โครงการวางผังแม่บทอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้ำสะแกกรัง จ.อุทัยธานี

Page 1


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี ธัชพล มาลัย 6116684157 1


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• ข้อมูลพื้นฐาน (INTRODUCTION) : TIMELINE การเกิดเมืองเก่าอุทัยธานี สมัยรัตนโกสินทร์

สมัยอยุธยา

ประเทศไทย

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031) โปรดเกล้าฯ ให้ยก “เมืองอุไทยธานี” เป็น “เมืองขึ้นเมืองตรี” ณ อาเภอหนองฉาง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ.2133-2148) โปรดเกล้าฯให้จัดตั้งด่านขึ้นที่เมืองอุไทยธานีเนื่องจาก

มีบทบาททางยุทธศาสตร์อย่างส้าคัญของกรุง ศรีอยุธยา พระเจ้ากรุงธนบุรี (พ.ศ.2310) หลังเสียกรุงครั้งที่ 2 ได้มีการปราบปรามชุมนุมต่างๆ ทา ให้เมืองอุไทยธานีดารงเป็นด่านหน้าที่สาคัญ และสู้ศึก

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 (พ.ศ.2367-2397) มีการย้ายทาเลที่ตั้งเมืองอุไทยธานีจากหนอง ฉางไปยังบ้านสะแกกรัง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453) จัดตั้ง “มณฑลเทศาภิบาล” ขึ้นปีพ.ศ.2438 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2453-2468) มีการก่อสร้างที่ทาการของหน่วยงานต่างๆ ในปี 2460 และเปลี่ยนชื่อจาก “อุไทยธานี” เป็น “อุทัยธานี”

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2468-2478) มีความเจริญรุ่งเรืองด้านการค้า เป็นจุดเชื่อมต่อการขนส่งผู้คนและสินค้า ไปสู่กรุงเทพฯ เป็นย่านที่มีความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจสูง

เมืองเก่าอุทัยธานีมีลักษณะภูมิ ประเทศแบบ หน้าติดน้า้ หลังติดเขา

2


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• ข้อมูลพื้นฐาน (INTRODUCTION)

เมืองเก่าอุทัยธานีเกิดขึ้นจาก

ก่อตัวขึ้นจากความอุดมสมบูรณ์ของ

เกิดตั้งถิ่นฐาน

เกิดการสร้างบ้านแปงเมืองให้เจริญรุ่งเรือง

แม่น้าสะแกกรัง ริมแม่น้าสะแกกรังจึงเป็น พื้นที่ที่มีองค์ประกอบ และ มรดกทางวัฒนธรรมก่อตัว ขึ้นเยอะและหนาแน่น

ภาพน้าตกจาก แม่วงก์ จังหวัดกาแพงเพชร

แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าสะแกกรัง ตาแหน่งเมืองอุทัยธานี

3


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• ข้อมูลพื้นฐาน (INTRODUCTION) ผังการใช้ประโยชน์ที่ดินของเมืองอุทัยธานี

ที่อยู่อาศัยและพาณิชย์ ที่อยู่อาศัยแบบหนาแน่นปานกลาง ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย อุตสาหกรรมเฉพาะกิจ ที่โล่งนันทนาการ สถานศึกษา ศาสนา สถาบันราชการ

การใช้งานในเมืองเก่าอุทัยธานี มีการใช้งานพื้นที่เป็น พื้นที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ ไม่มีพาณิชยกรรมและ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทาให้พื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่น ในเมืองเก่ามีความสาคัญในการขับเคลื่อนกลไกการ ควบคุมเมืองเก่าอุทัยธานี

ลักษณะภูมิประเทศของเมืองอุทัยธานี

Highpoint

Lowpoint ผังพื้นที่น้าท่วมซ้าซาก จากสถิติน้าท่วมปี พ.ศ.2564

จากเส้นความลาดชัน อ่านได้ว่า มีทางน้าที่ไหลลงแม่น้าและมี การท่วมขัง ทางเมืองเก่าจึงมี การเน้นที่จะให้ความสาคัญกับที่ โดนท่วมขัง จึงสร้างตลิ่ง สัน เขื่อนที่ชันเพื่อป้องกันน้าท่วม 4


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• ข้อมูลพื้นฐาน (INTRODUCTION) การก้าหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา

ผังมรดกทางวัฒนธรรมในขอบเขตเทศบาล เมืองอุทัยธานี

ผังการขอบเขตพื้นที่หลักของเมืองเก่า อุทัยธานี 1,058.87 ไร่

ส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) จัดทาโครงการกาหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าอุทัยธานี โดยการประเมินคุณค่าขั้นตอน โดยรวม และจัดลาดับตามศักยภาพสูงและปานกลางให้ได้มากที่สุด

ขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าอุทัยธานี ขอบเขตพื้นที่ต่อเนื่อง

• ก้าหนดควบคุมพื้นที่เป็นกลไกอนุรักษ์ • พัฒนาโครงข่ายการเชื่อมต่อพื้นที่สา้ คัญเพื่อ ส่งเสริมอัตลักษณ์ของเมือเก่าอุทัยธานี 5


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

สรุปคุณค่าทางความหมาย จินตภาพเมืองเก่าย่านริมแม่น้าสะแกกรัง

ผังแสดงคุณค่าทางความหมาย จากการสรุปผังจินตภาพของ เมืองเก่าอุทัยธานีทาให้เห็น คุณค่าที่มีความหมายต่อชาวเมือง และเป็นจุดเริ่มต้นของ องค์ประกอบสาคัญของเมืองเก่า

เส้นทางสัญจรในน้า เส้นทางสัญจรบนบก จุดรวมกิจกรรมค้าขาย จุดรวมกิจกรรมทางศาสนา เส้นขอบเขต ย่านการค้าริมน้า ย่านการค้าในเส้นทางเมือง

ย่านการค้าเทศบาล ย่านจีนตรอกโรงยา ย่านค้าขายถนนท่าช้าง จุดหมายตา คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 1 คุณค่าความเข้าข้นอันดับ 2 คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 3

6


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) มรดกทางวัฒนธรรมทางศาสนาบริเวณริมน้​้า เนื่องจากเมืองที่เกิดขึ้นจากวิถีชีวิตริมน้​้า ท้าให้เกิดเป็นศาสนสถานที่มีความเชื่อมต่อกับพืน้ ที่ริมน้​้าที่มี คุณค่าและส่งเสริมจินตภาพของพื้นที่ริมน้า้

4

วัดไทย 1 วัดอุโปสถาราม (วัดโบสถ์)

2 วัดขวิด (ร้าง)

3 วัดพิชัยปุรณาราม (วัดกร่าง)

4 วัดธรรมโศภิต (วัดโค่ง)

1

1 2 2

ศาลเจ้าจีน 3

1 ศาลเจ้าพ่อกวนอู

2 ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง

ขึ้นทะเบียนแล้ว รอการขึ้นทะเบียน

7


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) มรดกทางวัฒนธรรมสถาปัตยกรรม รูปแบบอาคาร

แบบที่ 2 ใช้ภูมิปัญญาในการก่อสร้างฝาผนังเป็นโครงไม้ไผ่ สาน ฉาบด้ ว ยดิ น ผสมเศษวั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง สร้ า ง บรรยากาศภาพรวมให้ แ สดงถึ ง ลั ก ษณะเป็ น อาคารเครื่องก่อ

แบบที่ 3 มี ค วามหลากหลายของรู ป แบบแต่ ค ง ลักษณะโครงสร้างไม้ไว้ แบบที่ 5 เป็นรูปแบบที่กระจายออกมานอกศูนย์กลางเมือง มีจ้านวนชั้น ความสูงมากขึ้น

แบบที่ 4 รูปแบบที่ 2 รูปแบบที่ 3 รูปแบบที่ 4 รูปแบบที่ 5

เป็นรูปแบบใหม่ที่มีโครงสร้างเป็นคอนกรีต ซึ่งมี ความหลากหลายและร่วมสมัย

จัดรูปแบบอาคารโดย : สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

8


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) มรดกทางวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมที่ส้าคัญ เรือนแพ ระยะขอบน้าเดิม

ระยะขอบน้ามีขนาดแคบลง

ตลิ่งที่มีความชันและดาดแข็งไม่ เอื้อต่อเรือนแพ และการใช้งาน

ระยะเรือนแพ

ขอบน้าแคบลงทาให้เรือนแพต้องร่นระยะเข้า มาทาให้กีดขวางทางน้า

9


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) การเปลี่ยนแปลงของขอบน้​้าส่งผลกระทบกับเรือนแพในแม่น้าสะแกกรัง ขอบน้​้าธรรมชาติ

ขอบน้าธรรมชาติทาให้เรือนแพอยู่เต็มแม่น้า และมีการใช้วิถีชีวิตปกติทั้ง 2 ฝั่ง

สร้างลานสะแกกรัง

สร้างทางเดินคอนกรีตเพิ่ม

ช่วงสร้างลานสะแกกรัง ทาให้เรือนแพบริเวณนัน้ ต้องย้ายขึ้นบกไป

ปัจจุบัน

ช่วงสร้างทางเดินคอนกรีต ทาให้เรือนแพฝั่งเมืองอุทัยธานีลดจานวนลงอีก

กฎหมายจอดแพ กรมเจ้าท่า ลักษณะหรือสภาพแพต้องไม่เป็น อันตรายต่อการเดินเรือ หรือทาให้ ทางน้าเปลี่ยนแปลงไป หรือ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

1

2

3

4

หนึ่งในห้า

ปัจจุบันเรือนแพเหลือเพียงฝั่งเกาะเทโพ เนื่องจากเป็นพื้นที่ธรรมชาติส่งเสริมการ ใช้ชีวิตประจาวันของชาวแพได้

5

บริเวณจอดแพต้องมีความกว้างไม่เกิน “หนึ่งในห้า” ของความกว้างแม่น้า ณ จุดจอดแพ 10


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) เส้นทางสัญจรส้าคัญในอดีต เส้นทางสัญจรคมนาคมในอดีต

เส้นทางประพาสในอดีต

ในอดีตใช้เส้นทางน้​้าในการสัญจรเป็นหลัก โดยใช้เรือในการ ขนส่งสิงค้า เดินทาง เนื่องจากเป็นการสัญจรที่สะดวกที่สุด และเป็นผลท้าให้เกิดการสร้างบ้านแปงเมืองของอุทัยธานี เส้นทางสัญจรทางน้า แม่น้าสะแกกรัง

11


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) เส้นทางสัญจรที่ถูกปรับเปลี่ยนมาในปัจจุบัน

ถนนเหมาะสาหรับเดินทางโดย รถยนต์ เพราะเป็นทางระยะยาว

เส้นทางขนาดเล็กสามารถสัญจรได้แค่การเดินเท้า หรือจักรยาน เป็นเส้นทางของคนในชุมชนเฉพาะ

เส้นทางเป็นชุมชน ระยะทางไม่ยาวสามารถเดิน หรือขี่จักรยานได้ และอาจมีการจัดกิจกรรมเส้น ชุมชนนี้ได้

เส้นทางสัญจรทางน้ากลายเป็นเส้นทางที่ใช้โดย คนในชุมชนเรือนแพในการสัญจรเท่านั้น

แม่น้าสะแกกรัง เส้นทางหลัก (รถยนต์เป็นหลัก) เส้นทางรอง (เดินเป็นหลัก รถยนต์สามารถใช้ได้) เส้นทางย่อย (ชุมชน เดินเป็นหลัก) เส้นทางสัญจรทางน้า

12


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) เอกลักษณ์ของธรรมชาติที่ยังคงเหลืออยู่ 1

1

พื้นทีส่ ีเขียวเปิดโล่งไม่มีการใช้งาน เป็นพื้นที่รับน้าให้พนื้ ที่ข้างเคียง สามารถกักเก็บน้า ไว้เพื่อชะลอการไหลของน้าริมตลิ่ง

2

พืน้ ที่สีเขียวริมตลิง่ ธรรมชาติ เป็นพื้นที่ช่วยส่งเสริมจินตภาพให้แก่พื้นที่และส่งเสริม วิถีชีวิต

2

พื้นที่ฝั่งเกาะเทโพมีการคงไว้ของธรรมชาติมีระบบ นิเวศริมน้​้าที่ดั้งเดิมที่สมบูรณ์ เกิดเป็นพื้นที่อยู่สบาย และสามารถเพาะปลูกเล็กน้อยได้ของชาวเรือนแพ พืน้ ทีส่ เี ขียว พืน้ ทีด่ าดแข็ง

13


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) เอกลักษณ์ของธรรมชาติที่ได้หายไป

3 พื้นที่สาธารณะริมน้า้ ลานสะแกกรังทาให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศ น้าเน่าเสีย และการหมักหมมของของเสีย แต่เป็นพื้นที่รวมกิจกรรมของคนมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

3 4

4 พื้นที่สาธารณะริมน้า้ ทางเดินดาดแข็งทาให้พืชพรรณไม่สามารถเติบโตขึ้นได้ และมีการใช้งานพื้นที่ในปริมาณที่น้อย

พืน้ ทีส่ เี ขียว พืน้ ทีด่ าดแข็ง

14


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) จุดท่าน้​้าสที่ยังคงอยู่และหายไป 1 2 3

2 ท่าแร่

1 ท่าวัดโค่ง

ปัจจุบันยังเป็นที่ใช้ส้าหรับขึ้นบก ของชาวเรือนแพ

ท่าน้​้าในปัจจุบัน

ท่าน้​้าในอดีต

ลานสะแกกรัง เป็นการรวมท่าน้​้าที่ส้าคัญในอดีต ทั้ง 4 จุด เป็นพื้นที่สาธารณะแก่ ชุมชน 3

จุดท่าน้า (Node)

15


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องได้ (TANGIBLE) ผังสรุป คุณค่าทางกายภาพที่เกิดขึ้น

ท่าน้าเดิมและปัจจุบัน ความส้าคัญต่อชุมชน เส้นทางสัญจร ประวัติศาสตร์ พืน้ ทีเ่ ปิดโล่ง รูปแบบอาคาร

พื้นที่ธรรมชาติ

สถาปัตยกรรม

เรือนแพ สถานะการขึ้นทะเบียน โบราณสถาน

ประวัติศาสตร์

คุณค่าทางกายภาพที่คงอยู่และสูงที่สุด เป็นพื้นที่แม่น้าสะแกกรังส่วนใหญ่ โดยที่ มีฝั่งโบราณสถานวัดอุโปสถา รามที่นอกจาก อุโบสถและมณฑปที่มี คุณค่าสูงสดแล้ว ยังคงลักษณะขอบน้า ธรรมชาติไว้ เป็นการเสริมคุณค่าให้กับ พืน้ ทีฝ่ ง่ั ตะวันออก และยังมีคณ ุ ค่าของ เรือนแพทุกหลังที่ยังคงไว้และไม่ สามารถสร้างเพิ่มได้อีก และเส้ทาง สัญจรทางน้าดั้งเดิมที่เป็นถนนหน้า เรือนแพส่งเสริมวิถีชีวิต ทาให้มีคุณค่า แก่การอนุรักษ์สูง

ศาสนสถาน

แม่น้าสะแกกรัง

คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 1 คุณค่าความเข้าข้นอันดับ 2 คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 3

16


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องไม่ได้ (INTANGIBLE) ผังการใช้ประโยชน์พื้นที่เมืองเก่าอุทัยธานีริมแม่น้าสะแกกรัง

ผังการใช้อาคาร วิเคราะห์ได้วา่ บริเวณย่านริมน้านี้ส่วน ใหญ่เป็นอาคารที่อยู่อาศัยที่กระจุกตัวอยู่ และมีอาคารที่เป็นที่อยู่อาศัยและค้าขาย ที่กระจายตัวออกไปเป็นแกนตามถนน เส้นเก่า

ที่อยู่อาศัยและพาณิชย์ ที่อยู่อาศัยแบบหนาแน่นปานกลาง ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย อุตสาหกรรมเฉพาะกิจ ที่โล่งนันทนาการ สถานศึกษา ศาสนา สถาบันราชการ

การใช้ประโยชน์ที่ดินริมน้า้ เป็นแบบที่อยู่ อาศัยหนาแน่นมี่เป็นพืน้ ที่ส้าหรับค้าขายด้วย ท้าให้บริเวณเมืองเก่านี้มีพลวัตรในการพัฒนา เมืองให้มีชีวิต ด้าเนินกิจกรรมสืบไป

ที่อยู่อาศัยและพาณิชย์ ที่อยู่อาศัยอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ สถานศึกษา อาคารวัด

17


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องไม่ได้ (INTANGIBLE) ผังจุดรวมพื้นที่กิจกรรมที่มีในปัจจุบันและหายไปแล้ว 1

5 6 1 4

3

3

วัดอุโปสถาราม

4

ลานสะแกกรัง

• มีการปรับเปลี่ยนการใช้พื้นที่เพื่อเป็นแหล่งค้าขายของชาวเมืองเก่าอุทัยธานี เพื่อรองรับรูปแบบวิถีชีวิตแบบ และการท่องเที่ยวใหม่ 5

2

2 ซอยจีนตรอกโรงยา

ตลาดเทศบาล

ศาลเจ้าพ่อกวนอู

6

วัดขวิด (ร้าง) การใช้งานพื้นที่ในขอบเขตที่ซ้อนทับกัน จึงเห็น ความหนาแน่นของกิจกรรมที่เคลื่อนรวมตัวกันอยู่ บริเวณลานริมน้า้ เป็นหลัก

จุดรวมกิจกรรมทางการค้าขาย จุดรวมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสังคม จุดรวมกิจกรรมทางศาสนา

• พืน้ ทีท่ าบุญ รวมตัวนัดพบ และค้าขาย ถูกลดบทบาทโดย สิ่งก่อสร้างและกิจกรรมใหม่

18


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องไม่ได้ (INTANGIBLE) ผังจุดรวมพื้นที่กิจกรรมที่มีในปัจจุบัน

1 2

แม่น้าสะแกกรัง

พายเรือ Standing Up Paddle Board เป็นกิจกรรมท่องเที่ยวใหม่ของเมืองอุทัยธานีสามารถพายในแม่น้าสะแกกรัง สามารถรับรู้สุนทรียภาพในแม่น้าสะแกกรังและโบราณสถานริมน้าได้ชัดเจน

1 ท่าน้​้าลานสะแกกรัง

ท่าน้าลานสะแกกรังเป็นพื้นที่รวมกิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรม มีทั้งการตักบาตรยามเช้า ประเพณีลอยกระทง เป็นต้น จุดรวมกิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต

19


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องไม่ได้ (INTANGIBLE) ผังจุดรวมพื้นที่กิจกรรมที่มีในปัจจุบัน

2 ห้าแยกวงเวียนวิทยุ เทศกาลปีใหม่

เทศกาลตรุษจีน

เทศกาลออกพรรษา

เทศกาลลอยกระทง

เทศกาลสงกรานต์

2

• ห้าแยกวงเวียนวิทยุเป็นจุดรวมกิจกรรมเทศกาลที่จัดตลอดทั้งปี โดย การปิดเส้นถนน และจัดแต่งวิทยุที่มีอายุยาวนานให้เข้ากับบรรยากาศ จุดรวมกิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต

20


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องไม่ได้ (INTANGIBLE) ผังจุดรวมพื้นที่กิจกรรมที่มีในปัจจุบัน

เรือนแพสะแกกรัง

ชาวเรือนแพสะแกกรังมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ปลูกพืชพรรณลอยน้า ได้แก่ แพเตย หรือเป็นพืชพรรณริมน้า เช่น พุทธรักษา และมีการเลี้ยงปลาในกระชังเพื่อทานและขาย

เรือนแพปลาย่าง เป็นจุดที่มีวิถีชีวิตยาวนานและมีเอกลักษณ์ของ การย่างปลาแบบโบราณบนเรือนแพ ที่ค้าขาย ออกให้นักท่องเที่ยว ผู้มาเยือน มีการแบ่งสัดส่วนเรือนแพเพื่อให้ค้าขาย ย่าง ปลา และพักอาศัย เป็นต้นแบบของแพเตยใน ระแวกแม่น้าสายนี้ จุดรวมกิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต

21


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับมหภาค : สิ่งที่จับต้องไม่ได้ (INTANGIBLE) ผังสรุป คุณค่าทางกิจกรรมที่เกิดขึ้น จุดรวมกิจกรรมทาง ศาสนา จุดรวมกิจกรรม ทางการค้าขาย

จุดรวมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสังคม

พืน้ ทีส่ แี ดงเข้ม ได้แก่บริเวณแม่นา้ สะแกกรังและลานริมแม่น้า รวมไปถึง เรือนแพ มีความหนาแน่นและมีคุณค่า ทางกิจกรรมที่เกิดขึ้น ทั้งเรื่องของ วัฒนธรรม วิถีชีวิตและการค้าขาย ที่ อาจเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย แต่ยัง สามารถคงเอกลักษณ์ของกิจกรรมริม แม่น้าสะแกกรังได้

กิจกรรมทางสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต

การใช้งานอาคาร

คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 1 คุณค่าความเข้าข้นอันดับ 2 คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 3

22


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

กระบวนการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis) ประวัติศาสตร์

สุนทรียภาพ

สังคม/วิถีชีวิต

นิเวศ

การเข้าถึง

1.พืน้ ทีม่ อี งค์ประกอบทีเ่ ป็น โบราณสถาน และอาคารเก่า ที่ เป็นอัตลักษณ์ของเมือง

1.ส่วนเมืองเก่าอุทัยธานีมีมุมมองเก่าที่ยังคง รักษาไว้ได้เยอะ 2.สุนทรียภาพริมแม่น้าสะแกกรังมีความ สวยงาม รับรู้ความอยู่สบายเข้ากับธรรมชาติ

1.พืน้ ทีม่ วี ถิ ชี วี ติ ทีส่ บื เนือ่ งมาตัง้ แต่ อดีต ในการใช้ชีวิตอยู่กับสายน้า 2.สังคมมีความเข้มแข็งที่จะอนุรักษ์ และสืบต่อไปสู่รุ่นถัดไปได้รับรู้

1.พืน้ ทีฝ่ ง่ั เกาะเทโพทีม่ โี บราณสถาน คือวันอุโปสถาราม มีระบบนิเวศ ริมน้าที่สมบูรณ์และเป็นธรรมชาติ สมควรแก่การรักษาไว้

1.มีเส้นทางหลวงตัดผ่านมาทา ให้สะดวกสบายในการเข้าถึง 2.สามารถเข้าถึงได้จากแม่น้า ที่เชื่อมต่อกัน

W

1.มีพื้นที่ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณสถานที่มีคุณค่าบางแห่งยัง ไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนเพือ่ คุ้มครอง

1.มีองค์ประกอบบางส่วนถูกปรับปรุง สร้างใหม่ ซึ่งไม่เข้ากับบริบททาให้การรับรู้ สุนทรียภาพไม่ค่อยดี

1.วิถีชีวิตถูกเปลี่ยนแปลงไปตาม เวลาทาให้เกิดการสูญหายของวิถี ชีวิตดั้งเดิม

1.มีระบบนิเวศริมน้าฝั่งเมืองเก่า อุทัยธานีที่โดนก่อสร้างเป็นสันเขื่อน และทางเดินดาดแข็งทาให้ระบบ นิเวศถูกทาลายไป

1.ในส่วนตลาดเทศบาล เมือง เก่าอุทัยธานีไม่มีการควบคุม การจราจรทาให้การสัญจรไม่ เป็นระบบ

O

1.โอกาสการพัฒนาเพื่อส่งเสริมภูมิ ทัศน์เมืองเก่าที่อยู่ริมแม่น้าให้มี ความยั่งยืน

1.โอกาสสร้างสุนทรียภาพการรับรู้แก่ผู้คนให้ ตระหนักรับรู้ถึงคุณค่า

1.มีการศึกษาเพื่อเป็นแนวทาง อนุรักษ์พัฒนาจาก สผ.

1.มีโอกาสการฟื้นฟูระบบนิเวศที่ สูญเสียไป

1.มีโอกาสการพัฒนาระบบ การสัญจรและเข้าถึงพื้นที่ให้ เป็นระบบ

1.การปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่ ประวัติศาสตร์ในปัจจุบันมีบางส่วน ที่ผิดวิธีทาให้ลดคุณค่า

1.การพัฒนาเมืองในอนาคตหากไม่มีการ ควบคุมอาจทาลายมุมมองและสุนทรียภาพ ด้านอื่นๆ

1.การส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็นส่วน 1.น้าเกิดการขึ้นลงส่งผลให้การอยู่ ที่ส่งผลต่อการสูญเสียความจริงแท้ แพมีความเสียหาย ของวัฒนธรรมนั้นๆ 2.น้าพัดตะกอนมาจากต้นสายทาให้ ท้องน้าตื้น น้าเน่าปลาอยู่ไม่ได้ สูญเสียระบบนิเวศ

S

T

1.การส่งเสริมการท่องเที่ยว อาจทาให้การสัญจรและ เข้าถึงเกิดความวุ่นวาย

23


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• สรุปคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น

เมื่อนาคุณค่าทั้งด้านกายภาพ กิจกรรม และ ความหมาย มาซ้อนทับกันทาให้เห็นความ เชื่อมโยงของพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของ คุณค่าบริเวณ เมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง ท้าให้เห็นได้ว่าพืน้ ที่ริมน้า้ เป็นส่วนเชื่อมต่อ โครงข่ายของเมืองเก่าอุทัยธานี

24


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) ผังแนวคิดการวางผังแม่บท (Conceptual Plan) 3

โบราณสถานริมแม่น้า

วัตถุประสงค์ พัฒนาสู่

วิถีชีวิตบนผืนน้​้า

ระบบนิเวศลุ่มน้​้าสะแกกรัง 2

4

วิถีใหม่แบบ ยั่งยืน

อนุรักษ์

มุ่งเน้นการอนุรักษ์ควบคุมและเชือ่ มต่อโครงข่ายโบราณสถานที่เกิดจากแม่น้าสะแกกรัง รวมถึงการชูเอกลักษณ์ของวิถีชีวิตบนผืนน้าได้แก่ “เรือนแพ” และสายน้าสะแกกรังที่เป็นเนื้อ ทีเ่ มืองเก่าอุทัยธานีที่มีพลวัตของมรดกทางวัฒนธรรมที่หนาแน่น

4 3

1 อาคารสาคัญ โบราณสถาน พื้นที่ชุมชนริมน้า แม่น้าสะแกกรัง พื้นที่อนุรักษ์ขอบน้าธรรมชาติเดิม พื้นที่ฟื้นฟูขอบน้าส่งเสริมระบบนิเวศ ฟื้นที่พัฒนาเป็นสวนรับน้าแก่บริเวณรอบๆ พื้นที่ปรับปรุงเป็นลานสาธารณะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จุดพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยว จุดเชื่อมต่อของโบราณสถาน มุมมองส่งเสริมจินตภาพเมือง

• อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมที่มี คุณค่าที่เกิดจากแม่น้าสะแกกรัง ทั้งสิ่งที่เป็นธรรมชาติและสิ่งที่ มนุษย์สร้างขึ้น • พัฒนาต่อยอดเพื่อรองรับวิถีชีวิต และท่องเที่ยวแบบสมัยใหม่

แผนการจัดการ

3 2

4 1

แผนการจัดการ ชุมชนริมน้​้า

2

แผนการจัดการ ชุมชนลอยน้​้า

3

แผนการจัดการ พื้นที่ขอบน้​้า

แผนการจัดการพืน้ ที่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ

4

25


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) 1. ผังแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา : แผนการจัดการชุมชนริมน้​้า 1.1. จัดการพื้นที่บริเวณตลาดสดเทศบาลริมน้​้า การแบ่งพื้นที่ใช้สอย • กลุ่มอาคาร อนุรักษ์ : คงรูปแบบ ขนาดและความสูง สี ควบคุม : กายภาพอาคารตึกแถวให้เป็นไปตามข้อกาหนดของทาง สผ.* พัฒนา : ปรับเปลี่ยนการใช้งานของอาคารบางหลังที่ไม่มีการใช้งานให้เข้ากับ รูปแบบวิถีชีวิตแบบใหม่ •

เส้นทางสัญจร ควบคุมทางสัญจรให้เป็นระบบ และสนับสนุนให้สามารถเดินได้เป็นหลัก รักษาเส้นทางที่เป็นมุมมองเป็นแกนไปสู่โบราณสถาน (วัดอุโปสถาราม)

จัดการจุดบริการภายในพื้นที่ (Zoning) จัดวางตาแหน่งทิ้งขยะ ห้องน้าสาธารณะ ที่จอดรถ ที่จอดจักรยาน

* สผ. คาย่อจาก สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

1 อนุรักษ์ฟื้นฟูอาคารสาคัญ อาคารควบคุม พื้นที่ควบคุมอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ แม่น้าสะแกกรัง พื้นที่บริการ เพิ่มพื้นที่สีเขียวแก่เมือง ปรับปรุงเส้นทางสัญจรให้เป็นระบบ ปรับปรุงเส้นทางสนับสนุนการเดิน ส่งเสริมแนวแกนเพื่อชูอัตลักษณ์เมือง ส่งเสริมพื้นที่ให้เปิดมุมมองและสร้างเป็น Landmark ให้กับพื้นที่ เพิ่มจุดจอดรถเพื่อจัดระเบียบการจอดรถ ควบคุมการจอดรถข้างถนน

26


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) 1. ผังแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา : แผนการจัดการชุมชนริมน้​้า 1.2 จัดการพื้นที่บริเวณชุมชนชาวจีนตรอกโรงยา

การแบ่งพื้นที่ใช้สอย • ปรับปรุงพื้นที่เพื่อส่งเสริมจินตภาพให้พื้นที่ชุมชนชาวจีนตรอกโรงยา อนุรักษ์ : อาคารตึกแถวไม้ โดยคงรูปแบบ ขนาดและความสูง สี ควบคุม : การปรับปรุงและสร้างใหม่ตามรูปแบบอาคารที่กาหนดโดย สผ.* พัฒนา : อาคารที่มีศักยภาพเพื่อรองรับกิจกรรมรูปแบบใหม่ ปรับปรุง : ส่งเสริมพื้นที่พิพิธภัณฑ์บอกกล่าวเรื่องราวประวัติศาสตร์ •

จุดบริการ ที่จอดรถ ที่จอดรถจักรยาน

จัดการพื้นที่ถนนเพื่อส่งเสริมย่าน ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเพื่อสนับสนุนการเดิน ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเพื่อให้เกิดการรองรับการถ่ายเทกิจกรรม (Event) และการนัดพบ

* สผ. คาย่อจาก สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

อนุรักษ์ฟื้นฟูอาคารสาคัญ อาคารควบคุม พื้นที่ควบคุมอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ แม่น้าสะแกกรัง พื้นที่บริการ เพิ่มพื้นที่สีเขียวแก่เมือง ปรับปรุงเส้นทางสัญจรให้เป็นระบบ ปรับปรุงเส้นทางสนับสนุนการเดิน ส่งเสริมแนวแกนเพื่อชูอัตลักษณ์เมือง

2

ส่งเสริมพื้นที่ให้เปิดมุมมองและสร้างเป็น Landmark ให้กับพื้นที่ เพิ่มจุดจอดรถเพื่อจัดระเบียบการจอดรถ ควบคุมการจอดรถข้างถนน

27


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) 2.ผังแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา : แผนการจัดการชุมชนลอยน้​้า 2.1 จัดการพื้นที่ชุมชนเรือนแพสะแกกรัง

การแบ่งพื้นที่ใช้สอย • จัดการพื้นที่เพื่อส่งเสริมจินตภาพของชุมชนเรือนแพสะแกกรัง อนุรักษ์ : เรือนแพที่เก่าแก่และมีคุณค่าสูงตาม รูปแบบ ขนาด และวัสดุ สี ฟื้นฟู : เรือนแพที่มีสภาพทรุดโทรมไม่สามารถใช้งานได้ พัฒนา : เรือนแพที่มีศักยภาพและตาแหน่งที่เหมาะสม เพื่อรองรับกิจกรรม ท่องเที่ยวแบบใหม่ •

1 อนุรักษ์เรือนแพคุณค่าสูง เรือนแพสามารถพัฒนาเป็นจุดรองรับนักท่องเที่ยว เรือนแพสาหรับอยู่อาศัยอย่างเดียว แม่น้าสะแกกรัง โซนพื้นที่สาคัญสูงสุด โซนพื้นที่สาคัญระดับกลาง โซนพื้นที่สาคัญ พื้นที่ส่งเสริมจินตภาพเรียนรู้เรือนแพ มุมมองรอบทิศ

1 1

ส่งเสริมวิถีชีวิตชาวแพแม่น้าสะแกกรัง พื้นที่สวนลอยน้า (Waterscape) ให้สามารถปลูกพืชพรรณ และพักผ่อนได้ ที่จอดเรือประจาบ้าน

28


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) 3.ผังแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา : แผนการจัดการพื้นที่ขอบน้​้า

1

3.1 จัดการพื้นที่ลานสาธารณะริมน้​้า

การแบ่งพื้นที่ใช้สอย • พื้นที่ริมน้​้าเพื่อการนันทนาการ ลดขนาดขอบน้าของลานดาดแข็งให้เป็นธรรมชาติมากขึ้น จัดสรรพื้นที่พักผ่อน นันทนาการ และทากิจกรรมริมน้า จัดสรรพื้นที่ให้มีการรองรับกิจกรรมสาคัญ (เทศกาล) เพิ่มพื้นที่ปลูกพีชพรรณท้องถิ่นเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศ เป็นพื้นที่สาคัญในการเชื่อมต่อระหว่างน้าและเมืองเก่า •

เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดพื้นที่ดาดแข็ง แต่คงนันทานาการไว้ พื้นที่ปลูกพืชพรรณท้องถิ่น ส่งเสริมเส้นทางสะพานเชื่อมสองฝั่ง จุดเชื่อมต่อกิจกรรมทางน้าและบก มุมมองโบราณสถาน

พื้นที่ส่งเสริมจินตภาพส้าคัญของเมืองเก่าอุทัยธานี รักษามุมมองที่เป็นแกนไปสู่โบราณสถาน (วัดอุโปสถาราม) ปรับปรุงพื้นที่ให้มีลักษณะกลมกลืนกับรูปแบบอาคารและ โบราณสถาน ส่งเสริมเส้นสะพานทางข้ามฝั่งของเมืองให้มีการใช้งานที่ เหมาะสมและมีความสาคัญ

29


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) 3. ผังแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา : แผนการจัดการพื้นที่ขอบน้​้า 3.2 จัดการพื้นที่ขอบน้​้า

การแบ่งพื้นที่ใช้สอย • การจัดการพื้นที่ขอบตลิ่ง ใช้วัสดุทับหน้าดินที่มีความลาดชัน เพื่อกันการพังทลายหน้าดินและสามารถให้พืช พรรณท้องถิ่นเติบโตขึ้นได้ ใช้พืชพรรณท้องถิ่นและมีความหมายปลูกตามแนวตลิ่ง พื้นที่ชะลอน้าไหล (Runoff) ลงคลอง เพื่อบาบัดน้าและลดภาระของคลองช่วงน้าหลาก •

การจัดการพื้นที่นันทนาการริมน้​้า ทาทางวิ่ง หรือ ขี่จักรยานริมน้า พื้นที่นั่งพักผ่อนริมน้า

การจัดการพื้นที่ริมน้​้าเพื่อส่งเสริมจินตภาพ อนุรักษ์ : มุมมองที่สามารถเห็นยอดเขาสะแกกรังได้ ฟื้นฟู : ท่าน้าประวัติศาสตร์ตามแนวขอบตลิ่ง สาหรับการเปลี่ยนถ่ายการสัญจร พัฒนา : เส้นทางริมน้าเพื่อการเรียนรู้ระบบนิเวศ และวิถีชีวิต

2 2

2 ปรับขอบตลิ่งให้มีความธรรมชาติ พื้นที่สีเขียวช่วยรับน้าของพื้นที่ แม่น้าสะแกกรัง เส้นทางสัญจรริมน้าหลัก เส้นทางสัญจรเรียนรู้ริมน้าธรรมชาติ พื้นที่ท่าน้า จุดมุมมองส่งเสริมจินตภาพพื้นที่

30


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) 4.ผังแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา :แผนการจัดการพื้นที่โบราณสถาน โบราณวัตถุ 4.1 จัดการพื้นที่โบราณสถานที่ได้รับการขึ้นทะเบียนแล้ว

การแบ่งพื้นที่ใช้สอย • การจัดการพื้นที่วดั อุโปสถาราม อนุรักษ์ : รักษามุมมองดั้งเดิมของวัดอุโปสถาราม พัฒนา : พื้นที่ภูมิทัศน์รอบๆวัดเพื่อเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ พัฒนาพื้นที่ทากิจกรรมสาคัญและนัดพบ •

1

1

อนุรักษ์อาคารโบราณสถาน พื้นที่อนุรักษ์ควบควบคุมต่อเนื่องโบราณสถาน พื้นที่ปรับปรุงภูมิทัศน์ส่งเสริมโบราณสถาน พื้นที่เชื่อมต่อน้ากับโบราณสถาน ขอบเขตกันชนควบคุมรอบโบราณสถาน ท่าน้า พื้นที่ส่งเสริมจินตภาพของโบราณสถาน

การจัดการพื้นที่วัดขวิด อนุรักษ์ : โบสถ์เก่าที่หลงเหลือเพียงหลังเดียวไว้ ฟื้นฟู : ปรับปรุงพื้นที่รอบโบสถ์ให้ส่งเสริมสถาปัตยกรรม พัฒนา : ทางเดินที่ส่งเสริมทางเข้าถึงบริเวณวัดขวิด สนับสนุนการเผยแพร่ความทรงจา ประวัติศาสตร์ ปลูกพืชพรรณท้องถิ่นตามคาบอกเล่าในอดีต

31


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) 4.ผังแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา :แผนการจัดการพื้นที่โบราณสถาน โบราณวัตถุ 4.2 จัดการพื้นที่โบราณสถานที่ยังไม่ได้รับการขึ้นทะเบียน

2

การแบ่งพื้นที่ใช้สอย • จัดการพื้นที่เพื่อส่งเสริมจินตภาพ อนุรักษ์ : มุมมองและสถาปัตยกรรมโบสถ์เก่า ฟื้นฟู : ท่าน้าสาหรับการเปลี่ยนถ่ายการสัญจร •

จัดการพื้นที่วัดพิชัยปุรณาราม ขอบเขตพื้นที่อนุรักษ์พัฒนาโบราณสถาน พัฒนาพื้นที่เป็นจุดนัดพบ จุดบริการ พัฒนาเป็นพื้นที่ศึกษาประวัติศาสตร์

อนุรักษ์อาคารโบราณสถาน พื้นที่อนุรักษ์ควบควบคุมต่อเนื่องโบราณสถาน พื้นที่ปรับปรุงภูมิทัศน์ส่งเสริมโบราณสถาน พื้นที่เชื่อมต่อน้ากับโบราณสถาน พื้นที่บริการ พื้นที่จอดรถ ขอบเขตกันชนควบคุมรอบโบราณสถาน ท่าน้า จุดส่งเสริมจินตภาพและเรียนรู้ของโบราณสถาน มุมมองส่งเสริมจินตภาพ

32


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• วิสัยทัศน์ (VISION) ผังวิสัยทัศน์เพื่อการออกแบบ (Vision Plan)

สรุปโครงการวิสัยทัศน์

7

8

ปรับปรุงฟื้นฟูอาคารสาคัญให้มีความกลมกลืนและทันสมัยกับบริบท พื้นที่ควบคุมอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ ปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่ริมน้าให้มีระบบนิเวศที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ปรับปรุงพื้นที่ริมน้าเพื่อเกิดความเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่บนบกกันในน้า ปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อส่งเสริมโบราณสถาน อนุรักษ์แม่น้าสะแกกรัง ปรับปรุงเส้นทางสัญจรให้เป็นระบบ ปรับปรุงเส้นทางเดินริมน้าเชื่อมต่อริมน้าธรรมชาติ ฟื้นฟูจินตภาพเส้นทางมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ส่งเสริมแนวแกนเพื่อชูอัตลักษณ์เมือง

4 4

8 8

10

3

11

1 9 6

2

8

5

พื้นที่มีความหนาแน่นของโครงการ มีความเหมาะสมในการออกแบบ ผังบริเวณขั้นต้น

ปรับปรุงพื้นที่เชื่อมต่อของท่าน้าประวัติศาสตร์ ฟื้นฟูปรับปรุงพื้นที่ให้มีอัตลักษณ์ดั้งเดิม ส่งเสริมพื้นที่ให้เปิดมุมมองจินตภาพให้กับพื้นที่

4

4 8

8

1. โครงการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ย่านพาณิชย์ริมแม่น้าสะแกกรัง 2. โครงการอนุรักษ์ปรังปรุงภูมิทัศน์บริเวณพื้นที่วดั อุโปสถาราม 3. โครงการปรับปรุงลานริมน้​้าเพื่อส่งเสริมระบบนิเวศลุ่มแม่น้าสะแกกรัง 4. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางเดินริมน้​้าเพื่อการนันทนาการและเรียนรู้ 5. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่บริเวณวงเวียนวิทยุเพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรม 6. โครงการส่งเสริมเส้นทางเรียนรู้ประวัติศาสตร์ซอยจีนตรอกโรงยา 7. โครงการพัฒนาพื้นที่สีเขียวสาธารณะชุ่มน้​้า 8. โครงการฟื้นฟูท่าน้​้าประวัติศาสตร์ริมแม่น้าสะแกกรัง 9. โครงการพัฒนาพื้นที่บริการนักท่องเที่ยวย่านริมแม่น้าสะแกกรัง 10. โครงการปรับปรุงเส้นทางสัญจรสนับสนุนการเดินเท้า 11. โครงการพัฒนาสะพานเชื่อมต่อสองฝั่งของเมือง และเพื่อเป็นจุดถ่ายรูปแม่น้าสะแกกรัง

ขอบเขตกันชนควบคุมโบราณสถาน เพิ่มจุดจอดรถเพื่อจัดระเบียบการจอดรถ ควบคุมการจอดรถข้างถนน

33


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

SITE PLAN การขอบเขตพื้นที่จากผังระดับมหภาค

การจัดการพืน้ ที่ระดับที่ 1 จัดการพื้นที่ชุมชนริมน้าและลอยน้า และ จัดการพื้นที่โบราณสถาน การจัดการพืน้ ที่ระดับที่ 2 จัดการพื้นที่ขอบน้า 2

1

ที่ตั้ง : พื้นที่บริเวณศูนย์กลางหลักของเมืองเก่าอุทัยธานี ขนาด : 68.50 ไร่ 1. โครงการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ย่านพาณิชย์ริมแม่น้าสะแกกรัง 2. โครงการอนุรักษ์ปรังปรุงภูมิทัศน์บริเวณพื้นที่วดั อุโปสถาราม 9. โครงการพัฒนาพื้นที่บริการนักท่องเที่ยว 11. โครงการพัฒนาสะพานเชื่อมต่อสองฝั่งของเมือง และเพื่อเป็นจุดถ่ายรูป

11

9

สภาพทั่วไป

วัดขวิด

วัดอุโปสถาราม

โบราณสถาน

ตึกแถว

เรือนแพ ชุมชนริมน้​้าและลอยน้​้า

ลานดาดแข็ง

ท่าน้​้า พื้นที่ขอบน้​้า

34


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) การเข้าถึง (Accessibility) การเข้าถึงพื้นที่ นิยมใช้เส้นทางถนน 4 เลน เดิน เนื่องจากเป็นเส้นทางที่ผ่านเข้าเมืองเก่า เรือ อุทัยธานี เพื่อเชื่อมต่อไปพื้นที่สาคัญต่างๆ จักรยานยนต์ รถยนต์ โดยใช้การสัญจรแบบพาหนะส่วนตัว รถโดยสาร ถนนกว้าง 16 เมตร (4 เลน) ถนนกว้าง 10 เมตร (2 เลน) ถนนกว้าง 8 เมตร (2 เลน) ถนนกว้าง 2 เมตร (1 เลน)

การสัญจร (Circulation) การจราจร (ช่วงเวลาธรรมดา)

การจราจร (ช่วงเวลาเทศกาล)

เส้นทางสัญจรในพื้นที่ เป็นถนน 10 เมตร รองรับการสัญจรได้ 2 เลน จอดรถข้างทางได้ 2 ข้างและทางเดินใต้อาคาร 1 เมตร

รูปแบบ

ระดับการใช้งาน ธรรมดา เทศกาล

การใช้งาน เน้นการเดินเท้าในช่วงที่มีตลาดเช้า-เย็น และวันเทศกาล มีการใช้เรือกแค่ในพื้นที่ชุมชนสะแกกรัง ส่วนใหญ่ชาวเมืองสัญจรโดย รถจักรยานยนต์เพราะมีที่จอด การใช้รถยนต์จะมากในช่วงเวลาธรรมดา และน้อยลงเมื่ออยู่ในเวลาเทศกาล ไม่มีการเข้าถึงรถโดยสารภายในพื้นที่ศกึ ษา

35


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) การใช้ประโยชน์พื้นที่อาคาร (Building use)

อาคารประเภทอยูอ่ าศัยและพาณิชย์

บ้านพัก เรือนแพอยู่อาศัย ศาลเจ้าพ่อกวนอู

อาคารประเภทอยูอ่ าศัย

โรงสีข้าว

วัดอุโปสถาราม โบสถ์วัดขวิด (ร้าง)

ร้านค้า

เรือนแพรับรองนักท่องเที่ยว

ตลาดสดเทศบาล 2 โรงหนังนิวเฉลิมอุทัย (ร้าง)

อาคารพาณิชย์

อาคารประเภทศาสนสถาน

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ธนาคารกรุงไทย

36


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) ลักษณะกายภาพของพื้นที่เปิด (Open space) รูปตัด ก.

รูปตัด ข. ข

พื้นที่เปิดดาดแข็ง ทางเดินดาดแข็ง

ลานสะแกกรัง

พื้นที่เปิดธรรมชาติ

37


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) ลักษณะของขอบน้​้า

รูปตัด ก. ก

รูปตัด ข. ข

เกิดการกัดเซาะของสายน้า กับตลิ่งฝั่งตะวันตก (เมือง เก่า) ทาให้สันเขื่อนมีบทบาท ที่สาคัญมากในด้านนี้

ในฤดูน้าแล้งระดับน้า สูงประมาณ 2 เมตร ขอบน้ากว้าง 60 เมตร

คุ้งแม่น้าสะแกกรัง ทาให้เกิดพื้นที่ดิน สันทรายฝั่งตะวันออก

ในฤดูน้าขึ้นระดับน้า สูงประมาณ 6-7 เมตร ขอบน้ากว้าง 100เมตร

38


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) น้​้าขึ้นน้​้าลงของแม่น้า

น้าขึ้นสูงถึง 4 เมตร จาท้องน้าในช่วงน้าหลาก เรือนแพสามารถจอดได้ทั้ง 2 ข้างของแม่น้า พื้นที่ที่เกิดขึ้นในช่วงน้าลด

น้าในช่วงปกติลดเหลือ 2 เมตรจากท้องน้าทาให้เกิดเป็นพื้นที่พื้นดินของฝั่งวัดอุโปสถาราม และท้องน้าที่แคบส่งผลให้เรือนแพต้องขยับไปกลางแม่น้าเพื่อจอดอาศัย

39


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) ปัญหาที่เกิดจากขอบน้​้าประเภทสันเขื่อนดาดแข็ง

เรือนที่อยู่บริเวณลานสันเขื่อนดาดแข็ง เข้าถึงลาบากและคุณภาพแวดล้อมไม่ดี

น้าเสียจากเมืองถูกปล่อยลงแม่น้า ส่งผลให้ปลาในกระชังตายและน้าเน่าเสีย

เมืองระดับน้าขึ้นสูงเกินท่อระบายน้า ส่งผลให้พื้นที่โดนน้าท่วม เนื่องจากน้าขังรอการระบาย ทาให้บ้านเรือนได้รับความเสียหาย

40


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) พืชพรรณ จากระบบนิเวศเกาะเทโพ เป็นระบบนิเวศแบบมีความสัมพันธ์กับแม่น้าทั้งแม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าสะแกกรัง มีความ คล้ายคลึงกับพื้นที่เมืองเก่า จึงวิเคราะห์ได้ว่าระบบนิเวศเป็นแบบ ป่าเบญจพรรรณ สลับกับป่าเต็งรัง

ป่าเบญจพรรณ ประกอบด้วย ไม้สัก มะค่า แดง ประดู่ ชิงชัน และไผ่

ต้นยางขึ้นในลักษณะป่าเต็งรัง

พืชพรรณประวัติศาสตร์ ต้นสะแกนา ในอดีต เมื่อพ่อค้าที่เดินทางมา โดยเรือจะรับรู้ว่าถึงบ้านสะแก กรัง เมื่อเห็นต้นสะแกที่ออก ดอกสีเหลืองพริ้วอยู่ริมแม่น้า

ต้นมะขวิด

ไผ่

ต้นไม้ท้องถิ่นที่ขึ้นเป็นป่า บริเวณเมืองเก่าอุทัยธานีใน อดีต ถัดเข้ามาจากต้นสะแกที่ อยู่ริมน้า ซึ่งเป็นต้นไม้ที่นาชื่อ มาตั้งเป็นชื่อวัดว่า วัดขวิด

ยางนา หางนกยูง

41


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) สุนทรียภาพ (Aesthetic) : วิเคราะห์มุมมอง (Visual)

1

2

3

4

4

4

5

6

7

6

6 2 7

1 3

มุมมองที่ควรเก็บไว้ มุมมองที่ควรปรับปรุง

4

มุมมองที่ดี มีศักยภาพส่งเสริม จินตภาพของพื้นที่เมือง ช่วยให้ รับรู้เอกลักษณ์พื้นที่ ควรแก่การ อนุรักษ์มุมมองนี้ไว้

มุมมองที่ต้อง ปรับปรุงเพื่อส่งเสริม เอกลักษณ์พื้นที่ ให้มีความโดดเด่น และสามารถรับรู้ได้ถึงจินตภาพ ของเมือง

42


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) สภาพพื้นที่อนุรักษ์โบราณสถาน : วัดอุโปสถาราม

ต้นไม้ให้รม่ เงา อาคารโบราณสถาน

อาคารวัด

ต้นพญามูลเหล็ก

ต้นไทรย้อยใบแหลม

พื้นที่โบราณสถาน

ต้นยาง

ต้นโพธิ์

พื้นที่จอดรถ

ต้นไม้ป่ายาง พื้นที่เปิดโล่งธรรมชาติ

พื้นที่เปิดโล่งดาดแข็ง

ป่าต้นยางเป็นพื้นทีธ่ รรมชาติท้องถิ่น ช่วยเป็นฉาก หลังให้กับพื้นที่โบราณสถาน รับรู้ถึงเอกลักษณ์ และ จินตภาพของพื้นที่

เส้นขอบเขตพื้นที่โบราณสถาน ขนาดกว้าง 79.00 เมตร และ ยาว 81.00 เมตร เป็นพื้นที่ 4 ไร่ ประกาศขอบเขตโดย กรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. 2541

43


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) สะพานวัดโบสถ์ สะพานเชื่อมต่อพื้นที่ทั้ง 2 ฝั่งแม่น้า สัญจรโดยการเดินเท้าและจักรยาน มีความสาคัญในเรื่องของการถ่ายเทผู้ใช้งานจากฝั่งเมืองเก่าไปฝั่งโบราณสถานและเส้นทาง ธรรมชาติเกาะเทโพได้สะดวก

เชื่อมต่อโบราณสถาน

เชื่อมต่อเมืองเก่า

ปัจจุบันโครงสร้างสะพาน ไม่มีควาแข็งแรง ตอม่อ ปักลงน้าจานวนมาก ทา ให้เรือสัญจรไม่สะดวก

44


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) สภาพพื้นที่อนุรักษ์โบราณสถาน : วัดขวิด (ร้าง) อาคารโบราณสถาน

อาคารบ้านพัก

อาคารพาณิชย์

อาคารโรงหนังไม่มกี ารใช้งาน

ตลาดเทศบาล 2

เส้นทางเดิน

พื้นที่โบราณสถาน เส้นขอบเขตพื้นที่โบราณสถาน ขนาดกว้าง 31.40 เมตร และ ยาว 43.80 เมตร เป็นพื้นที่ 3 งาน 44 ตารางวา ประกาศขอบเขตโดย กรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. 2541

45


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์คุณค่าระดับจุลภาค (VALUE ANALYSIS)

คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 1 คุณค่าความเข้าข้นอันดับ 2 คุณค่าความเข้มข้นอันดับ 3

46


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ระดับจุลภาค (SITE ANALYSIS) ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ (SITE POTENTIAL AND CONSTRAINTS) ขอบตลิ่งมีการใช้ที่วัสดุทับหน้าดินที่พืชพรรณ ไม่สามารถเติบโตได้ ต้องมีการปรับเปลี่ยน ทางเดินดาดแข็งมีสภาพที่ทรุดโทรมและทาลายมุมมอง ระบบนิเวศ ควรได้รับการปรับปรุง พื้นที่สามารถเชื่อมต่อพื้นที่ศาลเจ้า ประวัติศาสตร์กับน้า โดยออกแบบฟื้นฟูท่าน้า พื้นที่โรงสีเก่า สามารถปรับเปลี่ยนเป็น จุดบริการนักท่องเที่ยว และเรียนรู้ได้ พื้นที่ขอบเขตโบราณสถานวัดขวิด สามารถออกแบบ ส่งเสริมและปรับปรุงให้ส่งเสริมเอกลักษณ์ของพื้นที่ พื้นที่โรงหนังเก่า สามารถปรับปรุงให้มีการ ใช้งานรองรับกิจกรรมได้ จุดที่มีการเชื่อมต่อกับน้าสามารถปรับปรุงเพื่อให้มี การใช้งานอย่างเต็มศักยภาพได้

เส้นทางแกนเห็นโบราณสถาน สามารถส่งเสริม มุมมองเพื่อชูจินตภาพพื้นี่ได้

พื้นที่เป็นขอบตลิ่งลาดชันแบบธรรมชาติมีคุณค่าสามารถ ออกแบบเพื่อส่งเสริมจินตภาพริมแม่น้าสะแกกรัง พื้นที่เป็นขอบตลิ่งธรรมชาติมีคุณค่าสูง ควรรักษา และ สามารถพัฒนาเป็นพื้นที่เรียนรู้เชิงนิเวศได้ พื้นที่ศาลาวัด มีพื้นที่เปิดโล่งเพื่อรองรับการมาใช้บริการพื้นที่ได้ พื้นที่วัด มีส่วนที่เป็นส่วนตัวของพระลูกวัด แต่มีพื้นที่เก็บเรือและ ของเก่า สามารถส่งเสริมเป็นจุดเรียนรู้ได้ พื้นที่ธรรมชาติ ควรแก่การรักษาเป็นพื้นหลังมุมมองแก่ โบราณสถาน พื้นที่ลานจอดรถ มีศักยภาพรองรับผู้ที่มาท่องเที่ยวจาก ฝั่งเกาะเทโพได้ ขอบเขตโบราณสถาน สามารถส่งเสริมเพื่อให้เกิดเอกลักษณ์พื้นที่

พื้นที่ธรรมชาติรอบโบราณสถาน ไม่ควรสร้างสิ่งก่อสร้างบทบัง เพื่อ ส่งเสริมสถาปัตยกรรม พื้นที่เป็นขอบตลิ่งลาดชันแบบธรรมชาติหน้าโบราณสถานต้องรักษา และ ออกแบบเพื่อให้ส่งเสริมโบราณสถาน

พื้นที่โล่งว่างสามารถปรับปรังเป็นจุดบริการ นักท่องเที่ยวจากฝั่งเมืองเก่าอุทัยธานีได้

47


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

กลุ่มผู้ใช้งานเป้าหมาย (Target User) ผู้ใช้งานแบ่งตามลักษณะการอยู่ถิ่นฐาน

ผู้ใช้งานรอง

ผู้ใช้งานหลัก 23%

กลุ่มผู้ใช้งานที่มาจากภายนอก (External Population)

กลุ่มผู้ใช้งานที่อยู่ในพื้นที่และระแวกข้างเคียง (Internal Population) ผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ศึกษา

บนบก(ตลาดเทศบาล) ในน้า(ชาวเรือนแพ)

ผู้อยู่อาศัยในระแวกพื้นที่ ศึกษา

นักท่องเที่ยว

13%

ฝั่งเกาะเทโพ

64%

ท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อนหย่อนใจในวันหยุด

ท่องเที่ยวเพื่อศึกษา • •

ท่องเที่ยวเพื่อศึกษาวิถีชีวิต วัฒนธรรม ท่องเที่ยวเพื่อศึกษาระบบนิเวศ

พื้นที่ขอบเขตเทศบาลเมืองอุทัยธานี

48


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์ผู้ใช้งาน (USER ANALYSIS) Accessibility

Space

ผู้ใช้งานหลัก บนบก (ตลาดเทศบาล)

พักอาศัย ดารงวิถีชีวิตประจาวัน

บ้าน ตึกแถว เรือนแพ วัด ศาสนสถาน

ในน้า (ชาวเรือนแพ)

ค้า-ขาย จับจ่ายใช้สอย

ตลาด

ฝั่งเกาะเทโพ พื้นที่ขอบเขตเทศบาลเมือง อุทัยธานี

พักผ่อนหย่อนใจ

พื้นที่สาธารณะ

สัญจรและจอดรถในพื้นที่

เส้นทางสัญจรที่เป็นระบบ พื้นที่จอดรถ

พักค้างแรม 1-2 คืน

ที่พักอาศัยค้างแรม 1-2 คืน

ผู้ใช้งานรอง ท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อนหย่อน ใจในวันหยุด

เรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน พื้นที่ประวัติศาสตร์ เรือนแพ วัด ศาสนสถาน ท่องเที่ยวศาสนสถาน เรียนรู้ระบบนิเวศลุ่มน้าสะแกกรัง พื้นที่ระบบนิเวศลุ่มน้าสะแกกรัง

ท่องเที่ยวเพื่อศึกษาวิถีชีวิต วัฒนธรรม ท่องเที่ยวเพื่อศึกษาระบบ นิเวศ มาก

กลาง

พักอยู่ระยะยาว น้อย

ไม่มี

เช้า

กลางวัน

เย็น

กลางคืน

Internal Population

Need

External Population

User Type

Period of Time

Area Usability

เที่ยวชมช่วงกลางวัน

พื้นที่รองรับการบริการระยะยาว (Long Stay)

49


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การวิเคราะห์การใช้งาน (PROGRAM) PROGRAM AREA REQUIREMENT CONSERVATION ZONE 1.พื้นที่อนุรักษ์โบราณสถานวัดอุโปสถาราม - สถาปัตยกรรม มณฑปแปดเหลี่ยม - สถาปัตยกรรมโบสถ์ที่มีจิตรกรรมฝาผนัง - พืน้ ทีข่ อบเขตโบราณสถาน 79*81 ม. 6,399 ตร.ม. - พืน้ ทีพ่ กั ผ่อนนันทนานการริมน้า 1,500 ตร.ม. - พืน้ ทีจ่ ดั งานเทศกาล 2,000 ตร.ม. - พืน้ ทีศ่ กึ ษาประวัตศิ าสตร์วัดอุโปสถาราม 1,000 ตร.ม. แม่น้าสะแกกรัง - พืน้ ทีจ่ อดรถยนต์ 20 คัน 1,500 ตร.ม - พืน้ ทีจ่ อดรถจักรยานยนต์ 200 ตร.ม. 2. พื้นที่อนุรักษ์โบราณสถานวัดขวิด - สถาปัตยกรรมโบสถ์เก่า - พืน้ ทีข่ อบเขตโบราณสถานทีห่ ลงเหลืออยู่ 1,375.32 ตร.ม 31.40*43.80 - พืน้ ทีเ่ รียนรูเ้ กีย่ วกับพืน้ ทีว่ ดั ขวิด 800 ตร.ม.

RIPARIAN ZONE 1.พื้นที่ริมน้​้าบริเวณตลาดเทศบาล - พืน้ ทีส่ วนพักผ่อนนันทนาการริมน้า - พืน้ ที่ Eco Amphitheater - พืน้ ทีป่ ลูกพืชพรรณท้องถิน่ - พืน้ ทีโ่ ป๊ะลอยน้า - ทางลงน้า 2.พื้นที่ริมน้​้าบริเวณสันเขื่อน - ทางเดิน จักรยานริมน้า - พืน้ ทีป่ ลูกพืชพรรณท้องถิน่ - พืน้ ทีท่ า่ น้าประวัตศิ าสตร์ (Eco Pier) - พืน้ ทีพ่ กั ผ่อนริมน้า 3.พื้นที่ริมน้​้าบริเวณหน้าวัดอุโปสถาราม - ทางเดินเชื่อมต่อแพโบสถ์ - พืน้ ทีล่ านโล่งริมน้า 4.พื้นที่ริมน้​้าบริเวณเรือนแพ - พืน้ ทีจ่ อดเรือ - ทางเดินขึ้นชายน้า - เส้นทางเดิน ขี่จักรยานริมน้า

1,000 ตร.ม. 800 ตร.ม. 450 ตร.ม. 500 ตร.ม.

50 ตร.ม. 800 ตร.ม. 3,000 ตร.ม 50 ตร.ม.

COMMUNITY ZONE 1.พื้นที่ชุมชนเมือง - พื้นที่ค้าขาย ถนนคนเดิน - พืน้ ทีค่ า้ ขายอาคาร -พืน้ ทีล่ านจัดกิจกรรมชุมชน 2.พื้นที่ชุมชนลอยน้​้า - พืน้ ทีจ่ อดเรือ

ตามเส้นถนน 1,500 ตร.ม. 50 ตร.ม.

PRINCIPAL ZONE 1.พื้นที่หลัก - อาคารอนุรักษ์ - พืน้ ทีต่ อ้ นรับ 500 ตร.ม. - พืน้ ทีโ่ ครงข่ายสีเขียวเชือ่ มต่อเมือง เส้นถนน - ลานอเนกประสงค์ 3,500 ตร.ม. 2.พื้นที่บริการ - ที่จอดรถ 20 คัน 1,500 ตร.ม. - อาคารบริการ อาคารเดิมที่มีศักยภาพ

50


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• FUNCTIONAL RELATIONSHIP โบราณสถาน

จุดเชื่อมต่อพื้นที่

เมืองเก่า

51


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบร่างทางเลือก (SCHEMATIC DESIGN)

โซนแม่น้า โซนขอบแม่น้า โซนเมืองเก่า โซนโบราณสถาน

• • •

รื้ออาคารขนาดใหญ่ออกทั้งหมดเพื่อคงภาพเมืองเก่าและเพิ่มโปรแกรมใหม่ พืน้ ทีร่ มิ ขอบน้ามีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เรือนแพใหม่อยู่กระจายกลุ่ม

โซนแม่น้า โซนขอบแม่น้า โซนเมืองเก่า โซนโบราณสถาน

• • •

รื้อเฉเพาะอาคารที่ไม่ได้ใช้งานออกเพื่อใส่โปรแกรมใหม่ ประหยัดค่าใช้จ่าย พืน้ ทีร่ มิ น้าเปิดเชือ่ มต่อกันตลอดแนว เป็นพืน้ ทีส่ เี ขียวธรรมชาติ จัดกลุ่มเรือนแพใหม่ให้อยู่บริเวณเดียวกัน

52


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบร่างแนวความคิด (CONCEPTUAL PLAN)

53


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบผังบริเวณ (MASTER PLAN) ท่าน้าวัดธรรมโศภิต

ชุมชนเรือนแพสะแกกรัง ท่าน้าวัดอุโปสถาราม

ท่าน้าศาลเจ้าท่ากวนอู ที่จอดรถโรงสีเก่า 25 คัน ตลาดสดเทศบาล โบสถ์วัดขวิด

พื้นที่สังฆวาส วัดอุโปสถาราม ป่าต้นยาง พื้นที่บริการนักท่องเที่ยว โบราณสถานวัดอุโปสถาราม ที่จอดรถวัดอุโปสถาราม 15 คัน

สวนสาธารณะชุมชนโรงหนังเก่า ลานสะแกกรังหน้าเมืองเก่า

สะพานวัดโบสถ์

ลานอเนกประสงค์

54


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบผังบริเวณ (MASTER PLAN) 4. ออกแบบพื้นที่ชุมชน เรือนแพ

1. ออกแบบอนุรักษ์ โบราณสถาน วัดอุโปสถาราม

2. ออกแบบปรับปรุงพื้นที่ เมืองเก่า 3. ออกแบบปรับปรุง สะพานวัดโบสถ์

อาคารอนุรักษ์ อาคารปรับปรุง อาคารเรือนแพตาแหน่งเดิม อาคารเรือนแพที่ย้ายมา

พื้นที่สีเขียวส่งเสริมโบราณสถาน พื้นที่สีเขียวธรรมชาติขอบน้า พื้นที่สีเขียวนันทนาการ พืชพรรณไม้ยืนต้นเดิมอนุรักษ์ พืชพรรณไม้ยืนต้นใหม่ร่มเงา พืชพรรณไม้ยืนต้นใหม่แนวบังสายตา พืชพรรณไม้ริมน้า พืชพรรณลอยน้า

เส้นทางหลัก (รถยนต์ รถจักรยานยนต์) เส้นทางรอง (แชร์สตรีท) เส้นทางเดิน

55


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• 1. ออกแบบอนุรักษ์โบราณสถาน วัดอุโปสถาราม

วัดอุโปสถาราม เป็นพื้นที่ที่ประกอบด้วย โบราณสถาน มีคุณค่าในการอนุรักษ์ส่งเสริม

56


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่อนุรักษ์วัดอุโปสถาราม (ENLARGEMENT PLAN) ลานหญ้า

โบสถ์เก่า โบราณสถาน

แพโบสถ์

พื้นที่ชุ่มน้​้า

57


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่บริการวัดอุโปสถาราม (ENLARGEMENT PLAN)

พิพิธภัณฑ์เรือจ้าลอง

ปลูกต้นไม้เพื่อเป็นแนวบังสายตายกั้นที่จอดรถ และเป็นฉากหลังพื้นที่

จุดจ้างไกด์ ขึ้นเรือ (ของคนท้องถิ่น) ที่จอดรถ 15 คัน

58


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่ลานสะแกกรัง (ENLARGEMENT PLAN)

ออกแบบปรับปรุงลานสะแกกรัง โดยมีแนวคิดในการลดขนาดของลานดาดแข็งเดิมและเพิ่มพืชพรรณเพื่อเป็นระบบนิเวศ สามารถใช้ งานริมขอบน้าและเชื่อมต่อถึงน้าได้

59


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่ลานสะแกกรัง (ENLARGEMENT PLAN)

สวนลอยน้​้า

ลานหญ้า แพโป๊ะ ลานหญ้า ทากิจกรรมนันทนาการและพักผ่อนที่เล่นระดับ สนามหญ้าไปกับความลาดชันของขอบตลิ่ง

แนวคิดการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โดยใช้ Step & Stair เพื่อใช้เชื่อมต่อ พื้นที่ต่างระดับและรถเข็นสามารถใช้งานได้

60


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่ลานสะแกกรัง (ENLARGEMENT PLAN)

เป็นแกนหลักที่สามารถส่งเสริม มุมมองได้ตั้งแต่เข้าถึงพื้นที่ โครงการ สวนลอยน้​้า

ระเรียงรับมุมมอง โบราณสถาน

61


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่ลานสะแกกรัง (ENLARGEMENT PLAN)

สวนลอยน้​้า

ที่นั่งพักผ่อนพื้นที่ชุ่มน้​้า

ลานระเบียงริมน้​้า เมื่ออยู่จุดพักผ่อนชมวิวพื้นที่ชุ่มน้าบริเวณนี้ สามารถรับรู้มุมมองของโบราณสถานที่เป็นจุดที่ สวยงามอีกจุดหนึ่ง

62


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่สะพานวัดโบสถ์ (ENLARGEMENT PLAN)

ใช้ระบบสะพานแบบโครงสร้างเหล็ก รูปทรง Arch Bridge เพื่อสามารถรับน้าหนักได้ดีลดจานวนตอม่อเดิม และเปิดพื้นที่ แม่น้าให้กว้างขึ้น สาหรับการใช้งาน

ศาลานั่งพักริมน้ามองเห็นวิวแม่น้าที่มีสะพานตัดโค้งผ่าน เห็น วัดอุโปสถาราม

63


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

• การออกแบบรายละเอียดพื้นที่เรือนแพ แม่น้าสะแกกรัง (ENLARGEMENT PLAN)

เรือนแพมีสวนลอยน้าช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นและ สามารถใช้จอดเรือได้

64


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

65


โครงการวางผังแม่บท อนุรักษ์และพัฒนาพืน้ ที่ย่านเมืองเก่าริมแม่น้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี

ขอบคุณครับ 66


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.