล้วเสร็จ จึงจัดงานฉลองขึน้ ในปี พ.ศ. 2473 หลังจากนัน้ หลวงพ่อบุญยังคงไม่ได้ อยู่ที่วัดขุมสุนักข์ ในประวัติที่ยังคงเป็นลายลักษณ์อักษรอยู่ บอกว่า หลวงลุงอยู่เป็นเจ้าอาวาสต่อ 4 ปี พระแก้วเป็นเจ้าอาวาส 1 ปี ในปี พ.ศ. 2479 โยมกรุต โยมเสา ได้ไปนิมนต์หลวงพ่อบุญยังฐิตปัญโญ กลับมาวัดขุมสุนักข์อีก ในปีนั้น มีพระภิกษุจําพรรษา 5 รูป ซึ่งมี ญาติโยมถวายเรือนและปัจจัย เพื่อสร้างกุฏิ, สร้างส้วม, ซุ้ม บันได หนังสือต่างๆ

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 30

17/7/2563 14:33:18


History of Wat Khumsub

At first, the land where Wat Khumsub is located was owned by Mr.Phum – Mrs.Mon, but it became the land in the possession of Meun Tha Sung Chamni and Mr.Peng due to the paying for expenses between both of them. After that, Mr.Pai, Pin, Krut and their relatives jointly came up with the idea of building a temple on this land. They then asked Mr.Chuang to invite Buddhist monk from Wat Yai in Manorom district, Chai Nat province, to live at the temple that they are going to build. During that time, Luang Phor Krai was an abbot of Wat Yai which he had commanded Ajarn Od to select 5 monks which are Phra Boonyang, Luang Lung Kong, Luang Na Bua, Luang Na Khum and Phra Thongyu, to live at Wat Khum Sunak, the former name of Wat Khumsub, on shaving day, full moon day of eight month in B.E.2467. At the beginning, they just built one pavilion up from the ground and roofed it with thatch to be a place for making merit. As for monk faction, under the leading of Luang Phor Boonyang, liaison and folks jointly arranged sand pagoda-building ceremony and sermon-giving. During that time, people preferred the type of sermon-listening that two monks were asking

question and answering alternatively. They arranged these ceremonies and events to use money that they got from it to buy house and saw. Moreover, there were some faithful folks who offered buildings for building monk’s house, pavilion and bathrooms which the first big pavilion took 4 years of construction until it was completed in B.E.2471. After that, Luang Phor Boonyang accompanied with folks to build chanting hall, image of Buddha, crematory, belfry and cement pagoda. Then, after all of the above buildings were completed, they held up a celebration party in B.E.2473 which after this event, Luang Phor Boonyang still not moved to Wat Khum Sunak. According to written evidence, it states that he remained his position as an abbot at that temple for 4 years and Phra Kaew became next abbot which he was in this position for 1 year. Then, in B.E.2479, Mr.Krut and Mr.Sao went to the temple where he lived to invite him to Wat Khum Sunak again. At that time, there are five monks in this temple which some folks had offered buildings and money in order to build monk’s house, bathrooms, pavilion, stairs and various kinds of book.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 31

31

17/7/2563 14:33:29


ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2483 ตรงกับวันอังคารขึน้ 7 ค�ำ ่ เดือน 6 ได้ เ ปิ ด เป็ น โรงเรี ย นภาษาไทยขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกโดยสอนอยู ่ ใ นวั ด บนศาลาการเปรียญ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483 ด้วยคณะมณฑลอยุธยาได้ โปรดให้นามวัดในตําบลสะแกกรัง อําเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัด อุทัยธานี ได้เปลี่ยนนามวัดรวม 4 วัดดังนี้ 1. วัดทุ่งแก้ว เปลี่ยนเป็น วัดมณีสถิตกปิฏฐาราม 2. วัดโคร่ง เปลี่ยนเป็น วัดธรรมโสภิต 3. วัดขุมสุนักข์ เปลี่ยนเป็น วัดขุมทรัพย์ 4. วัดใหญ่ภูมิสการาม เปลี่ยนเป็น วัดภูมิธรรม

พระอธิการ สมศักดิ์ ป ญสก โก เจ้าอาวาสวัดขุมทรัพย์

32

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 32

17/7/2563 14:33:37


ในปี พ.ศ. 2492 หลวงพ่อบุญยัง ฐิตปญโญ ได้มรณภาพลง ต่อมา หลวงพ่อดิน ฐานโส ได้รบั เป็นเจ้าอาวาสต่อจากหลวงพ่อบุญยัง ฐิ ต ปญโญ และได้ ก ่ อ สร้ า งหอสวดมนต์ และกุ ฏิ ห ลั ง ปั จ จุ บั น แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2504 และได้ก่อสร้างโบสถ์ ซึ่งเป็นแบบผนังไม้ และหลังคามุงกระเบื้องแบบธรรมดา ซึ่งอุโบสถนี้ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2513 และก่อสร้างเมรุสถาน ขึ้ น ใหม่ แ ทนเชิ ง ตะกอนหลั ง เก่ า ซึ่ ง เป็ น เมรุ ส ถานหลั ง ปั จ จุ บั น นี้ หลังจากนั้นไม่นานหลวงพ่อดิน ก็มรณภาพลง เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2524 รวมอายุได้ 64 ปี 38 พรรษา ซึ่งหลวงพ่อดินเป็นที่เคารพ นับถือของญาติโยมมาก เพราะหลวงพ่อดินถือกําเนิดที่นี่ หลังจาก นั้นหลวงพ่อฟอง ก็ได้เป็นเจ้าอาวาส 1 ปี และได้มรณภาพลง หลัง จากนี้ก็มี อาจารย์บุญมา ฐิตสีโล เป็นเจ้าอาวาสต่อประมาณ 5 ปี และต่ อ มาวั ด ขุ ม ทรั พ ย์ ก็ ไ ม่ มี เจ้ า อาวาส ต่ อ จนถึ ง ณ ปั จ จุ บั น อาตมาภาพ พระอธิการ สมศักดิ์ ป̣ ญสก̣โก ได้เข้ารับตําแหน่งเป็น เจ้าอาวาสเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2551 In B.E.2492, Luang Phor Boonyang Thitapanyo had passed away. After that, Luang Phor Din Thanaso became the next abbot which he had built chanting hall and current monk’s house which is completed in B.E.2504. He also built wooden-wall Buddhist sanctuary and roofed it with normal tile which this building was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 15 January B.E.2513. Moreover, he built new crematory to replace an old one which is the current crematory. Thereafter, Luang Phor Din had passed away on 24 March B.E.2524 when he was 64 years old and had been a monk for 38 years, which he was respected by lots of people in this area because this is his birthplace. Then, Luang Phor Fong became the next abbot which he took this position for 1 year and passed away afterward. After his death, Ajarn Boonma Thitasilo took a position of abbot for around 5 years and there was no abbot at this temple after him until I, Phra Athikarn Somsak Punyasako took a position of abbot on 2 February B.E.2551.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 33

33

17/7/2563 14:33:41


พระประธานในอุโบสถ 34

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

4

.indd 34

วัดหนองโพธิ์

17/7/2563 15:25:36


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองโพธิ์ พระครูอุเทศวรธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองโพธิ์ / เจ้าคณะตำ�บลเนินแจง - หนองไผ่แบน วั ด หนองโพธิ์ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 67 บ้ า นหนองโพธิ์ หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลหนองไผ่ แ บน อ� ำ เภอเมื อ งอุ ทั ย ธานี จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา น.ส. 3 เลขที่ 226 มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 6 ไร่1 งาน 7 ตารางวา น.ส. 3 เลขที่ 318 พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราบลุ่มสภาพแวดล้อมเป็นหมู่บ้านและที่นา

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

พระอธิ การพิบูลย์ (ฐานธมฺโม) .indd 35

4

เจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก

35

17/7/2563 15:25:49


อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มี

อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 10 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2525 ศาลาการเปรียญ กว้าง 14 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2500 หอสวดมนต์ กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2514 กุฎีสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง

ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มี พระประธานในอุโบสถ

วัดหนองโพธิ์ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2416 เดิ ม ตั้ ง อยู ่ ใ กล้ ล� ำ คลองตลุ ก แจงเรี ย ก ตอนกลาง ปั จ จุ บั น เรี ย ก ตอนวัดเก่า โดยมีพระธุดงค์ชาวบ้านเรียก หลวงพ่อจันทร์ เป็น ผูด้ ำ� เนินการจัดสร้างวัดนี้ ต่อมาได้ยา้ ยเสนาสนะมาจัดสร้างขึน้ ณ ทีต่ งั้ ปัจจุบันซึ่งนางพ่วง ธัญกรรม และนายอินทร์ ธัญกรรม บริจาคที่ดิน ให้ เ ป็ น ที่ ส ร้ า งวั ด ใหม่ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าวั น ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2513 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ได้ผูกพัทธสีมาวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2523 มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา 4 รูป สามเณร 2 รูป ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2500

36

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

4

.indd 36

17/7/2563 15:25:57


เจ้าอาวาสมี 11 รูป คือ

พระครูอุเทศวรธรรม

เจ้าอาวาสวัดหนองโพธิ์ / เจ้าคณะต�ำบลเนินแจง - หนองไผ่แบน

รูปที่ 1 หลวงพ่อจันทร์ รูปที่ 2 หลวงพ่อป้อม รูปที่ 3 พระอาจารย์เทศน์ รูปที่ 4 พระอาจารย์ทองดี รูปที่ 5 พระอาจารย์อยู่ รูปที่ 6 พระอาจารย์ไข่ รูปที่ 7 พระอาจารย์สะอาด รูปที่ 8 พระอาจารย์ประสิทธิ์ รูปที่ 9 พระอาจารย์พอง รูปที่ 10 พระครูอุทิศสังคมการ พ.ศ. 2500 – 2523 รูปที่ 11 พระเหลื่อม อินฺทสุวณฺโณ รักษาการตั้งแต่ พ.ศ. 2523 รูปที่ 12 พระอธิการสนม รูปที่ 13 พระครูอุเทศวรธรรม พ.ศ. 2531 ถึงปัจจุบัน UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 37

37

17/7/2563 15:26:06


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองเต่า พระครูธรรมกิจจาทร เจ้าอาวาสวัดหนองเต่า วัดหนองเต่า ตั้งอยู่เลขที่ 27 บ้านหนองเต่า หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองเต่า อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน ตั้งวัดเนื้อที่ 19 ไร่ 40 ตารางวา น.ส. 3 เลขที่ 36

อาณาเขต ทิศเหนือยาว 81 วา ติดต่อกับทางสาธารณะ, ทิศใต้ยาว 73 วา ติดต่อกับทีด่ นิ ของเอกชน ทิศตะวันออกยาว 110 วา ติดต่อกับ ทางสาธารณะ, ทิศตะวันตกยาว 192 วา ติดต่อกับทีด่ นิ ของเอกชน พืน้ ที่ ตัง้ วัดเป็นทีร่ าบสูงสภาพแวดล้อมเป็นทุง่ นาและหมูบ่ า้ น อาคารเสนาสนะ ต่างๆ มี อุโบสถกว้าง 9.50 เมตร ยาว 22 เมตร สร้าง พ.ศ. 2454 โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก, ศาลาการเปรียญกว้าง 23 เมตร ยาว 30 เมตร สร้าง พ.ศ. 2485 เป็นอาคารไม้, หอสวดมนต์ กว้าง 9 เมตร ยาว 18 เมตร สร้าง พ.ศ. 2523 เป็นอาคารไม้, กุฎสี งฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารไม้ นอกจากนีม้ อี าคารเรียนพระปริยตั ธิ รรม และฌาปนสถาน

38

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 38

17/7/2563 13:02:08


ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ ขนาดพระเพลากว้าง 5 ศอก ปางมารวิชยั , หลวงพ่อโต ประดิษฐานอยูใ่ นมณฑปฝีมอื ช่างสมัย รัชกาลที่ 7 ขนาดพระเพลากว้าง 14 ศอก วัดหนองเต่า สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่ประมาณ พ.ศ. 2306 โดยมี หลวงพ่อข�ำ ร่วมกับชาวบ้านริเริ่มจัดสร้างวัดนี้ ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2456 มีพระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษา 14 รูป สารเณร 2 รูป ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยตั ธิ รรม พ.ศ. 2486 มี โรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการตัง้ อยูท่ วี่ ดั นีด้ ว้ ยเจ้าอาวาสมี 7 รูป คือ รูปที่ 1 หลวงพ่อข�ำ ประมาณ พ.ศ. 2306 รูปที่ 2 หลวงพ่อทอง รูปที่ 3 พระครูสนุ ทรมุนี (เจีย้ ม) รูปที่ 4 หลวงพ่อพร รูปที่ 5 พระครูอทุ ยั ธรรมวินติ (สิน) พ.ศ. 2454-2478 รูปที่ 6 พระครูอปุ พัทธ์ธรรมคุณ (เชือ่ ม) พ.ศ. 2478-2486 รูปที่ 7 พระครูอุกฤษฎ์สุตการ (อ�ำนวย) ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2486 รูปที่ 8 พระครูธรรมกิจจาทร พ.ศ. 2549 - ปัจจุบัน

พระครูธรรมกิจจาทร เจ้าอาวาสวัดหนองเต่า UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 39

39

17/7/2563 13:02:22


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดวังปลากด พระครูอุทัยพัฒนโกศล,ดร เจ้าอาวาสวัดวังปลากด วัดวังปลากด ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 48 หมู่ 1 บ้านวังปลากด ต�ำบลทุ่งใหญ่ อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายที่ดินตั้งวัด 16 ไร่ 2 งาน 85 ตารางวา โฉนดเลขที่ 27493

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับทีด่ นิ ทางสาธารณะประโยชน์, ทิศตะวันออก ติดต่อกับที่ดินทางสาธารณะประโยชน์, ทิศตะวันตก ติดต่อกับที่ดินทาง สาธารณะประโยชน์ และทิศใต้ ติดต่อกับที่ดินทางสาธารณะประโยชน์ พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ แคว หน้ า วั ด นั้ น เป็ น วั ง ลึ ก และมี ปลากดชุกชุมเป็นจ�ำนวมมากต่อมาชาวบ้านหาวัดท�ำบุญยาก จึงช่วยกัน สร้างวัดขึ้น วัดวังปลากด สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2353 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาพ.ศ. 2434 มีประชาชนมาบ�ำเพ็ญกุศลและท�ำนุบ�ำรุงวัด มีต�ำบลทุ่งใหญ่ หมู่ 1 จ�ำนวน 99 ครัวเรือน, หมู่ที่ 4 จ�ำนวน 68 ครัวเรือน, หมู่ที่ 5 จ�ำนวน 45 ครัวเรือน จังหวัดอุทัยธานี ต�ำบลหาดสูง หมู่ที่ 3 จ�ำนวน 86 ครัวเรือน ต�ำบลเนินศาลา หมู่ที่ 5 จ�ำนวน 84 ครัวเรือน จังหวัด นครสวรรค์ รวมทั้งหมด 382 ครัวเรือน ได้หนังสือรับรองสภาพวัดจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กองพุทธศาสน์สถาน วันศุกร์ที่ 26กันยายน พ.ศ.2546 ว่าเป็นวัดถูกต้อง ตามกฎหมายและพระธรรมวินัย 40

2

พระครูอุทัยพัฒนโกศล,ดร เจ้าอาวาสวัดวังปลากด

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 40

พระครูอุทัยสังฆกิจ เจ้าอาวาสวัดหนองสระ

17/7/2563 15:58:41


รายนามเจ้าอาวาสวัดวังปลากด ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันมี 19 รูป

1. หลวงพ่อพ่วง 2. หลวงพ่อยอด 3. หลวงพ่อแบน 4. หลวงพ่อนม 5. หลวงพ่อจ้อย 6. หลวงพ่อบุตร 7. หลวงพ่อบุญ 8. หลวงพ่อมหาหวล 9. หลวงพ่อสมุห์สงวน 10. หลวงพ่อสมุห์สว่าง 11. หลวงพ่อมหาล้วน 12. หลวงพ่อเนื่อง 13. หลวงพ่อหลอย 14. หลวงพ่อถึง 15. หลวงพ่อบุญธรรม 16. หลวงพ่อชื้น ธมฺมสรโณ 17. พระอธิการคูณ 18. พระอธิการทวีป 19. พระครูอุทัยพัฒนโกศล,ดร

พ.ศ. 2353 - 2393 พ.ศ. 2393 - 2401 พ.ศ. 2401 - 2411 พ.ศ. 2411 - 2419 พ.ศ. 2419 - 2425 พ.ศ. 2425 - 2432 พ.ศ. 2432 - 2440 พ.ศ. 2440 - 2448 พ.ศ. 2448 - 2478 พ.ศ. 2478 – 2490 พ.ศ. 2490 - 2494 พ.ศ. 2494 - 2498 พ.ศ. 2489 - 2501 พ.ศ. 2501 - 2504 พ.ศ. 2504 - 2507 พ.ศ. 2507 - 2527 พ.ศ. 2527 - 2536 พ.ศ. 2536 - 2546 พ.ศ. 2546 ถึงปัจจุบัน

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 41

41

17/7/2563 15:58:55


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดจักษาภัทราราม พระอธิการ นันทปรีชา ขันฺติธมฺโม เจ้าอาวาสวัดจักษาภัทราราม วัดจักษาภัทราราม ตั้งอยู่เลขที่ 16 บ้านจักษา หมู่ที่ 8 ต�ำบลสะแกกรัง อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 25 ไร่ 2 งาน พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบอยู่ริมแม่น�้ำสะแกกรัง

วัดจักษาภัทราราม สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2425 ชาวบ้านเรียก “วัดจักษา” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในนาม วัดจักษา เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2514

42

อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดต่อกับที่ดินของผู้ใหญ่ชั้น อินทร์อ�ำพงษ์ ทิศใต้ ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก ติดต่อกับแม่น�้ำสะแกกรัง ทิศตะวันตก ติดต่อกับถนนสาธารณะ

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 42

17/7/2563 15:47:58


อาคารเสนาสนะต่างๆ มี ดังนี้

- อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 19 เมตร - ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 21 เมตร สร้าง พ.ศ.2515 - กุฎีสงฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มี พระประธานในอุโบสถ

เจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ดังนี้ รูปที่ 1 พระวินัยธร ทองอยู่

รูปที่ 2 พระใบฎีกา เหมือน รูปที่ 3 พระอธิการ เวียน รูปที่ 4 พระอธิการ บุญ รูปที่ 5 พระอธิการ ประยงค์ รูปที่ 6 พระอธิการ เชย รูปที่ 7 พระใบฎีกา ล�่ำ รูปที่ 8 พระอธิการ วิง รูปที่ 9 พระอธิการ ทิม รูปที่ 10 พระอธิการ นงค์ รูปที่ 11 พระอธิการ ทวีศักดิ์ รูปที่ 12 พระอธิการ นันทปรีชา ขันฺติธมฺโม

พระอธิการ นันทปรีชา ขันฺติธมฺโม เจ้าอาวาสวัดจักษาภัทราราม

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 43

43

17/7/2563 15:48:14


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดอุโปสถาราม (วัดโบสถ์) พระครูอุเทศธรรมโฆษิต เจ้าอาวาสวัดอุโปสถาราม วัดอุโสปถาราม ศาสนสถานเก่ากาล สถาปัตยกรรมงดงามริมแม่น�้ำสะแกกรัง

วัดอุโปสถาราม ตั้งอยู่เลขที่ 84 บ้านน�้ำตก หมู่ที่ 1 ต�ำบลสะแกกรัง อ�ำเภอ เมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี “วัดอุโปสถาราม” หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า “วัดโบสถ์” เดิมทีมีชื่อว่า “วัดโปสถ์มโนรมย์ ” เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างขึ้นเมื่อ ปีพทุ ธศักราช 2324 ตัง้ อยูบ่ นเกาะเทโพ ริมฝัง่ แม่นำ�้ สะแกกรัง จัดเป็นศาสนสถาน เก่าแก่ทอี่ ยูค่ บู่ า้ นคูเ่ มืองอุทยั ธานีมาตัง้ แต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ภายในอุโบสถ และวิหารมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง สรรค์สร้างโดยจิตรกรสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยเรือ่ งราวในภาพจิตรกรรมฝาผนังจะบอกเล่าถึงประวัตขิ องพระพุทธองค์ตงั้ แต่ ประสูตจิ นถึงปรินพิ พาน แม้บางส่วนของจิตรกรรมฝาผนังเหล่านีจ้ ะช�ำรุดหลุดลอก บ้างตามกาลเวลา แต่ลวดลายอันอ่อนช้อยเหล่านี้ยังคงทรงเสน่ห์เหมือนเดิม ไม่เปลีย่ นแปลง ด้านหลังอุโบสถและวิหาร มีเจดีย์ สามยุคสามสมัย ทัง้ สมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ตงั้ อยู่ นอกจากนัน้ ยังมีมณฑปแปดเหลีย่ มศิลปะผสมไทย จีน อันวิจิตรอ่อนช้อยงดงาม หน้าวัดมีแพโบสถ์น�้ำ ครั้งหนึ่งเคยใช้เป็นแพรับเสด็จ รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 เมือ่ คราวเสด็จประพาส และเยีย่ มเยือนหัวเมืองฝ่ายเหนือ และใช้เป็นศาสนสถานลอยน�้ำส�ำหรับชาวเรือนแพใช้ในการปฏิบัติศาสนกิจและ งานพิธีต่าง ๆ เช่น งานโกนจุก บวชนาค งานแต่งงาน เป็นต้น 44

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 44

17/7/2563 14:31:37


วั ด อุ โ ปสถาราม เป็ น โบราณสถานเก่ า แก่ ที่ อ ยู ่ คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ ง อุทัยธานีมาแต่ช้านาน สถาปัตยกรรมและจิตรกรรมต่างๆ ภายในวัด ล้วนมีอายุมากกว่าศตวรรษนับเป็นสิ่งที่งดงามและทรงคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง หากใครมีโอกาสมายังจังหวัดอุทัยธานี แล้ ว ก็ ค วรที่ จ ะแวะมาชมวั ด อุ โ ปสถารามแห่ ง นี้ ดู สั ก ครั้ ง หนึ่ ง บรรยากาศของวัดเงียบสงบชนิดที่ว่าถ้าเราลองหลับตาเงี่ยหูฟังดีๆ ก็จะได้ยินเสียงลมหายใจของตัวเองได้ถนัดถนี่ชัดเจนกว่าปกติ ความโดดเด่น ภายในวัดอุโปสถาราม ได้แก่ พระอุโบสถ วิหาร เจดีย์สามสมัย แพโบสถ์น�้ำ และมณฑปแปดเหลี่ยม ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้าง ที่งดงามและเป็นสถาปัตกรรมที่มีการผสมผสานศิลปะในสมัยต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน รวมถึงภาพจิตรกรรมฝาผนังใน “พระวิหาร” และ “พระอุโบสถ” ที่ยังคงความวิจิตรงดงามอยู่

การเดินทาง

วัดอุโปสถารามตั้งอยู่บนเกาะเทโพ สามารถเดินทางได้ 2 ทาง ดังนี้ - เดิ น ข้ ามสะพานคอนกรีต ไปเกาะเทโพ ซึ่ ง สะพานจะเชื่ อ ม ระหว่างตลาดสดฝั่งตัวเมืองกับเกาะเทโพ - เดินทางโดยรถยนต์ จากบริเวณวงเวียนวิทยุ (ใกล้ตลาดสด) ให้ไปตามถนนศรีอุทัย ไปประมาณ 3 กิโลเมตร ผ่านสถานีต�ำรวจมา เล็ ก น้ อ ย ให้ เ ลี้ ย วซ้ า ยขึ้ น สะพานพั ฒ นาภาคเหนื อ เพื่ อ ข้ า มไปยั ง เกาะเทโพ จากนั้นตรงไปอีก 100 เมตร ให้เลี้ยวซ้ายไปตามป้ายบอก ทางไปวัดอุโปสถาราม เป็นระยะทางอีก 3 กิโลเมตร ก็จะถึงวัด UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 45

45

17/7/2563 14:31:50


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดเนินเหล็ก พระอธิการพิบูลย์ (ฐานธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก วัดเนินเหล็ก ตั้งอยู่เลขที่ 45 หมู่ 4 ตําบลโนนเหล็ก อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ห่างจากตัวเมืองอุทัยธานี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 14 กิโลเมตร มีท่ีดินตั้งวัด 15 ไร่ 3 งาน 46 ตารางวา ทิศเหนือ ยาว 75 วา ติดกับที่ดิน นางชะม้อย นาควิสุทธิ์ ทิศใต้ยาว 55 วา ติดกับที่ดินสาธารณะ ทิศตะวันออกยาว 100 วา ติดกับที่ดิน นางชะม้อย นาควิสุทธิ์ ทิศตะวันตกยาว 93 วา ติดกับที่ดิน นางสาวทับทิม บุญพันธ์ พื้นที่เป็นที่ราบ

วัดเนินเหล็ก สร้างขึ้นตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน 2353 โดยมี พระอธิการอาด เป็นผู้ริเริ่มดําเนินการ พร้อมด้วย ทายกทายิกา แต่เดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์ มีกฎุ เี ป็นทีอ่ าศัยจําพรรษา พอสมควร ต่ อ มาได้ รั บ อนุ ญ าตตั้ ง เป็ น วั ด และได้ รั บ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2434 ต่อมาอุโบสถ หลังเดิม ได้ชํารุดทรุดโทรมมาก พระครู อุทัยธรรมวินิจ (จิ๋ว สุขาจาโร) จัดสร้างอุโบสถขึ้นใหม่ จัดงานผูกพัทธสีมา เมือ่ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2439 46

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 46

พระครูอุทัยสังฆกิจ เจ้าอาวาสวัดหนองสระ

17/7/2563 12:37:03


วัดเนินเหล็ก ได้เริม่ เปิดทําการสอน พระปริยตั ธิ รรม ตัง้ แต่ พ.ศ. 2475 ในสมัย พระครูอทุ ยั ธรรมวินจิ (จิว๋ อินทฺสวุ ณฺโณ) เป็นเจ้าอาวาส ต่อมา เจ้าอาวาสได้มรณภาพลง ชาวบ้านได้ไปนิมนต์ พระมหาจิ๋ว สุขาจาโร (ชื่อเหมือนกัน) มาเป็นครูสอนพระปริยัติธรรม และในปี พ.ศ. 2491 จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสสืบต่อมา พ.ศ. 2499 ได้ก่อตั้ง โรงเรียน ราษฎร์ ของวัด มีชื่อว่า โรงเรียนวินิจประสิทธิเวท ภายหลังได้ยุบเลิก เพื่อมาขออนุญาตจัดตั้งโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกสามัญ เมื่อ พ.ศ. 2518 เรียนตั้งแต่มัธยมปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภายในวัดยังมีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการ ตั้งอยู่ 1 โรงเรียน โดย อาศัยศาลาการเปรียญหลังเก่า แต่เดิมวัดมีศาลา ประชุมสงฆ์ มีชื่อเรียกว่า ศาลาสูง เพราะเป็นศาลาชั้นเดียว มีใต้ถุนสูง ปล่อยโล่งไม่ได้กั้นฝา เป็นแต่เพียงติดลูกกรง ไว้เท่านั้น ต่อมาทางวัด ได้ก่อสร้างให้เป็นอาคาร 2 ชั้น ต่อเติมปรับปรุงให้เป็นโรงเรียนโดย ได้ทาํ กันเอง เมือ่ สร้างเสร็จแล้วจึงย้ายโรงเรียนทีอ่ าศัยศาลาวัด ไปสอน ที่โรงเรียนที่จัดทําขึ้นใหม่ ต่อมาศาลาหลังเก่าซึ่งชํารุดทรุดโทรมมาก จึงได้ รื้อและสร้างขึ้นใหม่ พร้อมกันนั้นได้รื้อหอสวดมนต์ พร้อมทั้ง กุฎีที่ล้อมรอบหอสวดมนต์ 6 หลัง รวมทั้งกุฎีของหลวงพ่อคร้ามด้วย เป็น 7 หลัง เพราะชํารุดทรุดโทรมมาก ไปสร้างใหม่ดังที่เห็นใน ปัจจุบันนี้ และสุดท้ายได้รื้ออุโบสถหลังเก่า สร้างขึ้นใหม่เช่นเดียวกัน สภาพของวัดจึงได้ถกู พัฒนาใหม่ทงั้ หมด ในสมัยทีพ่ ระ มหาจิว๋ สุขาจาโร มาเป็นเจ้าอาวาส และในกาลต่อมาได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครู ใน นามเดิมของเจ้าอาวาสรูปเก่า คือ พระครูอทุ ยั ธรรมวินจิ (จิว๋ สุขาจาโร ป.ธ. 3) ได้สร้างสิ่งก่อสร้างไว้ดังนี้คือ วัตถุสิ่งก่อสร้างภายในวัด 1. หอสวดมนต์ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2510 สิน้ ค่าก่อสร้าง 625,000 บาท 2. กุฎีหลังที่ 1 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2512 สิ้นค่าก่อสร้าง 55,000 บาท 3. กุฎีหลังที่ 2 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2513 สิ้นค่าก่อสร้าง 47,000 บาท 4. กุฎีหลังที่ 3 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2514 สิ้นค่าก่อสร้าง 54,000 บาท 5. กุฎีหลังที่ 4 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2515 สิ้นค่าก่อสร้าง 54,000 บาท 6. กุฎีหลังที่ 5 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 สิ้นค่าก่อสร้าง 85,000 บาท 7. เมรุ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2518 สิ้นค่าก่อสร้าง 634,251 บาท 8. ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2520 สิ้นค่าก่อสร้าง 326,450 บาท 9. อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2529 สินค่าก่อสร้าง 2,364,075 บาท วัตถุส่ิงก่อสร้างนอกวัดอีกมากมาย ผลงานที่หลวงพ่อพระครู อุทัยธรรมวินิจ (จิ๋ว) ได้สร้างและฝากฝังไว้ให้กับเราทั้งหลาย จึงนับ ได้ว่าเป็นบุคคลตัวอย่างผู้หนึ่ง ก่อนที่ชีวิตจะถูกปิดฉากลง และก็คง ฝากผลงานไว้ให้เจ้าอาวาสรูปใหม่ได้สานต่อสืบต่อไป

รายนามเจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

1. พระอธิการอาด (หลวงพ่ออาด) พ.ศ.2353 - 2371 2. พระอธิการแย้ม (หลวงพ่อแย้ม) พ.ศ.2371 - 2184 3. พระอธิการนิ่ม (หลวงพ่อนิ่ม) พ.ศ.2184 - 2399 4. พระอธิการมี (หลวงพ่อมี) พ.ศ.2399 - 2426 5. พระอธิการโต (หลวงพ่อโต) พ.ศ.2426 - 2435 6. พระปลัดจ้อ (หลวงพ่อจ้อ) พ.ศ.2435 - 2457 7. พระอธิการโต (หลวงพ่อโต) พ.ศ.2457- 2468 8. พระครูอุทัยธรรมวินิจ (จิ๋ว อินทสุวณฺโณ) พ.ศ.2468 - 2499 9. พระครูอุทัยธรรมวินิจ (จิ๋ว สุขาจาโร) พ.ศ.2499 - 2536 10. พระครูอุทิตสมณคุณ (ถวิล ปุญฺญกาโม) พ.ศ.2536 - 2545 11. พระอธิการจันทร์ (จันทร์ โกวิโท) พ.ศ.2545 - 2546 12. พระอธิการอัครเทพ (ปญฺญาวชิโร) พ.ศ.2546 - 2551 13. พระอธิการมหาเดือน (ปจฺฉิมปญโญ) พ.ศ.2551 - 2555 14. พระเจ้าอธิการมหาอดุลย์ (อนาลโย) พ.ศ.2558 - 2559 15. พระอธิการพิบูลย์ (ฐานธมฺโม) พ.ศ.2559 - ปัจจุบนั

พระอธิการพิบูลย์ (ฐานธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 47

47

17/7/2563 12:37:14


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองหญ้านาง พระครูสมุห์สุทธิพงศ์ ถาวรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดหนองหญ้านาง

วัดหนองหญ้านาง เป็นวัดเก่าแก่โบราณ ไม่ปรากฏนามผู้สร้าง เป็นวัดประจ�ำหมู่บ้านชนบทเล็กๆ และมักจะร้างไม่มีภิกษุสงฆ์อยู่ ประจ�ำเป็นช่วงๆ โดยเฉพาะฤดูแล้งนอกพรรษา หลักฐานการสร้างวัด ตามหนังสือรับรองสภาพวัด ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือที่ ศธ 0303/11690 ให้ไว้ ณ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2544 รับรองว่า วัดหนองหญ้านาง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองไผ่แบน อ�ำเภอ เมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2220 ซึ่งเจ้าคณะ ปกครองฝ่ายสงฆ์ ได้ปกครองดูแลตลอดมาจนถึงปัจจุบนั โดยหนังสือนี้ กรมการศาสนาขอรับรองว่า วัดหนองหญ้านาง มีชอื่ อยูใ่ นทะเบียนวัด ของกรมการศาสนา และมี ส ภาพเป็ น วั ด ตามมาตรา 31 แห่ ง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช บัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ( ตามส�ำเนาหนังสือกรม การศาสนาที่แสดงข้างต้น) จากหนังสือรับรองของกรมการศาสนา ดังกล่าว ยืนยันได้ว่า วัดหนองหญ้านาง เป็นวัดโบราณตั้งแต่สมัย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แต่ เ นื่ อ งจากเป็ น วั ด เล็ ก ๆ ประจ� ำ หมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ ดังกล่าว จึงไม่มีถาวรวัตถุเป็นหลักฐาน ประวัติที่ทราบก็ได้จาก ค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ที่บอกกันต่อๆ มา 48

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 48

17/7/2563 14:50:11


วัดนี้สถานที่ดั้งเดิมตั้งอยู่ในที่ธรณีสงฆ์ ถูกพม่าข้าศึกเผา เมื่อครั้ง พม่ายกทัพผ่านมาทางนี้ เหลือกุฏีเก่าอยู่เพียง 1 หลัง หลังจากนั้น ชาวบ้านได้ช่วยกันสร้างขึ้นมาใหม่ ต่อมา พ.ศ. 2405 ได้ย้ายมาตั้ง อยู่ในบริเวณสถานที่ปัจจุบัน เมื่อสร้างเสนาสนะเสร็จแล้ว สภาพวัด ก็ล้มลุกมาตลอด มีพระอยู่จ�ำพรรษาบ้างไม่มีบ้าง โดยเฉพาะหลัง ออกพรรษาแล้วฤดูแล้งจะไม่มีพระสงฆ์อยู่ เป็นวัดร้างไปชั่วคราว จนใกล้เข้าพรรษาจึงจะมีกุลบุตรในหมู่บ้านมาบวช แต่บางพรรษา ถ้าไม่มีคนในพื้นที่บวช ชาวบ้านก็จะไปอาราธนาพระสงฆ์จากวัด ในเมืองที่มีหลายรูปมาอยู่จ�ำพรรษา เพื่อให้ชาวบ้านมีพระได้ท�ำบุญ ในวันธรรมสวนะ และมีพระให้ญาติโยมได้ใส่บาตรตอนเช้า วัดหนองหญ้านางยุคพัฒนา ต่ อ มา พ.ศ.2516 พระครู อุ ป การพั ฒ นกิ จ (สมั ย อาภาธโร) ซึง่ ขณะนัน้ อุปสมบทได้ 2 พรรษา มาอยูจ่ ำ� พรรษาทีว่ ดั หนองหญ้านาง และได้รับแต่งตั้งให้รักษาการต�ำแหน่งเจ้าอาวาส จึงได้เริ่มพัฒนาซึ่ง ขณะนั้นมีกุฎีไม้เก่าๆ 2 หลัง และศาลาการเปรียญไม้เก่าๆ เช่นกัน 1 หลัง อยูใ่ นสภาพทรุดโทรมมาก ท่านได้สร้างกุฎสี งฆ์ และหอสวดมนต์ ถัดจากที่เดิมมาตั้งอยู่ในที่ปัจจุบันติดริมฝั่งแม่น�้ำแควตากแดดและ ได้สร้างถาวรวัตถุต่างๆ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับให้ประชาชนในหมู่บ้านและ พุ ท ธศาสนิ ก ชนทั่ ว ไปบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลและได้ ใช้ ท� ำ กิ จ กรรมต่ า งๆ ต่อจากนั้นจึงสร้างถาวรวัตถุอื่นๆ ตามมา เนื่องจากหลวงพ่อมีความรู้ ความสามารถในการรั ก ษาโรคตามแบบแพทย์ แ ผนไทยจึ ง ได้ สงเคราะห์ ญ าติ โ ยมที่ เจ็ บ ป่ ว ยมาขอเครื่ อ งยาไปต้ ม เองที่ บ ้ า นมา อยู่รักษาที่วัดบ้าง จนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง และมีคนไข้มามากขึ้น ตามล� ำ ดั บ นอกจากนี้ ยั ง รั ก ษาด้ ว ยการนวดแผนไทยด้ ว ยท� ำ ให้ จ�ำนวนคนไข้มากขึ้นและรักษาเรียกว่าครบวงจร จึงต้องสร้างอาคาร สถานที่ อ� ำ นวยความสะดวกแก่ ญ าติ โ ยม หลวงพ่ อ จึ ง สร้ า งห้ อ ง อบสมุนไพร ห้องนวดแผนไทย ส�ำหรับชาย-หญิง แยกกันคนละห้อง รวมทั้งห้องพัก ห้องกายภาพบ�ำบัดและอื่นๆ

พระครูสมุห์สุทธิพงศ์ ถาวรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดหนองหญ้านาง

ถาวรวัตถุที่หลวงพ่อสร้างขึ้นในวัด มีดังนี้

1. อุโบสถจัตุรมุข พร้อมพระประธานปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 3 เมตร สูง 4.5 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2544 ภายในเขียนภาพ จิตรกรรม ภาพพุทธประวัติ และชาดกอื่นๆ 2. ศาลาการเปรียญ พร้อมพระประธานปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 1.5 เมตร สูง 2.5 เมตร 1 องค์ และพระปางประทานพร 1 องค์ 3. หอระฆัง 4. หมู่กุฎีสงฆ์ 5. หอสวดมนต์ 6. ห้องอบสมุนไพร

การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสมาแล้ว 13 รูป ดังนี้

รูปที่ 1 พระอาจารย์ทองสุข รูปที่ 2 พระอาจารย์มล รูปที่ 3 พระอาจารย์เทียน รูปที่ 4 พระอาจารย์คอน รูปที่ 5 พระอาจารย์แค รูปที่ 6 พระอาจารย์โชติ รูปที่ 7 พระอาจารย์อุ่น รูปที่ 8 พระอาจารย์อิ้ง รูปที่ 9 พระอาจารย์ประทวน ชุตินธโร พ.ศ. 2510 – 2516 รูปที่ 10 พระครูอุปการพัฒนกิจ ( สมัย อาภาธโร) พ.ศ. 2516 – 2556 รูปที่ 11 พระครูนิภาสกิจจาทร พ.ศ. 2556 – 2557 รูปที่ 12 พระใบฎีกาประเทือง ปญฺญาธโร พ.ศ. 2557 – 2558 รูปที่ 13 พระครูสมุห์สุทธิพงศ์ ถาวรธมฺโม พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 49

พระครูอุเทศวิสาลธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองยาง

49

21/7/2563 14:27:20


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองพังค่า หลวงพ่อทองดี อภิปุญโญ เจ้าอาวาสวัดหนองพังค่า วัดหนองพังค่า ตั้งอยู่เลขที่ 32 บ้านหนองพังค่า หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองพังค่า อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้ง วัดเนื้อที่ 16 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบ ปลูกต้นไม้ไว้รอบๆ บริเวณวัด วัดหนองพังค่าสร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2439 ได้มีนามตามชื่อบ้าน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2446 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการตั้งอยู่วัดนี้ด้วย

อาคารเสนาสนะ มี อุโบสถ กว้าง 5 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2525, ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2420, กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง ปูชนียวัตถุ มี พระประธานในอุโบสถ ขนาดพระเพลา กว้าง 1.45 เมตร พระพุทธรูปอื่นๆ อีก จ�ำนวน 2 องค์ นอกจากนี้ยังมี เจดีย์อยู่หน้า อุโบสถ 9 องค์, เจดีย์ตรงกลางลานวัด 1 องค์

50

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

1

.indd 50

17/7/2563 13:09:24


พระอธิการสมชัย เมตฺติโก เจ้าอาวาสวัดเขาพะแวง

History of buddhism....

วัดเขาพะแวง

Facebook SBL

พระอธิการสมชัย เมตฺติโก เจ้าอาวาสวัดเขาพะแวง วัดเขาพะแวง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 7 บ้านเขาพะแวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี

วัดเขาพะแวงสร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 เดิมตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 8 ต�ำบลยางขาว อ�ำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ต่อมาได้ทรุดโทรมลง ได้มีนายจ้อน เรืองอินทร์ และนายเหี้ยม แดงแย้ม ร่วมกับชาวบ้านย้ายเสนาสนะมาจัดสร้างขึ้น ณ ที่ตั้งปัจจุบันโดยมี นายพริ้ง จันทร์เอี่ยม บริจาคที่ดินให้เป็นที่วัด 8 ไร่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2480 ต่อมาจึงได้โอนเขตการปกครองมาขึ้นกับท้องที่ของจังหวัดอุทัยธานี นับตั้งแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 เป็นต้นมา

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 51

51

17/7/2563 16:07:59


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดคูเมือง(หนองสะแก) พระครูอุทิตกิตติสาร เจ้าอาวาสวัดคูเมือง (หนองสะแก) วัดคูเมือง (หนองสะแก ) ตั้งอยู่เลขที่ 7 บ้านหนองสะแก หมู่ที่ 8 ต�ำบลหนองไผ่ อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 12 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา

ประวัติวัดคูเมือง (หนองสะแก)

เดิมชื่อบ้านหนองสะแก ชาวบ้านหนองสะแกได้อพยพมาจาก บ้านหนองระแหงใต้เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2430 เพื่อมาจับจองที่ดิน ท�ำกินจนเกิดเป็นชุมชนมากขึ้น ในสมัยนั้นการท�ำบุญชาวบ้านต้อง เดินทางไปท�ำบุญทีว่ ดั หนองระแหงใต้ แล้วนิมนต์ทา่ นมาเป็นประธาน ในการจัดสร้างและจ�ำพรรษาในปี พ.ศ. 2459 โดยสร้างเป็นที่พักสงฆ์ ขึน้ อยูข่ า้ งหนองน�ำ้ ทีล่ อ้ มรอบไปด้วยต้นสะแก (ปัจจุบนั ขุดเป็นสระน�ำ้ อยูท่ างทิศเหนือของวัด) จึงเรียกกันติดปากมาว่าวัดหนองสะแก ต่อมา เมื่อปี พ.ศ. 2463 ได้รับอนุญาตจากทางราชการประกาศให้เป็นวัดชื่อ วัดคูเมือง เหตุที่เรียกว่าวัดคูเมือง สันนิฐานว่าวัดตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณ คันคูเมือง ซึ่งเป็นเมืองเก่าชื่อว่าเมืองทราวดี ปัจจุบันเป็นที่รกร้าง ว่างเปล่าไม่สามารถถากถางได้ และเป็นที่สาธารณะประโยชน์ และ มีเจ้าอาวาสตามล�ำดับ ต่อไปนี้ รูปที่ 1 พระใบฎีกาสดหรือหลวงพ่อสด ธมฺมธโร รูปที่ 2 พระอาจารย์ พล 52

2

รูปที่ 3 พระอาจารย์ ออม รูปที่ 4 พระอาจารย์ประทุม รูปที่ 5 พระอธิการทองดี รกฺขิตญาโณ พ.ศ. 2525 – 2526 รูปที่ 6 พระมนัส กิตฺติสาโร รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2526 – 2531 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสตัง้ แต่ พ.ศ. 2531 จนถึง ปัจจุบัน ต่อมาได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ที่พระครูอุทิตกิตติสาร

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 52

17/7/2563 14:06:44


ประวัติหลวงพ่อสด ธมฺมธโร วัดคูเมือง ( หนองสะแก )

หลวงพ่อสด ธมฺมธโร เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2437 เป็นบุตรของ พ่อพุ่ม แม่ชื่น พันธุ์เขียน เกิดที่บ้านทุ่งมะขามหวาน ต�ำบลหนองนางนวล อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี มีพี่น้องรวมกันทั้งหมด 6 คน ต่ อ มาพ่ อ แม่ ไ ด้ ย ้ า ยมาท� ำ มาหากิ น อยู ่ ที่ บ ้ า นทุ ่ ง ปาจาน หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลดงขอ อ� ำ เภอหนองขาหย่ า ง จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ในปั จ จุ บั น หลวงพ่อสดจบการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดท่าโพ ต� ำ บลท่ า โพ อ� ำ เภอหนองขาหย่ า ง จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ในสมั ย นั้ น ผู้ใดมีความรู้ดี จะเข้าเป็นครูสอนโรงเรียนประถมได้ แล้วท่านจึงไป สอนหนั ง สื อ อยู ่ ที่ โรงเรี ย นบ้ า นกุ ด จอก กิ่ ง อ� ำ เภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท จนอายุครบ 20 ปี ท่านจึงได้ลาออกมาอุปสมบท ที่ วั ด หนองระแหงใต้ ในปี พ .ศ. 2457 และได้ จ� ำ พรรษาอยู ่ ที่ วัดหนองระแหงใต้เป็นเวลา2 พรรษาจึงได้ย้ายมาสร้างวัดคูเมืองแล้ว ได้จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดคูเมืองจนมรณภาพในปี พ.ศ.2516 รวมอายุได้ 79 ปี 59 พรรษา ชีวิตของหลวงพ่อสดท่านได้เล่าให้ฟังว่า ตั้งแต่เล็ก จนจ�ำความได้ ท่านจะไม่ท�ำปาณาติบาต คือ ไม่ฆ่าสัตว์ทุกชนิดและ รักษาศีล 5 มาตลอด ในระหว่างที่ท่านเป็นพระท่านได้ปฏิบัติตามค�ำ สั่งสอนของพระพุทธศาสดา เช่น ศึกษาพระธรรมวินัย เผยแพร่ พระพุทธศาสนา อีกทัง้ ท่านยังชอบนัง่ วิปสั สนากรรมฐาน เจริญภาวนา จนเข้าถึงหลักธรรม ปกติท่านจะไม่ค่อยพูดว่าใครในทางเสียหาย เพราะถ้าท่านพูดว่าใครคนนั้นจะเป็นไปตามค�ำพูดของท่านเสมอ จนเป็ น ที่ เรื่ อ งลื อ กั น ว่ า ใครคนนั้ น จะเป็ น ไปตามค� ำ พู ด ของท่ า นมี วาจาสิทธิ์ ชื่อเสียงของท่านจึงเป็นที่รู้จักกันทั่วทั้งในจังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดใกล้เคียง จนมีลูกศิษย์ลูกหามากมายเรื่องอภินิหารของ หลวงพ่อสดนั้น มีมากมายนัก สุดที่จะกล่าวมา ณ ที่นี้

พระครูอุทิตกิตติสาร เจ้าอาวาสวัดคูเมือง UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 53

53

17/7/2563 14:06:55


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดห้วยรอบ พระอธิการณัฐวุฒิ ณฐวุฑÚฒสาโร เจ้าอาวาสวัดห้วยรอบ วัดห้วยรอบ ตั้งอยู่เลขที่ 57 หมู่ที่ 2 บ้านห้วยรอบ ต�ำบลห้วยรอบ อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดห้วยรอบได้สร้างขึ้น เป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2430 โดยชื่อตามชื่อบ้านซึ่งหมู่บ้านมีล�ำคลองล้อมรอบ จึงชื่อว่า “ วัดห้วยรอบ ” ที่ดินตั้งวัดเดิมได้รับบริจาคจาก นายสี ซึ่งต่อมาบวชเป็นเจ้าอาวาสวัดนี้ จ�ำนวน 7 ไร่ และทายาทของท่านได้บริจาคเพิ่มจ�ำนวน 11 ไร่ 3 งาน 28 ตารางวา รวมที่ตั้ง วัดเดิมอีกจ�ำนวน 8 ไร่ 2 งาน 27 ตารางวา รวมเนื้อที่ทั้งสิ้น 24 ไร่ 3 งาน 58 ตารางวา ปี พ.ศ. 2549 ท�ำการรางวัดใหม่ ยังไม่ทราบเนื้อที่ที่แน่นอน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2437 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร

54

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 54

17/7/2563 15:01:51


โบราณสถาน

- เจดีย์สมัยโบราณ (สมัยรัตนโกสินทร์) - วัดห้วยรอบเก่า

โบราณวัตถุ

- รูปปั้นของหลวงพ่อปลั่ง - พระพุทธรูปบูชา

กิจกรรมประจ�ำปีของวัด

- งานวันมรณะภาพของอดีตท่านเจ้าอาวาส - ประเพณีสงกรานต์ (สรงน�ำ้ พระ อาบน�ำ้ ผูใ้ หญ่ การละเล่นพืน้ บ้าน) - งานศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนา - งานประจ�ำปีวันที่ 19 - 20 เมษายน ของทุกปี

รายนามเจ้าอาวาสวัดห้วยรอบ

1. พระอาจารย์แจ่ม 2. พระอาจารย์นิ่ม 3. พระครูแดง 4. พระสมุห์โอน 5. พระอธิการสี 6. พระมหาทองดี 7. พระมหาประสาน 8. พระอุปกิตธรรมสาร ( หลวงพ่อปลั่ง ) มรณะภาพปี 2542 9. พระอธิ ก ารสมชาย ปุ ญ ญชาโต ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 9 พฤษภาคม 2543 10. พระอธิการณัฐวุฒิ ณฐวุฑฺฒสาโร

พระอธิการณัฐวุฒิ ณฐวุฑฺฒสาโร เจ้าอาวาสวัดห้วยรอบ

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 55

55

17/7/2563 15:02:06


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดมโนราช (ทุ่งปาจาน) พระครูอุทานโชติวัฒน์ (เชิงชาญ โชติญาโณ – ยอดดำ�เนิน) เจ้าอาวาสวัดมโนราช วัดมโนราช ตั้งอยู่บ้านทุ่งปาจาน เลขที่ 1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลดงขวาง อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี

วัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ 16 ตารางวา มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ อยู่ร่วมกับโรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนวัดทุ่งปาจาน ทิศใต้ ติดกับถนนทางหลวงชนบท ( สายบ้านดงขวาง – บ้านท่าข้ามสาคร) ทิศตะวันออก ติดกับถนนคอนกรีต สายเข้าโรงเรียนชั้นประถมศึกษา – ศูนย์อนุบาล เด็กเล็กบ้านทุ่งปาจาน ทิศตะวันตก ติดกับถนนทางหลวงชนบท (สายบ้านหนองระแหงเหนือ – บ้านกุดจอก)

56

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 56

17/7/2563 13:41:08


วัดมโนราช ได้สร้างขึ้นเป็นวัด นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2410 ชาวบ้านเรียก “วัดทุง่ ปาจาน” ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2482 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร อาคารเสนาสนะต่างๆ มีดังนี้ อุโบสถ พร้อมก�ำแพงแก้วซุ้มประตู 3 ด้าน, ศาลาการเปรียญ, หอสวดมนต์, กุฏิสงฆ์, ศาลาธรรมสังเวช, เมรุฌาปณกิจ, โรงแสดงมหรสพ, ศาลาพักร้อน, ศาลาอเนกประสงค์, ป้อมยามต�ำรวจสายตรวจ, ห้องน�้ำห้องสุขา, ซุ้มประตูใหญ่เข้าวัด และป้ายชื่อวัด ส�ำหรับปูชนียวัตถที่เคารพนับถือและศักดิ์สิทธิ์ มี พระประธาน ในอุโบสถ สร้างโดยการหล่อขึ้นภายในวัดเมื่อปี พ.ศ.2489 โดยมี หลวงพ่อพระสมุห์ทะวาย อดีตเจ้าอาวาสในสมัยนั้นเป็นประธานใน การหล่อเนื้อองค์พระเป็นเนื้อทองเหลืองผสมปางสะดุ้งมาร สวยงาม ผุดผ่องมาก ชื่อ หลวงพ่อทศพลญาณมหามุนี แต่ชาวบ้านนิยมเรียก ว่า “หลวงพ่อสมนึก” เหตุเพราะบนบาลสารกล่าวแล้วเป็นได้สมใจ นึ ก เกื อ บทุ ก ราย จึ ง เรี ย กหลวงพ่ อ สมนึ ก กั น โดยทั่ ว ไปจนติ ด ปาก ในแต่ละปีๆ จะมีผู้มาแก้บนด้วยสิ่งของต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะ ลิเก ผู้แก้บนมักจะหามาแกบนกันบ่อยๆ โดยเข้าใจว่าเป็นศิลปะที่ หลวงพ่อชอบและถูกใจหลวงพ่อมากๆ

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 57

57

17/7/2563 13:41:19


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดดอนกลอย พระครูประดิษฐ์นพการ เจ้าอาวาสวัดดอนกลอย วัดดอนกลอย ตั้งอยู่เลขที่ 57 บ้านดอนกลอย หมู่ที่ 5 ต�ำบลดอนกลอย อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 24 ไร่ 2 งาน 8 ตารางวา การสร้างวัด ได้สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.2000 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในราว พ.ศ.2300 การสร้างวัดขึ้นแต่เดิมนั้นไม่มีใครทราบความเป็นมาที่แน่ชัดได้ วัดดอนกลอย เป็นศาสนสถานทางพระพุทธศาสนาของชาวบ้านต�ำบลดอนกลอย และเป็นสถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

58

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 58

17/7/2563 15:56:17


เถรประวัติ พระครูอุปพัทธธรรมคุณ จนฺทปญฺโญ (อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนกลอย)

นามเดิม จู นามสกุล เยีย่ มสนธิ เกิดทีห่ มูท่ ี่ 6 ต�ำบลทองหลาง อ�ำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันอังคาร ที่ 25 พฤศจิกายน 2422 บรรพชา-อุปสมบท เมือ่ อายุ 21 ปี ณ พัทธสีมาวัดทองหลาง อ�ำเภอโนนลาว (บัดนีเ้ ปลีย่ นเป็นโนนไทย) จังหวัดนครราชสีมา เมือ่ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2442 พระครูจนั ทร์ เจ้าคณะแขวง (บัดนีเ้ รียกว่าเจ้าคณะอ�ำเภอ จ�ำราชทินนามเดิมไม่ได้) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดจิตร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์พลาย เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พรรษาที่ 1 ได้ศกึ ษาพระธรรมวินยั อยูใ่ นส�ำนักพระอุปชั ยะ ณ วัดทองหลาง พรรษาที่ 2 ได้ย้ายไปอยู่วัดบางมูลนาค อ�ำเภอบางมูลนาค จังหวัดพิจิตร ภายใต้ความปกครองของพระครูหวาด อดีตเจ้าคณะแขวง พรรษาที่ 3 – 4 ย้ายไปอยู่วัดลาดยาว อ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ พรรษาที่ 5 ย้ายมาอยู่วัดเขาโคกโค อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี และ ได้เข้าศึกษาบาลีเบื้องต้น (สูตรสนธิ) ในส�ำนักพระสมุห์แก้ว เจ้าอาวาส พรรษาที่ 7 ย้ายเข้าไปอยู่วัดดอนขวาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี และ ได้เข้าศึกษาพระธรรมวินัย (บุพพสิกขา) ในส�ำนักท่านเจ้าคุณสุนทรมุนี(ใจ) อดีตเจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี ครั้งยังด�ำรงฐานะเป็นที่พระปลัด ณ วัดทุ่งแก้ว (บัดนี้เปลี่ยนนามเป็นวัดมณีสถิตฯ) พรรษาที่ 9 ย้ายมาอยูว่ ดั ดอนกลอย อ�ำเภอหนองขาหย่างในความปกครอง ของพระสมุห์แก้ว (อาจารย์แก้ว) ซึ่งย้ายจากวัดเขาโคกโค มาเป็นเจ้าอาวาส วัดดอนกลอย เมือ่ พระอาจารย์แก้วลาเพศแล้ว ก็ได้รบั ต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส ปกครองวัดนี้สืบมา พรรษาที่ 13 พ.ศ.24755 ได้รับแต่งตั้งเป็นที่พระสมุห์ฐานานุกรมของ พระครูนเิ วศน์ไพรวัน (จัน่ ) อดีตเจ้าคณะหนองขาหย่าง (สมัยนัน้ เรียกเจ้าคณะ แขวงหนองพลวง ) ณ วัดท่าโพธิ์ พรรษาที่ 15 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะหมวดดอนกลอย (บัดนี้เรียก เจ้าคณะต�ำบล) มีวดั ในท้องที่ 3 ต�ำบล คือ ต�ำบลดอนกลอย ต�ำบลทุง่ พึง่ ต�ำบล ห้วยรอบ ขึ้นรวม 3 วัด มาภายหลังเพิ่มวัดทุ่งพึ่งใหม่ขึ้น เป็น 7 วัด ด้วยกัน นับว่าเป็นหมวดที่มีวัดขึ้นมากที่สุดของอ�ำเภอนี้ พรรษาที่ 42 พ.ศ.2484 ได้เลื่อนฐานะขึ้นเป็นที่พระปลัดฐานานุกรมของ พระครูอปุ ดิสธรรมนิเวธ (ถนอม) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอหนองขาหย่าง วัดท่าโพธิ์ พรรษาที่ 45 พ.ศ.2487 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสงฆ์อ�ำเภอ องค์การ สาธารณูปการ ได้รับนิตยภัตต์เดือนละ 30 บาท พรรษาที่ 47 ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครู สัญญาบัตร มีราชทินนามว่า “พระครูอุปพัทธธรรมคุณ”

พระครูประดิษฐ์นพการ เจ้าอาวาสวัดดอนกลอย

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 59

พระใบฎีกาสมัย อาพาธโร

59

17/7/2563 15:56:27


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดดงขวาง วัดดงขวาง ตั้งอยู่หมู่ 1 ตำ�บลดงขวาง อำ�เภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 19 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา

วัดดงขวาง สร้างขึ้นเป็นวัดราวปี พ.ศ.2383 เข้าใจว่าชาวบ้าน ร่วมกันสร้างวัดนี้ขึ้นมา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2478 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

60

1

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 60

17/7/2563 14:37:46


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดสุทธาวาส (ขุนจัด) พระครูอุปกิตปริยัตยากร เจ้าอาวาสวัดสุทธาวาส ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดอุทัยธานี แห่งที่ 6

วัดสุทธาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 45 บ้านขุนจัด หมู่ที่ 3 ต�ำบลดอนกลอย อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 18 ไร่ 2 งาน วัดสุทธาวาส ได้สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2320 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2330 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 200 เมตร ยาว 40 เมตร และมีพระพุทธรูปหน้าตัก 3 วา เป็นโบราณ วัตถุประจ�ำวัดนี้

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูอุปกิตปริยัตยากร เจ้าอาวาสวัดสุทธาวาส อายุ 71 ปี พรรษา 51 เปรียญธรรม 3 ประโยค อุปสมบท เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2502 ที่วัดสุทธาวาส ต�ำบลดอนกลอย อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี เมื่อบวชแล้วได้ย้ายไปศึกษาที่วัดพิชัยปุรณาราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี เมื่อจบนักธรรมเอกแล้ว ไปศึกษาภาษา บาลีและภาษาไทยที่วัดนครสวรรค์ ได้จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดนครสวรรค์ เป็นเวลา 35 ปี และได้ย้ายไปศึกษาที่วัดลานคา อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 1 พรรษา และได้ย้ายมาอยู่ที่วัดนครสวรรค์อีก 4 พรรษาแล้วได้ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธาวาส 13 พรรษา UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 61

61

21/7/2563 14:29:16


C2U_Artwork_1P_New.indd 62

3/8/2563 9:26:17


_Artwork_1P 63

29/7/2563 15:55:43


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. หลวงปู่แหลม 2. ท่านอาจารย์จอด 3. ท่านพ่ออินทร์ 4. ท่านอาจารย์เง็ก 5. ท่านพ่อสงกรานต์ 6. พระครูประโชติจันทคุณ พ.ศ.2483 - 2530 7. พระครูปริยัติธรรมวิโรจน์ (จรูญ พุทฺธสโร) พ.ศ.2536 – ปัจจุบัน

วัตรปฏิบัติ และตารางเวลากิจกรรมของวัด

เวลา 04.30 น. ท�ำวัตรสวดมนต์, เจริญสมาธิกัมมัฏฐาน เวลา 07.00 น. ท�ำบุญตักบาตร, ถวายภัตตาหาร แด่พระสงฆ์ เวลา 09.00-10.30 น. ปฏิบัติธรรม, ศึกษาธรรม เวลา 13.00-16.30 น. ปฏิบัติธรรม, ศึกษาธรรม เวลา 18.00-21.00 น. ท�ำวัตรสวดมนต์ เจริญสติปัฏฐาน 4

การเจริญวิปสั สนากรรมฐาน เป็นเรือ่ งทีไ่ ม่ยากนัก ทุกคนสามารถ กระท�ำได้ในชีวิตประจ�ำวันของแต่ละคน เพียงให้มี สติ สัมปชัญญะ สังเกตอากัปกริยาหรือการเคลื่อนไหวต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าท่าน จะก�ำลังกระท�ำอะไรอยู่ก็ตาม ถ้าเป็นคนช่างสังเกต สติปัญญาก็จะ เกิดขึ้นตลอดเวลา กิเลสตัณหาจะไม่สามารถเข้ามาบงการชีวิตท่าน ให้ เ ป็ น ไปตามอ� ำ นาจของมั น ได้ ขณะที่ ท ่ า นก� ำ หนดอยู ่ กุ ศ ล (ความดีงาม) ก็เกิดขึ้นในจิตใจอย่างสม�่ำเสมอ ความชั่วหรือบาปก็ หลีกไป ถ้าหมั่นก�ำหนดอยู่เสมอๆ เท่ากับว่าเราได้พัฒนาความดีให้ ยิ่งๆ ขึ้นไป และยังได้ชื่อว่ารักษาความดีเอาไว้ด้วย

วัดหนองขุนชาติ

64

6

ตั้งอยู่เลขที่ 114 หมู่ 1 ต�ำบลหนองสรวง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 64

17/7/2563 16:10:01


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองขุนชาติ พระราชอุทัยโสภณ (มนัส สมชาโน ป.ธ.4 ,ดร.) เจ้าอาวาสวัดหนองขุนชาติ / เจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 65

65

17/7/2563 16:10:11


วัดหนองขุนชาติ ตั้งอยู่เลขที่ 114 หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองสรวง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน ตั้งวัด เนื้อที่ 51 ไร่ 2 งาน 8 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์เนื้อที่ 13 ไร่ 2 งาน วัดหนองขุนชาติได้มีการก่อสร้างเป็นวัดมาเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2364 โดยขุนสนิทเป็นผู้น�ำชาวบ้านหนองสรวง จัดสร้างระยะแรกๆ เรียกว่า วัดสนิทธรรมาราม ตามชื่อผู้น�ำการก่อสร้าง ต่อมาได้เปลี่ยน เป็น วัดหนองสรวง ตามชื่อบ้าน ในปี พ.ศ. 2465 ได้เปลี่ยนชื่อจาก วัดหนองสรวง มาเป็ น วัดหนองขุนชาติ เนื่องจากวัดตั้งอยู่ใกล้ หมู่บ้านหนองขุนชาติ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ประมาณปี พ.ศ. 2443 มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการตั้งอยู่ในธรณีสงฆ์ ของวัดในเนื้อที่ 13 ไร่ 2 งานด้วย

66

6

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 66

17/7/2563 16:10:20


พิพิธภัณธ์ และอาคารเสนาสนะ ภายในบริเวณวัดหนองขุนชาติ

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 67

67

17/7/2563 16:10:29


ภายในวัดจะมีวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานของหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ 3 องค์ ทีเ่ ป็นทีศ่ รัทธาของประชาชนทัว่ ไป คือ หลวงพ่อสุข หลวงพ่อสือ หลวงพ่อตุ้ม และยังมีมลฑป ซึ่งภายในประดิษฐานพระพุทธบาทจ�ำลอง นอกจากนี้ยังมีลวดลายแกะสลักไม้บนบานหน้าต่าง ประตูของ โบสถ์อันงดงามมาก และยังเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมซึ่งสอนธรรมให้แก่พระสงฆ์

68

6

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 68

17/7/2563 16:10:33


ประวัติเจ้าอาวาส

พระราชอุทัยโสภณ (มนัส สมชาโน ป.ธ.4 ,ดร.) พระราชอุทัยโสภณ มีนามเดิมว่า มนัส สะอาด เกิดวันพฤหัสบดี ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 ที่บ้านเลขที่ 28 หมู่ 4 ต�ำบลหนองสรวง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี ประกอบอาชีพเกษตรกรรมในช่วง วั ย เยาว์ เรี ยนจบชั้น มัธ ยมศึก ษาปีที่ 4 ที่โรงเรี ย นวิ ส ามั ญศึ ก ษา (โรงเรียนหนองฉางวิทยา ปัจจุบัน) อุปสมบท เมื่ออายุครบ 22 ปี เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2510 ที่พัทธสีมา วัดหนองขุนชาติ ต�ำบลหนองสรวง อ� ำ เภอหนองฉาง จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี โดยมี พระครู อุ ป การโกวิ ท (หลวงพ่อแอ๋ว) วัดหัวเมือง ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง เป็น พระอุปัชฌาย์, พระสมุห์แปลง ฐานธัมโม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระส�ำเนียง อายุ วัฑฒโน เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา ว่า สมชาโน หมายถึง ผู้รู้เสมอ การศึกษา - พ.ศ. 2515 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดมหาธาตุ วรวิหาร อ.เมือง จ.เพชรบุรี - พ.ศ. 2523 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค

- พ.ศ. 2524 ส� ำ เร็ จ ปริ ญ ญาพุ ท ธศาสตรบั ณ ฑิ ต (พธ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ - พ.ศ. 2544 ส�ำเร็จปริญญาเอก สาขาปรัชญา จากมหาวิทยาลัย มคธ ประเทศอินเดีย ฝ่ายปกครอง - พ.ศ. 2534 เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองขุนชาติ - พ.ศ. 2535 เป็นพระอุปัชฌาย์ - พ.ศ. 2540 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี - พ.ศ. 2559 เป็นเจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี ฝ่ายการศึกษา - พ.ศ. 2515 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม - พ.ศ. 2521 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม ประจ�ำโรงเรียนพุทธ ศาสนาวันอาทิตย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - พ.ศ. 2523 เป็นกรรมการสนามหลวง แผนกธรรม สมณศักดิ์ - พ.ศ. 2523 เป็นเปรียญธรรม 4 ประโยค - พ.ศ. 2532 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท ที่ พระครูอุดมจริยาภรณ์ - พ.ศ. 2534 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นโท ในราชทินนามเดิม - พ.ศ. 2535 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม - พ.ศ. 2540 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร รองเจ้ า คณะจั ง หวั ด ในราชทินนามเดิม - วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ เปรียญ ที่ พระอุทัยธรรมานุวัตร - วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชอุทัยโสภณ วิมลสังฆกิจจาทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 69

69

17/7/2563 16:10:36


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดแจ้ง CHAENG TEMPLE, UTHAI THANI TEMPLE วัดคู่บ้านคู่เมืองอุทัยธานี พระอธิการภูมิสิษฐ์ ปิยสีโล PHRA ATHIKAN PHUMISIT PIYASILO วัดแจ้ง ตั้งอยู่บ้านอุทัยเก่า เลขที่ 50 หมู่ที่ 1 ต� ำ บลอุ ทั ย เก่ า อ� ำ เภอหนองฉาง จั ง หวั ด อุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดแจ้งเป็น วัดเก่าคู่บ้านคู่เมืองอุทัยธานีมาแต่เดิม สร้างขึ้น ในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา พ.ศ. 1930 Wat Chaeng is located at Ban Uthai Kao, No. 50, Village No. 1, Uthai Kao Subdistrict, Nong Chang District, Uthai Thani Province. Under Mahanikai Buddhist Wat Chaeng is an old temple originally belonging to Uthai Thani. Built in the Sukhothai period. Granted to be built in 1387. 70

2

พระอธิการภูมิสิษฐ์ ปิยสีโล เจ้าอาวาสวัดแจ้ง

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2.indd 70

17/7/2563 12:57:58


ประวัติศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน History of King Taksin

ในอดีตเมืองอู่ไทหรือเมืองอุทัยเก่า มีฐานะเป็นหัวเมืองหน้าด่าน ชั้นนอก คอยสกัดกั้นกองทัพพม่าที่จะเข้าไปตีกรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2309 กองทัพพม่ายกทัพมารุกรานไทย พระยาตากได้รับมอบ หมายให้ไปสู้รบกับกองทัพพม่าได้ชัยชนะ และได้ความดีความชอบ จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระยาวชิรปราการ เจ้าเมืองก�ำแพงเพชร แต่ยังไม่ได้ไปปกครองเมืองก�ำแพงเพชร ก็ถูกเรียกตัวเข้ามาป้องกัน กรุงศรีอยุธยา ระหว่างทางพระองค์ท่านเดินทัพจากเมืองตากเพื่อ เข้ากรุงศรีอยุธยา ได้มาทันกองทัพพม่าที่บ้านทัพทัน (ปัจจุบันคือ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี) จึงท�ำการสู้รบกับพม่าจนได้ชัยชนะ แล้วเดินทางต่อมาจนถึงวัดแจ้ง เมืองอู่ไท ก็สว่างหรือแจ้งพอดี ก็ได้ พบกับกองทัพพม่าอีก เกิดการสู้รบกันอย่างดุเดือด พระองค์ท่าน ต่อสู้จนได้รับชัยชนะอีกครั้ง แต่ต้องเสียม้าศึกไปสองตัว เมื่อพระองค์ ท่านได้ปราบพม่าที่วัดแจ้ง เรียบร้อยแล้ว ก็เดินทัพต่อไปเพื่อไปช่วย ป้องกันกรุงศรีอยุธยา In the past, Uthai City or Old Uthai. Status of the city is being an outpost in the outer suburbs. Beware Burmese army to attack Ayutthaya. In 1766, The Burmese army invaded Thailand. King Taksin was assigned to fight with the Burma army and got victory. Therefore was appointed as Phraya Wachiraprakarn Governor of Kamphaeng Phet, but no sooner had he ruled the city of Kamphaeng Phet than was called to protect Ayutthaya city. On the way, King Taksin marched from Tak to enter Ayutthaya. Came to catch up with the Burma Army at Ban Thap Than (Now Thap Than District, Uthai Thani Province) and fought with the Burmese until got victory and then continue go to Chaeng Temple Uthai District and met with the Burmese army again King Taksin fought again and again and won again. But he had lost two battle horse, he had conquered Burma at Wat Chaeng and then marched to help prevent Ayutthaya. ชาวบ้านอุทัยเก่าและผู้ที่เคารพรักศรัทธาในพระเจ้าตาก จึงได้ จัดสร้างศาลและปั้นพระบรมรูปพระองค์ท่านไว้เป็นที่ระลึก ณ วัด แจ้ง ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี เมื่อ พ.ศ. 2516 Old Uthai villagers and people who love King Tak sin, so they built a shrine and sculptured as a memorial at Chaeng temple, Uthai Kao District, Nong Chang District, Uthai Thani Province in 1973. UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

2.indd 71

71

17/7/2563 12:58:09


ใน พ.ศ. 2555 ชาวบ้านต�ำบลอุทยั เก่า และผูท้ เี่ คารพนับถือศรัทธา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้รว่ มกันจัดหาทุนเพือ่ ก่อสร้างศาลขึน้ มาใหม่ โดยสร้างเป็นทรงศาลาจตุรมุข พร้องทั้งหล่อพระบรมรูป พระองค์ท่านขึ้นมาใหม่เนื้อทองเหลือง เป็นรูปประทับยืนถือดาบใน มือทั้งสองข้าง เช่นเดียวกับรูปพระองค์ท่าน ที่จัดสร้าง ใน พ.ศ. 2516 โดยมีขนาดเท่าพระองค์จริง และจัดให้มีพิธีเททองหล่อพระบรมรูป พระองค์ท่านขึ้น ที่วัดแจ้ง ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัด อุทัยธานี ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2555 (ตรงกับวันตีค่ายโพธิ์สามต้น แตกพ่ายในอดีต) In 2012, the villagers of Uthai Kao sub-district and those who respect the King Taksin collected funds for construction of a new shrine which was built in the shape of Chaturamuk Pavilion. It was a standing statue, holding a sword in both hands same as the statue of the King that was created in 1973 with the same size as the real King and also had a ceremony for pouring gold ggor statue at Chaeng Temple at Uthai Kao District, Nong Chang District, Uthai Thani Province on November 6, 2012.

72

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2.indd 72

17/7/2563 12:58:18


เสนาสนะ-ปูชนียวัตถุส�ำคัญ Ancient things

อุโบสถ แบบมหาอุตม์ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 1930 และมีการบูรณะตลอดมา ใน พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2529 ได้มี การบูรณะอุโบสถพร้อมสร้างก�ำแพงแก้วรอบอุโบสถ The Mahahut chapel was underwent restoration in 1985 - 1986. The chapel was renovated with the construction of a glass and built the wall around the chapel. วิหารหลวงปูแ่ ม้น – หลวงปูน่ าค เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 จั่ว ชั้นเดียว พื้นปูกระเบื้อง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2549 Luang Pu Man - Luang Pu Nak Temple is concrete building with tiled floors. Completed in 2006. พระประธานอุโบสถ ปางมารวิชัย เนื้อปูนปั้น หน้าตักกว้าง 73 นิ้ว และพระพุทธรูปด้านซ้ายด้านขวาพระประธาน เป็นปางสมาธิ เนื้อปูนปั้น หน้าตักกว้าง 36 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 1930 The Phra Ubosot with a 73-inch wide stucco base and Buddha statue on the left. On the right side is a 36-inch wide stucco concentration Buddha statue built in 1930. พระประธานศาลาการเปรียญ ปางประทานพร เนื้อทองเหลือง หน้าตักกว้าง 52 นิ้ว สูง 60 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2538 Theology hall Buddha posture blessing. Made of brass, 52 inches wide and 60 inches tall, built in 1995 หลวงปู่แม้น เป็นเนื้อปูนปั้น หน้าตักกว้าง 32 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 The statue of Luang Pu Man is made of cement, 32 inches wide, built in 1973.

หลวงปู่นาค เป็นเนื้อปูนปั้น หน้าตักกว้าง 36 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2549 The statue of Luang Pu Nak is made of plaster 36 inches wide, built in 2006. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (องค์เก่า) เป็นเนื้อปูนปั้น ทรงยืนถือดาบสองมือ สูง 1.83 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 The statue of King Taksin (the old one) is made of cement, standing with a two-handed sword, 1.83 meters high, built in 1973. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (องค์ใหม่) เป็นเนื้อทองเหลือง ทรงยืนถือดาบสองมือ สูง 2.00 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2555 The statue of King Taksin (the new one) is made of brass. Standing with a two-handed sword, 2.00 meters high, built in 2555. พระปรางค์ ศิ ลปกรรมแบบปรางค์ ไทย กว้าง 1.40 เมตร ยาว 1.40 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2081 Thai prang art, 1.40 meters wide, 1.40 meters long, built in 1538. เจดีย์ 2 องค์ ศิลปกรรมแบบเจดีย์ไทย กว้าง 3.00 เมตร ยาว 3.00 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2458 2 pagodas A Thai pagoda style, 3.00 meters wide, 3.00 meters long, built in 1915. ใบเสมาสลักด้วยหินทราย 2 องค์ หน้าอุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ. 1930 2 carved panels in front of the chapel, built in 1930. UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

2.indd 73

73

17/7/2563 12:58:25


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดป่าช้า PACHA TEMPLE สำ�นักเรียนเก่าแก่แห่งเมืองอู่ไท THE OLD SCHOOL OF UTHAI CITY. พระสมุห์ณรงค์ชัย สีลเตโช เจ้าอาวาส PHRA SAMU NARONG CHAI SRILATECHO IS THE ABBOT.

วัดป่าช้า ตั้งอยู่เลขที่ 23 หมู่ที่ 4 ต� ำ บลบ้ า นเก่ า อ� ำ เภอหนองฉาง จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ตั้งวัดตามโฉนดที่ดิน เลขที่ 13195 เนื้อที่ 24 ไร่ 2 งาน Pacha Temple located at 23 Moo 4, Ban Kao Subdistrict, Nong Chang District, Uthai Thani Province, under Mahanikai Buddhist. This temple’s location is no. 13195, land area is 24 rai 2 Ngan. 74

4

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 74

17/7/2563 13:07:00


ประวัติความเป็นมา

วัดป่าช้า เป็นวัดโบราณที่สร้างขึ้นเป็นวัดประมาณ พ.ศ. 2350 เดิมบริเวณนี้เป็นป่าช้าเก่า และมีวัดโบสถ์ตั้งอยู่ใกล้เคียงอยู่ก่อน แล้ว ต่อมาวัดโบสถ์มีสภาพเป็นวัดร้าง วัดป่าช้าจึงเจริญรุ่งเรืองขึ้น ตามล�ำดับ จนได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในปี พ.ศ. 2375

The history

Pacha Temple is an ancient temple built around 1807 originally this area was an old cemetery and there was a church nearby the temple before, Later the temple was an abandoned temple but 1832 Pacha temple prospered respectively until receiving the royal honor in 1832. มีการสันนิษฐานว่า ในอดีตวัดป่าช้าคงเป็นส�ำนักเรียนที่มีความ ส�ำคัญของเมืองอุทัยเก่า เนื่องจากมีการค้นพบค�ำภีร์โบราณและสมุด ข่อยต�ำรายาไทยโบราณจ�ำนวนมาก ซึ่งบางส่วนกระจัดกระจาย สูญหายไป แต่ที่ยังหลงเหลืออยู่ได้รับการขึ้นทะเบียนเรียบร้อยแล้ว It is assumed that in the past, Pacha temple would be an important school of the Uthai city Due to the discovery of ancient Khamphi and Khoi books, many ancient Thai medicine books which some of them were disappeared but the remain things has already been registered.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 75

75

17/7/2563 13:07:13


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส Abbot’s name

วัดป่าช้ามีเจ้าอาวาสปกครองเท่าที่ปรากฏหลักฐานดังต่อไปนี ้ Pacha temple has abbots ruling as shown below. 1. หลวงพ่อท้วม Luang Pho Thom (venerable monk) 2. หลวงพ่อเกิด Luang Pho khet (venerable monk) 3. หลวงพ่อคลัง Luang Pho Kang (venerable monk) 4. พระใบฎีกาแสง (หลวงปู่แสง) Phra Baidika Sang ( Luang Pho Sang) 5. หลวงพ่อสวน Luang Pho suan (venerable monk) 6. พระใบฎีกาศรี Phra Baidika Sri 7. พระอธิการเหวียน Phra Athikan Waian 8. พระสมุห์แสวง Phra Samu Sawang 9. พระอาจารย์สวอง Phra AJarn Sawong (teacher) 10. พระสมุห์น้อย Phra Samu noi 11. พระอาจารย์สละ Phra AJarn Sala (teacher) 12. พระครูอุปถัมภ์พัฒนกิจ (ประสิทธิ์ วณฺณวฑฺฒโก น.ธ.เอก) อดีตเจ้าคณะต�ำบลหนองฉาง Phra Kru Upathamphatthanakit (Prasit Wanawatthakon, Ph.D.), Former of Nong Chang Subdistrict abbot. 13.พระอธิการประเชิญ ปิยวโร Phra Athikan Prachin Piyawaro (Rector) 14.พระอธิ ก ารสมศั ก ดิ์ ถามวโร Phra Athikan Somsak Thamawaro (Rector) 15.พระปลัดวิเชียร ชุติญาโณ น.ธ. Phra Palad Wichian Chutiyano Ph.D. (Permanent) 16.พระสมุห์ณรงค์ชัย สีลเตโช น.ธ.เอก, พธ.ม. (รูปปัจจุบัน) Phra Samu Narong Chai Srilatacho, M.D., (current abbot)

76

4

2

พระสมุห์ณรงค์ชัย สีลเตโช เจ้าอาวาสวัดป่าช้า

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 76

17/7/2563 13:07:18


อาคารเสนาสนะ และบริเวณภายในวัดป่าช้า

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 77

77

17/7/2563 13:07:25


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหัวเมือง HUA MUEANG TEMPLE วัดโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา ANCIENT TEMPLE IN THE AYUTTHAYA PERIOD พระครูสมุห์สุวรรณ อคฺควณฺโณ เจ้าอาวาส PHRA KRU SAMU SUWAN AKKAWANNO, ABBOT วัดหัวเมือง ตั้งอยู่ที่บ้านอุทัยเก่า หมู่ที่ 2 ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 10 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา Hua Mueang Temple is located at Ban Uthai Kao, Village No. 2, Uthai Kao Subdistrict, Nong Chang District, Uthai Thani Province.

78

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 78

21/7/2563 14:31:14


ประวัติวัดหัวเมือง The history

วัดหัวเมือง สร้างขึ้นเป็นวัดราวปี พ.ศ. 2124 โดยประชาชน พร้อมด้วยข้าหลวงอุทัยธานี ที่ตั้งวัดอยู่ตรงหัวเมืองทางด้านเหนือ ของตัวเมือง จึงได้มนี ามว่าวัดหัวเมือง ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา แล้ว นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2130 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 7 เมตร ยาว 15 เมตร อดี ต วั ด หั ว เมื อ งเป็ น วั ด ที่ เจริ ญ มาก และได้ รั บ การยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของทางราชการ มีพระภิกษุอยู่ จ�ำพรรษา 55 รูป สามเณร 21 รูปทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2459 มีที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมู่บ้านและโรงเรียนประถม ศึกษาของทางราชการตั้งอยู่ในวัดนี้ด้วย Hua Mueang temple was built around the year 2124 by the people of Uthai Thani Province. The temple's location is in the city. Received the royal name since 1587. Nowadays, Hua Mueang Temple is a very prosperous temple and is regarded as a model development temple of the government. There are 55 monks, 21 novices. The temple opened the Buddhist Scriptures in 1916. There are village newspapers and government elementary schools located in this temple.

อาคารเสนาสนะ/ปูชนียวัตถุ

อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 15 เมตร สร้าง พ.ศ. 2130 โครงสร้าง ก่ออิฐถือปูนโบราณก้อนใหญ่ หอสวดมนต์ กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้าง พ.ศ. 2517 เป็นอาคารไม้ กุฎีสงฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง เป็นอาคารไม้ และครึ่งตึกครึ่งไม้ นอกจากนี้มีหอฉัน 1 หลัง ส�ำหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถ ปางมารวิชัย พระพุทธรูปบูชาขนาดและ ปางต่าง ๆ จ�ำนวนมาก และมีเจดีย์เก่าอีกหลายองค์

Buildings and artifacts

The chapel is 7 meters wide and 15 meters long. Built in 1587, a large ancient brick structure. The prayer hall is 12 meters wide and 20 meters long. It was built in 1974. There are 7 wooden buildings, half wooden and half wooden buildings. In addition, there is 1 restaurant. For holy objects there The main Buddha image in the Ubosot, Pichawichai Pang Buddha statue, many size and various Pang Buddha images and many old pagodas UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 79

79

17/7/2563 15:07:02


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส Abbot's name

วัดหัวเมือง มีเจ้าอาวาสและรักษาการเจ้าอาวาส ดังนี้ Hua Mueang temple has the abbot and acting abbot as follows รูปที่ 1 หลวงปู่เรียน ไม่ปรากฏว่าพ.ศ.ใด รูปที่ 2 หลวงปู่ผึ้ง ราว พ.ศ. 2400-2420 The 2st Luang Pu Phueng , 1857-1877 รูปที่ 3 หลวงพ่อพร้อม พ.ศ. 2420-2459 The 3nd Luang Pho Prom, 1877-1919 รูปที่ 4 พระอาจารย์ส�ำเภา พ.ศ. 2459-2474 The 4rd Phra Ajarn Samphao 1916-1931 รูปที่ 5 พระครูอุปการโกวิท ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา จนถึง 9 มีนาคม พ.ศ. 2535 และมีพระอาจารย์ท�ำหน้าที่ เจ้าอาวาส The 5th Phra Kru Upakarn Kovit Held positions from 1932 onwards until 9 March 1992 รูปที่ 6 พระสมุห์ประสิทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2535-2542 The 6th Phra Samu Prasit Held positions between 1992-1999 รูปที่ 7 พระอาจารย์ฉลองทัศจันทร์ พระครูอุเทศธรรมโกศล (เตชวณฺโณ) พ.ศ. 2543-2555 The 7th Phra Ajarn Chalong Tassan Provost, Uthatham Kosol (Taechavano) 2000 - 2012 รูปที่ 8 พระอาจารย์สมพงษ์ (รักษาการเจ้าอาวาส) สุขขจิตโต The 8th Phra Ajahn Sompong (Acting Abbot) Sukkhachitto รูปที่ 9 พระครูสมุห์สุวรรณ อคฺควณฺโณ (สอนซิว) ด�ำรงต�ำแหน่ง ตั้งแต่ 9 เมษายน พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน The 9th Phra Kru Samu Suwan Akkawanno (Son Siew) has held the position from April 9, 2018-present. 80

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 80

17/7/2563 15:07:08


ประวัติหลวงพ่อแอ๋ว

พระครูอุปการโกวิท (หลวงพ่อแอ๋ว) ท่านเกิดวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2451 ที่บ้านหนองหม้อแกง หมู่ 1 ต�ำบลหนองสระ อ�ำเภอ ทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี บิดาชื่อโป่ง มารดาชื่อไสว รัศมี มีพี่น้องร่วม บิดามารดาเดียวกัน 3 คน คือ 1.หลวงพ่อแอ๋ว 2.นางเขียว รัศมี 3.นายยศ รัศมี ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านหนองนกยูง

Biography of Luang Por Aew

Phra Kru Kovit (Luang Por Aew) He was born on December 17, 1908, at Ban Nong Mor Kaeng, Village No. 1, Nong Sa Sub-district, Thap Than District, Uthai Thani Province. His father's name is Pong. Mother's name is Sawai Rasami. He has 3 siblings with the same mother. Later moved to Ban Nong Yung. หลวงพ่อแอ๋วในวัยเยาว์มักเจ็บป่วยบ่อย คนสมัยนั้นจึงนิยมยก ลูกให้พระ เพื่อจะได้เลี้ยงง่าย พ่อโป่งแม่ไสว จึงได้ยกหลวงพ่อแอ๋ว ให้ ห ลวงพ่ อ จ้ อ ย ซึ่ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด หนองนกยู ง สมั ย นั้ น เมื่ อ หลวงพ่อแอ๋ว อายุได้ 20 ปี ก็ได้บวชที่วัดหนองสระ โดยมี พระราช สุธี(ยอด) วัดเขาแก้ว อ�ำเภอพยุหะคีรี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ ทองอยู่ เจ้าอาวาสวัดเขาปฐวี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระมหาเกต วั ด เนิ น เหล็ ก เป็ น อนุ ส าวนาจารย์ เมื่ อ บวชแล้ ว ได้ ก ลั บ มาอยู ่ วัดหัวเมือง กับพระอาจารย์ส�ำเภา และได้เรียนรู้ภาษาขอม มีตาออด เป็นผู้สอนภาษาขอม

In childhood, Luang Por Aew often got sick, so people in those days liked to give children to monks. In order to easily raise, Therefore he was given to , Luang Por Joi which was the abbot of Nong nong yung temple at that time. When Luang Por Aew came to age 20 he became a monk at Wat Nong Sa. When he ordained and returned to the temple with Phra Ajahn Sampa he learned Khmer language with Ta Ood uncle who is his Khmer language teacher. เมื่อหลวงพ่อแอ๋วบวชได้ 5 พรรษา พระอาจารย์ส�ำเภาก็ลา สิกขาบท หลวงพ่อแอ๋วจึงได้ขึ้นเป็นเจ้าอาวาสวัดหัวเมืองสืบมา จน ได้รับแต่งตั้งเป็นพระใบฎีกา และได้ฝากตัวเป็นศิษย์หลวงพ่อพลอย วัดห้วยขานาง เรียนวิชาคงกระพันและอาคมต่างๆ หลวงพ่อท่านมี วาจาสิทธิ์ คนทั่วไปจึงเคารพย�ำเกรงบารมีของหลวงพ่อมากๆ หลวงพ่อแอ๋ว มรณภาพเมือ่ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2535 อายุ 84 ปี 64 พรรษา When Luang Por Aew ordained for 5 seasons, Phra Ajahn Sampa left temple. Luang Por Aew therefore became the Abbot of Hua Mueang Temple. Until he met Luang Pho Ploy, Huai Kha Nang Temple, studying invulnerable subjects and various spells. People therefore respect Luang Por very much. Luang Por Aew passed away on 9 March 1992, aged 84 years, 64 years UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 81

81

17/7/2563 15:07:12


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดถ�้ำรัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) WAT THAM RATTANAKIRI ...สักการะพระธาตุสีวลีศักดิ์สิทธิ์

MAKE A MERIT FOR PHRA THAT SI WA LEE

พระครูอุทัย บุญญาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดถ้ำ�รัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) / เจ้าคณะตำ�บลเขากวางทอง

วัดถ�้ำรัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) ตั้งอยู่ที่บ้านเขากวางทอง หมู่ที่ 3 ต�ำบลเขากวางทอง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี เป็นศาสนสถาน อันสงบร่มรื่นท่ามกลางแมกไม้นานาพันธุ์ โอบล้อมด้วยภูเขาทั้งสี่ทิศ ตัววัดตั้งอยู่เชิงขุนเขารัตนคีรี ภายใต้เป็นเงื้อมเขาเป็นถ�้ำที่มีอุโมงค์ยาว กว่า 300 เมตร มีน�้ำใสเย็น และมี “พระธาตุสีวลี” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ ชาวบ้านเขากวางทองให้ความเลื่อมใสศรัทธา Wat Tham Rattanakiri (Khao Kwang Thong Temple) located at Ban Khlong Takhian Tia Village No. 3, Khao Kwang Thong Subdistrict, Nong Chang District, Uthai Thani Province. Uthai Thani province is a peaceful, beautiful place surrounded by various trees. Surrounded by mountains. The temple is located at Rattanakiri Mountain which has 300 meters long tunnels, and the "Phra That Si Walee", considered as holy thing for the people of Khao Kwang Thong villager. 82

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 82

17/7/2563 13:49:06


ประวัติวัดถ�้ำรัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) History of Wat Tham Rattanakiri (Khao Kwang Thong Temple)

ในอดีตมีนายพรานคนหนึง่ ออกล่าสัตว์ จนมาพบหนองน�ำ้ แห่งหนึง่ มีน�้ำใสสะอาดเต็มไปด้วยหอย ปู ปลา พลันได้เหลือบเห็นกวาง ตัวหนึ่งประหลาดมาก ยืนสง่างาม มีสีเหลืองดังทองธรรมชาติ จึงยก ปืนหมายจะยิง แต่ไม่รู้ด้วยเหตุใดนายพรานเกิดตกใจมือสั่นยิงกวาง ไม่ถูก กวางทองตัวนั้นเตลิดหนีวิ่งขึ้นเขา นายพรานเฝ้าดูอยู่หลายวัน ก็ไม่พบ จึงน�ำเรื่องนี้เล่าให้ชาวบ้านฟัง ชาวบ้านจึงพากันไปเฝ้าอยู่ หลายวันก็ไม่พบ จึงพากันเรียกหนองน�้ำแห่งนี้ว่า “หนองกวางทอง” และ “เขากวางทอง” มาจนทุกวันนี้ พระครูอุทัย บุญญาภิวัฒน์ หรือ หลวงพ่อบุญเรือง กตปุญโญ (อิ่มกมล) เจ้าอาวาสวัดถ�้ำรัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) และเจ้าคณะ ต�ำบลเขากวางทอง ได้เมตตาเล่าถึงความเป็นมาของวัดว่า เมื่อปี พ.ศ. 2514 หลังจากบวชได้ 10 วัน ชาวบ้านร่วมใจสามัคคี กันจัดสร้างที่พักสงฆ์ขึ้นบนเขากวางทอง จึงได้นิมนต์ท่านให้มาสร้าง วัดแห่งนี้ เมื่อวันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2514 และได้ขออนุญาต สร้างวัดเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2516 โดยชาวบ้านมีความเห็น ตรงกันว่าจะใช้ชื่อ “วัดเขากวางทอง” Phra Uthai Bunyapiwat is an abbot told that in the year 1971, after 10 days of ordination, the villagers gathered together to build a monastery on Kwang Thong Mountain. On Friday 19 April 1971 they asking for permission to build a temple on 19 April 1973. ต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งเป็นวัด ตั้งแต่วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2522 โดยมีนามตามสภาพที่ตั้งวัด เนื่องจากที่ตั้ง วัดมีภูเขารัตนคีรี และมีถ�้ำสวยงามมีน�้ำใสในถ�้ำ และมีจุดเด่นในถ�้ำ คื อ มี หิ น งอกหิ น ย้ อ ยอยู ่ ม ากมาย และที่ เ ด่ น กว่ า นั้ น ก็ คื อ มี พระธาตุสีวลีอยู่ในถ�้ำนั้นด้วย จึงได้เปลี่ยนชื่อจากวัดเขากวางทอง เป็น “วัดถ�้ำรัตนคีรี” โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2533 Later, the Ministry of Education announced that is place could be a temple since 17 September 2522 with the name according to the location of the temple because the temple location has a Rattanakiri mountain and there is a beautiful cave with clear water in the cave, moreover there are relics in the cave as well. Therefore the name were changing from Khao Kwang Thong Temple to "Thamrattanakiri Temple" on September 25, 1990

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

2

.indd 83

83

17/7/2563 13:49:16


ความมหัศจรรย์ ใต้ขุนเขารัตนคีรี

หลวงพ่อบุญเรือง ได้เล่าถึงสิ่งมหัศจรรย์ที่เคยเกิดขึ้นภายใน ถ�้ำที่สวยงามแห่งนี้ว่า เคยมีผู้เห็นลูกไฟดวงใหญ่ประมาณลูกมะพร้าว พุ่งออกมาจากเทือกเขา ชาวบ้านจ�ำนวนไม่น้อยที่ทราบข่าว ได้เข้าไป ขอเก็บพระธาตุสีวลีมาบูชา เมื่อมีประชาชนเข้าไปรบกวนมาก ๆ พระธาตุสีวลีก็หายไป ซึ่งเป็นเรื่องประหลาด นอกจากนั้นภายในถ�้ำ ยั ง พบใบลานจ� ำ นวนมาก เหล็ ก จาร โอ่ ง ดิ น โบราณ ฝั ก ใบลาน ทาสีแดง และจีวรพระสงฆ์ 1 ปี๊บ และหลังจากพระธาตุสีวลีหายไป ค้างคาวก็เริ่มเข้ามาอาศัยอยู่ นอกจากนี้ ใต้พื้นโบสถ์ยังมีลักษณะเป็นอุโมงค์ยาวประมาณ 300 เมตร สามารถเดินลอดไปทะลุถึงปากถ�้ำอีกด้านหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ ตัง้ ของศาลเจ้าพ่อทองด�ำ ศาลเจ้าแม่ศรีไพร และศาลเจ้าแม่ชปี ะขาวได้

84

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 84

17/7/2563 13:49:23


อาคารเสนาสนะ

Senatana Building / Sacred Building อาคารเสนาสนะ ได้แก่ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ อุโบสถ วิหารจัตุรมุข Senasana Building, including the monk's hall, the tetrahedron temple. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ได้แก่ พระพุทธรูปปางประทานพร เจ้าแม่กวนอิม พระพุทธชินราช พระมหากัจจายนะ พระสีวลี ท�ำจากพระธาตุสีวลี ที่พบภายในถ�้ำผสมกาวเรซิน มองเห็นพระธาตุภายในองค์พระอย่าง งดงามยิ่ง Sacred objects, such as the Buddha's is made from Phra That Siwalee found inside the cave with resin glue. You can see the relics within the Buddha image very beautifully.

รายนามเจ้าอาวาส

นับตั้งแต่ก่อตั้งเป็นวัดถ�้ำรัตนคีรี พระครูอุทัย บุญญาภิวัฒน์ หรือ หลวงพ่อบุญเรือง กตปุญโญ (อิ่มกมล) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส รูปแรก ตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2523 จนถึงปัจจุบัน UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

2

.indd 85

85

17/7/2563 13:49:30


ประวัติเจ้าอาวาส The history

พระครูอุทัย บุญญาภิวัฒน์

เจ้าอาวาสวัดถ�้ำรัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) / เจ้าคณะต�ำบลเขากวางทอง 86

5

พระครูอุทัย บุญญาภิวัฒน์ อายุ 70 ปี พรรษา 49 วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก วัดถ�้ำรัตนคีรี ต�ำบลเขากวางทอง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี Phra Uthai Bunyapiwat, 59 years oldfirst class dharma educator, Tham Rattanakiri Temple Khao Kwang Thong Sub-district, Nong Chang District, Uthai Thani Province. ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดถ�ำ้ รัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) เจ้าคณะต�ำบล เขากวางทอง พระอุปัชฌาย์ พระครูเจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก Abbot of Tham Rattanakiri Temple (Khao Kwang Thong), dean of Khao Kwang Thong Subdistrict. ตลอดระยะเวลากว่า 49 ปี ท่านพระครูอุทัย บุญญาภิวัฒน์ ไม่เพียงแต่จะพัฒนาวัดถ�้ำรัตนคีรีอย่างต่อเนื่องแล้ว ท่านยังได้อบรม สั่ ง สอนพุ ท ธศาสนิ ก ชน ให้ น ้ อ มน� ำ หลั ก ธรรมแห่ ง องค์ ส มเด็ จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า มาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจและด�ำเนินชีวิต ให้มีความสุข มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความสมัครสมานสามัคคี เพื่อน�ำพาให้สังคมและประเทศชาติเจริญก้าวหน้าสืบไป Over the past 40 years, Phra Kru Uthai Bunyapiwat had not only developed Tham Rattanakiri Temple. He also taught Buddhism. Embracing the principles of the Lord Buddha to be an anchor for the happy life. ต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดถ�้ำรัตนคีรี (วัดเขากวางทอง) 2. เจ้าคณะต�ำบลเขากวางทอง 3. พระอุปัชฌาย์ 4. พระครูเจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก 5. พระธรรมฑูต

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 86

17/7/2563 13:49:33


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 87

87

29/7/2563 9:53:15


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดเขาน้อย KHAO NOI TEMPLE สถานธรรมอันสงบงามร่มรื่น พระมหาคนอง ธมฺมกาโม เจ้าอาวาสวัดเขาน้อย วัดเขาน้อย ตั้งอยู่เลขที่ 1/1 หมู่ที่ 9 ต�ำบลเขากวางทอง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

88

4

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 88

17/7/2563 14:57:16


นามปัจจุบัน “วัดเขาน้อย” เริ่มสร้างขึ้นเป็นวัด ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2500 คือ สมัยรัตนโกสินทร์ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 The current name "Khao Noi Temple" began to be built as a temple since about 1957. This place was in the Rattanakosin period. In the reign of King Bhumibol Adulyadej Rama IX เดิม วัดเขาน้อย ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 11 ต�ำบลทุ่งโพ อ�ำเภอ หนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี เป็นพื้นที่ของนายปี ดวงแข เป็นบุตรของ นายปั่น กับ นางโอ ดวงแข Originally, Khao Noi Temple was located in Village No. 11, Thung Pho Sub-district, Nong Chang District, Uthai Thani Province. This temple in under the area of Mr. Pi Duangkae, the son of Mr. Spin and Mrs. O Duangkae. ปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 1/1 หมู่ที่ 9 ต�ำบลเขากวางทอง อ�ำเภอ หนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย Currently, located at No. 1/1 Village No. 9, Khao Kwang Thong Sub-district, Nong Chang District, Uthai Thani Province.

ประวัติการก่อตั้งวัด

Province Within the period from 13 June 1967 until 12 June 1972. Signed Colonel Pin Muthukan, Director General of the Department of Religious Affairs, 30 June 1967. ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ผูร้ บั สนองพระบรมราชโองการ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร นายกรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 94 ตอนที่ 88 หน้า 32 วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2520 Received a certificate on 30 August 1977, published in the Government Gazette, Book 94, Part 88, Page 32, 22 September 1977. เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ได้ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2543 เนื้อที่ของวัด มีเนื้อที่ดิน ตั้งวัด 23 ไร่ 2 งาน - ตารางวา

อาณาเขตของวัดเขาน้อย

ทิศเหนือ ประมาณ 4 เส้น ทิศใต้ ประมาณ 5 เส้น 10 วา ทิศตะวันออก ประมาณ 5 เส้น ทิศตะวันตก ประมาณ 5 เส้น

ติดต่อกับที่ดิน นายเปี่ยม ติดต่อกับ นายเกลื่อน ติดต่อกับ เขาน้อย ติดต่อกับ เขาน้อย

ตามหนังสืออนุญาตให้สร้างวัด เลขที่ 25/2510 อาศัยความตาม ข้อ 3. แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2507) ออกตามความใน พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 กรมการศาสนา ด้วยความ เห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการและมหาเถรสมาคม อนุญาตให้ นายจ�ำปี ดวงแข อยู่บ้านเลขที่ 47 หมู่ที่ 11 ต�ำบลทุ่งโพ อ�ำเภอ หนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สร้างวัดขึ้นที่บ้านเขาน้อย หมู่ที่ 11 ต�ำบลทุ่งโพ อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี ภายในก�ำหนดตั้งแต่ วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ถึงวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2515 ลงนาม พันเอกปิ่น มุทุกันต์ อธิบดีกรมการศาสนา วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2510

History

According to the government to build temples By referring to the provisions of the Ministerial Regulations No. 1 Year 1964, issued under the Act 1962, Department of Religious Affairs with the approval of the Ministry of Education and the Religious Association allowed for Mr. Champi Duangkae, who is at House No. 47, Village No. 11, Thung Pho Sub-district, Nong Chang District, Uthai Thani Province Built a temple at Ban Khao Noi, Village No. 11, Thung Pho Sub-district, Nong Chang District, Uthai Thani UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 89

89

17/7/2563 14:57:25


อาคารเสนาสนะ

วัดเขาน้อยมีอาคารเสนาสนะ ดังนี้ 1. หอสวดมนต์ เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2500 ลักษณะทรงไทย ด้านทิศตะวันออกเป็นบันไดทางขึน้ ศาลา ด้านทิศเหนือ และทิศใต้ศาลา เป็นกุฏทิ พี่ ำ� นักของพระภิกษุ สามเณร และด้านทิศใต้ เป็นอาสนะสงฆ์ ใช้สำ� หรับประกอบพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนา สวดมนต์ทำ� วัตรเช้าเย็น นั่งเจริญสมาธิภาวนา 2. อุโบสถ สร้างเสร็จและท�ำการปิดทองผูกพัทธสีมา ตัดหวาย ลูกนิมติ เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พระอธิการบุญท�ำ ยสสุวณฺโณ ประธานด�ำเนินการก่อสร้าง และพระอธิการกี่ จนฺทสาโร ประธาน ด�ำเนินการผูกพัทธสีมา 3. เมรุ สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2540 พระอธิการกี่ จนฺทสาโร ประธานด�ำเนินการก่อสร้าง 4. ศาลาการเปรียญ สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 พระอธิการกี่ จนฺทสาโร ประธานด�ำเนินการก่อสร้าง พร้อม กับคณะกรรมการวัดเขาน้อย สิน้ งบประมาณก่อสร้าง 5,000,000 บาท 5. หอระฆัง สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2554 พระอธิการกี่ จนฺทสาโร ประธานด�ำเนินการก่อสร้าง 6. ศาลาธรรมสังเวช สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 พระอธิการเสาร์ (แก้ว) ธมฺมสาโร ประธานด�ำเนินการก่อสร้าง พร้ อ มกั บ คณะกรรมการวั ด เขาน้ อ ย สิ้ น งบประมาณก่ อ สร้ า ง 1,500,000 บาท 7. วิหารอดีตเจ้าอาวาส พระอธิการบุญท�ำ ยสสุวณฺโณ และ พระอธิการกี่ จนฺทสาโร สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระมหาคนอง ธมฺมกาโม และคณะกรรมการวัดเขาน้อย ด�ำเนินการ ก่อสร้าง สิ้นงบประมาณก่อสร้าง 662,000 บาท 8. ซุ้มประตูทางเข้าวัด สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 พระมหาคนอง ธมฺมกาโม และคณะกรรมการวัดเขาน้อย ด�ำเนินการก่อสร้าง สิ้นงบประมาณก่อสร้าง 490,000 บาท 9. วิหารพระ สมเด็จองค์ปฐม สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2561 พระมหาคนอง ธมฺมกาโม และคณะกรรมการวัดเขาน้อย ด�ำเนินการก่อสร้าง สิ้นงบประมาณก่อสร้าง 350,000 บาท 10. โดมหลังคาเหล็กโค้ง สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2562 พระมหาคนอง ธมฺมกาโม และคณะกรรมการวัดเขาน้อย ด�ำเนินการก่อสร้าง สิ้นงบประมาณก่อสร้าง 1,800,000 บาท 11. ห้องน�้ำ ห้องสุขา สามัคคีรวมใจ สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2563 พระมหาคนอง ธมฺมกาโม และคณะกรรมการ วัดเขาน้อย ด�ำเนินการก่อสร้าง สิน้ งบประมาณก่อสร้าง 183,500 บาท 12. โรงครัว ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง

90

4

2

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

เจ้าอาวาส ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน มี 5 รูป คือ รูปที่ 1 หลวงปู่อุ่น ตปจาโล ผู้มีความเกี่ยวข้องกับวัดเขาน้อย ในการเริ่มก่อสร้าง รูปที่ 2 พระอธิการบุญท�ำ ยสสุวณฺโณ (หลวงปู่บุญท�ำ) พ.ศ. 2517 – พ.ศ. 2544 รูปที่ 3 พระอธิการกี่ จนฺทสาโร (หลวงพ่อกี่) พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2556 รูปที่ 4 พระอธิการเสาร์ ธมฺมสาโร พ.ศ. 2558 – พ.ศ. 2559 รูปที่ 5 พระมหาคนอง ธมฺมกาโม พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 90

17/7/2563 14:57:30


ประวัติเจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน

พระมหาคนอง ธมฺมกาโม (คนอง ประสาท) เจ้าอาวาสวัดเขาน้อย ต�ำบลเขากวางทอง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สถานะเดิ ม เกิ ด วั น พุ ธ ที่ 8 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2521 บิ ด า นายจ�ำเนียน สะกุณี มารดา นางน�ำ้ ทิพย์ ประสาท เกิดทีบ่ า้ นเขาฆ้องชัย เลขที่ 61/1 หมู่ 1 ต�ำบลป่าอ้อ อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี อุปสมบท วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ณ วัดหัวเมือง ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี พระอุปัชฌาย์ พระครูอุดมสุทธศีล (ประยูร สุทฺธสีโล) วัดทุ่งหลวง ต�ำบลทุ่งพง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี พระกรรมวาจาจารย์ พระสมศักดิ์ ชยธมฺโม วัดหนองสระ ต�ำบลตลุกดู่ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี พระอนุสาวนาจารย์ พระฉลอง เตชวณฺโณ วัดหัวเมือง ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี การศึกษาทางโลก พ.ศ. 2561 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่วยวิทยบริการจังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2560 ส�ำเร็จการศึกษา พธ.บ. สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์

พระมหาคนอง ธมฺมกาโม

เจ้าอาวาสวัดเขาน้อย ปีพ.ศ. 2560

การศึกษาทางธรรม พ.ศ. 2552 สอบได้ ป.ธ.4 วัดพรหมจริยาวาส ต�ำบลปากน�ำ้ โพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2550 สอบได้ ป.ธ.3 วัดพรหมจริยาวาส ต�ำบลปากน�ำ้ โพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2543 สอบได้ น.ธ.เอก วัดหัวเมือง ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี ความสามารถพิเศษ ทรงพระภิกขุปาฏิโมกข์ ต�ำแหน่ง - เจ้าอาวาสวัดเขาน้อย พ.ศ. 2560 - เลขานุการเจ้าคณะต�ำบลทุ่งพง - อุทัยเก่า พ.ศ. 2544 – 2547 - เลขานุการเจ้าอาวาสวัดพรหมจริยาวาส จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2549 – 2553 - เลขานุการเจ้าคณะต�ำบลนครสวรรค์ตก พ.ศ. 2553 - 2560 วัดพรหมจริยาวาส ต�ำบลปากน�้ำโพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

วัดเขาน้อย น�ำโดยพระมหาคนอง ธมฺมกาโม เจ้าอาวาส ได้ท�ำ การบูรณะพัฒนาวัดอย่างต่อเนื่อง เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ทั้ง พระภิกษุ สามเณร ประชาชนทัว่ ไป และหน่วยงานราชการ จึงขอเรียน เชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาร่วมสร้างเส้นทางบุญได้ที่ โทร 08 1888 6195 หรื อ ท่ า นที่ ป ระสงค์ จ ะเดิ น ทางมาท� ำ บุ ญ ที่ วั ด เขาน้ อ ย ที่ ต� ำ บล เขากวางทอง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี ก็สะดวกสบาย เพราะอยู ่ ห ่ า งจากกรุ ง เทพประมาณ 254 กม. ใช้ เวลาเดิ น ทาง ประมาณ 3 ชั่วโมง 10 นาที อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 36.3 กม. ใช้เวลาเดินทางประมาณ 37 นาที อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอหนองฉาง ประมาณ 15.4 กม. ใช้เวลาประมาณ 21 นาที UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 91

91

17/7/2563 14:57:33


92

5

วัดป่าเลา ตั้งอยู่ที่บ้านป่าเลา หมู่ที่ 3 ต�ำบลเขาบางแกรก อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 11 ไร่ 1 งาน 12 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 85

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 92

17/7/2563 13:21:48


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดป่าเลา พระมหาสมชาย ภูริวฑฺฒโน เจ้าอาวาสวัดป่าเลา

อาณาเขต

ทิศเหนือ ยาว 5 เส้นเศษ ติดต่อ กับที่ดินของนายบุญ ทิศใต้ ยาว 6 เส้นเศษ ติดต่อกับ ป่าช้าและที่ตั้งโรงเรียน ทิศตะวันออก ยาว 1 เส้น 10 วา 2 ศอก ติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศตะวันตก ยาว 3 เส้น 2 วา ติดต่อกับที่ดินของนายจั่น มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 2 ไร่ พื้ น ที่ ต้ั ง วั ด เป็ น ที่ ร าบสู ง สภาพ แวดล้อมเป็นที่นาและล�ำคลอง

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 93

93

17/7/2563 13:21:59


อาคารเสนาสนะ ต่างๆ มี - ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร - หอสวดมนต์ กว้าง 4 เมตร ยาว 9 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2525 - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ ส�ำหรับปูชนียวัตถุมี พระพุทธรูปพุทธชินราชจ�ำลองและพระพุทธรูป บูชาอื่นๆ อีก จ�ำนวน 14 องค์

เจ้าอาวาสส่วนมากเป็นผู้รักษาการแทน มี 12 รูป คือ รูปที่ 1 พระอาจารย์สีดา รูปที่ 2 พระป้อง รูปที่ 3 พระส�ำเริง รูปที่ 4 พระสมบุญ รูปที่ 5 พระทัน รูปที่ 6 พระอ้อม กตปุญโญ รูปที่ 7 พระมหาวิชาญ รูปที่ 8 พระเพียร วิเสสคุโณ รูปที่ 9 พระอธิการประสิทธิ์ รูปที่ 10 พระอธิการสายหยุด ฐานสุโภ รูปที่ 11 พระปลัดบุญมี ปคุโณ รูปที่ 12 พระมหาสมชาย ภูริวฑฺฒโน 94

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 94

17/7/2563 13:22:04


ประวัติเจ้าอาวาส พอสังเขป

พระมหาสมชาย ภูรวิ ฑฺฒโน เจ้าอาวาสวัดป่าเลา อายุ 55 พรรษา 14 นักธรรมเอกเปรียญธรรม 6 ประโยค จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ หน่วยวิทยบริการ วัดหนองขุนชาติ จังหวัดอุทัยธานี ได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาสวัดป่าเลา เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 95

95

17/7/2563 13:22:09


วัดป่าเลา สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2470 ได้มีนามตามชื่อบ้าน โดยมี นายจัน ค�ำมัน ได้บริจาคที่ดินและ ด�ำเนินการสร้างวัด ระยะแรกเรียกนามว่า “วัดธรรมวารีศรีสุวรรณ” มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา 6 รูป สามเณร 4 รูป ทางวัดได้มี การเปิดสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2525 วัดป่าเลาเป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นสถานที่ปฏิบัติกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

96

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 96

17/7/2563 13:22:15


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

29/7/2563 9:53:36


98

.indd 98

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

29/7/2563 9:54:08


UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 99

99

29/7/2563 9:54:09


พระประธานในอุโบสถ 100

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 100

วัดใหญ่

17/7/2563 12:44:12


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดใหญ่ ศูนย์รวมจิตใจ ของชาวหนองฉาง พระครูอุเทศธรรมาภรณ์ (สุชาติ ) เจ้าอาวาสวัดใหญ่ / เจ้าคณะตำ�บลหนองฉาง วัดใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 10 หมู่ที่ 5 ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 15 ไร่

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

พระอธิการพิบูลย์ (ฐานธมฺโม)

.indd 101 ดเนินเหล็ก เจ้าอาวาสวั

101

17/7/2563 12:44:27


วัดใหญ่ สร้างขึ้นเป็นวัดประมาณ พ.ศ. 2400 มีอุโบสถ โครงสร้างก่ออิฐถือปูน บานประตูหน้าต่างมีภาพจิตรกรรมแกะสลัก เป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายกนกเปลว กาบกนก ต่อลายพันกันเป็นเถามีพระลักษณ์ พระรามเป็นทวารบาล นับว่าเป็นวัดที่เก่าแก่ เป็นศาสนสถานที่ส�ำคัญของชาวหนองฉาง สิ่งส�ำคัญที่ยังคงความอนุรักษ์ศิลปะโบราณสถานไว้ในวัดใหญ่ก็คือ เจดีย์มอญ

102

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 102

17/7/2563 12:44:36


อาณาเขต ติดต่อดังนี้

- ทิศเหนือ ติดต่อกับทางเกวียน - ทิศใต้ ติดต่อกับล�ำคลอง - ทิศตะวันออก ติดต่อกับที่ดินของเอกชน - ทิศตะวันตก ติดต่อกับทางเกวียน

พระครูอุเทศธรรมาภรณ์ (สุชาติ )

เจ้าอาวาสวัดใหญ่ / เจ้าคณะต�ำบลหนองฉาง UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 103

103

17/7/2563 12:44:49


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดบ่อทับใต้ พระอธิการยงยุทธ ทตฺตวีโร เจ้าอาวาสวัดบ่อทับใต้

วัดบ่อทับใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองสรวง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

พระอธิการยงยุทธ ทตฺตวีโร เจ้าอาวาสวัดบ่อทับใต้

104

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 104

24/7/2563 14:24:25


ประวัติการสร้างวัดบ่อทับใต้ ( พอสังเขป )

วัดบ่อทับใต้ ตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 13 เดือนกันยายน พ.ศ. 2527 และเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2505 พุทธศาสนิกชนหมู่ที่ 4,5 ต�ำบล หนองสรวง และหมู่ที่ 8 ต�ำบลทุ่งโพ อ�ำเภอหนองฉาง ได้ร่วมกัน สร้างศาลาเล็กไว้เพื่อท�ำบุญในวันพระ บนที่สาธารณะประโยชน์ หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองสรวง ต่อมานายชิต ไชยะ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านบ่อทับใต้ พร้อม ผู้ใหญ่บ้าน ก�ำนันและชาวบ้านได้ประชุมหารือกันตกลงต้องการตั้ง วัด จึงได้รับความอนุเคราะห์จาก นายเลี่ยม-นางพยุง สามัญเขตกรณ์ และนายสนิท - นางนรินทร์ จงเขตกิจ ได้ช่วยบริจาคพร้อมปรับแลก ที่ดินกั้นบางส่วนโดยขอค่าตอบแทนเล็กน้อย แล้วบริจาคที่ดินของ นายเลี่ยม - นางพยุง สามัญเขตกรณ์ สร้างวัดในปัจจุบัน จากนั้น นายชิต ไชยะ เสียชีวิตด้วยโรคชรา จึงให้นายชิ้น ทิพรังศรี ตามความ เห็นของชาวบ้าน เป็นผู้ขออนุญาตตั้งวัดจนกระทรวงศึกษาธิการได้ อนุ ญ าตนายชิ้ น ทิ พ รั ง ศรี เ ป็ น ผู ้ ส ร้ า งวั ด บ่ อ ทั บ ใต้ เมื่ อ วั น ที่ 13 กันยายน พ.ศ.2527 ณ สถานที่ปัจจุบัน โดยมีพระภิกษุ สามเณร อยู่ ประจ�ำวัดติดต่อกันมาโดยตลอด ตั้งแต่เป็นที่พักสงฆ์ ส�ำนักสงฆ์ มีหัวหน้าและเจ้าอาวาสพัฒนาวัดร่วมกับชาวบ้านด้วยดีและได้รับ การพัฒนาทั้งด้านอาคาร สถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนา พร้อม ทั้งการบ�ำรุงพระพุทธศาสนา พระครูศรีรัตนาภิรัต ( พระมหาปิยนันท์ ปิยจิตฺโต ) ( ดร.,นธ. เอก,ปธ.6 ) ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด บ่ อ ทั บ ใต้ เมื่ อ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2538 ต่อมา วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2562 พระศรีรัตนาภิรัตได้มรณภาพลงด้วยอาการอาพาธ คณะสงฆ์จึงได้ แต่งตั้งให้ พระอธิการยงยุทธ ทตฺตวีโร เป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาส และแต่งตั้งพระอธิการยงยุทธ ทตฺตวีโร เป็นเจ้าอาวาสวัดบ่อทับใต้ เมือ่ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา ได้พฒ ั นาตามกิจของสงฆ์ พร้อมพุทธศาสนิกชนชาวบ้านต่อเนื่องด้วยดีตลอดมา

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 105

พระใบฎีกาสมัย อาพาธโร

105

24/7/2563 14:24:39


106

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี


History of buddhism....

วัดตลุกดู่ WAT TALUK DU พระครูอุปการธรรมวิจิตร เจ้าอาวาสวัดตลุกดู่

PHRA KHRU UPPAKARATHAMWIJIT, ABBOT OF WAT TALUK DU

วัดตลุกดู่ ตั้งอยู่เลขที่ 74 บ้านตลุกดู่ ต�ำบลตลุกดู่ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา โฉนดเลขที่ 5637 Wat Taluk Du is located at 74 Ban Taluk Du, Taluk Du sub-district, Thap Than district, Uthai Thani province. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 4.74 acres and 1,376 square meters, the title deed no.5637.

Facebook SBL

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

107


หลวงพ่อเสมา จันทโชโต (ผู้มีวาจาสิทธิ์)

ประวัติหลวงพ่อโป๊ะ

อัตโนประวัติหลวงพ่อโป๊ะ (พระครูอุทิศธรรมคุณ สังวโร) ท่านเกิดที่บ้านเนินกลาง หมู่ 4 ต�ำบลตลุกดู่ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี เมื่อวันเสาร์ เดือน 11 ปีมะเส็ง พ.ศ.2449 บิดาชื่อ นายล�ำ มารดาชื่อนางทองสุข นามสกุล ศิริโยธา เป็นบุตรคนที่ 1 ในบรรดาบุตรทั้งหมด 10 คน ท่านได้บวชเณรศึกษาพระธรรมวินัย มาตั้งแต่เด็ก จนอายุ 19 ปี ท่านจึงได้สึกมาช่วยบิดามารดา ประกอบ อาชีพ อยู่ 1 ปี เมื่ออายุครบ 20 ปี ท่านจึงได้อุปสมบท อีกครั้ง ณ พั ท ธสี ม าวั ด ทุ ่ ง หลวง โดยมี ห ลวงพ่ อ สื อ วั ด หนองขุ น ชาติ พระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อเสมาเป็นพระกรรมวาจาจารย์และเป็นการ บวชที่ไม่สึกเลย ก่อนที่ท่านจะมาเป็นเจ้าอาวาสวัดตลุกดู่ ท่านได้ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองนกยูงมาก่อนต่อมาหลังจากหลวงพ่อ มรณภาพบรรดาชาวบ้านก็ได้นิมนต์ให้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดตลกดู่ ตั้งแต่ พ.ศ.2848 โดยอุปนิสัยหลวงพ่อท่านเป็นคนกตัญญู ท่านยังเป็นเจ้าพิธีในการพุทธาภิเษกหลวงพ่อเสมา ปี พ.ศ.2508 และปี พ.ศ.2520 ท�ำให้วัตถุมงคลทั้งสองรุ่นและรุ่นที่ท่านสร้างมี ประสบการณ์อย่างมากมาย โดยเฉพาะมีดปากกาที่ท่านสร้างไว้เมื่อ ปี พ.ศ.2529 ท่านได้ละสังขารไปเมื่อ วันที่ 16 พฤษภาคม 2533 อายุได้ 84 ปี ซึ่งน�ำความเศร้าโศกเสียใจให้กับบรรดาลูกศิษย์และ ชาวบ้านเป็นอย่างมาก สะรีระของหลวงพ่อยังบรรจุไว้ท่ีโลงแก้วของ วัดตลุกดู่เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้บรรดาลูกศิษย์ของหลวงพ่อได้ มากราบไหว้บูชาขอพรจนถึงปัจจุบัน 108

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

หลวงพ่อเสมา จันทรโชโต เกิ ด ที่ บ ้ า นสี แ ก้ ว อ� ำ เภอเมื อ ง จังหวัดร้อยเอ็ด เมือ่ วันอังคาร ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 ( ขึน้ 3 ค�ำ่ เดือน 8 ปีระกา ) โยมบิดา ชื่อนายหอม สมบัติ โยมมารดา ชื่อนางเกลี้ยง สมบัติ อายุได้ 15 ปี โยมบิดาได้น�ำไปฝากให้ เรียนหนังสือกับพระอาจารย์โพ เจ้าอาวาสสีแก้ว เมื่อ พ.ศ. 2443 เรียนอยู่ 2 ปี เมื่อพ.ศ. 2448 อายุครบ 20 ปี ญาติพนี่ อ้ งจัดให้ เข้าพิธีอุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดสีแก้วโดยมีพระอาจารย์เสน เป็น พระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์คำ� เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รบั ฉายาว่า “จันทโชโต” แปลว่าผู้มีแสงสว่างดังดวงจันทร์ท่านได้จ�ำพรรษาอยู่ที่ วัดสีแก้ว 1 พรรษา ก่อนย้ายไปจ�ำพรรษาอยูท่ วี่ ดั คอกควาย อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด ลพบุ รี ศึ ก ษาธรรมวิ นั ย กั บ พระอาจารย์ มี อี ก 1 พรรษา หลวงพ่อเสมาได้อาพาธอย่างหนักต้องพักรักษาตัวอยู่ที่วัดมะเดื่อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม อีก 1 พรรษา ได้ทราบว่าพระอาจารย์ เสนไป อยูท่ วี่ ดั ตลุกดู่ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทยั ธานี จึงตามมาอยูด่ ว้ ย ถึง 3 พรรษา จึงขอลาพระอาจารย์เสนกลับไปเยีย่ มบ้านและจ�ำพรรษา อยูท่ วี่ ดั ตลุกดูศ่ กึ ษามูลกัลญา กลับพระอาจารย์สารีเจ้าอาวาสวัดตลุกดู่ 2 พรรษา พระอาจารย์สารีกล็ าสิกขาบท หลวงพ่อจึงรั้งต�ำแหน่งรักษา การเจ้าอาวาส วัดตลุกดู่ พ.ศ. 2466 หลวงพ่อได้เข้าสอบธรรมวินัยที่ สนามจังหวัด อันมีพระสุนทรมุณี (ใจ) เจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี เป็น แม่กองเปิดสอบที่วัดมะเดื่อ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานีสอบอยู่ 2 ครั้ง พ.ศ. 2468 หลวงพ่อที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอธิการเจ้าอาวาส วัดตลุกดู่ หลวงพ่อเสมามรณภาพ เมื่อวันที่ 28 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 ปีมะเส็ง ( ขึ้น 3 ค�่ำ) ศิริอายุ 55 ปี 7 เดือน 7 วัน

ศรัทธาปาฏิหาริย์ของหลวงพ่อ

1. ผ้ายันต์ของหลวงพ่อเสมาแจกให้ลูกศิษย์ไปใช้ป้องกันตัวสุนัข กัดไม่เข้า 2. คนร้ายที่เข้าไปขโมยสิ่งของในกุฏิหลวงพ่อกลับพบงูจงอาง ออกมาวิ่งไล่จนผู้นั้นถึงแก่ความตาย 3. วาจาของหลวงพ่อเสมาศักดิ์สิทธิ์และท�ำให้ “ ป่าสัก” ที่อำ� เภอ ลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ยังคงมีสภาพเดิมอยู่จนทุกวันนี้ 4. วัตถุมงคลของหลวงพ่อเป็นที่นิยมนับถือและใช้ได้ผลมีความ ศักดิ์สิทธิ์สามารถให้ผู้ขอสมหวังในสิ่งที่ปรารถนาได้เสมอ


อาคารเสนาสนะ ต่างๆ

- อุโบสถ กว้าง 12 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2492 โครงสร้างก่ออิฐถือปูน มีก�ำแพงแก้วล้อมโดยรอบ - ศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2494 เป็นอาคารไม้ 2 หลังแฝด - หอสวดมนต์ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2502 เป็นอาคารไม้ - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง เป็นอาคารไม้ - ฌาปนกิจสถาน ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มี พระประธานในพระอุโบสถ Important buildings in this temple are as follows: - Ubosot (Buddhist sanctuary) 12 meters in width and 30 meters in length. It was built in B.E.2492, its structure is masonry structure and surrounded by low wall. - Sermon Hall 24 meters in width and 28 meters in length. It was built in B.E.2494. It is wooden twin buildings. - Chanting Hall 12 meters in width and 24 meters in length. It is a wooden building that was built in B.E.2502. - Monk’s houses There are 6 wooden monk’s houses - Crematory As for sacred object, there is principle Buddha image in Ubosot

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

109


วัดตลุกดู่ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2420 ได้มีนามตามชื่อบ้าน ซึ่งแต่เดิมบริเวณนี้เป็นตลุก มีหนองน�้ำ และ ต้นไม้ประดู่ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบสูง ชาวบ้านจึงเรียกตามลักษณะ ภูมิประเทศนี้ว่า “วัดตลุกดู่” เป็นชื่อนามและวัด ผู้ริเริ่มด�ำเนินการ สร้างวัดคือ ก�ำนันพันธุ์ไกร ได้ร่วมกับพุทธศาสนิกชนจัดสร้างขึ้น ซึง่ ได้บริจาคทีด่ นิ จ�ำนวน 11 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ยาว 120 เมตร ผู ก พั ท ธสี ม าวั น ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2473 ทางวั ด ได้ เ ปิ ด สอน พระปริ ยั ติ ธ รรม ปี พ .ศ. 2467 มี โรงเรี ย นประถมศึ ก ษาของทาง ราชการตั้งอยู่วัดนี้ด้วย Wat Taluk Du was built as a temple since around B.E.2420. It was named after the area where it is situated. Formerly, this area was Taluk (Taluk means muddy place), there was a swamp and many Burmese Rosewoods. 110

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

Location of this temple is a highland, locals then called this temple by naming it after its topography as “Wat Taluk Du”. The one who started this temple’s construction was sub-district headman Phankrai together with other Buddhists which they had donated land for building temple and its scale was 4.34 acres and 560 square meters. This temple was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 24 December B.E.2470 which it was 120 meters in length. After that, the demarcation ceremony for this temple was performed on 1 April B.E.2473. Then, this temple started teaching Tripitaka in B.E.2467. The official elementary school also located inside this temple.


เจ้าอาวาส มี 9 รูป คือ Order of 9 abbots of this temple:

รูปที่ 1 พระอาจารย์กัลยา First Phra Ajarn Kanlaya รูปที่ 2 พระอาจารย์จ�ำปา Second Phra Ajarn Jampa รูปที่ 3 พระอาจารย์ธรรมมา Third Phra Ajarn Thamma รูปที่ 4 พระอาจารย์สาน Fourth Phra Ajarn Sarn รูปที่ 5 พระอาจารย์เสน Fifth Phra Ajarn Sen รูปที่ 6 พระอาจารย์สาลี Sixth Phra Ajarn Sali รูปที่ 7 พระอาจารย์เสมา จนฺทโชโต Seventh Phra Ajarn Sema Chanthachoto รูปที่ 8 พระครูอุทิศธรรมคุณ Eighth Phra Khru Uthitthammakhun รูปที่ 9 พระครูอุทัยสารกิจ Ninth Phra Khru Uthaisarakij รูปที่ 10 พระครูอุปการธรรมวิจิตร รูปปัจจุบัน Ninth Phra Khru Uppakarathamwijit, the current abbot

พระครูอุปการธรรมวิจิตร เจ้าอาวาสวัดตลุกดู่ Phra Khru Uppakarathamwijit, abbot of Wat Taluk Du UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

111


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองกระดี่นอก เยี่ยมชม วัดหนองกระดี่นอก จังหวัดอุทัยธานี นมัสการ หลวงพ่อเคลือบ สาวรธัมโม พระปลัดเจริญ วุฒิโก เจ้าอาวาสวัดหนองกระดี่นอก

วัดหนองกระดี่นอก ตั้งอยู่เลขที่ 114 หมู่ 3 (บ้านหนองกระดี่ นอกหรื อ บ้ า นอ้ อ ย) ต� ำ บลหนองยายดา อ� ำ เภอทั พ ทั น จั ง หวั ด อุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม อาคาร เสนาสนะต่างๆ มีอุโบสถกว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างพ.ศ. 2469 โครงสร้างก่ออิฐถือปูน กุฏิสงฆ์ 1 หลัง เป็นอาคารไม้ และ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถและ รูปปั้น หลวงพ่อเคลือบ วัดหนองกระดี่นอก

112

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 112

17/7/2563 15:20:31


วัดหนองกระดี่นอก สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2431 โดยมีคุณหลวง สุมาตราบริจาคที่ดินเนื้อที่ 7 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา ด�ำเนินการสร้าง วัดขึ้นมา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2468 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ตั้งอยู่ริมถนนลาดยาง สายทัพทัน-สว่างอารมณ์ หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองยายดา อ.ทัพทัน จ.อุทยั ธานี บูรณะฟืน้ ฟูเมือ่ ปีพ.ศ. 2514 และขอขึน้ ทะเบียนเป็นวัดใหม่ “พระปลัดเจริญ วุฒโิ ก” เจ้าอาวาสวัดหนองกระดีน่ อกรูปปัจจุบนั กล่าวว่า วัดหนองกระดีน่ อก มีสงิ่ ทีน่ า่ สนใจ อาทิ วิหารหลวงพ่อเคลือบ อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองกระดี่นอก ผู้มีวาจาศักดิ์สิทธิ์ มีอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ ระยะทางห่างจากจังหวัดอุทัยธานี 27 กิโลเมตร และอยู่ ห่างจากอ�ำเภอทัพทัน 8 กิโลเมตร มีประชาชนทั้งในจังหวัดอุทัยธานี และต่ า งจั ง หวั ด เดิ น ทางไปกราบนมั ส การหลวงพ่ อ เคลื อ บทุ ก วั น ซึง่ วันที่ 29-30 ธันวาคมของทุกปี วัดหนองกระดีน่ อก จัดงานประจ�ำปี ปิดทอง ไหว้พระ หลวงพ่อเคลือบอย่างมโหฬาร

ปฏิปทา หลวงพ่อเคลือบ สาวรธมโม

“หลวงพ่อเคลือบ สาวรธัมโม” วัดหนองกระดี่นอก ต�ำบล หนองยายดา อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี เป็นนามพระเกจิที่รู้จัก กันดีในหมู่ศรัทธาสาธุชนชาวเมืองอุทัยธานีได้รับการขนานนามว่า “หลวงพ่อเคลือบ วาจาสิทธิ์ พูดอย่างไร เป็นอย่างนั้น” ทั้งยังได้ รับการยกย่องว่าเป็น “เทพเจ้าแห่งลุ่มน�้ำสะแกกรัง” หลวงพ่ อ เคลื อ บ เกิ ด เมื่ อ ปี พ .ศ. 2432 ที่ บ ้ า นคลองชะโด ต�ำบลทุง่ ใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี อุปสมบทเมือ่ ปีพ.ศ. 2453 ณ พัทธสีมาวัดหนองเต่า อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี โดยมีพระครูอุทัย ธรรมวินิฐ (หลวงพ่อสิน) เจ้าอาวาสวัดหนองเต่าเป็นพระอุปัชฌาย์ ผู ้ มี วิ ท ยาคมเข้ ม ขลั ง ในยุ ค นั้ น หลวงพ่ อ เคลื อ บ วั ด หนองกระดี ได้ร�่ำเรียนวิทยาคมกับหลวงพ่อสินเป็นเวลานาน 3 พรรษา หลังจาก นั้ น ได้ ไ ปเรี ย นเพ่ ง กสิ ณ กั บ หลวงพ่ อ กบ วั ด เขาสาลิ ก า จ.ลพบุ รี ก่อนออกท่องธุดงค์ไปทางภาคเหนือและย้อนกลับมาที่เมืองอุทัยธานี นอกจากนี้ ยังเรียนวิทยาคมกับหลวงพ่อแสง วัดป่าช้า ตลอดจน พระอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมอีกหลายท่าน หลวงพ่อเคลือบ มรณภาพ เมื่อปี พ.ศ.2497 สิริอายุ 65 ปี พรรษา 45 พ.ศ.2555 พระปลัดเจริญ วุฑฒิโก และคณะกรรมการวัด มีมติ ให้ด�ำเนินการก่อสร้างเมรุถาวรแทนของเก่าที่ใช้เชิงตะกอนเผาศพ ด้ ว ยงบประมาณ 2 ล้ า นบาทเศษ พร้ อ มให้จัดสร้า ง วัตถุมงคล หลวงพ่อเคลือบ รุ่น "สร้างเมรุ 555" เพื่อหารายได้สมทบทุนการ ก่อสร้างเมรุดังกล่าว ผู ้ ม าเยี่ ย มเยื อ นวั ด หนองกระดี่ น อก กราบนมั ส การหลวงพ่ อ เคลื อ บที่ วิ ห ารแล้ ว หากมี จิ ต ศรั ท ธาจะร่ ว มบุ ญ ก่ อ สร้ า งเมรุ ที่ ยั ง ไม่ แ ล้ ว เสร็ จ ด้ ว ยการเช่ า บู ช าวั ต ถุ ม งคลเป็ น ที่ ร ะลึ ก ได้ ต ามก� ำ ลั ง ศรัทธาด้วยตัวเองที่วัดหนองกระดี่นอก ถนนลาดยาง สายทัพทันสว่างอารมณ์ (กิโลเมตรที่ 8) หมู่ 3 ต�ำบลหนองยายดา อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี จะเป็นกุศลยิ่ง

พระปลัดเจริญ วุฒิโก

เจ้าอาวาสวัดหนองกระดี่นอก

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 113

พระใบฎีกาสมัย อาพาธโร

113

17/7/2563 15:20:43


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองสระ พระครูอุทัยสังฆกิจ (บุญเลิศ เตชธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดหนองสระ ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดอุทัยธานี แห่งที่ 13

วัดหนองสระ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 8 บ้านหนองสระ หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลหนองสระ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทยั ธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัด เนื้อที่ 26 ไร่ 3 งาน 68 ตารางวา โฉนดเลขที่ 6773 มีที่ธรณีสงฆ์ 1 แปลง เนื้อที่ 1 ไร่ 3 งาน 67 ตารางวา โฉนดเลขที่ 1194 อยู่ท้องที่ ต�ำบลหนองสระ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบสูง อาคารเสนาสนะ ต่างๆ มี อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างครอบหลังเก่า สร้างเสร็จประมาณ พ.ศ.2510-2513, หอสวดมนต์ กว้าง 10 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2490 เป็นอาคารไม้ ชั้นเดียว, กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง เป็นอาคารไม้ และฌาปนกิจสถาน ส�ำหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถ วัดหนองสระ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2400 ได้มีนามตามชื่อบ้าน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 ได้ผูกพัทธสีมาราว พ.ศ. 2425 พระครูอุทัยสังฆกิจ เจ้าอาวาสวัดหนองสระ

114

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 114

17/7/2563 12:53:55


หลวงพ่อปุย พระเกจิอดีตเจ้าอาวาสวัดหนองสระ

หลวงพ่อปุย กตปุญโญ (พระครูอุเทศวันสาธน์) "พระครูอุเทศวัน สาธน์" หรือ ที่ชาวบ้านทั่วไปรู้จักกันในนาม "หลวงพ่อปุย กตปุญโญ" อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองสระ ต�ำบลหนองสระ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัด อุทัยธานี มีนามเดิมว่า ปุย แรงเขตรกิจ เกิดเมื่อวันจันทร์ ขึ้น 7 ค�่ำ เดือน 12 ปีมะแม ตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายน 2450 ที่บ้านทุ่งนา หมู่ที่ 2 ต�ำบลหนองสระ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี ชีวิตในวัยเยาว์ ค่อนข้างล�ำบาก อายุ 12 ปี บิดา-มารดาพาไปฝากไว้ที่วัดหนองสระ เรียนหนังสือกับพระพลัด พระชม และหลวงตาปัน้ พออ่านออกเขียนได้ แล้วเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดหนองสระ ขณะเรียนอยู่ชั้นประถมปีที่ 2 ก็ออกจากโรงเรียนไปช่วยครอบครัวท�ำนาหาเลี้ยงชีพ ครั้นอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ เข้าพิธีอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดป่าช้า ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี โดยมี พระครูอุทิศธรรมวินัย (หลวงพ่ อสื อ ) เป็น พระอุป ัช ฌาย์, พระอาจารย์ น ้ อ ย กตปุ ญโญ วั ด หนองมะเขื อ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ และพระมหาสอน วัดหนองสระ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รบั ฉายาว่า กตปุญโญ หมายถึง ผู ้ ก ระท� ำ ซึ่ ง บุ ญ คุ ณ ความดี หลั ง อุ ป สมบท ได้ อ ยู ่ จ� ำ พรรษาอยู ่ ที่ วัดหนองสระ ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยและวิชาอาคมด้วยความ วิริยะกับพระอาจารย์เกิด เป็นเวลา 7 พรรษา สามารถสอบได้ นักธรรมชั้นตรี-โท และเอก ตามล�ำดับ ก่อนได้ไปเรียนบาลีที่วัดธรรม โศภิต (วัดโค่ง) อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี อีก 1 พรรษา

เมื่อครั้งที่ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองสระ เป็นอาจารย์สอน เด็กเล็กและสอนพระธรรมวินัยให้แก่พระภิกษุ-สามเณร สร้างสะพาน คอนกรีตเสริมเหล็กข้ามคลองที่หน้าวัด กุฏิสงฆ์ หอสวดมนต์ สร้าง อุโบสถ (หลังใหม่) ฌาปนสถาน อาคารอเนกประสงค์ ถังเก็บน�้ำฝน เป็นต้น ด้วยวัตรปฏิบัติที่เสมอต้นเสมอปลาย หลวงพ่อปุย จึงเป็นที่ เลื่ อ มใสศรั ท ธาของสาธุ ช นในพื้ น ที่ ในแต่ ล ะวั น จึ ง มี ผู ้ ม ากราบ นมัสการ รับฟังธรรม และประพรมน�้ำพระพุทธมนต์เสริมความเป็น สิ ริ ม งคล ส� ำ หรั บ ปั จ จั ย ที่ ไ ด้ จ ากการบริ จ าคศรั ท ธาของญาติ โ ยม หลวงพ่อปุยหาเก็บง�ำไว้เป็นส่วนตัวไม่ จะน�ำมาพัฒนาวัด จนเจริญ รุง่ เรือง ด้านพระเครือ่ งและวัตถุมงคลของหลวงพ่อปุย สร้างเป็นครัง้ คราว มีจำ� นวนไม่มาก แต่ทกุ รุน่ ก็เป็นทีน่ ยิ มของคนทัว่ ไป อาทิ เหรียญรุน่ แรก กะไหล่เงิน กะไหล่ทอง รูปหล่อเหมือนและมีดหมออาคม ทุกวันพระ หลวงพ่อปุย จะสอนให้ประพฤติตนเป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้มัธยัสถ์ ไม่ฟุ่มเฟือย รู้จักประมาณตน จนสาธุชนคนทั่วไปยกย่อง ท่านเป็น พระเกจิอาจารย์นักพัฒนาที่มีเมตตาธรรมสูงรูปหนึ่งแห่ง ลุ่มน�้ำสะแกกรัง สังขารเป็นสิ่งไม่เที่ยงแท้ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 เวลา 18.49 น. หลวงพ่อปุย ละสังขารด้วยอาการสงบ สิริอายุได้ 82 ปี พรรษา 62 ร่ า งอั น สงบนิ่ ง ของหลวงพ่ อ ปุ ย บรรจุ ไว้ ใ นโลงทอง ประดิษฐานไว้ให้บรรดาศิษยานุศิษย์และพุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้ ณ วิหารวัดหนองสระ แม้ทา่ นจะละสังขารไปจากโลกนีแ้ ล้ว แต่คณ ุ งาม ความดียังคงอยู่ในศรัทธาของชาวเมืองอุทัยธานีไปตราบนานเท่านาน UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 115

115

17/7/2563 12:54:08


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองจิกยาว วัดหนองจิกยาว ตั้งอยู่ที่บ้านหนองจิกยาว เลขที่ 1 หมู่ที่ 16 ต�ำบลตลุกดู่ อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โฉนดที่ดิน เลขที่ 8840 มีที่ดินตั้งวัด 5 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับที่ดิน นางมณี แตงสุด, ทิศใต้ ติดต่อกับถนนสาธารณะ, ทิศตะวันออก ติดต่อกับคลองส่งน�้ำสาธารณะ, ทิศตะวันตก ติดต่อกับที่ดินนายทอง ธูปเงิน

วัดหนองจิกยาว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยมีนามตามชื่อหมู่บ้าน เพราะมีหนองน�้ำเก่าแก่ซึ่งมีความยาวมาก และมีต้นจิกขึ้นอยู่ข้าง หนองน�้ำเป็นจ�ำนวนมาก ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า หนองจิกยาว และตั้งชื่อวัดว่า “วัดหนองจิกยาว” ปูชนียวัตถุ ได้แก่ หลวงพ่อดอกบัวขาว

116

1

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 116

17/7/2563 13:00:13


สัมผัสวิถี ไทยริมน�้ำ ณ เรือนแพสะแกกรัง

แม่น�้ำสะแกกรัง ถือเป็นหัวใจของจังหวัดอุทัยธานี และได้ กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและมีเสน่ห์ ด้วยสองฟากฝั่ง จะมีเรือนแพตั้งเรียงรายเป็นบรรยากาศที่สงบงามและหาชมได้ ยากในปัจจุบัน อีกทั้งยังมีวัดอุโปสถาราม วัดเก่าแก่ที่ดูขรึมขลัง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ นอกจากนีแ้ ล้ว นักท่องเทีย่ วยังจะได้ดนู กทีส่ ามารถดูได้ตลอด ล�ำน�้ำ ประกอบด้วยนกที่หากินริมน�้ำชนิดต่าง ๆ ทั้งนกกระเต็น นกยาง อีลุ้ม นกอีโก้ง เหยี่ยวขาวไหล่เทา และอีกมากมายให้ได้ สุขใจ ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมในการล่องแม่นำ�้ สะแกกรัง แนะน�ำให้ เป็นช่วงเช้าตรู่จะเห็นภาพชีวิตต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนใช้เวลาทั้ง สิ้นประมาณ 1-2 ชม.

บ้านอีมาดอีทราย

ศูนย์วัฒนธรรมชาวเขา ศูนย์วฒ ั นธรรมชาวเขาบ้านอีมาดอีทราย อยู ่ ภ ายใต้ ก ารดู แ ลของศู น ย์ พั ฒ นาและ สงเคราะห์ชาวเขา จังหวัดอุทยั ธานี ตัง้ อยูห่ มู่ ที่ 4 ต.แก่นมะกรูด ถือว่าอยูใ่ นเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ชาวเขาที่อยู่ที่นี่เป็นชาวกะเหรี่ยง มีชีวิต ที่สงบและเรียบง่าย และยังคงเคร่งครัดใน ประเพณีดั้งเดิม งานประเพณีที่น่าสนใจของ ที่นี่ เช่น งานไหว้เจดีย์ ซึ่งจะมีการร�ำวงร�ำ ดาบ และงานไหว้ต้นโพธิ์ ฯลฯ ญาติพี่น้องที่ แยกย้ายจะกลับมารวมตัวกัน ประเพณีทั้ง สองนี้จัดขึ้นในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี ก�ำหนดวันจัดงานจะขึ้นอยู่กับความพร้อม ของท้องถิ่น เช่นเก็บเกี่ยวผลผลิตในท้องถิ่น เรียบร้อยแล้ว และทีส่ ำ� คัญหมูบ่ า้ นนีม้ ขี อ้ ห้าม ในการเล่นการพนัน และดื่มสุรา ผู้มาเยือนสามารถพักค้างคืนที่บ้านชาว กะเหรี่ยง ที่หมู่บ้านเจ้าวัดยางแดง หรือบ้าน พั ก ในศู น ย์ วั ฒ นธรรม ซึ่ ง ในบริ เ วณมี พิพิธภัณฑ์ชาวเขาอยู่ด้วย ติดต่อ โทร. 0 5651 2026 ในเวลาราชการ และมีงาน หัตถกรรม ผ้าทอพืน้ เมือง เครือ่ งจักสานไม้ไผ่ และสินค้าเกษตรตามฤดูกาลมาจ�ำหน่าย เช่น พริกแห้ง การเดินทาง จากอ�ำเภอบ้านไร่ไปตาม เส้นทางหลวงหมายเลข 3011 ประมาณ 20 กิโลเมตร สุดถนนลาดยาง และไปต่อตาม ถนนลูกรังอัดอีก 1 กิโลเมตร UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 117

117

3/8/2563 10:04:52


Resort_Artwork_2P.indd 118

29/7/2563 15:18:53


Resort_Artwork_2P.indd 119

29/7/2563 15:19:07


_Artwork_1P-02.indd 120

29/7/2563 15:57:49


_Artwork_1P.indd 121

29/7/2563 15:51:13


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดเขาหินเทิน อุทยานการศึกษาในวัด พระครูอุทิศศีลคุณ เจ้าคณะตำ�บลสว่างอารมณ์และเจ้าอาวาสวัดเขาหินเทิน วัดเขาหินเทิน ตั้งอยู่เลขที่ 22 หมู่ที่ 4 ต�ำบลพลวงสองนาง อ�ำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี มีที่ดิน 48 ไร่ 1 งาน 53 ตารางวา วัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2530 ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2530 วัดได้รับรางวัลอุทยานศึกษาเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

122

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 122

17/7/2563 13:04:20


ประวัติวัดเขาหินเทิน

เหตุที่เรียกว่า วัดเขาหินเทิน เนื่องจากบนเขาบริเวณที่สร้างวัด มีหนิ ซ้อนกันอยูเ่ ป็นชัน้ ๆ เมือ่ สร้างวัดแล้ว จึงเรียกว่า “วัดเขาหินเทิน” เมื่อปี พ.ศ. 2500 หลวงพ่อสมควร วิชฺชาวิสาโล แห่งวัดถือน�้ำ จังหวัด นครสวรรค์ ได้ธุดงค์มาอยู่ในถ�้ำเขาหินเทิน แต่ก็ไม่สามารถอยู่ได้ เนื่องจากไม่มีบ้านคนเลย ปี พ.ศ. 2524 นายคน-นางคร เหมือนการ และนายส�ำราญ-นางส�ำลี ธิระมาร ได้ถวายที่ดินจ�ำนวนหนึ่ง หลวงพ่อ สมควรจึงได้จัดตั้งส�ำนักสงฆ์ขึ้น มีพระภิกษุ 3 รูป สามเณร 2 รูป ปี พ.ศ. 2525 เริ่มสร้างกุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญให้ญาติโยมบ�ำเพ็ญ บุ ญ กุ ศ ลกั น ปี พ.ศ. 2523 ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ตั้ ง วั ด และได้ รั บ วิสงุ คามสีมา จึงตัง้ เจ้าอาวาสรูปแรก คือ พระอธิการอินทร์ (อินทวงโส) ปี พ.ศ. 2537 พระอธิการอินทร์ ได้รบั สมณศักดิเ์ ป็น “พระครูอทุ ศิ ศีลคุณ” ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสมาจนถึงปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูอุทิศศีลคุณ

เจ้าคณะต�ำบลสว่างอารมณ์ และเจ้าอาวาสวัดเขาหินเทิน

ฐานะเดิมชื่อ พระอินทร์ ฉายา อินทวังโส นามสกุลเดิม ลงทอง อยู ่ บ ้ า นเลขที่ 125/8 หมู ่ 4 ต� ำ บลพลวงสองนาง อุ ป สมบทที่ วัดศรีสวรรค์สังฆาราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ อุปสมบทเมื่อ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2523 จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดเขาพระยาพายเรือ อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี เมื่อปี พ.ศ. 2524 มาจ�ำพรรษาที่ วัดเขาหินเทิน ต�ำบลพลวงสองนาง อ�ำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัด อุทัยธานี และเป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ และเมื่อปี พ.ศ. 2530 เป็น เจ้าอาวาสวัดเขาหินเทิน จนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2537 ได้เป็นพระครู สัญญาบัตรชั้นโท เมื่อปี 2540 ได้เป็นเจ้าคณะต�ำบลพลวงสองนาง เมื่อปี 2544 เป็นพระอุปัชฌาย์ UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

พระอธิ.indd การพิ บูลย์ (ฐานธมฺโม) 123

4

เจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก

123

17/7/2563 13:04:34


ประวัติโบสถ์หลังสุดท้าย

วัดเขาหินเทินสร้างขึ้นในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี เมื่อปี 2525 หลวงพ่อสมควร วิชฺชาวิสาโล ได้สร้างโบสถ์ถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 60 พรรษา หรือ 5 รอบ โดยเริ่มสร้าง พ.ศ. 2528 ตัวโบสถ์มีความกว้าง 8 เมตร ยาว 22 เมตร หลังคาทรงไทย 3 ลด 3 ชั้น ก่ออิฐถือปูนติดลายไทย ติดกระจก เมื่อ พ.ศ. 2529 ทางวัดได้เชิญพลเอกอาทิตย์ ก�ำลังเอก ผู้บัญชาการทหารบก และผู้บัญชาการทหารสูงสุด มาเป็นประธาน เททองหล่อรูปพระประธานประจ�ำอุโบสถ์วัดเขาหินเทิน ปี พ.ศ. 2530 ได้ผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิต

124

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 124

17/7/2563 13:04:47


ถ�้ำในวัดเขาหินเทิน

ถ�้ำพระเส็ง หลวงพ่อเส็งวัดหนองเรือโกลน ท่านเป็นหมอรักษาชาวบ้านทั่วไป มีอยู่วันหนึ่งชาวบ้านคิดว่าหลวงพ่อเส็งได้เสียกับเด็กหญิงสาวที่มารับ การรักษา ท�ำให้หลวงพ่อเส็งโกรธมาก จึงได้หนีมาอยูใ่ นถ�ำ้ ทีเ่ ขาหินเทิน ชาวบ้านจึงมาตามกลับวัด หลวงพ่อเส็งจึงบอกว่าจะไม่เดินกลับ หรือ นั่งรถกลับ จะต้องให้ชาวบ้านหามกลับโดยนั่งบนแคร่ และหามจน ถึงวัด ต่อมาจึงได้เรียกถ�้ำนี้ว่า “ถ�้ำหลวงพ่อเส็ง” ถ�้ำกระดืบหรือถ�้ำหลวงพ่อสมควร เดิมทีทางเข้าถ�้ำนี้เป็นช่องเล็ก ๆ ถ้าจะเข้าต้องกระดืบเข้าไป แล้ว จึงจะเจอช่องโปร่งถึงจะเดินต่อไปได้ คนอ้วนเข้าไปไม่ได้เพราะช่องเล็ก เมื่อหลวงพ่อสมควรได้เข้าไปอยู่ในถ�้ำนั้น ชาวบ้านจึงทุบประตูถ�้ำให้ เป็ น ช่ อ งกว้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ดิ น เข้ า ไปได้ ต่ อ มาจึ ง ได้ เรี ย กถ�้ ำ นี้ ว ่ า “ถ�้ำกระดืบหรือถ�้ำหลวงพ่อสมควร” ถ�้ำค้างคาว ถ�ำ้ ค้างคาวเป็นถ�ำ้ ทีไ่ ม่ตกแต่งอะไรเลย เพราะอยากให้คงธรรมชาติ ไว้ และในถ�้ำยังมีสัตว์มีพิษอยู่ด้วย และเป็นถ�้ำที่ให้ค้างคาวอาศัยอยู่ จึงเรียกถ�้ำนี้ว่า “ถ�้ำค้างคาว” ถ�้ำหลวงพ่อแล เดิมทีหลวงพ่อแลได้มาอาศัยอยู่ก่อน แต่อยู่ไม่ได้เพราะไม่มีบ้าน คนเลย หลวงพ่อแลจึงได้เดินธุดงค์มา และอาศัยอยู่ในถ�้ำเมื่อปี พ.ศ. 2509 แต่อาศัยอยู่ไม่ได้ เนื่องจากกันดารขาดแคลนน�้ำ และเมื่อ ประมาณ 50 ปีที่แล้วก็ไม่มีถนนหนทาง

ถ�้ำพระยืน UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 125

125

17/7/2563 13:04:54


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดเขาดาวเรือง พระครูอุทานธรรมาภิวัฒน์ (ผาสุกาโม) เจ้าอาวาสวัดเขาดาวเรือง วัดเขาดาวเรือง ตั้งอยู่ที่หมู่ 8 ต�ำบลหนองหลวง อ�ำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี เป็นวัดส�ำคัญของต�ำบลหนองหลวง เป็นวัดที่ชาวบ้าน ให้ความเคารพนับถือ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านต�ำบลหนองหลวง ซึ่งชาวบ้านใช้เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจทางพระพุทธศาสนา

วัดเขาดาวเรืองได้มีการพัฒนาวัดมาตลอดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อรักษาและสืบทอดพระพุทธศาสนา ให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป

วัดเขาดาวเรือง ขอเชิญญาติธรรม

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ สร้างซุ้มประตูวัด ได้ที่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ชื่อบัญชี วัดเขาดาวเรือง สาขาสว่างอารมณ์ เลขบัญชี 020120260635 ติดต่อท่านเจ้าอาวาส พระครูอุทานธรรมาภิวัฒน์ (ผาสุกาโม) โทร 089 959 0926 126

1

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 126

17/7/2563 12:55:47


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดทุ่งสงบ สงบร่มรื่นสมดังนามทุ่งสงบ วัดทุ่งสงบ ตั้งอยู่เลขที่ 240 หมู่ที่ 2 ต�ำบลไผ่เขียว อ�ำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โฉนดที่ดินเลขที่ 3288 มีที่ดิน 8 ไร่ 1 งาน 41 ตารางวา โทรศัพท์ 094-8255155

วัดทุ่งสงบ เดิมชื่อ วัดทุ่งผีทิ่ม ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2482 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 พื้นที่วัดเป็น ที่ราบลุ่ม ทิศเหนือติดต่อถนนสาธารณะ ระยะทางจากตัวจังหวัดอุทัยธานีถึงวัดประมาณ 38 กิโลเมตร

อาคารเสนาสนะ

อาคารเสนาสนะต่างๆ ภายในวัดทุ่งสงบ ได้แก่ อุโบสถหลังเก่า อุโบสถหลังใหม่ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2553 ศาลาการเปรียญ กว้าง 10 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2518 อาคารไม้ชนั้ เดียว และอาคารอืน่ ๆ อีกมาก และมีก�ำแพงโดยรอบวัด

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

เท่าที่มีการจดบันทึก วัดทุ่งสงบมีเจ้าอาวาส 4 รูป คือ 1. พระครูอุทิศสีลคุณ พ.ศ. 2499-2510 2. พระอธิการบุญถม สญฺญโม พ.ศ. 2510-2524 3. เจ้าอธิการเข็มทอง โชติธมฺโม พ.ศ. 2525-2530 4. พระครูอุทัยกิตติวัฒน์ พ.ศ. 2549 ถึงปัจจุบัน

พระครูอุทัยกิตติวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดทุ่งสงบ เจ้าคณะอำ�เภอสว่างอารมณ์

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 127

127

17/7/2563 15:34:00


พระยงยุทธ ปญฺญาวโร

Facebook SBL

เจ้าอาวาสวัดบ่อชุมแสง

History of buddhism....

วัดบ่อชุมแสง พระยงยุทธ ปญฺญาวโร เจ้าอาวาสวัดบ่อชุมแสง

วัดบ่อชุมแสง ตั้งอยู่หมู่ที่ 19 ต�ำบลไผ่เขียว อ�ำเภอ สว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี ตั้งอยู่ในบ้านบ่อชุมแสง ซึ่งหมู่บ้านเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2512 มีบ้านจ�ำนวน 50 หลังคาเรือน เนื่องจากเป็นหมู่บ้านเล็กๆ จึงไม่มีวัด และ โรงเรียน การเดินทางไม่สะดวก เด็กจึงไม่ได้เรียนหนังสือ ไม่มที ปี่ ระกอบศาสนกิจเมือ่ มีคนตายในหมูบ่ า้ นก็ตอ้ งเผา ศพในทีข่ องตนเอง นายบุญช่วย และนางอัมพร เอีย่ มฉัน จึงมีจติ ศรัทธาบริจาคทีด่ นิ จ�ำนวน 11 ไร่ 1 งาน เพือ่ สร้าง วัดและอีก 8 ไร่ 2 งาน เพื่อสร้างโรงเรียน ซึ่งได้รับการ สนับสนุนจากชาวบ้านบ่อชุมแสง ต่างร่วมแรงร่วมใจกัน สร้างส�ำนักสงฆ์บ่อชุมแสงเมื่อปี พ.ศ. 2522 น�ำโดย พระโห สทฺ ธ าทิ โ ก ซึ่ ง ชาวบ้ า นไปนิ ม นต์ ม าจาก วัดศรีมณีวรรณ อ�ำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท หลังจาก นั้นก็มีพระหมุนเวียนมาร่วมสร้างเสนาสนะและพัฒนา ส�ำนักสงฆ์จนได้รบั ตราตัง้ เป็นวัดอย่างถูกต้อง เมือ่ ปี พ.ศ. 2542 ปัจจุบันโรงเรียนถูกยุบไปจึงผนวกพื้นที่โรงเรียน กับวัดเข้าด้วยกัน รวมเป็นพื้นที่วัดจ�ำนวน 22 ไร่ 3 งาน 128

1

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส วัดบ่อชุมแสง รูปที่ 1 พระโห สทฺธาทิโก รูปที่ 2 พระเจริญ ขนฺตโิ ก รูปที่ 3 พระสุวรรณ์ กนฺตวณฺโณ

รูปที่ 4 พระสุรนิ ทร์ จนฺทโชโต รูปที่ 5 พระยงยุทธ ปญฺญาวโร

หมู่บ้านบ่อชุมแสง มีพื้นที่ครอบคลุมไปถึงเมืองโบราณบึดคอกช้างซึ่งเป็น เมืองโบราณสมัยทวาราวดี มีคูเมืองและก�ำแพงดินล้อมรอบ ค้นพบซากโบราณ เครื่องปั้นดินเผา หินบดยา เครื่องมือเหล็ก ลูกปัดสีเหลือง นอกจากนี้ยังขุดพบศิลา จารึกอักษรขอมโบราณ 3 หลัก โบราณวัตถุที่ถูกค้นพบได้น�ำไปเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่นภายในส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศรัย จังหวัดอุทัยธานี ปัจจุบันพื้นที่เมืองโบราณ บึงคอกช้าง มีสภาพเป็นสวนป่า มีตน้ ไม้ขนาดใหญ่ปกคลุมอยูท่ วั่ ไปส่วนบริเวณคูเมือง ตื้นเขินแล้ว

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 128

17/7/2563 15:11:23


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 129

129

29/7/2563 9:54:51


History of buddhism....

วัดเขาถ�้ำประทุน WAT KHAO THAM PRATHUN พระอธิการบุญยืน ปรีชาโน เจ้าอาวาสวัดเขาถ้ำ�ประทุน

PHRA ATHIKARN BOONYEUN PRICHANO, ABBOT OF WAT KHAO THAM PRATHUN

ชมพระอุโบสถรากไม้พร้อมกับกราบไหว้รอยพระพุทธบาท SIGHTSEEING THE WOODEN BUDDHIST SANCTUARY MADE OF ROOTS TOGETHER WITH WORSHIPPING LORD BUDDHA’S FOOTPRINT

130

6

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 130

17/7/2563 13:36:35


Facebook SBL

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 131

131

17/7/2563 13:36:43


วัดเขาถ�้ำประทุน สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2534 มีเนื้อที่ประมาณ 200 กว่าไร่ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 12 ต�ำบลทัพหลวง อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี มีป่าไม้ มี ภูเขา มีถ�้ำ มีรอยพระพุทธบาทบนเขา มีภูเขา 2 ลูก คือ 1. เขาถ�้ำประทุน และ 2. เขาสลักได มีถ�้ำ 3 ถ�้ำ คือ 1. ถ�้ำประทุน , 2. ถ�้ำแสงจันทร์ และ 3. ถ�้ำส่องาว Wat Khao Tham Prathun was built in B.E.2534. The scale of this temple’s land is approximately 80 acres. It is located at village no.12, Thap Luang sub-district, Ban Rai district, Uthai Thani province. There are forest, mountains, caves and Buddha’s footprint in this temple’s area. The two mountains are 1.Tham Prathun and 2.Salakdai. The three caves are 1. Prathun cave, 2.Saengchan cave and 3.Sorngaw cave.

132

6

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 132

17/7/2563 13:36:49


ย้อนหลังไปเมื่อ 50 -60 ปีก่อน วัดแห่งนี้มีชื่อว่า ป่าชัฏ หรือไร่ชัฏ มีลักษณะเป็นที่พักสงฆ์ ต่อมาประมาณปี 2520 ได้มีพระธุดงค์ เดินทางมาพักแรมปฏิบัติธรรม บางครั้งก็มาพักนาน 1-2 พรรษา แล้วก็ย้ายออกไปไม่เคยมีพระที่จะอยู่ประจ�ำหรือถาวร ที่พักสงฆ์ป่า แห่งนี้เป็นที่วิเวก ไม่มีบ้านเรือน จะมีอยู่บ้างก็ห่างออกไปราวๆ 5-6 กิ โ ลเมตร ประกอบกั บ ความกั น ดาร พระมาพั ก อยู ่ น านไม่ ไ ด้ ขาดแคลนทั้ ง น�้ ำ และเครื่ อ งขบฉั น จนกระทั่ ง ปี พ.ศ. 2534 พระอธิการบุญยืน ปริชาโน (เจ้าอาวาสปัจจุบัน) ได้เดินธุดงค์มาพัก ภาวนาจ�ำพรรษาและเห็นว่าเป็นที่สงบร่มรื่น สัพปายะ เหมาะส�ำหรับ บ�ำเพ็ญภาวนา จึงด�ำริสร้างเป็นที่ปฏิบัติธรรม ขณะนั้นวัดแห่งนี้มี พื้นที่อยู่ประมาณ 2 ไร่เศษ โดยชาวบ้านสมัยนั้นถวายให้เป็นของสงฆ์ ปัจจุบันมีพระอยู่จ�ำพรรษาตลอดไม่เคยขาด อย่างน้อย 5 รูปขึ้นไป ในปี พ.ศ. 2545 ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นวัดอย่างถูกต้อง และเมื่อปี 2548 พระอาจารย์ทะนง วัดเขาสนามแจง ได้ด�ำริสร้างพระเจดีย์ บนยอดเขาเพื่อครอบรอยพระบาท ใช้เวลาสร้างนานถึง 2 ปี ปัจจุบัน มีผู้มีจิตศรัทธาเข้ามากราบไหว้ สักการะ ภายในถ�้ำศักดิ์สิทธิ์และรอย พระพุทธบาทที่มีอยู่ในเจดีย์บนยอดเขากันโดยตลอด เพราะเชื่อต่อๆ กันมาว่าการได้มากราบสักการะแล้วจะประสบความส�ำเร็จในสิ่งที่ ปรารถนา ท�ำให้มีความเจริญรุ่งเรืองขึ้น ดีขึ้น ทั้งทางด้านจิตใจและ การด�ำรงอยู่ของชีวิต UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 133

133

17/7/2563 13:36:55


พระอุโบสถรากไม้ สวยงามที่สุดในประเทศไทย Wooden Buddhist sanctuary, the most beautiful in Thailand

ต่อมามีการสร้างโบสถ์รากไม้ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2558 เนื่องจาก อาตมาเดินธุดงค์ไปพบเห็นรากไม้ ตอไม้ ถูกทิ้งร้างมากมายจึงรู้สึก ชอบและคิดที่จะน�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ พอได้เริ่มสร้างโบสถ์ด้วย รากไม้ก็คิด ว่าคงใช้ทุนน้อยกว่าการสร้างด้วยวัสดุอย่ างอื่น จึงมี ญาติโยมขนมาถวายให้บ้าง ซื้อหามาในราคาถูกๆ บ้าง แต่ก็มีราก ขนาดใหญ่ที่ขนมาจากจังหวัดพิษณุโลก โดยโบสถ์รากไม้นี้ชั้นล่าง เป็นส่วนของศาลาท�ำบุญ หรือศาลาการเปรียญส�ำหรับใช้ในกิจกรรม ต่างๆ ของทางวัด ส่วนชั้นบนเป็นอุโบสถส�ำหรับการสังฆกรรมของ สงฆ์ ถึงแม้นจะสร้างมาเกือบ 4 ปีแล้วแต่ยังไม่เสร็จ อาตมาก็จะ ค่อยๆ สร้างต่อไปสุดแต่ศรัทธาของญาติโยม ซึ่งคาดว่าอีกไม่นาน คงจะแล้วเสร็จสมบูรณ์เนื่องจากเป็นโบสถ์รากไม้แห่งเดียวในโลก มีผู้เดินทางเข้ามาเยี่ยมชมทุกวันไม่เคยขาด

134

6

The wooden Buddhist sanctuary made of roots was built in B.E.2558 because I (the abbot) found lots of abandoned roots and stumps during the when I was on pilgrimage. Then, I felt that all of these woods are still useful. During an early state of the construction of this sanctuary, I thought that Buddhist sanctuary made of roots will cost lesser than using other material. Then, some folks offered it to the temple or I bought it at the low price but there was the gigantic root from Phitsanulok province. The lower floor of wooden Buddhist sanctuary is merit-making pavilion or sermon hall for performing various activities in the temple. As for upper floor, it is Buddhist sanctuary for monks to perform deed of Buddhist monk. Even though it has been constructing for 4 years and still not completed, I will slowly build it up to the faith of folks which I have anticipated that it will be completed soon because this wooden Buddhist sanctuary made of roots is one of a kind which many tourists take a trip here every single day.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 134

17/7/2563 13:37:01


แนะน� ำ จุ ด ชมวิ ว บนยอดเขาถ�้ ำ ประทุ น มี ม ณฑปครอบรอย พระพุทธบาททางด้านเท้าขวา ของพระพุทธเจ้าไว้ เพื่อให้ประชาชน นักท่องเที่ยวได้กราบไหว้ เพื่อเป็นสิริมงคล ส่วนพระพุทธบาทด้าน เท้าซ้าย นั้นทางเจ้าอาวาสได้พบแล้ว ซึ่งอยู่ห่างจากจุดนี้ไปอีก 2 กิ โ ลเมตร แต่ ยั ง ขาดปั จ จั ย ไปบู ร ณะ หลั ง จากกราบไหว้ รอยพระพุ ท ธบาทเรี ย บร้ อ ยสามารถถ่ า ยรู ป ตามมุ ม รอบมณฑป ได้บรรยากาศมุมสูง เย็นสบาย สวยงาม มองเห็นวิวท้องทุ่งนา ภูเขา และไร่อ้อย สร้างความสุขให้กับทุกท่านที่มาเยี่ยมชมได้เป็นอย่างดี Recommended view point – On top of Tham Prathun mountain, there is a Mondop (Square hall with a pyramidal roof) cover right footprint of Lord Buddha in order to make it convenient for tourists who come to pay their respects to the footprint for fortunate lives. Ad for the left footprint, the abbot found it 2 kilometers away from the right footprint, but he still lack of budget to restore it. After paying respect to Lord Buddha’s footprint, you can take a photo around every corner of the mondop, you will find the scenic view of rice field, mountain and sugar cane farm from high ground and feel the cool and fresh air which will surely make happiness for everyone that take a trip to this place.

พระอธิการบุญยืน ปรีชาโน เจ้าอาวาสวัดเขาถ�้ำประทุน

ประวัติเจ้าอาวาส พอสังเขป

พระอธิการ บุญยืน ปรีชาโน เกิดวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2509 อายุ 54 ปี พรรษาที่ 30 เกิดที่บ้านวงเดือน ต�ำบลสามง่าม-ท่าโบสถ์ อ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท อุปสมบท เมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ.2533 ณ วัดใหม่วงเดือน ต�ำบลสามง่าม-ท่าโบสถ์ อ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท พระครูสุนทร ชัยสิทธิ์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูไพโรจน์ชัยคุณ เป็นพระกรรม วาจาจารย์, พระอธิการวง จิตวโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 135

135

17/7/2563 13:37:09


ถ�้ำหอยสังข์

ถ�้ำช่องลม

บริเวณปากถ�้ำช่องลม มีลมพัดผ่านออกมาตลอดเวลา

136

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 136

24/7/2563 14:22:24


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดวังพง (เขาช่องลม) พระอธิการประภัส อานาทาโน เจ้าอาวาสวัดวังพง (เขาช่องลม) วัดวังพง (เขาช่องลม) ตั้งอยู่เลขที่ 105 หมู่ 2 ต�ำบลวังหิน อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี วัดวังพง หรือวัดเขาช่องลม ไม่ปรากฏหลักฐานอย่างชัดเจนว่าใครเป็นผู้ก่อตั้งวัด แต่จากการสันนิษฐานและค�ำบอกเล่าจากชาวบ้านว่า เมื่อราวปีพุทธศักราช 2490 ได้มีหลวงพ่อหอมพระธุดงค์มายังบริเวณที่ตั้งวัดแห่งนี้ ได้มาพักอาศัยอยู่ในถ�้ำและมีชาวบ้านผ่านมาพบเห็น เป็นที่น่าเลื่อมใส จึงมีการร่วมแรงร่วมใจกันจัดท�ำเป็นที่พักสงฆ์เพื่อให้เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านและมีการพัฒนาพื้นที่ให้สะดวกต่อการ ประกอบศาสนพิธี สะดวกต่อการท�ำบุญของชาวบ้าน ในเวลาต่อมาหลวงพ่อหอม ก็ได้ธุดงค์ออกไปยังที่อื่น ท�ำให้วัดไม่มีเจ้าอาวาส

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

พระอธิ การพิบูลย์ (ฐานธมฺโม) .indd 137 เจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก

137

24/7/2563 14:22:36


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่อหอม 2. หลวงตาคอน 3. หลวงตาสุ่ม 4. หลวงพ่อถ่าย 5. พระอาจารย์สมาน 6. หลวงพ่อประสิทธิ์ 7. พระอาจารย์ยา 8. พระอธิการประภัส อาณาทาโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน

ถ�้ำหอยสังข์

วัดวังพง แต่ชาวบ้านจะรู้จักกันในชื่อว่า วัดเขาช่องลม เพราะที่ วัดแห่งนี้มีถ�้ำ ๆ หนึ่งที่มีลมพัดผ่านอยู่ตลอดเวลาเรียกว่าถ�้ำช่องลม เป็นถ�้ำที่มีขนาดไม่กว้างมากนัก มีลมเย็นพัดผ่าน เหมาะแก่การเป็น ที่พัก และที่วัดแห่งนี้ยังมีถ�้ำ ที่สามารถเดินชมความงดงามของถ�้ำได้ ประกอบด้วย - ถ�้ำไก่แจ้ - ถ�้ำหน้าต่าง - ถ�้ำฤาษี - ถ�้ำหัวเสือ - ถ�้ำหอยสังข์ - ถ�้ำน�้ำ และชาวบ้านบอกว่ายังมีอีกหลายถ�้ำ ที่ยังไม่ได้รับการ ส�ำรวจ 138

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 138

24/7/2563 14:22:43


วัดวังพงหรือวัดเขาช่องลมได้รับการจัดตั้งให้เป็นวัดโดยสมบูรณ์ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2526 ภายในวัด ประกอบด้วยศาสนสถาน ต่างๆ ครบถ้วน ปัจจุบันวัดวังพง ก�ำลังก่อสร้าง ศาลาการเปรียญ ทรงไทยหลังใหม่และอุโบสถ เพื่อเป็นศาสนสถานที่สมบูรณ์แบบ อย่างแท้จริง ขอเชิญญาติโยม ญาติธรรมทั้งหลาย ร่วมบุญในการก่อสร้าง อุโบสถ และศาลาการเปรียญกับวัดวังพงได้โดยติดต่อเจ้าอาวาส โทร. 089-958-0964 UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 139

139

24/7/2563 14:22:50


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองหิน สักการะ “หลวงพ่อหิน” คู่บ้าน พระสมพร ปัญญาวโร เจ้าอาวาสวัดหนองหิน

วัดหนองหิน ตั้งอยู่เลขที่ 160 หมู่ที่ 6 บ้านหนองหิน ต�ำบลหนองบ่มกล้วย อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ โดย มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ (ถนนลูกรัง) ทิศใต้ จดที่ดินส่วนบุคคล (นางแหวว) ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะ (ถนนลาดยาง) ทิศตะวันตก จดทีด่ นิ ส่วนบุคคล (เป็นไร่มนั ส�ำปะหลัง) มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 45 ไร่

140

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 140

17/7/2563 13:31:37


ประวัติความเป็นมา

วัดหนองหิน ตั้งเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 โดยมี นายเจี ย ก บั ว ฉิ ม เป็ น ผู ้ ข ออนุ ญ าตสร้ า งวั ด และได้รับอนุมัติจาก กรมการศาสนาให้ตงั้ เป็นวัด มีนามว่า “วัดหนองหิน” ตามชือ่ ของหมูบ่ า้ น

อาคารเสนาสนะ

- ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นอาคารทรงไทย - กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง เป็นอาคารไม้ - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 20 เมตร ยาว 24 เมตร นอกจากนี้ยังมี ฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง

ปูชนียวัตถุส�ำคัญภายในวัด

หลวงพ่อหิน พระพุทธรูปปางมารวิชยั เนือ้ ศิลาแลง หน้าตักกว้าง 9 นิ้ว จ�ำนวน 1 องค์

ปั จ จุ บั น (พ.ศ.2563) ทางวั ด หนองหิ น ก� ำ ลั ง ก่ อ สร้ า งศาลา การเปรียญ ขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ขอเชิญญาติโยม ผู้มีจิตศรัทธา ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ได้โดยตรงกับทางเจ้าอาวาส โทร 081 981 2587 หรือโอนผ่านบัญชี ธนาคารกสิกรไทย สาขาด่านช้าง ชื่อบัญชีพระสมพร ปัญญาวโร เลขที่บัญชี 031-137504-0

พระสมพร ปัญญาวโร เจ้าอาวาสวัดหนองหิน

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 141

พระใบฎีกาสมัย อาพาธโร

141

17/7/2563 13:31:50


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดป่าสักทอง หลวงพ่อมนูญ ปภสฺสโร เจ้าอาวาสวัดป่าสักทอง

วัดป่าสักทอง ตั้งอยู่บ้านแม่ระมาด เลขที่ 19 หมู่ที่ 9 ต�ำบลห้วยแห้ง อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ในพื้นที่ 7 ไร่ 2 งาน ซึ่งเจ้าของพื้นที่คือ คุณชัยพร พูนนารถ หรือลุงพร ได้สร้างสวนป่าสักทองไว้แล้วอุทิศพื้นที่จ�ำนวนกว่า 14 ไร่ เพื่อตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2543 เป็นต้นมา จึงเป็นที่มาของชื่อ ส�ำนักสงฆ์ป่าสักทอง และวัดป่าสักทอง เป็นล�ำดับ

142

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 142

17/7/2563 14:00:36


คุณชัยพร พูนนารถ หรือลุงพร ซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ได้มีแนวคิด อยากจะสร้างวัดขึ้น หลังจากนั้นได้น�ำแนวคิดดังกกล่าวมาปรึกษา กับพระอธิการ หลวงพ่อมนูญ ปภสฺสโร (ปัจจุบัน – เจ้าอาวาส ) ต่อจากนั้นมา ลุงพรและสมาชิกรวมทั้งเหล่าศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธา จึงได้ร่วมกันเริ่มก่อสร้างวัดตั้งแต่ ประมาณปี พ.ศ. 2543 เรื่อยมา จนกระทั่งปี พ.ศ. 2546 คุณชัยพร พูนนารถ หรือลุงพร ซึ่งเป็นผู้ ริเริ่มและเป็นผู้อุทิศพื้นที่สร้างวัดได้ถึงแก่กรรม จากนั้นครอบครัว ของลุงพร รวมถึงเหล่าหมู่ญาติมิตรสหาย ก็ได้พร้อมใจกันสานต่อ โครงการแนวคิดของลุงพรให้เป็นจริง กระทัง่ ปี พ.ศ. 2552 จึงได้รบั การ แต่งตั้งให้เป็นวัดตาม ประกาศส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เรือ่ งตัง้ วัดในพระพุทธศาสนา ประกาศ ณ วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ความโดดเด่นของวัดป่าสักทอง คือ ต�ำแหน่งที่ตั้งของวัดซึ่งราย รอบไปด้วยสวนป่าไม้สักทองห้อมล้อมไปด้วยแนวทิวเขาน้อยใหญ่ โดยเฉพาะพระอุโบสถนั้น ตั้งอยู่บนยอดเขา ซึ่งลักษณะพระอุโบสถ เป็นอาคารยกพื้น เรือนยอดเป็นลักษณะแบบอาคารทรงไทย มีประตู เข้าออกด้านหน้าและด้านหลัง อย่างละบาน หน้าบรรพ์ตกแต่ง ลวดลายไทยวิจิตร ทางขึ้นลงอุโบสถ ทั้งด้านหน้าและด้านหลังนั้น ตกแต่งเป็นบันไดนาค มีความวิจิตรงดงามเป็นเอกลักษณ์ประชาชน บุคคลทั่วไปนั้น สามารถมองเห็นพระอุโบสถได้แต่ไกลจนกลายเป็น สัญลักษณ์ของวัดไปในที่สุด วัดป่าสักทองจึงเจริญมาเป็นล�ำดับโดยการน�ำของท่านพระอาจารย์ หลวงพ่อมนูญ ปภสฺสโร เจ้าอาวาสวัดป่าสักทอง ท่านได้ปฏิบัติตาม พระธรรมวินัยขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และได้พัฒนา วัดเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน วัดป่าสักทองมีประชาชนที่ร่วมกันพัฒนาวัดอย่างต่อเนื่องอยู่ 3 หมู่บ้าน คือ บ้านแม่ระมาด หมู่ที่ 9, บ้านห้วยพลู และบ้านป่าอู สามัคคี หมู่ที่ 7 มีประชากรที่อาศัยอยู่ทั้ง 3 หมู่บ้าน ประมาณ 120 หลังคาเรือน และประชาชนทั้ง 3 หมู่บ้านก็ได้ร่วมแรงร่วมใจช่วย พัฒนาวัดเป็นอย่างดี

เสนาสนะและถาวรวัตถุ

1. กุฏสิ งฆ์ กว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง 3. ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 16 เมตร ยาว 16 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง 4. อุโบสถ กว้าง 9 เมตร ยาว 23 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง 5. ห้องน�ำ ้ ห้องสุขา กว้าง 1.5 เมตร ยาว 34 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง

หลวงพ่อมนูญ ปภสฺสโร เจ้าอาวาสวัดป่าสักทอง

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 143

พระใบฎีกาสมัย อาพาธโร

143

17/7/2563 14:00:48


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดภูจวง พระมหาลำ�พัน ปุญฺญามโน ป.ธ.9 เจ้าอาวาสวัดภูจวง วัดภูจวง สร้างขึ้นมาด้วยแรงศรัทธาของชาวบ้านทัพคล้าย หมู่ที่ 2 และชาวบ้านภูจวง หมู่ที่ 14 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เพื่อเป็นที่ปฏิบัติธรรม และบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล มี พ ระสงฆ์ สั บ เปลี่ ย นเข้ า มาฉลองศรั ท ธาของญาติ โ ยมมิ ไ ด้ ข าด จนปี พ.ศ. 2542 - 2543 พระมหาล� ำ พั น ปุ ญฺ ญ ามโน ได้มาเปิดส�ำนักเรียนบาลีขึ้น มีพระภิกษุ-สามเณร สอบได้จ�ำนวนมาก แต่ยังเห็นความบกพร่องในเรื่องความประพฤติของพระเณร เนื่องจาก ยังขาดข้อวัตรอันเป็นเครื่องขัดเกลามารยาทที่งดงาม หลังจากสอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ในปี พ.ศ. 2545 จึงเข้าไปอยู่วัดป่าเพื่อศึกษา ข้ อ วั ต รของครู บ าอาจารย์ ส ายวั ด ป่ า ธุ ด งค์ ก รรมฐาน และเข้ า ศึ ก ษาวิ ป ั ส สนาภาวนาในหลั ก สู ต รปริ ญ ญาโท ท� ำ ให้ ไ ด้ ไ ปเข้ า กรรมฐานใน หลักสูตรกัมมัฎฐานาจริยะ ณ มหาสี สาส์นเย็กต้า ประเทศเมียนม่าร์ เป็นระยะเวลาถึง 7 เดือน

144

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 144

17/7/2563 15:51:53


ในระหว่างนี้ ทางทายกกรรมการก็มิได้นิ่งนอนใจ ได้เดินเรื่อง ขอตั้งวัด จนกระทั่งได้รับอนุญาตให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนาอย่าง ถูกต้องในปี พ.ศ. 2552 จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2556 จึงได้นิมนต์ พระมหาล�ำพัน ปุญญ ฺ ามโน กลับมาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก จนถึงปัจจุบนั การพัฒนาวัด พระมหาล�ำพัน ปุญฺญามโน ป.ธ.9, ได้รับการฝึกอบรมกรรมฐาน ทั้งฝ่ายสมถะ และวิปัสสนา ก่อนจะได้รับนิมนต์กลับมานั้น ได้เป็น พระวิปสั สนาจารย์สอนวิปสั สนากรรมฐานประจ�ำอยูท่ วี่ ดั ป่าจริยธรรม จังหวัดเลย และที่อื่นๆ ที่ได้มีนิมนต์ไปสอน รวมทั้งมีสามเณรนักเรียน บาลีอยู่แล้วจึงได้วางนโยบายในการพัฒนาวัดทั้ง 2 ด้าน คือ 1. คันถธุระ การศึกษาเล่าเรียนนักธรรม-บาลี โดยรับผิดชอบการ สอนเองทั้งหมด 2. วิปัสสนาธุระ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน โดยมีอาจารย์ ธรรมวลี ศรีแช่ม เป็นวิปัสสนาจารย์ประจ�ำ โดยใช้หลักการ 4 คือ เชีย่ วชาญบาลี – ยินดีการบวช – ยิง่ ยวดธุดงค์ – มุ่งตรงสติปัฏฐานภาวนา บนฐานของวิธีการ 6 คือ ใส่ใจข้อวัตร – ท่องให้ชัดไวยากรณ์ - นั่ง นอน ในที่สงัด – ฝึกหัดฉันข้าวมื้อเดียว – ไม่ยุ่งเกี่ยวปัจจัยไว้ท่ามกลางสงฆ์ - ออกธุดงค์กรรมฐานทุกปีมิขาด

การพัฒนาเสนาสนะ ถาวรวัตถุ

ในช่วงแรกที่ได้รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้บูรณะศาลาเก่าให้เป็น ห้องพักและห้องเรียน สร้างกุฏิกรรมฐานส�ำหรับแม่ชี 9 หลัง และ ต่ อ มาได้ ส ร้ า งศาลากรรมฐานใจดี ซึ่ ง มี รู ป แบบเป็ น เอกลั ก ษณ์ ไม่เหมือนศาลาทั่วไป เน้นความประหยัด ประโยชน์ แต่ไม่ทิ้งศิลปะ (3 ป.) นอกจากนี้ยังมีโบสถ์พระคันธกุฏี ไว้ท�ำสังฆกรรมเฉพาะภายใน พระพุทธเมตตาองค์ใหญ่ หน้าตัก 10.29 เมตร ตั้งตระหง่านบนยอด เขาภูจวง หันพระพักต์ไปทางหมู่บ้าน เพื่อเป็นเครื่องเตือนสติว่า “เมตตา” เท่านั้นที่จะค�้ำจุนโลกนี้ให้สงบสุขร่มเย็นได้

กิจวัตรประจ�ำวันฝ่ายปริยัติ

เวลา 03.45 น. สัญญานระฆัง, นั่งสมาธิ, ท�ำวัตรเช้า เวลา 06.00 น. บิณฑบาต (เว้นวันพระ) เวลา 08.00 น. ฉันภัตตาหารในบาตร เวลา 09.30 - 11.30 น. เรียนนักธรรม-บาลี เวลา 13.00 - 15.00 น. เรียนนักธรรม-บาลี เวลา 15.00 น. ท�ำความสะอาดเสนาสนะ เวลา 17.45 น. สัญญานระฆัง, นั่งสมาธิ, ท�ำวัตรเย็น กิจวัตรประจ�ำวันฝ่ายปฏิบัติ เจริญสติ ตั้งแต่ตื่นจนกระทั่งหลับ ยกเว้นกิจทุกอย่าง (เน้นในพรรษา 3 เดือน)

การเผยแผ่ศาสนา

พระมหาล�ำพัน ปุญฺญามโน ป.ธ.9 เจ้าอาวาสวัดภูจวง

นอกจากเน้นหัวใจหลักของธุระ 2 อย่าง ในพระพุทธศาสนาแล้ว วัดภูจวงยังน�ำธรรมะสู่สาธุชนทั้งด้านกิจกรรมต่างๆ เช่น ปฏิบัติธรรม วันส�ำคัญทางศาสนา งานปริวาสกรรม งานถวายเทียนวันเดียว 9 วัด จัดอบรมวิปัสสนาเคลื่อนที่ ด้านสื่อออนไลน์ เช่น วิทยุ ทีวี เฟสบุ๊ค ก็ยังน�ำธรรมะเข้าสู่การพัฒนาจิตใจของสาธุชนในวงกว้างอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2562 เจ้าอาวาสได้เข้าอบรมพระธรรมทูตสายต่างประเทศ เพื่อความสะดวกในการท�ำงานเชื่อมโยงกับเครือข่ายของพระสงฆ์ ในต่างแดน รับดูแลเป็นประธานสงฆ์วัดแดนไทย ประเทศเดนมาร์ก และเป็นที่ปรึกษาวัดพุทธแดนธรรม ประเทศนอร์เวย์ ในต่างแดนอีก 2 วัดด้วย

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 145

145

17/7/2563 15:52:05


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองบ่มกล้วย กราบขอพร “หลวงพ่อทองคำ�” ศักดิ์สิทธิ์ พระครูอุทิตศาสนโกศล เจ้าคณะตำ�บลหนองจอก-หนองบ่มกล้วย / เจ้าอาวาสวัดหนองบ่มกล้วย วัดหนองบ่มกล้วย ตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 1 บ้านหนองบ่มกล้วย ต�ำบลหนองบ่มกล้วย อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์หินยาน ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 31 ไร่ - งาน - ตารางวา ด้านทิศเหนือติดกับถนนสายอ�ำเภอหันคา-ตลาดหูช้าง ด้านทิศตะวันตกติดกับถนน รพช.หนองบ่มกล้วย -ทับละคร บริเวณวัดตั้งอยู่ระหว่างหมู่ที่ 1,2,7,10 ต�ำบลหนองบ่มกล้วย บรรยากาศมีความสงบ สะอาด ร่มรื่น ร่มเย็น สวยงาม ผสมผสานกับ ธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน

146

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 146

17/7/2563 16:00:29


ประวัติความเป็นมา

วัดหนองบ่มกล้วย เดิมเป็นที่พักสงฆ์หนองบ่มกล้วย เริ่มก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2515 บนที่ดินจากการบริจาคของนางไฉน เผือกผ่อง โดยมี พ ระจ� ำ ลอง ปุ ญ ญกาโม รั ก ษาการ ต่ อ มาปี พ.ศ. 2519 พระวิรัตน์ อตฺตปาโล ได้ร่วมกับชาวบ้านหนองบ่มกล้วย ก่อสร้าง ศาลาการเปรียญขึ้นเป็นหลังแรก และก่อสร้างกุฏิเจ้าอาวาส เมรุ หอสวดมนต์ วิหาร ก�ำแพงคอนกรีต ฯ ตามล�ำดับ พัฒนาวัดให้มีความ เจริญรุ่งเรือง ปัจจุบันได้รับการเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระครูอุทิตศาสน โกศล เจ้าคณะต�ำบลหนองจอก-หนองบ่มกล้วย

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญภายในวัด

หลวงพ่ อ ทองค� ำ พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย ที่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ ในวิหาร มีผคู้ นทัง้ อยูใ่ กล้และไกล เดินทางมาสักการบูชาอย่างต่อเนือ่ ง เนื่องจากมีความเชื่อความศรัทธาว่า หากตั้งจิตขอพรหรือขอสิ่งใด แล้วบุคคลผูน้ นั้ ตัง้ ใจปฏิบตั บิ ชู ารักษาศีล 5 ก็จะสมประสงค์ดงั่ ใจหมาย

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

พระอธิ ก.indd ารพิบ147 ูลย์ (ฐานธมฺโม) 3 เจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก

147

17/7/2563 16:00:41


ร่วมสร้างเส้นทางบุญ พระครูอุทิตศาสนโกศล

เจ้าคณะต�ำบลหนองจอก-หนองบ่มกล้วย / เจ้าอาวาสวัดหนองบ่มกล้วย

148

3

พุ ท ธศาสนิ ก ชนท่ า นใดที่ มี จิ ต ศรั ท ธาในการสื บ สานจรรโลง พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง สามารถร่วมสร้างเส้นทางบุญกับ วัดหนองบ่มกล้วย โดยติดต่อได้ที่ พระครูอุทิตศาสนโกศล เจ้าอาวาส วัดหนองบ่มกล้วย โทรศัพท์ 085-3205737

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 148

17/7/2563 16:00:48


อุปสรรคของความสุข ก็คือ แรงปรารถนาและตัณหาอันแรงกล้า คนเราจะมีความสุข ไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่า “มีเท่าไร” แต่ขึ้นอยู่ท่ีว่า “เราพอเมื่อไร”

ต้นไม้ยักษ์

อ.บ้านไร่ อุทัยธานี อายุกว่า 300 ปี

ความสุขไม่ ได้ขึ้นกับจ�ำนวนสิ่งของที่เรามี หรือเราได้... ดังนั้นวิธีจะมีความสุข อันดับแรก ต้อง “หยุดให้เป็นและพอใจให้ ได้” ถ้าเราไม่หยุดความอยากของเราแล้ว... ก็จะต้องวิ่งไล่ตามหลายสิ่งที่ “อยากได้” แล้วนั่น มันเหนื่อย และ ความทุกข์ทั้งหลาย ก็จะตามมา... ดร. พระมหาอนุชน สาสนกิตฺติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง), Ph.D. Dr. Phramaha Anuchon Sasanakitti พระธรรมทูตสายต่างประเทศ ปริญญาโทพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิปัสสนาภาวนา ปริญญาเอก Ph.D. (Pali & Buddhism) Dr. Babasaheb Ambedkar Marathwada university เมืองออรังคบาด รัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand

There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand. UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 149

149

29/7/2563 9:55:09


History of buddhism....

วัดลานสัก WAT LAN SAK พระครูอุทัยสุตกิจ เจ้าอาวาสวัดลานสัก / รองเจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี PHRA KHRU UTHAISUTKIT, ABBOT OF WAT LAN SAK/ UTHAI THANI PROVINCE VICE MONK DEAN

อายุ 61 พรรษา 37 วิทยฐานะ นักธรรมเอก , เปรียญธรรม 4 ประโยค , การศึกษา P.H.D.มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา AGE 61 YEARS OLD, HAS BEEN A MONK FOR 37 YEARS. ACADEMIC STANDING - DHAMMA SCHOLAR ADVANCED LEVEL, GRADUATED IN BUDDHIST THEOLOGY (FOURTH LEVEL). EDUCATIONAL BACKGROUND – HE RECEIVED HIS PHD DEGREE FROM CHAOPRAYA UNIVERSITY

วัดลานสัก ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 2 ต�ำบลลานสัก อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี 61160 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน Wat Lan Sak is located at 999 village no.2, Lan Sak sub-district, Lan Sak district, Uthai Thani province, the postcode is 61160. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 3.55 acres and 1,200 square meters.

Facebook SBL

150

6

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 150

17/7/2563 15:30:51


UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 151

151

17/7/2563 15:30:59


ความเป็นมาของวัดลานสัก ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ ได้ประกาศตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2526 โดยมี น ายสุ น ทร สิ ท ธิ ป ิ กิ จ และพุ ท ธบริ ษั ท ด� ำ เนิ น การจั ด สร้ า ง วัดลานสัก โดยได้รับการถวายที่ดินจาก นายสุนทร ศิริโยธา History of Wat Lan Sak - National Office of Buddhism, Ministry of Education had announced this temple as official temple on 22 December B.E.2526. This temple was built by Mr.Soonthorn Sitthipikit and many Buddhists which the land where this temple is located was offered by Mr.Soonthorn Siriyotha.

พระครูอุทัยสุตกิจ

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส วัดลานสัก Order of abbot of Wat Lan Sak รูปที่ 1 พระอาจารย์บุญส่ง พ.ศ. 2512-2514

First abbot - Phra Ajarn Boonsong B.E.2512-2514 รูปที่ 2 พระอาจารย์ทวาย พ.ศ. 2514-2518 Second abbot - Phra Ajarn Thawai B.E.2514-2518 รูปที่ 3 พระอาจารย์ทองดี พ.ศ. 2518-2521 รักษาการเจ้าอาวาส Third abbot - Phra Ajarn Thongdee B.E.2518-2521 (Acting abbot) รูปที่ 4 พระอธิการทองดี พ.ศ. 2521-2525 Fourth abbot - Phra Athikarn Thongdee B.E.2521-2525 รูปที่ 5 พระครูอุดมขันติธรรม พ.ศ. 2525-2538 Fifth abbot – Phra Khru Udomkhantitham B.E.2525 - 2538 รูปที่ 6 พระครูศรีปริยัติอุเทศ พ.ศ. 2538-2552 Sixth abbot - Phra Khru Sripariyat U-thet B.E.2538 -2552 รูปที่ 7 พระครูอุทัยสุตกิจ ดร. พ.ศ. 2552 ถึงปัจจุบัน Seventh abbot - Phra Khru Uthaisutkit (PhD) B.E.2552 until now

เจ้าอาวาสวัดลานสัก / รองเจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี

152

6

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 152

17/7/2563 15:31:04


กิจกรรม ประเพณี ประจ�ำปี ของวัดลานสัก Annual traditional event of Wat Lan Sak เดือนมกราคม กิจกรรมท�ำบุญปีใหม่

January - Merit-making on New Year’s Day. เดือนกุมภาพันธ์ กิจกรรมบวชนาคหมู่ February - Ordination ceremony for group of people เดือนเมษายน วันที่ 9 กิจกรรมไหว้ครู, วันที่ 11 บวชศีลจาริณี นักเรียนหญิง, วันที่ 15 สรงน�้ำพระ April - Guru Worship on 9th, ordination ceremony for school girl (as a nun) on 11th, water-sprinkling onto a Buddha image on 15th. เดือนพฤษภาคม กิจกรรมบวชนาคหมู่ May - Ordination ceremony for group of people. เดือนมิถุนายน วันที่ 27 กิจกรรมบวชนาคหมู่ June - Ordination ceremony for group of people on 27th. เดือนกรกฎาคม ปฏิบัติธรรมเข้าพรรษา July - Practicing the dharma during Buddhist Lent. เดือนสิงหาคม วันที่ 12 บวชศีลจาริณี August - Ordination ceremony for school girl (as a nun) on 12th. เดือนกันยายน วันที่ 15 วันบูรพาจารย์ September - First teacher Day (Parent-worshipping day) on 15th. เดือนตุลาคม วันที่ 24 งานบุญกฐิน, วันที่ 30 งานลอยกระทง October - Kathin (religious ceremony of presenting robes to the Buddhist monks) on 24th, Loy Kratong Festival on 30th. เดือนธันวาคม วันที่ 31 เสริมมงคลปีใหม่ December - Auspiciousness-boosting on New Year’s Eve.

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 153

153

17/7/2563 15:31:10


พระพุทธรูปส�ำคัญในวัด Important Buddha images in the temple

1. พระพุทธชินราช ประจ�ำศาลาท�ำบุญ. Phra Phuttha Chinnarat – It is enshrined in merit-making hall. 2. พระพุทธเมตตา ประจ�ำวิหารบูรพาจารย์ Phra Phuttha Metta – It is enshrined in First teacher monastery. 3. พระพุทธทันใจ ประจ�ำลานปฏิบัติธรรม Phra Phuttha Than Jai – It is placed in dharma-practicing ground. 4. พระพุทธอรรถไกวัลวที ประจ�ำอุโบสถ Phra Phuttha Atkaiwanwatee – It is placed in Ubosot (Buddhist sanctuary). 5. หลวงปู่ปาน ประจ�ำวิหารองค์หลวงปู่ Luang Pu Pan – It is enshrined in Ong Luang Pu monastery. 6. พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก) ประจ�ำห้องปฏิบัติธรรม Phra Thamteeraratmahamuni (Chodok) – It is enshrined in dharma-practicing room.

154

6

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 154

17/7/2563 15:31:18


สิ่งส�ำคัญภายในวัด Important buildings and places in the temple

1. อุโบสถ Ubosot (Buddhist sanctuary) 2. วิหารบูรพจารย์ First teacher monastery 3. ห้องประชุมพระสังฆาธิการ Meeting room for administrative monk 4. ห้องรวมปฏิบัติธรรม Dharma-practicing room 5. ลานธรรม Dharma ground

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ได้ที่วัดลานสัก หรือ สะดวกโอนผ่านบัญชี ธนาคารกสิกรไทย ชื่อบัญชี วัดลานสัก เลขที่ 349-1-00860-0 สาขา ลานสัก UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2

.indd 155

155

17/7/2563 15:31:24


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดเขาพระยาพายเรือ KHAO PHRAYA PHAI RUA TEMPLE นมัสการพระนอนองค์ใหญ่ FOR WORSHIP THE HUGE RECLINING BUDDHA พระสำ�ลี มานิโต รักษาการเจ้าอาวาสวัดเขาพระยาพายเรือ วัดเขาพระยาพายเรือ ตั้งอยู่เลขที่ 8/2 หมู่ที่ 5 ต�ำบลลานสัก อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ตั้งอยู่บนเขาหินปูนลูกเล็ก ๆ ที่ร่มรื่น มองดูด้านหลังคล้ายเรือส�ำเภา รอบล้อมไปด้วยแม่น�้ำ และมีถ�้ำน้อยใหญ่เชื่อมต่อถึงกันหลายสิบถ�้ำ ได้แก่ ถ�้ำแก้ว ถ�้ำสีชมพู ถ�้ำท้องพระโรง ถ�้ำอ่างน�้ำมนต์ และถ�้ำพุทธสถาน ภายในมีหินงอกหินย้อย ที่สวยงามแปลกตา ตอนบนของถ�้ำมีพระนอนขนาดใหญ่ ที่มีพุทธลักษณะสวยงามให้ พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้บูชา Khao Phraya Phai Rua Temple Located at 8/2 Village No. 5, Lan Sak Subdistrict, Lan Sak District, Uthai Thani Province located on a shady limestone hill, Surrounded by river and there are many small and large caves connecting to each other, consisting of Kaew Cave, Pink Cave, Thong Phra Rong Cave, Nammon Cave And the Buddhist Cave. Inside, there are beautiful stalactites and stalagmites. The upper part of the cave has a large reclining Buddha. Which has beautiful Buddhist characteristics. 156

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

4

2

.indd 156

17/7/2563 15:37:00


ประวัติความเป็นมาของวัด

วัดเขาพระยาพายเรือ มีเนื้อที่ทั้งหมด 15 ไร่ โดยนายพรหม โฉมศรี เป็นผู้ถวายที่ให้ทางวัด ตั้งแต่นั้นมาจึงจัดตั้งเป็นวัดเขาพระยา พายเรือ ตั้งแต่วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2537 ลักษณะวัดครึ่งตึก ครึ่งไม้ 2 ชั้น 5 ห้อง ซึ่งสมัยนั้นมีพระครูนิมิต นวกรรม (หลวงพ่อ สมควร วิชชาวิสาโล) เป็นเจ้าอาวาส

The history of the temple

Khao Phraya Phai Rua Temple with a total area of 15 Rai, given the land by Mr. Phrom Chomsri to the temple. From April 2, 1994 the temple is half-timbered building, 2 floors, 5 rooms, which at that time had Phra Kru Nimnawakram (Luang Pho SomKuanwichchawisalo) as the abbot. ต่อมาพระมหาสมปอง มาเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ปลูกสร้างศาลา การเปรียญขึ้นมาเป็นวัตถุถาวรและเสนาสนะ โดยมีคุณทองปลิว ปิ่นประดับ คุณสุนันทา อัดตะนันท์ และพุทธบริษัทรวมถึงชาวบ้าน เขาพระยาพายเรือ ร่วมกันสร้างถวายในปี พ.ศ. 2539-2540 ต่อมา มีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง โดยได้แต่งตั้งพระครูปลัดศักดา ปิยธมฺโม เป็นเจ้าอาวาส จากนั้นพระครูปลัดศักดาได้จัดให้สร้างอุโบสถขึ้น สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และยังได้ปลูกสร้าง ถาวรวัตถุอีกหลายประการ Later, Phra Maha Sompong become an abbot. He built a sermon pavilion to be a permanent space. In the year 1996-1997 Mrs. Thong Pliap Pinpradab, Mrs. Sunantha Adhanan and Phuttha Bolisat as well as the villagers jointly built. Later, they changed new abbot that is Piyatamamo (Permanent), After that they has arranged to build a chapel. Completed on December 27, 2014 and has also built many objects.

พระส�ำลี มานิโต รักษาการเจ้าอาวาสวัดเขาพระยาพายเรือ UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 157

157

17/7/2563 15:37:12


วั ด เขาพระยาพายเรื อ มี เจ้ า อาวาสที่ ไ ม่ ไ ด้ เ อ่ ย นามอี ก ทั้ ง หมด 8 รูป ปัจจุบันมี พระส�ำลี มานิโต รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัด Khao Phraya Phai Rua Temple There are more 8 abbot who are not mentioned. Currently, Phra Someli Manito is acting as the abbot of the temple.

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ temple?

วัดเขาพระยาพายเรือ มีแผนการพัฒนาวัดในระยะ 5-10 ปีนี้ ได้ แ ก่ การสร้ า งก� ำ แพงแก้ ว รอบอุ โ บสถ อี ก ทั้ ง ซุ ้ ม ประตู วั ด และ รั้วรอบวัด ซึ่งวิธีการด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาวัด คือ การติดต่อประสานงานกับชาวพุทธบริษัท และชาวบ้านใกล้เรือน เคียงกับวัด ให้ร่วมอนุโมทนาบุญ เพื่อสืบสานพระพุทธศาสนาให้ เจริญรุ่งเรืองสืบไป

How to make marit with this

Khao Phraya Phai Rua Temple are plans to develop the temple during 5-10 years, such as build a glass wall around the chapel including the temple arches and fences around the temple which the method of achieving the goal of the is connect with Buddhist And the villagers nearby the temple to share merit.

158

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

4

2

.indd 158

17/7/2563 15:37:20


การเดินทาง

จากตั ว เมื อ งอุ ทั ย ธานี ไ ปตามทางหลวงหมายเลข 3438 สายหนองฉาง-ลานสัก บริเวณกิโลเมตรที่ 29-30 แยกขวาเข้าที่ ว่ า การอ� ำ เภอลานสั ก และเข้ า ทางลาดยางไปอี ก 11 กิ โ ลเมตร ก็จะถึงเชิงเขาแล้ว ระยะห่างจากตัวเมืองมาวัดเขาพระยาพายเรือ รวมระยะทางทั้งสิ้น 59 กิโลเมตรโดยประมาณ

How to go to this temple?

From the city of Uthai Thani use highway number 3438 Nong Chang - Lan Sak line. When arrive Kilometer 29-30, turn right into Lan Sak District Office. Continue for another 11 kilometers and you will reach the mountain. Distance from the city to Khao Phraya Phai Rua Temple is approximately 59 kilometers. UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 159

159

17/7/2563 15:37:26


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดเขาฆ้องชัย KHAO KHONG CHAI TEMPLE เสาหลักคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตแห่งเมืองอุทัย

IMPORTANT PRINCIPLES OF THE BUDDHIST OF UTHAI

วัดเขาฆ้องชัย เลขที่ 3 หมู่ที่ 1 ต�ำบลป่าอ้อ อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

ประวัติวัดเขาฆ้องชัย

วัดเขาฆ้องชัย เลขที่ 3 หมู่ที่ 1 ต�ำบลป่าอ้อ อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี เริ่มก่อตั้งครั้งแรกเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2512 โดยมีพระครูโฆษิตกิตติคุณ (วิกรม อุคฺคสมปนฺโน) ร่วมกับชาวบ้านก่อสร้างขึ้นโดยใช้ถ�้ำเขาฆ้องชัยเป็น สถานที่ปฏิบัติธรรมและจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2532 ประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดเขาฆ้องชัย” Khao Khong Chai Temple is located at No. 3 Village No. 1, Pa O Sub-district, Lan Sak District, Uthai Thani Province. First established in the year 2512, with the Provost Kittikittikun (Vikrom Kochapsannano) by using the Khao Khong Chai Cave as a place to practice meditation and organize Buddhist activities on 18 September 1989. Announcing the establishment of a Buddhist temple named "Khao Khong Chai Temple" 160

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 160

17/7/2563 15:40:29


วัดเขาฆ้องชัย เริ่มก่อตั้งครั้งแรกเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2512 โดย มี พ ระครู โ ฆษิต กิต ติคุณ (วิก รม อุคฺคสมปนฺโน) ร่ ว มกั บชาวบ้ า น ก่ อ สร้ า งขึ้ น โดยใช้ ถ�้ ำ เขาฆ้ อ งชั ย เป็ น สถานที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรมและ จัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยมีนายประจิม ฉวีชาติ เป็นผู้น�ำ ร่วมกันจัดซื้อที่ดินในบริเวณเขาฆ้องชัย ทั้งหมดประมาณ 90 ไร่ และ ได้ท�ำการก่อสร้างศาลาการเปรียญขึ้นมา 1 หลัง เป็นศาลาไม้ และ ได้ท�ำการก่อสร้างกุฏิพระสงฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง และได้ก่อสร้างอุโบสถ ขึ้น 1 หลัง ห้องน�้ำจ�ำนวน 10 ห้อง พ.ศ. 2520 พระครูโฆษิตกิตติคุณ ได้บริจาคที่ดินของวัดประมาณ 20 ไร่ เพื่ อ ท� ำ การก่ อ สร้ า งโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา โดยให้ ชื่ อ ว่ า “โรงเรียนวัดเขาฆ้องชัย” พ.ศ. 2521 พระครูโฆษิตกิตติคุณได้บริจาค ที่ ดิ น ของวั ด ประมาณ 47 ไร่ เพื่ อ ก่ อ สร้ า งโรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา โดยให้ ชื่ อ ว่ า “โรงเรี ย นลานสั ก วิ ท ยา” ซึ่ ง ให้ ก ารอุ ป ถั ม ภ์ โ ดย พระพรหมมุนี (วิชชมัย ปุญฺญาราโม) วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2532 ประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนามีนาม ว่า “วัดเขาฆ้องชัย”

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส Abbot's name

รูปที่ 1 พระครูโฆษิตกิตติคณ ุ (วิกรม อุคคฺ สมฺปนฺโน) มรณภาพแล้ว The 1st, Phrakhru Kosit Kittikhun (Vikrom Ukkasampanano) passed away รูปที 2 พระอธิการอุทัย อุทโย (ลาสิกขาบทแล้ว) The 2nd Rector of Uthai Uthyo. รูปที่ 3 พระสถิตย์ มนาโป (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) The 3rd Phra Sathit Manpo (Acting for the Abbot) รูปที่ 4 พระครูอุทัยธรรมโอภาส (ศิลปะ ธมฺมสิปฺโป) รูปปัจจุบัน The 4th Phrakhru Uthai Tham-opas (Sinlapa Thammasipo) present

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

2

.indd 161

161

17/7/2563 15:40:42


ประวัติพระครูอุทัยธรรมโอภาส

พระครูอทุ ยั ธรรมโอภาส (ธมฺมสิปโฺ ป) น.ธ.เอก,ป.ธ.3,พธ.บ.,พธ.ม. อายุ 47 ปี พรรษา 27 ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดเขาฆ้องชัย / เจ้าคณะ อ�ำเภอจังหวัดอุทัยธานี (ธรรมยุต) ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเก่า เมืองอุทัย (ธรรมยุต) บ้านพันตุ่น หมู่ที่ 5 ต�ำบลน�้ำซึม อ�ำเภอเมือง อุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี Phrakhru Uthai Tham-opas (Dhammasipo), age 47 years, 27th in position, abbot of Khao Khong Chai Temple / District, Uthai Thani Province (Thammayut), Acting as the abbot of Wat Kao, Mueang Uthai (Thamyut), Ban Phun Tun Village, Village No. 5, Nampuem Subdistrict Uthai Thani Uthai Thani Province สถานะเดิม ชื่อ ศิลปะ แก้วทิพย์ เกิดวันจันทร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2516 บ้านเลขที่ 54 หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองยายดา อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี (ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 3 หมู่ที่ 1 ต�ำบลป่าอ้อ อ�ำเภอ ลานสัก จังหวัดอุทัยธานี) บรรพชา อายุ 12 ปี วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2528 โดยมี พระครูอุเทศวัน สาธน์ (หลวงพ่อปุย) เจ้าอาวาสวัดหนองสระ เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ พัทธสีมา วัดป่าคา ต�ำบลประดู่ยืน อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี อายุ 17 ปี วันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2532 โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร แขวงบางล�ำภู เขตพระนคร กรุงเทพมหานครฯ เป็นพระอุปัชฌาย์ 162

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 162

17/7/2563 15:40:48


อุปสมบท อายุ 20 ปี วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2536 โดยมี พระสุนทรมุนี (พิสัย ฐานธมฺโม) อดีตเจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี อดีตเจ้าอาวาส วัดมณีสถิตกปิฏฐาราม อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เป็น พระอุปัชฌาย์ พระครูอุทัยอรรถโกศล เจ้าอาวาสวัดป่าคา เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระครูอุเทศธรรมกิจ(ขณะนั้น พระอธิการ สวัสดิ์ ธนปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดหนองผักกาด เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ณ พัทธสีมาวัดป่าคา ต�ำบลประดู่ยืน อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ได้รับฉายาว่า “ธมฺมสิปฺโป” อายุ 20 ปี วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ญัตติในคณะธรรมยุต โดยมี พระเทพสุเมธมุนี เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี (ธรรมยุต) เป็น พระอุปัชฌาย์ พระครูปทุมสิริรัตน์ เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระครู วิโชติธรรมสถิตย์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ณ พัทธสีมา วัดจันทน์กะพ้อ ต� ำ บลบางเตย อ� ำ เภอสามโคก จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ได้ รั บ ฉายาว่ า “ธมฺมสิปฺโป” พ.ศ. 2545 ท�ำทัฬหีกรรมโดยมี เจ้าพระคุณสมเด็จพระวันรัต เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เป็นพระอุปชั ฌาย์ ได้รับฉายาว่า “ธมฺมสิปฺโป” การศึกษา พ.ศ. 2528 จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา จากโรงเรียน บ้านหนองเมน ต�ำบลหนองยายดา อ�ำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2532 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ณ วัดสิริกาญจนาราม ต�ำบล ท่ามะขาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2537 สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ณ วัดจันทน์กะพ้อ (พระอารามหลวง) ต�ำบลบางเตย อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2556 ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี พุทธศาสตร บัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับ 2) พ.ศ. 2558 ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท พุทธศาสตร มหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การปกครอง พ.ศ. 2536 ได้รับแต่งตั้งเป็นครูพระสอนปริยัติธรรม In 1993 was appointed as a Dhamma teacher พ.ศ. 2545 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดเขาฆ้องชัย (ธรรมยุต) In 2002 was appointed as Abbot of Khao Khong Chai Temple (Thammayut) พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน In 2006 was appointed as a teaching moral school พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลจังหวัดอุทัยธานี (ธรรมยุต)

พระครูอุทัยธรรมโอภาส

เจ้าอาวาส / เจ้าคณะอ�ำเภอจังหวัดอุทัยธานี (ธรรมยุต)

In 2007 was appointed as a primate in Uthai Thani Province (Thammayut) พ.ศ. 2550 ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรพระสังฆาธิการ ระดับ เจ้าคณะต�ำบล รุ่นที่ 1 ประจ�ำปี 2550 ณ สถาบันพระสังฆาธิการ อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี In 2007 has passed the training at Sangkhathan Sangha Institute, Pak Tho District, Ratchaburi Province. วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ จังหวัดอุทัยธานี (ธรรมยุต) On 18 August 2013, was appointed to be the district dean of Uthai Thani Province (Thammayut) วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์คณะ ธรรมยุต จังหวัดอุทัยธานี On 31 March 2015, he was appointed to be an abbot of Uthai Thani Province temple. UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

2

.indd 163

163

17/7/2563 15:40:50


สมณศักดิ์ วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิส์ ญ ั ญา บัตรพัดยศ และผ้าไตรเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานสมณศักดิ์ สัญญาบัตรพัดยศ – ผ้าไตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท ในราชทินนาม ที่ “พระครูอุทัยธรรมโอภาส” On December 13, 2007, he was given the honor. And tri robes on the auspicious occasion of the 80th Birthday Anniversary of December 5, 2007 of His Majesty King Rama IX and named him as "Provost Uthai Tham-opas" วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ สั ญ ญาบั ต รพั ด ยศ และผ้ า ไตรเนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 85 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทาน เลื่อนสมณศักดิ์สัญญาบัตรพัดยศเป็น “เจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก” ใน ราชทินนามเดิม On 8 January 2013, was promoted and received tri robes due to the auspicious occasion of HM the King's 85th Birthday on December 5, 2012 of His Majesty King Rama 9 and named him as "High class governor" วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ สั ญ ญาบั ต รพั ด ยศ และผ้ า ไตรเนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 86 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทาน เลื่อนสมณศักดิ์สัญญาบัตรพัดยศเป็น “เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก” ในราชทินนามเดิม On January 7, 2014, was promoted in the auspicious occasion of the 86th Birthday Anniversary on December 5, 2013. His Majesty King Rama 9 promoted the honor of "Primate, first class district" 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์สัญญาบัตรพัดยศเป็น “เจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นพิเศษ” ในราชทินนามเดิม 28 July 2019 on the occasion of the King's Birthday His Majesty King was graciously pleased. 9 promoted the honor of "Abbot"

164

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 164

17/7/2563 15:40:56


ตลาดซาวไฮ่ บ้านไฮ่ บ้านเฮา อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี

“ตลาดซาวไฮ่” ก็เป็นอีกหนึ่งจุดแลนด์มาร์กน่าเที่ยวแห่ง อ�ำเภอบ้านไร่ที่น่าแวะ นอกจากจะเพลิดเพลินกับของกินและ สินค้าต่างๆ แล้ว คนไปเที่ยวยังได้สัมผัสกับเอกลักษณ์ทาง วัฒนธรรมในมุมน่ารักและเป็นกันเอง จนอยากให้ทุกคนลอง ไปสัมผัสดูสักครั้ง ตลาดซาวไฮ่ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัด อุทยั ธานี บรรยากาศความคึกคักมีให้เห็นตลอดทางเดิน แม่คา้ พ่อค้าส่งเสียงทักทายแขกผู้มาเยือนอย่างไม่ลดละ เสียงเรียก ให้แวะร้านนั้นหยุดร้านนี้ก็ดังมาเป็นระยะเช่นกันลองเดิน ส�ำรวจตลาดไม่นานก็พบว่า สินค้าส่วนใหญ่ที่น�ำมาขาย เป็น สินค้าพื้นบ้านที่ชาวบ้านเป็นคนปลูกคนท�ำกันเอง จึงไม่แปลก ใจเลยว่าท�ำไมของทีน่ ถี่ งึ ราคาถูกแสนถูกเป็นแรงจูงใจให้คนมา เที่ยวมีแรงเดินกันไปยาวๆ นอกเหนือจากสินค้าพืน้ บ้านทัง้ หลายแล้ว อีกหนึง่ ประเภท สินค้าที่เราเห็นอยู่หนาตา เห็นจะเป็นงานคราฟต์ทั้งหลาย มี ทั้งเสื้อผ้า หมวก เครื่องประดับ ของตกแต่ง ดูแล้วน่าซื้อหาไว้ เป็นของฝากติดไม้ตดิ มือกลับบ้าน แม้วา่ จะเป็นตลาดทีม่ ขี นาด ไม่ใหญ่มาก เหนือสิ่งอื่นใดแล้ว คือ บรรยากาศความอบอุ่น เรียบง่ายและเป็นกันเอง เหล่านีน้ า่ จะเป็นค�ำจ�ำกัดความทีแ่ สน งดงามของตลอดพื้นถิ่น ณ อ�ำเภอบ้านไร่ แห่งนี้

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 165

165

29/7/2563 9:55:43


History of buddhism....

วัดห้วยโศก พระครูอุทิตกิจจาธร เจ้าอาวาสวัดห้วยโศก / เจ้าคณะตำ�บลทุ่งนางาม

วัดห้วยโศก ตั้งอยู่เลขที่ 59 หมู่ที่ 2 ต�ำบลทุ่งนางาม อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 11 ไร่ โฉนดเลขที่ 6687

Facebook SBL

166

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 166

24/7/2563 14:20:31


UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 167

167

24/7/2563 14:20:37


อาณาเขต

- ทิศเหนือ ติดต่อกับที่ดินของเอกชน - ทิศใต้ ติดต่อกับทางสาธารณะประโยชน์ - ทิศตะวันออก ติดต่อกับโรงเรียนบ้านห้วยโศก - ทิศตะวันตก ติดต่อกับที่ดินของเอกชน ในการสร้างวัดนั้นเริ่มขึ้นโดยการน�ำของผู้น�ำหมู่บ้านในขณะนั้น และชาวบ้านร่วมมือร่วมใจกันสร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2520 และได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2528 โดยได้ตั้งชื่อตามชื่อหมู่บ้าน ห้วยโศก ต่อมาได้รับเมตตาจากพระเทพสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง) มาเป็นประธานอุปถัมภ์สร้างวัดและเสนาสนะต่างๆ มาโดยตลอด

168

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 168

24/7/2563 14:20:43


อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มีดังนี้

- อุโบสถ กว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร เป็นทรงไทยภาคกลาง อาคารคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2539 - ศาลาการเปรียญ เป็นแบบทรงไทย โครงสร้างท�ำจากไม้ทั้ง หลัง ผนังก่ออิฐถือปูน กว้าง 20 เมตร ยาว 60 เมตร - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง แบ่งเป็น 3 แบบ 1. กุฏิปูนปั้นเป็นรูปดอกไม้ จ�ำนวน 3 หลัง 2. ทรงไทยประยุกต์ คอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐ ถือปูน จ�ำนวน 4 หลัง 3. อาคารเรือนแถวทรงไทยประยุกต์ คอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐ ถือปูน 2 ชั้น จ�ำนวน 1 หลัง

ปูชนียวัตถุ

1. พระพุทธเมตตาสิงห์บุราจารย์ (หลวงพ่อใหญ่) พระประธานในอุโบสถ 2. รูปหล่อหลวงพ่อแพขนาดเท่าองค์จริง

พระครูอุทิตกิจจาธร

เจ้าอาวาสวัดห้วยโศก / เจ้าคณะต�ำบลทุ่งนางาม UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 169

169

24/7/2563 14:20:48


พระอุโบสถ วัดห้วยโศก

ต้นตะเคียน วัดห้วยโศก 170

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 170

24/7/2563 14:20:53


สูดกลิ่นอายความเก่าที่เก๋าไม่เลิก ณ ตรอกโรงยา-ตลาดต้องชม จังหวัดอุทยั ธานี นับเป็นเมืองท่าข้าวทีส่ ำ� คัญมาแต่โบราณ ผูท้ ลี่ อ่ งเรือผ่านไปมาในแม่นำ�้ เจ้าพระยาระหว่างปากน�ำ้ โพและ กรุงเทพฯ มักแวะเข้ามายังแม่น�้ำสายเล็กๆ ที่มีช่ือว่าแม่น�้ำ สะแกกรัง เพื่อซื้อข้าวของแลกเปลี่ยนสินค้ากัน ชุมชนแห่งนี้ จึงถูกเรียกขานจากชาวเรือว่า “ชุมชนบ้านสะแกกรัง” หรือออก เสียงแบบคนจีนว่า “เซ็กเกีย๋ กัง้ ” หรือทีป่ จั จุบนั รูจ้ กั การในนาม ของ “ถนนคนเดินตรอกโรงยา” ในสมัยก่อนตรอกย่านนีค้ อื สถานทีส่ บู ฝิน่ อย่างถูกกฎหมาย ของชุมชน โดยในแต่ละวันมีชาวบ้านเข้ามาสูบฝิ่นจ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดการค้าขายอย่างคึกคัก จนมาถึงสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ประกาศให้ยกเลิกการสูบฝิ่น ท�ำให้ตลาดในช่วงนั้น ซบเซา เนื่องจากผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นอพยพไปท�ำงานที่ อื่นกันหมด ในปี 2553 ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดอุทัยธานี ชุมชนทั้ง 15 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองอุทัยธานี ภาคเอกชน ภาคประชาชน และมหาวิทยาลัยนเรศวร ได้รว่ มมือกันพัฒนา บริเวณตรอกโรงยาและบริเวณโดยรอบ ให้เป็นย่านการค้าโดย จัดให้มีกิจกรรมถนนคนเดินในทุกวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 16.0021.00 น. ในบริเวณตรอกโรงยา บนแนวคิดทีว่ า่ “กิจกรรมถนน คนเดินตรอกโรงยา ถนนคนเดินสายวัฒนธรรม อุทัยธานีน่า เดิน เพลิดเพลินอาคารเก่า สะท้อนรากเหง้าแห่งชีวิต” สนใจไปเดินชมบ้านเรือนและจับจ่ายสินค้าบนถนนคนเดิน ในบรรยากาศตลาดเก่าแห่งเมืองอุทยั ธานี ไปได้ทถี่ นนศรีเมือง ต.อุทัยใหม่ อ.เมืองอุทัยธานี จ.อุทัยธานี ตั้งแต่เวลา 16.0021.00 ทุกวันเสาร์อาทิตย์นะคะ

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 171

171

29/7/2563 9:56:05


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดปางไม้ไผ่ พระครูอุทิตวิริยากร เจ้าอาวาสวัดปางไม้ไผ่ วัดปางไม้ไผ่ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ ขตปฏิรปู ทีด่ นิ หมู่ 13 ต�ำบลระบ�ำ อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี มีพื้นที่วัด 15 ไร่

วัดปางไม้ไผ่ เริ่มสร้างวัดเมื่อปี พ.ศ. 2518 และเรียกชื่อ วัดว่า “วัดปางไม้ไผ่” ตามชือ่ หมูบ่ า้ นทีช่ อื่ ว่า “บ้านปางไม้ไผ่” เพราะในสมัยก่อนบริเวณนี้เป็นป่าไผ่หนาแน่น ครั้งแรกมี พระอาจารย์น�้ำฝน เป็นผู้น�ำชาวบ้านให้เลื่อมใสในพระพุทธ ศาสนาและบุญทานการกุศล ชาวบ้านจึงเกิดศรัทธา และ สละทรัพย์คนละเล็กคนละน้อย สร้างกุฏทิ พี่ กั สงฆ์ขนึ้ 2-3 หลัง ต่อมาได้สร้างศาลาการเปรียญ เป็นไม้มงุ แฝกธรรมดา และได้เกิด ไฟไหม้ ประมาณปี 2523 พระอาจารย์นำ�้ ฝนเกิดความท้อแท้ จึงจาริกย้ายจากไป แล้วก็มีพระอาจารย์ค�ำ เตชปญโญ ได้มา บูรณะวัดขึน้ มาใหม่ น�ำพาพุทธบริษทั สร้างศาลาการเปรียญขึน้ มาหลังใหม่ ท่านได้จัดกิจกรรมบวชสามเณรภาคฤดูร้อนเป็น จ�ำนวนมาก ท่านจ�ำพรรษาอยู่ 3 ปี ก็ได้ลาสิกขาไป

172

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 172

17/7/2563 16:13:03


ต่อมาในปี 2536 ทายกวัดอยากได้พระมาดูแลวัด และจะได้ทำ� บุญ ด้วย เพราะขณะนัน้ ไม่มพี ระอยูใ่ นวัดเลย จึงได้ไปนิมนต์พระทีว่ ดั ลานสัก ในขณะนั้น พระอาจารย์ปราโมทย์ เปสโล อยู่จ�ำพรรษาที่วัดลานสัก พอดี จึงรับนิมนต์ทายกมาอยู่ และเริม่ พัฒนาวัดอีกครัง้ โดยเริม่ สร้าง กุฏสิ งฆ์และอืน่ ๆ ตามล�ำดับ และเริม่ เห็นเป็นรูปเป็นร่าง เมือ่ ได้สร้าง ศาลาการเปรียญกึง่ ไม้กงึ่ ปูน หอระฆัง และอุโบสถนัน้ สร้างอยู่ 12 ปี จึงแล้วเสร็จ

เหตุการณ์ส�ำคัญของวัดปางไม้ ไผ่

- พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2549

อาคาร/เสนาสนะ

ได้รับอนุญาตให้สร้างขึ้นเป็นวัด ได้รับการแต่งตั้งเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย ได้รับแต่งตั้งเป็นหน่วยอบรมประชาชน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา

ศาลาการเปรียญ 1 หลัง อุโบสถ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 5 หลัง หอระฆัง 1 หลัง ศาลาท�ำบุญเนื่องด้วยงานศพ และเมรุ ห้องน�้ำ ห้องสุขา 40 ห้อง ปัจจุบนั มี พระครูอทุ ติ วิรยิ ากร ( ปราโมทย์ เปสโล ) เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งได้รับการแต่งตั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 173

173

17/7/2563 16:13:14


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดโกรกลึกเทพสุวรรณราษฎร์บ�ำรุง พระครูอุทิตพัฒนกิจ เจ้าอาวาสวัดโกรกลึกฯ / เจ้าคณะตำ�บลน้ำ�รอบ เขต 1

วั ด โกรกลึ ก เทพสุ ว รรณราษฎร์ บ� ำ รุ ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 31/1 หมู ่ 9 ต�ำบลน�้ำรอบ อ�ำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 12 ไร่ 3 งาน 45 ตารางวา ระยะทางห่างจากจังหวัดอุทยั ธานี ถีงวัดโกรกลึกประมาณ 62 กิโลเมตร การสร้างวัดสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2518 ได้ มี พ ระอาจารย์ ส วั ส ดิ์ ปั ญ ญาสุ โ ธ เดิ น ทางมาพั ก ที่ โรงเรี ย น บ้านโกรกลึกเป็นอาคารหลังเดียวมีชาวบ้านมาช่วยกันท�ำบุญทั้งหมู่บ้าน พระอาจารย์สวัสดิ์ จึงชักชวนชาวบ้านให้ก่อสร้างวัดโกรกลึก โดยมีลุงแถม ปิ่นโต ถวายที่ดินสร้าง ที่พักสงฆ์บ้านโกรกลึก จ�ำนวน 5 ไร่ และญาติโยม ที่มาจากกรุงเทพฯ ซื้อที่ดินเพิ่มอีกรวมเป็น 12 ไร่ และสร้างกุฏิ 3 หลัง, ศาลาไม้ 1 หลัง พระอาจารย์จำ� พรรษาอีก 2-3 ปี ก็ย้ายไปจ�ำพรรษาที่อื่น ปี พ.ศ. 2525 พระครูอทุ ติ พิพฒ ั น์กจิ ได้อปุ สมบท ทีว่ ดั หัวเมือง อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี และเดินทางไปมาระหว่างวัดหัวเมืองและส�ำนักสงฆ์โกรกลึก และได้ศกึ ษา ต่อทีก่ รุงเทพฯ จนสอบไล่ได้นกั ธรรมชัน้ ตรี โท เอก ตามล�ำดับ และจบปริ ญ าโท จากวิ ท ยาลั ย สงฆ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณ ราชวิ ท ยาลั ย คณะสั ง คมศาสตร์ สาขาวิ ช า การจั ด การเชิ ง พุ ท ธ จึ ง ได้ ประสานงานกับโยมที่กรุงเทพฯ จนกระทั่งขออนุญาตตั้งที่พักสงฆ์โกรกลึก ยกฐานะเป็นวัดถูกต้องตามกฎหมาย ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน 2538 174

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

2

.indd 174

17/7/2563 15:54:13


วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2541 พระครูอุทิตพัฒนากิจ ได้รับแต่งตั้ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด โกรกลึ ก ฯ รู ป แรก จนถึ ง ปั จ จุ บั น พร้ อ มด� ำ รง ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลน�้ำรอบ เขต 1 เนื่องด้วยวัดโกรกลึกก�ำลังก่อสร้างศาลาการเปรียญขึ้น 1 หลัง ในการก่ อ สร้ า งจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ทุ น ทรั พ ย์ จ� ำ นวนมากทางวั ด จึ ง ได้ ประชาสัมพันธ์บอกบุญมายังผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมเป็นเจ้าภาพตาม ก�ำลังศรัทธา ร่วมท�ำบุญถวายในครั้งนี้ด้วย

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ร่วมบริจาคได้โดยโอนเงินผ่าน

ธนาคารกสิกรไทย สาขาลานสัก ประเภทบัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 349-2-00341- 6 ชื่อบัญชีพระครูอุทิตพัฒนกิจ ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.081-9017310 UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 175

พระใบฎีกาสมัย อาพาธโร

175

17/7/2563 15:54:28


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดบ่อน�้ำเย็น ศูนย์รวมจิตใจ สุขฤทัยถ้วนหน้า พระครูอุทิตเขมคุณ เจ้าอาวาสวัดบ่อน้ำ�เย็น วัดบ่อน�้ำเย็น ตั้งอยู่เลขที่ 72 หมู่ที่ 11 ต�ำบลสุขฤทัย อ�ำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี เป็นวัดคู่บ้านคู่ต�ำบลและเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในต�ำบลสุขฤทัย

176

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 176

17/7/2563 14:42:30


ประวัติวัด

วั ด บ่ อ น�้ ำ เย็ น เริ่ ม สร้ า งครั้ ง แรกเป็ น ที่ พั ก สงฆ์ เมื่ อ วั น ก่ อ น เข้าพรรษา ปี พ.ศ. 2519 ต่อมาได้รับใบอนุญาตสร้างเป็นวัด เมื่อ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2546 และได้รับตั้งเป็นวัดอย่างถูกต้องตาม กฎหมาย เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 จากนั้นได้แต่งตั้ง รักษาการแทนเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2548 และ แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

พระอธิ.indd การพิ บูลย์ (ฐานธมฺโม) 177

4

เจ้าอาวาสวัดเนินเหล็ก

177

17/7/2563 14:42:41


ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูอุทิตเขมคุณ ฉายา เขมธมฺโม เจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำเย็น (น.ธ.เอก ป.บส. ป.ตรี (พธ.บ.)) สถานะเดิม ชื่อ เชือน แย้มหนองเต่า เกิดเมื่อวันจันทร์ ขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 1 ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2496 ณ บ้านเลขที่ 97 หมู่ที่ 4 ต�ำบลเขาบางแกรก อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี บิดาชื่อ นายชวน แย้มหนองเต่า มารดาชื่อ นางชื้น แย้มหนองเต่า มีอาชีพท�ำนา เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ อุปสมบท เมือ่ อายุ 20 ปี วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2517 ณ วัดทุง่ นา ต�ำบลเขาบางแกรก อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี โดยมีพระครู อุปการโกวิท สุภธมฺโม (หลวงพ่อแอ๋ว) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระใบฎีกา ประทวน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระเฉลิม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ สมณศักดิ์ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท ที่ พระครูอุทิตเขมคุณ

ประวัติสถานที่อยู่จ�ำพรรษาในอดีตถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2517 วัดสามัคคีรังสรรค์(ทุ่งนาใหม่) อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2518 – 2519 วัดอัมพะวัน อ�ำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี (2 พรรษา) พ.ศ. 2520 วัดเก่าโบราณ(ตลาดหนองมน) อ�ำเภอเมือง จังหวัด ชลบุรี พ.ศ. 2521-2522 วัดถ�ำ้ เสือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ (2 พรรษา) พ.ศ. 2523 วัดถ�้ำตอง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2524 วั ด หนองป่ า พง อ� ำ เภอวาริ น ช� ำ ราบ จั ง หวั ด อุบลราชธานี พ.ศ. 2525 วัดถ�้ำเขาปูน(โรงสีใหม่) อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัด อุทัยธานี พ.ศ. 2526-2527 วั ด ถ�้ ำ เขาตะพาบ อ� ำ เภอบ้ า นไร่ จั ง หวั ด อุทัยธานี พ.ศ. 2528-2537 วัดบ่อน�้ำเย็น อ�ำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2538 วัดเนินตูม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2539-ปัจจุบนั วัดบ่อน�ำ้ เย็น อ�ำเภอห้วยคต จังหวัดอุทยั ธานี 178

4

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 178

17/7/2563 14:42:46


ร่วมเส้นทางบุญ

เนื่องด้วยทางวัดบ่อน�้ำเย็น ก�ำลังด�ำเนินการสร้างโบสถ์ เพื่อการท�ำสังฆกรรมส�ำคัญ ๆ หลายอย่าง อาทิ การให้การอุปสมบทแก่กุลบุตร ซึ่งในพระวินัยก�ำหนดว่าจะต้องอุปสมบทในโบสถ์เท่านั้น รวมทั้งใช้เป็นที่ประชุมที่แสดงธรรม ที่สวดมนต์ ท�ำวัตรเช้าค�่ำ เป็นต้น โบสถ์จึงมี ความส�ำคัญมากต่ออายุพระพุทธศาสนา และนับเป็นบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ทั้งในชาตินี้และชาติหน้าส�ำหรับผู้ได้ร่วมสร้างโบสถ์ วัดบ่อน�้ำเย็นจึงขอเชิญชวนท่านที่มีจิตศรัทธา ร่วมสร้างเส้นทางบุญได้ที่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ชื่อบัญชี วัดบ่อน�้ำเย็น เลขที่บัญชี 016492704263 สาขาเมืองการุ้ง

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 179

179

17/7/2563 14:42:51


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดหนองยาง พระครูอุเทศวิสาลธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองยาง วัดหนองยาง เลขที่ 98 หมู่ 7 ต�ำบลสุขฤทัย อ�ำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

“วัดหนองยาง” ได้รับการตั้งชื่อตามชื่อหมู่บ้านหนองยาง เนื่องจาก ในบริเวณหมู่บ้านมีหนองน�้ำ และที่ข้างหนองน�้ำนั้นมีต้นยางใหญ่ ซึ่งต่อ มาชาวบ้านได้มาช่วยกันขุดหนองน�้ำนั้นจนกลายเป็นสระใหญ่ มีปรากฏ ให้เห็นจนถึงปัจจุบัน จึงได้ชื่อว่า “หมู่บ้านหนองยาง” วัดหนองยาง สร้างขึ้นวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2528 โดยมีนายประดับ การโสภี เป็นผู้บริจาคที่ดินให้จ�ำนวน 19 ไร่ 72 ตารางวา และได้ตั้งเป็น วัดขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2537

180

2

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 180

17/7/2563 13:16:39


อาคารเสนาสนะ

ปัจจุบันวัดหนองยางมีถาวรวัตถุ ดังนี้ - ศาลาการเปรียญ(ก�ำลังก่อสร้าง) กว้าง 16 เมตร ยาว 32 เมตร - หอสวดมนต์ กว้าง 6.72 เมตร ยาว 8.76 เมตร - ศาลาธรรมสังเวช กว้าง 7.20 เมตร ยาว 7.20 เมตร - เมรุ กว้าง 2.64 เมตร ยาว 4.20 เมตร

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วัดหนองยางมีเจ้าอาวาสปกครองวัด ดังนี้ 1. พระอธิการสวัสดิ์ เขมงฺกโร พ.ศ. 2538 2. พระน�้ำอธิปญโญ พ.ศ. 2546 3. พระมหาสว่าง วลฺลโภ พ.ศ. 2547 4. พระครูอุเทศวิสาลธรรม(สุชาติ สุภาจาโร) พ.ศ. 2551-ปัจจุบนั

พระครูอุเทศวิสาลธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองยาง

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูอุเทศวิสาลธรรม ฉายา สุภาจาโร อายุ 67 ปี 29 พรรษา ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองยาง เจ้าคณะต�ำบลสุขฤทัย และ เป็ น พระวิ ปั ส สนาจารย์ ประจ�ำส�ำ นั ก ปฏิ บัติธรรมประจ�ำจังหวัด อุทัยธานี แห่งที่ 19

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

เนื่องด้วยปัจจุบันทางวัดหนองยางก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างศาลา การเปรียญขึ้น จึงขอเรียนเชิญท่านสาธุชนที่มีจิตศรัทธา ร่วมสืบทอด อายุพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป ด้วยการสมทบทุนสร้าง ศาลาดังกล่าวได้ที่ ธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี วัดหนองยาง เลขบัญชี 619-0-22970-0 UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 181

181

17/7/2563 13:16:52


UTHAI THANI

จังหวัดอุทัยธานี

อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน�้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน�้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ

อ�ำเภอเมืองอุทัยธานี วัดกลางเขา

วัดจันทาราม(ท่าซุง)

วัดเนินเหล็ก

ม.7 ต�ำบลดอนขวาง

ม.1 ต�ำบลน�้ำซึม

บ้านเหนือ ม.4 ต�ำบลโนนเหล็ก

วัดเก่าเมืองอุทัย

วัดดอนขวาง

พันตุ่น ม.5 ต�ำบลน�้ำซึม

ม.5 ต�ำบลดอนขวาง

วัดเกาะเทโพ

วัดตานาด

เกาะเทโพ ม.4 ต�ำบลเกาะเทโพ

ม.4 ต�ำบลเนินแจง

วัดเกาะสวรรค์

วัดทองอร่ามรังษี

ม.6 ต�ำบลเกาะเทโพ

ม.1 ต�ำบลท่าซุง

วัดบางกุ้ง บางกุ้ง ม.7 ต�ำบลสะแกกรัง

วัดบุญลือ ม.1 ต�ำบลเนินแจง

วัดปากคลองท่าซุง ม.1 ต�ำบลท่าซุง

วัดขุมทรัพย์

วัดท่าทอง

ม.1 ต�ำบลสะแกกรัง วัดเขาพะแวง ม.7 ต�ำบลเนินแจง วัดคลองเคียน ม.7 ต�ำบลท่าซุ

ท่าทอง ม.4 ต�ำบลน�้ำซึม วัดธรรมโฆษก ต�ำบลอุทัยใหม่ วัดธรรมโศภิต ต�ำบลอุทัยใหม่

วัดเนินซาก

วัดมณีสถิตกปิฏฐาราม

คลองหิน ม.4 ต�ำบลหนองพังค่า

ม.2 ต�ำบลหนองไผ่แบน

วัดจักษาภัทราราม

วัดเนินตูม

ต�ำบลอุทัยใหม่

ม.8 ต�ำบลสะแกกรัง

เนินตูม ม.2 ต�ำบลสะแกกรัง

วัดคลองหิน

บ้านเขาน้อย ม.1 ต�ำบลโคกหม้อ

วัดเขาน้อย (ล่าง) บ้านเขาน้อย ม.1 ต�ำบลโคกหม้อ วัดเขาปฐวี ม.5 ต�ำบลตลุกดู่

วัดเขาลูกช้าง

บ้านเขาลูกช้าง ม.4 ต�ำบลโคกหม้อ วัดคอดยาง บ้านคอดยาง ม.13 ต�ำบลหนองกระทุ่ม วัดโคกหม้อ ม.2 ต�ำบลโคกหม้อ

ต�ำบลอุทัยใหม่

วัดภูมิธรรม ม.3 ต�ำบลสะแกกรัง

วัดราษฎร์ศรัทธาท�ำ

วัดหนองโพธิ์ ม.5 ต�ำบลหนองไผ่แบน

ม.2 ต�ำบลท่าซุง

วัดหนองสลิด

วัดศรีประมุข

ม.6 ต�ำบลดอนขวาง

ม.2 ต�ำบลหนองพังค่า วัดสะพานหิน ม.3 ต�ำบลหาดทบง

วัดหนองหญ้านาง ม.5 ต�ำบลหนองไผ่แบน

ม.3 ต�ำบลน�้ำซึม วัดหนองแก ม.3 ต�ำบลหนองแก

ต�ำบลอุทัยใหม่ วัดหาดทนง ม.5 ต�ำบลหาดทบง

ม.2 ต�ำบลดอนขวาง วัดหนองเต่า ม.5 ต�ำบลหนองเต่า

ต�ำบลอุทัยใหม่

วัดสังกัสรัตนคีรี วัดหนองตางู

วัดหลวงราชาวาส วัดใหม่จันทราราม

ม.1 ต�ำบลหนองไผ่แบน

วัดอมฤตวารี ต�ำบลอุทัยใหม่ วัดอัมพวัน ม.3 ต�ำบลเกาะเทโพ วัดอุโปสถาราม

วัดหนองพังค่า

บ้านน�้ำตก ม.1 ต�ำบลสะแกกรัง

วัดหนองไผ่แบน

ม.6 ต�ำบลท่าซุง

ม.1 ต�ำบลหนองพังค่า

วัดดอนหวาย

วัดผาลาดธาราราม ม.11

วัดหนองกระดี่

วัดหนองเป็ดก่า หนองเป็ดก่า

ม.3 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง วัดตลุกดู่ ม.4 ต�ำบลตลุกดู่

ต�ำบลตลุกดู่

ม.3 ต�ำบลหนองยายดา

ม.15 ต�ำบลหนองกระทุ่ม

วัดหนองกระดี่นอก

วัดหนองไผ่

บ้านหนองกระดี่ ม.3 ต�ำบลหนองยายดา

บ้านหนองไผ่ ม.12 ต�ำบลตลุกดู่

วัดหนองขนาก

ม.1 ต�ำบลหนองกลางดง

อ�ำเภอทัพทัน

วัดเขาโคกโค ม.3 ต�ำบลทุง่ นาไทย วัดเขาน้อย (บน)

วัดพิชัยปุรณาราม

วัดวังปลากด ม.1 ต�ำบลทุ่งใหญ่ วัดเวฬุวนาราม(ยาง)

วัดตลุกหมู

ม.4 ต�ำบลหนองกลางดง

วัดเพชรกาฬสินธุ์ บ้านเพชรกาฬสินธุ์ ม.14 ต�ำบลตลุกดู่

ทัพทันวัฒนาราม

วัดมะเดื่อ

ม.1 ต�ำบลทัพทัน

ม.4 ต�ำบลทุ่งนาไทย

วัดหนองมะเขือ

วัดท่ามะขามป้อม

วัดวังเตย

บ้านหนองขนาก ม.1 ต�ำบลหนองกระทุ่ม

วัดหนองเรือโกลน

ม.2 ต�ำบลหนองยายดา

บ้านวังเตย ม.14 ต�ำบลตลุกดู่

วัดหนองขุย

วัดหนองสระ

ม.3 ต�ำบลหนองกลางดง

วัดทุ่งนาไทย

วัดวังสาริกา

ม.5 ต�ำบลหนองกระทุ่ม

ม.3 ต�ำบลหนองสระ

ม.4 ต�ำบลหนองกระทุ่ม

วัดหนองจิกยาว

วัดหนองหญ้าไทร

วัดดงพิกุล

วัดโป่งเก้ง

วัดสาลีสามัคคีธรรม

บ้านหนองจิกยาว ม.16 ต�ำบลตลุกดู่

ม.2 ต�ำบลทัพทัน

บ้านชุมยาง ม.15 ต�ำบลตลุกดู่

ม.3 ต�ำบลเขาขี้ฝอย วัดป่าเรไลยก์ บ้านหนองบัวแดง ม.4 ต�ำบลหนองยายดา

ม.5 ต�ำบลหนองกลางดง

บ้านโป่งเก้ง ม.15 ต�ำบลตลุกดู่

สาลี ม.12 ต�ำบลตลุกดู่

วัดชุมยางสามัคคีธรรม

182

วัดสวนขวัญ สวนขวัญ ม.13 ต�ำบลตลุกดู่

วัดหนองนกยูง ม.1 ต�ำบลตลุกดู่

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 182

29/7/2563 16:15:51


THE IMPORTANT TEMPLES UTHAI THANI

อ�ำเภอสว่างอารามณ์

อ�ำเภอหนองฉาง

วัดเขาดาวเรือง

วัดวังบุญ

ม.8 ต�ำบลหนองหลวง

ม.4 ต�ำบลไผ่เขียว

วัดเขาหิน

วัดศรีจันทราราม

บ้านเขาหิน ม.6 ต�ำบลบ่อยาง

บ้านทุ่งมน ม.7 ต�ำบลไผ่เขียว

บ้านป่ากล้วย ม.2 ต�ำบลเขาบางแกรก

วัดเขาหินเทิน

วัดสว่างอารมณ์

วัดเขาน้อย

ม.4 ต�ำบลพลวงสองนาง

ม.5 ต�ำบลสว่างอารมณ์

ม.3 ต�ำบลเขากวางทอง

วัดคลองข่อย

วัดหนองกี่

วัดเขาบางแกรก

บ้านคลองข่อย ม.11 ต�ำบลไผ่เขียว

ม.3 ต�ำบลพลวงสองนาง

บ้านเขาบางแกรก ม.4 ต�ำบลเขาบางแกรก

วัดโรจนาราม

วัดคลองโพ

หน้องเข้ ม.12 ต�ำบลไผ่เขียว

วัดลานหญ้าคา

บ้านคลองโพ ม.3 ต�ำบลสว่างอารมณ์

วัดหนองแขวนกูบ

วัดคีรีทะระมะ

ม.2 ต�ำบลพลวงสองนาง

วัดชุมม่วง

วัดหนองชุมเห็ด

บ้านเขาทะระมะ ม.7 ต�ำบลเขาบางแกรก วัดแจ้ง ม.1 ต�ำบลอุทัยเก่า

บ้านลานหญ้าคา ม.4 ต�ำบลเขาบางแกรก วัดวังบรเพชร ม.3 ต�ำบลทุ่งโพ

บ้านชุมม่วง ม.10 ต�ำบลไผ่เขียว

บ้านหนองชุมเห็ด ม.5 ต�ำบลพลวงสองนาง

วัดดงแขวน

วัดหนองตะคลอง

ม.1 ต�ำบลเขากวางทอง วัดถ�้ำรัตนคีรี ม.12 ต�ำบลทุ่งโพ

บ้านวังสีทา ม.12 ต�ำบลเขากวางทอง

วัดถ�้ำสนามบิน

วัดสามัคคีรังสรรค์

บ้านสนามบิน ม.11 ต�ำบลเขากวางทอง

บ้านทุ่งนา ม.4 ต�ำบลเขาบางแกรก

วัดท่าข้ามสาคร

ม.2 ต�ำบลหนองนางนวล

วัดหนองเข้

ม.7 ต�ำบลสว่างอารมณ์

ม.5 ต�ำบลหนองหลวง

วัดดอนตาเสา

วัดหนองตะเคียน

ม.1 ต�ำบลไผ่เขียว

บ้านหนองตะเคียน ม.5 ต�ำบลบ่อยาง

วัดดอนเพชร ม.3 ต�ำบลบ่อยาง

วัดดอนหวาย

วัดหนองบ�ำหรุ

ม.7 ต�ำบลบ่อยาง

บ้านหนองบ�ำหรุ ม.13 ต�ำบลไผ่เขียว

วัดทุ่งยาว

วัดหนองยายดา

บ้านทุ่งยาว ม.9 ต�ำบลไผ่เขียว

ม.4 ต�ำบลสว่างอารมณ์

วัดทุ่งสงบ

ม.7 ต�ำบลหนองหลวง

ม.2 ต�ำบลไผ่เขียว

วัดบ่อชุมแสง บ้านบ่อชุมแสง ม.19 ต�ำบลไผ่เขียว

วัดบ่อยาง บ้านบ่อยาง ม.8 ต�ำบลบ่อยาง

วัดบึงยาว บ้านบึงยาว ม.8 ต�ำบลไผ่เขียว

วัดปิยะมงคล บ้านใหม่มงคล ม.23 ต�ำบลไผ่เขียว

วัดหนองแว่น วัดหนองสมบูรณ์ บ้านหนองสมบูรณ์ ม.6 ต�ำบลพลวงสองนาง

วัดหนองสะแก

วัดเกาะตาซ้ง ม.10 ต�ำบลทุ่งโพ วัดเขาโจโก้

วัดดงประดาพระ

ม.8 ต�ำบลหนองนางนวล วัดทุ่งทอง ม.1 ต�ำบลทุ่งพง วัดทุ่งนา ม.1 ต�ำบลเขาบางแกรก วัดทุ่งโพ ม.8 ต�ำบลทุ่งโพ วัดทุ่งหลวง ม.11 ต�ำบลทุ่งพง

วัดเทพนิมิต

ทุ่งโพ

วัดป่าเลา ม.6 ต�ำบลเขาบางแกรก วัดโปรดภาวนา บ้านดงยาง ม.3 ต�ำบลหนองยาง ม.4 ต�ำบลหนองยาง

วัดวังสีทา

วัดหนองกระทุ่ม วัดหนองกระทุ่ม ม.7 ต�ำบลเขากวางทอง

วัดหนองขุนชาติ ม.1 ต�ำบลหนองสรวง วัดหนองเต่า ม.7 ต�ำบลอุทัยเก่า

วัดหนองฝางวิทยาราม

บ้านหัวเขาปลาร้า ม.5 ต�ำบลเขาบางแกรก วัดน�้ำพุ ม.6 ต�ำบลทุ่งโพ

บ้านหนองฝาง ม.7 ต�ำบลทุ่งโพ

ม.2 ต�ำบลบ้านเก่า

วัดห้วยขานาง

วัดเนินสาธารณ์

บ้านหนองสะแก ม.6 ต�ำบลบ่อยาง

วัดบ่อทับใต้

วัดหนองสี่เหลี่ยม

วัดบ้านใหม่

บ้านหนองสี่เหลี่ยม ม.11 ต�ำบลบ่อยาง

ม.2 ต�ำบลเขากวางทอง

วัดหนองหลวง

ม.4 ต�ำบลหนองนางนวล

ม.4 ต�ำบลหนองหลวง

วัดปรักมะม่วง ม.7 ต�ำบลทุ่งโพ วัดป่าช้า ม.4 ต�ำบลบ้านเก่ วัดป่าพริก บ้านป่าพริก ม.5 ต�ำบล

ม.5 ต�ำบลหนองสรวง

วัดปทุมทอง วัดปทุมธาราม ม.10 ต�ำบลหนองยาง

วัดประดาหัก

วัดหนองมะกอก ม.2 ต�ำบลหนองยาง วัดหนองยาง ม.5 ต�ำบลหนองยาง ม.1 ต�ำบลหนองยาง

วัดห้วยพระจันทร์ ม.4 ต�ำบลหนองฉาง วัดหัวเมือง ม.2 ต�ำบลอุทัยเก่า วัดใหญ่ ม.5 ต�ำบลบ้านเก่า

วัดใหม่เขาปูน

บ้านใหม่เขาปูน ม.1 ต�ำบลหนองยาง วัดอัมพวัน ม.7 ต�ำบลทุ่งพง

ม.4 ต�ำบลเขากวางทอง

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 183

183

29/7/2563 16:15:53


อ�ำเภอหนองขาหย่าง วัดเก้านิ้ว ม.4 ต�ำบลดอนกลอย วัดคูเมือง ม.8 ต�ำบลหนองไผ่ วัดดงขวาง ม.1 ต�ำบลดงขวาง

วัดดงเศรษฐี

บ้านหนองเขาขัน ม.2 ต�ำบลหมกแถว

วัดดอนกลอย ม.5 ต�ำบลดอนกลอย วัดทัพทราย ม.7 ต�ำบลทุ่งพึ่ง

วัดท่าโพ ม.4 ต�ำบลท่าโพ วัดทุ่งพึ่งเก่า ม.5 ต�ำบลทุ่งพึ่ง วัดทุ่งพึ่งใหม่ ม.5 ต�ำบลทุ่งพึ่ง วัดเนินพยอม ม.5 ต�ำบลหลุมเข้า วัดพันสี ม.1 ต�ำบลท่าโพ

วัดมงคลรัตนคีรี

บ้านหนองปลาไหล ม.9 ต�ำบลหนองไผ่ วัดมโนราช ม.5 ต�ำบลดงขวาง

วัดรัตนาราม

วัดสุทธาวาส

วัดหนองระแหงใต้

ม.2 ต�ำบลดงขวาง

ม.3 ต�ำบลดอนกลอย วัดหนองเขื่อน ม.1 ต�ำบลทุ่งพึ่ง

ม.4 ต�ำบลหนองขาหย่าง

วัดศิริธรรมาวาส

วัดหนองไผ่

วัดหนองระแหงเหนือ

บ้านเนินพยอม ม.5 ต�ำบลหลุมเข้า

ม.6 ต�ำบลหนองไผ่

ม.1 ต�ำบลหนองไผ่

วัดศิริวัฒนาราม

วัดหนองพลวง

ม.4 ต�ำบลหลุมเข้า

ม.2 ต�ำบลหนองขาหย่าง

วัดสวนพลู

วัดหนองแฟบ

บ้านทุ่งพึ่ง ม.5 ต�ำบลทุ่งพึ่ง

ม.7 ต�ำบลหนองขาหย่าง

วัดผาทั่ง ม.2 ต�ำบลห้วยแห้ง วัดพุกร่าง

วัดสายรุ้งทอง

วัดหนองหูลิง

บ้านสายรุ้งทอง ม.8 ต�ำบลหูชา้ ง

บ้านหนองหูลิง ม.9 ต�ำบลหูช้าง

วัดหลุมเข้า ม.2 ต�ำบลหลุมเข้า

วัดห้วยรอบ ม.2 ต�ำบลห้วยรอบ

อ�ำเภอบ้านไร่ วัดเขาถ�้ำตะพาบ ม.5 ต�ำบลวังหิน

ม.3 ต�ำบลทัพหลวง

วัดเขาวงษ์พรหมจรรย์

วัดทัพหลวง

ม.1 ต�ำบลวังหิน วัดเขาว่าน บ้านเขาว่าน ม.4 ต�ำบลบ้านใหม่คลองเคีย

วัดเทพสุวรรณวงศาราม

วัดคลองตะขาบ ม.6 ต�ำบลวังหิน

วัดคลองโป่ง ม.5 ต�ำบลเมืองการุ้ง

วัดเจ้าวัด บ้านเจ้าวัด ม.1 ต�ำบลเจ้าวัด

วัดถ�้ำเขาวง บ้านหินตุ้ม ม.3 ต�ำบลบ้านไร่

วัดถ�้ำพระธาตุเมืองเทพ บ้านทัพหลวง ม.1 ต�ำบลทัพหลวง

วัดทองธรรมาราม บ้านทุ่งน้อย ม.4 ต�ำบลคอกควาย

วัดทองหลาง ม.2 ต�ำบลคอกควาย

วัดทัพคล้าย ม.6 ต�ำบลทัพหลวง

วัดทัพเจริญธรรม บ้านทัพไฟไหม้ ม.4 ต�ำบลหนองจอก

184

วัดทัพหมัน ม.1 ต�ำบลทัพหลวง บ้านหนองไม้ตาย ม.7 ต�ำบลหนองจอก

วัดนาทุ่งเชือก บ้านนาทุ่งเชือก ม.4 ต�ำบลห้วยแห้ง

วัดบ้านจัน บ้านจัน ม.5 ต�ำบลหนองจอก

วัดบ้านบุ่ง บ้านบุ่ง ม.5 ต�ำบลเจ้าวัด

วัดบ้านไร่ ม.1 ต�ำบลบ้านบึง

วัดบ้านใหม่โพธิ์งาม บ้านใหม่โพธิ์งาม ม.2 ต�ำบลหนองจอก

วัดป่าแจ้งประจักษ์โกศล บ้านคุ้มเกล้า ม.15 ต�ำบลคอกควาย

วัดป่าสักทอง บ้านแม่ระมาด ม.9 ต�ำบลห้วยแห้ง

บ้านพุกร่าง ม.8 ต�ำบลหนองจอก

วัดพุ่มบ�ำเพ็ญธรรม ม.4 ต�ำบลเจ้าวัด

วัดภูจวง บ้านภูจวง ม.14 ต�ำบลทัพหลวง

วัดเมืองการุ้ง ม.4 ต�ำบลเมืองการุ้

วัดไร่พริก บ้านไร่พริก ม.7 ต�ำบลบ้านบึง

วัดวังตอ บ้านวังตอ ม.6 ต�ำบลบ้านบึง วัดวังพง ม.2 ต�ำบลวังหิน วัดวังหิน ม.4 ต�ำบลวังหิน

วัดสมศรีพัฒนาราม บ้านห้วยน�้ำดี ม.12 ต�ำบลคอกควาย

วัดสวนพลู บ้านสวนพลู ม.7 ต�ำบลทัพหลวง วัดสะน�ำ ม.6 ต�ำบลบ้านไร่

วัดสามัคคีธรรม

บ้านป่าอู ม.7 ต�ำบลทัพหลวง

วัดสาลวนาราม ม.1 ต�ำบลหนองจอก

วัดแสงธรรมวนาราม บ้านแสงจันทร์ ม.11 ต�ำบลทัพหลวง

วัดหมกแถว ม.1 ต�ำบลหมกแถว

วัดห้วยบง

วัดหนองแกสามัคคี

บ้านห้วยบง ม.5 ต�ำบลบ้านบึง

บ้านหนองแกสามัคคี ม.11 ต�ำบลหูช้าง

วัดห้วยป่าปก ม.7 ต�ำบลบ้านไร่

วัดหนองตายาย

วัดห้วยพลู

บ้านหนองตายาย ม.13 ต�ำบลเมืองการุ้ง

บ้านห้วยพลู ม.7 ต�ำบลห้วยแห้ง

วัดหนองบ่มกล้วย

วัดห้วยแห้ง

ม.1 ต�ำบลหนองบ่มกล้วย

วัดหนองปรือ

ม.6 ต�ำบลห้วยแห้ง วัดหูช้าง ม.4 ต�ำบลหูช้าง

บ้านหนองปรือ ม.8 ต�ำบลบ้านไร่ วัดหนองฝาง ม.3 ต�ำบลหูชา้ ง

บ้านใหม่หนองแก ม.4 ต�ำบลทัพหลวง

วัดหนองไม้แก่น

วัดอุดมสุข

บ้านหนองไม้แก่น ม.3 ต�ำบลหนองจอก

บ้านอุดมสุข ม.8 ต�ำบลบ้านใหม่คลองเคียน

วัดใหม่หนองแก

วัดหนองหิน บ้านหนองหิน ม.6 ต�ำบลหนองบ่มกล้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I อุทัยธานี

.indd 184

29/7/2563 16:15:54


THE IMPORTANT TEMPLES UTHAI THANI

อ�ำเภอลานสัก วัดโกรกลึก บ้านโกรกลึก ม.9 ต�ำบลน�้ำรอบ วัดเขาฆ้องชัย ม.1 ต�ำบลป่าอ้อ

วัดเขาดินแดง

วัดตะคล้อ

วัดบึงเจริญ

บ้านตะคล้อ ม.4 ต�ำบลประดู่ยืน วัดถ�้ำทอง ม.3 ต�ำบลทุ่งนางาม

บ้านบึงเจริญ ม.9 ต�ำบลระบ�ำ

วัดทรัพย์สมบูรณ์

วัดบึงแวง บ้านบึงแวง ม.17 ต�ำบลน�้ำรอบ

วัดหนองผักกาด

วัดโป่งสามสิบ บ้านโป่งสามสิบ ม.3 ต�ำบลระบ�ำ

วัดโปร่งนวล

บ้านหนองผักกาด ม.7 ต�ำบลประดู่ยืน

บ้านโปร่งนวล ม.3 ต�ำบลน�้ำรอบ

วัดหนองม่วง

วัดพรหมรังสี

บ้านหนองม่วง ม.6 ต�ำบลน�้ำรอบ

บ้านทรัพย์สมบูรณ์ ม.12 ต�ำบลระบ�ำ

วัดบึงแห้ง

วัดเขาดินเหนือ

วัดทุ่งนางาม

วัดบุ่งฝางสามัคคีธรรม

บ้านเขาน�้ำโจน ม.12 ต�ำบลทุ่งนางาม

บ้านเขาดินเหนือ ม.4 ต�ำบลลานสัก

วัดทุ่งสามแท่ง

บ้านบุ่งฝาง ต�ำบลทุ่งนางาม

วัดเพชรเจริญ

บ้านกม.52 ม.10 ต�ำบลระบ�ำ

บ้านเพชรเจริญ ม.5 ต�ำบลระบ�ำ

บ้านห้วยทราย ม.2 ต�ำบลน�้ำรอบ

บ้านเขาดินแดง ม.1 ต�ำบลทุ่งนางาม

วัดเขาธรรมมงคล บ้านเนินมะค่า ม.8 ต�ำบลน�้ำรอบ

วัดเขาผาแรต ม.13 ต�ำบลน�้ำรอบ

วัดเขาพระยาพายเรือ บ้านลานสัก ม.5 ต�ำบลลานสัก

วัดเขาอริโยทัยวนาราม บ้านหาดทรายงาม ม.8 ต�ำบลระบ�ำ

วัดคลองชะนี บ้านคลองชะนี ม.7 ต�ำบลป่าอ้อ

วัดคลองไม้ลาย บ้านคลองไม้ลาย ม.1 ต�ำบลระบ�ำ

วัดคีรีวงศ์ บ้านคีรีวงศ์ ม.3 ต�ำบลระบ�ำ

ม.8 ต�ำบลทุ่งนางาม ม.5 ต�ำบลประดู่ยืน

วัดเทพเมืองทอง บ้านเขาน�้ำโจน ม.5 ต�ำบลทุ่งนางาม

วัดนาไร่เดียว บ้านนาไร่เดียว ม.2 ต�ำบลลานสัก

วัดน�้ำรอบ บ้านน�้ำรอบ ม.1 ต�ำบลน�้ำรอบ วัดน�้ำวิ่ง ม.7 ต�ำบลทุ่งนางาม

วัดนิคมสามัคคี

บ้านนิคมสามัคคี ม.4 ต�ำบลทุ่งนางาม

วัดเนินมะค่า

วัดชายเขา

บ้านเนินมะค่า ม.8 ต�ำบลน�้ำรอบ

บ้านชายเขา ม.3 ต�ำบลทุ่งนางาม วัดซับป่าพลู บ้านซับป่าพลู ม.6 ต�ำบลป่าอ้อ

บ้านเนินส�ำราญ ม.10 ต�ำบลน�้ำรอบ

วัดเนินส�ำราญ

บ้านบึงแห้ง ม.6 ต�ำบลน�้ำรอบ

วัดบุ่งอ้ายเจี้ยม บ้านบุ่งอ้ายเจี้ยม ม.5 ต�ำบลระบ�ำ วัดประดู่ยืน ม.2 ต�ำบลประดู่ยืน

วัดปากเหมือง

บ้านปากเหมือง ม.9 ต�ำบลลานสัก วัดป่าคา ม.1 ต�ำบลประดู่ยืน

วัดปางไม้ ไผ่

บ้านปางไม้ไผ่ ม.4 ต�ำบลระบ�ำ

วัดป่าแดนนาบุญ บ้านพุหล่ม ม.2 ต�ำบลลานสัก

วัดป่านิคมสามัคคี

วัดห้วยขาแข้ง วัดห้วยทราย

วัดเพชรน�ำ้ ผึ้ง

วัดห้วยเปล้า

บ้านเพชรน�้ำผึ้ง ม.3 ต�ำบลลานสัก

บ้านห้วยเปล้า ม.6 ต�ำบลระบ�ำ

วัดห้วยรัง

วัดไร่สามัคคีธรรม

บ้านห้วยรัง ม.2 ต�ำบลระบ�ำ

บ้านนาไร่เดียว ม.1 ต�ำบลป่าอ้อ วัดลานสัก ม.2 ต�ำบลลานสัก

วัดห้วยโศก ม.2 ต�ำบลทุ่งนางาม

บ้านร่องตาที ม.6 ต�ำบลลานสัก

ม.8 ต�ำบลระบ�ำ

วัดวิหารธรรม

วัดศรีบุญเรือง

วัดหาดทรายงาม วัดใหม่ไทยอีสาน บ้านใหม่ไทยอีสาน ม.7 ต�ำบลลานสัก

บ้านศรีบุญเรือง ม.10 ต�ำบลทุ่งนางาม

วัดสกุณาวนาราม

วัดใหม่หนองแขม

บ้านเขาน�้ำโจน ม.12 ต�ำบลทุ่งนางาม

บ้านใหม่ ม.8 ต�ำบลประดู่ยืน

วัดป่าศรัทธาธรรม

วัดอุดมพร

บ้านพรเจริญ ม.17 ต�ำบลระบ�ำ

วัดหนองเจ๊กกวย

บ้านหนองเจ๊กกวย ม.7 ต�ำบลน�้ำรอบ

บ้านนิคมสามัคคี ม.4 ต�ำบลทุ่งนางาม

วัดป่าอ้อ บ้านป่าอ้อ ม.5 ต�ำบลป่าอ้อ

บ้านหนองเจ๊กกวย ม.7 ต�ำบลน�้ำรอบ

ต�ำบลทองหลาง วัดทุ่งสาลี ม.3 ต�ำบลสุขฤทัย

วัดป่าผาก

วัดสุวรรณบรรพต

วัดหนองยาง

ม.3 ต�ำบลห้วยคต

ม.2 ต�ำบลสุขฤทัย

บ้านหนองยาง ม.7 ต�ำบลสุขฤทัย

วัดโป่งข่อย

วัดหนองจอก

วัดหนองสี่เหลี่ยม

บ้านโป่งข่อย ม.4 ต�ำบลทองหลาง

บ้านหนองจอก ม.3 ต�ำบลห้วยคต

บ้านหนองสี่เหลี่ยม ม.5 ต�ำบลสุข ฤทัย

วัดสมอทอง

วัดหนองผักแพว

วัดชุมทหาร

บ้านบ่อน�้ำเย็น ม.11 ต�ำบลสุขฤทัย วัดบ้านกลาง ม.4 ต�ำบลห้วยคต

บ้านชุมทหาร ม.1 ต�ำบลห้วยคต วัดตลิ่งสูง บ้านตลิ่งสูง ม.3

บ้านหนองผักแพว ม.5 ต�ำบลทองหลาง

บ้านหินโหง่น ม.2 ต�ำบลห้วยคต

บ้านป่าบัว ม.6 ต�ำบลทองหลาง

อ�ำเภอห้วยคต วัดไก่ดิ้น บ้านไก่ดิ้น ม.2 ต�ำบลห้วยคต

วัดคลองหวาย บ้านคลองหวาย ม.7 ต�ำบลทองหลาง

วัดบ่อน�ำ้ เย็น

วัดป่าบัว

บ้านสมอทอง ม.2 ต�ำบลทองหลาง

วัดหินโหง่น

UTHAI THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 185

185

29/7/2563 16:15:56


Ad 10

.indd 186

29/7/2563 9:50:36


ก้าวเข้าสู่ปีที่ 10

บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !

Ad 10

.indd 187

10 th

ANNIVERSARY ISSUE

29/7/2563 9:51:00


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

WWW.SBL.CO.TH

.indd 188

29/7/2563 9:50:35


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.