วิหารวัดประตูป่อง The Architecture and Decoration of Vihara of Wat Pratupong

Page 1


2


ภูมิหลังความเป็นมา

History


24

ภูมิหลังความเป็นมา

ประวัติวัดประตูป่อง วัดประตูป่อง หรือชื่อเดิมว่า “วัดศรีรองเมืองป่องแก้ว” ตั้งอยู่เลขที่ 108 บ้านป่าไม้ ต�ำบลเวียงเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง ตามประวัติวัดกล่าวว่า วัดประตูป่องสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2120 ถือเป็นวัดที่มีความส�ำคัญแห่งหนึ่งของ จังหวัดล�ำปางเนื่องจากมีตำ� แหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณประตูเมืองโบราณ และยังคง หลงเหลือแนวก�ำแพงเมืองโบราณรุ่นที่ 2 ของเมืองล�ำปางอยู่ติดกับวัดอีกด้วย อีกทัง้ มีซากของหอรบรุน่ สมัยพระยากาวิละครองนครล�ำปาง ซึง่ ใช้เป็นปราการ ต่อสู้ทัพพม่าครั้งส�ำคัญราว พ.ศ. 2330 ร่วมกับเจ้าค�ำโสมอนุชาในวงศ์เจ้าเจ็ด ตน


ภูมิหลังความเป็นมา

แนวก�ำแพงเมืองโบราณรุ่น 2 ของล�ำปาง

ด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

เจ้าวรญาณรังษี เจ้าผู้ครองนครล�ำปาง องค์ที่ 9

ด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมของวิหารวัด ประตูปอ่ ง ปรากฏหลักฐานทีห่ น้าบันของวิหารทราบ เพียงว่าผูท้ สี่ ร้างวิหาร คือ เจ้าวรญาณรังษีเจ้าผูค้ รอง นครล�ำปางองค์ที่ 9 ในราชวงศ์ทิพย์จักร (ครองนคร ล�ำปางตั้งแต่ พ.ศ. 2399 - พ.ศ. 2414) โดยสร้าง ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2409 หรือราวต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ซึ่งเป็นช่วงล้านนายุคหลังจากมีการฟื้นฟูบ้านเมือง หลังจากการถูกปกครองโดยพม่า ดังนั้นจึงมีปัจจัย ต่างๆท�ำให้รูปแบบทางศิลปะของล้านนายุคหลัง เปลี่ยนแปลงไป

3


46

ภูมิหลังความเป็นมา

จากอดีตสู่ปัจจุบัน

From the past to the present

ภาพถ่ายเก่าก่อนเปลี่ยนเป็นผนังปูนทั้งหมด

ภาพถ่ายเก่า ก่อนทาสีบูรณะช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์


ภูมิหลังความเป็นมา

ประวัติการบูรณปฏิสังขรณ์วิหารวัดประตูป่อง หลักฐานการบูรณะปฏิสังขรณ์วิหารวัดประตูป่องเท่าที่ทราบ นั้น เมื่อครั้งแรกสร้างเป็นวิหารโถง ต่อมาในปี พ.ศ. 2432 สมัย เจ้าอาวาสรูปที่ 1 เท่าที่มีหลักฐานรายนามปรากฏอยู่ คือ ท่าน ครูบาแก่น สุมโน ได้กอ่ ฝาผนังขึน้ เป็นวิหารก่อทึบ แต่สนั นิษฐาน ว่าฝาผนังเป็นไม้และน่าจะมีการเขียนภาพจิตรกรรมอยู่ด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 ได้รบั การบูรณปฏิสงั ขรณ์ครัง้ ใหญ่ โดย มีท่านเจ้าอาวาสรูปที่ 2 เป็นประธาน คือ ท่านพระครูวัฒนคุณ ธาดา ท�ำการเปลี่ยนหลังคาและน�ำฝาผนังไม้ที่มีภาพจิตรกรรม ออกแล้วก่อผนังปูนรอบพระวิหารทั้งสามด้านเว้นแต่เพียงด้าน หน้ายังเป็นฝาผนังไม้อยู่ ต่อมาจึงได้มกี ารเปลี่ยนเป็นก่อผนังปูน ทางด้านหน้าให้เหมือนกันทุกด้าน พร้อมกับบานประตูหน้าต่าง เป็นงานไม้แกะสลักและลงรักปิดทองอย่างสวยงามอย่างทีป่ รากฏ ในปัจจุบัน และในปี พ.ศ. 2540 ท่านเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน คือ พระครูวิทิตวรเวช (อ่อนแก้ว กนฺตสีโล) ได้ให้วาดภาพจิตรกรรม ภายในวิหารเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณีสิบสองเดือนของชาว ล้านนา ภาพวิถีชีวิต และพระเวสสันดรชาดก

5


8

รูปแบบสถาปัตยกรรม Architecture


รูปแบบสถาปัตยกรรม

ต�ำแหน่งที่ตั้งและการวางผัง

วิหารตั้งอยู่บริเวณกลางวัดเป็นแนวแกนหลักของวัดในเขต พุทธาวาส มีเจดีย์ประธานของวัดเชื่อมติดอยู่ทางด้านหลัง ซึ่ง ยังคงจัดวางต�ำแหน่งตามคติจักรวาลอยู่ และวิหารหันหน้าไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งตามแบบแผนดั้งเดิมต้องหันหน้า ไปทางทิศตะวันออก สันนิษฐานอาจเกี่ยวข้องกับเรื่องเส้นทาง สัญจร จึงบังคับต้องสร้างวิหารหันไปทางทิศดังกล่าว และพื้นที่ บริเวณหน้าวิหารเป็นลานโล่ง ขนาบด้วยศาลาการเปรียญ อุโบสถ และอาคารต่างๆ ส่งผลให้มุมมองของวิหารมีความโดดเด่นมาก เมื่อเดินผ่านซุ้มประตูโขงเข้าไปในบริเวณวัด

7


810

รูปแบบสถาปัตยกรรม

แผนผัง วิหารวัดประตูป่องอยู่ในผังพื้นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดยาว 5 ห้อง กว้าง 3 ห้อง เป็นวิหารขนาดกลาง ไม่มีการยกเก็จแบบวิหารรุ่นก่อนช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 แผนผังลักษณะนี้จึงเป็นแบบที่นิยมมากมาตั้งแต่ ต้ น พุ ท ธศตวรรษที่ 25 มี ป ระตู ท างเข้ า ด้ า นหน้ า 3 ประตู ประกอบด้วย ประตูขนาดใหญ่ตรงกลาง ขนาบ ข้างด้วยประตูขนาดเล็ก 2 ประตู และประตูข้างวิหาร อีกด้านละ 2 ประตูในส่วนห้องที่ 1 และห้องสุดท้าย รวมเป็ น ทั้ ง หมด 7 ประตู หน้ า ต่ า งอี ก 6 บาน การบูรณะสมัยหลังได้เพิ่มพื้นที่ส่วนระเบียงข้างวิหาร ออกมาอีก มีราวระเบียงเตีย้ ๆ เพือ่ ก�ำหนดขอบเขต ท�ำ บันไดทางขึน้ สูอ่ าคารสองข้างทัง้ ด้านหน้าและด้านหลัง


รูปแบบสถาปัตยกรรม

9


1012

รูปแบบสถาปัตยกรรม

รูปแบบและโครงสร้าง

ฐานอาคารซึง่ แต่เดิมเป็นฐานแบบบัวคว�ำ่ เตีย้ ใกล้ เคียงกับวิหารในจังหวัดล�ำปางทีอ่ นื่ ๆ ซึง่ แสดงว่าล�ำปาง ไม่นิยมท�ำฐานวิหารสูงอย่างวิหารในจังหวัดเชียงใหม่ แต่กถ็ อื ว่าเป็นพัฒนาการของฐานในล้านนายุคหลังเช่น กัน เพราะวิหารล้านนายุคก่อนซึ่งส่วนใหญ่เป็นวิหาร โถง มักท�ำฐานเขียงธรรมดาและเตี้ยเพียงเพื่อรองรับ พื้นอาคารเท่านั้น เช่น วิหารน�้ำแต้ม วิหารจามเทวี เป็นต้น วิหารวัดประตูป่องในการบูรณปฏิสังขรณ์ได้มี การต่อเติมฐานขึน้ ใหม่เป็นฐานเขียงธรรมดาเป็นระเบียง ด้านข้างของวิหาร


รูปแบบสถาปัตยกรรม

โครงสร้างตัวอาคาร ในสมัยแรกสร้าง เดิมเป็นวิหารโถงเช่นเดียวกับวิหารล้าน นาในยุคแรก ต่อมาได้บูรณปฏิสังขรณ์ ครัง้ ใหญ่มกี ารก่อผนังปูนโอบล้อมอาคาร สันนิษฐานว่าช่วงเวลานั้นอาจเกิดความ นิยมการสร้างวิหารปิดทึบตามแบบแผน ของทางภาคกลางที่เริ่มเข้ามามีอิทธิพล ทางด้านศิลปะตั้งแต่ในช่วงปลายพุทธ ศตวรรษที่ 24 อีกกรณี อาจเพราะง่าย ต่อการดูแลรักษาอาคารศาสนาสถานก็ เป็นได้ เมือ่ เป็นอาคารก่อทึบคาดว่ามีการ สร้างประตูและหน้าต่างแกะสลักไม้ใน ช่วงเวลานี้

11


14

เสาวิหารทัง้ เสากลม เสาแปดเหลีย่ ม ซึง่ เป็นเสาไม้ และเสาสีเ่ หลีย่ มแต่เดิมน่า จะเป็นเสาไม้เช่นเดียวกันแล้วต่อมาจึง เปลีย่ นเป็นเสาปูน เสากลางคูห่ น้าทางเข้า วิหารเป็นเสาแปดเหลีย่ ม มีจำ� นวน 2 เสา เสากลางหรือเสาหลวงถัดมาเป็นเสากลม ซึง่ ท�ำหน้าทีร่ องรับน�ำ้ หนักโครงสร้างหลังคา มีจำ� นวน 8 เสา บางเสามีการพอกปูนตรง ส่วนฐานเพื่อความแข็งแรง เสาด้านข้าง และผนังด้านหลังวิหารเป็นเสาสีเ่ หลีย่ ม มี จ�ำนวน 14 เสา เชือ่ มติดกับฝาผนังช่วย ในการรองรับน�ำ้ หนักเช่นเดียวกัน


รูปแบบสถาปัตยกรรม

ส่วนโครงสร้างหลังคา เป็นแบบเสา และคานรับน�้ำหนัก ระบบที่ทางล้านนา เรียกว่า “ระบบขือ่ ม้าต่างไหม” มีขอื่ หลวง วางพาดบนหัวเสา มีการถ่ายเทน�้ำหนัก ผ่านขื่อและเสาตุ๊กตาเป็นชั้นๆต่อเนื่อง กันไป ส่วนโครงสร้างผืนหลังคาตับล่าง เป็นการตัง้ เสาสะโก๋นแยกออกมาจากเสา กลางเล็กน้อย ส่วนรูปทรงของหลังคาเป็น ทรงจั่ว ผืนหลังคาไม่แอ่นโค้งท�ำให้ดูแข็ง การซ้อนชั้นหลังคานั้นด้านหน้า 3 ซด ด้านหลัง 2 ซด ซึง่ ยังคงสืบทอดแบบแผน วิหารล้านนายุคแรกมาใช้อยู่ แต่มที รวดทรง ที่ดูสูงชะลูดมากกว่า

13


16 14

รูปแบบสถาปัตยกรรม


รูปแบบสถาปัตยกรรม

องค์ประกอบสถาปัตยกรรมที่มีคุณลักษณะที่แตกต่างจากวิหาร ล้านนาในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 คือ ความนิยมการใช้เสา 8 เหลีย่ มเป็นเสาคูห่ น้าทางเข้าวิหารและประดับตกแต่งอย่างวิจติ รมากกว่า เสากลมภายในวิหาร ซึง่ เริม่ ปรากฏแล้วตัง้ แต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 24 เสาวิหารวัดประตูป่องก็สืบรูปแบบมาในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25

15


18

ศิลปกรรมประดับวิหาร Decoration


ศิลปกรรมประดับวิหาร

วิหารล้านนามีรปู แบบงานศิลปกรรม การประดับตกแต่งที่แสดงความเป็น เอกลักษณ์ และต่างก็ท�ำหน้าที่เสริม ความสมบูรณ์ในบรรยากาศโดยรวมของ วิหาร ซึง่ เป็นองค์ประกอบด้านสุนทรียะ ของสถาปัตยกรรมทีไ่ ม่สามารถแยกออก จากกันได้ แบ่งตามวัสดุและเทคนิค ดังนี้

งานฉลุและแกะสลักไม้ ลักษณะทีโ่ ดดเด่นแสดงถึงพัฒนาการ รูปแบบงานศิลปกรรมล้านนายุคหลัง คือ การแกะสลักบานประตูรปู ทวารบาลและ บานหน้ า ต่ า งเป็ น รู ป การต่ อ สู ้ ใ นเรื่ อ ง รามเกียรติ์ แกะสลักคันทวยเป็นรูปวานร ช่อฟ้าเป็นรูปปากนก ป้านลมแบบล�ำยอง นาคสะดุง้ ทัง้ หมดนีล้ ว้ นแสดงถึงอิทธิพล ของแบบแผนงานศิลปะจากภาคกลางที่ มี ผ ลต่ อ งานศิ ล ปะล้ า นนายุ ค หลั ง ที่ เปลี่ยนแปลงไป ประตูขนาดใหญ่ตรงกลางแกะสลักเป็นรูปทวารบาล

17


20 18

ศิลปกรรมประดับวิหาร

ประตูวิหาร เป็นงานไม้แกะสลัก

และลงรักปิดทอง มีจ�ำนวน 7 ประตู ประกอบด้วย ด้านหน้า 3 ประตู เป็น ประตูขนาดใหญ่ตรงกลาง ขนาบข้างด้วย ประตูขนาดเล็ก 2 ประตู และประตูข้าง วิหารอีกด้านละ 2 ประตู ลักษณะลวดลาย ทีแ่ กะสลักนัน้ ประตูขนาดใหญ่บานกลาง สลักเป็นรูปทวารบาลยืนถือพระขรรค์ เหนือสิงห์ เครื่องแต่งกายของทวารบาล เป็นแบบแผนของรัตนโกสินทร์

ประตูขนาดเล็ก แกะสลักเป็นรูปวานร ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าได้แก่หนุมานก�ำลัง ต่อสู้กับยักษ์ เป็นเรื่องราวตอนส�ำคัญใน วรรณกรรม เรื่อง รามเกียรติ์ มีพื้นหลัง แกะสลักเป็นลายกระหนกผูกลายต่อเนือ่ ง ขึ้นไปเรื่อยๆ


หน้าต่าง มีจ�ำนวน 6 บาน เป็นงานไม้แกะ

สลักและลงรักปิดทองในลักษณะเดียวกับประตู สลัก ภาพเป็นเรือ่ งราวในเรือ่ ง รามเกียรติ์ โดยน�ำฉากต่อสู้ ส�ำคัญมาใช้

บัวหัวเสา

เป็นงานไม้แกะสลักในรูปบัวกลีบ ยาว เทคนิครอง คือ การประดับกระจกจืนและงาน ลงรักปิดทองบริเวณขอบกลีบบัว ลักษณะของกลับบัว นั้นจะซ้อนกันสามชั้น ถัดลงมาเป็นท้องไม้ เส้นลวด ลูกแก้วอกไก่และท้องไม้ตามล�ำดับ ล่างสุดเป็นมีลกั ษณะ เป็นเฟื่องอุบะห้อยตกลงมา


2220

ศิลปกรรมประดับวิหาร

คันทวย แกะสลักเป็นรูปวานรซึ่ง

น่าจะได้แก่ หนุมาน มีจ�ำนวน 12 ตัว ด้านละ 6 ตัว มีลกั ษณะใกล้เคียงกันหมด ทุกตัว คือ ท�ำท่าชันเข่าแล้วกระดกขาไป ด้านหลังหนึ่งข้าง ยกแขนขึ้นทั้งสองข้าง มือจับเส้นลักษณะคล้ายเถาวัลย์ สวม เครือ่ งประดับเป็นเกีย้ วครอบเศียร สังวาล พาหุรัด ทองกร ทองพระบาท มีการ ประดับตกแต่งด้วยกระจกจืน ลงรักปิด ทอง และทาสีบา้ งในบางตัว สภาพปัจจุบนั สี กระจกจืน และทองได้หลุดหายไปมาก แล้ว


ศิลปกรรมประดับวิหาร

หน้าแหนบ ด้านหน้าวิหารมีหน้าแหนบ

หรือหน้าบันที่แกะสลักอย่างงดงาม เป็นงาน ไม้แกะสลัก ทีม่ กี ารประดับกระจกจืนและลงรัก ปิดทอง ลักษณะเป็นช่องลูกฟักตามโครงสร้าง ขื่อม้าต่างไหม ช่องดอกคอหน้าแหนบซึ่งแกะ สลักเป็นลายดอกไม้ประดิษฐ์และมีเครือเถา เชื่อมโยงกันกับดอกอื่นๆ โดยมีลายพื้นหลัง เป็นลาย อวั้นจื้อจิ่น ของจีน ซึ่งถือได้ว่าเป็น ลายที่ใช้เป็นหลักของหน้าบันวิหารวัดประตู ป่อง รวมถึงแผงแลก็แกะสลักลายดังกล่าวด้วย เช่นกัน ในส่วนบ่างข้างจะเป็นลายดอกไม้ ประดิษฐ์ ที่มีกิ่งก้านและใบไม้แทรกในกรอบ สามเหลี่ยม

โก่งคิ้ว เป น็ งานแกะสลักไม้ และมี

การประดับกระจกจืนตามร่องและลงรักป ิด ทองด้วย แต่ป จั จุบนั ได้เลือนหายไปมาก ตามกาลเวลา โก่งคิว้ แกะสลักเป น็ ลายไส ้ หมูซงึ่ ส่วนปลายทัง้ สองข า้ งเป น็ รูปเศียร นาค เหมือนเป น็ พญานาคในรูปของลาย ไส ห้ มูกว็ า่ ได้

21


24 22

ศิลปกรรมประดับวิหาร

ช่อฟ้า เป็นงานไม้แกะสลัก ท�ำขึ้น

เลียนแบบของเดิม เป็นรูปช่อฟ้าแบบปาก หงส์ ลักษณะปลายจงอยทู่หงายขึ้นยื่น ไปข้างหน้า เป็นรูปแบบของศิลปะล้าน นายุคหลังมาแล้ว ตามความนิยมของ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ซึง่ อาจจะเริม่ ปรากฏ มาแล้วตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 และได้ รับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจุบัน

ป้านลม เป็นแบบล�ำยองนาค

สะดุ้ง หางหงส์ และมีใบระกาซึ่งเป็น แบบแผนของศิลปะรัตนโกสินทร์


ศิลปกรรมประดับวิหาร

ประติมากรรมปูนปั้น

รูปปัน้ นาคราวบันได อยูต่ รงบันได

ทางขึ้นด้านหน้าวิหาร เป็นรูปมกรคาย นาค

รูปปั้นสิงห์ เป็นงานประติมากรรม

ปูนปัน้ แบบลอยตัวอยูบ่ นฐาน ตัง้ อยูบ่ ริเวณ ด้านหน้าวิหารสองตัว มีการทาสีโดยใช้ สีสันสดใส

ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 25 เกิดความ นิยมการสร้างรูปสิงห์ท�ำหน้าที่เป็นทวาร บาลด้านหน้าอาคารศาสนาสถาน อาจ เกิดจากคตินยิ มทีไ่ ด้รบั จากพม่าก็เป็นได้ อีกทั้งสร้างรูปปั้นมกรคายนาคเป็นราว บันได ซึง่ น่าจะเริ่มมีอิทธิพลในช่วงนีเ้ ช่น กัน เนื่องจากวิหารก่อนหน้านี้ส่วนใหญ่ ไม่ปรากฏรูปปั้นเหล่านี้ แต่มักเป็นแท่น วางดอกไม้มากกว่า

23


24 26

ศิลปกรรมประดับวิหาร

เมฆตัง้ อยู่บริเวณสันหลังคามีลักษณะเหมือนเป็น

เมฆพลิ้วไหว เป็นงานปูนปั้นแบบลอยตัว

ปราสาทเฟือ้ งหรือช่อฟ้าปราสาท ตัง้ อยูก่ งึ่ กลาง

สันหลังคา เป็นงานปูนปั้นแบบลอยตัว ปราสาทรองรับ ด้วยช้างและมียอดเป็นฉัตรซ้อนชัน้ กันขึน้ ไปท�ำจากโลหะ


ซุ้มหน้าต่าง ก่อซุ้มขนาดใหญ่

คล้ายซุม้ บันแถลงในศิลปะรัตนโกสินทร์ มีส่วนฐานเป็นบัวลูกแก้วอกไก่หรือ ฐานปัทม์ ส่วนกรอบหน้าต่างเป็นเสา รองรับและมีบัวหัวเสา ส่วนยอดเป็น ซุ้มหยักโค้งปลายเป็นตัวเหงา ภายใน เป็นปูนปัน้ นูนสูงรูปหม้อปูรณฆฏะ และ มีตวั ลวงพาดลงมาตามกรอบซุม้ ทัง้ สอง ข้างและหางพันกันเป็นยอดซุ้ม แต่ตัว ลวงนี้ ไ ม่ มี ป ี ก หากแต่ ยั ง มี ลั ก ษณะ เฉพาะ คือ มีเขาและเท้า นอกจากนี้ ส่วนต่างๆของซุม้ ยังประดับด้วยงานปูน ปั้นนูนสูงเป็นลายพรรณพฤกษา ซึ่ง เป็นเทคนิคการกดพิมพ์ลาย

กรอบประตู มีการท�ำกรอบประตู

เป็นงานปูนปั้นนูนออกมาและตกแต่ง ด้วยงานปูนปั้นนูนสูงเป็นลายพรรณ พฤกษา เหนือประตูขนึ้ ไปเป็นลายหม้อ ปูรณฆฏะ โดยเทคนิคการพิมพ์ลายเช่น เดียวกับกรอบซุ้มหน้าต่าง


28

งานจิตรกรรมเขียนสี เขียนขึ้นใหม่ราวปี พ.ศ. 2540 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณี 12 เดือนของ ชาวล้านนา ภาพวิถีชีวิต และพระเวสสันดรชาดก

ภาพประเพณีการเล่นสงกรานต์ ประเพณีด�ำหัว ท�ำความสะอาดบ้าน การแห่ไม่ค�้ำการขนทราย เข้าวัด และสืบชะตาบ้านเมือง

ออกพรรษา คนเฒ่านอนวัด

ชายหนุ่มเรียนเจิงดาบ เจิงหอก

บ้านเรือน วิถีชีวิตคนล้านน


ศิลปกรรมประดับวิหาร

ประเพณีสงกรานต์

รรพบุรุษ

พิธีฟ้อนผี บูชาบ

ขนทรายเข้าวัด เตรียมจัดพิธีฟ้อนผีมด - ผีเม็ง

ภาพช่วงเสร็จฤดูการท�ำนา เมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ก็มีการท�ำบุญ เรียกว่า ทานข้าวจี่ข้าวหลาม วันมาฆะบูชามีการท�ำบุญปอยหลวง

27


30 28

ศิลปกรรมประดับวิหาร

งานลงรักปิดทองและลายค�ำ ลวดลายโดยรวมก็มลี กั ษณะทีส่ บื ทอด จากลวดลายในศิลปะช่วงก่อนหน้านี้ คือ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 ซึง่ มีรปู แบบทีผ่ สม ผสานศิลปะล้านนากับศิลปะภาคกลาง มีการท�ำลายไทยเกิดขึ้นในช่วงยุคนี้ คือ ลายก้านแย่ง ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ และสิงห์ ขบ ต่อมาวิหารล้านนาก็ได้สืบรูปแบบนี้ มาเรือ่ ยๆ และเทคนิคก็ตา่ งจากเดิมเป็นการ มักท�ำลวดลายด้วยการปิดทองลายฉลุ อย่างเดียว

ดาวเพดาน อยู่ในส่วนห้องสุดท้าย

เหนือพระประธาน แบ่งเป็นช่องตาราง รวม 35 ช่อง มีดอกไม้แกะสลักเขียนลาย ปิดทองในต�ำแหน่งจุดเชือ่ มของแต่ละช่อง ตาราง เส้นขอบตารางเป็นลายจุดไข่ปลา ภายในช่องตารางเป็นลายบัวบาน


ศิลปกรรมประดับวิหาร

เสาวิหาร

เป็นเทคนิค “ลายค�ำ” คือ ลายทองบนพื้นแดง ซึ่งเป็นลักษณะ เด่นของวิหารล้านนาประเภทหนึง่ ลวดลาย ของเสาจะเป็นการ “ปิดทองลายฉลุ” เป็น เทคนิคที่ง่ายและท�ำได้รวดเร็ว มักนิยม ท�ำลวดลายที่ซ�้ำๆกัน

เสาแปดเหลีย่ ม อยูต่ ำ� แหน่งเสากลาง คู่แรกทางเข้าวิหาร เสากลม อยู่ต�ำแหน่งเสากลาง หรือ เรียกว่าเสาหลวงเป็นเสาไม้ มีจ�ำนวน 8 ต้น 4 คู่ มีลวดลายแตกต่างกันตามแต่ละ คู่ เสาสีเ่ หลีย่ ม เป็นเสาปูนซึง่ สันนิษฐาน ว่าแต่เติมน่าจะเป็นเสาไม้ เสาสี่เหลี่ยม จะอยูด่ า้ นนอกสุดเชือ่ มติดกับผนังช่วยใน การรองรับน�้ำหนักหลังคา

ลวดลายบนเสา มีหลากหลายรูป แบบ แบ่งเป็นลายเชิงเสา และลายท้อง เสา มีทั้งลายหม้อปูรณฆฏะ พุ่มข้าว บิณฑ์ ก้านแย่ง สิงห์ขบ พญานาคเกีย้ ว ไขว้ และลายพรรณพฤกษา ซึง่ เป็นลาย ดอกไม้ ใบไม้ ลายเครือเถาในรูปแบบ ต่างๆ

29


30 32

ศิลปกรรมประดับวิหาร

โครงสร้างหลังคา

ลายค�ำที่ประดับอยู่ บริเวณตัวไม้เครื่องบนของวิหาร ตามระบบขื่อม้า ต่างไหม ทีจ่ ะเปิดให้เห็นโครงสร้างของหลังคา เช่น ขื่อ ดั้ง แป กลอน แผงคอสอง หน้าแหนบและ หน้าแหนบปีกนกภายในวิหาร ซึ่งงานศิลปกรรม ประเภทลายค�ำเหล่านี้ใช้เทคนิคผสมระหว่างการ ท�ำลายขูดขีดกับปิดทองลายฉลุ เป็นลวดลายปิด ทองทีม่ กี ารขูดเส้นหรือแต่งเติมเส้นให้มรี ายละเอียด มากขึ้น ลวดลายที่ปรากฏ ได้แก่ ลายพรรณพฤกษา ภาพต้นพระศรีมหาโพธิ์หลังพระประธาน ภาพ เทวดา ภาพอดีตพุทธเจ้า ภาพสถูปเจดีย์ ภาพ หม้อปูรณฆฏะ และภาพสัตว์ คือ ช้าง สิงห์ หงส์


งานประดับกระจก ฐานชุกชีหรือแท่นแก้วพระประธาน เป็นฐานก่ออิฐฉาบปูน รูปแบบเป็นฐาน บัวลูกแก้วอกไก่มีย่อเก็จด้านละ 3 มุม เทคนิคการประดับตกแต่งเป็นการน�ำเอา กระจกสีมาตกแต่งแท่นแก้วทัง้ หมด ปรากฏ ลวดลายดอกไม้มีก้านไขว้สลับกันไปมา ถัดมาเป็นลายลักษณะคล้ายโก้งคิ้วโค้ง บรรจบกัน และลายเรขาคณิต ซึ่งเริ่ม ปรากฏตัง้ แต่ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 มาแล้ว


34

สล่าได้นำ� ลวดลายประเภทต่างๆมาประดับตกแต่งศิลปกรรมประกอบ วิหารด้วยความคิดและความเชื่อหลายประการรวมกัน ซึ่งความคิดต่างๆ โดยหลักจะอยู่ในกรอบของจินตภาพทางพระพุทธศาสนา

ชาวล้านนาเป็นกลุ่มชนที่มีการผสมผสานทางวัฒนธรรมอย่างหลาก หลาย ดังเห็นได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีการกวาดต้อนกลุ่มชน ต่างๆให้ให้มาตั้งถิ่นฐานในเชียงใหม่ หรือแม้แต่การที่พม่ามาปกครองล้าน นา หรือการที่ภาคกลางเข้ามามีอิทธิพล สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเงื่อนไขทาง ประวัตศิ าสตร์ อันมีผลต่อรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมในวิหาร ล้านนาทั้งสิ้น สล่าผู้สร้างวิหาร ต่างหยิบยืมความหลากหลายนี้มาผสมผสานกับ จินตนาการส่วนตัวของตน เกิดมาเป็นรูปแบบทางศิลปะอันงดงาม



36


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.