คู่มือกล้วยไม้

Page 1

กล้วยไม้

คู่มือ

คู่มือกล้วยไม้ฉบับพกพา สำาหรับผู้เริ่มต้น การดูกล้วยไม้ในเมืองไทยและการจำาแนกชนิด คู่มือภาพกล้วยไม้ 324 ชนิด ลักษณะดอก ฤดูกาล ถิ่นอาศัย และแหล่งที่พบ

สลิล สิทธิสัจจธรรม

ฉบับพกพาสำาหรับผู้เริ่มต้น ด้วยภาพถ่ายสวยงามในธรรมชาติ 324 ชนิด

คู่มือ กล้วยไม้ สลิล สิทธิสัจจธรรม

หมวดท่องเที่ยว/ธรรมชาติ ISBN 978-616-7767-65-9

ราคา 299 บาท

299.-


2

หนังสือ  คู่มือกล้วยไม้ (ฉบับปรับปรุง) ผู้เขียน  สลิล สิทธิสัจธรรม © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สำรคดี ในนำมบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ห้ำมกำรลอกเลียนไม่ว่ำส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจำกจะได้รับอนุญำต ฉบับพิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2546 พิมพ์ครั้งที่ 1 (ฉบับปรับปรุง) ตุลำคม 2558  จ�ำนวนพิมพ์ 3,000 เล่ม รำคำ 299 บำท

ข้อมูลทางบรรณานุกรม สลิล สิทธิสัจจธรรม   คู่มือกล้วยไม้.--กรุงเทพฯ : สำรคดี, 2558.   276 หน้ำ : ภำพประกอบ.   1. กล้วยไม้--ไทย. I. สลิล สิทธิสัจจธรรม. 584.15 ISBN 978-616-7767-65-9

คณะผู้จัดท�า บรรณำธิกำรเล่ม : อนุรัตน์ วัฒนำวงศ์สว่ำง ผู้ช่วยบรรณำธิกำร : นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปกและรูปเล่ม : ณิลณำ หุตะเศรณี ภำพปก : ฝ่ำยภำพสำรคดี คอมพิวเตอร์ : ณิลณำ หุตะเศรณี พิสูจน์อักษร : กนกวรรณ โสภณวัฒนวิจิตร ควบคุมกำรผลิต : ธนำ วำสิกศิริ จัดพิมพ์  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด (ส�ำนักพิมพ์สำรคดี) จัดจ�าหน่าย  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด 28, 30 ถนนปรินำยก แขวงบ้ำนพำนถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2281-6110 (อัตโนมัติ) โทรสำร 0-2282-7003 เพลต  เอ็นอำร์ฟิล์ม โทร. 0-2215-7559 พิมพ์  โรงพิมพ์กรุงเทพ โทร. 0-2642-7272 ส�านักพิมพ์สารคดี ผู้อ�ำนวยกำร : สุวพร ทองธิว  ผู้จัดกำรทั่วไป : จ�ำนงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษำกฎหมำย : สมพจน์ เจียมพำนทอง  ผู้อ�ำนวยกำรฝ่ำยศิลป์/ฝ่ำยผลิต : จ�ำนงค์ ศรีนวล   ผู้จัดกำรฝ่ำยตลำด : พิเชษฐ ยิ้มถิน  ที่ปรึกษำส�ำนักพิมพ์ : สุดำรำ สุจฉำยำ ที่ปรึกษำด้ำนภำพถ่ำย : สกล เกษมพันธุ์   บรรณำธิกำรส�ำนักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชำญ หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลือง ช่วยลดกำรใช้วัตถุดิบจำกน�้ำมันปิโตรเลียม ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภำพและสิ่งแวดล้อม


3

จากส�านักพิมพ์

ผู้ชอบเดิน ท่องเที่ยวไปในป่ำธรรมชำติคงรู้สึกคล้ำย ๆ กันว่ำ กำรได้พบเห็น ดอกกล้วยไม้ผลิบำนอยู่สองข้ำงทำงนั้น เป็นเรื่องที่น่ำตื่นตำตื่นใจอย่ำงยิ่ง แต่ ประตูที่จะน�ำไปสู่กำรรู้จักกล้วยไม้แสนสวยเหล่ำนี้ยังคงปิดตำยอยู่ เพรำะ แม้แต่ชื่อ เรำก็ยังไม่รู้จักเลย   แม้ว่ำปัจจุบันจะมีหนังสือเกี่ยวกับกล้วยไม้อยู่หลำยเล่ม แต่ส่วนใหญ่จะ จัดพิมพ์ออกมำในลักษณะต�ำรำวิชำกำรเล่มใหญ่ที่เหมำะกับนักวิชำกำรและ ผู้สนใจจริงจัง มี ไว้เพื่อศึกษำรำยละเอียดของกล้วยไม้ขณะอยู่ที่ท�ำงำนหรือ ที่บ้ำนมำกกว่ำ แต่ส�ำหรับหนังสือในลักษณะคู่มือที่มีรำยละเอียดส�ำหรับจ�ำแนก ชนิดกล้วยไม้ในธรรมชำติได้สะดวกนั้น ยังมีอยู่น้อยมำก   คู่ มื อ กล้ ว ยไม้ เ ล่ ม นี้ จึ ง จั ด พิ ม พ์ ขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยให้ ผู้ ที่ ชื่ น ชอบกำรสั ม ผั ส ธรรมชำติ ได้รู้จักกล้วยไม้ที่อำจพบระหว่ำงทำง อันเป็นเสมือนกุญแจส�ำหรับ ไขประตูที่จะเปิดสู่ควำมรู้ควำมเข้ำใจกล้วยไม้ในแง่มุมที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นต่อไป   ขอให้ทุกท่ำนเดินชมกล้วยไม้อย่ำงเพลิดเพลินด้วย “กุญแจ” ฉบับพกพำ เล่มนี้ ส�ำนักพิมพ์สำรคดี


4

สารบัญ

นธุ์ข องกล้วยไม้ ในประเทศไทย ส่ วนทีการกระจายพั ่ 1 การดูกล้วยไม้ แหล่งกล้วยไม้นทธุี่น์ข่าองกล้ สนใจ วยไม้ ในประเทศไทย การกระจายพั การจ�งกล้ าแนกกล้ แหล่ วยไม้ทวี่นยไม้ ่าสนใจ การจ� รู้จักส่าวแนกกล้ นของกล้ วยไม้ วยไม้ วยไม้ รูคู้จ่มักือส่ภาพกล้ วนของกล้ วยไม้ การอนุรักษ์ผีเสื้อ บินเร็ว อมูลกล้วยไม้ ส่ วนทีวงศ์ ่ 2 คูผ่มีเสื​ือ้อภาพและข้ วงศ์ผีเสืว้อยไม้ หางติ ภาพกล้ และข้่งอ มูล 324 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล�่า วงศ์ผีเสื้อสีน�้าเงิน ภาคผนวก วงศ์ผีเสืน้อมาของสกุ ขาหน้าพู่ ลกล้วยไม้ ความเป็ ข้ดัอชควรปฏิ นีชื่อไทย บัติในการดูกล้วยไม้ ภาษาอั ดัชนีชื่ออกล้ วยไม้งภกฤษ าษาไทย รม ดับรรณานุ ชนีชื่อวิทกยาศาสตร์ ผู้ถ่ายภาพท่ านอื่น บรรณานุ กรม เกี่ยวกั ยน ประวั ติผบู้เผูขีย้เขีน

5 75 97 129 13 12 15 17 41 17 65 81 129 233 201 255 206 256 211 265 211 272 212 274


5

การกระจายพันธุ์ ของกล้วยไม้ในประเทศไทย

ประเทศไทยมีกำรส�ำรวจพบกล้วยไม้รวมทั้งสิ้นแล้ว 174 สกุล จ�ำแนกเป็น ชนิดได้ทั้งหมดกว่ำ 1,154 ชนิด แม้กระนั้นก็ยังคงมีรำยงำนกำรพบกล้วยไม้ ใหม่ ๆ อย่ำงต่อเนือ่ ง ทัง้ กล้วยไม้รำยงำนใหม่ (new record) หรือกล้วยไม้ ชนิดใหม่ (new species) นับว่ำไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีทรัพยำกรกล้วยไม้ มำกที่สุดประเทศหนึ่งของโลก สำเหตุหนึ่งที่ ไทยเป็นแหล่งกระจำยพันธุ์ ทีส่ ำ� คัญของกล้วยไม้กเ็ นือ่ งมำจำกประเทศไทยตัง้ อยู่ในเขตพฤกษภูมศิ ำสตร์ (plant geographic region) ของโลกถึงสำมเขตคือ เขตอินโดเบอมีส (Indo-Burmese region) เขตอินโดไชนีส (Indo-Chinese region) และ เขตอินโดมำลำยัน (Indo-Malayan region) แต่ละเขตล้วนประกอบด้วย กล้วยไม้ที่มีควำมโดดเด่นแตกต่ำงกันไป ดังนั้นไทยจึงเป็นพื้นที่ที่รวบรวม พรรณกล้วยไม้ของทั้งสำมเขตพฤกษภูมิศำสตร์ดังกล่ำวไว้ด้วยกัน   กล้วยไม้เป็นพืชที่สำมำรถพบได้ตำมธรรมชำติในเกือบทุกพื้นที่ป่ำ ของประเทศ ทั้งป่ำผลัดใบและป่ำไม่ผลัดใบ ดังรำยละเอียดพอสังเขปดังนี้

ป่าผลัดใบ ได้แก่

ป่าทุ่งหญ้า เป็นป่ำที่มี ไม้ยืนต้นปรำกฏอยู่น้อยมำก พื้นที่ส่วนใหญ่ ปกคลุ ม ด้ ว ยหญ้ ำ ชนิ ด ต่ ำ ง ๆ ฤดู แ ล้ ง จะแห้ ง แล้ ง มำกและมั ก เกิ ดไฟป่ ำ กล้วยไม้ทั้งหมดที่พบเป็นกล้วยไม้ดินที่มีกำรพักตัวเหลือเพียงหัวใต้ดินใน ฤดูแล้งและสำมำรถทนต่อไฟป่ำได้ดี เช่น นำงอั้วน้อย เอื้องสีตอง นำงอั้วแก้มช�้ำ เป็นต้น ป่าเต็งรัง เป็นป่ำที่มี ไม้ยืนต้นในวงศ์ไม้ยำงเป็นพันธุ์ไม้เด่น ดินขำด คุณสมบัติในกำรเก็บน�้ำ กล้วยไม้ที่พบเป็นกล้วยไม้ดินคล้ำยกับกล้วยไม้ใน ป่ำทุ่งหญ้ำ ส่วนกล้วยไม้อิงอำศัยมักเป็นกล้วยไม้ที่มี ใบหนำแข็งและมี ไข เคลือบบนผิวใบเพือ่ ป้องกันกำรคำยน�ำ้  เช่น กะเรกะร่อนด้ำมข้ำว เอือ้ งเข็มแดง เอื้องเข็มแสด เขำกวำงอ่อน หนวดพรำหมณ์ เอื้องผึ้ง สิงโตงำม เป็นต้น ป่าเบญจพรรณ เป็นป่ำที่มี ไผ่ปรำกฏร่วมกับไม้ยืนต้น กล้วยไม้ดิน


6

ที่พบมักมีกำรพักตัวเหมือนกับกล้วยไม้ที่พบในป่ำเต็งรัง เช่น บัวสันโดษ นำงอั้ว นำงอั้วสำคริก ส่วนกล้วยไม้อิงอำศัย เช่น เอื้องกุหลำบกระเป๋ำปิด พญำไร้ใบ เขำกวำงอ่อน เป็นต้น

ป่าไม่ผลัดใบ ได้แก่

ป่าดงดิบแล้ง เป็น ป่ำที่มี ไ ม้ยืนต้นขึ้น หนำแน่น พื้น ป่ำมีแสงร�ำไร เนื่ อ งจำกแสงแดดส่ อ งลงไปไม่ ถึ ง มำกนั ก  กล้ ว ยไม้ ที่ พ บตำมพื้ น ป่ ำไม่ ต้ อ งกำรแสงแดดมำกนั ก  เช่ น  ว่ ำ นน�้ ำ ทอง ว่ ำ นนกคุ ้ ม  ข้ ำ วตอกฤๅษี เอื้องน�้ำต้น ส่วนกล้วยไม้อิงอำศัยเป็นกล้วยไม้ที่ ใบค่อนข้ำงมีขนำดใหญ่ และหนำนุ่ม เช่น เอื้องมังกร สร้อยทอง เอื้องเสือดำว เป็นต้น ป่าดงดิบเขา เป็น ป่ำที่มี ไ ม้ยืนต้นขนำดใหญ่ พื้น ที่มีควำมสูงจำก ระดับน�้ำทะเลมำกกว่ำ 800 ม. อำกำศค่อนข้ำงหนำวเย็น กล้วยไม้ที่พบ ในป่ำนี้จึงชอบอำกำศหนำวเย็นและทนทำนต่อควำมเย็นได้เป็นอย่ำงดี กล้วยไม้ดินที่พบ เช่น ส�ำเภำงำม กล้วยไม้ดง เอื้องแฝง ส่วนกล้วยไม้อิง อำศัย เช่น กระดิ่งภู เอื้องพลำยชมพู เอื้องล�ำต่อ เอื้องเทียนขำว เป็นต้น ป่าดงดิบชื้น เป็น ป่ำที่มี ไ ม้ยืนต้นขนำดใหญ่ขึ้น หนำแน่น มำก แสง แดดส่องถึงได้น้อย ทั้งยังมีปริมำณน�้ำฝนต่อปีมำก กล้วยไม้ดินที่พบตำม พื้ น ป่ ำ มั ก ชอบดิ น ที่ ชุ ่ ม ชื้ น  เช่ น  กล้ ว ยปลวกม่ ว ง กล้ ว ยปลวกภู เ อื้ อ งแมงมุม เอื้องนวลจัน ทร์ ส่วนกล้วยไม้อิงอำศัยมักชอบอำกำศที่มีควำม ชื้นสูง เช่น ผีเสื้อสุมำตรำ เอื้องนิ่มถิ่นใต้ เอื้องเถำวัลย์ไม้ เป็นต้น ป่าพรุ เป็นป่ำที่มีน�้ำขังและมีซำกพืชที่ ไม่ย่อยสลำยทับถมหนำแน่น ไม่มีส่วนที่เป็นดินแท้ ๆ จึงกล่ำวได้ว่ำไม่พบกล้วยไม้ดินในพื้นที่ป่ำพรุ ส่วน กล้วยไม้อิงอำศัย เช่น สิงโตก้ำมปูแดง สิงโตก้ำมปูใหญ่ เป็นต้น   แม้ว่ำเรำสำมำรถพบกล้วยไม้ได้ทุกพื้น ที่ก็ต ำม แต่ควำมเป็นจริง นั้ น กล้ ว ยไม้ ไ ม่ ไ ด้ มี จ� ำ นวนประชำกรหนำแน่ น เหมื อ นกั บ พื ช ชนิ ด อื่ น กล้วยไม้จงึ ได้รบั กำรจัดเป็นพืชอนุรกั ษ์ในบัญชีท ี่ 1 รำว 16 ชนิดและเป็นพืช อนุรักษ์ในบัญชีที่ 2 ในชนิดที่เหลือทั้งวงศ์ นัยส�ำคัญหนึ่งของทั้งสองบัญชี คือ เป็น พืชที่พบได้น้อยและค่อนข้ ำงหำยำกในสภำพธรรมชำติ เมื่อถูก คุกคำมอำจลดจ�ำนวนลงอย่ำงรวดเร็วในอนำคตอันใกล้


7

แหล่งกล้วยไม้ที่น่าสนใจ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ สำมำรถพบกล้วยไม้ได้ตั้งแต่บริเวณ เชิ ง เขำไปจนถึ ง ยอดเขำสู ง สุ ด  กล้ ว ยไม้ ที่ พ บเฉพำะบริ เ วณยอดดอย เท่ำนั้น ได้แก่ เอื้องพลำยชมพู เอื้องเทียนขำว เอื้องตำเหิน สร้อยระย้ำ ตำมเส้นทำงศึกษำธรรมชำติมกี ล้วยไม้หำยำก เช่น เอือ้ งแฝง ซึง่ เป็นกล้วยไม้ กินซำกขนำดใหญ่ ช่วงทีเ่ หมำะสมส�ำหรับดูกล้วยไม้คอื ช่วงเดือนพฤศจิกำยน ถึงกุมภำพันธ์ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ม่ ป ิ ง  กล้ ว ยไม้ ที่ พ บส่ ว นใหญ่ เ ป็ น กล้ ว ยไม้ ดิ น ทีโ่ ดดเด่นมำกคือ บุษรำคัมซึง่ เป็นกล้วยไม้ดนิ ขนำดใหญ่ ช่วงทีเ่ หมำะสมกับ กำรดูกล้วยไม้คือช่วงเดือนมีนำคมถึงพฤษภำคม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ทุ ่ ง แสลงหลวง ด้ ว ยควำมหลำกหลำยของสั ง คม พืชในพืน้ ที ่ จึงเป็นป่ำทีส่ ำมำรถพบกล้วยไม้มำกมำย ในป่ำทุง่ หญ้ำนัน้ มักพบ กล้วยไม้ดิน เช่น เหลืองพิศมร นำงอั้วน้อย ส่วนในป่ำดงดิบเขำสำมำรถพบ กล้วยไม้อิงอำศัย เช่น สิงโตช้อนทอง สิงโตรวงทอง เอื้องสำยพระอินทร์ ช่วงที่เหมำะสมกับกำรดูกล้วยไม้คือช่วงเดือนสิงหำคมถึงตุลำคม อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า เป็นอีกสถำนที่หนึ่งที่พบกล้วยไม้ป่ำ จ�ำนวนมำก ทัง้ กล้วยไม้ในป่ำดงดิบเขำและกล้วยไม้ตำมลำนหิน เช่น เอือ้ งศรีเที่ยง เหลืองพิศมร เอื้องค�ำหิน นอกจำกนั้นยังสำมำรถพบกล้วยไม้อีก มำกมำยซ่อนตัวอยู่ตำมชะง่อนหินและหน้ำผำสูงชัน สำมำรถดูกล้วยไม้ได้ เกือบตลอดทั้งปี อุทยานแห่งชาติภกู ระดึง ป่ำเต็งรังบริเวณเชิงเขำสำมำรถพบกล้วยไม้ ดินหลำยชนิด เช่น สกุลแผ่นดินเย็นหรือบัวสันโดษ ป่ำดงดิบเขำซึ่งอยู่สูงขึ้น ไปมีกล้วยไม้ดินอีกเป็นจ�ำนวนมำก เช่น ลิ้นมังกร นำงตำยตัวผู้ ป่ำทุ่งหญ้ำ บนทีร่ ำบยอดเขำมักพบม้ำวิง่ และยีโ่ ถปีนงั  ส่วนเอือ้ งแซะภูกระดึงมักซ่อนตัว อยูบ่ นต้นสนสองใบ ช่วงทีเ่ หมำะสมกับกำรดูกล้วยไม้คอื ช่วงทีเ่ ปิดให้นกั ท่อง เที่ยวเข้ำเที่ยวชมในเดือนตุลำคมถึงพฤษภำคม เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ภูหลวง กล้วยไม้ทโี่ ดดเด่นทีส่ ดุ คือ เอือ้ งส�ำเภำงำมซึ่งพบเพียงไม่กี่แห่งในประเทศ นอกจำกนี้ยังพบกล้วยไม้เฉพำะถิ่นที่ ส�ำคัญอีกหลำยชนิด ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ รองเท้ำนำรีสุขะกุล สิงโตรวงทอง และสิงโตนิพนธ์ ซึ่งจะออกดอกในช่วงปลำยฤดูฝน ในป่ ำดงดิบเขำก็มี กล้วยไม้มำกมำย ทั้งที่ขึ้นอยู่บนหิน เช่น ม้ำวิ่ง และกล้วยไม้อิงอำศัยบน


12

รู้จักส่วนของกล้วยไม้ ดอก

กล้ ว ยไม้ มี ลั ก ษณะดอกที่ แ ตกต่ ำ งกั บ พื ช ในวงศ์ อื่ น  ๆ อย่ ำ งเด่ น ชั ด  โดยโครงสร้ ำ งของดอกประกอบด้ ว ยรั งไข่ ที่ อ ยู ่ ใ ต้ ส ่ ว นของชั้ น วง กลีบ กลีบเลี้ยงมีสำมกลีบ ส่วนใหญ่มีขนำดและรูปทรงเหมือนกัน แต่ก็ แตกต่ ำ งกั น บ้ ำ งในหลำยสกุ ล  กลี บ ดอกมี ทั้ ง หมดสำมกลี บ  สองกลี บ มี ขนำดและรู ป ทรงเหมื อ นกั น  อี ก หนึ่ ง กลี บ พั ฒ นำไปเป็ น กลี บ ปำกที่ มี ขนำด รูปทรง สีสันแตกต่ำงกับกลีบอื่นอย่ำงสิ้นเชิง และมีควำมส�ำคัญ มำกที่สุดในกำรใช้จ�ำแนกชนิดตำมหลักอนุกรมวิธำน   นอกจำกกลีบปำกแล้ว สิ่งที่ ใช้บอกถึงกำรเป็น พืชจ�ำพวกกล้วยไม้ มีอีกสองลักษณะ คือ เส้ำเกสร ซึ่งเป็นส่วนของก้ำนเกสรเพศผู้และก้ำน เกสรเพศเมี ย ที่ ร วมเป็ น โครงสร้ำ งเดี ย วกั น อยู ่ ใจกลำงดอก และเรณู ที่ รวมกั น เป็ น กลุ ่ ม เรณู   มี ทั้ ง ที่ อ ่ อ นนุ ่ ม และแข็ ง  อยู ่ บ นก้ำ นกลุ ่ ม เรณู แ ละ แป้ น ก้ ำ นกลุ ่ ม เรณู   ซึ่ ง ช่ ว ยให้ ก ลุ ่ ม เรณู ติ ด อยู ่ บ นหลั ง แมลงที่ เ ป็ น สื่ อใน กำรผสมเกสร กลีบเลี้ยงบน เส้าเกสร กลีบดอก แถบข้าง หรือหูปาก สัน

กลีบเลี้ยง คู่ข้าง

ฝาครอบเกสรเพศผู้ ยอดเกสร เพศเมีย

จะงอย

กลีบปาก

เส้าเกสร

ส่วนประกอบของดอกกล้วยไม้

ฝักและเมล็ด

ฝักคือส่วนของรังไข่ที่เจริญหลังจำกได้รับกำรผสม เมื่อเจริญเต็มที่ จะแห้งและแตกเพื่อโปรยเมล็ดออกมำ  เมล็ดกล้วยไม้มีขนำดเล็กเรียกว่ำ เมล็ดฝุ่นผง (dust seeds) และมีจ�ำนวนมำกนับหมื่นนับแสนเมล็ด  เมล็ด กล้วยไม้มีส่วนประกอบที่ต่ำงจำกพืชอื่นคือไม่มีส่วนที่เป็นอำหำรของต้น อ่อน  ต้นอ่อนจะปกคลุมด้วยชั้นของเซลล์บำง ๆ ที่เปรำะและแตกหักง่ำย


13

ใบ

เป็นใบเดี่ยวทั้งหมด แต่ขนำด รูปทรง จ�ำนวน สีสัน รวมถึงกำร เรียงตัวจะแตกต่ำงกันไปตำมสกุลและชนิดของกล้วยไม้  บำงชนิดมี ใบ เล็กมำก เช่น เอื้องไข่ปลำ  บำงชนิดมี ใบใหญ่มำก เช่น พลูช้ำง หลำย ชนิ ด ใบมี ล ำยสวยงำม เช่ น  ว่ ำ นน�้ ำ ทอง  นอกจำกนี้ ยั ง มี ก ล้ ว ยไม้ อี ก กลุ่มหนึ่งที่มี ใบลดรูปลงจนไม่ปรำกฏเป็นรูปร่ำงใบ  บำงสกุลก็มี ใบใน ช่วงเวลำสั้น ๆ  กล้วยไม้ในกลุ่มนี้จะมีช่วงชีวิตและลักษณะกำรด�ำรงชีวิต ที่แปลกออกไป ได้แก่ กล้วยไม้กินซำกชนิดต่ำง ๆ และพญำไร้ใบที่จะมี ใบเป็นช่วงเวลำสั้น ๆ ตอนต้นฤดูฝน

รูปลิ่มแคบ

รูปเข็ม

รูปแถบ

รูปขอบขนาน

รูปหอก

รูปหอกกลับ

รูปรี

รูปไข่

รูปไข่กลับ

รูปสามเหลี่ยม

รูปสี่เหลี่ยม ข้าวหลามตัด

รูปไต

รูปกลม

รูปหัวใจ

รูปเคียว

รูปช้อน

รูปร่างของใบและกลีบ


16

ค�าอธิบายและสัญลักษณ์ ประกอบภาพและข้อมูล ภาพกล้วยไม้

ชื่อภาษาไทย (*ชื่อที่ผู้เขียนตั้ง)

ชื่อวิทยาศาสตร์

ชื่อภาษาไทย (*ชื่อที่ผู้เขียนตั้ง)

ชื่อวิทยาศาสตร์

ดูข้อมูลกล้วยไม้ที่หน้า...

ดูรูปกล้วยไม้ที่หน้า...

รายละเอียด

ถิ่นอาศัย

สถานภาพ

ป่าผลัดใบ

ป่าสน

พบบ่อย

ป่าทุ่งหญ้า

ป่าดงดิบ

พบไม่บ่อย

ป่าพรุ กล้วยไม้ดิน กล้วยไม้อาศัยบนหิน

หายาก นิสัย

กล้วยไม้อิงอาศัย กล้วยไม้กินซาก


17

เหยือกน�้ำดอย, เหยือกน�้ำน้อย Acanthephippium striatum

ช้ำงสำรภี, เอื้องเจ็ดปอย   Acampe rigida

25 เอื้องตีนตุ๊กแก, ช้ำงสำรภีน้อย Acampe papillosa

25

25


18

เอื้องนมหนู   Acriopsis indica

เอื้องหอมใต้*   Adenoncos parviflora

26 เอื้องนมหนู   Acriopsis lilifolia

26

26


19

เอื้องกุหลำบแดง, เอื้องฟ้ำห�้ำ   Aerides crassifolia

กุหลำบอินทรจักร, เอื้องนกพิรำบ   Aerides flabellata

27 เอื้องกุหลำบกระเป๋ำเปิด,  เอื้องกุหลำบพวง  Aerides falcata

27

27


32

เอื้องเข็มแดง, เอื้องม้ำก�่ำ Ascocentrum curvifolium (Lindl.) Schltr.

24

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบรูปแถบยำวกว่ำ 20 ซม. ช่อ ดอกแบบกระจะออกที่ขำ้ งล�ำต้น มีหลำยช่อ แต่ละช่อมีดอกจ�ำนวน มำก ช่อดอกสั้นกว่ำใบ ดอกกว้ำง 2 ซม. สีม่วงแดง กลีบเลี้ยงรูปรี กลีบดอกรูปไข่กลับ กลีบปำกรูปแถบสั้น โคนกลีบมีแฉกข้ำงขนำด เล็กรูปครึง่ วงกลม เดือยดอกทรงกระบอกยำวกว่ำกลีบปำกเล็กน้อย เส้ำเกสรและฝำครอบเกสรเพศผู้มีสีเข้ม ออกดอกช่วงเดือนกุมภำพันธ์ถึงเมษำยน แหล่งทีพ่ บ: เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน ตำก ชลบุร ี กำญจนบุร ี และสตูล

เอื้องเข็มแสด, พุ่มสุวรรณ Ascocentrum miniatum (Lindl.) Schltr.

24

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบรูปแถบเรียงสลับระนำบ เดียว ยำวประมำณ 8 ซม. ช่อดอกแบบกระจะออกที่ข้ำงล�ำต้น ช่อ ดอกตัง้ ตรง มีหลำยช่อ ดอกกว้ำง 1 ซม. สีแสด กลีบเลีย้ งและกลีบ ดอกรูปไข่กลับ กลีบเลีย้ งกว้ำงกว่ำเล็กน้อย กลีบปำกสัน้  เป็นรูปขอบ ขนำน โคนกลีบมีแฉกข้ ำงเป็นติ่งขนำดเล็กมำก เดือยดอกทรง กระบอกยำวกว่ำกลีบปำก ฝำครอบเกสรเพศผูม้ สี คี ล�ำ้  ออกดอกช่วง เดือนมีนำคมถึงเมษำยน แหล่งที่พบ: เชียงใหม่ ล�ำปำง อุตรดิตถ์ สุโขทัย นครรำชสีมำ มุกดำหำร ชลบุรี จันทบุรี พังงำ และสตูล

เข็มชมพู, เอื้องจ�ำบัง Ascocentrum semiteretifolium Seidenf.

24

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบรูปทรงกระบอกเรียวยำว ช่อ ดอกออกด้ำนข้ำงล�ำต้น ช่อค่อนข้ำงยำว มีดอกขนำดเล็กน้อยดอก และเรียงห่ำงกัน ดอกกว้ำง 1 ซม. สีชมพู กลีบเลี้ยงและกลีบดอก รูปรี ปลำยกลีบมน กลีบปำกรูปขอบขนำน ปลำยกลีบมน มีแฉกข้ำง ขนำดใหญ่และเด่นชัด ฝ่ำครอบเกสรเพศผูส้ เี ข้ม มีเดือยดอกรูปทรง กระบอกสีขำว ออกดอกช่วงเดือนกุมภำพันธ์ แหล่งที่พบ: เชียงใหม่


33

เอื้องดอกเทียน  Brachycorythia acuta

ว่านนางบัวป้อง, เอื้องดินฟ้าม้าน   Brachycorythis henryi

41 มังกรคาบแก้ว, ท้าวคูลู   Brachycorythis helferi

41

41


78

สิงโตร่มใหญ่ Cirrhopetalum picturatum Lodd. ex Lindl.

70

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงด้ำนข้ำง ล�ำลูกกล้วยรูป ไข่ ใบรูปขอบ ขนำน ปลำยใบเว้ำบุ๋ม ช่อดอกแบบซี่ร่ม มี 2-5 ดอก ดอกกว้ำง 1.2 ซม. กลีบเลีย้ งบนรูปทรงกลม สีมว่ งแดง ปลำยกลีบเป็นติง่ และ มีรยำงค์ยำวมำก กลีบเลี้ยงคู่ข้ำงสีเขียวอมเหลือง โคนกลีบมีจุดสี ม่วงแดงจ�ำนวนมำก กลีบเชือ่ มกันยกเว้นส่วนโคนกลีบด้ำนใน ปลำย กลีบเรียวแหลม กลีบดอกรูปไข่เบี้ยว สีม่วงเข้ม ขอบกลีบหยักเป็น ฟันจัก ปลำยกลีบเรียวแหลม กลีบปำกรูปสำมเหลี่ยม โคนกลีบมี ติ่ ง รู ป ครึ่ ง วงกลมอยู ่ ทั้ ง สองข้ ำ ง ออกดอกช่ ว งเดื อ นตุ ล ำคมถึ ง มกรำคม แหล่งที่พบ: แม่ฮ่องสอน

สิงโตพัดเหลือง Cirrhopetalum retusiusculum (Rchb. f.) Hemsley

70

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงด้ำนข้ำง ล�ำลูกกล้วยรูป ไข่แกมรูปขอบ ขนำน มีใบรูปขอบขนำนหนึ่งใบ ช่อดอกแบบซี่ร่ม มี 10 ดอก ดอก กว้ำง 0.8 ซม. กลีบเลี้ยงบนและกลีบดอกรูปครึ่งวงกลม สีเหลือง และมีเส้นสีแดงขนำดใหญ่จ�ำนวนสำมเส้นเรียงตำมยำว กลีบเลี้ยงคู่ ข้ำงเชื่อมติดกันเป็นรูป ไข่กลับแกมรูปขอบขนำนยกเว้นส่วนโคน กลีบ ปลำยเว้ำลึกเป็นสองแฉก กลีบสีเหลืองสดและเป็นมัน กลีบ ปำกรูปแถบ มีขนำดเล็ก ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกำยนถึงธันวำคม แหล่งที่พบ: เชียงใหม่ จันทบุรี ตรำด และระนอง

เอื้องเถำวัลย์ไม้* Claderia viridiflora Hook. f.

70

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงด้ำนข้ำง เหง้ำทอดเลื้อยไม่มีล�ำลูกกล้วย มี ใบรูปหอก 3-4 ใบ ปลำยใบแหลม ช่อดอกแบบแยกแขนงออกที่ ปลำยยอด ดอกกว้ำง 3 ซม. สีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงบนรูปขอบ ขนำนแกมรูปหอก กลีบเลีย้ งคูข่ ้ำงแกมรูปเคียว ด้ำนหลังกลีบเลีย้ งมี ขนปกคลุม กลีบดอกรูปแถบ กลีบปำกรูป ไข่กลับ ด้ำนบนกลีบมี ลำยสีเขียว ออกดอกช่วงเดือนมีนำคมถึงพฤษภำคม แหล่งที่พบ: นครศรีธรรมรำชและนรำธิวำส


79

เอื้องเขี้ยวเสือลำย* Cleisomeria lanatum (Lindl.) Lindl. ex G. Don

71

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบรูปแถบ ปลำยใบเว้ำบุม๋  ช่อ ดอกแบบแยกแขนง มีดอกจ�ำนวนมำก ดอกกว้ำง 0.5 ซม. สีนำ�้ ตำล ใบประดับดอกมีขนำดใหญ่ เป็นรูปหอก สีครีม กลีบเลีย้ งรูปรี กลีบ เลีย้ งคูข่ ำ้ งเบีย้ วเล็กน้อย ด้ำนหลังกลีบเป็นสันและมีขนปกคลุม กลีบ ดอกรูปครึง่ วงกลม ขอบกลีบหยัก มีเส้นสีมว่ งแดงสำมเส้น กลีบปำก มีขนำดเล็กปลำยกลีบเป็นสองแฉก ออกดอกช่วงเดือนมีนำคมถึง พฤษภำคม แหล่งที่พบ: เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ จันทบุรี ตรำด กำญจนบุรี และ กระบี่

เอื้องเขี้ยวเสือ* Cleisomeria pilosulum (Gagnep.) Seidenf. & Garay

71

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบรูปแถบ ใบหนำ และเรียง อัดกันแน่นมำก ช่อดอกแบบแยกแขนงออกที่ข้ำงล�ำต้น มีหลำยช่อ ดอกกว้ำง 0.5 ซม. สีครีม กำบดอกมีขนำดใหญ่ สีครีม กลีบเลี้ยง รูปรี ด้ำนนอกกลีบมีขนก�ำมะหยี่ กลีบดอกรูปขอบขนำน กลีบปำก มีสีแต้มชมพูอ่อน ปลำยกลีบปำกไม่เป็นสองแฉก โคนกลีบมีเดือย ดอกขนำดใหญ่ ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนพฤษภำคมถึง มิถุนำยน แหล่งทีพ่ บ: เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน เลย นครพนม มุกดำหำร อุบลรำชธำนี นครรำชสีมำ นครนำยก ปรำจีนบุรี และกำญจนบุรี

เขำแพะ Cleisostoma arietinum (Rchb. f.) Garay

71

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบทรงกระบอกโค้งลง ช่อ ดอกแบบกระจะออกทีข่ ้ำงล�ำต้น มี 10-20 ดอก ดอกกว้ำง 0.5 ซม. สีขำวถึงสีเหลืองอ่อน มีแถบสีน�้ำตำล กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปไข่ กลับแกมรูปแถบ กลีบปำกสีขำว ปลำยกลีบปำกสีม่วง แฉกข้ำงตั้ง ขึ้นเป็นรูปสำมเหลี่ยม แฉกกลำงแหลม เดือยดอกมีควำมยำวกว่ำ แฉกกลำง ออกดอกช่วงเดือนมีนำคมถึงเมษำยน แหล่งทีพ่ บ: เชียงรำย เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน แพร่ ตำก เลย สกลนคร เพชรบูรณ์ มุกดำหำร นครรำชสีมำ และตรัง


80

เอื้องพวงสร้อย Cleisostoma discolor Lindl.

72

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบรูปแถบ ปลำยใบเว้ำลึกเป็น ฟันจัก ช่อดอกแบบกระจะหรือแยกแขนงห้อยลง ก้ำนช่อสีม่วงคล�้ำ ดอกกว้ำง 0.8 ซม. สีเหลืองอมเขียว กลำงกลีบมีเส้นสีนำ�้ ตำล กลีบ เลี้ยงและกลีบดอกรูปรี กลีบปำกสีม่วงจำง มีสำมแฉก แฉกข้ำงพับ ทบกัน ยื่นเข้ำมำอยู่ด้ำนล่ำงเส้ำเกสร และมีแต้มสีม่วงที่โคน เดือย ดอกทรงกระบอก มีขนำดใหญ่และโค้งมำทำงด้ำนหน้ำ เดือยดอกสี ม่วงอ่อน ออกดอกช่วงเดือนเมษำยนถึงพฤษภำคม แหล่งที่พบ: ศรีสะเกษ นครรำชสีมำ นครนำยก ปรำจีนบุรี จันทบุรี ยะลำ และสตูล

เอื้องสร้อยทับทิม Cleisostoma simondii (Gagnep.) Seidenf.

72

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงปลำยยอด ใบทรงกระบอกเรียงสลับ ระนำบเดียว ช่อดอกแบบกระจะออกที่ข้ำงล�ำต้น มีหลำยดอก ก้ำน ช่อยำวกว่ำใบ ดอกกว้ำง 1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนำน กลีบดอก รูปขอบขนำนแกมรูปไข่กลับ ทั้งห้ำกลีบสีเหลือง มีเส้นสีน�้ำตำลแดง สำมเส้ น  กลี บ ปำกสี ช มพู อ มม่ ว ง มี ส ำมแฉก ปลำยแฉกกลำง แหลม แฉกข้ำงรูปสำมเหลี่ยมขนำดเล็กและโค้งเข้ำหำเส้ำเกสร เดือยดอกมีสแี ละลำยเหมือนกลีบเลีย้ ง ออกดอกช่วงเดือนมีนำคมถึง พฤษภำคม แหล่งที่พบ: เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พะเยำ พิษณุโลก และเลย

เอื้องเทียนใหญ่ Coelogyne assamica Linden & Rchb. f.

72

ลักษณะ: ล�ำต้นเจริญทำงด้ำนข้ำง ล�ำลูกกล้วยรูปรีแกมรูปขอบ ขนำน มี ใบรูปหอกขนำดใหญ่สองใบ ช่อดอกแบบกระจะ มี 4-5 ดอก ดอกกว้ำง 4.5 ซม. สีเหลืองส้ม กลีบเลีย้ งรูปหอก กลีบดอกรูป แถบ กลีบปำกรูปขอบขนำน มีแฉกข้ำงรูปสำมเหลีย่ มปลำยมน กลำง กลีบมีสนั สองสัน ขอบกลีบมีแถบสีนำ�้ ตำล และมีลำยสีเข้มกลำงแผ่น ปำกและแฉกข้ำง ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนธันวำคมถึง มกรำคม แหล่งที่พบ: อุบลรำชธำนี


81

เอื้องล�ำเทียนปำกด�ำ, เอื้องเทียน   Coelogyne brachyptera

เอื้องมัน   Coelogyne cumingii

89

89 เอื้องเทียนใบรี   Coelogyne fimbriata

89


148

เอื้องนางรุ้ง, ลิ้นกระบือ   Hygrochilus parishii

เอื้องม้าลาย   Kingidium minus

156 ตากาฉ่อ   Kingidium deliciosum

156

156


149

เอื้องปากคู้   Liparis bootanensis

เอื้องข้าวกล�่านก*  Liparis resupinata

157 เอื้องกลีบม้วนดอกแดง*   Liparis nigra

157

157


กล้วยไม้

คู่มือ

คู่มือกล้วยไม้ฉบับพกพา สำาหรับผู้เริ่มต้น การดูกล้วยไม้ในเมืองไทยและการจำาแนกชนิด คู่มือภาพกล้วยไม้ 324 ชนิด ลักษณะดอก ฤดูกาล ถิ่นอาศัย และแหล่งที่พบ

สลิล สิทธิสัจจธรรม

ฉบับพกพาสำาหรับผู้เริ่มต้น ด้วยภาพถ่ายสวยงามในธรรมชาติ 324 ชนิด

คู่มือ กล้วยไม้ สลิล สิทธิสัจจธรรม

หมวดท่องเที่ยว/ธรรมชาติ ISBN 978-616-7767-65-9

ราคา 299 บาท

299.-


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.