ข้อมูลทั่วไปจังหวัดเพชรบูรณ์

Page 1


คุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมเศรษฐกิจในพื้นที่ชุมชนภาคเหนือตอนล่าง บ้านเล่าเน้ง อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

โดย ศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ พิระสันต์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะ

สนับสนุนโดยสํานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สสกว.) (ความคิดเห็นรายงานนี้เป็ นของผูว้ จิ ยั สสกว. ไม่จาํ เป็ นต้องเห็นด้วยเสมอไป)


คานา มรดกทางวัฒนธรรมเกิ ดจากความคิดของมนุ ษย์ที่พฒั นาไปสู่ กลุ่มกิ จกรรมการผลิ ตที่ตอ้ ง พึ่งพาความคิด สร้างสรรค์เป็ นสิ่ งสําคัญ เป็ นแนวคิดการขับเคลื่อนการพัฒนาบนพื้นฐานของการใช้ องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์ (Creativity) และการใช้ทรัพย์สิน ทางปัญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู ้ทางสังคม เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ ดังนั้นอาจจะกล่าวได้วา่ “นวัตกรรม” เป็ นการพัฒนาที่นาํ ไปสู่ ประสบการณ์ ที่แท้จริ ง และมี การเชื่ อมโยงด้วย การเรี ยนรู ้ แบบมีส่วนร่ วมในงานวัฒนธรรมหรื อ คุ ณลักษณะพิเศษของพื้นที่ และยังท าให้เกิ ดการเชื่ อมสัมพันธ์ กับผูค้ นที่ อาศัยอยู่ในพื้ นที่ เป็ นผู ้ สร้างสรรค์วฒั นธรรมที่ยงั มีชีวติ นั้นขึ้นมา แต่ถึงกระนั้น การบริ หารจัดการความรู ้จาํ เป็ นต้องคํานึ งถึง ความรู ้ท้ งั สองลักษณะควบคู่กนั ไป เพราะความรู ้ ถื อเป็ นสิ่ งที่ มีพลวัตร (Dynamic) คื อ มี การเปลี่ ย นแปลงอยู่ตลอดเวลา ความรู ้ สามารถเปลี่ยนแปลงลักษณะจากความรู้ชดั แจ้งไปสู่ ความรู ้ ฝังตัว และจากความรู ้ฝังตัวไปสู่ ความรู ้ ชัดแจ้งกลับไปกลับมา ที่เราเรี ยกว่า “ทฤษฎีเกลียวของความรู้ ” (Spiral of Knowledge) ที่แสดงให้ เห็นถึ งความสําคัญของพลวัตรของความรู ้ โดยกล่าวถึ งกระบวนการสร้างความรู ้ใหม่ภายในชุ มชน พื้นที่อย่างต่อเนื่ อง โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงลักษณะของความรู้หวั ใจสําคัญของการขับเคลื่อนให้ เกิดกระบวนการสร้างความรู ้น้ นั คือคนในชุ มชนพื้นที่เพราะคนถือเป็ นแหล่งกําเนิ ดความรู ้และเป็ น ผูน้ าํ ความรู ้ไปใช้ และหากปราศจากความร่ วมมือและความสนใจจากผูค้ นในพื้นที่ ความรู ้ก็จะไม่ได้ รั บ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ และถ่ า ยทอดออกไปในวงกว้า ง ด้ว ยองค์ก รเป็ นที่ ร วมของบุ ค คลที่ หลากหลายซึ่ งมาทํางานร่ วมกันเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์เดียวกัน ดังนั้น มรดกทางวัฒนธรรมจึงมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อประเทศไทยในการจะยืนอยูบ่ นเวที โลกอย่างเข้มแข็ง ทั้งในมิติดา้ นเศรษฐกิ จพอเพียงและการพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยเมื่อเปรี ยบเทียบกับ ประเทศเพื่อนบ้านหรื อประเทศที่ พัฒนาแล้วพบว่าขณะนี้ การใช้มรดกทางวัฒนธรรมที่คิดค้นเองใน ประเทศเพิ่งเริ่ มต้น จึงต้องมีการเร่ งกระบวนการ ถ่ายทอดและการสร้ างนวัตกรรมให้เกิ ดขึ้นอย่าง รวดเร็ ว โดยเฉพาะในด้านการจัดการองค์ความรู้และการบริ หารจัดการภายใต้แนวคิดและรู ปแบบ ใหม่ ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและระดับท้องถิ่ น โดยสร้ างให้เกิ ดกระบวนการมีส่วนร่ วมระหว่าง ประชาชนกับหน่ วยงานภาครัฐ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิ ดนวัตกรรมจํานวนมากพอที่จะสร้างมูลค่าเพิ่ม


ให้กบั สังคมของประเทศได้อย่างรวดเร็ ว สิ่ งที่ดาํ เนิ นการมาวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุ งผลงาน หรื อสิ่ งประดิษฐ์จนกลายมาเป็ นนวัตกรรมในที่สุด ปั จจุบนั ความรู ้ วา่ ด้วยการจัดการมรดกทางมรดกทางวัฒนธรรมเป็ นเรื่ องที่ทา้ ทายคณะวิจยั ทางวัฒ นธรรมเป็ นอั น มาก มรดกทางมรดกทางวัฒ นธรรมไม่ ใ ช่ เ รื่ องของการสื บสาน ขนบธรรมเนี ยมประเพณี เพียงอย่างเดี ยว และไม่ใช่ เป็ นเรื่ องของการจัดงานประเพณี ตามเทศกาล เท่านั้น ยังมีสิ่งต่าง ๆ อีกมากมายที่ตอ้ งพัฒนาให้เท่าทันกระแสโลกาภิวตั น์ หรื อยุคที่ขอ้ มูลข่าวสาร หรื อปรากฏการณ์ที่เกิ ดขึ้นในมุมหนึ่ งของโลกส่ งผลกระทบถึงส่ วนอื่น ๆ ของโลกได้อย่างรวดเร็ ว หรื อที่บางคนเรี ยกว่า โลกไร้พรมแดน จากการศึกษาชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง พบว่า มุมมองเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมที่ แตกต่ า งกันของคนต่ างวัย หรื อ มี ช่ องว่า งระหว่า งวัย ในการมองมรดกทางวัฒนธรรม ในฐานะ นักวิจยั ตระหนักว่ามีวธิ ี ไหนบ้างที่จะลดช่องว่างในการมองมรดกทางวัฒนธรรมลงได้ และหาวิธีการ ที่ เหมาะสมที่ ค นต่ า งวัย สามารถเดิ นไปด้ว ยกัน อย่า งเข้า ใจ เพราะช่ องว่า งที่ เห็ น ในทุ ก วัน นี้ คื อ ผูส้ ู งอายุมกั มองไปที่การรักษามรดกทางมรดกทางวัฒนธรรมแบบเดิม ผูใ้ หญ่หลายคนอาจจะมองว่า มรดกทางวัฒนธรรมเป็ นสิ่ งทีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เป็ นสิ่ งที่เกี่ยวเนื่ องกับของเก่า เป็ นแบบแผน อันดีงามที่ตอ้ งปฏิบตั ิให้ถูกต้อง ไม่สามารถสร้างใหม่ให้ทดแทนของเดิมได้ ต้องพยายามสื บทอดให้ ยาวนานที่สุดเท่าที่จะทําได้ และคาดหวังว่าคนรุ่ นใหม่ควรจะต้องสนใจและช่วยสื บสานมรดกทาง มรดกทางวัฒนธรรมแบบเดิม นอกจากนี้ ในปั จจุ บ นั จะพบว่า ข้อมูล ทางด้า นชุ ม ชนที่ มี อยู่ม ากมาย มี ท้ งั แฟ้ มจดบันทึ ก ภาพถ่าย ม้วนวีดีโอจํานวนมาก แต่ไม่สามารถพัฒนาระบบข้อมูล กระบวนการวิเคราะห์ และพัฒนา ข้อมูลได้ ดังนั้นการวิจยั ในครั้งนี้ จะรวมรวมข้อมูลและพัฒนาข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเศรษฐกิ จ ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างให้อยูใ่ นฐานข้อมูล TRF Database สําหรับการสื บค้น จึงเป็ นสิ่ งจําเป็ นใน การวิจยั ครั้งนี้ คณะผูว้ ิจ ัย ขอกราบขอบพระคุ ณ ศาสตราจารย์พิ เ ศษ ดร. กาญจนา เงารั ง ษี อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร ผูบ้ งั คับบัญชาระดับสู ง รวมทั้ง ดร. กิตติ สัจจาวัฒนา รองผูอ้ าํ นวยการหน่ วย บูรณาการวิจยั และความร่ วมมือเพื่อพัฒนาเชิ งพื้นที่ (ABC) สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) ขอขอบคุณ คุณนุ ชจรี ย ์ ประทีปคีรี คุณสุ นารี จันทนโรจน์ คุณฉ่ าย แซ่ คาํ และผูใ้ หญ่สุริโย


บํารุ งคีรี ชุมชนบ้านเล่าเน้ง ตําบลเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ช่วยชี้ แนวทางในการเรี ยบ เรี ยงวัตถุดิบข้อคิดเห็นจํานวนมากมายที่เป็ นประโยชน์อย่างยิ่ง ทําให้การวิจยั เล่มนี้ มีความสมบูรณ์ มากยิง่ ขึ้น คณะผูว้ จิ ยั ขอขอบพระคุณและระลึกในความกรุ ณาเป็ นอย่างสู ง คณะผูว้ ิจยั หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า การวิจยั ในครั้งนี้ มุ่งเน้นพัฒนาการจัดทําข้อเสนอโครงการ “นวัตกรรมทางด้านศิลปะสําหรับการพัฒนาพื้นที่ ภูมิ วฒั นธรรมในเขตภาคเหนื อตอนล่ า ง” ด้วย กระบวนการที่เป็ นระบบและการค้นคว้าองค์ความรู้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเป้ าหมาย สู งสุ ดคือ การค้นพบแนวทางที่เหมาะสมในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนและสังคม ส่ วนรวมให้ดียงิ่ ขึ้นต่อไป ศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ พิระสันต์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2561


สารบัญ ส่ วนที่ 1

หน้ า ข้อมูลทัว่ ไปของจังหวัดเพชรบูรณ์

1-14

คําขวัญประจําจังหวัดเพชรบูรณ์ ตราประจําจังหวัดเพชรบูรณ์ ธงประจําจังหวัด ประวัติความเป็ นมา อาณาเขต การปกครอง การเดินทาง ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ สภาพทางเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 2

สภาพทัว่ ไปของตําบลเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สภาพทัว่ ไป สมรภูมิเขาค้อ สภาพทางภูมิศาสตร์ สภาพภูมิอากาศ สภาพทัว่ ไปทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ การปกครอง

15-38


สารบัญ (ต่ อ) ส่ วนที่ 3

หน้ า ศาสนสถานที่สาํ คัญ

39-56

พุทธศาสนา คริ สต์ศาสนา 4

วัฒนธรรม

57-176

วัฒนธรรมทางด้านมุขปาฐะ วัฒนธรรมทางด้านศิลปะการแสดง วัฒนธรรมทางด้านประเพณี วัฒนธรรมทางด้านจักรวาลทัศน์ วัฒนธรรมทางด้านอาหาร วัฒนธรรมทางด้านภาษาและวรรณกรรม วัฒนธรรมทางด้านการช่างฝี มือ วัฒนธรรมทางด้านเครื่ องแต่งกาย วัฒนธรรมทางด้านดนตรี วัฒนธรรมทางด้านเครื่ องมือเครื่ องใช้ วัฒนธรรมทางด้านความเชื่อและขนบธรรมเนียมปฏิบตั ิ 5

แหล่งท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทางนันทนาการ แหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวทางเกษตร แหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์

6

บรรณานุกรม

177-213


1

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของจังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็ นจังหวัดหนึ่ งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทยมีพ้ืนที่ ประมาณ 12,668 ตารางกิ โลเมตร ซึ่ งมี พ้ื นที่ ใ หญ่เป็ นอันดับ 9 ของประเทศ แบ่ง การปกครองออกเป็ น 11 อํา เภอ และมี เ ขตเทศบาลเมื อ งเพชรบู ร ณ์ เ ป็ นศู น ย์ก ลางของจัง หวัด เป็ นจัง หวัด ที่ มี ทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจํานวนมาก ชื่อของจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อสมัยก่อนน่าจะชื่อว่าเมือง "เพชบุระ" ตามที่ปรากฏในจารึ กลานทองคํา ที่พบจากเจดียท์ รงพุ่มข้าว บิ ณฑ์ วัดมหาธาตุ ซึ่ ง หมายถึ ง เมื องแห่ ง พืช พันธุ์ ธัญญาหาร แต่ ใ นระยะหลังต่ อมาได้เพี้ ยนหรื อ เปลี่ยนเป็ นชื่อ “เพ็ชร์บูรณ์” และเปลี่ยนเป็ น “เพชรบูรณ์” กลายความหมายเป็ นเมืองที่อุดมด้วยเพชร และได้นาํ ไปใช้เป็ นส่ วนหนึ่งของตราสัญลักษณ์ประจําจังหวัด คาขวัญประจาจังหวัดเพชรบูรณ์ เมืองมะขามหวาน อุทยานนํ้าหนาว ศรี เทพเมืองเก่า เขาค้ออนุสรณ์ นครพ่อขุนผาเมือง


2

ตราประจาจังหวัดเพชรบูรณ์ ตราประจําจังหวัดเพชรบูรณ์ ประกอบด้วย เพชรกับภูเขาและไร่ ยาสู บ อยูใ่ นรู ปวงกลมมีลาย กนกไทยล้อมโดยรอบ เพชรเจียรนัยเป็ นรู ปหัวแหวนรู ปคล้ายสามเหลี่ยมหัวกลับลงดิ นลอยอยู่บน ท้องฟ้ าเหนือภูเขา พื้นดินเป็ นไร่ ยาสู บและมีอกั ษรเขียนว่า “จังหวัดเพชรบูรณ์” ความหมายของตราประจาจังหวัดมี 2 ประการ ประการที่ 1 เนื่ องจากจังหวัดชื่ อเพชรบูรณ์ ซึ่ งแปลว่า “อุดมสมบูรณ์ดว้ ยเพชร” และมีผเู้ คย ขุดพบหิ นที่มีความแข็งมากกว่าหิ นธรรมดา มีประกายแวววาวสุ กใสเหมือนเพชร ขุดได้ในเขตบ้าน ทุ่งสมอ นายาว อําเภอหล่มสัก หิ นที่ ขุดได้น้ ี เรี ยกกันว่า “เขี้ ยวหนุ มาน” ซึ่ งถื อว่าเป็ นหิ นตระกูล เดี ยวกันกับเพชร แต่มีความแข็งน้อยกว่าเพชร มีผเู ้ ชื่ อว่าเขี้ยวหนุ มานนี้ ถา้ ทิ้งไว้ตามสภาพเดิมนาน ต่อไปอีกประมาณ 1,000 ปี จะกลาย เป็ นเพชรจริ ง ๆ ได้และนอกจากนี้ ยงั มีผเู ้ ชื่ อว่าภูเขาชื่ อ “ผาซ่ อน แก้ว” ในเขตอําเภอหล่มสักมีเพชรจึงตั้งชื่อว่า “ผาซ่อนแก้ว” ประการที่ 2 เนื่องจากจังหวัดเพชรบูรณ์ มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่าอุดมสมบูรณ์ เช่น ไม้สัก ในดิ นมีแร่ ธาตุที่มีค่าจนประมานค่ามิ ได้เช่ นเดี ยวกันกับค่าของเพชรทีเดี ยวและปรากฏกว่าในเขต ตําบลนํ้าก้อ อําเภอหล่มสัก เดิมชาวบ้านเรี ยกว่า “บ้านนํ้าบ่อคํา” ซึ่ งมีประวัติวา่ เคยเป็ นที่ต้ งั โรงหล่อ แร่ ทองคําของฝรั่งชาวยุโรป ไม่ทราบสัญชาติมีซากวัตถุก่อสร้างปรากฏร่ องรอยเหลืออยู่ ความหมาย เกี่ ยวกับ “ภูเขา” เนื่ องจากด้วยพื้นที่จงั หวัดเพชรบูรณ์ มีภูเขามากมายสลับซับซ้อนเป็ นทิวเขาเทือก ใหญ่เรี ยกว่า “เทือกเขาเพชรบูรณ์ ” ความหมายเกี่ ยวกับ “ไร่ ยาสู บ” เนื่ องจากจังหวัดเพชรบูรณ์ มี ยาสู บพื้นเมืองพันธุ์ดีเป็ นสิ นค้าสําคัญของจังหวัดเพชรบูรณ์ มีรสเป็ นเลิศกว่ายาสู บที่อื่นทั้งหมดของ เมืองไทย ยาสู บพันธุ์ดีที่มีชื่อเสี ยงนี้ ปลูกได้ผลที่บา้ นป่ าแดง อําเภอเมืองเพชรบูรณ์ แต่ในปั จจุบนั นี้ ยาสู บพื้นเมืองชนิ ดนี้ มีน้อยลง เพราะราษฎรชาวบ้านกลับมานิ ยมปลูกยาสู บพันธุ์เบอร์ เล่ย ์ เพื่อบ่ม ให้แก่สาํ นักงานไร่ ยาสู บ เพราะได้ราคาดีกว่ายาสู บพื้นเมือง


3

ธงประจาจังหวัด

พื้นธงเป็ น 3 ริ้ ว มี 2 สี ริ้ วสี ขาวอยูก่ ลางใหญ่กว่าริ้ วสี เขียวใบไม้ ซึ่ งเป็ นริ้ วที่อยูร่ ิ ม 2 ข้าง ประมาณ 1/3 ตรงกลางผืนธง ประกอบด้วย เครื่ องหมายตราประจําจังหวัด เพชรสี ขาว นํ้ามันก๊าส มีรัศมี โดยรอบภูเขามีสีน้ าํ เงิ นและสี อื่นเหลือบเหมือนของจริ ง เชิ งภูเขาแลเห็ นเป็ นทิวไม้ข้ ึนเป็ นสี ใบไม้แก่ ต้นยาสู บสี เขียวใบไม้เหมือนของจริ ง ตัวอักษร “จังหวัดเพชรบูรณ์ ” สี แดงลายกนกไทย ล้อมรอบวงกลม เครื่ องหมายตราประจําจังหวัดสี ทองตัดเส้นสี แดงผืนธงยาว 250 เซนติเมตร กว้าง 150 เซนติเมตร ตามเครื่ องหมาย ประจําจังหวัดที่ประดิษฐ์อยูต่ รงกลางผืนธง มีความกว้างเส้นผ่าน ศูนย์กลางยาว 66 ซม. เทือกเขาเพชรบูรณ์น้ ี สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ ทรงขนานนามว่า ภูเขาบรรทัดและเขาปั นนํ้ายาสู บพื้นเมืองเพชรบูรณ์ พระองค์ก็ได้ทรงรับรองว่า มี คุ ณภาพเป็ นยอดเยี่ ย มกว่า ยาสู บ ที่ อื่ นทั้ง หมดทัว่ เมื อ งไทย ซึ่ งได้ท รงนิ พ นธ์ ไ ว้ใ นหนัง สื อ ชื่ อ “นิทานโบราณคดี” นิทานที่ 10 เรื่ องความไข้เมืองเพชรบูรณ์ ต้ นไม้ ประจาจังหวัด คือ ต้นมะขาม ดอกไม้ ประจาจังหวัด คือ ดอกมะขาม


4

ประวัติความเป็ นมา จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็ นเมื องโบราณที่ ยงั ไม่ป รากฏหลักฐานชัดเจนว่าใครสร้ า งเมื องนี้ ข้ ึ น เมื่อใดสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุ ภาพทรงวิเคราะห์ว่า จังหวัดเพชรบูรณ์ สร้ างขึ้นมา 2 ยุคใน แห่ งเดี ยวกัน วัดมหาธาตุและวัดโบราณเป็ นหลักฐานยืนยันว่า ยุคแรกสร้างเมื่อเมืองเหนื อ คือ กรุ ง สุ โขทัย หรื อพิษณุ โลกเป็ นเมืองหลวง มีลา้ นนาอยูก่ ลางเมือง กําแพงเมืองกว้างยาวด้านละ 800 เมตร วัดมหาธาตุ ประวัติความเป็ นมา สันนิ ษฐานจากลานทองจารึ กที่ขุดพบในพระเจดี ยห์ ลัง อุโบสถว่า พระเจ้าเพชรบูรณ์เป็ นผูส้ ร้างวัดนี้ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 1926 และได้สร้างพระเจดียบ์ รรจุ พระพุ ท ธรู ป บู ช า และพระเครื่ อ งปี พ.ศ. 2447 สมเด็ จ กรมพระยาดํา รงราชานุ ภ าพ เสด็ จเมื อ ง เพชรบูรณ์ รับสั่งให้เจ้าเมื องเพชรบูรณ์ เกณฑ์ผคู ้ นมาถางต้นไม้บริ เวณวัด และองค์พระเจดี ย ์ แล้ว เสด็ จ มานมัส การพระปฏิ ม ากร พระเจดี ย ์ และ กระทํา พิ ธี บ วงสรวง ปลายปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ภายหลัง เสด็จขึ้ นเถลิ งถวัลยราชสมบัติแล้ว มีพระราชพิธีราชาภิเษก ทรงรับนํ้าจากสระมน (ปั จจุบนั ถมตื้นเขินหมด แล้ว) ในวัดมหาธาตุ ไปร่ วม ในพระราชพิธี17 ถนนนิกรบํารุ ง ตําบลในเมือง อําเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 17 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวาตามโฉนดที่ดินเลขที่ 830 เล่ม 9 หน้า 30 อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับที่ดินของเอกชน ทิศใต้ติดต่อกับคลองตลุก ทิศตะวันออกติดต่อกับถนน นิกรบํารุ ง และทิศตะวันตกติดต่อกับที่ดินของเอกชน

ภาพ 1 แสดงวัดมหาธาตุ เพชรบูรณ์


5

สิ่ งสําคัญภายในวัด พระเจดียใ์ หญ่ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ก่อด้วยอิฐ ฐานศิลาแลง สันนิ ษฐานว่า สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ.1926 และเป็ นที่บรรจุพระบรมสารี ริกธาตุ อัฐิพระอรหันต์ พระบูชาและพระ เครื่ องแบบต่าง ๆ ยอดเจดี ยห์ ัก ชํารุ ด ลักษณะเจดี ยค์ ล้ายกับเจดี ยท์ ี่อยู่ในเมื องเก่าสุ โขทัย คื อเจดี ย ์ แบบดอกบัวตู มอยู่บนยอดเรี ยกว่าเจดี ย ์ ทรงพุ่ม ข้าวบิ ณฑ์แบบสุ โขทัย พระเจดี ย ์องค์เล็ ก 2 องค์ พระพุทธรู ปสมัยอู่ทอง ตอนต้น 2 องค์ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 36 นิ้ว องค์ที่ 1 ประดิษฐานเป็ นพระประธานในอุโบสถ (หลวงพ่องาม)

ภาพ 2 แสดงพระประธานในอุโบสถ (หลวงพ่องาม) องค์ที่ 2 ประดิษฐานในวิหารวัดมหาธาตุ (หลวงพ่อเพชรมีชยั ) อาคารเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม 1 หลัง ศาลาการเปรี ย ญ 1 หลัง ปั จ จุ บ ัน พระเทพรั ต นกวี (สุ ริน ทร์ ชุ ติ น ธโร) เจ้า คณะจัง หวัด เพชรบูรณ์ เป็ นเจ้าอาวาส


6

สมัยอยุธยา สร้างในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีป้อมและกําแพงก่อด้วยอิฐปูนศิลาแต่เล็กและ เตี้ยกว่า มีแม่น้ าํ อยู่กลางเมือง กําแพงเมื องขนาดเล็กลง ตั้งอยู่ทางป้ อมด้านเหนื อ เพื่อป้ องกันศัตรู ส่ ว นทางด้า นใต้เ ป็ นไร่ น า จากหลัก ฐานการค้น พบซากโบราณสถานและจากหลัก ฐานทาง ประวัติศ าสตร์ ที่ ค ้นพบในเมื องศรี เทพเพชรบู รณ์ มี อายุมากกว่า 1,000 ปี สร้ างขึ้ นในระยะเวลา ใกล้เคียงกับเมืองพิมาย จังหวัดลพบุรี และจังหวัดจันทบุรี

ภาพ 3 แสดงโบราณสถานเมืองศรี เทพ ดังหลักฐานที่ปรากฏ เช่น ซากตัวเมืองและพระปรางค์ บริ เวณที่ต้ งั ของเมืองเป็ นที่ราบ มีกาํ แพงดิ น สู ง รอบเมื อ งและล้อ มรอบด้ว ยคู เ มื อ ง ภายในเมื อ งมี พ ระปรางค์ ซากเทวสถาน รู ป เทพารั ก ษ์ พระนารายณ์ รู ปยักษ์สลักด้วยศิลาแลง เช่นเดียวกับเมืองพิมาย จังหวัดลพบุรี และจังหวัดจันทบุรี จึง เป็ นหลักฐานแสดงให้เห็นว่าเป็ นฝี มือของขอมที่ได้รับอารยธรรมจากอินเดีย


7

สมัยสุ โขทัย ในสมัยสุ โขทัยลายพระหัตถ์เกี่ยวกับเพชรบูรณ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ ากรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์ มีความว่าเดิมจะ ตั้งชื่อเมือง เพชรบูร ให้ใกล้เคียงกับเพชรบุรี แปลว่า เมืองแข็ง แต่ชื่ออาจใกล้เคียงกันมากเกินไปจึง ตั้งชื่อว่า เพชรบูรณ์ สันนิษฐานว่าตั้งชื่อรุ่ นเดียวกับเมืองพิษณุ โลก คาดว่าเพชรบูรณ์ อาจมาจากคําว่า พืช ในประเทศอินเดียมีเมืองโบราณชื่อ BIJURE เทียบได้กบั พืชปุระ ชื่อเมืองเพชรบูรณ์เขียนได้ 2 แบบ คือ เพชรบูรณ์ และเพชรบูร จากศิลาจารึ กสมัยสุ โขทัย(หลักที่ 53) จากวัดอโศการาม (พ.ศ. 1949) มีขอ้ ความอ้างอิงถึงจังหวัดเพชรบูรณ์ ดังนี้ “รัฐมณฑลกว้างขวางทั้งปราศจากอันตรายและ นํามาซึ่ งความรุ่ งเรื อง รัฐสี มาของพระราชาผูท้ รงบุญญสมภาคองค์น้ นั เป็ นที่รู้จกั กันอยูว่ า่ ในด้านทิศ ตะวันออกทรงทําเมืองวัชชะปุระเป็ นรัฐสี มา ด้านทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ทรงทําเมืองเชียงทองเป็ นรัฐ สี มา...” จากศิลาจารึ กนี้ ชื่ อเมืองเพชรบูรณ์อาจจะมาจากคําว่า “บุระ” หรื อ “ปุระ” แปลว่า ป้ อม หอ วัง ส่ วนคําว่า “บูรณ์ ” มาจากคําว่า “ปูรณ” แปลว่า “เต็ม” นายตรี อมาตกุล อธิ บายว่า “เมือง เพชรบูรณ์” อาจจะเป็ นเมืองราดก็ได้แต่ยงั ไม่มีหลักฐานเพียงพอ หลักฐานโบราณคดีช้ ี ชดั ว่า “เมือง เพชรบูรณ์” เป็ นรัฐสี มาของสุ โขทัย ได้แก่ พระเจดียท์ รงดอกบัวตูม หรื อทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ซึ่ งพระ ประธานของวัดมหาธาตุของสุ โขทัยและเมืองอื่น ๆ ซึ่ งจัดว่าเป็ นพุทธสถาปั ตยกรรมแบบสุ โขทัยแท้ และในการขุดค้นทางโบราณคดี ที่พระเจดียท์ รงดอกบัวตูม ที่วดั มหาธาตุเมืองเพชรบูรณ์ของกรม ศิลปกร เมื่อ พ.ศ. 2510 ค้นพบศิลปวัตถุจาํ นวนมาก เช่น เครื่ องสังคโลกของไทย และเครื่ องถ้วยกับ ตุก๊ ตาจีนสมัยอยุธยา สมัยอยุธยา ในสมัยอยุธยากฎหมายที่ตราขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ ว่าด้วยการเทียบศักดิ นาสําหรับข้าราชการ ที่มียศสู งสุ ดมีศกั ดินาหนึ่งหมื่น ได้แก่ ฝ่ ายทหาร จํานวน 12 ตําแหน่ง มีพระยา เพชรรัตน์สงคราม ตําแหน่งประจําเพชรบูรณ์ดว้ ย สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่ งกรุ งศรี อยุธยา (สมเด็จพระมหาธรรมราชา) ได้ทาสัมพันธไมตรี กบั พระไชยเชษฐาธิ ราชแห่ งนครเวียงจันทน์ เพราะ เกรงว่าสมเด็จพระมหาธรรมราชาจะยกทัพมาตีสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระไชยเชษฐาธิ ราช ได้ ปฏิบตั ิตามสัญญาพันธมิตร ณ เจดียศ์ รี สองรักษ์ อีก 5 ปี ต่อมาพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองยกทัพมาตี กรุ งศรี อยุธยาอีกครั้งหนึ่ง ทัพพระไชยเชษฐาส่ งกองทัพมาช่วยทางด่านเมืองนครไทย เข้ามาทางเมือง เพชรบูรณ์ ผ่านมาทางเมืองสระบุรีเวลารบนาน 9 เดือน จึงเสี ยกรุ งศรี อยุธยา ราวปี พ.ศ. 2100 สมัย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ที่กล่าวถึงเมืองเพชรบูรณ์ดงั ต่อไปนี้ พระยาละแวก เจ้าแผ่นดินเขมร ยก


8

ทหารมา 3 หมื่นคน เข้ามาทางเมืองนครนายก สมเด็จพระมหาธรรมราชาเกรงว่าจะตั้งรับทัพเขมร ไม่ได้ เพราะถูกพระเจ้าหงสาวดีกวาดต้อนเอาทหารและอาวุธไป เมื่อกรุ งแตกสมเด็จพระมหาธรรม ราชาทรงมีบญั ชาให้ขุนเทพอรชุน จัดเตรี ยมเรื อพระที่นง่ั และเรื อประทับเสด็จไปที่เมืองพิษณุ โลก เพื่อให้พน้ ศัตรู ก่อน ขณะนั้นพระเพชรรัตน์ เจ้าเมืองเพชรบูรณ์ มีความผิด จึงถูกปลดออกจาก ตําแหน่ ง มีข่าวลื อไปถึ งเมืองหลวงว่า พระเพชรรัตน์โกรธและคิดซ่ องสุ มคนเพื่อดักปล้นกองทัพ หลวง สมเด็จพระมหาธรรมราชาจึงไม่เสด็จไปที่พิษณุ โลกและตีทพั พระยาละแวกแตกไป ในสมัย พระมหาธรรมราชายังได้กล่าวถึง จังหวัดเพชรบูรณ์อีกว่า มีไทยใหญ่ที่เมืองกําแพงเพชรอพยพหนี พม่าและมอญมุ่งไปทางเมื องพิษณุ โลก ทรงเกรงว่าเป็ นพวกอื่นปลอมปนมาด้วย จึงอายัดด่ าน เพชรบูรณ์ เมืองนครไทย ชาติตระการไม่ให้ไทยใหญ่หนีไปได้ สมัยกรุ งธนบุรี พ.ศ. 2318 กองทัพพม่าโดย อะแซหวุน่ กี้ ยกทัพมาตีกรุ งธนบุรี ได้ลอ้ มเมืองพิษณุ โลกไว้ เจ้าพระยาจักรี (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช) และเจ้าพระยาสุ รสี ห์ ได้ตีฝ่านํา ทัพออกมาได้ และมาชุมนุมพักทัพสะสมเสบียงที่เมืองเพชรบูรณ์ สมัยรัตนโกสิ นทร์ ในช่ วงสมัยต้นกรุ งรั ตนโกสิ นทร์ ชื่ อเมืองเพชรบูรณ์ และศรี เทพ(สี เทพ) ยังปรากฏใน เอกสารสมุดไทยดําใบบอกข่าวการสวรรคตของรัชกาลที่ 2 ในฐานะหัวเมืองขึ้นกรมมหาดไทย ใน สมัยรัชกาลที่ 3 มีการยกฐานะของเมืองและเปลี่ยนชื่อเมืองจากศรี เทพเป็ นวิเชียรบุรีและสร้างเมือง หล่มสักขึ้นโดย สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุ ภาพสันนิ ษฐานว่า เดิมบริ เวณหล่มเก่ามี “เมืองลม” หรื อ “เมืองหล่ม” ในสมัยสุ โขทัยซึ่ งเป็ นเมืองที่ชาวเวียงจันทน์และหลวงพระบางมาอาศัยอยูจ่ านวน มาก ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 มีการเปลี่ยนแปลงนามเจ้าเมืองเพชรบูรณ์และเมืองวิเชียรบุรี ซึ่ งใช้ชื่อ เดิมมาแต่สมัยอยุธยา ในสมัยรัชกาลที่ 5 ปี มีการรวบรวมหัวเมืองตามชายแดนที่สําคัญตั้งเป็ นเขต การปกครองใหม่ข้ ึนเป็ นมณฑล ในปี พ.ศ. 2442 มณฑลเพชรบูรณ์ได้ต้ งั ขึ้นเป็ นอิสระเนื่ องจาก ท้องที่มีภูเขาล้อมรอบ การคมนาคมกับมณฑลอื่นไม่สะดวก ลําบากแก่การติดต่อราชการ และโอน เมืองหล่มสัก อําเภอหล่มเก่า อําเภอวังสะพุง มาขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ ยุบเมืองวิเชียรบุรีเป็ นอําเภอ โอนอําเภอบัวชุม อําเภอชัยบาดาลขึ้นกับเมืองเพชรบูรณ์ มณฑลเพชรบูรณ์จึงมีสองเมือง คือ หล่มสัก กับเพชรบูรณ์ ผูบ้ ริ หารราชการเป็ นตําแหน่งข้าหลวงเทศาภิบาล ผูด้ าํ รงตําแหน่งคนแรก คือ พระยา เพชรรัตน์สงคราม(เฟื่ อง) พ.ศ. 2447 ได้ยบุ มณฑลเพชรบูรณ์และได้ต้ งั เป็ นมณฑลอีกในปี พ.ศ. 2450 และได้ยบุ อีกครั้งใน ปี พ.ศ. 2459 จังหวัดเพชรบูรณ์ในขณะนั้นมี 4 อําเภอ ได้แก่ อําเภอเมือง อําเภอ


9

วัดป่ า(หล่มสัก) อําเภอวิเชียรบุรี และกิ่งอําเภอชนแดน จนกระทัง่ พ.ศ. 2476 ได้ยกเลิกมณฑลต่าง ๆ ทัว่ ประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีหลักฐานเอกสารแสดงให้เห็นว่า ทุกอําเภอมีคนหลายเชื้ อชาติอาศัย อยูค่ ละกันไปทั้งชาวจีน พม่า ลาว เขมร เงี้ยว แขก มอญ มีอาชีพทําไร่ ยาสู บ ทํานา ทําไร่ ออ้ และเลี้ยง ไหม จากบทความในหนังสื อนิทานโบราณคดี พระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงกล่าวถึงเมืองศรี เทพและเมืองเพชรบูรณ์วา่ ขณะที่เป็ นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทรง ไปสื บเมืองโบราณและไม่มีใครรู ้วา่ เมืองศรี เทพอยูท่ ี่ใด ได้พบสมุดดําเป็ นหนังสื อให้คนเชิญตราไป บอกข่าวเรื่ องการสิ้ นรัชกาลที่ 2 ตามหัวเมืองสระบุรี เมืองชัยบาดาล เมืองศรี เทพ และเมืองเพชรบูรณ์ สําหรับพระราชพงศวดาล กรุ งรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลที่ 4 ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ เรื่ องทรงตั้งและ แปลงนามเจ้าเมืองกรมการ ซึ่ งมีว่า เจ้าเมืองเพชรบูรณ์ คือ พระเพชรพิชยั ปลัด แปลงเป็ นพระ เพชรพิชภูมิ หลักฐานที่ชดั เจนเป็ นพระราชนิพนธ์นิทาน โบราณคดีของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงรา ชานุ ภาพเรื่ อง “คนไข้เมืองเพชรบูรณ์ ” มี ว่า เมื องเกิ ดไข้มาลาเรี ยระบาดอย่างร้ ายแรง ที่เมือง เพชรบูรณ์ ไ ม่มี ผูใ้ ดอาสาไปรั บ ราชการด้ว ยความกลัวไข้ ท่ านจึ ง เสด็จไปตรวจราชการที่ เมื อง เพชรบูรณ์เอง เพื่อแสดงให้เห็นว่า ไข้มาลาเรี ยไม่ได้ร้ายแรงอย่างเช่นที่กลัวกัน ขณะที่ เตรี ยมตัวออกเดิ นทางก็มีคนห่ วงใยมาส่ งและให้พรคล้ายกับจะไปทําการรบ เมื่อ เสด็จถึงเมืองเพชรบูรณ์ ทรงกล่าว ว่า “ฉันไปถึงเมืองเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ท้องที่มณฑล เพชรบูรณ์ บอกแผนที่ได้ไม่ยาก ถือลําแม่น้ าํ ป่ าสักเป็ นแนวแต่เหนื อลงมาใต้มีภูเขาสู งเป็ นเทือกเขา ลงมา ตามแนวลํานํ้า ทั้งสองฟากเทือกเขาข้างตะวันออกเป็ นเขาปั นนํ้าต่อแดนมณฑลเพชรบูรณ์ เทือกเขาตะวันตกเป็ นเขาต่อแดนมณฑลพิษณุ โลก เทือกเขาทั้งสองข้างบางแห่ งก็ห่าง บางแห่ งก็ใกล้ แม่น้ าํ ป่ าสัก เมืองหล่ มสักที่อยู่สุดลํานํ้าทางข้างเหนื อ แต่ลงมาถึ งเมืองเพชรบูรณ์ ตรงที่ ต้ งั เมือง เพชรบูรณ์ เทือกเขาเข้ามาใกล้ลาํ นํ้าดูเหมือนจะไม่ถึง 400 เส้น แลเห็นต้นไม้บนภูเขาถนัดทั้ง 2 ฝั่ง ทําเลที่เมืองเพชรบูรณ์ตอนริ มนํ้าเป็ นที่ลุ่ม ฤดูน้ าํ นํ้าท่วมแทบทุกแห่ ง พ้นที่ลุ่มขึ้นไปเป็ นที่ราบ ทํา นาได้ผลดี เพราะอาจจะขุดเหมืองชักนํ้าจากห้วยเข้านาได้เช่ นเมืองลับแล พ้นที่ราบขึ้นไปเป็ นโคก สลับกับแอ่งเป็ นหย่อม ๆ ไปจนถึงเชิงเขาบรรทัด บนโคกเป็ นป่ าเต็งรังเพาะปลูกอะไรอย่างอื่นไม่ได้ แต่ตามแอ่งนํ้าเป็ นที่น้ าํ เพาะปลูกพันธ์ไม้งอกงามดี เมืองเพชรบูรณ์จึงสมบูรณ์ ด้วยกสิ กรรม จนถึง ชาวเมืองทํานา ครั้งเดียวก็ได้ขา้ วพอกินกันทั้งปี สิ่ งซึ่ งเป็ นสิ นค้าเมืองเพชรบูรณ์ก็คือ ยาสู บ เพราะรส ดีกว่ายาสู บที่อื่นทั้งหมดในเมืองไทย ชาวเมืองเพชรบูรณ์จึงหาผลประโยชน์ดว้ ยการปลูกยาสู บขาย


10

หลังจากที่สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเสด็จกลับถึงกรุ งเทพฯ ทรงยืนยันถึงประโยชน์ของ การไปครั้งนี้วา่ สามารถหาคนไปรับราชการในเมืองเพชรบูรณ์ได้ง่ายกว่าสมัยก่อนมาก นครบาลเพชรบูรณ์ ในระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ 2 และสงครามมหาเอเชี ยบูรพา กรุ งเทพฯ ถูกข้าศึกโจมตีจนประชาชนต้องอพยพออกต่างจังหวัด จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็ น นายกรัฐมนตรี เห็นสมควรย้ายเมืองหลวงไปอยูท่ ี่จงั หวัดเพชรบูรณ์ เพราะมีชยั ภูมิประเทศ เป็ นภูเขา ล้อมรอบ มีทางออกทางเดียว ศัตรู รุกรานยาก

ภาพ 4 แสดงศาลหลักเมืองนครบาลเพชรบูรณ์ ที่มา : www. wongnai.com คณะรัฐมนตรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็ นนายกรัฐมนตรี จึงได้ยกร่ างพระราชกําหนด สร้างนครบาลขึ้นชื่อว่า “พระราชกําหนดระเบียบการบริ หาร นครบาล เพชรบูรณ์ และสร้างพุทธบุรี พ.ศ.2487” การก่อสร้างเมืองหลวงใหม่ได้ดาํ เนิ นการโดยเร่ งด่วน และถือเป็ นความลับของราชการ ยุทธศาสตร์ ของชาติตลอดมา เพื่อมิให้ขา้ ศึกรู้แผนการ กระทัง่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2487 รัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงคราม ได้เสนอพระราชกําหนดระเบี ยบราชการบริ หารนครบาลเพชรบูรณ์ ฯ พ.ศ. 2487 ต่อสภาผูแ้ ทนราษฎร เพื่ออนุมตั ิเป็ นพระราชบัญญัติ มีผลดําเนินการอย่างถาวรตลอดไป แต่ในที่สุดสภาผูแ้ ทนราษฎรลงมติไม่อนุ มตั ิ ด้วยคะแนนเสี ยง 48 ต่อ 36 ด้วยเหตุผลว่า เพชรบูรณ์เป็ นแดนกันดารภูมิประเทศเป็ นป่ าเขาและมีไข้ชุกชุ ม เมื่อเริ่ มสร้ างเมืองนั้นผูท้ ี่ถูกเกณฑ์ ไปทางานล้มตายลงนับเป็ นพัน ๆ คน “อนุ สรณ์นครบาลเพชรบูรณ์แห่ งนี้ จึงสร้างขึ้นเพื่อรําลึกถึ ง บุญคุ ณและอัจฉริ ย ภาพของจอมพล ป. พิ บูลสงคราม นายกรั ฐมนตรี ในขณะนั้น และเพื่อคน


11

เพชรบู ร ณ์ จ ะได้ภู มิ ใ จในประวัติ ศ าสตร์ ช่ ว งหนึ่ ง และความเจริ ญ ก้า วหน้ า ของบ้า นเมื อ งตน” (www.phetchabun.go.th) สภาพทัว่ ไป จังหวัดเพชรบูรณ์มีตาํ แหน่งทางภูมิศาสตร์ ในเขตภาคเหนื อตอนล่างของประเทศไทย ลักษณะ ทางกายภาพนั้นเป็ นพื้นที่ราบลุ่ มแบบท้องกระทะ ประกอบด้วยเนิ นเขา ป่ า และที่ ราบเป็ นตอน ๆ สลับกันไป พื้นที่มีลกั ษณะลาดชันจากเหนื อลงไปใต้ ตอนเหนื อมีทิวเขาสู ง ตอนกลางเป็ นพื้นที่ราบ และมีเทือกเขาขนาบกันไปทั้งสองข้างมีลกั ษณะเป็ นรู ปเกือกม้า มีแม่น้ าํ ป่ าสักเป็ นแม่น้ าํ สายสําคัญ โดยไหลจากจังหวัดเลย เพชรบูรณ์ ผ่านไปสู่ จงั หวัดลพบุ รี สระบุรี และพระนครศรี อยุธยา ลงสู่ แม่น้ าํ เจ้าพระยา ตามลําดับ จึงส่ งผลให้พ้นื ที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย ดินมีสภาพอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชทําการเกษตร รวมทั้งส่ งเสริ มปั จจัยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มาตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบนั กล่าวถึ งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เมืองเพชรบูรณ์ น้ นั เริ่ มจาก ชื่ อของจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อครั้งโบราณน่าจะชื่ อว่าเมือง “เพชบุระ” ตามที่ปรากฏในจารึ กลานทองคํา ที่พบจากเจดียท์ รงพุ่ม ข้าวบิณฑ์ วัดมหาธาตุ ซึ่งหมายถึงเมืองแห่งพืชพันธุ์ธญ ั ญาหาร แต่ในระยะหลังต่อมาแปรเปลี่ยนเป็ น “เพชรบูรณ์ ” กลายความหมายเป็ นเมื องที่ อุดมด้วยเพชร และได้นาํ ไปใช้เป็ นส่ วนหนึ่ งของตรา สัญลักษณ์ประจําจังหวัด พื้นที่ของจังหวัดเพชรบูรณ์ มีหลักฐานการปรากฏอยู่ของชุ มชนในแถบลุ่มแม่น้ าํ ป่ าสักมา ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตอนปลาย จากนั้นได้รับอารยธรรมจากภายนอก ได้แก่ วัฒนธรรม ทวารวดี และวัฒนธรรมเขมรโบราณ ทําให้ชุม ชนเหล่ านั้นมี พ ฒ ั นาการด้านต่ าง ๆ จนกลายเป็ น สังคมเมืองขนาดใหญ่สืบมา เมื่อเข้าสู่ ช่วงสมัยสุ โขทัย เมืองเพชรบูรณ์ มีฐานะเป็ นเมืองแว่นแคว้น ของกรุ งสุ โขทัย และในสมัยกรุ งศรี อยุธยามีเมืองเพชรบูรณ์และเมืองศรี เทพเป็ นเมืองสําคัญต่อเนื่ อง จนถึ งช่ วงสมัยรั ตนโกสิ นทร์ ต่อมาได้มีการเปลี่ ยนแปลงและแบ่งเขตการปกครองอี กหลายครั้ ง จนครั้งหนึ่งเมืองเพชรบูรณ์เกือบมีฐานะเป็ นเมืองหลวงของประเทศไทยแทนกรุ งเทพ ฯ ในสมัยจอม พล ป.พิบูลสงคราม และหลังจากนั้นได้มีการปรับปรุ งพัฒนาด้านต่าง ๆ มากมาย จนกระทัง่ เป็ น เมืองเพชรบูรณ์ในปัจจุบนั จังหวัดเพชรบูรณ์เป็ นจังหวัดที่มีแนวเขตติดต่อระหว่างภาคเหนื อภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ และภาคกลางประมาณเส้นรุ ้ งที่ 16 องศาเหนื อกับเส้นแวงที่ 101 องศาตะวันออกมี พ้ืนที่ประมาณ


12

12,668.416 ตารางกิ โ ลเมตรหรื อประมาณ 7,917,760 ไร่ ส่ วนที่ ก ว้า งที่ สุ ดของจัง หวัดจากด้า น ตะวันออกถึงตะวันตกกว้าง 55 กิโลเมตร ส่ วนที่ยาวที่สุดวัดจากเหนื อสุ ดถึงใต้สุดยาว 296 กิโลเมตร และสู ง จากระดับ นํ้า ทะเลประมาณ 114 เมตร โดยอยู่ห่า งจากกรุ ง เทพมหานคร 349 กิ โลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 12 อาณาเขตติดต่ อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดเลย ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดลพบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดขอนแก่นและชัยภูมิ ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดพิษณุ โลกนครสวรรค์และพิจิตร การปกครอง จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้ อที่ประมาณ 12,668 ตารางกิ โลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็ น 11 อําเภอ คือ อําเภอเมืองเพชรบูรณ์ อําเภอหล่มสัก อําเภอหล่มเก่า อําเภอชนแดน อําเภอหนองไผ่อาํ เภอ บึงสามพัน อําเภอวิเชียรบุรี อําเภอศรี เทพ อําเภอวังโป่ ง อําเภอนํ้าหนาว และอําเภอเขาค้อ ระยะทางจากอาเภอเมืองไปอาเภอต่ าง ๆ อําเภอหล่มสัก 44 กิโลเมตร อําเภอเขาค้อ 47 กิโลเมตร อําเภอชนแดน 52 กิโลเมตร อําเภอหล่มเก่า 55 กิโลเมตร อําเภอหนองไผ่ 56 กิโลเมตร อําเภอวังโป่ ง 70 กิโลเมตร อําเภอบึงสามพัน 83 กิโลเมตร อําเภอวิเชียรบุรี 106 กิโลเมตร การเดินทาง มีเส้ นทางคมนาคมทางรถยนต์หลายเส้ นทาง แต่ยงั ไม่มีเส้ นทางคมนาคมรถไฟ เส้ นทาง หลักคือทางหลวงหมายเลข 21 สายสระบุรี-หล่มสัก และทางหลวงหมายเลข 12 เส้นทางคมนาคม แนวพื้นที่เศรษฐกิ จตะวันออก-ตะวันตก(East-West Economic Corridor) เชื่ อมโยงประเทศพม่า-


13

ไทย-ลาว-เวียดนาม ตามโครงการพัฒนาความร่ วมมื อทางเศรษฐกิ จในอนุ ภูมิภาคลุ่ มนํ้าโขงหรื อ GMS (Greater Mekong Sub region: GMS) ซึ่ งสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งด้านการค้า การลงทุ น และการท่องเที่ ยว เชื่ อมต่อกับแนวพื้นที่ เศรษฐกิ จเหนื อ-ใต้ (North-South Economic Corridor) ไปยังประเทศจีน-พม่า-มาเลเซี ย ระยะทางประมาณ 1,280 กิโลเมตร ผ่านสี่ แยกอินโดจีน ในพื้นที่จงั หวัดพิษณุ โลก การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดเพชรบูรณ์มีสนามบินอยูห่ ่ างจากตัวเมืองเพชรบูรณ์ไปทาง เหนือ ประมาณ 30 กิโลเมตร ซึ่ งมีศกั ยภาพในการควบคุมการขนส่ งทางอากาศในเขตรับผิดชอบ ให้ เป็ นไปตามตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ การให้บริ การ อํานวยความสะดวกความปลอดภัยแก่ อากาศยาน ผูโ้ ดยสาร และบุคคลอื่นที่ใช้บริ การท่าอากาศยาน รวมทั้งการขนส่ งสิ นค้า สัมภาระ และ ไปรษณี ยภัณฑ์ทางอากาศ ดําเนินการเกี่ยวกับการป้ องกัน แก้ไขปั ญหาการก่อวินาศกรรม อุบตั ิเหตุ ที่ เกิ ดกับอากาศยานและท่าอากาศยาน รวมทั้งจัง หวัดใกล้เคี ย งด้วย ซึ่ งปั จจุ บนั ไม่มี การให้บ ริ การ ผูโ้ ดยสาร รถยนต์ สามารถใช้เดินทางได้ 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางแรก จากกรุ งเทพมหานคร ใช้ทาง หลวงหมายเลข 1 ถึ งจังหวัดสระบุรีเลยไปจนถึ งสวนพฤกษศาสตร์ พุแค ตรงกิ โลเมตรที่ 125 แยก ขวามื อเข้าทางหลวงหมายเลข 21 ผ่านอํา เภอชัย บาดาล อําเภอศรี เทพ อําเภอวิเชี ยรบุ รี ต่อไปอี ก ประมาณ 221 กิโลเมตร ถึงจังหวัดเพชรบูรณ์ รวมระยะทางประมาณ 346 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ 5 ชัว่ โมง เส้นทางที่สอง จากกรุ งเทพมหานคร ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิ น ถึง อําเภอวังน้อยแล้ว แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32 ผ่านจังหวัดพระนครศรี อยุธยา อ่างทอง สิ งห์บุรี ชัยนาท เข้านครสวรรค์แล้วใช้ทางหลวงหมายเลข 117 ตรงเข้าจังหวัดพิษณุ โลก จากนั้นใช้ทางหลวง หมายเลข 12 สายพิษณุโลก - หล่มสัก ผ่านเขาค้อ - หล่มสัก เข้าจังหวัดเพชรบูรณ์ รวมระยะทาง 547 กิ โลเมตร รถโดยสารประจํา ทาง บริ ษ ทั ขนส่ ง จํา กัด มี บ ริ ก ารเดิ นรถปรั บ อากาศชั้น 2 และรถ ธรรมดากรุ งเทพฯ - เพชรบูรณ์ - หล่มสัก ออกจากสถานีขนส่ งหมอชิต 2นอกจากนี้ยงั มีบริ ษทั เอกชน บริ การเดินรถปรับอากาศชั้น 1 ลักษณะภูมิประเทศ สภาพ ภูมิประเทศทัว่ ไปของจังหวัดเพชรบูรณ์ ประกอบด้วยภูเขาเพชรบูรณ์ เป็ นรู ปเกือกม้า รอบพื้นที่ดา้ นเหนือของจังหวัด เป็ นแนวขนานกันไปทั้งสองข้าง ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก คิด เป็ นเนื้ อที่ ประมาณ ร้ อยละ 40 ของพื้นที่ ท้ งั หมด มี พ้ืนที่ ราบอยู่ตอนกลางและอําเภอด้า นใต้ของ


14

จังหวัด เป็ นพื้นที่ลาดชันจากเหนือลงใต้ มีพ้นื ที่ป่าไม้ 3,624,830 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 45.78 มีแม่น้ าํ ป่ า สัก เป็ นแม่น้ าํ สายสําคัญที่สุดของจังหวัด ไหลผ่านตอนกลางของจังหวัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ ยาว ประมาณ 350 กิ โลเมตร ต้นนํ้าเกิดจากภูเขาผาลาในจังหวัดเลย มีห้วยลําธารหลายสายเกิดจากภูเขา เพชรบูรณ์ แม่น้ าํ ป่ าสักไหลผ่านอําเภอหล่มเก่า หล่มสัก เมืองเพชรบูรณ์ หนองไผ่ บึงสามพัน วิเชี ยร บุรีและศรี เทพ ลักษณะภูมิอากาศ เนื่ องจากพื้นที่ จงั หวัด มี ภูเขาล้อมรอบจึ งทําให้อากาศร้ อนจัดในฤดู ร้อน หนาวจัดในฤดู หนาว โดยเฉพาะพื้นที่อาํ เภอนํ้าหนาว เขาค้อ และหล่มเก่า จะมีอากาศหนาวที่สุด และบนพื้นที่ภูเขา จะมี อากาศเย็นตลอดทั้ง ปี ในฤดู ร้อนและฤดู ฝน จะมี อุณหภู มิ 20-24 องศา ฤดู ร้อนเริ่ มในเดื อน มี นาคม ถึ ง เมษายน ฤดู ฝ นเริ่ ม เดื อนพฤษภาคมถึ ง ตุ ล าคม และฤดู หนาวในเดื อนพฤศจิ ก ายนถึ ง กุมภาพันธ์ของทุกปี สภาพทางเศรษฐกิจ จังหวัดเพชรบูรณ์โดยส่ วนใหญ่ข้ ึนอยูก่ บั อาชี พและผลผลิตทางการเกษตรกรรม โดยมีการ ทาไร่ ยาสู บ มากเป็ นอันดับหนึ่ง และรองลงมาได้แก่การทาสวนผลไม้ ที่ทาชื่อเสี ยงให้มากที่สุด คือ มะขามหวาน นอกจากนี้ มีการปลูกพืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และมีอาชีพอื่น ๆ ที่สร้างรายได้ให้กบั ประชากรชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ เช่น ธุ รกิจการท่องเที่ยว การป่ าไม้ การปศุสัตว์ การค้าขาย และการ อุตสาหกรรม ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อ คนต่อปี 61,497 บาท/คน/ปี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม จังหวัดเพชรบูรณ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม หลายชนิด ดังนี้ 1. แหล่งนํ้าธรรมชาติ ประกอบด้วยแม่น้ าํ ป่ าสัก ลุ่มนํ้าเชิ ญ ลุ่มนํ้าเข็ก ซึ่ งเป็ นแหล่งต้นนํ้า ของแม่น้ าํ สายต่าง ๆ 2. ป่ าไม้ในจังหวัดเพชรบูรณ์มีเนื้ อที่ 2,006.51 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่จงั หวัด เป็ นป่ าสงวนแห่งชาติ จํานวน 13 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 2 แห่ ง เขตห้าม ล่าสัตว์ป่า 2 แห่ ง สวนรุ กขชาติ 3 แห่ ง วนอุทยาน 1 แห่ ง สามารถจําแนกตามเขตการ ใช้ประโยชน์ ทรัพยากรที่ดินและป่ าไม้ ได้แก่ เขตเพื่อการอนุรักษ์ เขตเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ


15

ส่ วนที่ 2 สภาพทัว่ ไปของตาบลเขาค้ อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สภาพทัว่ ไปของตาบลเขาค้ อ อําเภอเขาค้อ ตั้งอยูท่ างทิศตะวันตกของจังหวัดเพชรบูรณ์ ระยะห่ างจากจังหวัดเพชรบูรณ์ ประมาณ 47 กิโลเมตร ห่างจากอําเภอหล่มสักประมาณ 51 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ปกครองประมาณ 1,333 ตารางกิ โลเมตร หรื อประมาณ 833,125 ไร่ พื้ นที่ ส่วนใหญ่ เป็ นป่ าและภูเขาน้อยใหญ่ มากมาย สลับซับซ้อนคล้ายกับทะเลภูเขา บางแห่ งสู งชันมาก จากระดับ นํ้าทะเลตั้งแต่ 500 - 1,400 เมตร เขา ค้อเป็ นชื่อเรี ยกรวมบริ เวณเทือกเขาน้อยใหญ่ของเทือกเขาเพชรบูรณ์ สําหรับสภาพป่ า พื้นที่แถบนี้ จะ เป็ นป่ าเต็งรัง หรื อป่ าผลัดใบ ป่ าสน ป่ าดินแดง ที่น่าสนใจ คือ “ต้นค้อ” ซึ่ งเป็ นพันธุ์ไม้ตระกูลปาล์ม ลักษณะคล้ายต้นตาล แต่มีผลออกมาเป็ นทลายคล้ายหมากพบทัว่ ไป ความเป็ นมาสมรภูมิเขาค้ อ เนื่ องจากเขาค้อ มีสภาพภูมิประเทศที่เป็ นป่ ารกทึบสู งชันยากต่อการตรวจการณ์ทางอากาศ และทาง พื้นดิน นอกจากนี้ ตามเทือกเขาต่าง ๆ ยังมีถ้ าํ อยูม่ ากมายเหมาะสําหรับเป็ นที่หลบซ่ อนและ สะสมอาวุธ เสบี ย งไว้เป็ นอย่า งดี โดยบริ เวณที่ ราบลุ่ มเชิ ง เขาค้อ เขาปู่ เขาย่า ยัง เป็ นแหล่ ง อุ ดม สมบู รณ์ เหมาะแก่ ก ารเพาะปลู ก พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทย จึ ง เล็ ง เห็ นว่า เป็ นชัย ภู มิ ที่ เหมาะสมอย่างยิง่ ในการที่จะเข้ามาเผยแพร่ ลทั ธิ คอมมิวนิ สต์ และทําสงครามกองโจร เพื่อปฏิวตั ิยึด อํานาจรัฐบาล จุดกาเนิดแห่ งสงครามความขัดแย้ ง สถานการณ์ การก่ อการร้ าย เริ่ มขึ้ นเมื่อปี พ.ศ. 2508 ในขั้นต้นนั้นพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ ง ประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย เข้าแทรกซึ มมาจากแนวชายแดนด้านทิศเหนื อได้ ยึดเอาภูหินร่ องกล้าเป็ นที่มนั่ หลังจากนั้น พรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์


16

แห่งประเทศไทย ได้ขยายงานรุ กเข้าไปในเขตพื้นที่เขาค้อ เพื่อเตรี ยมสถาปนาเขาค้อให้เป็ นฐานที่มนั่ ในการรุ กต่อไป เนื่ องจากเขาค้อ มีสภาพภูมิประเทศที่เป็ นป่ ารกทึบสู งชันยากต่อการตรวจการณ์ทางอากาศ และทางพื้นดิ น นอกจากนี้ ตามเทือกเขาต่าง ๆ ยังมีถ้ าํ อยูม่ ากมายเหมาะสําหรับเป็ นที่หลบซ่ อนและ สะสมอาวุธ เสบี ย งไว้เป็ นอย่า งดี โดยบริ เวณที่ ราบลุ่ มเชิ ง เขาค้อ เขาปู่ เขาย่า ยัง เป็ นแหล่ ง อุ ดม สมบู รณ์ เหมาะแก่ ก ารเพาะปลู ก พรรคคอมมิ วนิ ส ต์แ ห่ ง ประเทศไทยจึ ง เล็ ง เห็ นว่า เป็ นชัย ภู มิ ที่ เหมาะสมอย่างยิ่งในการที่จะเข้ามาเผยแพร่ ลทั ธิ คอมมิวนิ สต์และทําสงครามกองโจร เพื่อปฏิวตั ิยึด อํา นาจรั ฐ บาล จนในปี พ.ศ. 2511 พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทย พรรคคอมมิ วนิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทย ได้เข้ามาปฏิบตั ิงานในเขตรอยต่อ 3 จังหวัด คือ พิษณุ โลก เลย เพชรบูรณ์ โดยมีสหาย ดิ่งเป็ นหัวหน้าในการเข้ามาปลุกระดมมวลชน ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นราษฎรชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง

ภาพ 5 แสดงยุทธภูมิเขาค้อ ที่มา : https://www.matichon.co.th กระทัง่ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2511 พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์ แห่ งประเทศไทย จํานวนหนึ่ งนําโดยสหายพิชยั ได้จดั กําลังเข้าโจมตีอาสาสมัครคุ ม้ ครองหมู่บา้ น บ้านห้วยทรายเหนื อและได้ประกาศให้วนั นั้นเป็ นวันเสี ยงปื นแตกทําให้เจ้าหน้าที่บาดเจ็บเสี ยชี วิต


17

หลายนายและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่ งประเทศไทย ยังได้ยึดอาวุธ ยุทโธปกรณ์ไปได้บางส่ วน จากนั้นยังคงส่ งกําลังเข้าโจมตีฐานปฏิ บตั ิการของฝ่ ายรัฐบาลหลายครั้ง ทําให้มวลชนส่ วนใหญ่เกรงกลัวอิทธิ พลของพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์ แห่งประเทศไทย ประกอบกับการโฆษณาชวนเชื่อของผูก้ ่อการร้าย ทําให้มวลชนอพยพเข้าไปอยูใ่ น ป่ าร่ วมเป็ นสมัครพรรคพวกกับพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศ ไทย และได้จดั ตั้งสํานักอํานาจรัฐขึ้นมา ลาดับเหตุการณ์ สมรภูมิเขาค้ อ ปี พ.ศ. 2501-2502

มีการอพยพเข้ามาของกลุ่มชาติพนั ธุ์มง้

ปี พ.ศ. 2504-2506

รัฐบาลสํารวจประชากรเพื่อออกบัตรประชาชน

ปี พ.ศ. 2507

รัฐบาลออกบัตรประชาชานให้ชาวม้ง

ปี พ.ศ. 2508-2510

มีการปลุกระดมมวลชลของพรรคอมมิวนิสต์

ปี พ.ศ. 2511

มี การต่อสู ้ กนั ของพรรคอมมิ วนิ สต์ในเขตรอยต่ อ 3 จังหวัด คื อ พิษณุโลก เลย และเพชรบูรณ์

ปี พ.ศ. 2515-2516

รัฐสร้ างถนนเข้าหมู่บา้ นเล่าลื อ โดยแยกจากถนนสายพิษณุ โลก หล่มสัก บริ เ วณกิ โ ลเมตรที่ 100 แคมป์ สน แต่ ถู ก ขัด ขวางจาก พรรคคอมมิวนิสต์

ปี พ.ศ. 2519

ในหลวงรัชการที่ 9 เสด็จเยีย่ มค่ายสฤษดิ์เสนา จังหวัดพิษณุ โลก

ปี พ.ศ. 2526

กองทัพ ภาคที่ 3 ขออนุ ญาตกรมป่ าไม้ อนุ ญาตให้ใ ช้พ้ื นที่ โดย กําหนดระยะเวลาในการใช้ประโยชน์ 30 ปี บริ เวณบ้านเล่ าลื อ เพชรดํา 5,625 ไร่

ปี พ.ศ. 2526

การสู ้รบบนพื้นที่เขาค้อยุติลง

หลังจากนั้นการสู ้รบก็ยงั คงมีต่อไปเรื่ อย ๆ ชี วิตของทหารผูก้ ล้าต้องพลีชีพไปกับสงคราม มากขึ้ น ในวันที่ 20 มกราคม 2524 - 19 กุ มภาพัน ธ์ 2524 ยุทธการผาเมื องเผด็จ ศึ ก 1 ของรอง อํานวยการผสมพลเรื อน ตํารวจทหารที่ 1617 ก็สามารถเผด็จศึกและยึดเขาค้อได้สําเร็ จ แล้วยุทธการ ผาเมื องเผด็ จศึ ก 2 ก็ ตามมาในวันที่ 20 กุ ม ภาพันธ์ 2524 - 10 เมษายน 2524 ผลการปฏิ บตั ิ งาน


18

สามารถกวาดล้างและทําลายฐานที่มนั่ ของ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ได้สําเร็ จ แต่อิทธิ พล ที่ยงั คงหลงเหลื ออยู่ทาํ ให้ตอ้ งเปิ ดยุทธการหักไพรี ข้ ึ นตามด้วย ยุทธการผาเมื องเกรี ยงไกรที่ หมาย บริ เวณภูขดั ภูเมี่ยง ทําให้ฝ่ายเราสามารถเข้ายึดพื้นที่ได้สําเร็ จ มีมวลชนเข้ามอบตัวเป็ นผูพ้ ฒั นาชาติ ไทยเป็ นจํานวนมาก ประวัติพรรคคอมมิวนิสต์ แห่ งประเทศไทย กลุ่มเขาค้ อ เมื่อปี พ.ศ. 2511 พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ได้ส่งสมาชิ กเข้ามาปฏิ บตั ิงานในเขต รอยต่อ 3 จังหวัด (พิษณุโลก, เพชรบูรณ์, เลย) รวม 9 หน่วย คือ 1. หน่วยสหายสมหวัง 2. หน่วยสหายคําเพชร 3. หน่วยสหายชู 4. หน่วยสหายพิชยั 5. หน่วยสหายสด 6. หน่วยสหายทัด 7. หน่วยสหายเจริ ญ 8. หน่วยสหายรวม 9. หน่วยสหายชิวา 1.หน่วยสหายสดโดยมีสหายดัง่ (นายดําริ ห์) เป็ นหัวหน้า ได้เข้ามาปลุกระดมมวลชน ซึ่ งส่ วน ใหญ่เป็ นราษฎร์ ชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง ซึ่ งอาศัยอยู่กระจัดกระจายตามเทือกเขาต่าง ๆ ในเขตบริ เวณ รอยต่อ 3 จังหวัด ซึ่ งต่อมากลางปี 2511 พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยกลุ่มดังกล่าว ได้จดั ตั้ง ทหารหลัก โดยแบ่งหน้าที่รับผิดชอบออกเป็ น 3 ชุด คือ ชุดที่ 1 มีหน้าที่รับผิดชอบ บริ เวณภูหินร่ องกล้า ภูข้ ีเถ้า และบ้านทับเบิก ชุดที่ 2 มีหน้าที่รับผิดชอบ บริ เวณเขาค้อ ชุดที่ 3 มีหน้าที่รับผิดชอบ บริ เวณที่ราบของอําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยแต่ละชุดจะเปิ ดโรงเรี ยนการเมือง การทหาร


19

พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย กลุ่มเขาค้อ มีชื่อ รหัสเขตงานว่า เขต ข.33 ปฏิบตั ิงานด้านการเมืองการทหารครอบคลุมพื้นที่ อําเภอหล่มสัก อําเภอ เมือง อําเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ อําเภอเนินมะปราง รวมทั้งพื้นที่บางส่ วนของ อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุ โลกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย กลุ่มเขาค้อ มี ฐ านที่ ม ั่น ประกอบด้ว ย สํ า นัก อํา นาจรั ฐ โรงเรี ย นการเมื อ งการทหาร สํา นัก พลเขตนายร้ อ ย พลาธิ การ สํานักทหารช่าง สํานักเคลื่อนที่กองร้อยทหารหลัก 515 กองร้อยทหารหลัก 520 พยาบาล เขตและคลังเสบียง อาวุธ รวมทั้งหมู่บา้ นปลดปล่อยในอิทธิ พล คือ บ้านภูชยั บ้านแสงทอง หลักชัย ชิ งชัย กล้าบุก ทุ่งแดง รวมพลัง รวมสู ้ ต่อสู ้ (ไม่ปรากฏในแผนที่เพราะเป็ นที่จดั ตั้ง) ฐานที่มนั่ และ หมู่บา้ นในอิทธิ พลเหล่านี้กระจายอยูต่ ามเทือกเขาต่าง ๆ บริ เวณบ้านหนองแม่นา บ้านสะเดาะพง เขา ค้อ เขาย่า เขาหลังถํ้า รวมพื้นที่ฐานมัน่ พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ ง ประเทศไทย ประมาณ 50 ตารางกิโลเมตร

ภาพ 6 แสดงการสู้รบยุทธภูมิเขาค้อ ที่มา : www.khaokho.com เมื่ อ 20 พฤศจิ ก ายน 2511 พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แ ห่ ง ประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทย กลุ่ ม เขาค้อประกาศวันเสี ย งปื นแตก ด้วยการเข้า โจมตี หมู่ บ ้า นเล่ า ลื อ มี เจ้า หน้า ที่ บาดเจ็บล้มตายและพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ได้ยึด


20

อาวุธยุทโธปกรณ์บางส่ วน จากนั้นได้โฆษณาชวนเชื่ อชาวเขาเผ่าม้ง บริ เวณนี้ วา่ เจ้าหน้าที่จะทําการ แก้แค้นด้วยการกวาดล้างและฆ่าชาวม้งทุกคนจึงเป็ นเหตุให้ชาวเขาเหล่านี้ เกิดความหวาดกลัวต่างพา กันอพยพเข้าร่ วมเป็ นสมัครพรรคพวกกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ ง ประเทศไทย กลุ่มเขาค้อเป็ นต้นมา เมื่อพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ ง ประเทศไทย กลุ่มเขาค้อมีกาํ ลังแข็งแผ่อิทธิ พลครอบคลุ มชาวเขาประมาณ 3,000 คน เหล่านี้ ไว้ได้ ทั้งหมด ประมาณปี 2513 พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ได้จดั ตั้งกองร้ อยเคลื่ อนที่เร็ ว 515 และกองกําลังติดอาวุธ 511 นั้นมีหน้าที่เขตรับผิดชอบ กองร้ อย 515 แบ่งกําลังออกเป็ น 2 ส่ วน - ส่ วนที่ 1 ปฏิ บตั ิงานด้านการเมือง ตามหมู่บา้ นพื้นราบเชิ งเขา เขตอําเภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ์ - ส่ วนที่ 2 กลางเมืองตามหมู่บา้ นพื้นราบเชิงเขาเขต กิ่งอําเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุ โลก ประมาณปี พ.ศ. 2514 ยุบกองร้ อย 515 กับกองร้ อย 511 รวมกันเป็ นกองร้ อย 515 ต่อมาปี พ.ศ. 2520 ได้ยกระดับทหารบ้าน ซึ่ งได้รับการฝึ กเป็ นกองร้อยทหารหลัก 520 จากการดําเนิ นงาน ด้านการข่าว ทําให้เราทราบว่าพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศ ไทย ได้สถาปนาอํานาจรัฐประชาชนขึ้นในเขตฐานที่มนั คงของพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย กลุ่มเขาค้อเป็ นแห่ งแรกในประเทศไทยและมีอายุยืนยาวถึง 10 ปี และมีระบบโครงสร้างการจัดการค่อนข้างมัน่ คง มีคณะกรรมการบริ หารเรี ยกว่า "คณะกรรมการ รัฐ" ซึ่งประกอบด้วย - ประธานกรรมการรัฐ - รองประธานกรรมการรัฐ - กรรมการรัฐฝ่ ายปกครอง - กรรมการรัฐฝ่ ายเศรษฐกิจ - กรรมการรัฐฝ่ ายทหาร - กรรมการรัฐฝ่ ายศึกษาและเยาวชน - กรรมการรัฐฝ่ ายสาธารณสุ ข - กรรมการรัฐฝ่ ายโฆษณา


21

- กรรมการรัฐฝ่ ายการพาณิ ชย์ - กรรมการรัฐฝ่ ายสตรี และเด็ก นอกจากนี้ยงั มีสภาผูแ้ ทนประชาชนปฏิวตั ิ ประกอบด้วย สมาชิ กสภาจํานวน 55 คนที่ได้รับ เลือกมาจากราษฎรและทหารในเขตฐานที่มนั่ ทําหน้าที่กาํ หนดแก้ไขเพิ่มเติมและตัดทอนกฎหมาย ลงมติ โครงการแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ เพื่อความสงบเรี ยบร้ อย มัน่ คง และก้าวหน้าของเขตฐานที่ มนั่ และติ ดตามตรวจสอบการบริ หารของกรรมการบ้านและกรรมการรั ฐในการพิจารณาคดี ต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นภายในฐานที่มนั่ มีศาลประชาชนซึ่ งประกอบด้วย ศาลผูพ้ ิพากษา และคณะกรรมการกฎหมาย มีอาํ นาจหน้าที่พิจารณาคดีต่าง ๆ ทั้งคดีแพ่ง คดีอาญา และความผิดต่อความมัน่ คงของรัฐ (ฐานที่มนั่ ) ตามกฎหมายที่กาํ หนดขึ้นไว้ - ด้า นการปกครอง มี ก ารจัด องค์ก ารบริ ห ารถึ ง ระดับ หมู่ บ ้า น มี เ จ้า หน้า ที่ คื อ คณะกรรมการบ้านเป็ นผูบ้ ริ หาร - ด้านการทหาร มีทหารหลักที่จะรั กษาความปลอดภัยแก่ ฐานที่ มนั่ และมี ทหาร บ้านเป็ นกําลังสํารอง ทหารเหล่านี้มีขีดความสามารถพร้อมที่จะสู ้กบั เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ - ด้านเศรษฐกิจ มีการวางโครงการเกี่ยวกับการผลิตแต่ละปี ไว้อย่างแน่ชดั คือ ผลิต ไว้เพื่อสํารองเวลาสู ้ รบกับเจ้าหน้าที่ ของรั ฐบาล ในกรณี ที่การรบยืดเยื้อ ผลิ ตกเพื่อใช้ เลี้ ยงทหาร ประชาชน ที่อยูใ่ นเขตฐานที่มนั่ - ด้านการพาณิ ชย์ มี การซื้ อของใช้ที่จาํ เป็ นจากภายนอกเข้าไปจําหน่ ายแก่ พวก ทหารและประชาชนในเขตฐานที่มนั่ ไว้อย่างแน่นอน - ด้านการศึก ษาและวัฒนธรรม มีการเปิ ดโรงเรี ยนสอนลู กหลานของทหารและ ประชาชนจนถึงระดับหมู่บา้ น - ด้า นการสาธารณสุ ข มี ห มอบ้า น สํ า นั ก เภสั ช และยาป่ ารวมทั้ง มี ก ารจัด ตั้ง โรงเรี ยนแพทย์เพื่อผลิตหมอ ในอนาคตจะจัดตั้งสถานอนามัยขึ้นบริ การแก่ชาวบ้าน 2 - 3 หมู่บา้ นต่อ 1 แห่ง - ด้านสตรี และเด็ก มีการดําเนินงานจัดองค์การบริ หารจนถึงระดับหมู่บา้ น


22

นโยบายด้านเศรษฐกิ จ ให้ยืนหยัดทําการผลิ ตรวมหมู่เป็ นหลักในการดําเนิ นการ และผลิ ต เพื่อใช้ส่วนตัวเป็ นรองยึดมัน่ การพึ่งตนเอง ความมุ่งหมายในการผลิต คือ การทํานา ปลูกฝ้ าย เพื่อใช้ ผลิต เครื่ องนุ่งห่ม ผลิตยาสมุนไพร และการต้มเกลือ ใช้ประกอบอาหารและต้องผลิตให้เพียงพอ ทุก หมู่บา้ น จะต้องเตรี ยมข้าวสํารองไว้อย่างน้อยหมู่ บา้ นละ 4 - 5 ถัง พร้ อมทั้ง ให้เตรี ยมเสบี ย ง อาหารแห้งไว้ให้พร้อม ถ้าหากถูกโจมตีจะใช้ขา้ วและเสบียงที่สะสมเป็ นอาหารเลี้ยงชี พระหว่างการ สู้รบ หรื ออพยพหลบหนี นโยบายด้านการทหาร ต้องพึ่งจํานวนของตัว เองเป็ นหลัก ให้ทุกหมู่บา้ นส่ งลูกหลานที่ มี อายุเข้าเกณฑ์เป็ นทหารให้ยกระดับ ทหารบ้านให้ สู ง ขึ้ น พร้ อมที่ จะจัดตั้งเป็ นกําลังรบหลักหรื อ ช่วยเหลือทหารหลักในการสู ้รบกับเจ้า หน้าที่ให้ทหารทุกคนเตรี ยมพร้อมที่จะรับมือกับฝ่ ายรัฐบาล การสู้ รบปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์ แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิสต์ แห่ งประเทศไทย ในอดี ตพื้ น ที่ รอยต่ อ 3 จัง หวัด (พิ ษ ณุ โลก เพชรบู รณ์ เลย) ตั้ง แต่ เ ขาค้อ ภู หิ น ร่ อ งกล้า ไปจนถึ งภูขดั ภูเมี่ยง ได้เคยเป็ นสมรภูมิเลือดคนไทยทั้งหลายทราบกันดี พี่น้องคนไทยต้องฆ่าฟั น กันเองทั้งนี้เพราะเกิดความเข้าใจผิดและไม่เข้าใจต่อ กันความขัดแย้งระหว่างคนไทยบางกลุ่มที่ผา่ น มาไม่เกิ ดขึ้นในพื้นที่น้ ี อีกต่อไป และความสงบได้กลับคืนมาอีกครั้ง การที่สถานการณ์ คลี่ คลายมา ในทางที่ดีและปกติสืบต่อไปนั้นเราทั้งหลายเป็ นหนี้ บุญคุณของผูเ้ สี ยสละกลุ่มหนึ่ง ผูท้ ี่ได้พลีชีวติ และเลือดเนื้อแด่พ้นื แผ่นดินแห่งนี้


23

ภาพ 7 แสดงสมรภูมิเลือดเขาค้อ ที่มา : Time Machine Journey ลักษณะโดยทัว่ ไปของพื้นที่เป็ นภูเขาสู งสลับซับซ้อน ปกคลุ มด้วยป่ าไม้ผืนใหญ่ยกตัวใน ระดับความสู งและตํ่าลงมาเป็ นป่ าโปร่ งมีราษฎร ชาวเขาเผ่าม้งบุกรุ กถากถางพื้นที่ทาํ กินบริ เวณไหล่ เขา บางพื้นที่ เป็ นแหล่ งพื้นที่ปลูกพืชเสพติ ด เช่ น ฝิ่ นและกัญชา เป็ นต้น บริ เวณที่ ราบเชิ งเขาและ บริ เวณซอกเขามันจะเป็ นที่ต้ งั หมู่บา้ นชาวเขา เดื อนมีนาคม 2511 พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศ ไทยได้ส่งพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย เข้ามาปฏิบตั ิงาน ในพื้นที่รอยต่อจังหวัด มีการปลุกระดมชาวเขาเผาม้งให้เกลียดชังเจ้าหน้าที่และให้หนั มาร่ วมมือกับ ฝ่ ายพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ด้วยการชี้ นาํ ให้ราษฎร จับอาวุธ ขึ้นต่อสู ้กบั เจ้าหน้าที่โดยอ้างว่า เพื่อปลดแอกอํานาจรัฐ กองทัพภาคที่ 3 ได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้า ไปจัดตั้ง ราษฎรอาสาสมัครคุม้ ครองหมู่บา้ นที่บา้ นห้วยทรายเหนือ ซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นชาวเขาเผ่าม้งที่ต้ งั บ้านเรื อนกันอย่างหนาแน่นพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ได้ร ะดมกํา ลัง โจมตี อ าสาสมัค รคุ ้ม ครองหมู่ บ ้า นนี้ เมื่ อ 20 พ.ย. 2511 ปรากฏว่า เจ้า หน้า ที่ แ ละ อาสาสมัครเสี ยชีวติ และบาดเจ็บหลายคน จึงถือว่าเป็ นวันเสี ยงปื นแตกในพื้นที่รอยต่อ 3 จังหวัด เมื่อ วันที่ 28 ธันวาคม 2511 พรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย


24

โจมตีฐานปฏิบตั ิการ บ้านเล่าลือ (QU 084234) ซึ่ งอยูใ่ นเขต อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ นับเป็ น เหตุ การณ์ พรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย ปฏิ บตั ิ การใน พื้นที่ รอยต่อ 3 จังหวัดเป็ นครั้ งที่ 2 เป็ นเหตุ ให้เจ้าหน้าที่ทหาร (ส.อ. แต้ม ขริ บ สังกัด ร.4 พัน 3) สู ญเสี ยชีวติ จากการปะทะครั้งนั้น หมู่บา้ นชาวเขาเผ่าม้งในพื้นที่ตอนใต้เส้นทางถนนสายพิษณุ โลก หล่มสัก มีจาํ นวนมาก เช่น บ้านเล่านะ บ้านเล่าเน้ง บ้านเล่าลือ บ้านพ้อย บ้านหู ชา้ ง บ้านสะเดาะพง ฯลฯ ในปี พ.ศ. 2511 มีเหลือเป็ นของฝ่ ายเราเพียงหมู่บา้ นเดียว คือ บ้านเล่าลือ

ภาพ 8 แสดงการต่อสู ้ในสมรภูมิเขาค้อ ที่มา : WWW. PANTIP.COM นอกนั้น พากัน อพยพจากถิ่ นที่ เ ดิ ม ไปอยู่ต ามไร่ ใ นป่ าตกอยู่ภ ายใต้อิ ท ธิ พ ลของ พรรค คอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย ทั้งสิ้ น ในแผนที่ จะปรากฏชื่ อ "เขาค้อ" อยูห่ ลายแห่งอาจเป็ นเพราะพื้นที่น้ ี อุดมไปด้วยต้นค้อ(ไม้ยืนต้นคล้ายตาล) ชาวเขาเผ่าม้งมัก นิ ยมนําไปมุ งหลังคาบ้านที่กล่ าวถึ งนี้ คื อ ยอดเขาค้อที่มีความสู ง 1,174 เมตร และบนเทือกเขาลูก เดี ย วกันมี ย อดอี ก ยอดหนึ่ งสู ง 990 เมตร เป็ นยอดเขาเคี ย งคู่ ท างด้า นทิ ศตะวันตก ชื่ อ เขาปางก่ อ


25

(QU 117376) ชาวบ้านทัว่ ไปจึงเรี ยกเทือกเขานี้วา่ “เขาค้อ ปางก่อ” เขาค้อปางก่อเป็ นเทือกเขาที่ทอด ยาวจากเหนือไปใต้ความยาวตามสันเขาประมาณ 5 - 6 กิโลเมตร มีลกั ษณะของเส้นทางยุทธศาสตร์ พัฒ นาตามแนวความคิ ดของกองทัพ ภาคที่ 3 ที่ จะสร้ า งเส้ น ทางจากบ้า นแค้มป์ สน (กม.ที่ 100 เส้นทางพิษณุโลก - หล่มสัก) ไปยังบ้านเล่าลือ ซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นเขาสุ ดท้ายที่เหลืออยูใ่ นพื้นที่ในปี พ.ศ. 2522 กรมทางหลวงทําการสร้ างเส้นทางถึ งบริ เวณพิกดั QU 131392 (ก่อนถึงยอเขาค้อประมาณ 3 กิโลเมตร) ต้องหยุดชะงักการก่อสร้ างเนื่ องจากถูกขัดขวางจากพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย บนยอดเขาค้อปางก่ออย่างรุ นแรงไม่สามารถสร้างทางต่อไปได้ เปลี่ยนให้บริ ษทั ภา นุมาศ จํากัด รับเหมาก่อสร้างเส้นทางต่อจากทางหลวงได้ทาํ ไว้ พันร.3447 มี การจัดกําลังประกอบด้วย ผก.พัน จัดการ ร.4 พัน 3 พ.ต.ประวิทย์ กลิ่ นทอง กองพัน ร้ อย ร.4 จัดการ ร.4 พัน 4 ร.อ. เสน่ ห์ พวงกลิ่ น ผบ.กองร้ อย ร้ อย ร. 1741 จัดการ พัน 1 ร.อ.ฤาชา มัน่ สุ ข ผบ.กองร้ อย กําลังคุ ม้ กันสร้ างทางฯ จัดการพลเรื อนมีนายสมชาย ไชยขวาง เป็ น หัวหน้า ตามแผนปฏิ บตั ิการเมื่อได้รับการสนับสนุ นการโจมตีทางอากาศต่อที่หมาย บนยอดเขาค้อ กําลังเข้าปฏิ บตั ิการจะแทรกซึ มเข้าทางพื้นดิ น หลังจากนั้นบริ ษทั ภานุ มาศ จํากัด จะสนับสนุ นโดย การเส้นทางจําลองด้วยแทรกเตอร์ 2 คัน และใช้กาํ ลังคุ ม้ กันตลอดเส้นทาง เพื่อใช้เป็ นเส้นทางส่ ง กําลังแนวเส้นทางก่อสร้างกําหนดไปตามพื้นราบขนานกับสัน เขาค้อปางก่อทางด้านทิศตะวันออก และไปขึ้นทางเขาค้อทางทิศใต้ เนื่ องจากพื้นที่ไม่ชนั ง่ายต่อการเคลื่อนที่บนยอดเขาค้อ หน่วยได้เริ่ ม ปฏิบตั ิงานเมื่อ 17 กรกฎาคม 2522 ภายหลังการโจมตีทางอากาศต่อที่หมายบนยอดเขาค้อ กําลังทาง พื้ นดิ นเคลื่ อ นที่ ต ามแผนปรากฏว่า พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทยพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทย ได้ตา้ นทานอย่างหนักไม่สามารถเคลื่อนที่รุกตามแผนที่กาํ หนดหน่วยจึงเปลี่ยนทิศทาง เคลื่ อนที่ เข้าหาที่หมายทางเหนื อสันเขา ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่สูงชัน พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย วางกําลังต่อต้านทางด้านนี้ นอ้ ยเพราะไม่คาดว่าฝ่ ายเราจะปฏิบตั ิ อี ก ประการหนึ่ ง พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แ ห่ ง ประเทศไทยพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แ ห่ ง ประเทศไทย ได้ ดัดแปลงที่มนั่ เป็ นคูรบไว้ 5 จุด ก่อนที่จะถึ งที่หมายบนยอดเขาค้อแต่ละจุดห่ างกันประมาณ 300 400 เมตร เมื่อฝ่ ายเรายึดที่มนั่ คูรบไว้ จุดที่ 1 ได้ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์ แห่ ง ประเทศไทยจะถอนตัวไปตั้งรบคู รบที่ 2 เมื่ อฝ่ ายเรายึดคูรบที่ 2 ได้ พรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ ง


26

ประเทศไทยพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์แ ห่ ง ประเทศไทย จะถอนตัวไปตั้ง รั บ จุ ด ที่ 3 ตามลําดับ พรรค คอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย จึงใช้กาํ ลังต้านทานจํานวนน้อย ในทิศทางนี้ การต้านทานของพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศ ไทย นอกจากกํา ลัง ทางพื้ นดิ น แล้ว ยัง ได้รั บ การสนับ สนุ น การโจมตี ด้ว ยอาวุ ธ กระสุ น วิ ถี โ ค้ง ค.61 มม. จากยอดเขาค้ออีกด้วยการปฏิบตั ิการทางพื้นดินสามารถยึดคูรบที่ 3 ได้สําเร็ จ ฝ่ ายเรากําลัง คุม้ กันสร้ างทางเสี ยชี วิต 16 ศพ บาดเจ็บ 32 คน ต่อมาเมื่อ 18 กรกฎาคม 2522 กําลังฝ่ ายเราเคลื่อนที่ เข้า ยึดที่ หมายต่ อไป พรรคคอมมิ วนิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทย รู ้ แผนการปฏิบตั ิของฝ่ ายเราต้องการยึดเขาค้อ ทางด้านนี้ จึงส่ งกําลังมาเพิ่มเติมเพื่อขัดขวางการปฏิบตั ิ ฝ่ ายเราเคลื่ อนที่ ไปได้อย่างช้า ๆ และภูมิประเทศยากลําบากเป็ นป่ าทึบและต้องขึ้ นเขาสู งชันมาก เพราะสามารถยึดคูรบที่ 5 ห่ างจากยอดเขาค้อประมาณ 500 - 600 เมตร ไว้ได้ กําลังคุม้ กันสร้างทาง เสี ย ชี วิ ต 12 ศพ บาดเจ็ บ 14 คน บริ เวณคู ร บที่ 4 พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แ ห่ ง ประเทศไทยพรรค คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ได้แกะสลักบนต้นไม้ใหญ่วา่ “ทหารไทยจะยึดได้ปีพ.ศ. 2521” แต่เรา ยึดได้ในปี พ.ศ. 2522 แสดงว่าพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศ ไทย ได้ประมาณสถานการณ์ล่วงหน้าว่าจะต้องสู ญเสี ยฐานที่มนั่ บริ เวณนี้ อย่างแน่นอน จะสามารถ ต้านทานฝ่ ายเราได้นานกว่าที่คิด ในวันรุ่ งขึ้นวันที่ 19 กรกฎาคม 2522 ฝ่ ายเราได้รับรองขอการโจมตี ทางอากาศต่อที่หมายยอดเขาค้ออีกครั้งหนึ่งเมื่อเสร็ จสิ้ นการโจมตีทางอากาศแล้วกําลังทางพื้นดินได้ เคลื่ อนที่เข้ายึดที่หมายยอดเขาค้อได้สําเร็ จเมื่อเวลา 13.30 น. พรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย พรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย ได้ต่อต้านเล็กน้อย กําลังฝ่ ายเราร้ อย ร. 1341 เสี ยชี วิต 1 นาย (พลฯ จําปา ระเด่น) กองกําลังคุม้ กันสร้างทางเสี ยชีวติ 1 นาย บาดเจ็บ 7 นาย เมื่อฝ่ ายเรายึดเขาค้อได้จึงสถาปนาความมัน่ คงของยอดเขาค้อ โดยใช้รถแทรกเตอร์ สร้ าง ฐานที่มนั่ ขึ้น ปั จจุบนั คือ ฐานกรุ งเทพฯ ที่อยูห่ น้าอนุ สรณ์ผเู ้ สี ยสละเขาค้อ แทรกเตอร์ คดั แปลงฐาน ที่ มนั่ เสร็ จเมื่ อเวลา 15.00 น. ก็เคลื่ อนที่ ยกกลับแค้มป์ งานสร้ างของบริ ษทั ภานุ มาศ จํากัด ซึ่ งอยู่ ข้างล่างขณะเดิ นทางออกจากฐานที่มนั่ ก็ถูกพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์ แห่ งประเทศไทย ระดมยิง 57 มม. จากทิศเหนื อของฐาน รถแทรกเตอร์ หม้อนํ้าชํารุ ดใช้การไม่ได้ ต้องเสี ยเวลาซ่ อม 2-3 วัน จึงทํางานได้และปฏิบตั ิการกรุ งเทพฯ เป็ นชื่อเรี ยกตามนามเรี ยกขานทาง วิทยุของร้ อย ร. 1741 ที่ยึดเขาค้อได้เมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2522 ร้ อย ร. 1741 ครบวาระเคลื่ อนย้ายกลับ


27

หน่วยและหน่วยที่มา สับเปลี่ยนได้ให้เกียรติเรี ยกชื่ อฐานที่ต้ งั เดิม คือ ฐานปฏิบตั ิการกรุ งเทพฯ ส่ วน นามเรี ย กขานทางวิท ยุก็ เปลี่ ย นไปตามหน่ วยที่ ข้ ึ นปฏิ บ ตั ิ ก ารในช่ วงระยะเวลาต่ อมาประมาณ 2 เดือนเศษ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ได้ลดระดับปฏิบตั ิ รุ น แรงลงฝ่ ายเราจึ ง สถาปนาที่ ม ั่นระหว่า งทางขึ้ น ยอดเขาค้อ 1 ฐาน ชื่ อฐานปฏิ บตั ิ ก ารบางซื่ อ (QU 132384) และฐานที่ มนั่ ทางเหนื อของฐานกรุ งเทพฯ 2 ฐานชื่ อ ฐานปฏิ บตั ิการพิษ ณุ โลก (QU 121381) เป็ นป่ ากล้วยมี น้ าํ ไหลซึ ม ตลอดปี พรรคคอมมิ วนิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทยพรรค คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยอาศัยนํ้าบริ เวณนี้ ดื่มอาบและเป็ นที่ต้ งั อาวุธหนักยิงวิถีตรง (ปรส) ปั จจุบนั ป่ ากล้วยหมดไปนํ้าซึ มบริ เวณนี้ ก็หายไป เมื่อ 1 ตุลาคม 2522 พัน ร. 3443 จาก ร.4 พัน 3 โดยการนําของ พ.ท. สนอง หุ นตระกูล ผบ.พัน ขึ้นไปสับเปลี่ ยนกําลังกับ พ.ร. 3447 พรรค คอมมิวนิสต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย เริ่ มปฏิบตั ิการกดดันต่อกําลังฝ่ าย เราด้วยการซุ่ มโจมตีตามเส้นทางสู่ ยอดเขา คือ ลอบยิงกําลังบนฐานปฏิ บตั ิการและวางกับระเบิดที่ รุ นแรงที่สุด คือ การวางกับระเบิดขบวนส่ งกําลัง โดยฝั่งของกรรมการสัตว์ทหารบกทําให้สัตว์และ คนจูงแหลกละเอียดเป็ นจุลไม่พบทั้งสัตว์และคนจูง กําลังพลบนเขาค้อเริ่ มขวัญตกตํ่า การส่ งกําลังไม่ สามารถส่ งในเวลากลางวันได้ก าํ ลังพลบนเขาค้อเมื่ อได้รับบาดเจ็บสาหัสมัก เสี ยชี วิต เพราะไม่ สามารถส่ งกลับได้การส่ งกําลังเปลี่ยนเป็ นเวลากลางคืน สามารถส่ งกําลังได้ในช่วงเวลาหนึ่ งต่อมาก็ ถู ก จากพรรคคอมมิ วนิ ส ต์แห่ ง ประเทศไทย ด้วยการซุ่ ม โจมตี และการวางกับ ระเบิ ดอี ก จึ ง ได้มี แนวความคิดที่จะเปลี่ยนเส้นทางการส่ งกําลังและกลับใหม่ ด้วยการสร้างเส้นทางในหุ บเขาเคียงคู่กบั เส้ น ทางขวาเมื่ อ มองไปยัง ยอดเขาค้อ โดยใช้สั น เขาเป็ นแนวเส้ นทาง เดิ ม กํา บัง สามารถใช้ไ ด้ ระยะเวลาหนึ่ งก็ถูกรบกวนจากพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศ ไทยอีก เมื่อถูกพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย ขัดขวาง หนักขึ้นทําให้ไม่สามารถส่ งกําลังในเวลากลางวันได้ ขวัญของกําลังพลตกตํ่า พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ ง ประเทศไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ในช่วงเวลานี้ปฏิบตั ิการทางจิตวิทยาต่อฝ่ ายเรา ทาง เครื่ องกระจายเสี ยงบนเขาค้อให้กาํ ลัง พลวางอาวุธและกลับไปอยู่กบั ครอบครั วเสี ย พัน ล. 3443 ตระหนัก ถึ ง ปั ญหานี้ ดีจึง แก้ปั ญหาโดยให้ก าํ ลัง พลขุดคู รบจากยอดเขาค้อลงมาตี นเขาระยะทาง


28

ประมาณ 2 กิ โลเมตรเศษ เพื่อใช้เป็ นเส้นทางส่ งกําลังและส่ งกลับของหน่วยบนเขาค้อครบบางช่วง ต้องชุดต่อเมื่อพ้นแนวก้อนหิ นไปแล้วการเคลื่อนที่ในช่วงนี้ จึงต้องวิ่งข้ามก้อนหิ นใหญ่จากคูรบหนึ่ ง ไปยังอีกคูรบ 1 บางพื้นที่ไม่มีภูมิประเทศที่กาํ บังการเคลื่อนที่ก็ตอ้ งใช้เสื่ อรําแพนทําเป็ นฉากปิ ดกั้น กําบังแทนการส่ งกําลังเมื่อขุดคูรบทําได้สะดวกขึ้น สามารถส่ งกําลังและส่ งกลับในเวลากลางวันได้ ปั ญหาและกําลังใจของกําลังพลดีข้ ึน แต่เดิมไม่เคยยิม้ แย้มแจ่มใสเปลี่ ยนเป็ นเสี ยงหัวร่ อต่อกระซิ ก และมีกาํ ลังใจที่จะต่อสู่ ต่อไป การสู ญเสี ยในช่วงที่ขุดคูรบน้อยลง กําลังพลบนเขาค้อได้มีโอกาสลง มาอาบนํ้าพักผ่อนในหมู่บา้ นของฝ่ ายเรา ได้อดั เทปขึ้นไปกระจายเสี ยงตอบโต้การกระจายเสี ยงของ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย บนฐานกรุ งเทพฯ สถานการณ์ บนฐานกรุ งเทพ ฯ ของต้นปี พ.ศ. 2523 กําลังพลจะต้องตื่ นตัวอยู่ตลอดเวลา พร้อมที่จะรบประชิ ดเมื่อข้าศึกโจมตี บนฐานไม่มีตน้ ไม้จะเป็ นที่กาํ บังได้และเมื่อเวรยามโผล่ศีรษะ ขึ้นไปตรวจการณ์ก็จะถูกยิงจากพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศ ไทย อยู่ตลอดเวลาทําให้กาํ ลังพลสู ญเสี ยจากการตรวจการณ์ ไปหลายคน จ.ส.อ. ทวี ภารั ตน์ จึ งมี ความคิดเอาระบบกล้องเปอริ สโคป (กล้องตาเรื อ) มาใช้ทาํ ให้การตรวจการณ์ได้ผลทราบจากพรรค คอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย ที่ มามอบตัวภายหลังว่าพรรค คอมมิ ว นิ ส ต์แ ห่ ง ประเทศไทยพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แ ห่ ง ประเทศไทย มี แ นวความคิ ด จะยึ ด ฐาน กรุ งเทพฯ ด้วยการขุดคูรบขึ้นมาแต่เมื่อฝ่ ายเรานํากล้องเปอริ สโคปมาใช้แผนที่จะยึด ฐานกรุ งเทพฯ จึงไม่สาํ เร็ จ ประมาณปลายเดือนมีนาคม 2523 มีพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์ แห่ งประเทศไทย ระดับนักรบชื่ อสหายรุ่ ง (หลบหนี มามอบตัวกับ พตท. 1617) เปิ ดเผยว่าพรรค คอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย กําลังขุดคูรบเข้ามาประชิ ดฐาน กรุ งเทพฯ และมีส่วนหนึ่ งกําลังขุดอุโมงค์จากรอยต่อระหว่างยอดเขาค้อกับขอดเขาปางก่อเข้ามาใต้ ฐานกรุ งเทพฯ แต่ไม่ทราบว่าพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่ งประเทศไทย มีจุดประสงค์ใด ผอ.พตท. 1617 (พล.ต.ระลอง รัตนสิ งห์) แจ้งให้พนั ร. 3443 ทราบและให้เพิ่มความ ระมัดระวังตัวยิง่ ขึ้น โดยเฉพาะกําลังพลบนฐานกรุ งเทพฯ ต่อมาเมื่อ 10 เมษายน 2523 เวลาประมาณ 15.00 น. เศษ เกิดการระเบิดบริ เวณคูรบนอกฐานด้านตะวันตกของฐานกรุ งเทพฯ แรงระเบิดมีสภาพ เช่นเดียวกับการระเบิดหิ น เศษดิ น ฟุ้ งขึ้นไปบนท้องฟ้ าไม่ต่าํ กว่า 50 เมตร เมื่อสิ้ นเสี ยงระเบิดพรรค


29

คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ระดมยิงปื นเล็กทางด้านทิศใต้ของ ฐานกรุ งเทพฯ ฝ่ ายเราต้องต่อสู ้อย่างเหนียวแน่นด้วยปื นเล็ก เครื่ องยิงลูกระเบิดขนาด 40 มม. (M.79) เครื่ อง ยิง ระเบิ ดขนาด 60 มม. (9.60) ทํา ให้พ รรคคอมมิ ว นิ ส ต์แ ห่ ง ประเทศไทย ไม่ ส ามารถยึดฐาน กรุ ง เทพฯ ได้ก ํา ลัง พลที่ ต่ อ สู ้ อ ย่า งเข้ม แข็ ง สามารถรั ก ษาฐานกรุ ง เทพฯ ไว้ไ ด้ สมควรแก่ ก าร สรรเสริ ญคือ จ.ส.อ.เชิด ทองงามขํา จ.ส.อ.สถิต ชูฤกษ์ และพลทหารอีก 2 นาย ภายหลังเหตุการณ์สู้ รบสงบทราบจากพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ว่ามีแผน ระเบิ ด คู ร บของฐานกรุ ง เทพฯ เพื่ อ เปิ ดช่ อ งทางให้ ก ํา ลัง ส่ ว นรุ ก ปฏิ บ ัติ ก ารณ์ จู่ โ จมเข้า ยึ ด ฐาน เนื่องจากสหายรุ่ งเข้ามอบตัวกลัวว่าแผนเปิ ดเผยจึงชิ งปฏิบตั ิการเข้าโจมตีทาํ ให้ระเบิดเพียงขอบฐาน ภายนอก ไม่เปิ ดแนวรบแผนกําลังที่ จะเข้าจู่โจมจึ งปฏิ บ ตั ิ การไม่ไ ด้ตามแผน ทํา ให้ยึดฐานจึ งไม่ สําเร็ จ ปลายเดือนกันยายน 2523 พัน ร. 3443 เปิ ดยุทธการสิ งห์สั่งป่ าเพื่อยึดและรักษาเขาค้อทั้งหมด แต่ถูกขัดขวางจากพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทย อย่าง หนักอีกทั้งบริ เวณสันเขารอยต่อจากฐานกรุ งเทพฯ จํากัดการเคลื่อนที่ของฝ่ ายเราที่ต่อไปเป็ นเนิ นเล็ก ๆ พรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ยึดเป็ นที่มนั่ ตั้งรับคาดว่า จะเป็ นที่ต้ งั อนุสรณ์ผเู ้ สี ยสละเขาค้อในปั จจุบนั พัน ร.3443 จึงต้องใช้ยทุ ธวิธีขดุ คูรบเข้าไปยังที่มนั่ ตั้ง รับของพรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ งประเทศไทยพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย ซึ่ งขุดคูรบเข้าไป ประมาณ 50 เมตรเศษ ได้รับคําสั่งให้เดินทางกลับที่ต้ งั ปกติ พัน ร. 3444 คิดจาก ร.4 พัน 4 พท. หาญ เพไทย เป็ น ผบ.พัน ก็ ผ ลัด เปลี่ ย นและดํา เนิ นการต่ อไปในปี พ.ศ. 2523 การศึ ก ดุ เดื อดถึ งขี ดสุ ด ยุทธการครั้งใหญ่เริ่ มเปิ ดฉากขึ้นยุทธการการผ่าเมืองเผด็จศึกยุทธการหักไพรี และยุทธการผาเมือง เกรี ยงไกร เทือกเขาค้อแทบถล่มทลายด้วยวัตถุ ระเบิดที่ต่างฝ่ ายต่างขนมาประหัตประหารกันเลื อด แลกด้วยเลือด ชีวติ แลกด้วยชีวติ ความสู ญเสี ยของทั้งสองฝ่ ายทวีมากขึ้นจนแทบไม่มีกาํ ลังหลงเหลือ อยู่ จวบจนกระทั้งในปี พ.ศ. 2525 เสี ยงปื นเริ่ มสงบลงการศึกย่อมมีแพ้ มีชนะ การรบที่ยืดเยื้อมากว่า 15 ปี ยุติลงแล้วความสงบเงียบเริ่ มเข้ามาแทนที่เหลือไว้แต่เพียงความพินาศความเสี ยหาย แมกไม้ป่า ทึ บ ท่ วมกลางหุ บ เขาย่อยยับ กับ แรงระเบิ ด เมื่ อคราวก่ อ น ซากเศษอาวุธ รถถัง ยุ ท ธปั จ จัย ต่ า ง ๆ กระจายเคลื่อนอยูท่ วั่ บริ เวณ ทุกสิ่ งทุกอย่างยุติลงแล้วเหลือไว้ก็เพียงแต่ประวัติการรบที่ห้าวหาญและ นํ้าตาญาติพี่นอ้ งของวีรชน


30

สภาพทางภูมิศาสตร์ สภาพภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นป่ าและภูเขาใหญ่นอ้ ยสลับซับซ้อนคล้ายกับทะเลภูเขา บางแห่ งสู งชันมาก มีความสู งจากระดับนํ้าทะเลตั้งแต่ 500 – 1,400 เมตร เขาค้อเป็ นชื่อเรี ยกรวม บริ เวณเทือกเขาน้อยใหญ่ของเทือกเขาเพชรบูรณ์สองด้านใต้ เทือกเขาที่สาํ คัญบริ เวณนี้ ได้แก่ – เขาค้อ (ปางก่อ) สู งประมาณ 1,175 เมตร – เขาย่า สู งประมาณ 1,350 เมตร – เขาห้วยทราย สู งประมาณ 1,038 เมตร

ภาพ 9 แสดงสภาพภูมิประเทศของ เขาค้อ เพชรบูรณ์ สําหรับพื้นที่ป่าแถบนี้ จะเป็ นป่ าเต็งรังหรื อป่ าผลัดใบ ป่ าสน ป่ าดินแดง ที่น่าสนใจ คือ ต้น ค้อ ซึ่ งเป็ นพันธ์ไม้ตระกูลปาล์ม ลักษณะคล้ายต้นตาล แต่มีผลออกมาคล้ายหมาก สภาพป่ ายังคง เป็ นป่ าทึบ บางแห่ งซึ่ งอยูใ่ นเขตป่ าไม้ เขตเตรี ยมการสงวนแห่ งชาติ (ป่ าถาวร) และมีสวนสัตว์เปิ ด เขาค้อ (สถานี เพาะเลี้ ย งสั ตว์ป่าเพื่ อเศรษฐกิ จเขาค้อ) เนื้ อที่ ประมาณ 20 ตารางกิ โลเมตรหรื อ ประมาณ 12,500 ไร่ นอกจากนั้นยังมีการปลูกป่ าเพิ่มเติมในเขตที่ถูกบุกรุ กทําลายป่ า


31

สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศมีอากาศหนาวเย็นตลอดปี ฤดูร้อนอากาศไม่ร้อนจัด ฤดูหนาวอากาศหนาว เย็นจัด อุณหภูมิต่าํ สุ ดที่เคยวัดได้เฉลี่ยประมาณ 3 องศาเซลเซี ยส ในช่วงเดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ สําหรับฤดูฝนฝนจะตกซุ ก ประชากรส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ภาพ 10 แสดงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะการปลูกพืชไร่ เช่ น ขิง กระชายดํา ข้าวโพด มีการปลูกพืชหมุนเวียนอื่น ๆ เช่ น กะหลํ่าปี ถัว่ ลันเตา พริ ก ฯลฯ ได้รับการสนับสนุ นให้ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ เช่น แฟทชัน่ ฟรุ ต ไผ่ ตง กาแฟและไม้ยนื ต้นอื่น ๆ สภาพทัว่ ไปทางสั งคม ประชากรส่ วนใหญ่ขององค์การบริ หารส่ วนตําบลเขาค้อ มีอาชี พทางการเกษตร พืชที่ปลูก เช่ น ข้าวโพดเลี้ ยงสัตว์ มันเทศ กะหลํ่าปลี แครอท ถัว่ ลันเตา ผักกาดขาวปลี ผักกาดหัว พริ กใหญ่ กระชายดํา กระชายขาว ขิง ไม้ผล ไม้ดอก รวมทั้งการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมและการทํานา


32

โดยแยกเป็ นพื้นที่ทาํ นาไร่ พืชผัก และไม้ดอกไม้ประดับ 830 ไร่ พืชไร่ 16,858 ไร่ ไม้ผล 6,547 ไร่ และอื่น ๆ จํานวน 5,354 ไร่ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่(แสดงทรัพยากรในเขตพื้นที่องค์การบริ หารส่ วนตําบลเขาค้อ) สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ราบสู งและภูเขามีการหักร้างถางป่ าทําไร่ เลื่อนลอยทําให้สภาพพื้นที่ ส่ วนใหญ่ ไม่มีตน้ ไม้และเป็ นพื้นที่ การเกษตรจึงทําให้มีการเผาป่ าทําให้สภาพป่ าไม้เป็ นป่ าเสื่ อม โทรม ส่ วนสภาพป่ าที่ ย งั คงเหลื ออยู่ใ นเขตพื้ นที่ ก็ ย งั เป็ นทรั พ ยากรหลัก ที่ เอื้ อ ผลประโยชน์ ต่อ ประชาชนในพื้นที่ในเรื่ องของสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรนํ้าและทรั พยากรการท่องเที่ยวที่สําคัญของ องค์การบริ หารส่ วนตําบลเขาค้อตลอดจนในภาพรวมของอําเภอเขาค้อ

ภาพ 11 แสดงสภาพแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในปั จจุบนั การปกครอง องค์การบริ หารส่ วนตําบลเขาค้อมีเขตพื้นที่การปกครองครอบคลุม 3 ตําบล คือ ตําบลเขาค้อ ตําบลริ มสี ม่วง ตําบลสะเดาะพง โดยจําแนกได้ ดังนี้


33

ตําบลเขาค้อ จํานวน 14 หมู่บา้ น หมู่ที่ 1 บ้านกนกงาม หมู่ที่ 2 บ้านดอกจําปี หมู่ที่ 3 บ้านสิ มารักษ์ หมู่ที่ 4 บ้านกองเนียม หมู่ที่ 5 บ้านปั ญญาดี หมู่ที่ 6 บ้านรัตนัย หมู่ที่ 7 บ้านใจทน หมู่ที่ 8 บ้านปานสุ ขมุ หมู่ที่ 9 บ้านเล่าลือ หมู่ที่ 10 บ้านเพชรดํา หมู่ที่ 11 บ้านฟองเพชร หมู่ที่ 12 บ้านส่ งคุม้ หมู่ที่ 13 บ้านอุทโยภาส หมู่ที่ 14 บ้านเล่าเน้ง กล่าวโดยสรุ ปเขาค้อ เป็ นชื่อเรี ยกรวมทิวเขาน้อยใหญ่ของเทือกเขาเพชรบูรณ์ ในเขตอําเภอ เขาค้อ เหตุที่เรี ยกกันว่า เขาค้อ เป็ นเพราะป่ าบริ เวณนี้ มีตน้ ค้อขึ้นอยูม่ าก เนื่ องจากภูมิอากาศบนเขา ค้อเย็นตลอดปี ค่อนข้างเย็นจัดในฤดูหนาวและมีทศั นี ยภาพสวยงาม จึงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับ ความนิยมมากที่สุดแห่งหนึ่งของเพชรบูรณ์ เขาค้อประกอบด้วยภูเขาสลับซับซ้อนมากมาย ยอดเขาค้อมีความสู งประมาณ 1,174 เมตร เหนือระดับนํ้าทะเล เขาย่าสู ง 1,290 เมตรและเขาใหญ่ สู ง 865 เมตร นอกจากนั้นยังมีเขาตะเคียนโง๊ะ เขาหิ นตั้งบาตร เขาห้วยทรายและเขาอุม้ แพ ลักษณะป่ าไม้ในแถบนี้ เป็ นป่ าเต็งรังหรื อป่ าไม้สลัดใบ ป่ าสน และป่ าดิบ ที่น่าสนใจก็คือ พันธุ์ไม้ตระกูลปาล์ม ลักษณะคล้ายต้นตาล แต่ออกผลเป็ นทะลาย คล้ายหมาก แม้ปัจจุบนั ป่ าจะถูกถางไปมากก็ตาม แต่ก็ยงั มีให้เห็นอยูบ่ า้ ง แหล่งสถานที่ที่สําคัญได้แก่ พระตําหนักเขาค้อ ตั้งอยู่บนเขาย่า พระตําหนักนี้ สร้ างขึ้นเพื่อ น้อมเกล้าฯ ถวายแด่องค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ในวโรกาสที่เสด็จพระราชดําเนิ นทอดพระเนตรงาน


34

โครงการในพระราชดําริ และทรงตรวจเยี่ยมราษฎรอําเภอเขาค้อและอําเภอใกล้เคีย ง เป็ นอาคาร คอนกรี ตครึ่ งวงกลม 2 ชั้น มีท้ งั หมด 15 ห้อง ชั้นบนมี 2 ห้อง รู เป็ นห้องบรรทมของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ รู ปทรงพระตําหนักเขาค้อแปลกตาไปจาก พระตําหนักอื่น สามารถขออนุญาตเจ้าหน้าที่เข้าชมบริ เวณโดยรอบพระตําหนักได้ การเดินทาง ใช้ เส้นทางหลวงหมายเลข 2196 พอถึ งประมาณกิ โลเมตรที่ 29 ให้ไปอีกประมาณ 4 กิ โลเมตร มีทาง แยกด้านซ้ายไปพระตําหนัก ทางขึ้นเขาค้อค่อนข้างสู งชัน รถยนต์ควรมีสภาพดี และกําลังเครื่ องยนต์ สู ง อนุ สาวรี ยจ์ ีนฮ่อ เป็ นอนุ สาวรี ยท์ หารอาสาจากหน่วยรบกองพลที่ 93 ซึ่ งมาช่วยรบในพื้นที่ เขาค้อ และเสี ยชีวติ ในการสู ้รบ ตั้งอยูเ่ ลยกิโลเมตรที่ 23 ของทางหลวงหมายเลข 2196 ไปเล็กน้อย

ภาพ 12 แสดงอนุสาวรี ยจ์ ีนฮ่อ ฐานปฏิ บ ั ติ ก ารเขาย่ า อยู่ สู งขึ้ นไปจากพระตํา หนั ก เขาค้ อ 770 เมตร และสู งจาก ระดับนํ้าทะเลปานกลาง 1,305 เมตร ต้องเดินเท้าขึ้นไป ทางเดิ นเป็ นบันไดดิน เดินขึ้นตลอด อาจจะ ไม่ เหมาะสํา หรั บ เด็ ก และผูส้ ู ง อายุ ใช้เวลาเดิ น ขึ้ น -ลง เที่ ย วละประมาณ 30 นาที ด้านบนฐาน


35

ปฏิ บ ัติ ก ารเขาย่า เป็ นจุ ด ชมวิ ว ที่ ม องเห็ น เข้า ค้อ ได้โ ดยรอบ เป็ นมุ ม กว้า ง ในอดี ต เคยเป็ นฐาน ปฏิบตั ิการของทหารในการต่อสู่ กบั กลุ่มผูก้ ่อการร้านคอมมิวนิสต์

ภาพ 13 แสดงฐานปฏิบตั ิการเขาย่า ฐานอิทธิ (พิพิธภัณฑ์อาวุธ) อยูเ่ ลยกิโลเมตรที่ 28 ทางหลวงหมายเลข 2196 ไปเล็กน้อย แล้ว แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2323 ไปประมาณ 3 กิโลเมตร เป็ นจุดหนึ่ งที่เห็นทิวทัศน์สวยงาม และเคยเป็ นฐานสําคัญทางยุทธศาสตร์ ในอดี ต ปั จจุบนั เป็ นพิพิธภัณฑ์อาวุธ จัดแสดงปื นใหญ่ ซาก รถถังและอาวุธที่ใช้สู้รบกันบนเขาค้อ มีห้องบรรยายสรุ ปแก่ผเู ้ ข้าชมเป็ นหมู่คณะ เปิ ดให้เข้าชมทุก วัน ค่าเข้าชมคนละ 10 บาท


36

ภาพ 14 แสดงฐานอิทธิ (พิพิธภัณฑ์อาวุธ) อนุ สรณ์ ส ถานผูเ้ สี ยสละเขาค้อ อยู่บนยอดเขาสู ง สุ ดของเขาค้อ อยู่เลยฐานอิ ทธิ ไปอี ก 1 กิโลเมตร สร้ างขึ้นเพื่อเทิดทูนวีรกรรมของพลเรื อน ทหาร ตํารวจ ทหาร ผูพ้ ลี ชีพในการสู ้รบเพื่อ ปกป้ องพื้นที่ในเขตรอยต่อ 3 จังหวัด คือ พิษณุ โลก เพชรบูรณ์ และเลย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511-2525 โดย สร้ างด้วยหิ นอ่อนเป็ นรู ปสามเหลี่ ยมสู ง 24 เมตร หมายถึ ง การปฏิบตั ิการร่ วมกันระหว่างพลเรื อน ตํารวจ ทหารในปี พ.ศ. 2524 ผนังภายในบันทึกประวัติอนุสรณ์สถานและรายชื่อวีรชนผูเ้ สี ยสละไว้ ด้วย การเดิ นทาง ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 2196 ไปจนถึ งกิ โลเมตรที่ 28 ไปเล็กน้อย มีทางแยก ขวาไปเส้นทางหมายเลข 2323 ประมาณ 3 กิโลเมตร รวมระยะทางประมาณ 31 กิโลเมตร พระบรมธาตุ เจดี ยก์ าญจนาภิ เษก ตั้งอยู่บนยอดเขาค้อ ติ ดกับสํานักสงฆ์วิชมัยปุ ญญาราม ยอดเจดียบ์ รรจุพระบรมสารี ริกธาตุที่อญั เชิ ญมาจากประเทศศรี ลงั กา เจดียแ์ ห่ งนี้ ชาวเพชรบูรณ์สร้าง ขึ้นเพื่อถวายเป็ นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั เนื่ องในวโรกาสทรงครองราชย์ครบ 50 ปี ในวันสําคัญทางศาสนา เช่ น วันมาฆบู ชาจะมี ประชาชนเดิ นทางมาประกอบพิ ธีก รรมทาง ศาสนา ทําพิธีเวียนเทียนเป็ นประจํา หอสมุดนานาชาติเขาค้อ ตั้งอยูท่ ี่เดียวกับพระบรมธาตุเจดียก์ าญจนาภิเษก เป็ นหอสมุดขนาด ใหญ่ออกแบบเป็ นรู ปเพชรควํ่า สร้างด้วยกระจกสะท้อนแสง ภายในเก็บรักษาหนังสื อทั้งภาษาไทย


37

และภาษาต่างประเทศ ในเดือนธันวาคมของทุกปี จะมีการจัดงาน วันนัดพบเอกอัครราชทูต ณ เขาค้อ โดยเชิญเอกอัครราชทูตจากประเทศต่าง ๆ มาร่ วมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมของจังหวัด เจดี ยพ์ ระบรมสารี ริกธาตุเขาค้อ ตั้งอยูบ่ นยอดเขาติดกับหอสมุดนานาชาติเขาค้อ บ้านกอง เนี ยม หมู่ที่ 4 ตําบลเขาค้อ ที่ยอดเจดียบ์ รรจุพระบรมสารี ริกธาตุที่อญั เชิ ญมาจากประเทศศรี ลงั กา เจดี ยแ์ ห่ งนี้ ชาวเพชรบู รณ์ ส ร้ า งขึ้ นเพื่ อถวายเป็ นพระราชกุศ ลพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ใน วโรกาสทรงครองราชย์ 50 ปี และเป็ นที่สักการะบูชาของพุทธศาสนิกชน ในวันสําคัญทางศาสนาจะ มีประชาชนและนักท่องเที่ยวร่ วมกันประกอบพิธีทางศาสนา เช่น พิธีเวียนเทียน นํ้า ตกศรี ดิษ ฐ์ เป็ นนํ้า ตกหิ นชั้นขนาดใหญ่ มี น้ าํ ไหลตลอดทั้ง ปี เคยเป็ นที่ อยู่ข อง ผกค. มาก่อน สิ่ งที่น่าสนใจคือ ครกตําข้าวพลังงานนํ้าตกที่ ผกค.สร้างไว้ การเดินทาง ใช้เส้นทางหมายเลข 2196 ถึ งหลักกิ โลเมตรที่ 17 แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 2325 อีกประมาณ 10 กิ โลเมตร แล้ว แยกขวาเข้านํ้าตก

ภาพ 15 แสดงนํ้าตกศรี ดิษฐ์ เนิ นมหัศจรรย์ อยูท่ ี่บริ เวณกิโลเมตรที่ 17.5 ถนนสายนางัว่ -สะเดาะพง ทางหมายเลข 2258 เมื่อขับรถมาถึงตรงนี้ และดับเครื่ องรถจะถอยหลังขึ้นเนิ นได้เอง ปรากฏการณ์ ดงั กล่าวเกิดจากภาพ


38

ลวงตา เพราะในความเป็ นจริ งเมื่อวัดระดับความสู งของพื้นที่สองจุดแล้ว ความสู งของเนินจะมีระดับ ตํ่ากว่าช่วงที่เป็ นทางขึ้นเนิน จะเห็ นได้ว่า เขาค้อ เป็ นชื่ อเรี ยกรวมบริ เวณเทือกเขาน้อยใหญ่ของเทือกเขาเพชรบูรณ์ จน อาจพูดได้วา่ เป็ นทะเลภูเขา เช่น เขาค้อ เขาย่า เขาใหญ่ เขาตะเคียนโง๊ะ เขาหิ นตั้งบาตร เขาห้วยทราย เขาอุม้ แพร เป็ นต้น มีตน้ ไม้มีลกั ษณะแปลกคือ ต้นค้อ ซึ่ งเป็ นต้นไม้ในตระกูลปาล์ม มีลกั ษณะต้น และใบคล้ายต้นตาล แต่ออกผลเป็ นทะลายคล้ายหมาก ซึ่ งมีอยูท่ วั่ ไปในบริ เวณเขาค้อ สภาพอากาศ หนาวเย็ น ตลอดปี ในอดี ต ก่ อ นปี พ.ศ.2524 พื้ น ที่ เ ขาค้อ ได้ เ ป็ นฐานที่ ม ั่น อัน สํ า คัญ ยิ่ ง ของ ผูก้ ่อการร้ายคอมมิวนิสต์มาเป็ นเวลานานกว่า 10 ปี กําลังทหารของฝ่ ายรัฐบาลที่ถูกส่ งเข้าปราบปราม กวาดล้างได้เกิดการต่อสู ้ที่ยดื เยื้อยาวนาน สู ญเสี ยกําลังคน อาวุธ ทรัพยากรของ ชาติมากมายทั้งสอง ฝ่ าย จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2524 ฝ่ ายเราได้ดาํ เนิ นยุทธวิธีการเมืองนําการทหาร และดําเนิ นการทาง ทหาร อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่ อง จนสามารถยึดพื้นที่เขาค้อทั้งหมดได้ คงเหลือไว้แต่ประวัติศาสตร์ การสู ้รบอันห้าวหาญ วีรกรรมของ วีรบุรุษ ที่ต้ งั สถานที่สําคัญในการสู ้รบของทั้งสองฝ่ าย ร่ องรอย ของการต่อสู ้ที่มีอยูม่ ากมายเกลื่อนกลาด ไม่วา่ จะเป็ นสุ สานของทหารกล้า และผูเ้ สี ยสละ อนุสาวรี ย ์ ที่ระลึ กถึ งผูจ้ ากไปฐานที่ มนั่ นับเป็ นพิพิธภัณฑ์การสู ้รบกลางแจ้งที่ เตือนใจคนไทยทั้งชาติ ให้เกิ ด ความสามัคคี กลมเกลี ยวกันตลอดไป นอกจากนี้ เขาค้อยังถื อได้ว่าเป็ นอีกหนึ่ งสถานที่สําหรั บชม ทะเลหมอกที่งดงามโดยเฉพาะในฤดูฝนที่สามารถพบเห็นทะเลหมอกได้มากที่สุด


39

ส่ วนที่ 3 ศาสนสถาน ศาสนสถาน ศาสนาสถานเป็ นรากฐานสําคัญของวัฒนธรรมไทย เนื่ องจากชาวไทยนับถือศาสนามาช้า นาน จนหลักธรรมทางศาสนาต่าง ๆ ได้หล่อหลอมซึ มซับลงในวิถีไทย กลายเป็ นรากฐานวิถีชีวิต ของคนไทยในทุกด้าน ทั้งด้านวิถีชีวติ ความเป็ นอยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรม ดังนี้ วิถีชีวิตของคนไทย คนไทยมีวิถีการดําเนิ นชี วิตที่เป็ นเอกลักษณ์ ได้แก่ การแสดงความเคารพ การมี นํ้าใจเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ ความกตัญํูกตเวที การไม่อาฆาตหรื อมุ่งร้ายต่อผูอ้ ื่น ความอดทนและการเป็ นผู ้ มีอารมณ์แจ่มใส รื่ นเริ ง เป็ นต้น ล้วนเป็ นอิทธิ พลจากหลักธรรมทางศาสนาทั้งสิ้ น ซึ่ งได้หล่อหลอม ให้คนไทยมีลกั ษณะเฉพาะตัว เป็ นเอกลักษณ์ของคนไทยที่นานาชาติยกย่องชื่นชม ศิ ล ปกรรมไทย พระพุ ท ธศาสนาเป็ นบ่ อ เกิ ด ของศิ ล ปะแขนงต่ า ง ๆ วัด เป็ นแหล่ ง รวม ศิลปกรรมไทย ทางด้านสถาปั ตยกรรม เช่น รู ปแบบการเสร้างเจดีย ์ พระปรางค์ วิหาร มัสยิส โบสถ์ ที่งดงามมาก เป็ นผูน้ าํ ทางจิตใจของประชาชน เป็ นศูนย์กลางของความเคารพศรัทธาของศาสนิกชน ให้คนไทยประพฤติปฏิบตั ิตนอยูใ่ นศีลธรรมอันดีงามนอกจากนี้ วดั ยังเป็ นศูนย์กลางของชุ มชน เป็ น สถานที่ประกอบกิจกรรมของชุมชน สร้างความสามัคคีในชุมชน ศาสนาเป็ นหลักในการพัฒนาในการพัฒนาชาติไทย หลักธรรมทามุ่งเน้นการพัฒนาคนให้ เป็ นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต ใช้คุณธรรมและสติปัญญาในการดําเนิ นชี วิต เพื่ อพัฒนาตนเองและร่ วมมื อร่ วมใจกันพัฒนาชุ ม ชน พัฒนาสัง คม และพัฒนาชาติ บ ้านเมื องให้ เจริ ญรุ่ งเรื อง นอกจากนี้ นกั บวชและพระสงฆ์หลายท่านยังมีบทบาทสําคัญในการเป็ นผูน้ าํ ชุ มชน พัฒนาในด้านต่าง ๆ เช่ น การอนุ รัก ษ์ทรั พยากรธรรมชาติ การอนุ รักษ์ภูมิ ปัญญาและวัฒนธรรม ท้องถิ่ น ศาสนสถานเป็ นแหล่ งการเรี ยนรู ้ ของสังคมไทยตั้งแต่อดี ตจนถึ งปั จจุ บนั ชาวไทยได้บวช เรี ยนในศาสนา ได้ฝึกฝนอบรมตนให้เป็ นคนดี เป็ นกําลังสําคัญในการพัฒนาชาติไทย กระแสของศาสนาที่เป็ นศาสนสถาน พบว่า มี 2 แนวคิด ประกอบด้วยแนวคิดแรก วัดควร เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ หลักธรรม คําสอนของศาสนา อยากสนทนาธรรมโดยเฉพาะเรื่ องการปฏิบตั ิ การ ทําสมาธิ การภาวนา และเมื่ อสอบถามความคาดหวังของนักท่องเที่ ยวที่ มีต่อชุ มชนและชาวบ้าน พบว่า ชุ มชนควรให้ความร่ วมมือเมื่อสอบถามข้อมูลการท่องเที่ยวมุมมองของชุ มชนและชาวบ้าน


40

เกี่ ย วกับ การท่ อ งเที่ ย วภายในวัด ชุ ม ชนเห็ น ด้วยกับ การท่ อ งเที่ ย วแนวศาสนาและท่ องเที่ ย วเชิ ง พักผ่อนหย่อนใจ ความคาดหวังของชุ มชนและชาวบ้านที่มีต่อวัด วัดควรเป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ศาสนา ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่น ของทั้งผูใ้ หญ่และเยาวชน ความคาดหวังของชุ มชน และชาวบ้านที่มีต่อนักท่องเที่ยว อยากให้นกั ท่องเที่ยวให้ความร่ วมมือในการปฏิ บตั ิตามกฎของวัด และช่วยรักษาสภาพแวดล้อม ข้อเสนอแนะในการวิจยั ควรเปิ ดโอกาสให้ผนู้ าํ และคนในชุมชนได้มี ส่ วนร่ วมในการจัดการ ควรจัดหาสิ่ งของพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุ มชนเพื่อจัดแสดงพิพิธภัณฑ์วฒั นธรรม และศาสนา ควรจัดแบ่งเขตบริ เวณท่องเที่ยวและร้ านค้าให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ควรมีการสร้างสื่ อ ต่ า ง ๆ ในการประชาสั ม พัน ธ์ ใ ห้ ห ลากหลายยิ่ ง ขึ้ น โดยการ จัด ทํา วีดี โ อข้อ มู ล ประวัติ ส ถานที่ ท่องเที่ยว คู่มือการเกี่ยวกับท่องเที่ยว ควรมีมคั คุเทศก์พาชมสถานที่ และอธิ บายประวัติความเป็ นมา ประโยชน์ ความสําคัญของสถานที่ ควรมีห้องสนทนาธรรม ให้พระสนทนาธรรมะด้วยภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก สําหรับศาสนสถานที่สาํ คัญของอําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ประกอบด้วย พุทธศาสนา พระพุ ท ธศาสนา หรื อ ศาสนาพุ ท ธ (บาลี : buddhasāsana พุ ทฺ ธ สาสนา, สั น สกฤต: buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็ นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็ นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็ นหลักคําสอนสําคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ ตัดสิ นใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิ บตั ิตนตามคําสั่งสอน ธรรม-วินยั ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุ สู่ จุดหมายคือพระนิ พพาน และสร้างสังฆะ เป็ นชุ มชนเพื่อสื บทอดคําสอนของพระบรมศาสดา รวม เรี ยกว่า พระรัตนตรัย1 นอกจากนี้ ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคําสอนสําหรับการดํารงชี วิตที่ดี งาม สําหรับผูท้ ี่ยงั ไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิ กา) ซึ่ งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นบั ถือและศึกษาปฏิบตั ิตนตามคําสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจําแนกได้เป็ น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิ กา หรื อที่เรี ยกว่า พุทธบริ ษทั 4 ศาสนาพุทธเป็ นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยูข่ องพระเป็ นเจ้าหรื อพระผูส้ ร้าง และเชื่ อใน ศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ ความเป็ นมนุ ษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียร ของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุ ษย์บนั ดาลชี วิตของตนเอง ด้วยผลแห่ งการกระทําของตน ตาม กฎแห่ ง กรรม มิ ได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็ นเจ้าและสิ่ ง ศักดิ์ สิ ท ธิ์ นอกกายคื อ ให้ พึ่งตนเองเพื่อพาตัวเองออกจากกอง ทุกข์มีจุดมุ่งหมายคือการสอนให้มนุ ษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ ทั้ง ปวงในโลกด้วยวิธี ก ารสร้ าง ปั ญญา ในการอยู่ก ับ ความทุ ก ข์อย่า งรู ้ เท่ า ทันตามความเป็ นจริ ง


41

วัตถุประสงค์สูงสุ ดของศาสนาคือการหลุดพ้นจากความทุกข์ท้ งั ปวงและวัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิด เช่ นเดี ยวกับที่ พระศาสดาทรงหลุ ดพ้นได้ด้วยกําลังสติ ปัญญาและความเพียรของพระองค์เอง ใน ฐานะที่พระองค์ก็ทรงเป็ นมนุษย์ มิใช่เทพเจ้าหรื อทูตของพระเจ้าองค์ใด พระพุทธเจ้า พระองค์ปัจจุบนั คือพระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิ มว่า เจ้าชายสิ ทธัตถะ ได้ ทรงเริ่ มออกเผยแผ่คาํ สอนในชมพูทวีป ตั้งแต่สมัยพุทธกาล แต่หลังปริ นิพพานของพระพุทธเจ้า พระธรรมวินยั ที่พระองค์ทรงสั่งสอน ได้ถูกรวบรวมเป็ นหมวดหมู่ดว้ ยการสังคายนาพระธรรมวินยั ครั้ งแรก จนมี การรวบรวมขึ้ นเป็ นพระไตรปิ ฎก ซึ่ งเป็ นหลักการสําคัญที่ ไม่มีการเปลี่ ยนแปลงมา ตลอดของฝ่ าย เถรวาท ที่ยดึ หลักไม่ยอมเปลี่ยนแปลงคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แต่ในการสังคายนา พระธรรมวิ นั ย ครั้ งที่ ส อง ได้ เ กิ ด แนวคิ ด ที่ เ ห็ น ต่ า งออกไป ว่ า ธรรมวิ นั ย สามารถปรั บ ปรุ ง เปลี่ยนแปลงได้ตามเวลาและสถานการณ์เพื่อความอยูร่ อดแห่ งศาสนาพุทธแนวคิดดังกล่าวจึงได้เริ่ ม ก่อตัวและแตกสายออกเป็ นนิ กายใหม่ในชื่ อของ มหายาน ทั้งสองนิ กายได้แตกนิ กายย่อยไปอีกและ เผยแพร่ ออกไปทัว่ ดินแดนเอเชี ยและใกล้เคียง บ้างก็จดั ว่า วัชรยาน เป็ นอีกนิ กายหนึ่ ง แต่บา้ งว่าเป็ น ส่ วนหนึ่ งของนิ กายมหายาน แต่การจัดมากกว่านั้นก็มีหลักพื้นฐานสําคัญของปฏิ จสมุ ปบาท เป็ น เพียงหลักเดียวที่เป็ นคําสอนร่ วมกันของคติพุทธ ปั จจุบนั ศาสนาพุทธได้เผยแผ่ไปทัว่ โลก โดยมีจาํ นวนผูน้ บั ถือส่ วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชี ย ทั้ง ในเอเชี ย กลาง เอเชี ยตะวันออก และเอเชี ยตะวันออกเฉี ย งใต้ ปั จจุ บนั ศาสนาพุทธ ได้มี ผูน้ ับถื อ กระจายไปทัว่ โลก ประมาณ 700 ล้านคน ด้วยมีผนู ้ บั ถือในหลายประเทศ ศาสนาพุทธจึงเป็ นศาสนา สากล สําหรับศาสนาสถานที่สําคัญของ ตําบลเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ นั้น ส่ วนใหญ่ จะสร้างขึ้นใหม่หลังจากยุทธภูมิเขาค้อสงบ ซึ่ งศาสนสถานที่สาํ คัญได้แก่ 1.วัดแคมป์ สน วัดแคมป์ สน ได้รับการคัดเลื อกจากรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิ การให้เป็ นวัดพัฒนา ตัวอย่าง พ.ศ. 2532 และเป็ นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น พ.ศ. 2536 นอกจากนี้ ภาพในวัดยังมี ศูนย์พฒั นาศาสนาแคมป์ สน ตั้งอยูใ่ นบริ เวณพื้นที่ตาํ บลแคมป์ สน อําเภอเขาค้อจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่ ง ห่ างจากกรุ งเทพมหานครถึ งแคมป์ สน ที่หลักกิ โลเมตร 412 บนเส้นทางพิษณุ โลก-หล่มสัก เป็ นที่ ราชพัส ดุ กรมธนารั ก ษ์ กระทรวงการคลัง หมู่ ที่ 4 บ้า นแคมป์ สนตํา บลแคมป์ สน อํา เภอเขาค้อ จัง หวัด เพชรบู ร ณ์ อาจารย์พ ร รั ต นสุ ว รรณ ซึ่ งเป็ นอาจารย์บ รรยายวิ ช าธรรมประยุ ก ต์ ข อง


42

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในสมัยนั้น (สํานักค้นคว้าทางวิญญาณ, 2518, หน้า 11– 12) ศูนย์พฒั นาศาสนาแคมป์ สน เป็ นหน่วยงานสังกัดส่ วนงานธรรมนิ เทศมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย เป็ นสถานที่ศึกษาค้นคว้า วิจยั ฝึ กอบรมและปฏิบตั ิธรรมสําหรับนิสิตนักศึกษา นัก เรี ย น เยาวชนและประชาชนโดยทั่ว ไป มี ก ารส่ ง เสริ ม การปลู ก ป่ าและพัฒ นาอนุ รั ก ษ์ฟ้ื นฟู ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม (สมหมาย ดูยอดรัมย์, 2556, หน้า 1 – 10) อาจารย์พร รัตนสุ วรรณ เป็ นผูค้ ิดริ เริ่ มก่อตั้งศูนย์พฒั นาศาสนาแคมป์ สนขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ. 2518 ณ ตํา บลแคมป์ สน อํา เภอเขาค้อ จัง หวัด เพชรบู ร ณ์ เพื่ อ ให้ เ ป็ นศู น ย์ก ารเผยแผ่ห ลัก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา เดิ มศูนย์ฯ มีพ้ืนที่ประมาณ 2029 ไร่ แต่ปัจจุบนั มีพ้ืนที่เหลื ออยู่ประมาณ 984 ไร่ อาจารย์พร ได้มอบศูนย์พฒั นาศาสนาแห่งนี้ให้เป็ นสมสมบัติของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ให้เป็ นหน่วยงานหนึ่ งของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯเข้ามากํากับดูแลและพัฒนาให้ เป็ นสถานที่ ป ฏิ บ ัติ ธ รรมสํ า หรั บ นิ สิ ต นัก ศึ ก ษานัก เรี ย น เจ้า หน้า ที่ ค ณาจารย์ข องมหาวิท ยาลัย ตลอดจนประชาชนโดยทั่ว ไปเข้า มาฝึ กอบรมและปฏิ บ ัติ ธ รรม (ฝ่ ายพัฒ นาศาสนาแคมป์ สน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , 2543, หน้า 26) การดําเนินการสร้างศูนย์พฒั นาศาสนา แคมป์ สน ยึดหลักการมีส่วนร่ วมของประชาชน

ภาพ 16 แสดงวัดแคมป์ สน


43

เริ่ มจากพึ่งตนเองก่อน แล้วพัฒนาไปสู่ การรวมกลุ่ มพึ่งพาอาศัยกัน และสร้ างเครื อข่ายการ พัฒนาเชื่ อมโยงสู่ ภายนอก เพื่อความอยูด่ ี มีสุข (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554, หน้า 35) โดยให้เป็ นสถานที่ศึกษาค้นคว้าวิจยั และการปฏิบตั ิธรรม ให้เป็ นแหล่ง เรี ย นรู ้ แ ละแหล่ ง ฝึ กอบรมทางพระพุ ท ธศาสนาขึ้ น จึ ง ได้ด ํา เนิ น การสร้ า งป่ าอนุ รั ก ษ์ป่ าฟื้ นฟู ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม สร้างที่พกั ของคฤหัสถ์และกุฏิสาํ หรับพระสงฆ์ ที่เข้ามาฝึ กอบรมปฏิบตั ิ ธรรม เพราะสถานที่แห่ งนี้ เป็ นสถานที่เงียบสงบ ห่ างไกลจากชุ มชน สัปปายะด้วยบรรยากาศที่ร่มรื่ นมีป่า ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์มีขุนเขาเรี ยงรายรอบ ๆ พื้นที่ของศูนย์พฒั นาศาสนาแคมป์ สนเหมาะแก่การศึกษาค้นคว้าวิจยั ฝึ กอบรมและการปฏิบตั ิธรรม 2. วัดเขาค้ อพัฒนาราม วัดเขาค้อพัฒนาราม อยู่ทางผ่านขึ้นไปจุ ดชมวิวไปรษณี ยเ์ ขาค้อทางด้านขวามื อ บริ เวณ ยอดเขาจะเป็ นที่ต้ งั ของโบสถ์ ระหว่างทางเดินขึ้นไปโบสถ์ จะพบพระพุทธรู ปปางมารวิชยั แบบปูน ปั้ นบริ เวณหน้าโบสถ์ พระเกศาสี ดาํ จีวรและยอดพระเกศาสี ทอง ตัวองค์สีขาว มีอยู่ 6 องค์ ด้านข้างมี พระพุทธรู ปสี ทองปางยืน และมีพระสาวกนัง่ แสดงความเคารพ โดยอริ ยาบทของพระพุทธรู ปจะตั้ง พระหัตถ์ซา้ ยออกไปทางด้านหน้าเสมอพระอุระ เป็ นกิริยาทรงห้าม ส่ วนพระหัตถ์ขวาห้องข้างลําตัว พระบาททั้งสองประทับยืน เมื่อเดินไปที่ โบสถ์ ด้านหน้าโบสถ์ มีพระพุทธรู ปปางมารวิชยั แบบปูน ปั้ น พระเกศาสี ดาํ จีวรและยอดพระเกศาสี ทอง ตัวองค์สีขาว อยู่ 6 องค์ ด้านข้างมีพระพุทธรู ปสี ทอง ปางยืน และมีพระสาวกนัง่ แสดงความเคารพ คาดว่าเป็ นพระพุทธรู ปปางห้ามแก่นจันทน์


44

ภาพ 17 แสดงวัดเขค้อพัฒนาราม โดยอิริยาบถของพระพุทธรู ป จะตั้งพระหัตถ์ซ้ายออกไปข้างหน้า เสมอพระอุระ เป็ นกิริยา ทรงห้าม ส่ วนพระหัตถ์ขวาห้อยข้างลําตัว พระบาททั้งสองประทับยืน แต่ถา้ เป็ นปางลีลา พระบาท ขวาจะยกส้นขึ้ นเล็กน้อย ปลายพระบาทขวายังจดอยู่กบั พื้น อยู่หลังพระบาทซ้ายเล็กน้อย อยู่ใน ลักษณะท่าทางจะทรงพระดําเนิน ส่ วนพระหัตถ์ขวาห้อยอยูใ่ นท่าไกว ที่มาของพระพุทธรู ปปางห้ามแก่นจันทน์น้ ี มาจากเหตุการณ์เมื่อพระพุทธชิ นสี ห์เสด็จไปจํา พรรษายังสวรรค์ช้ นั ดาวดึ งส์ เป็ นเวลา 3 เดื อน ซึ่ งช่ วงเวลานั้น พระเจ้าปเสนทิโกศล ทรงรําลึ กถึ ง พระบรมศาสดา พระองค์จึงให้ช่างแกะรู ปพระพุทธเจ้าปางประทับนัง่ เท่าองค์จริ งด้วยไม้แก่นจันทน์ แล้ว อัญ เชิ ญ ประดิ ษ ฐานยัง พระราชมณเฑี ย ร ที่ พ ระพุ ท ธเจ้า เคยประทับ มาก่ อ น ภายหลัง เมื่ อ พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากสรวงสวรรค์แล้ว พระเจ้าปเสนทิโกศล ก็ทูลอาราธนาให้พระองค์เสด็จไป ทอดพระเนตรพระไม้แก่ นจันทน์ ครั้นพระพุทธชิ นสี ห์ เสด็จไปถึ ง พระไม้แก่นจันทน์ทาํ เสมือน หนึ่งว่า มีจิตรู ้จกั ปฏิสันถารที่ควรจะลุกขึ้นถวายความเคารพพระศาสดา ได้ขยับเลื่อนพระองค์ลงมา จากพระแท่นที่ประทับ ครั้งนั้น พระบรมศาสดา จึงได้ยกพระหัตถ์ซา้ ยขึ้นห้าม พระเจ้าปเสนทิโกศล เห็นดังนั้น ยิง่ เกิดความอัศจรรย์ใจ เลื่อมใส ในพระบารมี ฯ ของพระพุทธองค์


45

ภาพ 18 แสดงพระพุทธรู ปปางแก่นจันทร์ พระครู พชั รคณาภิบาล(หลวงพ่อแคล้ว) เจ้าอาวาสวัด เป็ นผูก้ ่อตั้งวัดเขาค้อพัฒนาราม ซึ่ งวัด แห่ งนี้ เป็ นวัดสําคัญในพื้นที่อาํ เภอเขาค้อ เป็ นสถานที่ประกอบศาสนพิธีสงฆ์ เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ของ ชุ มชน และเป็ นสํานักปฏิบตั ิธรรมประจําจังหวัดเพชรบูรณ์ แห่ งที่ 2 ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 8 บ้านปานสุ ขุม ตําบลเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิ กาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้ อที่ 250 ไร่ 80 ตารางวา ในปี พ.ศ.2545 กรมการศาสนาได้อ นุ ม ัติ แ ต่ ง ตั้ง ให้ เ ป็ นวัด และได้รั บ พระราชทาน วิสุงคามสี มา เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 หลวงพ่อแคล้ว เทพเจ้ าแห่ งเขาค้ อ พระครู พชั รคณาภิบาล หรื อมหาแคล้ว ฐานิ สฺสโร เทพเจ้าแห่ งเขาค้อ เจ้าคณะอําเภอเขาค้อ ตําบลเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ท่านมีความเพียรพยายามหลังจากที่ ได้ปวารนาถึงการ บวชไปตลอดชีวติ


46

ภาพ 19 แสดงหลวงพ่อแคล้ว สิ่ งที่หลวงพ่อแคล้วท่านได้ปฏิบตั ิมานานนับ 14 ปี กิจกรรมหนึ่ งคือการจัดเลี้ ยงพระทุกวัน อาทิตย์ปลายเดือน เดือนหนึ่ง ร้อยถึงเจ็ดร้อยรู ปเลยทีเดียว เพราะหลวงพ่อแคล้ว ท่านเล่าว่า อาตมา เห็ นปั ญหาของการที่ พ ระสงฆ์บ ้า นนอก ที่ อยู่ห่า งไกลความเจริ ญ ในเรื่ องจัตุปัจจัย หรื อปั จจัย สี่ ในการบริ โภคของพระสงฆ์สามเณรที่ขาดแคลน ทําให้พระเณรไม่ตอ้ งไปในเมืองเพื่อแสวงหาจัตุ ปัจจัยให้เพียงพอในการยังชีพของสมณเพศ หลวงพ่อแคล้ว จึงได้นิมนต์พระเณรมารับมหาสังฆทาน ที่วดั เขาค้อ เมื่อญาติโยมทราบข่าว ก็ได้เดินทางมาร่ วมถวายมหาสังฆทานกันแต่ละครั้ง นับร้ อยคน ขึ้นไปในวันอาทิตย์ ในการทําบุญใหญ่ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ปลายเดือน ปั จจัยที่ ได้จากงานบุญใหญ่ หลวงพ่ อ แคล้ ว จะนํา ไปตั้ง เป็ นกองทุ น ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาของพระเณร ณ มหาวิ ท ยาลัย มหา จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยห้องเรี ยน จ.เพชรบูรณ์ ณ วัดไพรสณฑ์ศกั ดาราม หลวงพ่อแคล้ว วัดเขาค้อ กล่าวว่า หลวงพ่อธุ ดงค์มา 40 ปี รวมทั้ง 12 ปี แห่ งการศึกษาทางธรรมจนได้เปรี ยญธรรม 5 ประโยค สิ่ งที่หลวงพ่อเป็ นห่วงสถาบันพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะนักบวชที่จะมาสื บทอดพระพุทธศาสนาเพื่อจะได้สั่งสอนธรรมะสู่ ประชาชน เพราะปัจจุบนั พระสังฆาธิ การรุ่ นอายุ 60 ถึง 80 ปี เมื่อถึงกาลมรณภาพละจากโลกนี้ ไปแล้ว จะมีพระ


47

รุ่ นใหม่สืบต่อกันอย่างไร ในเมื่อปัจจุบนั จะหาผูท้ ี่เข้าบวชเพื่อรักษาพระพุทธศาสนาน้อยเต็มทน และ มีระบบการศึก ษาที่ ทาํ ให้เยาวชนจะมาบวชเข้าพรรษายัง ทําได้ยาก หลวงพ่อจึ งขวนขวายไปหา เยาวชนจากภาคเหนือและอีสาน ซึ่ งเป็ นลูกตาสี ตาสา ขี่หลังวัวหลังควายทําไร่ ทาํ นา มีฐานะยากจน เพื่ อ แบ่ ง เบาภาระของญาติ โ ยม นํา มา บวชพระ บวชเณร แล้ว ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารศึ ก ษาระดั บ มหาวิทยาลัยปริ ญญาตรี ในระดับ มหาวิทยาลัยสงฆ์ “มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย ” ของจัง หวัด เพชรบู รณ์ โดยทุ ก วัน อาตมาได้พ ยายามหากองทุ น เพื่ อยกให้ เป็ นวิทยาเขตให้ เป็ น วิทยาลัยให้ได้ เพื่อจะได้สงเคราะห์ลูกชาวไร่ ชาวนาที่ขี่หลังควายให้มีการศึกษายกฐานะขึ้นเป็ นครู บาอาจารย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป 3.วัดกองเนียม วัดกองเนียม บ้านกองเนียม เขาค้อ วัดเล็ก ๆ ที่อยูบ่ นเนิ นเขาช่วงระหว่างทางขึ้นเขาค้อ ใกล้ ทางขึ้นพระตําหนักเขาค้อ มีจุดชมวิวพระอาทิตย์ข้ ึนยามเช้า ท่ามกลางทะเลหมอก อากาศเย็นสบาย ปั จจุบนั มีพระอาจารย์นที ฐานวุฒิโฑ เป็ นเจ้าอาวาสและกําลังดําเนิ นการก่อสร้างวิหารพระพุทธชิ น ราช นอกจากจะได้ชมวิวทะเลหมอกเขาค้อด้านตะวันตกแล้วบังสามารถชมวิวพระอาทิ ตย์ข้ ึนใน ตอนเช้าอีกด้วย สถานที่ต้ งั วัดมาก ๆ แวะมาดูจุดชมวิวตรงนี้ ก่อนอยูต่ รงกันข้ามเยื้องกับปากทางเข้า ที่จะไปอนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละเขาค้อ


48

ภาพ 20 แสดงวัดกองเนียม คริสต์ ศาสนา ศาสนาคริ สต์ (อังกฤษ: Christianity) ราชบัณฑิ ตยสถานเรี ยกว่า คริ สต์ศาสนา เป็ นศาสนา ประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพ้นื ฐานมาจากชีวติ และการสอนของพระเยซู ตามที่ปรากฏในพระวรสารใน สารบบ (canonical gospel) และงานเขี ยนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผูน้ ับถื อศาสนาคริ สต์เรี ยกว่า คริ สต์ศาสนิกชนหรื อคริ สตชน คริ สตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็ นพระบุตรพระเป็ นเจ้า และเป็ นพระเจ้าผูม้ าบังเกิดเป็ นมนุ ษย์และ เป็ นพระผูช้ ่วยให้รอด ด้วยเหตุน้ ี คริ สตชนจึงมักเรี ยกพระเยซู วา่ "พระคริ สต์" หรื อ "พระเมสสิ ยาห์" ศาสนาคริ ส ต์ปั จ จุ บ ันแบ่ ง เป็ นสามนิ ก ายใหญ่ คื อ โรมัน คาทอลิ ก อี ส เทิ ร์น ออร์ ท อดอกซ์ และ โปรเตสแตนต์ ซึ่ งยังแบ่งนิ กายย่อยได้อีกหลายนิ กาย เขตอัครบิดรโรมันคาทอลิกและออร์ ทอดอกซ์ แยกออกจากกันในช่วงศาสนเภทตะวันออก-ตะวันตก (East–West Schism) ใน ค.ศ. 1054 และนิกาย โปรเตสแตนต์เกิ ดขึ้นหลังการปฏิ รูปศาสนาในคริ สต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่ งแยกตัวออกจากคริ สตจักร โรมันคาทอลิก ศาสนาคริ สต์ในช่วงแรกถือเป็ นนิกายหนึ่งของศาสนายูดาห์เมื่อกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 1 โดย ถื อ กํา เนิ ด ขึ้ น ในชายฝั่ ง ทะเลเมดิ เ ตอร์ เ รเนี ย นทางตะวันออกของตะวัน ออกกลาง (ปั จ จุ บ ัน คื อ อิสราเอลและปาเลสไตน์) ไม่นานก็แผ่ขยายไปยังซี เรี ย เมโสโปเตเมี ย เอเชี ยไมเนอร์ และอี ยิปต์


49

ศาสนาคริ สต์มีขนาดและอิทธิ พลเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงไม่กี่ทศวรรษ และจนถึงคริ สต์ศตวรรษที่ 4 ได้กลายมาเป็ นศาสนาประจําชาติจกั รวรรดิ โรมันระหว่างสมัยกลาง ดิ นแดนยุโรปที่เหลือส่ วนมาก รับศาสนาคริ สต์แล้ว แต่บางภูมิภาค เช่ น ตะวันออกกลาง แอฟริ กาเหนื อ เอธิ โอเปี ย และบางส่ วน ของอิ นเดี ย คริ สตชนยังถื อเป็ นศาสนิ กชนกลุ่ มน้อยหลังยุคสํารวจ ศาสนาคริ สต์ได้แผ่ขยายไปยัง ทวีปอเมริ กา ออสตราเลเซี ย แอฟริ กาใต้สะฮารา และส่ วนที่เหลื อของโลกผ่านงานมิชชันนารี และ การล่าอาณานิคม คริ สต์ศาสนิ กชนเชื่ อว่าพระเยซู คือพระเมสสิ ยาห์ที่พยากรณ์ ไว้ในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่ งในศาสนา คริ สต์เรี ยก "พันธสัญญาเดิ ม" พื้นฐานเทววิทยาศาสนาคริ สต์น้ นั แสดงออกมาในหลักข้อเชื่อสากล (ecumenical creed) ที่มีมาตั้งแต่ศาสนาคริ สต์ยุคแรก และเป็ นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในบรรดา คริ สต์ศาสนิกชน การประกาศความเชื่อนี้มีอยูว่ า่ พระเยซูทรงรับพระทรมาน สิ้ นพระชนม์ และถูกฝัง ไว้ ก่อนจะคืนพระชนม์เพื่อให้ชีวิตนิ รันดร์ แก่ผทู ้ ี่เชื่ อในพระองค์และไว้วางใจว่าพระองค์เป็ นผูไ้ ถ่ บาปพวกเขายังเชื่ ออีกว่าพระเยซู เสด็จขึ้นสู่ สวรรค์ ที่ซ่ ึ งพระองค์ทรงควบคุ มและปกครองรวมกับ พระเจ้าพระบิดา นิ กายส่ วนใหญ่สอนว่าพระเยซู จะกลับมาพิพากษามนุ ษย์ทุกคน ทั้งคนเป็ นและคน ตาย และให้ชีวติ นิรันดร์ แก่สาวกของพระองค์พระองค์ทรงถูกมองว่าเป็ นแบบอย่างของชี วิตอันดีงาม และเป็ นทั้งผูเ้ ผยพระวจนะและเป็ นพระเจ้าลงมารับสภาพมนุษย์ ช่วงต้นคริ สต์ศตวรรษที่ 21 ศาสนาคริ สต์มีศาสนิกชนประมาณ 2.4 พันล้านคนทัว่ โลกคิด เป็ นประมาณ 33% หรื อหนึ่งในสี่ ถึงหนึ่งในสามของประชากรโลก และเป็ นศาสนาที่มีผนู้ บั ถือมาก ที่สุดในโลก ทั้งยังเป็ นศาสนาประจําชาติในหลายประเทศ 1.คริสตจักรรวมมิตร บ้ านเล่าเน้ ง ศาสนาคริ สต์เป็ นศาสนาที่เกิดขึ้นในทวีปเอเชี ย และเผยแพร่ อย่างรุ่ งโรจน์ในโลกตะวันตก ประวัติศาสตร์ ของศาสนามีความยาวนานสื บทอดมาแต่ศาสนายิว แต่ก็ได้รับการต่อต้านจากศาสนา ยิวในช่วงของการเผยแพร่ ศาสนา คือ ในสมัยที่พระเยซู ออกสั่งสอนประชาชน อย่างไรก็ตามศาสนา คริ สต์ยงั คงยืนหยัดต่อสู่ กระแสต้านของสังคมตะวันตกในสมัยนั้นมาได้เป็ นอย่างดี ทั้งนี้ เพราะ นัก เผยแพร่ ศาสนาคริ สต์มีจิตใจศรัทธาพระเจ้าอย่างเด็ดเดี่ยว มุ่งมัน่ และเต็มเปี่ ยมไปด้วยความ เสี ยสละ จึงประสบความสําเร็ จอย่างสู ง ทําให้พวกตะวันตกในสมัยต่อมาได้เข้าสู่ กระแสศรัทธาในพระผูเ้ ป็ น เจ้า ประวัติศาสตร์ ของศาสนาคริ สต์มีความสัมพันธ์กบั ศาสนายิวอย่างใกล้ชิดจนเป็ นที่ยอมรับกันว่า ทั้งสองศาสนานี้ มีลกั ษณะเป็ นศาสนาแห่ งประวัติศาสตร์ ที่ไม่ได้เกิ ดขึ้ นตามธรรมชาติ และไม่ใช่


50

ประวัติศาสตร์ ที่มนุ ษย์เป็ นผูก้ าํ หนด แต่เป็ นประวัติศาสตร์ ที่พระเจ้าได้เข้ามาเกี่ ยวข้องและกําหนด มรรคาแห่ งชี วิตที่ทุกคนจะต้องดําเนิ นไปอย่างถูกต้อง บุคคลในประวัติศาสตร์ ของทั้งสองศาสนานี้ อาทิเช่น อับราฮัม(Abraham) โยเซฟ(Joseph) โมเสส(Moses) และกษัตริ ยโ์ ซโลมอน(Solomon) ฯลฯ ล้วนเป็ นศาสดาที่พระเจ้าได้ทรงกําหนดให้เป็ นไปตามแผนที่พระองค์ได้วางไว้เพื่อช่วยชี วิตมนุ ษย์ ให้ถึงความรอด(Salvation) คัมภีร์ไบเบิลทั้งสองภาค พันธสัญญาจึ งเป็ นคัมภีร์ที่มีความสําคัญยิ่ง โดยเฉพาะในด้านประวัติศาสตร์ ของทั้งสองศาสนา ประวัติศาสตร์ศาสนายูดายของพวกยิวทําให้เราเห็นว่าพวกเขามีความผูกพันกับพระเจ้ามาก เพราะพวกเขาเชื่อว่าตนเองเป็ นชาติที่พระเจ้าได้เลือกให้เป็ นชนชาติที่ยิ่งใหญ่ในอนาคต พระองค์ได้ สัญญากับพวกเขาที่จะให้ดินแดนที่เต็มไปด้วยนํ้าผึ้งและนํ้านม พวกเขาจึงเดิ นทางเร่ ร่อนเพื่อจะหา ดินแดนที่พระเจ้าได้สัญญาไว้น้ ี ตลอดประวัติศาสตร์ อนั ยาวนานในการเดินทางของพวกยิวพวกเขา ต้องประสพกับความทุกข์ยาก การกดขี่ และภัยจากสงครามของชนชาติ มหาอํานาจทําให้พวกเขา ต่างรอคอยพระเมสสิ ยาห์ที่พระเจ้าจะส่ งมาเพื่อช่วยเหลือพวกเขาให้พน้ ทุกข์และเป็ นผูท้ ี่จะนําสันติ สุ ขที่แท้จริ งมาสู่ พวกเขา ศาสดาประกาศกหลายท่านได้ทาํ นายเกี่ยวกับการมาของพระเมสสิ ยาห์ ยิ่ง ทําให้ชาวยิวมีความหวังมากขึ้น แม้ในปั จจุบนั นี้ ชาวยิวในศาสนายูดายยังคงรอคอยอยู่ แต่สําหรั บ ชาวคริ สต์พระเมสสิ ยาห์ คือ พระเยซูคริ สต์( Jesus Christ) บังเกิดขึ้นมาในตําบลเล็ก ๆ แห่ งหนึ่ งชื่ อ เบธเลเฮม(Bethlehem)ในแคว้น ยูด าห์ ตรงกับ ปี พุ ท ธศัก ราช 543 วันที่ บ งั เกิ ดขึ้ นไม่ มี ก ารบันทึ ก แน่ นอน แต่ศาสนจักรได้กาํ หนดเอาวันที่ 25 ธันวาคม ของ(คาทอลิ ก) ของออร์ โธด็อกซ์ กํานดเอา วันที่ 7 มกราคม ของทุกปี เป็ นวันเริ่ มคริ สตศักราชที่ 1 มารดามีนามว่า มารี อา(Maria) ชาวคริ สต์เชื่อ กันว่านางมารี อานั้นตั้งครรภ์ไม่เหมือนสตรี อื่น เพราะเป็ นการตั้งครรภ์โดยอานุ ภาพของพระผูเ้ ป็ น เจ้า ฉะนั้น พระเยซูจึงเป็ นบุตรของพระเจ้า ส่ วนโยเซฟ(Joseph) นั้นเป็ นบิดาเลี้ยงที่มีสายเลือดสื บมา แต่กษัตริ ยด์ าวิด พระเยซูในวัยเด็กนั้นมีจิตใจที่ใฝ่ ในธรรม มีความชอบใจที่จะพูดถึงเรื่ องธรรมกับนักศาสนา ครั้นมีอายุได้ 30 ปี จึงรับบัพติศมา(Baptism) หรื อการรับศีลล้างบาปจากยอห์น(John) ซึ่ งเป็ นศาสดา นักบุญในสมัยนั้น การรับศีลล้างบาปนี้ กระทําที่แม่น้ าํ จอร์ แดน ต่อมาพิธีน้ ี ได้กลายเป็ นพิธีศกั ดิ์สิทธิ์ ของชาวคริ สต์ทุกคนที่จะต้องกระทํา เพื่อประกาศตนเป็ นคริ สต์ศาสนิ กชน หลังจากนั้นพระเยซู ได้ ออกเทศนาทัว่ ประเทศเพื่อประกาศ "ข่าวประเสริ ฐ" อันเป็ นหนทางแห่ งความรอดพ้นจากบาปไปสู่ ชี วิตนิ รันดร์ การประกาศศาสนาของพระเยซู น้ นั ไม่ใช่ เพื่อล้มล้างศาสนายูดาย แต่เป็ นการปฏิ รูป ศาสนาเดิมให้มีความสมบูรณ์ยง่ิ ขึ้น โดยเน้นความรักต่อพระเจ้าและความรักต่อเพื่อนมนุ ษย์ ในขณะ


51

นั้นได้มีผสู ้ นใจคําสอนของพระเยซู แต่ส่วนมากเป็ นชนชั้นชาวบ้านที่ยากจนและชาวประมง พระ เยซู ได้คดั เลื อกสาวกจากบุคคลเหล่านี้ ได้ท้ งั หมด 12 คน สาวกทั้ง 12 คนนี้ ได้ติดตามรับใช้พระเยซู อย่างใกล้ชิดเพื่อเผยแพร่ ศาสนา แต่กระนั้นก็ยงั มีสาวกที่มีจิตใจดื้ อดึ ง คือ ยูดาส อิสคาริ ออท(Judas Iscariot) ยอมทรยศเพื่อเห็นแก่เงินสิ นบนทั้งนี้ สืบเนื่ องมาจากคําสอนของพระเยซู มีส่วนทําให้ผนู ้ าํ ศาสนา ยูดาย ขุนนางและคนรํ่ารวยบังเกิดความไม่พอใจ เพราะถูกตําหนิ จึงโกรธแค้นคิดหาทางทํา ร้ ายด้วยการจับตัวไปขึ้ นศาลของเจ้าเมื องชาวโรมัน โดยยูดายรั บอาสาชี้ ตวั พระเยซู เมื่ อวันที่ ผูน้ ํา ศาสนา ยูดายมาจับตัวพระเยซูไป สาวกทั้ง 11 คน ได้รีบหลบหนีทิ้งให้พระเยซู ถูกจับไปลงโทษ โดย การตรึ งกับไม้กางเขนพระเยซูถูกทรมานอย่างโหดร้ายทารุ ณจนสิ้ นพระชนม์ในขณะที่มีพระชนมายุ ได้ 33 ปี เท่านั้น จึงใช้เวลาประกาศศาสนาเพียง 3 ปี ชาวคริ สต์เชื่อกันว่าหลังจากที่พระเยซูได้สิ้นพระชนม์ไป 3 วันแล้วได้ฟ้ื นคืนชี พอีกครั้ง โดย ปรากฏแก่สาวกทั้ง 11 คน พวกเขาได้ทดสอบพระเยซู หลายครั้งจนมัน่ ใจว่าการฟื้ นคืนชี พของพระ เยซู น้ นั ไม่ใช่เรื่ องหลอกลวงแต่เป็ นจริ ง ประกอบกับการเทศนาสั่งสอนยํ้าให้สาวกทั้งหลายมีความ เข้าใจในพระคัมภีร์ พวกเขาทั้ง 11 คน ได้กลับไปกรุ งเยรู ซาเล็ม จึงร่ วมกันอธิ ษฐานอย่างขะมักเขม้น นับแต่น้ นั มาอัครสาวกทั้ง 11 คน และมัทธี อสั (Matthias) ซึ่งได้รับเลือกเข้ามาในภายหลังรวมเป็ น 12 คน ได้ช่ ว ยกันเผยแพร่ ศ าสนาอย่า งมัน่ คงทํา ให้ มี ผูเ้ ข้า มาเป็ นสาวกของพระเจ้า มากมาย แต่ ใ น ขณะเดียวกันการเผยแพร่ ศาสนามีความลําบากเป็ นอย่างมาก เพราะถูกต่อต้านอยูเ่ สมอจากพวกที่นบั ถือศาสนายูดาย ในบรรดาสาวกของพระเยซู นกั บุญเปโตร(Petro) ได้รับการแต่งตั้งจากพระเยซู ให้ เป็ น หัวหน้าโดยนัยนี้ ท่านจึงเป็ นผูน้ าํ สู งสุ ดของศาสนาคริ สต์เป็ นคนแรก นักบุญเปโตรได้เผยแพร่ ศาสนาถึงกรุ งโรมและได้เลือกกรุ งโรมเป็ นศูนย์กลางการดําเนินงานของ ศาสนจักร ในบั้นปลายชี วิต ของท่านนั้นได้ถูกพวกทหารโรมันจับทรมานและประหารชีวติ ความเจริ ญ ของศาสนาคริ ส ต์ ไ ด้มี ม ายาวนานจนกระทั่ง ถึ ง ยุ ค ล่ า อาณานิ ค มของพวก จักรวรรดิ์ นิ ยมชาวยุโรปและอเมริ กนั ซึ่ งอยู่ในช่ วงเวลาประมาณคริ สต์ศตวรรษที่ 15-16 ศาสนา คริ สต์ได้ถูกนําไปเผยแพร่ ในประเทศต่าง ๆ ที่นกั ล่าอาณานิ คมเหล่านี้ ไปถึง ทําให้คริ สต์ศาสนิ กชน มีปริ มาณเพิ่มมากขึ้นทั้งในทวีปยุโรป อาฟริ กา อเมริ กา เอเชี ย และออสเตรเลีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ประเทศไทยได้มีนกั สอนศาสนาชาวโปรตุเกสและสเปนเข้ามาเผยแพร่ โดยเดินทางมาพร้อมกับพวก ทหารและพ่อค้า ของประเทศเหล่ า นั้น ทําให้มี ค นไทยนับ ถื อศาสนาคริ สต์กระจัดกระจายไปทัว่ ประเทศ(www.orthodox.or.th)


52

ภาพ 21 แสดงคริ สตจักรรามมิตร 2 .วัดนักบุญอากาทา บ้ านเล่าเน้ ง นักบุญอากาทา “อากาทา” แปลว่า ดี หรื อความดี ชี วิตของนักบุญอากาทาก็คล้ายกับนักบุญ อักแนสทั้งสองเป็ นพรหมจารี ยม์ รณสักขี ในยุคต้นของพระศาสนจักร แต่สําหรั บนักบุ ญอากาทา เกือบไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับเธอในประวัติศาสตร์ เลย เว้นแต่บอกว่าเธอเป็ นมรณสักขีที่เมืองซิ ซิลี ในอิตาลี ในระหว่างการเบียดเบียนศาสนาของจักรพรรดิ์เดซี อุส ในปี ค.ศ.251 ตามตํานานเล่าไว้ใน ลักษณะคล้ายกับนักบุญอักแนส อากาทาถูกจับในฐานะเป็ นคริ สตชน เธอถูกทรมานและถูกส่ งตัว ไปที่ สํานักโสเภณี แต่เธอได้รับการปกป้ องให้พน้ จากความไม่บริ สุทธิ์ ทั้งหลาย ในที่ สุดเธอก็ถูก นํา ไปประหารชี วิต นัก บุ ญอากาทาเป็ นองค์อุปถัมภ์ของเมื องปาเลโม และคาตาเนี ย ในปี ที่ เธอ เสี ยชีวติ ภูเขาไฟเอ็ตน่าได้ปะทุข้ ึน แต่โดยอาศัยการเข้าแทรกแซงช่วยเหลือจากนักบุญอากาทา ตาม คําวอนขอของชาวเมือง ภูเขาไฟจึงได้สงบลง


53

ภาพ 22 แสดงวัดนักบุญอากาทา ตามตํานานเล่าว่า เมื่อนักบุญอากาทาถูกจับ เธอสวดภาวนาว่า “พระเยซูเจ้าข้า พระองค์ทรง เป็ นเจ้านายของทุกสิ่ ง พระองค์ทรงมองเห็นในใจของลูก พระองค์ทรงทราบความปรารถนาของลูก พระองค์เป็ นเจ้าของตัวลูก ลูกเป็ นแกะของพระองค์โปรดทําให้ลูกมีคุณค่าพอที่จะเอาชนะปี ศาจด้วย เทอญ” และระหว่างที่อยู่ในคุ กเธอสวดว่า “พระเยซู เจ้าข้า องค์พระผูส้ ร้างของลูก พระองค์ทรง ปกป้ องลู กตั้งแต่ลูกยังอยู่ในเปล พระองค์ทรงนําลู กให้พน้ จากความรั กต่อโลกและทรงประทาน ความอดทนและความทุกข์แก่ลูก บัดนี้โปรดรับวิญญาณของลูกด้วยเถิด” (www. blogspot.com) 3.วัดคาทอลิก บ้ านเล่าเน้ ง นิกายโรมันคาทอลิคตั้งแต่เปโตรได้รับการสถาปนาจากพระเยซูให้เป็ นผูด้ ูแลพระศาสนจักร เราอาจกล่าว ได้วา่ ท่านเป็ นสันตะปาปาคนแรกที่ทุกคนต้องยอมรับนับถือและมีศรัทธาเชื่ อฟั งอย่าง เดียว ในฐานะที่เป็ น “ผูด้ ูแลฝูงแกะ” ของ พระเจ้า ความคิ ดแบบนี้ ได้สืบทอดกันต่อมาจนกระทัง่ ปั จจุบนั นี้ พระสันตะปาปาจึงมิได้อยู่ในฐานะ นักบวชเท่านั้นแต่เป็ นประมุขสู งสุ ดของศาสนจักรที่ ทุกคนต้องปฏิบตั ิตามคําสั่ง นิกายโรมันคาทอลิคจึงเป็ นนิกายที่มุ่งมัน่ ให้สัตบุรุษมีศรัทธาและปฏิบตั ิ ตาม พระศาสนจักร เพราะพระศาสนจักรเป็ นส่ วนหนึ่ งของอาณาจักรแห่ งสวรรค์และเป็ นองค์กรที่


54

สามารถนําประชาชนไปสู่ การบรรลุ เป้ าหมายตามภาระกิจที่พระเจ้าได้มอบไว้มนุ ษย์จะรอดพ้นจาก ทุกข์ และบาปกําเนิด (original sin) ที่สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษได้น้ นั ต้องอาศัยคําสอนของพระเจ้า ซึ่ งปรากฏอยูใ่ นพระคัมภีร์ไบเบิล และอีกหนทางหนึ่งก็คือการปฏิบตั ิตามศีลศักดิ์สิทธิ์ (Sacrament) อันเป็ นสื่ อสัมพันธ์โดยองค์พระบุตรของพระเจ้าได้มอบจิตของพระองค์ดาํ รงอยูก่ บั ศาสนจักร นี้ โดยให้ พ ระศาสนจัก รเป็ นเครื่ อ งหมายและเครื่ อ งหมายสํ า หรั บ ความอยู่ร อดต่ อ ไปและเป็ น เครื่ องหมายของอาณาจักรพระเจ้าซึ่ งจะมาปรากฏอีกครั้งหนึ่งในวาระสุ ดท้าย ศีลศักดิ์สิทธิ์ ซึ่ งปรากฏ ออกมา ในรู ป ของพิ ธี ก รรมจึ ง เป็ นเครื่ องเตื อนสติ และเป็ นกํา ลัง ใจแก่ ผูท้ ี่ มี ค วามเชื่ อในพระเจ้า สามารถดําเนิ นชี วิตได้อย่างถูกต้อง การรับศีลศักดิ์สิทธิ์ และการศึกษาพระคัมภีร์จึงมีความเท่าเทียม กัน และเป็ นคู่ ก ันในชี วิตคริ ส ต์ค าทอลิ ค ชาวคริ ส ต์ค าทอลิ ค จํา เป็ นต้องอ่ า นพระคัม ภี ร์ ใ ห้ม าก และรับศีลศักดิ์สิทธิ์ ให้มากครั้งตามโอกาสอันควร ทั้งนี้เพื่อการปฏิรูปชีวติ ให้ดีข้ ึน


55

ภาพ 23 แสดงวัดคาทอลิก ความแตกต่ างของนิกายโรมันคาทอลิกกับนิกายโปรเตสแตนต์ 1. การนับถือพระแม่มารี และนักบุญ นิกายโรมันคาทอลิกนับถือทั้ง พระเยซู และพระแม่มารี โดยเชื่ อว่าพระแม่มารี แม่ของพระ เยซู เป็ นหญิงพรหมจรรย์ และให้เกี ยรติพระนางมารี เป็ นพิเศษ เรี ยกว่า “แม่พระ” หมายถึง มารดา ของพระเจ้า และยังมีการยกย่อง นักบุญ (Saint [เซนต์]) คือ วีรบุรุษและวีรสตรี ทางศาสนาหรื อบุคคล ที่ดาํ เนิ นชี วิตตามแบบอย่างพระเยซู อย่างดีมากจนมัน่ ใจว่าได้ไปสวรรค์และเป็ นเทพผูค้ ุม้ ครองผูค้ น อาจเปรี ยบเทียบให้เข้าใจง่ายว่า พระเยซูเสมือนกษัตริ ย ์ แม่พระเสมือนพระราชชนนี และเหล่านักบุญ เสมื อนขุนนางองครั กษ์ ต่ างจากนิ กายโปรเตสแตนต์ ซึ่ งนับ ถื อแต่พระเยซู ส่ วนพระแม่มารี และ นักบุญนั้นไม่ได้ให้ความสําคัญนัก 2. คัมภีร์ พระคริ สตธรรม ภาคพันธสัญญาเดิมของนิ ก ายโรมันคาทอลิ กมี 46 เล่ม ขณะที่พระคริ สต ธรรมภาคพันธสัญญาเดิมของนิกายโปรเตสแตนต์มี 39 เล่ม (ต่างกัน 7 เล่ม) 3. พิธีกรรม นิกายโรมันคาทอลิกมีพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิ 7 พิธี ได้แก่ 1) ศีลล้างบาป


56

2) ศีลกําลัง 3) ศีลมหาสนิท 4) ศีลบรรพชา 5) ศีลสมรส 6) ศีลอภัยบาป 7) ศีลเจิมผูป้ ่ วย ความแตกต่างจากนิ กายโปรเตสแตนต์ที่เหลื อเพียง 2 พิธีที่ให้ความสําคัญ คือ ศีลล้างบาป (ศีลจุ่ม หรื อบัพติสมา) และศีลมหาสนิท(www.thaigoodview.com) 4. บ้ านพระหฤทัย

ภาพ 24 แสดงบ้านพระหฤทัย


57

ส่ วนที่ 4 วัฒนธรรมประเพณี 1.วัฒนธรรมทางด้ านชาติพนั ธุ์ การพัฒนากลุ่มชาติ พนั ธุ์ ในประเทศไทยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปี ที่ ผ่านมา เริ่ มจากการ พัฒนากลุ่ มชาติ พนั ธุ์ ที่ต้ งั ถิ่ นฐานบนพื้นที่ สูง คื อ “ชนชาวเขา” ด้วยสาเหตุสํา คัญคื อ ความมัน่ คง บริ เวณพื้นที่ชายแดนการแก้ไขปั ญหายาเสพติด ปั ญหาการตัดไม้ทาํ ลายป่ า การทําไร่ เลื่อนลอยและ การลดอัตราการเพิ่มประชากรโดยใช้ “นโยบายรวมพวก” เป็ นหลัก เพื่อให้ชนชาวเขาเป็ นพลเมือง ไทยที่ดีและสามารถช่วยเหลือตนเองได้มีการตั้ง “คณะกรรมการสงเคราะห์ชาวเขา” ในปี 2502 และ ต่ อมาได้บ รรจุ เป็ นแนวทางการพัฒนาประเทศครั้ งแรกในช่ วงแผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) ในการพัฒนากลุ่มชาติพนั ธุ์บนพื้นที่สูง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเรี ยกชนชาวเขาว่า “เป็ นคนไทยแต่อยูบ่ นเขา” พระองค์ได้พระราชทานความช่วยเหลือในการสงเคราะห์และพัฒนาใน ด้านการศึกษาตั้งแต่ปี 2506 เป็ นต้นมา และในปี 2512 มีพระราชดําริ ให้จดั ตั้ง “โครงการหลวง” ขึ้น เพื่อช่วยเหลือชนชาวเขาในด้านมนุ ษยธรรม แก้ไขปั ญหายาเสพติด การส่ งเสริ มการทําการเกษตรที่ ถู ก ต้อ งและเพื่ อ การจัด ตั้ง ถิ่ น ฐานถาวรเป็ นหลัก แหล่ ง และช่ ว ยรั ก ษาป่ า ต่ อ มาได้มี กิ จ กรรม ดํา เนิ นงานพัฒนาช่ วยเหลื อชนชาวเขาและกลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ อื่น ๆ ตามแนวพระราชดํา ริ อี ก หลาย โครงการกระจายอยูท่ วั่ ทุกภูมิภาคของประเทศถึงปั จจุบนั การพัฒนากลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ บ นพื้ นที่ สู ง ของรั ฐ ได้มี ก ารดํา เนิ น งานอย่า งเป็ นรู ป ธรรมเมื่ อ คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2532 และวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2535 เรื่ อง นโยบายแก้ไข ความมัน่ คงของชาติเกี่ ยวกับชาวเขาและการปลูกพืชเสพติด มุ่งเน้นในการจัดตั้งถิ่ นฐานถาวร การ สํารวจสถานะบุคคล การพัฒนาปั ญหายาเสพติด โดยมีการตั้งคณะกรรมการระดับชาติข้ ึนรับผิดชอบ มีการสํารวจข้อมูลชุมชนพื้นที่สูงตามมติคณะรัฐมนตรี ในปี 2536 จัดทําแผนแม่บทในระดับชาติและ ระดับจังหวัด และมีการดํา เนิ นงานร่ วมกันของหน่ วยงานต่าง ๆ ส่ งผลให้การดําเนิ นงานประสบ ผลสําเร็ จในระดับหนึ่ง แต่จากการปฏิรูประบบราชการในปี 2545


58

โครงสร้างงานบริ หารงานของหน่วยงานต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไป ขาดหน่วยงานรับผิดชอบที่ ชัดเจน การพัฒนากลุ่มชาติพนั ธุ์ มีลกั ษณะเป็ นงานประจําปกติ ในขณะที่ การแก้ไขปั ญหาที่ ส่งผล กระทบต่อความมัน่ คงของชาติโดยรวมยังไม่หมดไป ทําให้กลุ่มชาติพนั ธุ์รวมตัวกันเรี ยกร้องเรื่ อง สัญชาติการย้ายถิ่นและการแก้ไขปั ญหายาเสพติดตามปฏิญญาสหประชาชาติวา่ ด้วยสิ ทธิ ชนพื้นเมือง พ.ศ.2550 ผลการพัฒนากลุ่ มชาติพนั ธุ์โดยรวมในระยะที่ผ่านมา แม้ว่าจะส่ งผลให้ความเป็ นอยู่และ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนกลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ ดี ข้ ึ น แต่ ก ารเปลี่ ย นแปลงสภาพเศรษฐกิ จ สั ง คม การปกครองและสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการบริ หารจัดการที่หลากหลายขาดความชัดเจน ปั ญหาต่าง ๆ ของกลุ่มชาติพนั ธุ์จึง ยังคงอยู่โดยเฉพาะเรื่ องการกําหนดสถานะบุคคล การจัดตั้งถิ่นฐานถาวรและการได้รับการยอมรับ รวมทั้ง ยุท ธศาสตร์ แนวทางการพัฒนาที่ หน่ วยต่ า งๆ กํา หนดขึ้ นยัง หลากหลายขาดการกํา หนด จุดมุ่งหมายในการดําเนิ นงานร่ วมกันอย่างเป็ นรู ปธรรม (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย์. 2558. หน้า มปน.) ชาติพนั ธุ์เผ่ าม้ ง ความเป็ นมาของชุ ม ชนม้ง ในเขตรอยต่ อ สามจัง หวัด เพชรบู ร ณ์ พิ ษ ณุ โ ลก และเลย เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2465 มีชาวม้งจํานวนหนึ่ งได้โยกย้ายถิ่นฐานจากจังหวัดน่าน เข้ามาบุกเบิกตั้ง ถิ่ น ฐานอยู่ ใ นพื้ น ที่ บ ริ เ วณเทื อ กเขารอยต่ อ สามจัง หวัด ภาคเหนื อ ตอนล่ า ง จัง หวัด เพชรบู ร ณ์ พิษณุโลกและเลย เนื่องจากมีสภาพอากาศเย็นเหมาะแก่การทําไร่ ฝิ่นและอยูอ่ าศัย วิถีชีวิตการเป็ นอยู่ ก็เป็ นแบบทําไร่ หมุนเวียนและเลี้ยงสัตว์ ห่ างไกลเส้นทางคมนาคม โดยกระจายตั้งถิ่นฐานตามพื้นที่ ดังนี้ บริ เวณภูเขาขาด ภูทบั เบิก ภูเขาย่า เขตจังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มม้งที่เข้ามาบุกเบิกในพื้นที่รอยต่อ เขตสามจัง หวัด เพชรบู ร ณ์ พิ ษ ณุ โ ลก และเลย เป็ นกลุ่ ม แรกที่ เ ข้า มาในเขตจัง หวัด เพชรบู ร ณ์ โดยเริ่ มแรกได้เข้ามาทํากิ นและอยูอ่ าศัยเป็ นการชัว่ คราวที่บา้ นนํ้าก้อเหนื อ ตําบลนํ้าก้อ อําเภอหล่ม เก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2465 ภายใต้การนําของ นายเย้ง แซ่ สง มีประชากร 60 หลังคาเรื อน 6,505 คน อยูไ่ ด้ประมาณ 2 ปี นายเย้งก็ถูกคนร้ายฆ่าตาย ชาวบ้านทั้งหมดจึงย้ายไปอยูท่ ี่ บ้านนํ้าหมัน ตําบนกกสะทอน อําเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย แต่อยูม่ าไม่นานก็ได้ยา้ ยไปที่บา้ นใต้ผาทับ


59

เพี ย ง ประมาณปี พ.ศ. 2475 เกิ ดเหตุ ก ารณ์ หมู่ บ ้า นถู ก ปล้นและผูห้ ญิ ง ถู ก ข่ ม ขื น ชาวบ้า นถึ ง ได้ หลบหนีพากันย้ายไปอยูต่ ามหมู่บา้ นต่าง ๆ ในเวลาต่อมาก็มีการก่อตั้งหมู่บา้ นต่าง ๆ ในเขตภูเขาขาด ภูทบั เบิก และภูเขาย่า ได้แก่ บ้านเข็กเก่า ตําบลนํ้าก้อ อําเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ชาวม้งนิยมสร้างบ้านเรื อนอาศัยอยูใ่ นที่สูงที่มีอากาศเย็น การทําไร่ ของชาวม้งเป็ นการทําไร่ แบบหมุนเวียน ก่อนเดิมอําเภอหล่มสักมีฐานะเทียบเท่ากับจังหวัด เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2459 เรี ยกว่า อําเภอวัดป่ า ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็ นหล่มสัก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2481 บ้านเข็กเก่า ตําบลนํ้าก้อ อําเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2475 มีผใู ้ หญ่บา้ นชื่ อ นายหลือ แซ่ สง ประชากรในขณะนั้นมี 400 หลังคาเรื อน 3,000 คน หมู่บา้ นถูกทิ้ง ร้างไปประมาณ ปี พ.ศ. 2505 สาเหตุเพราะชาวบ้านส่ วนใหญ่แยกย้ายกันไปก่อตั้งหมู่บา้ นใหม่และ ไปอยูย่ งั หมู่บา้ นอื่น เป็ นยุคการเลิกปลูกฝิ่ น หันไปปลูกข้าวโพด กะหลํ่าปลี ชาวม้งจึงพากันไปหาที่ ทํากินใหม่ในพื้นที่ใหม่ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 30 ปี บ้านเขาขาด หมู่ 10 ตําบลนํ้าก้อ อําเภอหล่ มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งเมื่ อประมาณ ปี พ.ศ. 2501 ผูน้ าํ บุกเบิก นายโก๊ะ แซ่หยาง มีประชากร 40 หลังคาเรื อน 300 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิสต์ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 10 ปี บ้านห้วยป่ าสอด หรื อบ้านเล่าสร้าง หรื อบ้านเข็กน้อย (บ้านเข็กน้อยในปั จจุบนั ) ก่อตั้งเมื่อ ปี พ.ศ. 2502 ผูบ้ ุกเบิก นายสร้าง แซ่ หยาง ประชากร 40 หลังคาเรื อน 300 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิ สต์ โดยกลุ่มของนายโซ้ แซ่ หยาง เข้า ป่ าเป็ นคอมมิ วนิ สต์ ส่ วนกลุ่ ม นายสร้ า ง แซ่ หยาง ออกมาอยู่กบั ฝ่ ายรั ฐบาล รวมระยะเวลาการมี หมู่บา้ น 9 ปี บ้านทับเปา หรื อทับเบิก ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2475 มีผนู้ าํ หมู่บา้ น / ผูใ้ หญ่บา้ น ชื่ อนายเก๋ ง แซ่ ท่อ ประชากร 100 หลังคาเรื อน 800 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้ างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิสต์ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 36 ปี มีบา้ นบริ วารใกล้เคียงกับบ้านป่ า ยาบ คือบ้านสนามกุง้ บ้านเล่านะ ตําบลป่ าเลา อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2504 ผูบ้ ุกเบิกนาย ใจนะ แซ่ หยาง ประชากร 120 หลังคาเรื อน 800 คน มาจากบ้านเข็กเก่า หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ.


60

2511 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิ สต์ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 7 ปี มีบา้ น บริ วาร คือ บ้านหูชา้ ง บ้านโสว์เน้ง ตําบลป่ าเลา อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2504 ผูบ้ ุกเบิก นายโสว์เน้ง แซ่ หว้า ประชากร 100 หลังคาเรื อน 900 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุ เพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิ สต์ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 7 ปี มีบา้ นบริ วาร คือ บ้านเฒ่าช่างเหล็กและบ้านโฮว์เข้ บ้านเล่ าลื อ / Tsav Lwv Zos ตําบลป่ าเลา อําเภอเมื อง จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่ อตั้งเมื่ อปี พ.ศ. 2505 ผูบ้ ุกเบิก นายเล่าลือ แซ่ คาํ ประชากร 120 หลังคาเรื อน 1,000 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2519 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิ สต์โดยทางรัฐไปรับมายู่ที่เข็กน้อย รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 14 ปี บ้านเขาย่า อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2505 ผูบ้ ุกเบิก/ผูใ้ หญ่บา้ นคือ นายท้ง แซ่สง ประชากร 100 หลังคาเรื อน 900 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุเพราะการ ต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิสต์ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 6 ปี บ้านทุ่งสะเดาะพงหนองหวานเย็น ตําบลท่าพล อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2507 ผูบ้ ุกเบิก/หัวหน้าบ้านคือ นายโล่ง แซ่หลอ ประชากร 120 หลังคาเรื อน 1,000 คน หมู่บา้ น ถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิ สต์ รวมระยะเวลาการมี หมู่บา้ น 4 ปี บ้านเขาค้อ ตํา บลนํ้าชุ น อ.หล่ มสัก จ.เพชรบูรณ์ ก่ อตั้งเมื่ อปี พ.ศ. 2504 ผูบ้ ุกเบิก/ผูน้ ํา หมู่บา้ น นายเยีย แซ่ ลี ประชากร 300 หลังคาเรื อน 2,500 คน (รวมเผ่าลีซอ 50 หลังคาเรื อน) หมู่บา้ น ถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิ สต์ รวมระยะเวลาการมี หมู่บา้ น 7 ปี บริ เวณภูหินร่ องกล้า เขตจังหวัดพิษณุ โลก มีหมู่บา้ นตามลําดับได้แก่ บ้านร่ องกล้า อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุ โลก ก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2475 ภายใต้การ นําของนายเก๋ อ แซ่ ลี มีประชากรประมาณ 100 หลังคาเรื อน 800 – 1,000 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุ เพราะการต่ อสู ้ ระหว่า งรั ฐบาลและคอมมิ วนิ ส ต์ รวมระยะเวลาการมี หมู่ บ ้า น ประมาณ 36 ปี


61

บ้านป่ าหวาย หมู่ที่ 14 ตําบลเนิ นเพิ่ม อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุ โลก ก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2480 ภายใต้การนําของนายซัว แซ่ ลี และนายจูเซ้ง แซ่ หว้า มีจาํ นวนประชากรประมาณ 136 หลังคาเรื อน ประชากร 3,000 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้ างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุ เพราะการต่อสู ้ ระหว่าง รัฐบาลและคอมมิวนิสต์ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น ประมาณ 31 ปี บ้านป่ าข้อโป ตําบลหนองกะท้าว อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุ โลก ก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2496 ภายใต้ก ารนําของนายยี แซ่ ลี และนายจอ แซ่ ลี มี ประชากร 200 หลังคาเรื อน 800 คน หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2505 สาเหตุเพราะชาวบ้านแยกย้ายไปอยูย่ งั หมู่บา้ นใหม่คือบ้านห้วยทราย เหนือ-ใต้ และบางส่ วนกลับไปอยูต่ ามหมู่บา้ นอื่น รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น ประมาณ 9 ปี บ้า นห้วยทรายเหนื อ -ใต้ ก่ อตั้ง เมื่ อประมาณ ปี พ.ศ. 2505 ผูบ้ ุ ก เบิ ก คื อ นายทอง แซ่ ลี มี ประชากร 300 หลังคาเรื อน 3,000 คน (มาจากบ้านป่ าข้อโป) หมู่บา้ นถูกทิ้งร้างไป พ.ศ. 2511 สาเหตุ เพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิสต์ รวมระยะเวลาการมีหมู่บา้ น ประมาณ 6 ปี บริ เวณภูข้ ีเถ้า เขตจังหวัดเลย มีหมู่บา้ นตามลําดับ ได้แก่ บ้านภูข้ ีเถ้า ตําบลกกสะทอน อําเภอด่ านซ้าย จังหวัดเลย ก่ อตั้งเมื่ อประมาณก่ อน ปี พ.ศ. 2475 (ก่อนมีบา้ นร่ องกล้า) ผูบ้ ุกเบิก นายเต๋ ง แซ่ ท่อ มีจาํ นวนประชากร 250 หลังคาเรื อน 1,500 คน หมู่ บ ้า นถู ก ทิ้ ง ร้ า งไป พ.ศ. 2511 สาเหตุ เ พราะการต่ อ สู ้ ร ะหว่ า งรั ฐ บาลและคอมมิ ว นิ ส ต์ รวม ระยะเวลาการมีหมู่บา้ น ประมาณมากกว่า 36 ปี บ้านป่ ายาบ ตําบลกกสะทอน อําเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2480 ผู้ บุกเบิก นายตัว๋ แซ่ ท่อ มี จาํ นวนประชากร 120 หลังคาเรื อน 1,000 คน หมู่บา้ นถู กทิ้งร้ างไป พ.ศ. 2514 สาเหตุเพราะการต่อสู ้ระหว่างรัฐบาลและคอมมิวนิ สต์โดยทางการไปรับมาอยูท่ ี่เข็กน้อย รวม ระยะเวลาการมีหมู่บา้ น 26 ปี ประวัติความเป็ นมาชนเผ่าม้ ง ประวัติความเป็ นมาของชนเผ่าม้งนั้นยังไม่มีผใู ้ ดสามารถสรุ ปได้ว่าชนเผ่าม้งนั้นมาจากที่ ไหน แต่สันนิ ษ ฐานกันว่าม้งนั้นน่ าจะอพยพมาจากที่ ราบสู งธิ เบต ไซบี เรี ย และมองโกเลี ย เข้า สู่ ประเทศจี นและตั้งหลักแหล่ งอยู่ทางลุ่ มแม้น้ าํ เหลื อง(แม่น้ าํ ฮวงโห) เมื่ อราว 3,000 ปี มาแล้ว ซึ่ ง ชาวเขาเผ่าม้งจะตั้งถิ่ นฐานอยู่ในมณฑลไกวเจา ฮุนหน่ า กวางสี และมณฑลยูนาน ม้งอาศัยอยู่ใน


62

ประเทศจีนมาหลายศตวรรษ จนกระทั้งประมาณคริ สต์ศตวรรษที่ 17 ราชวงศ์แมนจู(เหม็ง) มีอาํ นาจ ในประเทศจีนกษัตริ ยจ์ ีนในราชวงศ์เหม็งได้เปลี่ยนนโยบายเป็ นการปราบปราม เพราะเห็นว่าม้งเป็ น ผูช้ ายส่ วนใหญ่แล้วรู ปร่ างหน้าตาคล้ายคนรัสเซี ย ทําให้คนจีนคิดว่าม้งเป้ นคนรัสเซี ยจึงเป็ นเหตุให้มี การปราบปรามม้งเกิ ดขึ้น โดยให้ชาวม้งยอมจํานนและยอมรับวัฒนธรรมจีน อีกประการหนึ่ ง คื อ เห็นว่าม้งเป็ นพวกอนารยชนแห่ งขุนเขา(คนป่ าเถื่ อน) จึงได้มีการต่อสู ้กนั อย่างรุ นแรงในหลายแห่ ง เช่น ในเมืองพังหยุนในปี พ.ศ. 2009 การต่อสู ้ในมณฑลไกวเจาในระหว่าง พ.ศ. 2276-2278 และการ ต่อสู ้ในมณฑลเสฉวนในระหว่าง พ.ศ. 2306-2318 ในที่สุดชาวม้งประสบกับความพ่ายแพ้ สู ญเสี ย พลรบ และประชากรจํานวนมาก ในที่สุดชาวม้งก็เริ่ มอพยพถอยร่ นสู่ ทางใต้ และกระจายเป็ นกลุ่ม ย่อย ๆ กลับขึ้นอยู่บนที่สูงป่ าเขาในแคว้นสิ บสองจุไทย สิ บสองปั นนา อีกกลุ่มได้อพยพไปทางทิศ ตะวันออกเฉี ยงเหนื อของราชอาณาจักรลาวบริ เวณทุ่งไหหิ นเดียนเบียนฟู โดยมีหวั หน้าม้งคนหนึ่ ง คือ นายพลวังปอ ได้รวบรวมม้งแล้วอพยพเข้าสู่ ประเทศไทยเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2400 เป็ นต้นมา

ภาพ 25 แสดงเด็กชาวเขาเผ่าม้ง


63

ปั จจุบนั ชาวม้งส่ วนใหญ่ในประเทศไทยตั้งถิ่นฐานอยูต่ ามภูเขาสู ง หรื อที่ราบเชิงเขาในเขต พื้นที่จงั หวัดเชี ยงราย พะเยา น่ าน เชี ยงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ ลําปาง กําแพงเพชร เลย พิษณุ โลก เพชรบูรณ์ สุ โขทัยและตาก ครอบครัวและญาติ ระบบเครื อญาติของม้งในประเทศไทยตระกูลแซ่ของเผ่าม้งในประเทศไทย ประกอบด้วย - ตระกูลแซ่รีซ่ ึ งจะเป็ นม้งเขียว หรื อม้งดํา - ตระกูลแซ่ทา้ ว เป็ นม้งเขียว หรื อม้งดํา - ตระกูลแซ่ยา่ ง เป็ นม้งดําหรื อม้งเขียว - ตระกูลแซ่มา้ หรื อแซ่ห่าง เป็ นม้งดําหรื อม้งเขียว - ตระกลูแซ่วอื เป็ นม้งขาว และบางตระกูลแซ่วอื ก็เป็ นม้งกัวมะบา - ตระกูลแซ่ฟ้า เป็ นม้งขาว - ตระกูลแซ่วา่ ง เป็ นม้งขาว และบางตระกูลก็เป็ นม้งเขียวหรื อม้งดํา - ตระกูลแซ่รีกบั ตระกูลแซ่มา้ มีตาํ นานว่าในอดีตเป็ นญาติกนั แต่ดว้ ยความไม่รู้ของหนุ่มสาว เนื่ องจากม้งส่ วนใหญ่จะอยู่ ตามภูเขาใหญ่และห่ างไกลกัน ดังนั้นมีหนุ่ มม้งแซ่ มา้ มาจีบสาวม้งตระกูลแซ่ รีจึงหนี ไปอยู่ดว้ ยกัน พอผูใ้ หญ่รู้เรื่ องจึงได้เข้าไปกี ดกันไม่ให้อยู่ดว้ ยกัน เนื่ องจากเป็ นพี่น้องกัน ดังนั้นหนุ่ มสาวคู่น้ ี จึง ตัดสิ นใจหนีไป ตายด้วยกันแล้วชาวบ้านม้งสองตระกูลได้เข้าไปพบ และจึงนํามาฝังด้วยกันแล้ว จึง ห้ามให้สองตระกูลนี้ แต่งงานด้วยกัน เนื่ องจากเป็ นพี่น้องร่ วมปู่ กับย่าด้วย แต่ปัจจุบนั นี้ ก็ได้มีสอง ตระกูลนี้ ได้แต่งงานด้วยกัน และก่อนที่จะแต่งงานนั้น ต้องทําพิธีตดั ญาติกนั ก่อน ถึ งจะแต่งงานกัน ได้ การเรี ยงลําดับญาติและการเรี ยกชื่อ -เย้อก้ง คือ

พ่อของพ่อ

-เย้อ

คือ

ปู่

-จือ

คือ

พ่อของสามี

-ปู้

คือ

ย่า


64

-หนาะ

คือ

แม่ของสามีหรื อจะเรี ยกว่า ปู้ ก็ได้

-เหนาะไต่

คือ

แม่ของแม่

-จือดั้ง

คือ

พี่ชายของแม่หรื อน้องชายของแม่ก็ได้

สภาพสั งคม อดีตกาลนั้นม้งอาศัยอยูบ่ นภูเขา หรื อยอดเขาเป็ นส่ วนใหญ่ดงั นั้นระบบเศรษฐกิจของม้งไม่ ดีเพราะม้งไม่รู้จกั ในการทําการเกษตรเพื่อเศรษฐกิจ จะทําการเกษตรเพื่อยังชี พมากกว่า ม้งมีอาชี พ อย่างเดียวคือ การเกษตร โดยจะปลูกไว้เพื่อรับประทานในครัวเรื อนเท่านั้น เช่น ข้าว และพืชผัก จะ ไม่มีการซื้ อขายด้วยเงินตรา จะมีแต่การแลกเปลี่ยนกันด้วยสิ่ งของเท่านั้น ม้งมีวิถีชีวิตที่ยากลําบาก มาก เพราะม้งมีความคิดว่า ต้องมีลูกเยอะ ๆ เพื่อตัวเองจะได้สบายในบั้นปลายของชี วิตจึงเป็ นเหตุ ให้มง้ มีชีวติ ที่ลาํ บากมาก ๆ ต้องตรากตรําทํางานหนักในไร่ เพื่อมาเลี้ยงปากเลี้ยงท้อง แต่ในปั จจุบนั นี้ ม้งได้ถูกอพยพมาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ราบลุ่ม ทําให้วิถีชีวิตของม้งเริ่ มเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการ เป็ นอยูบ่ นภูเขา การเป็ นอยูม่ ีความดิ้นรนมากขึ้น การประกอบอาชี พทางเกษตรจึงมีการปรับเปลี่ยน หลายรู ปแบบมากขึ้น เช่น มีการทํานา ทําไร่ และอื่น ๆ เป็ นต้น

ภาพ 26 แสดงวิถีชีวติ ชาวม้ง


65

การเกษตรกรรมม้ง ในอดี ตเกษตรกรรมของม้งส่ วนใหญ่จะเป็ นการเพาะปลู กเพื่อยังชี พ พืชที่นิยมปลูกได้แก่ขา้ วเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพด ถัว่ ฟักทอง ผักกาดพริ ก หอม กระเทียม ปอ เท่านั้น ยังไม่นิยมนํามาค้าขาย ใช้วธิ ี แลกด้วยสิ่ งของเท่านั้น (ปั จจุบนั การเพาะปลูกฝิ่ นยังคงมีหลงเหลือในป่ า ลึกอยูบ่ า้ ง แต่มีในปริ มาณน้อยมาก เป็ นการยากที่จะหาชมได้อีกต่อไป) การปลูกไร่ ขา้ วส่ วนมากม้ง จะปลูกข้าวบนดอย โดยในปั จจุบนั การเกษตรกรรมของม้งบางส่ วนจะมีการปลูกข้าวในนาด้วย เพราะเนื่ องจาก ม้งได้อพยพมาตั้งรกราก ในพื้นที่ราบลุ่ม และสามารถที่จะทํานาได้ซ่ ึ งการทํานาข้าวของม้งนั้นโดย ส่ วนใหญ่แล้วม้งจะดํานาไม่เป็ น ซึ่ งส่ วนใหญ่แล้วม้งจะจ้างให้คนที่มีความชํานาญในการดํานาเป็ น คนทําให้แต่มง้ ก็มีความสามารถในการไถ่วา่ นเป็ นอย่างดีแต่ก่อนนั้นม้งไม่มีเครื่ องจักรในการไถ่วา่ น ข้า วเนื่ องจากม้ง ยัง ไม่ มี เงิ นในการจัดซื้ อเครื่ องจัก ร แต่ ปั จจุ บ นั นี้ ม ้งทั้ง ที่ อยู่ใ นประเทศลาวและ ประเทศไทยมีเครื่ องจัก รในการไถหว่านแล้ว ดัง นั้น การเกษตรกรรมของม้ง บางกลุ่ มก็ ไม่ ค่อย ลําบากเท่าที่ผา่ นมา แต่มง้ บางกลุ่มที่อยูห่ ่างไกลความเจริ ญก็จะค่อยข้างลําบากมาก ยังไม่เพียงแต่การ ทําการเกษตรไร่ ขา้ วเท่านั้น ม้งยังได้รับการพัฒนาที่จะปลูกพืชต่างที่เป็ นพืชเศรษฐกิ จ ม้งจะมีการ ปลูกพืชเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มรายได้ให้กบั ตนเอง เนื่ องจากว่าปั จจุบนั ระบบ เศรษฐกิจเริ่ มเปลี่ยนไป และม้งมี ความต้องการในการใช้เครื่ องบริ โภคเป็ นอย่างมาก ดัง นั้น ม้ง จึ งต้องมี การดิ้ นรนเพื่อที่ จได้รายได้มาจุนเจือครอบครัวของตนเอง พืชที่นิยมปลู กส่ วนใหญ่มาก ได้แก่มะม่วง ลําไย ลิ้ นจี่ มะขาม เลี้ยงไหม และผักที่นิยมปลูกมาเป็ นรายได้ได้แก่กะหลํ่าปลี ขิง ฝ้ าย มะเขือเทศ มันสําปะหลัง ซึ่ งม้งบางส่ วนที่ยงั ปลูกดอกไม้ขายได้แก่ ดอกคาเนชัน่ ดอกกุหลาบ ฯลฯ


66

ภาพ 27 แสดงวิถีชีวติ ของผูห้ ญิงชาวม้ง การเลี้ยงสัตว์ ในอดีตม้งมีการเลี้ยงสัตว์ไว้เป็ นอาหาร โดยไม่ได้ทาํ คอก หรื อล้อมไว้มกั จะปล่อยตาม อิสระจึงทําให้สัตว์เลี้ยงมีจาํ นวนน้อย ส่ วนมากนิ ยมเลี้ยง ม้า วัว ควาย หมูไก่แพะ แกะและลา สัตว์ที่ ได้รับการ เลี้ยงดูเอาใจใส่ เป็ นพิเศษ ได้แก่ ม้า เพราะส่ วนใหญ่มง้ จะใช้มา้ เป็ นพาหนะในการขนย้าย ของ หรื อบรรทุกของเท่านั้น ส่ วนสัตว์ที่ได้รับการดูแลน้อยกว่าสัตว์อื่น ๆ คือสุ นขั ยกเว้นสุ นขั ล่ า เนื้ อที่มีความสามารถในการล่าสัตว์เท่านั้น ในปั จจุบนั ม้งมีการเลี้ยงสัตว์ในระบบใหม่คือ มีการทํา คอก หรื อล้อม ให้สัตว์อยู่ในกรง และให้อาหารเป็ นเวลานอกจากนี้ ส่วนการบรรทุ กของนั้นส่ วน ใหญ่จะใช้รถในการบรรทุกของแทนม้า ม้งยังรู ้จกั วิธีการตอน และวิธีการผสมพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ที่จะ ให้ได้พนั ธุ์ดีๆ อีกด้วย สัตว์ที่เลี้ ยงสามารถแยกได้เป็ น 3 ประเภท คือสําหรับใช้เป็ นอาหาร ใช้งาน และเป็ นสิ นค้า เป็ นต้น บ้ านเรือน ม้งจะชอบตั้งบ้านอยูบ่ นดอยสู ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งม้งบางกลุ่มจะมีการปลูกฝิ่ นเป็ นพืชหลัก แต่ในปั จจุบนั นี้ ม้งได้รับพระมหากรุ ณาธิ คุณ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ให้อพยพ มาตั้งรกรากอยู่ในพื้นราบลุ่ มเขา และยังมีมง้ บางกลุ่มก็ยงั คงตั้งรกรากอยู่บนดอย แต่ไม่ลึกเข้าไป


67

เท่าไร การคมนาคมพอที่จะเข้าไปถึ งได้หมู่บา้ นม้งจะประกอบด้วยกลุ่มเรื อนหลายๆหย่อมแต่ละ หย่อมจะมีบา้ นราวๆ 7-8 หลังคาเรื อน โดยที่มีเรื อนใหญ่ของคนสําคัญอยูต่ รงกลาง ส่ วนเรื อนที่เป็ น เรื อนเล็กจะเป็ นลูกบ้านหรื อลูกหลาน ส่ วนแต่ละหย่อมนั้นจะหมายถึงตระกูลเดียวกันหรื อเป็ นญาติพี่ น้องกันนัน่ เอง ม้งจะมีการย้ายบ้านเมื่อมีโรคระบาด หรื อมีเหตุการณ์ ที่ร้ายแรงเกิ ดกับหมู่บา้ นหรื อ ขัดแย้งกับราชการจนต้องมีการต่อสู ้เกิ ดขึ้น ในการย้ายแต่ละครั้งจะมีการย้ายแบบระมัดระวังที่สุด เมื่อใกล้จะย้ายแล้วม้งมีการขุดหลุมเพื่อที่จะฝังสัมภาระที่เป็ นหม้อข้าว - หม้อแกง ที่ไม่จาํ เป็ นมาก และจะทํา เครื่ อ งหมายบางอย่า งที่ ส ามารถที่ จ ะจํา ได้ไ ว้เ พื่ อ ย้อ นกลับ มาเอาเมื่ อ เหตุ ก ารณ์ ส งบ เรี ยบร้อย เมื่อเริ่ มย้ายม้งจะนําม้าเป็ นพาหนะในการบรรทุกของ โดยให้ผชู้ ายนําขบวนเดินทางพร้อ ม กับแผ้วถางทางเดินให้กบั ผูห้ ญิง และลูกเดินตามกับม้าที่บรรทุกของด้วย และจะไว้ผชู ้ ายที่มีอาวุธอยู่ ท้ายขบวนคอยป้ องกันดูแล เมื่อการเดินทางไปถึงบริ เวณที่ตอ้ งการที่จะตั้งรกรากแล้ว การที่จะอยูใ่ น บริ เ วณนั่น ได้น้ ัน จะต้อ งให้ ค นที่ เ ป็ นหมอผี ห รื อ คนทรงเจ้า จะเป็ นคนเสี่ ย งทายพื้ น ที่ น้ ัน ก่ อ น เพื่อความอยูร่ อดของม้ง ลักษณะตัวบ้าน ตัวบ้านปลูกคล่ อมอยู่บนพื้นดิ นที่ ทุบแน่ น วัสดุ ส่วนใหญ่ใช้ไม่เนื้ ออ่อน ผนังกั้นระหว่างห้องหรื อบ้านทําใช้ลาํ ไม้ไผ่ผา่ คลี่เป็ นแผ่น หลังคามุง ด้วยหญ้าคา หรื อใบจาก แต่เสา จะเป็ นไม้เนื้ อแข็ง แปลนเป็ นแบบง่ า ย ๆ ตัวบ้านไม่มีหน้าต่ างเนื่ องจากอยู่ในที่ อากาศหนาวเย็น ใกล้กบั ประตูหลัก จะมีเตาไฟเล็ก และแคร่ ไม่ไผ่สาํ หรับนัง่ หรื อนอน เอาไว้รับแขกกลางบ้านจะเป็ น ที่ ท าํ งานบ้า น เข้า ไปในสุ ด ด้า นซ้ า ยจะเป็ นเตาไฟใหญ่ สํ า หรั บ ทํา อาหารเลี้ ย งแขกจํา นวนมาก และเอาไว้ต้ม อาหารหมู บ างบ้า นจะมี ค รกไม้ใ หญ่ สํา หรั บ ตํา ข้า วเปลื อ ก มี ลู ก โม่ หิน สํา หรั บ บด ข้าวโพด แป้ ง ถัว่ เหลือง ใกล้กบั ที่ทาํ งานจะมีกระบอกไม้ไผ่รองนํ้าตั้งอยูส่ าํ หรับมุมบ้านฝั่งซ้ายมักจะ กั้นเป็ นห้องนอนของพ่อแม่กบั ลูก ชาวม้งจะไม่ค่อยย้ายที่อยู่บ่อยนักเมื่อเทียบกับเผ่าอื่น บางทีอยู่นาน 15-20 ปี จึงย้ายไปอยู่ที่ ใหม่และอาจย้ายกลับมาที่เดิมอีก ม้งมีระบบเครื อญาติที่มนั่ คงมาก จึงเป็ นการยากที่จะถูกกลื นโดย ชนชาติ อื่ น ๆ ในปั จจุ บ ัน นี้ ยัง มี ก ารสร้ า งบ้า นเรื อ นเช่ น นี้ อ ยู่แ ต่ พ บน้อ ยมาก ส่ ว นใหญ่ ม ้ง จะรั บ วัฒนธรรมของสังคมอื่น ๆ มา จึง ทําให้ก ารสร้ างบ้านเรื อนเปลี่ ย นแปลงไป โดยสร้ างบ้านเรื อน เหมือนกับคนไทยมากขึ้น


68

ความเชื่ อก่ อนทีจ่ ะปลูกบ้ านเรือน ม้งจะมีการเสี่ ยงทายพื้นที่ที่จะมีการปลูกบ้านเรื อนก่อน เพื่อครอบครัวจะได้มีความสุ ข และ รํ่ารวย โดยกระทํา ดัง นี้ เมื่ อเลื อกสถานที่ ไ ด้แล้ว จะขุดหลุ มหนึ่ งหลุ มแล้วนําเม็ดข้าวสารจํานวน เท่ากับสมาชิกในครอบครัวโรยลงในหลุม แล้วโรยข้าวสารอีกสามเม็ดแทนสัตว์เลี้ยงเสร็ จแล้ว จะจุด ธู ปบูชาผีเจ้าที่เจ้าทาง เพื่อขออนุ ญาต และเอาชามมาครอบก่อนเอาดินกลบ รุ่ งขึ้นจึงเปิ ดดูหากเมล็ด ข้าวยังอยูเ่ รี ยบ ก็หมายความว่า ที่ดงั กล่าวสามารถทําการ ปลูกสร้างบ้านเรื อนได้รอบ ๆ ตัวบ้านมักจะ มีโรงม้า คอกหมูเล้าไก่ยงุ ้ ฉางใส่ ขา้ วเปลือก ถัว่ และ ข้าวโพด ในปั จจุบนั นี้ มง้ ยังมีความเชื่ อนี้ อยูแ่ ละ ปฏิบตั ิอยู่ ปั จจุบนั นี้มง้ ที่ถูกอพยพหลบหนีจากภัยสงครามในประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาว มาพัก อาศัยใน ประเทศไทยเป็ นช่ วงระยะหนึ่ งแล้ว ถูกย้ายไปตั้งถิ่ นฐานในประเทศสหรัฐอเมริ กา จากที่ ต้องหลบ ๆ ซ่ อน ๆ อยู่ใ นกลางป่ าเขาลํา เนาไพร ชี วิตทั้งชี วิตของม้ง เหล่ า นี้ ต้องอยู่กบั ความตื่ น ตระหนก หวาดกลัวกับภัยสงครามที่กาํ ลังเกิ ดขึ้นอย่างฮึกโหมโชกโชน หวาดระแวงทุกอย่างที่อยู่ ข้างหน้า ข้างหลัง คิดได้อย่างเดียว คือ ต้องหนี หนี ไปให้ไกลที่สุดเท่าที่จะหนี ได้เพื่อให้หลุดพ้นจาก ภาวะสงคราม ที่กาํ ลังหํ่าหัน่ กันอย่างดุเดือดบ้าคลัง่ ในที่สุดม้งเหล่านี้ ก็หนี มาถึงประเทศไทย และพัก อาศัยอยูใ่ นประเทศไทย และในที่สุดรัฐบาลไทยก็ไม่สามารถที่จะรับม้งเหล่านี้ อยูใ่ นประเทศไทยได้ ดังนั้นจึงได้ขอความช่วยเหลือจากประเทศ ที่ 3 โดยประเทศสหรัฐอเมริ กาจําเป็ นต้องเป็ นฝ่ ายยื่นมือ มารับผิดชอบ ม้งทุกคนที่หลบหนีภยั สงคราม จากคํากล่าวที่วา่ “การศึกษาทําให้คนเปลี่ยน” ซึ่ งจากคํากล่าวนี้ เป็ นคํากล่าวที่เป็ นจริ ง และ เห็นได้ชดั เจน จากอดีตม้งไม่นิยมเรี ยนหนังสื่ อ เนื่ องจากม้งต้องตรากตรําทํางานหนักในไร่ เป็ นส่ วน ใหญ่มง้ จึงไม่เห็ นความสําคัญในเรื่ องการศึกษาแต่เมื่อรัฐบาลนําการศึกษาเข้ามาพัฒนาเยาวชนม้ง ตามหมู่บา้ นม้งต่าง ๆ ทําให้สังคมม้งเริ่ มเปลี่ ยนไป คื อ ม้งเริ่ มปล่ อยให้ลูก ๆ เข้าโรงเรี ยนได้เรี ยน หนังสื อ เมื่อเยาวชนได้เรี ยนหนัง สื อทําให้คาํ ว่าการศึกษาเปลี่ยนคน มันก็เป็ นจริ งดังคํากล่าวนัน่ คือ เยาวชนม้งได้รับการศึกษาขัดเกลา ตั้งแต่เด็กจนกระทัง่ เติบใหญ่พร้อมกับสิ่ งแวดล้อมเปลี่ ยนแปลง ไป ทําให้เยาวชนม้งบางคนเรี ยนจบในระดับ ที่สูง ๆ มีงานทําที่ดีๆ และพวกเขาสามารถที่จะอยูใ่ น สังคมได้อย่างมีความสุ ข และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้อย่างรวดเร็ ว และเมื่อเยาวชนม้งได้ สั ม ผัส กับ ความเจริ ญของเทคโนโลยี ก ระแสของความเจริ ญหล่ อ หล่ อ ม พวกเขาให้ รั บ และ


69

เปลี่ยนแปลงตัวเอง ความเจริ ญทางเทคโนโลยีก่ายเข้ามาในตัวพวกเขามากเท่าไร วัฒนธรรมประเพณี อันดีงามย่อมหายไปมากเท่านั้น จึงเป็ นสาเหตุหนึ่ งที่ทาํ เยาวชนม้งบางกลุ่มลืมภูมิหลังของตัวเอง ลืม วัฒนธรรม ประเพณี อนั ดีงามของตัวเองไป หรื อไม่สามารถสื่ อสารด้วยภาษาของตัวเองได้ดีอย่างที่ ควร ม้ งทีอ่ เมริกา หลังจากประเทศสหรั ฐอเมริ กาได้ยื่นมือเข้ามาช่ วยเหลื อม้งที่ หลบหนี ภยั สงครามแล้วได้ ย้ายม้งเหล่านี้เข้าไปอาศัยอยูใ่ นประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นที่เรี ยบร้อยไปแล้วรัฐบาลสหรัฐอเมริ กาได้ จัดสรรที่ ทาํ กิ น และบ้านพักให้โดยให้มีการเช่ าอาศัยอยู่จดั สวัสดิ การให้พร้ อมทั้งจัดหางานให้มง้ เหล่ านี้ มีรายได้มาเลี้ ยงชี พ รั ฐบาลสหรัฐอเมริ กามี งบประมาณก้อนหนึ่ งที่ เป็ นเงิ นเลี้ ยงดู เด็ก และ คนชรา ม้งบางครอบครัวที่อยู่ในประเทศสหรัฐอเมริ กานั้น ต้องอาศัยเงินดูแลเด็กเป็ นค่าใช้จ่ายของ ครอบครัว เนื่องจากว่าการทํางานรับจ้างนั้นรายได้นอ้ ย ไม่พอสําหรับการเลี้ยงชีพ เยาวชนม้ง สหรั ฐ อเมริ กาทุ ก คนได้รั บ การศึ ก ษาได้รั บ สวัส ดิ ก ารต่ า ง ๆ จากรั ฐ บาล สหรัฐอเมริ กาอย่างทัว่ ถึง ซึ่ งเยาวชนม้งบางคนที่เติบโตที่ประเทศสหรัฐอเมริ กานั้น ได้ถูกความเจริ ญ ทางด้านเทคโนโลยีหล่อหลอมขัดเกลา จนบางคนไม่รู้จกั ประเพณี อนั ดี งามของตัวเอง ไว้ซ่ ึ งความ ดั้งเดิมของประเพณี เหล่านั้น และภาพเหล่านี้คือ ความสําเร็ จของเยาวชนม้งในประเทศสหรัฐอเมริ กา ในด้านการบังเทิง ตลอดจนมีการจัดประกวด แข่งขันร้องเพลงม้งเกิดขึ้น และได้มีนกั ร้องเยาวชนม้ง สหรัฐอเมริ กามากมาย ดารานักแสดงชาย-หญิงม้ง ซึ่ งเยาวชนเหล่ านี้ ล้วนแล้วแต่ได้รับการศึ กษา ทั้ง สิ้ น ความเจริ ญทางวัฒนธรรมทางตะวันตก ปั จจุ บนั นี้ มง้ ที่ อยู่ในประเทศสหรั ฐอเมริ ก า ก็ ไ ด้ เปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อให้สอดคล้องกับชาวอเมริ กาที่นนั่ และวัฒนธรรมตะวันตกก็ได้เข้ามาหล่อหลอม เยาวชนม้งเหล่านี้ จนพวกเขาไม่สามารถที่จะยึด ติดอยู่กบั วัฒนธรรมม้งเดิ ม ๆ ได้อีกแล้ว เยาวชน เหล่านี้ ได้ตกเป็ นทาสของวัฒนธรรมตะวันตกอย่างบ้าคลัง่ ชุ บชี วิตเยาวชนม้งเหล่านี้ ข้ ึนมาใหม่ใน แบบฉบับที่แตกต่าง


70

วัฒนธรรมทางด้ านมุขปาฐะ วรรณกรรมมุ ขปาฐะ เป็ นวรรณกรรมเรื่ องเล่ าด้วยปาก ไม่มีการจดบันทึ กเป็ นลายลักษณ์ อักษร สื บต่อหรื อสื บทอดด้วยการจําแล้วเอาไปเล่าต่อ ๆ กัน จากปากหนึ่งสู่ ปากหนึ่ ง จากชุ มชนหนึ่ ง สู่ ชุมชนหนึ่ ง การจําเอาไปเล่าต่อ (แบบเขาว่ากันว่า)นี้ ทําให้เกิ ดความคลาดเคลื่ อน ในรายละเอียด เนื้ อหา ถ้อยคําสํานวน ได้ เพราะอาจมีการ ตัด ตก ต่อ เติม ด้วยเหตุผลต่าง ๆ วรรณกรรมประเภทนี้ ได้แก่ นิทานพื้นบ้าน ตํานาน เพลงพื้นบ้าน สํานวนสุ ภาษิต โบราณอุบาย ปริ ศนาคําทาย เป็ นต้น นิทานม้ ง ในอดีตม้งเป็ นชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยูต่ ามภูเขากับธรรมชาติ โดยส่ วนใหญ่แล้วม้งจะมีความ เชื่อเรื่ อง ภูตผีมาก ดังนั้นจึงกลายเป็ นเรื่ องเล่ามากมาย และเป็ นนิทานสอนให้คนรุ่ นลูกรุ่ นหลาน ต่อ ๆ กันมาได้เป็ นอย่างดี เช่น เรื่ องปู่ ปางแซ่ เรื่ องย้อเหล่าจัว๊ (หนุ่มกําพร้า)

ภาพ 28 แสดงบันทึกการเล่านิทาน


71

1. นิทานเรื่องปู่ ปางแซ่ กาลครั้งหนึ่ งมีครอบครัวม้งครอบครัวหนึ่ งมีฐานะปานกลาง ซึ่ งอาศัยอยู่ตามลํานํ้าแม่โขง เป็ นครอบครั วที่ อบอุ่นมากอยู่ด้วยกันมานาน ฝ่ ายภรรยาของปางแซ่ ก็ไม่มีลูกเลย จนสามี ปางแซ่ อยากได้ลูกมาก สามีปางแซ่จึงได้ออกแสวงหาภรรยาที่สองเพื่อที่จะได้กาํ เนิ ดบุตร แล้วเมื่อสามีปาง แซ่ หาได้แล้วได้พามาอาศัยอยู่ด้วยกันกับภรรยาคนแรก คนทั้งสามจึ งอยู่ด้วยกันอย่างมี ความสุ ข แต่เนื่องด้วยสามีปางแซ่ตอ้ งให้เกียรติแก่สามีคนแรกเสมอ ทําให้ภรรยาคนที่สองเกิดอิจฉาภรรยาคน แรกมาก จนกระทัง่ วันหนึ่ งภรรยาทั้งสองเกิดตั้งท้องพร้อมกัน ปล่อยให้สามีเข้าไปทํางานในไร่ คน เดียว เมื่อภรรยาทั้งสองท้องแก่ข้ ึนทุกวันจนใกล้คลอด ฝ่ ายสามีจึงต้องรับภาระหนักไปทํางานในไร่ คนเดี ยว อยู่มาวันหนึ่ งขณะที่สามีไปทํางานในไร่ ก็ปล่อยให้ภรรยาทั้งสองดูแลกันเอง ซึ่ งเป็ นวันที่ ครบกําหนดใกล้คลอด ภรรยาน้อยคลอดลูกออกมาเป็ นผูห้ ญิง ส่ วนภรรยาหลวงคลอดลูกออกมาเป็ น ผูช้ ายหน้าตาน่าชัง ซึ่ งเมียน้อยมีความอิจฉาเมียหลวงเป็ นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว เมียน้อยจึงได้นาํ ผ้าอ้อมมา ห่ อลูกชายของเมียหลวงแล้วนําไปให้ควายกินแต่ควายไม่กิน เมียน้อยเห็นเช่นนั้นจึงได้นาํ ไปให้ววั กิน วัวก็เข้าไปดมแต่ไม่ยอมกิ น เมียน้อยพยายามนําไปในปากวัว ซึ่ งวัวมีความสงสารลูกชายคนนี้ แต่แม่ววั จําเป็ นที่ตอ้ งกลืนลูกชายเมียหลวงเข้าไป ดังนั้น แม่ววั จึงได้อธิ ฐานว่า หากข้าพเจ้าต้องกลืนลูกชายคนนี้เข้าไป ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ ในภิภพนี้ จงดลบันดานให้ลูกชายคนนี้ปลอดภัย จากนั้นแม่ววั จึงได้กลืนลูกชายของเมียหลวงไป ตก เย็นสามีปางแช่กลับจากทํางานในไร่ ดว้ ยความดีใจที่จะได้เห็นลูกของตัวเอง พอกลับมาถึงบ้านเมีย น้อยจึงได้นาํ ลูกสาวมาให้สามีปางแช่ดู จากนั้นฝ่ ายสามีก็ถามถึงลูกของเมียหลวง เมียน้อยจึงพูดขึ้นว่าท้องของเมียหลวงนั้นเป็ นแค่ ท้องลมเท่านั้นไม่สามารถที่จะคลอดมาได้ ฝ่ ายสามีได้ฟังเช่ นนั้นโมโหเมี ยหลวงมาก จึงได้ไล่เมี ย หลวงไปอยู่ในคอกวัวและให้มาทํางานในไร่ ทุกวันพร้อมกับให้ไปเลี้ ยงวัวด้วย ซึ่ งกาลเวลาผ่านไป 1 - 2 ปี แล้วแม่ววั ที่กลืนลูกชายเมียหลวงเข้าไปท้องก็เริ่ มแก่และออกลูกมาเป็ นลูกวัวตัวผูซ้ ่ ึ งลูกวัวตัว นี้สวยมาก เมียหลวงไปเลี้ยงวัวทุกวันทําให้เมียหลวงเกิดความรักและผูกพันกับลูกวัวตัวนี้มาก ในบางวันที่ไล่ววั ไปเลี้ยงนั้นลูกวัวต้องมานอนข้าง ๆ เมียหลวงตลอดเวลาและเมียหลวงก็ พยายามทําความสะอาดลูกวัว อยูม่ าวันหนึ่งเมียหลวงได้ไล่ฝงู วัวไปเลี้ยงและด้วยความคิดถึงลูกของ ตัวเองมากจึ ง ได้พรํ่า ออกมาแล้วนํ้าตาของเมี ยหลวงหยดใส่ นัย ส์ ตาของลู กวัว ลู กวัวก็เปลี่ ยนร่ า ง กลายเป็ นมนุษย์ข้ ึนมา เมียหลวงกับลูกชายได้กอดกันด้วยความรักและลูกชายของเมียหลวงก็ได้ช่วย


72

แม่ของตัวเองปั กผ้าช่ วยแม่เลี้ ยงฝูงวัวทุกวัน พอตกเย็นลูกชายของเมียหลวงก็เปลี่ ยนร่ างเป็ นลูกวัว ดังเดิมเพื่อที่จะได้กลับบ้าน เมียน้อยก็เริ่ มสังเกตเมียหลวงว่าทําไมมีความสุ ขกับการเลี้ยงวัวมาก ซึ่ งเมียน้อยก็รู้อยูว่ ่าลูกวัวนั้นเป็ นลูกชายของเมียหลวงเอง หลังจากนั้น เมียน้อยเริ่ มคิดที่จะ ทําลายลูกวัวตัวนี้ โดยการแกล้งไม่สบายเป็ นไข้ทุกวัน และปล่อยให้สามี ปางแช่ กบั เมียหลวงสอง คนทํางานในไรเท่านั้น เมื่อสามีปางแช่กลับจากที่ทาํ งานในไร่ เมียน้อยก็หาวิธีการพูดให้สามีปางแช่ ว่า ให้สามี ปางแช่ ไปดู ดวงที่ หน้าผาว่าตัวเองเป็ นอะไร และอะไรเป็ นอัปมงคลจึ งทําให้ตวั เองไม่ สบายเช่นนี้ เมียน้อยจึงได้บอกทางให้กบั สามีปางแช่ไปดูดวงที่หน้าผา ส่ วนเมียน้อยก็ไปทางลัดและ ไปถึงก่อนสามี พอสามีไปถึงก็เริ่ มจุดธู ปเทียนแล้วนําไปปั กไว้ที่หน้าผาแล้วเอ่ยถามว่า เมียน้อยของ ข้าไม่สบายมากข้าจะทําอย่างไรเมียน้อยข้าจึงจะหาย เมียน้อยซึ่ งซุ่ มอยู่ดา้ นหลังอยู่ก่อนแล้วจึงพูด ออกไปว่า เจ้าต้องเอาผ้าปั กของเมียหลวงของเจ้ามาทําพิธี รั กษาเมี ยน้อยเจ้า เพราะผ้าปั กของเมี ย หลวงเจ้าเป็ นอัปมงคล ต้องนํามารักษาเท่านั้นจึงจะหาย หากว่าไม่ได้นาํ มาทําการรักษาก็จะไม่หาย ฝ่ ายสามีปางแช่ได้ฟังดังนั้นจึงรับปากแล้วกลับบ้าน ส่ วนเมียน้อยเดินโดยใช้ทางรัดก็กลับถึงบ้านก่อน พอสามีปางแช่กลับถึงบ้าน ฝ่ ายเมียน้อยก็ ทําเสี ยงออด ๆแอด ๆ ถามสามีวา่ ไปดูดวงแล้วเจ้าที่หน้าผาว่าอย่างไรบ้าง ฝ่ ายสามีก็บอกว่าต้องเอาผ้า ปั กของเมียหลวงมาทําการรักษาถึงจะหาย แล้วเมียน้อยก็บอกกับสามีวา่ งั้นก็ให้รีบจัดการทันทีเพื่อ ตัวเองจะได้หายสักที ฝ่ ายสามีปางแช่จึงได้นาํ ผ้าปั กของเมียหลวงมาทําพิธีในการรรักษา โดยการเผา เรี ยบร้ อย ในวันต่อมาเมียหลวงได้นาํ ฝูงวัวไปเลี้ยงอีก ลูกวัวจึงได้พูดกับแม่ของตัวเองว่า ลูกจะช่วย แม่ปักผ้า ผืนใหม่ให้แม่อีก จากนั้นลูกวัวกับเมียหลวงได้สนิ ทสนมกันมาก เพราะทั้งคู่เป็ นสายเลื อด เดียวกันจึงมีความผูกพัน หลังจากนั้นลูกวัวก็เติบใหญ่ข้ ึน เมียน้อยจึงคิดว่าจะทําอย่างไรกับลูกวัวตัว นี้ เพื่อที่จะได้ทาํ ลายเมียหลวงได้เต็มที่ เมียน้อยเริ่ มคิดแผนอีกครั้งโดยการแกล้งป่ วยอีก แล้วให้สามี ปางแช่ช่วยไปดูดวงที่หน้าผาอีกครั้ง พอสามีปางแช่ไปถึง เมียน้อยก็ไปถึงก่อนอยูแ่ ล้วจึงได้บอกกับ สามีปางแช่วา่ ต้องนําลูกวัว ตัวนั้นมาทําการรักษา โดยการนําวัวมาทําผี(อัวะงูด้ ้ งั ) จึงจะหาย สามีปางแช่จึงบอกว่าเป็ นเพราะลูกวัวเป็ นอัปมงคลฉะนั้นต้องนําลูกวัวมาทําการรักษาจึงจะ หาย พอวันรุ่ งขึ้นสามีปางแช่จึงได้บอกกับเมียหลวงว่าให้นาํ ลูกวัวไปเลี้ยงแล้ว วันถัดไปจะนําลูกวัว มาทําพิธีรักษาเมียน้อยเพื่อให้เมียน้อยหายจากโรคเสี ย พอเมียหลวงได้นาํ ฝูงวัวไปเลี้ยงจึงได้บอกกับ ลูกวัวว่า พรุ่ งนี้ เจ้าต้องถู กพ่อเจ้านําไปฆ่าเพื่อทําการรั กษาเมียน้อย ลู กวัวกับเมียหลวงจึงได้หากล อุบายเพื่อที่จะให้ลูกวัวรอดพ้นจากการถูกฆ่า วันพรุ่ งนี้โดยที่ให้เมียหลวงหรื อแม่ของลูกวัว ให้ไปตัก


73

นํ้า มารดบริ เวณที่ จะนํา ลู ก วัวไปผูก เพื่ อทํา การฆ่ า พอถึ ง เวลาฆ่ า แล้วลู ก วัวจะพยายามวิ่ง หนี ทุ ก หนทาง เพื่อให้หลุดพ้นจากตอไม้ที่ผกู อยูแ่ ล้วพอถึงวันรุ่ งขึ้นก็ถึงวันที่ตอ้ งนําลูกวัวมาทําพิธีรักษาเมีย น้อย เมี ยหลวงก็ได้ทาํ ตามแผนที่ วางไว้ทุกประการ และถึ ง เวลาฆ่าลู กวัวได้ว่ิงไป ทุ กทิ ศทุ กทาง สุ ดท้ายเชือกได้ขาดจากตอไม้ทนั ทีและลูกวัวได้วงิ่ ไปไกลที่สุดที่จะไกลได้พอวิง่ ไปได้สักพักหนึ่ งจึง ได้เห็ นฝูงวัวอีกฝูงหนึ่ งอยู่ในลานหญ้ากว้างมาก และสุ ดท้ายลูกวัวจึงได้เข้าไปรวมกับฝูงวัวฝูงนั้น พอเย็นก็กลับไปกับฝูงวัวนั้น จนมาวันหนึ่งลูกสาวเจ้าสัวจึงได้นบั ฝูงวัวและเกินมาหนึ่ งตัว จึงได้ถาม ขึ้นมาลอย ๆ ว่าเจ้าเป็ นวัวใคร ทําไมถึ งได้มาอยู่กบั ฝูงวัวของข้าได้ ทันใดนั้นลูกวัวก็กลายเป็ นชาย หนุ่ มที่รูปหล่อมากและลูกสาวเจ้าสัวจึงได้หลงรักเจ้าหนุ่ มวัวจึงแอบมาอยู่กบั ลูกสาวเจ้าสัว จนวัน หนึ่ งเจ้าสัวจึ งสังเกตเห็ นว่าลู กสาวตัวเองท้องขึ้ นมา ทั้ง ๆ ที่ ไม่มีหนุ่ มในหมู่กล้ามาจี บเลย จึงได้ วางแผนแอบไปดูเวลาที่ลูกสาวใกล้จะนอนว่ามีใครมาอยูด่ ว้ ย พอเจ้าสัวมาแอบดูจึงได้รู้วา่ มีชายหนุ่ม มาอยูด่ ว้ ยจริ ง ๆ แต่ไม่รู้วา่ เป็ นลูกเต้าเหล่าใคร เจ้าสัวจึงได้เข้าไปในห้องนอนของลูกสาว ทันใดนั้น หนุ่มวัวเห็นเจ้าสัวทันทีจึงได้กระโดดหนี ออกทางประตูแล้วขาข้างหนึ่ งที่ออกจากประตูก็กลายเป็ น วัว แต่ขาข้างที่ยงั ออกไม่พน้ จากประตูก็ยงั เป็ นขาคนอยู่ เจ้าสัวจึ งได้พูดว่า หนุ่ มวัวน้อยเจ้าไม่ตอ้ ง กลัวข้าหรอก หากเจ้ารักลูกสาวข้าโปรดมาพูดคุยกับข้า ข้าไม่ทาํ อะไรกับเจ้า พอเจ้าหนุ่มวัวน้อยได้ ยินดังนั้นเจ้าหนุ่มวัวน้อยจึงได้เข้ามานัง่ คุยกับเจ้าสัวถึ งเรื่ องราวของตนเอง และเจ้าสัวก็ให้หนุ่ มวัว น้อยนั้นมาอยูก่ ินกับลูกสาวเจ้าสัวตลอดนั้นมา พออยูด่ ว้ ยกันได้ 2 ปี หนุ่มวัวน้อยจึงได้ออกไปตามหา แม่ของตนเองเพื่อที่จะให้แม่ของตนเองมาอยูด่ ว้ ยกัน อยูม่ าวันหนึ่ งเจ้าหนุ่ มวัวน้อย จึงได้ตามมาพบ แม่ของตนเองแต่พอมาพบก็พบว่าแม่ของตนเองนั้นกินข้าวถ้วยเดียวกับหมาในบ้าน หนุ่มวัวน้อยนั้น สงสารแม่ตนเองมาก จึงได้เอาถ้วยข้าวที่แม่กินเททิ้งแล้วนําอาหารที่ตนเองเตรี ยมมามาให้แม่ตนเอง กิ น แทน และเล่ า ความจริ ง ทั้ง หมดให้พ่ อ ปางแช่ ฟั ง และได้พ าแม่ ก ลับ ไปอยู่ก ับ ตนเอง อย่า งมี ความสุ ข 2. นิทานม้ ง-ซาวก่ าวดู้ กาลครั้งหนึ่ ง ครอบครัวแสนสุ ขใช้ชีวิตอยูร่ ่ วมกันมานาน จนกระทัง่ วันหนึ่ ง พ่อซึ่ งเป็ นเสา หลักของครอบครัวได้เสี ยชี วิต ลงเหลื อเพียง แม่กบั ลูกน้อย ทุ กวันต้องออกไปทําไร่ เพื่อเลี้ ยงดูลูก นางรู ้สึกอ้างว้าง อยากมีใครสักคนที่จะช่วยดูแลครอบครัว นางคิดอยากจะแต่งงานใหม่ วันหนึ่ งนาง ได้มีโอกาสรู ้จกั กับพ่อหม้ายรู ปงามคนหนึ่ ง รู ้สึกพอใจกันทั้งสองฝ่ ายจึงตกลงอยูด่ ว้ ยกัน โดยนางทิ้ง ให้ “ ตุน้ จัว่ ” ซึ่ งเป็ นลูกชาย อยูค่ นเดียว ตุน้ จัว่ ต้องขึ้นดอยไปตัดกล้วยมาเป็ นอาหารให้หมูทุกวัน


74

หลายปี ผ่านไป เขาก็เติบโตเป็ นหนุ่ ม มีคนมาจ้างเขาให้ไปเลี้ ยงวัวกับเพื่อนของเขา ที่ชื่อ ป๋ อค้ากรี๊ เจ้าของวัวคนนั้นมีลูกสาวอยู่หนึ่ งคน ลูกสาวเจ้าของวัว เป็ นคนเอาเสบียงอาหารมาส่ งทุกวันจนตก หลุ มรั กตุ น้ จัว่ วันหนึ่ งหญิ ง-สาวมาอยู่จนคํ่า พ่อเกิ ดความสงสัยจึ งส่ งคนมาแอบดู เห็ นว่าลู กสาว นายจ้างคุยกับตุน้ จิ๊วจึงกลับไปบอกนายจ้าง หลังจากนั้น เขาจึงห้ามไม่ ให้ลูกสาวมาส่ งข้าวอีกเลย วันหนึ่ ง ตุน้ จัว่ ตื่นมาจะหุ งข้าวเห็นว่าข้าวสารหมดจึงชวนเพื่อนกลับไปเอาข้าวสารในเมือง เมื่อได้ขา้ วแล้วเขาจึงเดิ นทางกลับไปที่ไร่ บน สรวงสวรรค์ได้เกิ ดภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ อีกทั้งยังมี การแตกแยกกันเป็ นกลุ่มๆ คนเมืองหนึ่งได้ทา้ ชิงกับเมืองที่หญิงสาวของตุน้ จัว่ อาศัย อยู่ โดยพนันกัน ว่าถ้าเมืองที่มาท้าชิ งชนะจะได้ตวั ของหญิงสาวไปครองพร้ อมกับเมือง ทําให้พ่อของเธอลําบากใจ มากไม่รู้วา่ จะหาใคร มาเป็ นแม่ทพั ในการรบได้ จึงเดินทางลงมายังโลกมนุ ษย์ ได้เห็นตุน้ จัว่ ว่าเป็ นผู ้ มีความชาญฉลาด เขาจึงแปลงกายลงมาเป็ นนก แล้วบอก ตุน้ จัว่ ว่าให้ไปช่วยหน่อย ก่อนจะไปตุน้ จัว่ ได้ส่ังเพื่อนไว้วา่ ให้เอากิ่งไผ่มาวางไว้ขา้ ง ๆ กายเขา ถ้าใบไผ่เหี่ ยวแห้งเขา จะไม่กลับลงมา แต่ถา้ ก้านไม้ไผ่เขียววันเขียวคืนเขาก็จะกลับลงมา แล้ววิญญาณของตุน้ จัว่ ก็ถูกมายัง สวรรค์ ตุน้ จัว่ ได้รบกับลูกชายเจ้าเมืองสองคนจนทั้งสองได้รับบาดเจ็บสาหัส สู ้กนั จนตุน้ จัว่ ได้ชยั ชนะ ฝ่ ายตรงข้ามจึงผูกใจเจ็บใช้วิธีไม่ซื่อโดยให้คน ที่มาจากนรกชื่ อ จัว ทําร้ายลูกชายเจ้าเมืองที่รบ กับตุ น้ จัว่ จนตาย แล้วแกล้งไปหลอกเจ้าเมื องว่าตุ น้ จัว่ เป็ นผูฆ้ ่า ด้วยความโมโหฝ่ ายนั้นจึ ง ยกทัพ กลับ มาอี ก ครั้ งหนึ่ ง การรบครั้ งนี้ ยิ่ง ใหญ่ มาก ฝ่ ายศัตรู มี นายทหารเอกสามนายเช่ นเดี ย วกับ ฝ่ าย ของตุน้ จัว่ ได้นดั หมายกันว่าวันขึ้น15 คํ่าจะรบกัน เมื่อถึ งเวลากองทัพศัตรู ได้เข้าโจมตีเมืองของตุน้ จัว่ รบกันอยูหลายคืนหลายวัน ทหารก็บาดเจ็บมากมาย จนกระทัง่ ตุน้ จัว่ ฆ่า ทหารเอกและเจ้าเมือง ฝ่ ายศัตรู เสี ยชีวติ เมืองของตุน้ จัว่ จัดงานฉลองยิง่ ใหญ่ พ่อของหญิงคนรักจึงยกหล่อนให้กบั ตุน้ จัว่ ทั้ง สองจึงลงไปอยู่ ด้วยกันบนโลกมนุ ษย์ เมือกลับมาได้ทราบข่าวว่าลูกสาวผูน้ าํ หมู่บา้ นถูกจับตัวไปไว้ที่เมือง บาดาล ผูน้ าํ หมู่บา้ นจึงขอให้ตุน้ จัว่ ไปช่วย เขาไม่อยากปฎิเสธจึงตอบ ตกลงว่าจะช่วย ก่อนเขาจะลง ไปเมืองบาดาลได้บอกภรรยาว่า อย่าออกจากบ้านก่อนเขาจะกลับมา ก่อนเขาจะออกไป เขาได้ทาํ พิธี ใจ๋ ไหล เพื่อกันภูตผีปีศาจ ด้วยความไม่รู้ของภรรยาจึงดึงออก จัวผูม้ าจากนรกก็ได้จบั ตัวนางไปขังไว้ ในถํ้า เมื องบาดาล ตุ ้นจัว่ ก็ ล งไปเมื องบาดาล เพื่ อไปช่ วยลู ก สาวผูน้ ํา หมู่ บ ้า น ตุ ้นจัว่ เลยต่ อสู ้ ก ับ พญานาคแต่ เสี ยท่าถูกลอบตบตกผาแล้วสลบไป พญานาคจับตัวไปมัดแขน แล้วมีเด็กน้อย คนหนึ่ ง ลงมาจากสวรรค์มาช่วยส่ งเขากลับมายังโลกมนุ ษย์ และช่วยรักษาตัวให้หาย จากนั้นตุน้ จัว่ ก็เดินทาง ไปขอทหารเอกจากสวรรค์เพื่อ ให้มาช่ วย ทั้งหมดลงไปยังเมืองบาดาลและช่ วยกันปราบพญานาค


75

ตุน้ จัว่ ได้ช่วยลูกสาวผูน้ าํ แล้วพามายังโลกมนุ ษย์ เมื่อเสร็ จแล้วเขาก็กลับ บ้าน ไม่เจอภรรยา จึงถาม กับเจ้าที่เจ้าทางว่าตอนที่เขาไม่อยูม่ ีใครมาลักตัวภรรยาของเขาไป เจ้าที่ตอบว่า จัวที่มาจากนรกนําตัว เธอไป ตุน้ จัว่ ถามอีกว่า แล้วท่านรู ้ หรื อไม่วา่ มันเอาตัวเธอซ่ อนไว้ที่ไหน เจ้าที่ตอบว่า ข้ารู ้ แต่ไม่ใช่ เวลานี้ เพราะตอนนี้ จัว กําลังมีอิทธิ ฤทธิ์ มาก รอไว้ให้ถึงเวลาที่เหมาะสม ข้าจะบอกเจ้า หลัง จากนั้น ผ่า นมาสองสามวัน เจ้า เด็ ก น้อยจากสวรรค์ ได้ต่ อสู ้ ก ับ จัวแล้วโดนทํา ร้ า ย บาดเจ็บ ได้หนีไปเพื่อรักษาตัว เจ้าที่บอกกับตุน้ จัว่ ว่า ถึงเวลาที่จะไปช่วยภรรายาของเจ้า ตุน้ จัว่ จึงไป ขอทหารสองคนจากสวรรค์เพื่อไปทํา ลายถํ้า เมื่ อลงไปสู่ เมื องบาดาลได้เจอกับภรรยา แต่จวั ใช้ อิทธิ ฤทธิ์ ก้ นั ปากทางเข้าไว้ทาํ ให้ ตุน้ จัว่ เข้าไม่ได้ เขาบอกทหารทั้งสองว่า“ เจ้าจงใช้อาํ นาจที่เจ้ามีพงั ประตูเข้าไปสิ “ แต่ไม่สาํ เร็ จ จากนั้นทั้งสามคนได้ช่วยกันพังประตูถ้ าํ แต่ครั้งนี้พงั สําเร็ จ ตุน้ จัว่ วิง่ เข้า ไปช่วยภรรยาแล้วจัวก็กลับมา “ เจ้าบังอาจนัก กล้าเข้ามาในถํ้าของข้า เจ้าจะต้องตายอยูต่ รงนั้นแหละ ” ทั้งสองก็ต่อสู ้กนั หลายวัน ทหารเอกจากสวรรค์ถูกเจ้าจัวดูดเข้าไปในร่ างของตน แล้วเขาก็แปลง กายเป็ นทหาร คนนั้น ทําให้ตุน้ จัว่ หลงคิดว่าเป็ นทหารคนนั้น จริ ง ๆ จัวได้โอกาสทําร้ ายตุน้ จัว่ จน บาดเจ็บ ระหว่างนั้นจัวก็แปลงร่ างเป็ นทหารคนที่สอง และ ทําร้ายตุน้ จัว่ เช่นกัน ตุน้ จัว่ ต่อสู ้แล้วทํา ให้จวั บาดเจ็บ ร่ างทั้งสองหลุดออกมา สู ้กนั ไปมา จัวเป็ นฝ่ ายแพ้ เหลือแต่ผา้ ที่ลอยอยูบ่ นฟ้ า เด็กน้อย จากสวรรค์ยงิ พลังไปยังผ้าผืน นั้นจนแตกกระจาย ตุน้ จัว่ พาภรรยากลับมาได้อย่างปลอดภัยแล้วส่ งทหารเอกกลับไปสวรรค์ ตุน้ จัว่ บ อกภรรยาว่า “ ข้าจะไปตามหาแม่ เจ้าจะไปด้วยไหม ” ทั้งสองไปตามหาแม่ เจอยายแก่คนหนึ่ งจึงเข้า ไปถาม “ ยายเห็นแม่ขา้ ไหม ” ยายตอบว่า “ แม่เจ้า อยูใ่ นกระท่อมหลังเล็ก ” ตุน้ จัว่ เข้าไปถึงจึงถาม แม่วา่ “ พ่อใหม่ไปไหน ” แม่ตอบว่า “ เราอยูด่ ว้ ยกันไม่นาน พ่อใหม่ของเจ้าก็เสี ยชี วิต เหลือแต่ แม่ เพียงคนเดียว ” ตุน้ จัว่ ก็พาแม่และภรรยากลับไปอยูด่ ว้ ยกันอย่างมีความสุ ข 3. นิทานม้ ง - เก้าปั่งซั่ง นูไพล้เป็ นเด็กกําพร้า พ่อแม่ของเขาตายตั้งแต่ยงั เด็ก คนอื่นจึงเรี ยกเขาว่าตู๊นฉัว่ (เด็กกําพร้า) เขาเป็ นคนยากจนมากแต่เขาเป็ นคนฉลาด มีไหวพริ บและมีวิชา ความรู ้ดา้ นการต่อสู ้ เขาหาเลี้ยงชี พ ด้วยการเลี้ยงวัว เวลาที่เขาเลี้ยงวัวเขามักจะเป่ าแคนไปด้วย ณ ใต้บาดาล เจ้าครองบาดาลมีลูกสาวคนหนึ่ งชื่ อว่าอึ่นเก้าอึ่นจะซึ่ งมีหน้าตางดงามมาก เธอ เป็ นที่หมายปองของบรรดาหนุ่ม ๆ ทั้งบนสวรรค์ และในนรก ลูกชายของ มัจจุราชก็เช่นกัน แต่เจ้า เมื องรู ้ ว่าเขาเป็ นคนไม่ดีจึงไม่ยอมยกลู กสาวให้ ทําให้เขาแค้นใจมากยกทัพมารบกับเมื องบาดาล


76

เจ้าเมืองรู ้ว่าเมืองของตนไม่เข้มแข็งพอจึง มีความคิดว่าจะเอามนุ ษย์มาช่วย เลยส่ งคนขึ้นมาตามหา เมื่อขึ้นมาถึงเมืองมนุ ษย์ก็เห็ นว่า ตู๊นฉั่วเป็ นคนมีความสามารถ และมีพรสวรรค์ดา้ นการต่อสู ้ จึงพา ตัวไป เมื องบาดาล เมื่อการต่อสู ้ เริ่ มขึ้นตู๊นฉั่วต้องสู ้ กบั ลู กชายของมัจจุ ราชและเขาก็เป็ นฝ่ ายชนะ เจ้าครองบาดาลจึงยกลูกสาวให้ แต่ตอนนั้นเธออยูใ่ นสภาพ ที่เป็ นแม่ไก่ ตู๊นฉัว่ ไม่รู้วา่ นี่ เป็ นลูกสาว ของเจ้าเมือง เมื่อขึ้นมาถึ งโลกมนุ ษย์จึงรู ้ ว่าเธอเป็ นลูกสาวเจ้าเมือง เขากลับตกหลุ มรักทันที ทั้งสองใช้ ชีวติ ด้วยกัน หลายปี ผ่านไปเจ้าเมืองส่ งคนมา สร้างบ้านให้ลูกสาว ก่อนกลับเจ้าเมืองได้ส่ังว่าถ้าหาก วันไหนลูกเขยทําให้ลูกสาวเสี ยใจ จนกลับเมืองบาดาล บ้านและสิ่ งต่าง ๆ ที่สร้างไว้จะถูกนํากลับไป ด้วย ณ เมืองสวรรค์ ลูกชายของเจ้าครองสวรรค์ทราบว่า อึ่นเก้าอึ่นจะ แต่งงานกับมนุ ษย์ก็โกรธมาก เขาวางอุบายที่จะนําตัวเธอกลับมาโดยการส่ งผูห้ ญิงคนหนึ่ งชื่ อว่า เก้ากุ๊กเกิ่ง มาหลอกให้ตู๊นฉัว่ หลง รัก เก้ากุ๊กเกิ่งชอบมาชวนตูน๊ ฉัว่ ออกไปข้างนอกทําให้ อึ่นเก้าอึ่นจะน้อยใจมาก วันหนึ่ ง เก้ากุ๊กเกิ่ งใส่ ร้ายอึ่นเก้าอึ่นจะว่าเป็ นผีไม่ใช่ เทพ ชอบดูดเลื อดคนแต่ต๊นฉั่วไม่เชื่ อ เก้ากุ๊กเกิ่ งจึงวางแผน ตอนกลางคืนนางแอบเอาเลื อดไปป้ าย ปากของอึ่นเก้าอึ่นจะรุ่ งเช้าตู๊นฉั่วเห็ น เลื อดที่ ปากของภรรยาเขาจึ งเชื่ อ เก้ากุ๊กเกิ่ ง วันหนึ่ งอึ่ นเก้าอึ่ นจะไปหาเก้ากุ๊กเกิ่ งขอร้ องว่าให้เก้า กุ๊กเกิ่งเลิก กับตู๊นฉัว่ แต่เธอไม่ยอม วันหนึ่ งเก้ากุ๊กเกิ่งบอกกับตู๊นฉัว่ ว่าให้เขาไล่ภรรยาออกจากบ้าน ไปแล้วเธอจะมาแต่งงานอยู่กินกับเขา เมื่อตู๊นฉัว่ กลับมาบ้านจึงไล่ภรรยาทันที ด้วยความที่เขาคิดว่า อึ่นเกาอึ่นจะเป็ นผีดูดเลือด อึ่นเก้าอึ่นจะจึงถามเขาว่า “พี่จาํ ไม่ได้แล้วเหรอ ถ้าน้องกลับไปบ้านและ ทรัพย์สินต่าง ๆ จะถูกนํากลับไปด้วย แล้วพี่อยากกลับไปเป็ นอย่างเดิมเหรอ” ตูน๊ ฉัว่ บอกว่าเขาพอใจที่จะเป็ นแบบนี้ ดีกว่าอยูก่ บั ผูห้ ญิงใจร้าย หลังจากนั้น อึ่นเก้าอึ่นจะจึง เดินลงไปยังสระนํ้าหลังภูเขา ทันทีที่ลงนํ้าทุกสิ่ งทุกอย่าง ที่บา้ นก็หายไปหมดเลย เหลือแต่กระท่อม ตูน๊ ฉัว่ จึงบอกกับเก้ากุ๊กเกิ่ง ว่าเขาไล่ภรรยากลับไปแล้ว เก้ากุ๊กเกิ่งจึงบอกว่าที่เธอมาที่นี่ตอ้ งการเพียง แค่ให้ท้ งั สองคนทะเลา กันเพราะลูกชายเจ้าสวรรค์สั่งเธอมา และตอนนี้ เธอทํางานเสร็ จแล้วเธอจะ กลับสวรรค์ไปรับรางวัล ตูน๊ ฉัว่ จึงเสี ยใจมากที่รู้ความจริ ง เขาจึงกินเหล้าเมาแล้วลงไปที่สระนํ้าเรี ยก หาภรรยา ณ เมืองบาดาล เมื่ออึ่นเก้าอึ่นกลับมาถึง เจ้าเมืองบาดาลตกใจมากที่เห็นลูกสาวกลับมาจึงรู ้ ว่าเกิดอะไรขึ้นแต่ทาํ ได้แค่ปลอบใจลูกสาว วันหนึ่ ง ลู กชายของเจ้าครอง สวรรค์ได้ส่งคนมาสู่ ขอเธอ โดยบอกว่าเขารู ้ ข่าวว่าอึ่ นเก้าอึ่ นจะกลับมาจากโลกมนุษย์แล้ว เขาต้องการจะแต่งงานกับเธอ เมื่ออึ่นเก้าอึ่นรู ้ก็เสี ยใจมาก เธอจึงบอก คนรับใช้ว่านําเสื้ อผ้าของเธอไปไว้ที่ริมสระ เมื่อขึ้นไปถึงก็ได้พบกับตู๊นฉั่ว เขาขอร้ องคนรับใช้ท้ งั


77

สองให้ ช่วยให้เขาและภรรยาได้พบกัน เขาร้องไห้เสี ยใจมากจนคนรับใช้ ยอมใจอ่อน โดยคนรับใช้ จะช่วยโดยการแปลงร่ างเป็ นกบแล้วกระโดดลงสระนํ้า แล้วดูดนํ้าเพื่อให้ท่านได้พบกัน แต่ระหว่าง ที่ ดูดนํ้า ท่ า นห้า มหัวเราะโดยเด็ ด ขาด ถ้า ท่ า นหัวเราะเราจะปล่ อยนํ้า ออกมาเหมื อนเดิ ม ตู๊นฉั่ว รับปาก เมื่อคนรับใช้แปลงร่ างเป็ นกบแล้วดูดนํ้าในสระจนเกื อบหมด ตู๊นฉั่วเห็ นท้องของทั้งสอง ใหญ่มาก จึงหลุดหัวเราะออกมา ทั้งสองลอง ดูดนํ้าอยูห่ ลายครั้งจนนางทั้งสองกลับไปยังเมืองบาดาล วันรุ่ งขึ้นนางทั้งสองก็ได้เจอตู๊นฉั่วอีกครั้ง คราวนี้ สามารถช่วยเขาได้สําเร็ จ คนรับใช้ จึงไปแจ้งอึ่น เก้าอึ่นจะรู ้ว่าตู๊นฉั่วมาหา นางดีใจมาก เมื่อพบกันนางบอกกับเขาว่า เขามาสายไปเสี ยแล้วเพราะลูก ชายเทวดามาสู่ ขอนาง วันสิ บห้าคํ่าเดือน หน้าเขาจะมารับนางไปอยูด่ ว้ ยแล้ว ขอให้ตู๊นฉัว่ คิดว่าเรา ไม่ใช่เนื้ อคู่กนั ตู๊นฉั่วได้ยินดังนั้นก็ไม่ยอม นางบอกว่าถ้าอยากเจอ นางอีกครั้งให้นาํ โอ่ง9ใบตักนํ้า ใส่ ให้เต็ม แล้วให้ม องดู ใ นโอ่ง ทั้ง 9ใบจะได้เห็ น อึ่ นเก้า อึ่ นจะ พูดจบแล้วนางก็จากไป ตู๊นฉั่วก็ กลับมาโลกมนุษย์ วันขึ้นสิ บห้าคํ่าเดือนต่อมา ตูน๊ ฉัว่ ตื่นมาแล้วตักนํ้าใส่ โอ่งจนเต็ม แต่ดว้ ยความเหนื่อยทําให้เขาเผลอหลับไป เมื่อตื่นมาอีกครั้งเขาเห็น อึ่นเก้า-อึ่นจะกับลูกชาย เทวดา เดิ นผ่านไปในโอ่งที่ หนึ่ ง เขาก็ว่ิงไปดู ใบที่ สองจนถึ งใบที่เก้า ก่ อนจะครบทุ กใบ อึ่ นเก้าอึ่ นจะบอกตูน๊ ฉัว่ ว่าเธอตั้งครรภ์ กับเขา ถ้าลูกออกมาเป็ นหญิงถือว่าเราไม่ใช่ เนื้ อคู่กนั แต่ถา้ ลูกออกมา เป็ นชายก็จะเป็ นเนื้ อคู่กนั และจะได้อยูร่ ่ วมกัน เวลาผ่านไปนางได้คลอดลูก เป็ นผูช้ าย นางส่ งคนไป บอกตู๊นฉั่วให้รู้ ตู๊นฉั่วจึ งไปขอร้ องพ่อตา ให้ช่วย เขาจึ ง ได้ข้ ึ นไปบนสวรรค์แล้วต่อสู ้ กบั ลู กชาย เทวดาจนเขาชนะ แล้ว ทั้งสองคนจึงอยูด่ ว้ ยกันอย่างมีความสุ ขบนโลกมนุษย์ 4. นิทานม้ ง-ย้อเล่าฉั่ว ย้อเล่าฉัว่ เป็ นพ่อบ้านที่ดีมาก เขาเป็ นคนขยันมาก วันหนึ่ งเขาคิดที่จะปลูกข้าวโพดแต่ไม่รู้วา่ ที่ดินนั้นเป็ นของลิง เมื่อเขาเห็นก็ดีใจมากเพราะ ดินที่นี่ดีมาก คิดว่าต้องปลูกข้าวโพดได้ผลดี นานไป ข้าวโพดก็งอกงาม ลิงรู ้วา่ ข้าวโพดออกผลแล้วจึงพากันยกพวกลิงไปกินข้าวโพดจนหมดไร่ ย้อเล่าฉัว่ โมโหที่ขา้ วโพดถูกกินหมดจึงไปแอบดูแต่ไปกี่ครั้งก็ไม่เจอตัวการ เขาเลยไปถามเทวดา เทวดาบอกว่าเขาไปปลูกข้าวโพดในที่ของลิง เทวดาจึงแนะนําให้เขา กินข้าวดําแล้วกินนํ้าตามจนท้องใหญ่แล้วเอาข้าวสารใส่ รูจมูก ปากแล้วไปนอนในที่ของลิง เขาก็ทาํ ตาม เมื่อลิงออกมา หากินเห็นย้อเล่าฉัว่ นอนกลางทาง ลิงจึงคิดว่าผูม้ ีพระคุณตายแล้วเพราะพวกตน กินข้าวโพดของเขาจนหมด เขาจึงเสี ยใจและคิดว่าเขาคงไม่มี ญาติมาทําศพ บรรดาลิงจึงชุ มนุ มกันพา


78

เขาไปที่พกั ของพวกเขา ขณะที่ทาํ พิธีอยู่น้ นั ลิงแก่ตวั หนึ่ ง เสี ยใจมาก เดิ นไปร้ องไห้หน้าย้อเล่าฉั่ว เมื่อ ย้อเล่าฉัว่ ลืมตาขึ้นมาแล้วพูดว่า “ นัน่ ทําอะไรกันน่ะ ” ทันทีที่ลิงเห็นก็คิดว่าผีหลอก พรรคพวก ลิงจึงพากันหนีออกจากไป ย้อเล่าฉัว่ ลุกขึ้นม เห็น ทรัพย์สมบัติของลิงมากมายจึงขนกลับมาบ้านและ ใช้ชีวติ อย่างมีความสุ ข 5. นิทานม้ ง-แมวป่ ากับหมี กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีแมวป่ ากับหมีเป็ นเพื่อนกัน ทั้งหมีและแมวป่ าต่างก็มีลูก วันหนึ่ง ด้วยความที่เป็ นแมวป่ าจอมเจ้าเล่ห์ แมวป่ า ก็วางแผนทรยศเพื่อนเพราะว่าอยากกินลูกหมี แมวป่ าจึง วางแผนหลอกให้พ่อหมีไปเที่ยวในป่ า แล้วแมวป่ าก็หลอกให้พ่อหมีฆ่าลูกของตัวเองให้ แมวป่ ากิน พ่อหมีก็ตกหลุ มพรางเชื่ อฆ่าลูกและภรรยาของตัวเองให้แมวป่ ากิ นทั้งหมด หลังจากนั้นหมีก็ถาม แมวป่ าว่า หมีได้ฆ่าลูกเมียให แมว-ป่ ากินหมดแล้ว แต่ทาํ ไมแมวป่ าจึงไม่ฆ่าลูกเมียแล้วมาแบ่งให้ตน กินบ้าง แมวป่ าก็ตอบตกลง โดยบอกหมีพรุ่ งนี้ให้ไปรอที่กลางทางแล้วแมวป่ า จะพาลูกและภรรยาไปด้วย วันรุ่ งขึ้น หมี ก็มารอตามที่แมวป่ าบอกไว้ แต่รอแล้วรอเล่าก็ไม่เห็ นแมวป่ าพาครอบครัวมา หมีก็โกรธเลยไปหา แมว-ป่ าที่บา้ น เมื่อไปถึ งก็ถามแมวป่ าว่าเหตุใดแมวป่ าจึงไม่มาตามนัด แมวป่ าก็บอกว่าภรรยาของ ตนกําลังทําความสะอาดขนของตนและลูก ๆ อยู่เลยทําให้ช้า จากนั้นแมวป่ าก็บอกหมี ให้กลับไป ก่อนแล้ววันรุ่ งขึ้นค่อยมาใหม่ หลังจากที่หมีเดินกลับไป ก็มีคนคนหนึ่ งชื่ อว่า ย๋ อเหล่าจัว่ เดินมาพบ แมวป่ า ทั้งสองเลยวางแผนที่จะฆ่าหมีเพราะแมวป่ า ไม่อยากจะฆ่าลูก ตัวเอง ทั้งสองตกลงว่าถ้าฆ่า หมีได้ก็จะแบ่งเนื้ อกัน แล้วหลังจากนั้นย๋ อเหล่าจัว่ และแมวป่ าจอมเจ้าเล่ห์ก็หลอกให้หมีไปพบที่บน ภูเขา เมื่อขึ้นไป ถึงบนภูเขาทั้งสองก็ร่วมกันผลักหมีตกเขาตายแล้วทั้งสองก็แบ่งเนื้ อกันไปกิน แมว ป่ าจอมเจ้าเล่ห์ฉลาดเอาเนื้อไปมากกว่าและเหลือแต่กระดูก แต่ย๋อเหล่าจัว่ ก็เจ้าเล่ห์ไม่แพ้กนั เลยรู ้ทนั เจ้าแมวป่ า เขาเลยเอามูต้ ู่พลีซ่ ึ งเป็ นสัตว์ที่แมวป่ ากลัวมาให้แมวป่ าดู ในตอนแรกแมวป่ ายังเห็นไม่ชดั เลยถามย๋ อเหล่าจัว่ ว่าคืออะไร ย๋ อเหล่าจัว่ เลยตอบว่ามูต้ ู่พลี ทันทีที่ได้ยินอย่างนั้น เจ้าแมวป่ าก็วงิ่ หนี ไปทันที พร้อมกับบอกย๋ อเหล่าจัว่ ว่าอย่า เพิ่งปล่อย รอให้มนั หนีไปไกล ๆ ก่อน พอย๋ อเหล่าจัว่ เห็นแมววิง่ ไปได้ไกลแล้ว เขาจึงเอาเนื้ อส่ วนที่เป็ นของเจ้าแมวป่ าไปหมดเลย แล้วเก็บก้อนหิ น ก้อนใหญ่ ๆ มาทาเลือดเพื่อหลอกให้แมวป่ าเชื่ อว่าเป็ นเนื้ อของหมีจริ งๆ พอตกเย็น แมวป่ าก็กลับมาเอาเนื้ อส่ วนที่เป็ นของตนโดยไม่รู้ว่าถูกย๋ อเหล่าจัว่ หลอก เมื่อถึ งบ้าน ทั้งสองก็เอา เนื้ อที่ตนได้มาทําอาหาร เนื้ อของ ย๋ อเหล่าจัว่ สามารถต้มได้จนเปื่ อย ต่างกับเนื้ อของเจ้าแมวป่ าที่ตม้


79

เท่าไหร่ ก็ไม่เปื่ อยสักที เมื่อเห็นว่าเนื้ อของตนไม่เปื่ อย แมวป่ าเลยวิ่งไปหา ย๋ อเหล่าจัว่ ที่บา้ นแล้วขอ ชิ ม เนื้ อของย๋ อเหล่ า จัว่ เจ้า แมวป่ าก็ เห็ นว่า เนื้ อของย๋ อเหล่ า จั่วทั้ง เปื่ อย นุ่ ม และอร่ อยมาก ๆ จึ ง ถามย๋ อเหล่าจัว่ ว่าทํา อย่างไรเนื้อของย๋ อเหล่าจัว่ จึงอร่ อยเช่นนี้ เมื่อได้ยนิ ดังนี้ย๋อเหล่าจัว่ จึงออกอุบายที่จะกําจัดเจ้าแมวป่ าเสี ย ย๋ อเหล่าจัว่ เลยตอบไปว่า ให้ เอาเนื้ อต้ม ในนํ้าที่เดือดจัด แล้วให้วางก้อนหิ นไว้ที่ใต้หลังคา จากนั้นให้เอาลูกและภรรยาของแมว ป่ าไปอยูข่ า้ งใต้กระทะ เมื่อทุกอย่างพร้อมแล้วก็ให้แมวป่ า ปล่อยก้อนหิ นลงมา ถ้าแมวป่ าทําแบบนี้ แล้วก็จะได้เนื้อที่อร่ อยอย่างตน เมื่อเจ้าแมวป่ าได้ฟังก็รีบกลับบ้านไปทําตามที่ย๋อเหล่าจัว่ บอก แต่ผล ปรากฏว่าลูกและภรรยาของแมวป่ าตายหมด เพราะเมื่อแมวป่ าปล่อย ก้อนหิ นมาทําให้กระทะแตก แล้วนํ้าร้อนในกระทะก็ลวกลูกและภรรยาจนตาย แมวป่ ารู ้สึกเสี ยใจมากแต่ก็ยงั ไม่รู้วา่ นี่ เป็ นกลอุบาย ของย๋ อเหล่า-จัว่ หลังจากที่ลูกและภรรยาตาย แมวป่ าก็ไปขอให้ย๋อเหล่าจัว่ ช่วยฝังหน่อย ย๋ อเหล่าจัว่ ก็ ช่วยเหลือเป็ นอย่างดี หลังจากที่ฝังลูกและภรรยาแล้ว เจ้าแมวป่ าก็เลยต้องอยูค่ นเดียว ตกตึก แมวป่ าออกมาปั สสาวะ เมื่อออกไปก็หารู ้ไม่วา่ ย๋ อเห ล่าจัว่ ไปขุดศพลูก และภรรยาของตนมาวางไว้หน้าบ้าน เมื่อแมวป่ ากลับมาก็เจอศพพวกเขา แมวป่ า ตกใจและกลัวมากเพราะคิดว่าผีหลอก ตอนเช้าแมวป่ าเลย ไปบอกย๋ อเหล่าจัว่ ให้ช่วยเอาศพไปฝังอีก ย๋ อเหล่าจัว่ แกล้งเจ้าแมวป่ าอยูอ่ ย่างนี้ถึง 3 คืน แล้วเจ้าแมวป่ าก็รู้สึกระแคระคายว่าตนจะถูกแกล้ง คืน นี้เลยแกล้งออกไปปั สสาวะ แต่เมื่อไปได้ครึ่ งทางก็ยอ้ นกลับมา แล้วก็ได้เห็นย๋ อเหล่าจัว่ ขุดหลุมแล้ว เอาศพลูกและภรรยาตนมาวางไว้หน้าบ้าน เมื่ อแมวป่ าเห็ นดังนี้ ก็โกรธย๋ อเหล่ าจัว่ เช้าวันรุ่ งขึ้ นจึ ง บอกย๋ อเหล่าจัว่ ให้เอาลูกและภรรยาตนไปฝังพร้อมกับลัน่ วาจาว่า ไม่วา่ ย๋ อเหล่าจัว่ จะอยูท่ ี่ ไหน ชาติ ใด ตนก็จะมาฆ่าเป็ ดฆ่าไก่ของย๋ อเหล่าจัว่ ตลอดไปให้หมดสิ้ น ทําให้ปัจจุบนั นี้ แมวป่ ามักจะมาลักกิน ไก่ของชาวบ้าน 6. นิทานม้ ง-พ่อช้ าง กาลครั้ งหนึ่ งนานมาแล้ว มี สามีภรรยาคู่หนึ่ งแต่งงานอยู่กินจนมีลูกด้วยกัน เมื่อภรรยาตั้ง ท้องก็อยากจะกินนกเลยบอกสามีให้ไปยิงนกมาให้ ตนกิน ด้วยความที่รักภรรยามาก สามีจึงออกจาก บ้านเข้าป่ าแต่เช้ามืดไปหานกมาให้ภรรยา แต่โชคไม่เข้าข้าง เขาหานกแต่เช้าแต่ก็ไม่มีนก เลย จน พระอาทิตย์ตกดินเขาก็ยงั หานกไม่ได้ เขาจึงเดินทางกลับบ้าน เมื่อกลับถึงบ้าน ภรรยาก็โกรธที่เขาไม่ สามารถหานกมาให้นางได้ นางจึงออกปากไปว่า ถ้าพรุ่ งนี้ เขายังหานก “ หน่ งใจ้ตือ ” มาให้นาง ไม่ได้ อีกก็อย่าได้กลับมาที่บา้ นเลย แม้จะรู ้ สึกเสี ยใจที่ได้ฟังภรรยาตนพูดเช่นนั้นแต่เขาก็ไม่ได้พูด


80

ตอบโต้แต่อย่างไร เช้าวันรุ่ งขึ้นสามีออกจากบ้านแต่เช้าอีกเหมือนเคย แต่เขาก็ไม่สามารถหานกหน่ง ใจ้ตือที่ภรรยาต้องการมาได้อีก คราวนี้เขาเลยไม่กล้ากลับบ้าน เพราะถ้ากลับไปภรรยาคง ไม่ยอมให้ เข้าบ้านและคงไล่เขาเหมือนหมูเหมือนหมา ดังนั้นเขาจึงเดินทางเข้าป่ าไปเรื่ อย ๆ ไปเจอฝูงช้าง เขา เลยออก เดินทางไปกับฝูงช้างและกลายร่ างเป็ นช้างอยูใ่ นป่ าลึก 8 ปี ต่อมา หลังจากที่สามีหายตัวไป ภรรยาก็คลอดลูกออกมาได้ลูกชาย วันหนึ่ งลูกก็ถามแม่ ว่าพ่อไปไหน เมื่อเห็ นว่าลูกโตพอที่จะรับรู ้ เรื่ องราว แล้วนางเลยเล่าเรื่ องราวทั้งหมดให้ลูกฟั งแล้ว นางก็บอกว่าจนป่ านนี้ พ่อยังไม่กลับมาอีกเลย เมื่อลูกชายได้ฟังเรื่ องจนจบก็รู้สึกเสี ยใจ จึงคิดจะไป ตามพ่อ แม้ว่าแม่จะห้ามก็ไม่ฟัง เมื่อห้ามไม่ได้แล้ว รุ่ งเช้านางจึงเตรี ยมเสบี ยงไว้ให้ลูกชายเพื่อไป ตามหาพ่อ เขาออกเดิ นทางแต่เช้า เมื่อยิ่ง เข้าไปลึ กก็ไม่เจอพ่อเสี ยทีจึงอ้อนวอนกับเทวดาให้ช่วย เพราะตนไม่ได้เจอพ่อนานแล้วอยากจะพบสักครั้งหนึ่ ง ด้วยความสงสาร เทวดาจึง ปรากฏตัวและ กล่าวว่า พ่อของเขาได้กลายเป็ นช้างแล้ว เป็ นช้างซึ่ งตัวใหญ่มากและมีงาที่ใหญ่มากเช่นกัน ถ้าหากว่า อยากพบพ่อให้ไปรอที่ สระนํ้าในวันขึ้น 15 คํ่า พร้ อมกับเป่ าแคนไปรอบ ๆ สระนํ้า 3 รอบ เมื่อเป่ า แคนเสร็ จก็ให้มาซุ่มดู แล้วพ่อจะมาอาบนํ้าในคืนนั้นเพราะว่า รําคาญเสี ยงแคนจนไม่ได้หาอาหารกิน เมื่อได้ฟังดังนั้น เด็กน้อยก็รีบทําตามทันที หลังจากที่เด็กน้อยทําตามที่เทวดาบอกเสร็ จทั้งหมด เขาก็ ออกมาซุ่ มดูพ่อช้าง แล้วพ่อช้างก็ออกมา ด้วยความดี ใจที่ได้เห็ นพ่อ เด็กชายก็รีบ กระโดดกอดพ่อ ช้าง ทําให้พ่อช้างตกใจวิ่งหนี เมื่ อวิ่งมาได้สักพัก พ่อช้างก็เหนื่ อยเลยหยุดวิ่ง เด็กชายก็วิ่งกระหื ด กระหอบตามมาพร้อมกับ บอกว่าตนเป็ นลูกของพ่อช้าง หลังจากนั้นก็เล่าเรื่ องตามที่ได้ฟังมาจากแม่ให้พ่อช้างฟั ง เมื่ อฟั งเสร็ จพ่อช้างก็เชื่ อว่าเด็ก น้อยคนนี้เป็ นลูกของตน แล้วเด็กน้อยก็ชวนพ่อกลับบ้าน พ่อช้างปฏิเสธเพราะกลัวว่าภรรยาจะฆ่าตน แต่ลูกชายบอกว่าแม่ไม่ว่าอะไรเพราะว่ามีตนอยู่ช่วยพ่อทั้งคน พอได้ฟังดังนี้ พ่อช้างเลยตอบตกลง พร้อมกับบอกว่าถ้าพ่อไปแล้วต้องบอกแม่วา่ ให้มดั สุ นขั ที่บา้ นไว้ดว้ ยเราะว่าพ่อกลัวจะโดนหมากัด ลูกชาย ก็ตอบตกลงทันที เช้าวันรุ่ งขึ้น ทั้งสองก็พากันกลับบ้าน ก่อนถึงบ้านลูกชายก็ตะโกนบอกแม่ ว่าให้จบั สุ นขั ไว้ก่อน แต่แม่ก็ไม่ทาํ ตาม ทําให้สุนขั วิง่ มากัดพ่อช้างจน ตาย ลูกชายรู ้สึกเสี ยใจมากกับ การกระทําของแม่ จึงเอาศพพ่อไปฝัง แล้วหลังจากนั้นเขาก็ไม่เชื่อฟังคําพูดของแม่อีกเลย 7. นิทานม้ ง-นู้ไพล้ ณ เมื องหนึ่ ง ได้จดั ให้มี เทศกาลเลื อกคู่ ในงานนี้ จะมี หญิ งสาวสวยและชายหนุ่ ม รู ป งาม มากมายเพื่อมาเลือกคู่ นูไ้ พล้เป็ นคนหนึ่งที่ ไปร่ วมงานด้วยแต่เขากลับไม่พบคนที่ถูกใจ เมื่อ กลับมา


81

บ้านเขาจึงไปขอเทวดาให้ท่านช่วยแนะนําว่าผูห้ ญิงคนไหนมีความเหมาะสมกับเขา เทวดาจึงแนะนํา ให้นูไ้ พล้ปีนขึ้นไปบนภูเขาลูกที่สูงที่สุดแล้วมองไปสุ ดลูกหู ลูกตา หากว่าพบเห็นหญิงสาวคนไหน เป็ นคนแรกคนนั้นคือ เนื้ อคู่ของเขา นูไ้ พล้จึงทําตามแล้วเขาก็ได้เจอสาวงามชื่ อ อึ่นเก้าอึ่นจะ นูไ้ พล้ จึงไปขอและแต่งงาน และใช้ชีวิตด้วยกันอย่างมีความสุ ข วันหนึ่ งเสื อสมิงอยากจะมีคู่บา้ งก็ไปถาม เทวดา เทวดาบอกให้เสื อสมิงขึ้นเขาแล้วมองไปให้สุดสายตา ถ้าเจอหญิ งสาวคนไหนเป็ นคนแรก คนนั้นคื อเนื้ อคู่ของเสื อสมิ ง เสื อจึ งไปทํา ตาม คํา ที่ เทวดาบอก แล้วเขาก็เห็นหญิงสาวคือ อึ่นเก้าอึ่นจะซึ่ งเป็ นภรรยาของนูไ้ พล้ เสื อสมิง จึงวางแผนที่จะ ได้ อึ่นเก้าอึ่นจะมาเป็ นคู่ครอง วันหนึ่ งนูไ้ พล้ออกไปเดินป่ า เสื อสมิงจึงแปลงกายเป็ นเขาแล้วพาอึ่น เก้าอึ่นจะเข้าป่ าลึก พอนูไ้ พล้กลับมาไม่เห็นภรรยา รู ้ว่าเสื อสมิงลักพาตัว เธอไป เขาจึงตีดาบมาเล่ม หนึ่ งซึ่ งมีอานุ ภาพ ร้ ายแรงเพื่อเอาไว้ปราบเสื อสมิง นู้ไพล้ทดลองเอาไปฟั นหมูและวัวของพ่ จน แน่ ใจว่าดาบคม มากพอจึ งออกเดิ นทางไปตามหาภรรยา เมื่ อเดิ นสะกดรอยตามเสื อสมิงไปได้สัก ระยะหนึ่ง รอยเท้าของเสื อสมิงก็หายไป นูไ้ พล้จึงเป่ าใบไม้ เป็ นเพลงเพื่อตามหาภรรยา เธอเป่ าตอบ กลับมาว่านูไ้ พล้ไม่ได้บูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ก่อนออกเดินทาง ทันใดนั้นมีนกตัวหนึ่ งบินมาเกาะบนต้นไม้ เขาจึงใช้ดาบฟันนกตัวนั้นมาบูชาเจ้าป่ าเจ้าเขา เมื่อบูชาเสร็ จแล้วเขาก็ตามรอยเท้าของเสื อสมิงจนเจอ ตามไปถึ งที่อยู่ของมัน เมื่อไปถึ งมีแค่ รอยการหยุดพัก เขาจึงนอนค้างที่นนั่ เพราะ เป็ นเวลาใกล้ค่ าํ แล้ว รุ่ งเช้าเขาออกเดินทางตามเข้าไปในถํ้าซึ่ งเสื อสมิงจะพักตอนกลางวัน นูไ้ พล้จึงแอบไปเฝ้ า รออยูห่ น้าปากถํ้าจนเวลากลางคืน เขาเข้าไปซ่อนตัว อยูจ่ นถึงเวลาที่เสื อสมิงออกไปหากิน เขาจึง เข้า ไปในถํ้า แล้วไปหาภรรยา จากนั้นอึ่นเก้าอึ่นจะนําถังใส่ น้ าํ มาวางไว้หน้าทางเข้าถํ้า เพื่อจะดูว่า เสื อ สมิงจะกลับมาหรื อยัง ผลปรากฏว่าเสื อสมิงกําลังเดินทางกลับมาพร้อมกับเนื้อ นูไ้ พล้ จึงต้องซ่ อนตัว อยูต่ รงผนังด้านในถํ้าตลอดทั้งคืน รุ่ งเช้าเสื อสมิงก็ได้กลิ่นมนุ ษย์จึงคิดว่านู ้ไพล้ตามมาเจอแล้ว เสื อ สมิงจึงเรี ยกพรรคพวกมาซึ่ งมีท้ งั หมด 11ตัว จึงเกิดการต่อสู ้กนั แต่นู้ไพล้ก็พา ภรรยาออกมาจากถํ้าได้แต่หลงวนอยู่ในป่ าหาทางออกไม่ได้ อึ่นเก้าอึ่นจึ ง บอกให้สามีขุดหลุ มเพื่อให้เธอถอดชุ ดเสื อออก และเมื่อเธอลงไป ในหลุ มให้เขาหากิ่ งไผ่มาปั กไว้ ข้างหลุ ม ถ้ากิ่ งไผ่เขียวชะอุ่มดี เธอจะกลับมาแต่ถา้ กิ่งไผ่เหี่ ยวแห้งลง เธอก็จะไม่ได้กลับมาและเมื่อ เธอลงไปแล้ว ห้ามเขาดู จนกว่าจะผ่านไปเป็ นเวลาสามวันถ้าจัง่ (เครื่ องดนตรี ของม้ง)ดังขึ้ นเธอจะ กลับมาผ่านไปสามวันแล้วกิ่ งไผ่ก็ยงั ไม่เขียว ผ่านไปเจ็ดวันจัง่ ก็ไม่ดงั ทําให้นูไ้ พล้เสี ยใจมาก คิดว่า ภรรยาอาจจะไม่ได้กลับมา เขาจึ งเดิ นออกมาจาก ตรงนั้น เมื่ อเดิ นออกมาเขากลับได้ยินสี ย งของ


82

ภรรยา บอกว่า “ เธอฆ่าพี่นอ้ งเสื อสมิงตายหมดแล้วแล้วยังจะทิ้งเราไปอีกเหรอ ” 3 ครั้ง นูไ้ พล้ จึงวิ่ง กลับมาเห็ นชุ ดเสื ออยูใ่ นหลุมแล้วเขาก็เก็บชุ ดเสื อไว้ แล้วทั้งสองก็ไปใช้ชีวิตด้วยกันที่หมู่บา้ นแห่ ง หนึ่ง วันหนึ่ งทั้งสองออกไปทําไร่ ระหว่างทางนั้นอึ่นเก้าอึ่นจะเกิ ดปวดท้องจะคลอดลู กขึ้ นมา กระทันหันแต่ไม่ได้บอกกับสามีจึงแอบไปคลอดลูกข้างทาง คลอดออกมาเป็ นลูกเสื อสามตัว นูไ้ พล้ เห็นว่า ภรรยาออกไปนานจึงตามไปดูเห็นว่าภรรยาคลอดลูกออกมาเป็ นเสื อ ทั้งสองก็พาลูกกลับไป เลี้ ยงที่ไร่ วันหนึ่ งเขาออกไปทําไร่ ด้วยความเหนื่ อยเมื่อกลับมาถึ งบ้านจึงเผลอหลับไป ลูกเสื อทั้ง สาม จึงพูดขึ้นว่า ” จะเอาใบหู ของพ่อ 2 ข้าง อีกตัวหนึ่ ง เอานิ้วหัวแม่เท้า ” เมื่อนูไ้ พล้ได้ยินจึงโกรธ มากจับลูกเสื อสองตัวมาทุบกับดิ นจนตาย ส่ วนอีกตัวหนึ่ งวิ่งหนี รอดไปได้แล้วหันมาท้าทายกับเขา ว่า ” อีกสามปี เรามาต่อสู ้กนั ว่าใครจะเก่งกว่า ” เวลาผ่านไปสามปี นูไ้ พล้ออกไปทําไร่ ลูกเสื อตัวนั้น ก็โตเป็ นหนุ่มแล้วกลับมาสู ้กบั เขา นูไ้ พล้จึงบอกว่าให้เขาสู บบุหรี่ เสร็ จก่อน แล้วเขาก็ใช้โอกาส นั้น เอาเชื อกมามัดคอลูกเสื อตัวนี้ ไว้กบั คันไถ จากนั้นเขาจึงใช้คอ้ นทุบจนลูกเสื อตัวนั้นตาย เขาจึงบอก ให้คนในหมู่บา้ นมาแบ่งเนื้อเสื อไปกินกัน 8. เป่ าแคนม้ งส่ งดวงวิญญาณสู่ บรรพชน ตํานานเครื่ องดนตรี ที่เล่ าสื บต่อกันมาว่า ในอดี ตกาลมีคนม้งอยู่ครอบครั วหนึ่ ง มี พี่น้อง 7 คน วันหนึ่งผูเ้ ป็ นบิดาสิ้ นชีวติ ลง และบรรดาพี่นอ้ งทั้ง 7 คนต้องการจัดงานศพเพื่อเป็ นเกียรติให้กบั ผู ้ เป็ นบิดา แต่ไม่รู้ว่าจะทําอย่างไรดี จึงได้ขอคําปรึ กษาจากเทพเจ้า "ซี ยี" ซึ่ งคนม้งมีความเชื่ อว่าเป็ น เทพเจ้าที่พระเจ้าส่ งมาเพื่อช่ วยเหลื อมวลมนุ ษย์ ในโลกและเป็ นผูม้ ี บทบาทสําคัญในการกําหนด พิธีกรรมที่สําคัญของคนม้ง เทพเจ้าซี ยีได้แนะนําให้คนหนึ่ งไปหาหนังสัตว์มาทํากลองไว้ตีและอีก หกคนไปหาลํา ไม้ไผ่ที่มีขนาดและความยาวไม่เท่ากันมาคนละอัน เรี ยงลําดับตามขนาด และอายุ ของแต่ละคน เมื่ อเตรี ยมพร้ อมแล้วให้คนหนึ่ ง ตี กลอง และอี ก 6 คน ที่ เหลื อเป่ าลําไม้ไผ่ข องตน บรรเลงเป็ นเพลงเดียวกัน และเดินวนไปรอบๆ คนที่ตีกลองพร้อมกับมอบบทเพลงต่างๆ เมื่ อเทพเจ้า ซี ยีก ล่ า วเสร็ จ พี่ น้องทั้ง เจ็ดจึ ง ได้ก ลับ ไปจัดงานศพให้บิ ดาตามที่ เทพเจ้าซี ยี แนะนํา ต่อมามีพี่น้องคนหนึ่ งได้ตายจากไป เหลือคนไม่พอที่จะเป่ าลําไม้ไผ่ท้ งั หก พี่นอ้ งที่เหลื อ 6 คน จึงได้ขอคําปรึ กษาจากเทพเจ้าซี ยีอีกครั้ง เทพเจ้าซี ยีจึงแนะนําให้รวมลําไม้ไผ่ท้ งั หกมาเป็ นชุ ด เดียวกัน แล้วให้คนเดียวเป่ าเท่านั้น ส่ วนคนอื่นให้ทาํ หน้าที่ถวายเครื่ องบูชา ตระเตรี ยมอาหาร และ ทําหน้าที่อื่นไป


83

ต่อมารู ปแบบพิธีงานศพดังกล่าวก็ได้รับการถื อปฏิ บตั ิมาเรื่ อยๆ จนกลายเป็ นประเพณี ใน การจัดงานศพของคนม้งมาจนกระทัง่ ทุกวันนี้ ฉะนั้นในธรรมเนียมม้งจึงห้ามมิให้ฝึกเป่ าแคนภายใน บ้าน ส่ วนใหญ่จะฝึ กในที่ห่างไกลจากหมู่บา้ นซึ่ งมักจะเป็ นที่พกั พิงตามไร่ สวน นอกจากงานศพแล้ว ชาวม้งยังนิ ยมเป่ าแคนในงานรื่ นเริ ง เช่ น งานปี ใหม่ โดยเนื้ อหาของบทเพลงที่เป่ าจะมีความหมาย แตกต่างออกไป รวมทั้งมีท่าเต้นประกอบการเป่ าเพื่อดึงดูดความสนใจของคนดู แตกต่างจากการเป่ า ในงานศพซึ่ งจะย่อตัวและเป่ าวนรอบศพเท่านั้น ปั จจุบนั การเป่ าแคนยังคงมีความสําคัญมากในงาน ศพของชาวม้ง โดยแต่ล ะงานต้องมี คนเป่ าแคนเก่ งระดับ ชั้นครู ม าช่ วยกันเป่ าอย่า งน้อย 3-4 คน สลับกัน เพราะต้องมีเสี ยงแคนบรรเลง เช้า กลางวัน และเย็น ตลอดระยะเวลางาน 3-4 วัน ดังนั้น คน เป่ าแคนเก่งๆ จะได้รับเชิ ญให้เดิ นทางไปร่ วมงานศพตามหมู่บา้ นชาวม้งเสมอ เพราะหากไม่มีแคน บรรเลง ดวงวิญญาณที่ล่วงลับของชาวม้งก็ไม่อาจจะเดินทางกลับไปหาบรรพบุรุษที่รออยูใ่ นอีกภพ หนึ่งได้ แคนหรื อเฆ่งของชาวม้งจึงเป็ นเครื่ องดนตรี สําคัญที่ลูกหลานชาวม้งจะต้องร่ วม กันสื บทอด ต่อไปเนื้อเพลงเฆ่งในพิธีงานศพโดยทัว่ ไปจะมีลาํ ดับการเป่ าดังนี้ - ดี๋ (ntiv) ซึ่งเป็ นการโหมโรง - ปลัว่ จี๋เฆ่งจี๋ จรั่ว (pluas cim qeej cim nruag) รัวกลองพร้อมกันไปกับเพลงเฆ่ง - ลื๋อฆะจรั่ว (lwm qab nruag) การลอดใต้คานที่แขวนกลองของผูเ้ ป่ าเฆ่ง - ซุตวั (xub tuag) เป็ นการแนะนําเพลงเฆ่ง - ฆัวซุตวั (quas xub tuag) เป็ นการลงท้ายบทแนะนําเพลง - ยซ่าเฆ่งตัว (zaj qeej tuag) เริ่ มต้นเนื้อเพลง - ฆัวยซ่าเฆ่งตัว (quas zaj qeej tuag) เป็ นการร่ ายเนื้อเพลงเพื่อเข้าสู่ ปรโลก - เฆ่งตร๋ อฆ้าง (qeej rov qaab หรื อ raib leev) เป็ นขั้นตอนการกลับจากปรโลก ปรโลก เพื่อมิ ให้มีวญ ิ ญาณติดตามมาได้ - เส่ าเฆ่ง (xaus qeej) ลงท้ายบทเพลง ประเภทของบทเพลงทีใ่ ช้ ในพิธีงานศพมีดังนี้(http://www.hilltribe.org ) - เฆ่งตูสา (qeej tu sav) เพลงแรกหลังจากผูต้ ายได้สิ้นลมหายใจแล้ว -เฆ่งฆฮัวะเก (qeej qhuab ke) เพลงนําทางดวงวิญญาณไปสู่ ปรโลกหรื อแดนแห่งบรรพบุรุษ -เฆ่ง นเจเหน่ง (qeej nce neeg) เพลงเคลื่อนย้ายศพขึ้นหิ้ง (แคร่ ลอย) -เฆ่ง เฮลอเด๋ อ (qeej hlawv ntawv) เพลงเผากระดาษเงินกระดาษทองให้ผตู้ าย


84

-เฆ่งเสอเก๋ (qeej sawv kev) เพลงเคลื่อนย้ายศพออกจากบ้าน นอกจากจะใช้ ในพิธีงานศพ แล้ว ยังมีการใช้เฆ่ง เพื่อความบันเทิงในงานรื่ นเริ งต่างๆ ด้วย โดยเฉพาะการเต้นรําเฆ่งในงานฉลอง เทศกาลปี ใหม่มง้ ซึ่ งบทเพลงเฆ่ง เพื่อความบรรเทิงจะมีลาํ ดับการเป่ าดังนี้ - ดี๋ (ntiv) โหมโรง -ซุ (xub) แนะนํา นู่ นตรื่ อ (nuj nrws) เนื้อเรื่ อง ฆัวนู่ นตรื่ อ (quas nuj nrws) ทวนเนื้อเรื่ อง ปลัว่ (pluas) สรุ ป เส่ า (xaus) ลงท้าย จากการบันทึ กนิ ทานชองชาวเขาเผ่าม้งดังกล่าว ทําให้ทราบเป็ นเรื่ องเล่ าต่อกัน มาโดยใช้ วาจาหรื อเล่าโดยแสดงภาพประกอบ หรื อการเล่าโดยวัสดุอุปกรณ์ ใช้ประเภทต่าง ๆประกอบก็ได้ เช่ น หนังสื อภาพ หุ่ นหรื อการใช้คนแสดงบทบาทลี ลาเป็ นไปตามเนื้ อเรื่ องของนิ ทานนั้น ๆ แต่เดิ ม มานิทานถูกเล่าสู่ กนั และกันด้วยปากสื บกันมาเพื่อ เป็ นเครื่ องบันเทิงใจในยามว่าง และเพื่อถ่ายทอด ความเชื่ อความศรัทธาเลื่ อมใสในสิ่ งศักดิ์ สิทธิ์ ที่เป็ นที่ยึดถื อของคนแต่ละกลุ่ม ถื อเป็ นมรดกทาง วัฒนธรรมอย่างงหนึ่ งในหลายอย่างของมนุ ษย์เป็ นสิ่ งที่มีความหมาย มีคุณค่าซึ่ งนิ ทานนั้นจะมีท้ งั นิ ทานเล่าปากเปล่า จดจากัน มาแบบมุขปาฐะและนิ ทานที่มีการเขียนการบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์ อักษร และสอดแทรกคติสอนใจลงไป ดังนั้นนิ ทานช่ วยสะท้อนให้เห็ นสภาพของสังคมในอดี ตในหลายๆด้าน เช่ น ลักษณะของ สั ง คมวิ ถี ชี วิ ต ของประชาชนในสั ง คมตลอดจนประเพณี ค่ า นิ ย มและความเชื่ อ เป็ นต้น ดัง นั้น ความสําคัญของนิทานว่านิทานเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญต่อชีวติ ทั้งและผูใ้ หญ่ เพราะนอกจากนิ ทาน จะช่วยให้ เด็ก ๆ มีความสุ ขสนุกหรรษาแล้ว ยังเป็ นโลกแห่ งจินตนาการที่สมบูรณ์แบบที่คอยช่วยถักทอสายใย ความรั กความฝั น สานสัมพันธ์ อนั อบอุ่น ความละมุ นละไมในกลุ่ มสมาชิ กของครอบครั ว อี กทั้ง นิทานยังให้แง่คิดคติสอนใจ และปรัชญาชีวติ อันลํา ลึกแก่เด็ก นิทานมีความสําคัญต่อพัฒนาการของ เด็กอีกด้วย


85

วัฒนธรรมทางด้ านศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดงเป็ นการแสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าอย่าง เป็ นระบบระเบียบเพื่อให้เกิดความงดงามในการเคลื่อนไหว เป็ นศิลปะที่เกิดจากการสร้างความสมดุลของร่ างกาย ในขณะเคลื่ อ นไหวให้มี ค วามงาม ประณี ต โดยมี จุ ด ประสงค์ใ ห้ผูช้ มเกิ ด ความเข้า ใจในความงามของการ เคลื่อนไหวนั้น การแสดงการเป่ าขลุ่ย การแสดงเป่ าขลุ่ยของม้งจะแสดงในงานเทศกาลและวันสําคัญอื่นๆเท่านั้น เป็ นการสื่ อถึงเครื่ องดนตรี ของม้ง และวิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ องม้งซึ่ งขลุ่ยนั้นเป็ นเครื่ องดนตรี คู่กายของชายม้ง ซึ่ งชายม้งจะไม่ค่อยกล้าที่จะ บอกรักสาว ดังนั้นจึงต้องอาศัยขลุ่ยเป็ นสื่ อในการบอกรักสาว จึงดูเป็ นที่น่าสนใจมาก การฟ้อนงิว้ การฟ้ อนงิ้วของม้งจะแสดงในงานเทศกาลปี ใหม่และงานสําคัญต่าง ๆ เป็ นการแสดงถึงความอ่อนช้อย ของม้ง การแสดงการรากระด้ ง การรํากระด้งจะแสดงในงานเทศกาลปี ใหม่และวันสําคัญต่าง ๆ เท่านั้น เป็ นการสื่ อถึงเครื่ องมือเครื่ องใช้ ของม้ง ซึ่งอดีตนั้นม้งนิ ยมใช้กระด้งในการฟัดข้าว หรื อใช้เป็ นอุปกรณ์ในการทําขนมม้ง ดังนั้นม้งจะขาดกระด้ง ไม่ได้เลย ซึ่งกระด้งมีความสําคัญต่อม้งมากเกี่ยวกับชีวติ ประจําวัน การแสดงการราเก็บใบชา การรําเก็บใบชาจะแสดงในงานเทศกาลปี ใหม่และวันสําคัญต่าง ๆ เท่านั้น เป็ นการสื่ อถึงเครื่ องใช้ใน ชีวิตประจําวันของม้งซึ่ งอดีตม้ง นิ ยมเก็บใบชานํามาต้มเป็ นนํ้าชาดื่ มในชี วิตประจําม้งจึงได้มีการรําลึกถึงคุณค่า ของใบชาที่ช่วยทําให้ร่างกายม้งสมัยก่อนค่อนข้างแข็งแรง สามารถตรากตรําทํางานหนักได้ตลอดทั้งปี การแสดงการเป่ าแคน การแสดงเป่ าแคนจะแสดงในงานเทศกาลปี ใหม่และวันสําคัญต่าง ๆ เท่านั้น เป็ นการสื่ อถึงวิถีชีวิตม้ง เนื่องจากเครื่ องดนตรี แคน หรื อเฆ่น (ภาษาม้ง) นั้นเป็ นอุปกรณ์คู่กายของชายม้ง เช่นกันที่ใช้ในการสื่ อถึงการบอก รักกับหญิงสาว หรื อสามารถที่จะใช้แคนในการทําพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน งานศพ เป็ นต้น


86

ภาพ 29 แสดงการเป่ าแคน การแสดงการราใบพัด การําใบพัดจะแสดงในงานเทศกาลปี ใหม่และวันสําคัญต่าง ๆ เท่านั้น เป็ นการสื่ อถึงความอ่อนช้อยของ หญิงสาวม้งและเป็ นการอวดถึงเสื้ อผ้าที่สวมใส่อยู่ ซึ่งการแสดงชุดนี้ได้รับวัฒนธรรมจากชนเผ่าพื้นเมือง การแสดงการนั่งรถแข่ ง การแข่งขันรถสามล้อจะมีเฉพาะในเทศกาลปี ใหม่เท่านั้น จะเป็ นการเล่นของเด็ก และผูใ้ หญ่ซ่ ึ งสมัยก่อน ม้งไม่มีรถ หรื อยวดยานพาหนะใช้ในการเดินทาง และไม่มีของเล่นให้กบั เด็ก ๆ ได้เล่นกัน เนื่ องจากอยู่ห่างไกล จากความเจริ ญมาก ดังนั้นไม่สามารถที่จะหาซื้ อของเล่นให้กบั เด็ก ๆ เล่นได้ดงั นั้นผูใ้ หญ่จึงได้คิดค้นสร้างรถสาม ล้มขึ้นให้กบั เด็ก ๆ ได้เล่นกัน ต่อมาจึงได้มีการนํามาขี่แข่งขันกัน และได้มีวิวฒั นาการที่จะพัฒนาให้มีขนาดใหญ่ ขึ้น เพื่อให้ผูใ้ หญ่สามารถที่ จะเล่นได้จึงได้มีการประกวดแข่งขันกันว่า รถคันไหนไปไกลที่ สุด และรถคันไหน ตกแต่งได้สวยงามที่สุด


87

ภาพ 30 แสดงการนัง่ รถแข่ง เพลงม้ ง ม้งจะมีเพลงหลายชนิ ดซึ่ งจะใช้ร้องแตกต่างกันไปตามเทศกาล ตัวอย่างเพลงที่ ใช้ร้องในงานเทศกาลปี ใหม่มง้ ได้แก่ (www.hilltribe.org) 1. เพลงใบไม้ บรรพบุรุษม้งรู ้จกั นําใบไม้มาเป่ าเป็ นเสี ยงเพลงตั้งแต่อดีตกาลมาแล้ว อย่างเช่น ชาวจี นทัว่ ๆ ไป เนื่ องจากแต่ไหนแต่ไรมาม้งอาศัยอยู่กบั ธรรมชาติป่าไม้ และหุ บเขามาโดยตลอด จึ งรู ้จกั สร้าง เสี ยงเพลงจากใบไม้ออกมาเป็ นเสี ยงเพลง ซึ่ งใบไม้ที่ใช้เป่ า และเสี ยงก้องกังวานดีที่สุด และไกลกว่าใบไม้ชนิ ดใด ๆ ก็คือ “ใบกล้วย”ด้วยเหตุน้ ีในยามที่เดินไปทําไร่ ทาํ สวนในป่ า ก็จะมีการนําใบกล้วยมาเป่ าเป็ นเสี ยงเพลงเรี ยกกัน ่ จุดใดของเส้นทางหรื อป่ า อีกทั้งหนุ่มสาวยังใช้เป็ น หรื อบ่งบอกที่อยูห่ รื อจุดของตนเองว่าในขณะนั้นตัวเองอยูณ สื่ อในการใช้เรี ยกกัน หรื อเกี้ยวกันและกันด้วย โดยจะใช้เป่ า โต้ตอบ หรื อเรี ยกหากันข้ามหุ บ หรื อดอยในขณะที่ กําลังทําไร่ ทาํ สวนกัน ในการเป่ าใบไม้ออกมาเป็ นเสี ยงเพลงนี้ ตอ้ งใช้แรงลมในการเป่ ามาก จึ งมักเหนื่ อยเร็ ว ต่อไปนี้เป็ น ลักษณะเนื้อร้องของเพลงใบไม้ 2. เพลงจิ๊งหน่ อง หรือเพลง Ncaag (จั่น) เป็ นเพลงที่ใช้เรี ยกหากันของหนุ่มสาวในยามคํ่าคืน เวลาพักผ่อนหรื อยามว่างหนุ่ มม้งจะออกไปหาสาวคนรักที่บา้ นสาว การจะเอ่ยเสี ยงร้องเรี ยกสาวนั้นอาจรบกวน และทําให้พ่อแม่ฝ่ายสาวคนรักตื่นได้และย่อมรู ้ว่าผูเ้ รี ยกนั้นเป็ นใครได้การจะกระทําเช่นนั้นแสดงว่าเป็ นสิ่ งไม่ สมควร และเป็ นการไม่ให้ความเคารพนับถือผูใ้ หญ่ของฝ่ ายหญิงสาว เพลง จิ๊ งหน่อง “ncaag”จึงเป็ นสื่ อช่วยให้หนุ่มสาวม้งได้พบกัน โดยไม่กวนใจพ่อแม่ของสาว หนุ่ มจะไปยืนดี ดเพลงจิ๊ งหน่ อง “ncaag”นอกบ้านบริ เวณใกล้กับห้องนอนของสาวคนรั ก เมื่ อสาวคนรักได้ยิน เสี ยงเพลงก็จะโต้ตอบด้วย เพลงจิ๊งหน่อง “ncaag”เช่นกัน เพลงจิ๊งหน่อง “ncaag”นี้ จะเป็ นเพลงรหัสเฉพาะตัวของ


88

หนุ่มสาวแต่ละคู่ ซึ่ งต่างก็จะรู ้ความหมายซึ่ งกันและกันเฉพาะในคู่รักของตน หรื อผูท้ ี่คุน้ เคยเท่านั้นอีกอย่างหนึ่ ง เพลงจิ๊งหน่อง “ncaag”ทําหน้าที่เป็ นภาษาใจของกันและกันให้หนุ่มสาวม้ง 3. เพลงร้ องในเทศกาลวันขึ้นปี ใหม่ งานฉลองวันขึ้นปี ใหม่มีความหมายสําหรับหนุ่ มสาวม้ง โดยเฉพาะ เป็ นโอกาสที่ผใู ้ หญ่อนุญาตให้หนุ่มสาวได้มีโอกาสพบปะกันอย่างเต็มที่ ในวันขึ้นปี ใหม่หนุ่มสาวจะ เล่นลูกช่วง และมีการร้องเพลงโต้ตอบกัน ในโอกาสนี้ หนุ่ มสาวมีสุข สนุ กสนานกับการเล่น และการร้องเพลง ความหมายของเพลงที่ใช้ร้องโต้ตอบกัน เป็ นไปในทํานองเกี้ยวพาราสี กนั บางคู่อาจถือโอกาสสารภาพความในใจ ของตนเอง หรื อขอแต่งงานเลยก็ได้ต่อไปนี้ เป็ น ตัวอย่างเนื้ อร้องของเพลงที่ร้องในเทศกาลขึ้นปี ใหม่ “พ่อแม่บอก ว่าเราโตเป็ นหนุ่ม/สาวแล้ว พ่อแม่วา่ ดีอย่างไร พ่อแม่ไม่อาจห้ามลูกสาวได้ลูกสาวจําต้องแต่งงานกับหนุ่ม บ่าวสาว ตกลงจะแต่งงานกันตกลงกันแล้ว พ่อแม่จะว่าเช่นไร”

วัฒนธรรมทางด้ านประเพณี สังคมม้งเป็ นสังคมเกษตรกรรมเท่านั้น ชาวม้งไม่มีวนั หยุดตามประเพณี นอกจากวันพิธีปี ใหม่เท่านั้น เว้นแต่ จะหยุดตามเหตุ การณ์ ดงั ต่อไปนี้ มี ผูเ้ สี ยชี วิตในหมู่บา้ น พิธีแต่งงานหรื อการ ประกอบพิธีกรรมของแต่ละครัวเรื อน ดังนั้นกิจกรรมการเกษตร ซึ่ งรวบรวมได้ตามกําหนดเวลาใน รอบปี ที่เกี่ยวกับไร่ ขา้ ว ข้าวโพด พืชผักต่าง ๆ เป็ นต้นแต่ปัจจุบนั นี้ มง้ เริ่ มมีการเกษตรผสมผสานมาก ขึ้น โดยส่ วนใหญ่แล้วเลิกการทําไร่ ขา้ ว ข้าวโพด แล้วจะทําข้าวนาแทนสวนผลไม้ตลอดจนประกอบ อาชีพอื่นมาเสริ ม เช่น การปั กผ้า การทําเครื่ องประดับทองขาว การทําเครื่ องเงิน เป็ นต้น ธันวาคม สํารวจหาพื้นที่ทาํ ไร่ ที่ใหม่สาํ รวจสวน ไร่ นา มกราคม - กุมภาพันธ์ ถางไร่ สํารวจที่นา ไร่ ถางหญ้า กรี ดยาง ทําเครื่ องเงิน เครื่ องประดับทองขาว ปักผ้า มีนาคม - เมษายน เผาไร่ เก็บเศษไม้ตอไม้ในไร่ ขา้ ว เผาไร่ เก็บเศษไม้ตอไม้ดูแล ไม้ผล พ่น ยาทําเครื่ องเงิน เครื่ องประดับทองขาว ปั กผ้า พฤษภาคม - มิถุนายน ปลูกข้าวโพด ปลูกข้าว พืชผักต่างๆ เก็บเกี่ยวผลผลิตมะม่วง พืชผักต่าง ๆ ทําเครื่ องเงิน เครื่ องประดับทองขาว ปักผ้า กรกฎาคม - สิ งหาคม ดูแลถางหญ้าในไร่ ขา้ ว เก็บเกี่ยวผลผลิตลิ้นจีลาํ ใย ทําเครื่ องเงิน เครื่ องประดับทองขาว กันยายน - ตุลาคม ปลูกฝิ่ นในไร่ ขา้ วโพดตกแต่งกิ่งไม้ผล ทําเครื่ องเงิน เครื่ อง ประดับทองขาว ปักผ้า


89

ตุลาคม - พฤศจิกายน ธันวาคม - มกราคม

เก็บเกี่ยวข้าวไร่ เก็บเกี่ยวข้าวนา ทําเครื่ องเงิน เครื่ องประดับ ทองขาว ตระเตรี ยมชุดม้ง นวดข้าว กรี ดยางฝิ่ น เก็บเมล็ดฝิ่ น ฉลองเทศกาลปี ใหม่

1) ปี ใหม่ ม้ง ประเพณี ข้ ึนปี ใหม่หรื อประเพณี ฉลองปี ใหม่ซ่ ึ งเป็ นงานรื่ นเริ งของชาวม้งของทุก ๆ ปี จะจัด ขึ้นหลังจากได้เก็บเกี่ยวผลผลิตในรอบปี เรี ยบร้อย และเป็ นการฉลองถึงความสําเร็ จในการเพาะปลูก ของแต่ละปี ซึ่ งจะต้องทําพิธีบูชาถึงผีฟ้า - ผีป่า – ผีบา้ น ที่ให้ความคุม้ ครอง และดูแลความสุ ขสําราญ ตลอดทั้งปี รวมถึ งผลผลิ ตที่ได้ในรอบปี ด้วย ซึ่ งแต่ละหมู่บา้ นจะทําการฉลองกันอย่างพร้ อมเพรี ยง กัน หรื อตามวัน และเวลาที่สะดวกของแต่ละหมู่บา้ น ซึ่ งโดยมากจะอยูใ่ นช่วงเดือนธันวาคมของทุก ปี ประเพณี ฉลองปี ใหม่มง้ นี้ชาวม้งเรี ยกกันว่า “น่อเป๊ โจ่วฮ์” แปลตรงตัวได้วา่ “กินสามสิ บ” สื บเนื่อง จากชาวม้งจะนับช่วงเวลาตามจันทรคติโดยจะเริ่ มนับตั้งแต่ข้ ึน 1 คํ่าไปจนถึง 30 คํ่า (ซึ่ งตามปฏิทิน จันทรคติจะแบ่งออกเป็ นข้างขึ้น 15 คํ่าและข้างแรม 15 คํ่า) เมื่อครบ 30 คํ่าจึงนับเป็ น 1 เดือน ดังนั้น ในวันสุ ดท้าย (30 คํ่า) ของเดื อนสุ ดท้าย(เดื อนที่ 12) ของปี จึงถื อได้ว่าเป็ นวันส่ งท้ายปี เก่า ช่ วงวัน ฉลองปี ใหม่ส่ วนใหญ่ จะตกอยู่ป ระมาณช่ วงเดื อนพฤศจิ ก ายน ถึ ง เดื อนมกราคม ในวันดังกล่ า ว หัว หน้า ครั วเรื อ นของแต่ ล ะบ้า น จะประกอบพิ ธี ก รรมทางศาสนา เพื่ อ ความเป็ นสิ ริ ม งคลของ ครัวเรื อน ถัดจากวันส่ งท้ายปี เก่าไป 3 วันคือวันขึ้น 1 คํ่า 2 คํ่าและ 3 คํ่าของเดือนหนึ่ ง จัดเป็ นวัน ฉลองปี ใหม่อย่างเป็ นทางการ ซึ่ งทุกคนจะหยุดหน้าที่การงานทุกอย่างในช่วงวันดังกล่าวนี้ และจะมี การจัดการละเล่นต่าง ๆ ในงานขึ้นปี ใหม่เช่น การละเล่นลูกช่วง การตีลูกข่าง การร้องเพลงม้ง


90

ภาพ 31 แสดงพิธีกรรมของชาวม้งในวันปี ใหม่ของชาวม้ง การแสดงการเป่ าแคนของม้ง จะแสดงในงานเทศกาลปี ใหม่และวันสําคัญต่าง ๆ เท่านั้น เป็ นการสื่ อถึงวิถีชีวิตม้ง เนื่ องจากเครื่ องดนตรี แคน หรื อเฆ่น (ภาษาม้ง) นั้นเป็ นอุปกรณ์คู่กายของ ชายม้ง เช่นกันที่ใช้ในการสื่ อถึงการบอกรักกับหญิงสาว หรื อสามารถที่จะใช้แคนในการทําพิธีกรรม ต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน งานศพ เป็ นต้น 2) การละเล่ นลูกช่ วง ในวาระขึ้นปี ใหม่มง้ จะมีการละเล่นเพื่อฉลองวันปี ใหม่โดยเฉพาะ การเล่นลูกช่ วง (ntsum pob) หรื อที่เรี ยกกันว่า “จุเป๊ าะ” ลูกช่วง (Pob) มีลกั ษณะกลมเหมือนลูกบอลทําด้วยเศษผ้ามีขนาดเล็ก พอที่จะถือด้วยมือข้างเดียวได้ การละเล่นลูกช่วงจะแบ่งกลุ่มผูเ้ ล่นออกเป็ น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายหญิงกับ ฝ่ ายชายโดยที่ก่อนจะมีการละเล่นฝ่ ายหญิงจะเป็ นผูท้ ี่เอาลูกช่ วงไปให้ฝ่ายชาย หรื อญาติ ๆ ของฝ่ าย หญิงเป็ นผูท้ ี่นาํ ลูกช่ วงไปให้ฝ่ายชาย เมื่อตกลงกันได้ก็จะทําการโยนลูกช่ วงโดยฝ่ ายหญิงและฝ่ าย ชายแต่ละฝ่ ายจะยืนเป็ นแถวหน้ากระดานเรี ยงหนึ่ ง หันหน้าเข้าหากันมีระยะห่ างกันพอสมควร แล้ว โยนลูกช่วงให้กนั ไปมาและสามารถทําการสนทนา กับคู่ที่โยนได้


91

ภาพ 32 แสดงการเล่นลูกช่วง จุดประสงค์ของการเล่น เพื่อความสนุ กสนานเป็ นการฉลองปี ใหม่และเป็ นการหาคู่ให้กบั หนุ่มสาว เพื่อมิตรภาพที่ดีต่อกัน ส่ วนหญิงที่แต่งงานแล้วจะไม่มีสิทธิ์ ในการเล่นลูกช่วงอีก เพราะถือ ว่าผิดตามธรรมเนียมของม้ง ส่ วนฝ่ ายชาย สามารถเล่นได้แต่อยูท่ ี่วา่ ฝ่ ายหญิงจะทําการยินยอมเล่นกับ ตนหรื อไม่แล้วแต่ฝ่ายหญิงสาวคนนั้น การเล่นลูกช่วง ยังเป็ นการช่วยฝึ กทักษะความชํานาญในการ คว้าจับสิ่ งของที่พงุ่ เข้ามาปะทะใบหน้าอันเป็ นการฝึ กป้ องกันตัวจากสิ่ งของที่ลอยมาหาใบหน้าอย่าง กระทันหันได้ดว้ ย ในช่วงระหว่าง การเล่นลูกช่วงหนุ่มสาวที่เล่นลูกช่วงจะร้องเพลงโต้ตอบกัน เพิ่ม ความสนุกสนานในการเล่น 3) การเล่ นลูกข่ าง การเล่นลูกข่าง หรื อที่เรี ยกกันว่า “เดาต้อลุ๊” เป็ นการละเล่นอีกอย่างหนึ่ งที่นิยมเล่นกันในวัน ขึ้นปี ใหม่ของม้ง เป็ นการละเล่นสําหรับผูช้ ายโดยเฉพาะ การเล่นลูกข่างในโอกาสเช่นนี้จะแยกเล่น เป็ นวงผูใ้ หญ่และวงเด็กจุดประสงค์การเล่น เพื่อความสนุ กสนานสร้ างความสัมพันธ์กบั เพื่อนบ้าน ด้วยกัน 4) ประเพณีกนิ ข้ าวใหม่ ประเพณี กินข้าวใหม่ของม้ง เป็ นประเพณี ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยรุ่ นทวด - รุ่ นปู่ ซึ่ งม้งจะ มีความเชื่อว่าจะต้องเลี้ยง ผีปู่ - ผียา่ เพราะช่วงเวลาในหนึ่งรอบปี หรื อในหนึ่งปี ที่ผา่ นมานั้นผีปู่ - ผียา่


92

ได้ดูแลครอบครัวของแต่ละครอบครัวเป็ น อย่างดีดงั นั้นจึงมีการปลูกข้าวใหม่เพื่อจะเซ่ นบูชา คุณผี ปู-ผีย่ากับเจ้าที่ทุกตน ซึ่ งการกิ นข้าวใหม่จะทํากันในเดื อน ตุลาคมของทุกปี ข้าวใหม่คือข้าวที่ปลูก ขึ้นมาเพื่อที่จะเซ่ นถวายให้กบั ผีปู่ - ผียา่ แล้วสุ กในระหว่างเดือนกันยายน ถึ ง ต้นเดือนตุลาคม แล้ว จะต้องเก็บเกี่ยวโดยเคียวเกี่ยวข้าวที่มีขนาดเล็ก เพราะเคี่ยวที่ใช้เกี่ยวนั้นสามารถที่จะเกี่ยวต้นข้าวได้ เพียง 3 - 4 ต้นเท่านั้น จะเริ่ มเกี่ยวได้เมื่อรวงข้าวสุ กแต่ยงั ไม่เหลืองมาก ต้องเกี่ยวตอนที่รวงข้าวมีสี เขี ยวปนเหลื อง เมื่ อเกี่ ยว เสร็ จก็ จะนํามานวดให้ขา้ วเปลื อกหลุ ดออกโดยไม่ต้องตากให้แห้ง นํา ข้าวเปลือกที่นวดเรี ยบร้อยแล้วมาคัว่ ให้เม็ดข้าวแข็งและเปลือกข้าวแห้ง เพื่อให้สะดวกในการตําข้าว

ภาพ 33 แสดงประเพณี กินข้าวใหม่ของม้ง ในอดีตนั้นนิ ยมการตําข้าวด้วยโค้กกระเดื่อง เมื่อตําเสร็ จเรี ยบร้อยนําข้าวมาหุ งเพื่อเซ่ นไหว้ ผีปู่-ผียา่ ซึ่ งในการทําพิธีเซ่นผีน้ นั สามารถทําโดยการนําไก่ตวั ผูม้ าเซ่ นไหว้ตรงผีประตูก่อน โดยการ นําไก่ที่ตม้ ทั้งตัวมาประกอบพิธีซ่ ึ งตําแหน่งที่จะต้องเซ่นไหว้มี5 แห่งได้แก่สื่อก๋ าง ดั้งขอจุ๊บ ดั้งขอจุด ดั้งขอจ่อง ดั้งจี้ด้ งั ขณะทําพิธีตอ้ งสวดบทสวดเพื่อที่บอกให้สิ่งศักดิ์ สิทธิ์ ที่นบั ถื อได้รับรู ้และ เข้ามา ทานก่อน เมื่ อทําพิธีเสร็ จคนในบ้านถึ งจะสามารถทานต่อได้ซ่ ึ งพิธีกินข้าวใหม่น้ นั ได้สืบทอด มา นานหลายชัว่ อายุคน


93

5) ประเพณีการทาขนมแบ๊ งไหญ่ ชนเผ่าม้งเชื่ อว่า ขนมแบ๊งไหญ่คือ สัญลัก ษณ์ แห่ งพระอาทิ ตย์และพระจันทร์ ที่ให้ก าํ เนิ ด สิ่ งมีชีวิตทุกอย่างในโลก ดังนั้นขนมแบ๊งไหญ่ ที่ทาํ จากข้าวเหนี ยวตําอย่างละเอียดและนิ่ มเหนี ยวที่ ปั้ นเป็ นรู ปกลมและวางบนใบตอง จึงถื อเป็ นอาหารประจําวันและจึงเป็ นหนึ่ งในอาหารสําคัญที่ไม่ อาจขาดได้ในงานต่าง ๆ ในหมู่บา้ นของชาวม้ง เป็ นอาหารที่จาํ เป็ นในเครื่ องเซ่ นไหว้และส่ งท้ายปี เก่าต้อนรับปี ใหม่ คนทั้งหมู่บา้ นจะร่ วมกันทําขนมนี้ โดยจะนําข้าวสารเหนี ยวไปแช่ นึ่ง ตํา แล้วปั้ น เป็ นขนมรู ปกลม ซึ่งทุกขั้นตอนจะต้องใช้เวลาเป็ นวัน ในปั จจุบนั ประเพณี น้ ี ได้รับเชิ ญไปแสดงหรื อ เข้าร่ วมการแข่งขันที่งานมหกรรมวัฒนธรรมชนเผ่าต่าง ๆ ของท้องถิ่น 6) พิธีลงสี ดา พิธีอวั เน้ง หรื อพิธีลงสี ดา เป็ นพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่ อ เรื่ องของการถ่ายชี วิตกัน ระหว่าง คนกับสัตว์ มักจะเป็ นคนที่เจ็บป่ วย หรื อที่มีเคราะห์ร้าย ดวงไม่ดี ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ สิ่ งที่ตอ้ งเตรี ยมในการประกอบพิธีอวั เน้ง ได้แก่ 1. กระถางสําหรับปักธูป เทียน ใช้ธูป 3 ดอก 2. กระดาษเงิน กระดาษทอง 3. ถ้วยข้าวสาร ใส่ ไข่ไก่ 1 ฟอง 4. ตะเกียง 1 ดวง หรื อเทียนไข 1 เล่ม 5. กัวะ 2 คู่ (เขาวัว หรื อเขาควาย ผ่าครึ่ ง) 6. นํ้า 3 จอก 7. ข้าวตอก 1 กอง (ข้าวเปลือกคัว่ ให้แตก) 8. หมู 1 ตัว ในการทํา พิ ธี เ ริ่ ม ต้นด้วยการนํา กระถางธู ป เที ย น(หรื อ ตะเกี ย ง) ข้า วตอก กระดาษเงิ น กระดาษทอง นํ้า กัวะ ถ้วยข้าวสารใส่ ไข่ไก่ นําสิ่ งของทั้งหมดนี้มาตั้งโต๊ะ พิธีกรรม หมอผีจะเริ่ มด้วยการจุดกระดาษเงิน กระดาษทอง แล้วร่ ายบทสวดเป็ นภาษาม้ง ต่อมาหมอผีจะเข้ามานัง่ ที่มา้ นัง่ ยาวที่เตรี ยมไว้ และร่ ายบทสวดต่อ ในขณะที่ร่ายบทสวด หมอผีจะ เคาะเจียเน้ง (ห่ วงวงกลมที่ลูกกระพรวนติดอยู่) และกระโดดไปมาบนม้านัง่ ยาวนี้ จากนั้นจะเสี่ ยง ทาย การทําพิธีดว้ ยการโยนกัวะ หมอผีจะดูว่าการโยนกัวะดี หรื อไม่ แล้วทําพิธีต่อไปเรื่ อย ๆ โดย หมอผีจะร่ ายบทสวดและเคาะเจียเน่งตามไปด้วย ขณะทําพิธีอาจจะมีการเคลื่อนย้ายตัวไปมาตามบท สวด เช่ น นัง่ แล้วกระโดดหรื อยืนแล้วนัง่ ทําเช่ นนี้ ไปเรื่ อย ๆ ในการประกอบพิธีน้ ี จะใช้เวลานาน


94

หรื อไม่ ขึ้นอยูก่ บั การโยนกัวะเสี่ ยงทาย พิธีกรรมจะดําเนิ นไปจนกว่า การเสี่ ยงทายจะดี เมื่อการเสี่ ยง ทายออกมาดีแล้ว หมอผีจะสั่งให้นาํ หมูไปฆ่าแล้วหมอผีจะใช้กวั ะแตะเลือดหมูมาทาที่ดา้ นหลังคน ป่ วย ซึ่ งการทําเช่ นนี้ เป็ นการป้ องกันมิ ให้ภูติผีเห็นคนป่ วย การฆ่าหมูเป็ นการไถ่ดวงวิญญาณหรื อ ตอบแทนผีน้ นั เอง หมูที่ใช้ในการทําพิธีน้ นั จะตัดส่ วนหัวให้กบั ผูท้ ี่ทาํ หน้าที่เป็ นหมอผีนาํ ไปต้มกิน และหมอผีจะนํากระดูกส่ วนคางไปแขวนไว้ที่หิ้งบูชาที่บา้ น เมื่อสิ้ นปี หมอผีจะนํากระดูส่วนคางนี้ ไปรวมกัน แล้วเผาไปพร้อมกับกระดาษเงินกระดาษทอง เพื่อเป็ นการปลดปล่อยดวงวิญญาณของหมู ให้ไปเกิดใหม่ หมายถึง ดวงวิญญาณหมูที่ถูกจองจําได้หมดภาระหน้าที่ที่ทดแทนดวงวิญญาณของ มนุษย์แล้ว 7) พิธีใส่ กาไลคอ การล้อมกําไลคอ จะทํากับเด็กที่เกิดใหม่ในทันทีที่เกิด การล้อมกําไลคอถือว่า เป็ นการล้อม สกัดชี วิตของคนที่เกิ ดมาอยูใ่ นโลกมนุ ษย์ ไม่ให้ดบั สู ญไปในช่ วงเวลาอันไม่สมควร ชาวม้งเชื่ อว่า เมื่อใส่ กาํ ไลคอแล้วจะสามารถป้ องกันภูติผีได้ แม้วา่ พิธีกรรมนี้ จะเรี ยกว่า “ใส่ กาํ ไลคอ” แต่เมื่อใส่ สามารถใส่ ได้ ทัง่ ที่คอ ข้อมือ หรื อข้อเท้าก็ได้ ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ สิ่ งที่ตอ้ งเตรี ยมในการประกอบพิธีใส่ กาํ ไลคอ ได้แก่ 1. ธูป 3 ดอก 2. เทียนไข 2 เล่ม 3. ไข่ไก่ 1 ฟอง 4. หมู 1 ตัว หรื อไก่ 2 ตัว ในการทํากําไล ผูท้ ี่เป็ นพ่อแม่จะเตรี ยมไว้ต้ งั แต่แม่กาํ ลังตั้งท้องอยู่ กําไลสามารถทําได้จาก สิ่ งของ 3 สิ่ ง ได้แก่ เงินแท้ ทองเหลื อง หรื อด้ายเส้นใหญ่ (คล้ายด้ายสายสิ ญจน์) ก็ได้ การทํากําไล จะทําเป็ นวงใหญ่ให้คล้องคอได้พอดี อาจตกแต่งให้เกิ ดความสวยงามได้ เช่ น เป็ นกระเป๋ า เล็ก ๆ หรื อเป็ นห่วงเล็ก ๆ ก็ได้ พิธีกรรม การประกอบพิธีตอ้ งให้หมอผีเป็ นผูป้ ระกอบให้ โดยเจ้าของบ้านเป็ นผูน้ ดั หมาย หมอเจ้าของบ้านจะเตรี ยมเครื่ องไว้เมื่อตรงกับวันนัดหมายหมอผีก็จะมาทําพิธี โดยหมอผีจะเริ่ มพิธีที่ ประตูบา้ นที่อยูต่ รงกับหิ้งไหว้ผี (ชาวม้งจะมีประตูหลายที่แต่จะใช้ประตูที่ตรงกับหิ้ งไหว้ผี เพราะถือ ว่าเป็ นประตูเข้า-ออกไปทํามาหากิน แล้วจะทําให้เกิดโชคดี) นําไข่ไปวางลงในถ้วยใส่ ขา้ วสารแล้ว จุดเทียนและธู ป นําไก่หรื อหมู ที่ ยงั มีชีวิตอยู่มาทําพิธีตรงนี้ ดว้ ยเหมือนกัน เมื่อทําพิธีที่ประตูเสร็ จ แล้วก็จะนําไก่หรื อหมูไปฆ่า แล้วนําไปต้ม (เหมือนไก่ไหว้เจ้าของคนจีน) แล้วนํามาทํานายว่าการ


95

ประกอบพิธีน้ ี ดีหรื อไม่ดี โดยดูลกั ษณะของส่ วนขาและตาของไก่ เมื่อหมอผีดูแล้วจะทํานายออกมา ถ้าคําทํานาย ไม่ดีก็จะประกอบพิธีน้ ี ใหม่ หากทํานายว่าดี ก็จะใส่ กาํ ไลคอได้เลย โดยคนแก่หรื อผูม้ ี อาวุโสจะเป็ น ผูใ้ ส่ ให้ ขณะที่ใส่ ก็จะให้ศีลให้พรและเงินทองด้วย เมื่อใส่ กาํ ไลคอเสร็ จแล้วก็จะมีการ กินเลี้ยงเป็ นอันเสร็ จพิธี 8) พิธีส่ ู ขวัญตั้งชื่อ การสู่ ขวัญตั้งชื่ อจะทําการสู่ ขวัญหลังเด็กเกิ ดได้สามวัน สมมุ ติว่าเด็กเกิ ดวันที่ 1 มกราคม 2546 จะมีพิธีสู่ขวัญตั้งชื่ อในวันที่ 4 มกราคม 2546 โดยมากชื่ อที่ต้ งั ขึ้นนั้น พ่อแม่เด็กจะเป็ นผูต้ ้ งั ให้ เอง แต่ถา้ พ่อแม่เด็กไม่ทราบว่าจะตั้งชื่อว่าอย่างไรดี จะไพเราะจะเป็ นสิ ริมงคล ก็จะให้ทางฝ่ ายญาติที่ เป็ นผูห้ ลักผูใ้ หญ่ต้ งั ให้ หรื อหมอขวัญตั้งให้ก็ได้ ชื่อที่ต้ งั จะมีพยางค์เดียว เช่น “ตัว่ ” แปลว่าคนที่หนึ่ ง หรื อ “เหย่อ” แปลว่า น้องคนสุ ดท้อง เป็ นต้น ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ ผูเ้ ป็ นพ่อและแม่ตอ้ งเตรี ยมในการตั้งชื่อสู่ ขวัญประกอบด้วย 1. ไก่ 3 ตัว 2. ไข่ไก่ 1 ฟอง 3. ธูป 3 ดอก 4. ข้าวสาร 1 ถ้วย 5. หมอสู่ ขวัญ พิธีกรรมเช้าวันที่สาม ของวันเกิด 1. เตรี ยมไก่ 2 ตัว ให้หมอขวัญถือไว้ 2. ตั้งขันที่ใส่ ขา้ วสาร ไข่ไก่ ธูป ตั้งไว้ที่ประตูบา้ น 3. หมอขวัญทําพิธีสู่ขวัญ 4. หลังพิธีสู่ขวัญ นําไก่ไปฆ่าถอนขนทําความสะอาด แล้วนําไปต้มพร้อมไข่ 5. นําไก่ที่ตม้ และไข่ไปใส่ ถาดตั้งที่ประตูอีกครั้งหนึ่ง 6. หมอขวัญประกอบพิธีขวัญอีกครั้งหนึ่ง 7. หลังเสร็ จพิธีสู่ข วัญ หมอขวัญจะทํานายดวงชะตาของเด็ กจากไก่ โดยยึดจาก สิ่ งของต่อไปนี้ - ตีนไก่ - ตาไก่ - กะโหลกไก่ - กระดูกไก่ - ลิ้นไก่


96

9) พิธีสร้ างสะพานต้ อนรับขวัญ พิธีสร้ างสะพานต้อนรับขวัญ สาเหตุ มาจากที่เด็กมี อาการเจ็บป่ วยสุ ขภาพร่ างกายไม่ค่อย สมบูรณ์ โดยไม่มีสาเหตุหรื อเจ็บป่ วย ได้ทาํ การรักษาทางอื่นจนหมดแล้วยังไม่หาย หรื อผูห้ ญิงไม่มี ลูกหรื อมีแต่แท้งลูกเป็ นประจํา ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ ผูเ้ ป็ นพ่อแม่ตอ้ งเตรี ยมในการสร้างสะพานสร้างได้ 3 ลักษณะ คือ สร้ างสะพานข้ามลําธาร หรื อการสร้ างสะพานบริ เวณทางสามแยก หรื อการสร้ างสะพานในบ้าน แล้วแต่กรณี ที่หมอสี ดามองเห็น และต้องใช้อุปกรณ์ดงั นี้ 1. หมู 1 ตัว 2. เหล้า 1 ขวด 3. ไม้สาํ หรับสร้างสะพาน 3 แผ่น พิธีกรรมเมื่อเตรี ยมข้าวของพร้อมแล้ว 1. ออกไปสร้างสะพาน ณ ที่หมาย 2. เมื่อสร้างสะพานเสร็ จแล้วก็โยงสายสิ ญจน์จากหัวสะพานมาท้ายสะพาน 3. ฆ่าหมูเพื่อประกอบอาหาร 4. รอใครสักคนหนึ่งที่ตอ้ งเดินผ่านมาจากเส้นทางนี้ คืออาจจะไปไร่ มา หรื อไปธุ ระ ที่อื่นมาก็ได้ ก็ถือว่าคนคนนั้นแหละคือคนที่นาํ ขวัญมาให้ 5. เมื่อได้บุคคลที่นาํ ขวัญมาแล้ว ทางเจ้าภาพก็จะให้บุคคลนั้นพาเด็กคนที่จะทําพิธี ต้อนรับขวัญไปอยูท่ ี่หวั สะพาน 6. จากนั้นพ่อแม่ที่อยูท่ างสะพานจะถามว่า “ ท่านเป็ นใคร จะไปไหน “ 7. คนที่นาํ ขวัญมาจูงมือเด็กและตอบว่า “ข้าพเจ้าเป็ นนักท่องเที่ยวได้ท่องเที่ยวไป ทุกหนทุกแห่งและได้พบเด็กคนนี้ร้องไห้หาพ่อแม่อยูท่ างซี กโลกโน้น ข้าพเจ้าจึงได้พามาส่ ง ท่านใช่ พ่อและแม่ของเด็กคนนี้หรื อไม่” 8. ทางพ่อแม่เด็กจะตอบรับว่า “ทุกข์หมดโศกแล้วจะได้สบายอยูด่ ีมีสุขตลอดไป” 9. คนพาขวัญจูงมือเด็กพาเดินข้ามสะพานไป ส่ งให้พ่อแม่เด็กที่อยูท่ า้ ยสะพาน พ่อ และแม่ของเด็กกล่าวขอบคุณที่พาขวัญมาส่ งให้ 10. จัดอาหารกินเลี้ยงกัน ถือว่าเป็ นอันเสร็ จพิธี


97

10) พิธีขอพ่ อบุญธรรมแม่ บุญธรรม สาเหตุจากการที่เด็กชอบร้องไห้งอแง โดยไม่มีสาเหตุ หรื อเจ็บป่ วยโดยได้ทาํ การรักษาทาง อื่นจนหมดแล้วก็ยงั ไม่หาย หรื อเด็กชอบปั สสาวะรดที่นอนเป็ นประจํา ขั้นตอน / วัส ดุ อุป กรณ์ ผูเ้ ป็ นพ่อและแม่ ต้อ งเตรี ย มในการขอพ่อบุ ญธรรมแม่ บุ ญ ธรรม ประกอบด้วย 1. ไก่ตม้ สุ ก จํานวน 1 ตัว 2. เหล้า จํานวน 1 ขวด 3. ย่ามใส่ ของ จํานวน 1 ใบ พิธีกรรม เมื่อเตรี ยมข้าวของพร้อมแล้ว 1. พ่อและแม่ของเด็กจะแต่งตัวอย่างดี 2. พ่อแม่เด็กจะเอาเด็กใส่ เป้ ขึ้นสะพายหลัง ออกเดินทางไปตามทางในหมู่บา้ น 3. ถ้าคนในหมู่บา้ นพบเห็ นและทักก่อนถื อว่าคนคนนั้นคือ พ่อบุญธรรม และ แม่ บุญธรรมของเด็ก 4. พ่อบุญธรรมและแม่บุญธรรม จะพาเข้าบ้านของพ่อบุญธรรมและแม่บุญธรรม 5. เมื่ อเข้า ถึ ง ในบ้า นของพ่อบุ ญธรรมและแม่ บุ ญธรรม พ่อแม่ เ ด็ ก จะจัดตั้ง โต๊ ะ อาหารโดยมีไก่ที่ตม้ สุ ก ใส่ ยา่ มมาผ่าใส่ จานและริ นเหล้าให้ 1 แก้ว 6. พ่อแม่ของเด็กจะแจ้งวัตถุประสงค์ที่พาเด็กมาว่า “ด้วย (เด็กชาย.., เด็กหญิง…) มี อาการ (เล่าตามอาการเจ็บป่ วย) สาเหตุมาจากเด็กจะเอาพ่อบุญธรรม และ แม่บุญธรรม จึงได้พาเด็ก มา เพื่อขอให้พอ่ บุญธรรมและแม่บุญธรรม ช่วยผูกแขนให้ลูกข้าพเจ้าหายจากอาการเจ็บป่ วย และอยู่ สุ ขสบายดีต่อไป” 7. จากนั้นพ่อบุ ญธรรมและแม่ บุ ญธรรม จะทําการปั ดเป่ าสิ่ งชั่วร้ า ยทั้ง หลายให้ ออกไปจากเด็ก แล้วผูกแขนและกล่าวอวยพรให้เด็ก 8. หลังจากผูกแขนแล้วก็เอาไก่และเหล้ามากินกันถือว่าจบพิธี 11) แพิธีส่ ู ขวัญตั้งชื่ อสู่ วยั ผู้ใหญ่ คนชาวม้งถือว่าพิธีสู่ขวัญตั้งชื่อสู่ วยั ผูใ้ หญ่เป็ นพิธีที่มีสิริมงคลที่ดี การเปลี่ยนชื่ อนี้ จะเปลี่ยน ในช่ วงระยะเวลากลาง ๆ ของชี วิตคนต้องเป็ นผูช้ ายที่แต่งงานและมีบุตรแล้วเท่านั้น เช่ นชื่ อเดิ มว่า “ป๋ อ” ว่าคนที่หนึ่ง เมื่ออายุระหว่าง 25 - 30 ปี แต่งงานและมีบุตรแล้ว จะเปลี่ยนชื่ อเป็ น หน่อป๋ อหนึ่ ง พยางค์เป็ นสองพยางค์เป็ นส่ วนใหญ่ ไม่ได้จาํ กัดว่าจะต้องมีชื่อเดิ ม ผสมอยูด่ ว้ ยเสมอไป อาจจะตั้ง


98

ชื่ อใหม่เลยก็ได้ แต่ที่นิยมก็คื อ ต้องมี ชื่ อเดิ ม ผสมอยู่ด้วย การตั้งชื่ อสู่ วยั ผูใ้ หญ่ น้ ี ส่ วนใหญ่ จะให้ เกียรติแก่พอ่ ตา (พ่อของภรรยา) เป็ นคนเลือกชื่อให้ ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ผเู ้ ป็ นพ่อและเป็ นแม่ตอ้ งเตรี ยมในการตั้งชื่ อสู่ ขวัญ 1. หมู 2 ตัว 2. เหล้า 3 แกลลอน พิธีกรรม เมื่อแขกและญาติพี่นอ้ งมาพร้อมแล้ว 1. ฆ่าหมูเพื่อทําอาหาร 2. เมื่ออาหารพร้อมแล้ว เชิญแขกและญาติข้ ึนประจําโต๊ะอาหาร 3. เจ้าภาพจะริ นเหล้าให้แขกและญาติที่ข้ ึนนัง่ ประจําโต๊ะอาหารคนละ 1 แก้ว 4. เจ้าภาพจะแจ้งวัตถุประสงค์ที่ได้เชิญแขกมาในครั้งนี้ให้ทราบและขอให้แขกและ ญาติที่เชิญมานั้นให้ช่วยเลือกชื่อให้คนที่จะเปลี่ยนชื่อนั้น 5. แขกและญาติที่เชิญมาจะทําการปรึ กษาหารื อ เพื่อเลือกชื่ อใหม่ให้แก่คนนั้น ถ้า คนที่จะเปลี่ยนชื่อนั้นยังมีพ่อตาอยู่ แขกและญาติที่เชิ ญมาจะให้เกียรติแก่พ่อตา ให้เป็ นคนเลือกก่อน และส่ วนใหญ่พอ่ ตาเลือกชื่อได้อย่างไรคนส่ วนใหญ่จะเอาด้วยเสมอ 6. หลังจากเลือกชื่ อได้แล้วเจ้าภาพจะเชิ ญแขกและญาติๆที่นงั่ ประจําโต๊ะอาหารให้ ดื่มเหล้า 1 รอบ และในช่วงนี้เองจะทําการสู่ ขวัญเรี ยกตามชื่อใหม่ที่เลือกได้แล้ว 7. หลังพิธีสู่ขวัญ เจ้าภาพจะเชิญแขกและญาติ ๆ ที่นง่ั ประจําโต๊ะอาหารดื่มเหล้าอีก 3 รอบ 8. ในกรณี ที่พอ่ ตาเป็ นคนเลือกชื่อใหม่ให้ลูกเขย หลังจากเสร็ จขั้นตอน ข้อ 1-7 แล้ว จะต้องฆ่าหมูตวั ที่ 2 เพื่อทําอาหารจัดเลี้ยงขอบคุณพ่อตาอีกครั้งหนึ่ง จึงจะถือว่าเสร็ จพิธี 12) พิธีล้อมขวัญของครอบครัว พิธีการล้อมขวัญของครอบครัว สาเหตุจาก การสร้างกําลังใจให้แก่ครอบครัว ด้วยความเชื่ อ ที่เชื่ อว่า คนเราทุกคนจะมีขวัญประจําตัวอยู่ทุกคน เมื่อเป็ นเช่นนั้นคนเรายังไม่สามารถอยู่เป็ นที่ได้ ยังจะต้องแยกไปโน่นไปนี่ ขวัญก็เช่นเดียวกัน ยิง่ ไปกว่านั้นถ้าขวัญของใคร ได้ไปเที่ยวหรื อไปตกอยู่ ณ ที่ ใด โดยไม่ได้มาอยู่กบั เนื้ อกับตัว จะทําให้ผนู ้ ้ นั มักมีการเจ็บป่ วย ด้วยเหตุน้ ี จึงต้องมีการล้อม ขวัญของครอบครัวขึ้น ปี ละ 1 ครั้ง ส่ วนใหญ่จะทํากันในต้น ๆ ปี ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ 1. หมู 1 ตัว


99

2. กระดาษปรุ๊ ฟ 1 กิโลกรัม 3. ธูป 1 มัด 4. ไก่ 2 ตัว 5. ไข่ไก่ (ตามจํานวนสมาชิก) 6. หมอสี ดา 1 คน พิธีกรรม เมื่อเตรี ยมข้าวของพร้อมแล้ว 1. เรี ยกสมาชิกในครอบครัวมารวมยืนเป็ นกลุ่มในบ้าน 2. ทําพิธีไล่สิ่งชัว่ ร้ายภายในบ้านออก โดยจุดคบเพลิงและใช้รําข้าวละเอียดคัว่ จน แห้งโยนใส่ คบเพลิงจนลุ กไหม้อย่างน่ากลัว หมอสี ดาทําเสี ยงคํารามเหมือนเสื อโคร่ ง และวิง่ ไล่สิ่ง ชัว่ ร้ายภายในบ้าน ไป ๆ มา ๆ อยูพ่ กั ใหญ่ตอ้ นไล่ ไปสิ้ นสุ ดที่ประตูบา้ น 3. หมอสี ดาจะเอาเชือกผูกคอหมู แล้วเอาเชื อกวนล้อมคนในบ้านนั้นไว้ ตีฆอ้ งเดิ น ล้อมคนในบ้าน โดยวนขวา 3 รอบ วนซ้าย 3 รอบ 4. โยนไม้กลับเสี่ ยงทายขวัญ มารวมกันหรื อไม่มา 5. ฆ่าหมู (ก่อนที่หมูจะถูกฆ่า) หมอสี ดาจะเผากระดาษให้หมูจาํ นวนหนึ่ ง เพื่อเป็ น เงินซื้ อชีวติ เขาโดยพูดกับหมูวา่ ”ข้าพเจ้าไม่ได้เลี้ยงเจ้ามาเพื่อเป็ นเพื่อน แต่ขา้ พเจ้าเลี้ยงเจ้ามา เพื่อให้ เจ้าไปช่วยข้าพเจ้า ต้อนขวัญให้กลับมาอยูก่ บั เนื้ อกับตัวเป็ นเวลา 1 ปี เมื่อครบกําหนดแล้ว ข้าพเจ้าก็ จะให้เจ้าไปเกิดใหม่เจ้าอย่าได้ถือโทษ โกรธเคืองข้าพเจ้าเลย” 6. ทําพิธีสู่ขวัญ 7. หมอสี ดาจะนั่งม้านัง่ เข้าทรงท่องเที่ ยวไปในเมื องผี เพื่อต้อนรับขวัญและล้อม ขวัญของสมาชิกในบ้าน ให้มารวมกันไว้ ใช้เวลาประมาณ 2 - 3 ชัว่ โมง เป็ นอย่างน้อย จึงจะเสร็ จพิธี


100

วัฒนธรรมทางด้ านจักรวาลทัศน์ จักรวาลทัศน์ คือปรัมปราคติหรื อสํานึ กต่อโลกของมนุ ษย์ซ่ ึ งสื่ อด้วยสัญลักษณ์ภายใต้การ พรรณนาเรื่ องเล่าเหนือธรรมดา จักรวาลทัศน์เสนอความจริ งเกี่ยวกับการมีอยูข่ องมนุ ษย์ในจักรวาล การเกิดและการตายของชีวติ การดํารงอยูแ่ ละการดําเนินไปของโลก ความรู ้เกี่ยวกับจักรวาล เป็ นระบบความเชื่อต้นรากหรื อศาสนาดั้งเดิมของแต่ละชนเผ่า เป็ น สิ่ งสําคัญต่อการพัฒนาการของสังคมระยะต้น เนื้ อหาของปรัมปราคติประกอบด้วย ความคิดเรื่ อง ต้นกําเนิ ดของโลกและจักรวาล ความคิดเรื่ องวาระสุ ดท้ายและความพินาศของจักรวาล ความคิด เรื่ องกําเนิ ดโลกใหม่เชิ งอุดมคติ ความคิดเรื่ องชะตาลิ ขิตและโชคเคราะห์ ความคิดเรื่ องเทพเจ้าใน ธรรมชาติและสิ่ งเหนื อธรรมชาติ ความคิดเรื่ องการพัฒนาสังคม หน้าที่นของปรัมปราคติคืออธิ บาย ธรรมชาติแวดล้อม อธิ บายสังคมและวัฒนธรรมผ่านรู ปแบบเรื่ องเล่า สนับสนุ นการดํารงอยู่ของ ระเบียบและจารี ตในสังคม ปลูกฝังอุดมการณ์และสั่งสอนบุคคลถึงวิถีบรรลุอุดมคติ 1) การรักษาโรคด้ วยความเชื่อทางไสยศาสตร์ ม้งมี ค วามเชื่ อว่าพิธี ไสยศาสตร์ เหล่ านี้ จะช่ วยให้วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องและทํา การรั กษา ได้ผล เพราะความเจ็บป่ วยทั้งหลาย ล้วนแต่เป็ นผลมาจากการผิดผีทาํ ให้ผีเดือดดาลมาแก้แค้ลงโทษ ให้เจ็บป่ วย จึงต้องใช้วิธีจดั การกับผีให้คนไข้หายจากโรค หากว่าคนทรงเจ้ารายงานว่าคนไข้ที่ล้ม ป่ วยเพราะขวัญหนีก็จะต้องทําพิธีเรี ยกขวัญกลับเข้าสู่ ร่างของบุคคลนั้น แต่การที่จะเรี ยกขวัญกลับมา นั้น จะต้องมีพิธีกรรมในการปฎิบตั ิมากมาย บางครั้งบางพิธีกรรมก็มีความยุง่ ยากในการปฎิบตั ิแต่มง้ ก็ ไ ม่ ย่อ ท้อ ต่ อ อุ ป สรรคเหล่ า นั้น ม้ง เชื่ อ ว่า การที่ มี ร่ า งกายสมบู ร ณ์ แ ข็ ง แรง โดยไม่ มี โ รคภัย มา เบียดเบียน นัน่ คือความสุ ขอันยิ่งใหญ่ของม้ง ฉะนั้นม้งจึงต้องทําทุกอย่างเพื่อเป็ นการรักษาให้หาย จากโรคเหล่านั้น ซึ่ งพิธีกรรมในการรักษาโรคของม้งนั้นมีอยูห่ ลายแบบ ซึ่ งแต่ละแบบก็รักษาโรคแต่ ละโรค แตกต่างกันออกไป การที่จะทําพิธีกรรมการรักษาได้น้ นั ต้องดูอาการของผูป้ ่ วยว่าอาการเป็ น เช่นไร แล้วจึงจะเลือกวิธีการรักษาโดยวิธีใดถึงจะถูกต้อง 2) การทาผีหรือการลงผี (การอัว๊ เน้ ง) เป็ นการรักษาอีกประเภทหนึ่ งของม้ง การอัว๊ เน้ง (การทําผีหรื อลงผี) การอัว๊ เน้งนั้นมีอยู่ 3 ประเภท คือ การอัว๊ เน้งข่อยชัว๊ ะ การอัว๊ เน้งเกร่ ทง่ั การอัว๊ เน้งไซใย่ซ่ ึ งการอัว๊ เน้งแตกต่างกันออกไป การรักษาก็แตกต่างกันไปด้วย การจะอัว๊ เน้งได้เมื่อมีคนในครอบครั วเจ็บป่ วยโดยไม่รู้สาเหตุ เป็ น การรักษาอีกประเภทหนึ่ ง ดังนั้นม้งมักจะนิ ยมอัว๊ เน้งเพื่อการเรี ยก ขวัญที่หายไปหรื อมีผีพาไปให้ กลับคืนมาเท่านั้น ซึ่ งม้งเชื่อว่าการเจ็บป่ วยเกิดจากขวัญที่อยูใ่ นตัวหายไป


101

วิธีการรักษา คือ เวลาอัว๊ เน้งหรื อทําผีน้ นั คนที่เป็ นพ่อหมอจะเริ่ มไปนัง่ บนเก้าอี้ แล้วร่ ายเวท มนต์คาถาต่าง ๆ พร้อมกับติดต่อ สื่ อสารกับผีแล้วไปคลี่คลายเรื่ องราวต่าง ๆ กับผีถา้ คลี่คลายได้แล้ว จะมีการฆ่าหมูแต่ก่อนจะฆ่าหมูน้ นั จะต้องให้คนไข้ไปนัง่ อยูข่ า้ งหลังพ่อหมอ แล้วผูกข้อมือ จากนั้น นําหมูมาไว้ขา้ งหลังคนไข้แล้วพ่อหมอจะสั่งให้ฆ่าหมูการที่จะฆ่าหมูได้น้ นั จะต้องมีคนหนึ่ งซึ่ งเป็ น ตัวแทนของพ่อหมอ และสามารถฟังเรื่ องราวของการอัว๊ เน้งได้รู้วา่ ตอนนี้ พ่อหมอต้องการอะไร หรื อ สั่งให้ทาํ อะไร เมื่อพ่อหมอสั่งลงมา คนที่เป็ นตัวแทนต้องบอกกับคนในครอบครัว ให้ทาํ ตามคําบอก กล่าวของพ่อหมอ เมื่อสั่งให้ห่าหมูก็ตอ้ งนําหมูมาฆ่าแล้วจะนํากัวะมาจุมกับเลือดหมูพร้อมกับมาปะ ที่หลังคนไข้แล้วพ่อ หมอจะเป่ าเวทมนต์ให้จากนั้นจะนํากัวะไปจุมเลือดหมูเพื่อไปเซ่ นไหว้ที่ผนังที่ เป็ นที่รวมของของบูชาเหล่านั้น 3)การรักษาคนตกใจ (การไซ่ เจง) เป็ นการรักษาอีกประเภทหนึ่ งของม้ง การไซ่ เจงจะกระทําเมื่อมีคนป่ วยที่ตวั เย็น เท้าเย็น ใบ หู เย็น มือเย็น ซึ่ งม้งเชื่ อว่าการที่เท้าเย็น มื อเย็น หรื อตัวเย็น เกิ ดจากขวัญในตัวคนได้หล่นหายไป หรื อไปทําให้ผกี ลัว แล้วผีก็แกล้งทําให้บุคคลนั้นไม่สบาย วิธีการรักษา คือ พ่อหมอจะนําเอาขิงมานวดตามเส้นประสาท ได้แก่บริ เวณปลายจมูกตรง ไปที่ หน้าผาก นวดแล้วย้อนกลับ ไปที่ ใบหู แล้ว นวดบริ เวณหน้า ผากไปที่ ใ บหู ซ้ ํา3 ครั้ ง จากนั้น เปลี่ยนเป็ นการนวดที่เส้นประสาทมือ คือจะนวดที่ ปลายนิ้ วมือไล่ไปที่ขอ้ มือทําซํ้าทุกนิ้ วมือ แล้ว รวมกันที่ขอ้ มือนวด และหมุนรอบที่ขอ้ มือ ซึ่ งขณะนวดต้องเป่ าคาถาด้วย และบริ เวณฝ่ าเท้าให้นวด เหมือนกัน ต้องทําซํ้ากัน 3 ครั้ง ซึ่ งการรักษาไซ่เจงนี้จะทําการรักษา 3 วัน เมื่อเสร็ จจากการรักษาแล้ว ถ้าอาการไม่ดีข้ ึนก็หาวิธีอื่น ๆ มารักษาต่อ เช่น อัว๊ เน้ง หรื อการฮูปรี เป็ นต้น 4) การรักษาด้ วยการเป่ าด้ วยนา้ (การเช้ อแด้ ะ) เป็ นการรักษาอีกประเภทหนึ่งของม้ง การเช้อแด้ะจะเป็ นการกระทําเมื่อมีคนในครอบครัวที่ ป่ วยร้องไห้ไม่หยุด และตกใจมากเป็ นพิเศษ โดยไม่รู้สาเหตุหรื อเหมือนว่าคนป่ วยเห็นอะไรสักอย่าง ที่ทาํ ให้เขากลัวมาก วิธีการรักษา คือ คนที่เป็ นพ่อหมอหรื อแม่หมอ จะให้คนป่ วยอาการดังกล่าวไปนัง่ ใกล้กบั กองไฟหรื อเตาไฟ แล้วเอาถ้วยหนึ่งใบ ใส่ น้ าํ ให้เรี ยบร้อยมาตั้งไว้ขา้ ง ๆ พ่อหมอหรื อแม่หมอ คือ ผูท้ ี่ จะทําการรักษาจะใช้ตะเกียบคู่หนึ่ งหนี บก้อนถ่าน ที่กาํ ลังรุ กไหม้เป็ นสี แดงขึ้นมา แล้วเป่ าก้อนถ่าน จากนั้นเริ่ มท่องคาถา แล้วนําก้อนถ่านก้อนนั้นไปวนบนหัวของคนป่ วย ขณะวนนั้นก็สวดคาถาด้วย เมื่อวนเสร็ จก็จะเอาก้อนถ่านก้อนนั้นไปใส่ ในถ้วยที่เตรี ยมไว้พร้อมกับปิ ดฝาด้วย ให้ทาํ ซํ้ากันแบบนี้


102

สามรอบเมื่อเสร็ จแล้วจับมือคนป่ วยขึ้นมาเป่ าพร้อมท่องคาถา เมื่อเสร็ จสิ้ นแล้ว จะเอามือชุ บนํ้าที่อยู่ ในถ้วยขึ้นมาลูบหน้าของคนป่ วย หรื อลูบแขนคนป่ วย เมื่อทําเสร็ จแล้วอาการของคนป่ วยจะทุเลาลง ม้งจะนําวิธีรักษานี้มาใช้ในการรักษาคนไข้ที่ตกใจมาก และปั จจุบนั นี้ มง้ ก็ยงั คงยึดถือ และปฏิบตั ิกนั อยู่ แต่ ก็ มี บ ้า งที่ อาการหนัก มากจนไม่ ส ามารถที่ จะรั ก ษาให้หายขาดได้แล้วจึ ง จะนํา ไปรั ก ษาที่ โรงพยาบาลต่อไป 5) การปั ดกวาดสิ่ งที่ไม่ ดีออกไป (การหรื อซู้ ) เป็ นการรักษาอีกวิธีหนึ่ งของม้งที่จะปฏิบตั ิ ในช่ วงขึ้นปี ใหม่เท่านั้น คือในหนึ่ งรอบปี ที่ผา่ นมาครอบครัวจะเจอสิ่ งที่ไม่ดีดงั นั้น จึงมีการหรื อซู ้ เพื่อ ปั ดเป่ า หรื อกวาดสิ่ งที่ไม่ดีให้ออกไปจากบ้าน และตัวบุคคล หรื อเป็ นการปั ดเป่ า กวาดโรคภัย ไข้เจ็บออกจากตัวบุคคล หรื อออกจากบ้านให้หมด เพื่อที่จะรับ ปี ใหม่ที่เข้ามา และต้อนรับสิ่ งดีๆ ที่ กําลังจะมาในปี ถัดไป พิธีกรรมนี้ มง้ จะทําทุกปี และคนในครอบครัวต้องอยูใ่ ห้ครบทุกคน ไม่ให้ขาด คนใดคนหนึ่ ง (แต่หากว่าคนในครอบครั วนั้น เกิ ดไปทํางานต่างจังหวัดและไม่สามารถที่จะกลับ มาร่ วมพิธีกรรมนี้ ได้ผปู ้ กครองของครอบครั วต้องนําเสื้ อผ้าของคน ที่ ไม่อยู่มาร่ วมพิธีกรรมให้ได้ หากไม่ได้เข้าร่ วมพิธีกรรมนี้ ม้งเชื่อว่า สิ่ งที่ไม่ดีจะติดตัวไปยังปี ถัด ๆ ไป และทําอะไรก็ไม่เจริ ญ ) 6) หมูประตูผี (อัวะบั๊วจ๋ อง ) เป็ นพิธีกรรมที่มง้ กระทําเพื่อรักษาคนทั้งหมดในบ้านหลังนั้น ให้ปราศจากโรคภัยโดยมี วิธีการรั กษา ดังนี้ ซึ่ งการประกอบพิ ธีกรรมหมูประตู น้ นั จะทําในตอน กลางคืนเท่านั้น อันดับแรกคือจะมีการกล่าวปิ ด และกล่าวเปิ ดประตูจากนั้นจะมีการฆ่าหมูแล้วต้มให้ สุ ก จากนั้นก็กล่าวปิ ดประตูแล้วนําหมูที่ตม้ สุ กนั้นมาหัน่ ให้เป็ นชิ้ นเล็ก ๆ จัดไว้ตามจานที่วางไว้9 จานซึ่ งแต่ละจานจะใส่ ชิ้นเนื้อไม่เหมือนกัน โดย จานที่ 1 ใส่ มือซ้ายหมูและหัวข้างซ้าย จานที่ 2 จะใส่ ขาขวาหมูกบั หัวข้างขวา จานที่ 3 จะใส่ ขาซ้ายหมูกบั คางซ้ายหม จานที่ 4 ใส่ มือขวาหมูกบั คางขวาหมู จานที่ 5 ใส่ มือซ้ายหมู จานที่ 6 ใส่ ขาขวาหมู จานที่ 7 ใส่ ขาขวาหมูกบั ใบหู5 ชิ้น จานที่ 8 ใส่ มือขวาหมู จานที่ 9 ใส่ จมูกและหางหมู


103

เครื่องมือทาผี(อัว๊ เน้ ง) 1. ไม้ ค่ ูเสี่ ยงทาย (กัว๊ ะ) ทํามาจากไม้หรื อเขาสัตว์ต่าง ๆ มีลกั ษณะพิเศษ คือ หากว่าทําจากไม้ ไม้น้ นั จะต้อง เป็ นหน่ อไม้ที่โผล่พน้ จากดินนิ ดหนึ่ ง จึงจะตัดเอาไปทําไม้คู่เสี่ ยงทายได้แต่ถา้ ทําจาก เขาสัตว์จะต้องเป็ นเขาสัตว์ที่แก่ตายเอง เพราะม้งมีความเชื่ อว่า กัว๊ ะ นั้นเป็ นเครื่ องมือในการสื่ อสาร กับผีปู่ผียา่ ดังนั้นจะต้องมีความศักดิ์สิทธิ์ และมีความแม่นยําในการติดต่อสื่ อสาร ดังนั้นม้งจึงไม่นิยม ทําไม้คู่เสี่ ยงทายจาก เขาสัตว์ที่ถูกยิงตาย กัว๊ ะเป็ นเครื่ องมือในการสื่ อสารระหว่างคนกับผีปู่-ผียา่ ได้ ทุกกรณี การใช้กวั๊ ะติดต่อระหว่างคนกับผีโดยทัว่ ๆ ไปนั้น สามารถที่จะปรากฏผลดังนี้ คือ - ถ้าหงายทั้งคู่ หมายถึงภาษาคนติดต่อกับผีหรื อคนตายไม่ได้ - ถ้าควํ่าทั้งคู่ หมายถึง ภาษาคนติดต่อกับผีหรื อคนตายได้แต่ผไี ม่ยอมรับ - ถ้าควํ่าอัน หงายอัน หมายถึง สามารถติดต่อกับผีได้และผีก็ยอมรับเอาของนั้น ๆ ไปกินไปใช้ดว้ ย (กัว๊ ะ ใช้สาํ หรับอัว๊ เน้งเท่านั้น) 2. ฆ้ อง (จั๊วะเน้ ง) เป็ นอุปกรณ์อย่างหนึ่ งที่มง้ ใช้ในการประกอบพิธีการทําผีหรื อการอัว๊ เน้ง ซึ่ งอุปกรณ์ชนิดนี้มีความสําคัญมาก ในการทําผีจะขาดไม่ได้เลย และเป็ นสัญณาณในการบ่งบอกว่ามี การอัว๊ เน้งเกิ ดขึ้น หากได้ยินเสี ยงฆ้อง (จัว๊ เน้ง) นี้ ก็แสดงว่าบ้านหลังนั้นมีการอัว๊ เน้ง เพื่อรักษาคน ป่ วยในครอบครัวนั้น ซึ่ งในปั จจุบนั นี้ ก็ยงั ใช้อยู่ แต่ละขั้นตอนในการทําผีจะลดขบวนการลงไปบ้าง ในส่ วนที่ไม่สาํ คัญเท่าไรนัก แต่จะยึดในส่ วนที่สาํ คัญไว้เท่านั้น 3. เก้าอีใ้ นการนั่งทาผี (จ๋ องเน้ ง) เป็ นอุปกรณ์ที่คนม้งใช้ในการทําผีหรื อการอัว๊ เน้ง ซึ่ งการทํา ผีทุกครั้งจะต้องมีเก้าอี้สาํ หรับคนที่เป็ นพ่อหมอนัง่ ขณะทําผีเพื่อช่วยลดความเมื่อยล้าของพ่อหมอ ใน การทําผีหรื อการอัวะเน้ง ซึ่ งเก้าอี้หรื อจ๋ องเน้งนั้นมีความสําคัญมากในการอัว๊ เน้งจะขาดไม่ได้และ เก้าอี้ในการนัง่ ทําผีน้ นั จะช่วยให้พอ่ หมอมีสมาธิ ในการทําผีดีข้ ึน ซึ่ งปั จจุบนั นี้มง้ ยังใช้ในการอัว๊ เน้งอ ยู่ ไม่ได้สูญหายไป 4. เหรี ยญกษัตริ ย์ (จื้อเน้ ง) เป็ นอุปกรณ์ อย่างหนึ่ งที่มง้ ใช้ในการทําผี (อัว๊ เน้ง) ซึ่ งเหรี ยญ กษัตริ ยห์ รื อจื้อเน้งนั้นเป็ นหัวใจสําคัญในการติดต่อสื่ อสารระหว่างโลกมนุ ษย์กบั ยมโลก ซึ่ งม้งจะทํา พิธีทาํ ผี (อัว๊ เน้ง) แต่ละครั้ งนั้นเป็ นการรั กษาโรคต่าง ๆ ของผูป้ ่ วย ดังนั้นม้งจําเป็ นต้องมี เหรี ย ญ กษัตริ ยน์ ้ ี เพื่อในการติดต่อกับยมโลก หรื อถื อได้ว่าเป็ นอุปกรณ์ สําหรับในการเดิ นผ่านด่าน แต่ละ ด่านเพื่อเข้าไปถึง ยมโลก และตกลงกับยมโลก เพื่อที่จะให้ยมโลกยอมรับเงื่อนไขต่าง ๆ ซึ่ งเงื่อนไข นั้นก็จะมีอยูว่ า่ ถ้ายมโลกยอมรับ เงื่อนไขแล้วจะบําเหน็จรางวัลให้กบั ยมโลก หรื อผีปู่ ผียา่ ต่าง แต่ผี ต่า งเหล่ า นี้ ต้องทํา ให้คนป่ วยนั้นหายจากโรคเหล่ าโรคที่ เป็ นอยู่ ฉะนั้นการอัว๊ เน้ง ของม้ง จะขาด


104

เหรี ยญกษัตริ ยไ์ ม่ได้เลย มีความจําเป็ นมาก ซึ่ งในปั จจุบนั นี้มง้ ยังคงใช้อยูแ่ ละยังคงประกอบพิธีกรรม ในการรักษาคนป่ วยเหล่านี้อยู่ วัฒนธรรมทางด้ านอาหาร ในอดี ตนั้นม้งอาศัยอยู่ตามภูเขาอยู่ตามธรรมชาติมง้ ต้องตรากตรําทํางานหนักอยู่แต่ในไร่ เท่านั้น ทําให้มง้ ไม่มีเวลาที่จะดูแลตัวเองและครอบครัว ดังนั้นชี วิตความเป็ นอยูข่ องม้งจึงเป็ นแบบ เรี ยบง่าย เพราะคลุกคลีกบั ธรรมชาติเป็ นส่ วนใหญ่เท่านั้น ชีวิตประจําวันของม้ง คือจะทําไร่ ทาํ สวน และหารายได้เล็กน้อยเพื่อจุนเจือครอบครัวส่ วนเรื่ องอาหารก็จะเป็ นเรื่ องเรี ยบง่าย อาหารของชาวเผ่าม้ ง ชาวเผ่าม้งไม่ใช่นกั ดื่มนักกิน อาหารมีลกั ษณะเรี ยบง่าย ซึ่ งได้แก่ขา้ ว เนื้ อสัตว์และผักต่าง ๆเนื้ อสัตว์นอกจาก เนื้ อหมูเนื้ อวัว ไก่ป่าแล้ว ม้งกินได้ท้ งั เนื้ อลิง และค่าง (ยกเว้นสุ นขั และแมว) ม้ง นิยมทานผักกับนํ้ามันหมู ในเทศกาลปี ใหม่มง้ นิยมฆ่าหมูเพื่อเลี้ยงผี เนื้ อหมูจะถูกตัดเป็ นชิ้นยาวคลุก กับเกลือ แขวนไว้กบั ไม้ระแนงหลังคาบ้าน เก็บไว้กินเป็ นเวลานาน ๆ เมื่อเดินทางไปเยี่ยมเยียนใน อดีตม้งมักจะประกอบอาหารตามแบบเรี ยบ เพราะม้งอยูก่ บั ธรรมชาติ ดังนั้น อาหารจะเป็ นสิ่ งที่ปลูก ขึ้นมาเท่านั้น หรื อหามาจากป่ าเล็กน้อย ม้งไม่นิยมรับประทานอาหารที่ไม่รู้จกั เพราะกลัวว่าอาหาร จะเป็ นพิษอาจถึงตายได้ แม้แต่น้ าํ ดื่มม้งยังต้องต้มเพื่อเป็ นการฆ่าเชื้อโรคก่อน ม้งจะนิยมต้มนํ้าชาดื่ม เพื่อบํารุ งสุ ขภาพ จึ งทําให้มง้ มี สุขภาพที่ แข็งแรงและไม่เป็ นโรคง่ าย ๆ ม้งจะไม่นิยมรับประทาน เนื้ อสัตว์จาํ พวกสุ นขั งู ม้า เพราะม้งเชื่ อว่าสุ นขั เป็ นสัตว์ที่สกปรกเมื่อรับประทานจะผิดผีส่วนสัตว์ บางชนิ ดจะเป็ นสัตว์ตอ้ งห้าม ส่ วนแขกที่สําคัญที่มาเยี่ยมมักเป็ นญาติพี่น้องฝ่ ายภรรยา ซึ่ งแต่งงาน ต่างวงศ์ตระกูลและไม่ได้อาศัยอยูใ่ นหมู่บา้ นเดียว การเยี่ยมเยียนนี้ จะเป็ นเวลาว่างหลังฤดูเก็บเกี่ ยว ซึ่ งญาติทางฝ่ ายภรรยาจะได้รับการต้อนรับอย่างดี ในการกินอาหาร ม้งนิ ยมใช้ตะเกียบซึ่ งรับมาจากธรรมเนี ยมจีน ส่ วนเหล้าจะนิ ยมดื่มกัน ในงานเลี้ยงต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน งานเลี้ยงญาติอาจเป็ นญาติของภรรยาที่มาเยี่ยม ฝ่ ายญาติทางสามี จะต้องริ นแก้วเหล้าแจก ครั้งละ 2 แก้ว โดยเชื่ อกันว่าจะทําให้คู่สามีภรรยาอยูด่ ว้ ยกันตลอดไป ก่อน จะดื่ มเหล้าแต่ละคนจะพูดว่า “ผมจะดื่มเพื่อทุกคน” และจะต้องควํ่าจอก หรื อควํ่าแก้วเมื่อหมดแล้ว ม้งจะนิ ยมดื่มเหล้าครั้งเดียวหมดแก้ว มีการดื่มซํ้าวนเวียนหลายครั้ง ผูท้ ี่มิใช่นกั ดื่มย่อมจะทนไม่ได้ อาจขอให้บุคคลอื่นช่ วยดื่มแทนก็ได้เหล้าจะทํากันเองในหมู่บา้ น ซึ่ งทําจากข้าวโพด ข้าว หรื อข้าว สาลี ม้งให้เกี ยรติ แก่ผชู ้ าย เพราะฉะนั้นผูห้ ญิงจึงรั บประทานอาหารหลังผูช้ ายเสมอ การประกอบ


105

อาหารของม้งส่ วนใหญ่จะเป็ นในลักษณะการต้ม ทอด และม้งยังมีความสามารถในการถนอมอาหาร ซึ่ งในการถนอมอาหารสามารถถนอมได้หลายแบบ เช่ น การหมัก การดอง (ซึ่ งปั จจุบนั นี้ มง้ ส่ วน ใหญ่ไม่ได้ใช้ตะเกียบในการรับประทานข้าวแล้วส่ วนใหญ่จะใช้ชอ้ นมากกว่า

ภาพ 34 แสดงอาหารชาวม้ง ซึ่ งเมืองไทยแทบจะไม่พบม้งที่ใช้ตะเกี ยบในการทานข้าวแต่มง้ ที่ประเทศลาวยังคงใช้ ตะเกียบในการรับประทานข้าวอยู่ ) อาหารที่มง้ นิยมมาก เช่น ต้มผัก และการทอด หรื อการผัด ซึ่ งใน อดี ตนั้นม้ง จะนิ ย มอาหารจํา พวกต้ม ผัก การทอด การผัดผัก มาก แต่ ปั จจุ บ นั นั้นม้ง เริ่ ม รั บ ความ เปลี่ยนแปลงจากสิ่ งแวดล้อมที่อยูร่ อบตัวปั จจุบนั ม้งในประเทศไทยส่ วนใหญ่อยูใ่ นชุ มชนเมืองมาก ขึ้น ทําให้การประกอบอาหารของม้งจะเริ่ มเปลี่ ยนไปจากเดิ ม ซึ่ งเดิ มนั้นม้งนิ ยมอาหารที่ มีรสชาติ จืด ๆ ไม่ค่อยเผ็ดมากเท่าไรนัก วิธีการประกอบอาหาร จาพวกต้ มในอดีต ส่ วนประกอบ ผักกาด นํ้ามันหมูน้ าํ เกลื อ วิธีการทํา ตั้งหม้อให้ร้อนแล้วนํานํ้ามันหมูเท ลงประมาณครึ่ งช้อน รอให้น้ าํ มันร้อน จากนั้นเทนํ้าเปล่าลงไปในหม้อเพิ่มไฟให้น้ าํ เดือด แล้วนําผัก ที่ห่ันได้เทลงไปในหม้อรอให้สุก นํามารับประทานได้บางครั้งถ้ามีเนื้ อหมูก็จะนํามาผสมใส่ ลงไป ด้วย แต่ถา้ ไม่มีก็รับประทานเช่นนั้น(ม้งจะไม่นิยมใส่ ผงชูรส นํ้าปลา รสดีเพราะจะทําให้รสชาติของ อาหารเปลี่ยนไป


106

วิธีการประกอบอาหารจาพวก ผัด ทอด ในอดีต ส่ วนประกอบ ผักกาด นํ้ามันหมูเกลื อ วิธีการทํา ตั้งไฟ ตั้งกระทะให้ร้อน แล้วเทนํ้ามัน หมูลงในกระทะ พอร้อนแล้วเทผักที่เตรี ยมไว้ลงไปผัดกับนํ้ามันหมูเท่านั้น ถ้ามีหมูก็จะผัดกับหมูแต่ ถ้าไม่มีหมูก็จะผัดเพียงแค่ผกั กับนํ้ามันหมูเท่านั้นรอให้สุก ยกกระทะลง แบ่งไปรับประทาน (จะไม่ นิยมใส่ ผงชูรส กระเทียม นํ้าปลา) แต่ในปั จจุบนั นี้มง้ ได้รับการเปลี่ยนแปลงจากสิ่ งแวดล้อมรอบข้าง มาก จึงทําให้เรื่ องอาหารของม้งเริ่ มเปลี่ ยนไปบ้างเล็กน้อย เพราะว่าม้งที่เป็ นผูใ้ หญ่จะรับประทาน อะไรยาก จึงต้องมีกาเปลี่ยนแปลงในลักษณะค่อยเป็ นค่อยไป อาหารจาพวกหมัก และดองของม้ ง ได้แก่ การหมักเนื้ อหมูการหมักเนื้ อหมีเพื่อเก็บไว้ บริ โภคนานๆ จะมีวธิ ี การทําดังนี้ ส่ วนประกอบ เนื้ อหมูและภาชนะที่ ใช้เก็ บ วิธี การทํา นําเนื้ อหมูหรื อเนื้ ออะไรก็ ได้ที่ ต้องการเก็บไว้บริ โภคนาน ๆ เอากระทะมาตั้งไฟไว้แล้วนําเนื้อหมูมาต้ม โดยที่ตม้ จนนํ้าระเหยไปให้ หมด ส่ วนเนื้อที่ตม้ ก็จะเหลว หรื อยังเป็ นชิ้นอยูแ่ ต่เนื้ อนุ่มมาก จากนั้นจะนําไปเก็บไว้ในภาชนะ ปิ ด ฝาให้เรี ยบร้อย เมื่อต้องการรับประทานเมื่อไร ก็สามารถจะนํามาอุ่นรับประทานได้เลย วิธีการนี้ เป็ น วิธีการที่มง้ ใช้ต้ งั แต่สมัยโบราณสื บทอดกันมา การหมักอาหารในอดีตม้งจะนํากระบอกไม้ไผ่ในการ บรรจุแล้วปิ ดปากกระบอกให้เรี ยบร้อย อาหารจาพวกดอง อาหารจาพวกดองได้ แก่การดองหน่ อไม้ ผักกาดดอง ส่ วนประกอบของอาหาร ได้แก่ หน่อไม้หรื อผักกาด หรื อตามชนิ ดของผักที่ตอ้ งการดอง ถ้าเป็ นหน่ อก็จะต้องสับหน่ อให้เรี ยบร้ อยก่อน วิธีการทํานําหน่ อไม้ที่สับเรี ยบร้ อยแล้วมาผสมกับ เกลือพอประมาณแล้วนําไปบรรจุในภาชนะที่เตรี ยมไว้ถา้ เป็ นผักกาดก็จะทําวิธีการเดียวกัน การตากเมล็ดพันธุ์ ม้งส่ วนใหญ่จะตากเมล็ดโดยการสร้างซุ ้มไว้เหนื อกองไฟ เพื่อที่จะตากเมล็ดพันธุ์ต่าง ๆ เนื่องจากม้งส่ วนใหญ่จะอยูใ่ นเขตหนาว หรื ออยูใ่ นป่ าลึกเข้าไป ทําให้เป็ นอุปสรรคในการตากเมล็ด พันธุ์ ม้งจึงนิ ยมนําเมล็ดพันธุ์มาตากไว้ในบ้าน เพราะม้งต้องทํางานในไร่ ในสวนและไม่มีเวลาที่จะ เก็บเมื่อเวลาฝนตก ดังนั้นจึงนิยมตากในบ้าน


107

ไก่ดา ไก่ดาํ คือไก่พ้ืนเมืองที่มีตน้ กําเนิ ดมาจากมองโกลเลียส่ วนนอก มีรูปร่ างสวยงาม มีลกั ษณะ แบบเดียวกับไก่ทวั่ ไปทุกอย่างเพียงแต่วา่ มีสีดาํ ทัว่ ทั้งตัวเท่านั้น นั้นคือ หนังสี ดาํ เนื้ อสี ดาํ กระดูกสี ดํา และก็เครื่ องในสี ดาํ ไก่ดาํ ที่เลี้ ยงในเมืองไทยเป็ นไก่ดาํ เลื อดผสมเนื่ องจากเลี้ ยงมานานจึงทําให้ ผสมข้ามสายพันธุ์มาเรื่ อย ๆ จึงทําให้มีไก่ดาํ ที่มีความหลากหลายทางสายพันธุ์อยูเ่ รื่ อย ๆ แต่ลกั ษณะ ไก่ดาํ พันธุ์แท้น้ นั จะต้องมีเนื้อสี ดาํ หนังสี ดาํ โดยเฉพาะทั้งแปดอย่างนั้นคือ ปาก ลิ้น หน้า หงอน เล็บ แข้ง ขา และกระดูกนั้นจะต้องดําสนิ ท แต่วา่ ไก่ดาํ นั้นขนไม่มีความจําเป็ นต้องมีสีดาํ เพียงอย่างเดียว ด้วยก็ได้

ภาพ 35 แสดงไก่ดาํ ไก่ดาํ ไม่เหมือนไก่ธรรมดา ใช้ชีวิตคล้ายนก นิ สัยดุ ร้าย พันธุ์ ดงั่ เดิ มอยู่ทางแถบเหนื อของ มองโกเลียในประเทศจีน กิ นเกสรดอกไม้แมลงต่าง ๆ และยอดอ่อนของต้นไม้ใบหญ้าบนภูเขาเป็ น อาหาร ชอบอยูใ่ นถิ่นที่อากาศหนาวเย็น ว่ากันว่ายิ่งอากาศหนาวเย็นเท่าไรสี เนื้ อและผิวของไก่ดาํ จะ ดํายิ่งขึ้น จีนโบราณถือว่าไก่ดาํ เป็ นอาหารชั้นฮ่องเต้ ตํารายาจีนกล่าวว่า ไก่ดาํ สามารถใช้ประโยชน์ ได้ทุกส่ วน เช่น กระดูกนําไปบดละเอียดผสมนํ้าผึ้งกินแก้โรคไต และถ้าหากจะรับประทานไก่ดาํ ให้ ได้ผลก็ตอ้ งเลี้ ยงอาหารที่แสลง เช่ น หัวผักกาด หรื อนํ้าชา เป็ นต้น ลักษณะของไก่ดาํ ที่แตกต่างจาก ไก่บา้ นธรรมดา คือ ช่วงขาของไก่ดาํ จะสั้นกว่า ตลอดทั้งตัวเป็ นสี ดาํ ตั้งแต่จะงอยปากถึงปลายเล็บ


108

ผิวหนัง เกล็ดขา กระทัง่ อวัยวะภายในล้วนดําสนิท ลักษณะดังกล่าวเกิดจากสารที่เรี ยกว่า “ไมอานิน” อันเป็ นสารสี ดาํ ที่มีประโยชน์ เนื้ อของไก่ดาํ มีโปรตีนสําคัญที่ร่างกายต้องการ คือ “แอนโดรและอมิ โนแอซิ ด” อีกทั้งเนื้ อไก่ดาํ มีปริ มาณไขมัน หรื อคอเลสเตอรอลตํ่า จึงให้คุณค่าทางอาหารแกร่ างกาย อย่างสมบูรณ์ ขณะนี้ มีกรสกัดโปรตีนบางส่ นจากไก่ดาํ มาผสมตัวยาออกจําหน่ ายในรู ปของอาหาร เสริ มบํารุ งกําลัง ข้ าวปุ๊ ก หรือพิซซ่ าม้ ง(หยัว) ชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง ได้ทาํ ขนมไว้กินรั บประทาน เป็ นขนมปี ใหม่มง้ หรื อเรี ยกกันเล่ น ๆ ว่าพิซซ่าม้ง โดยการนําข้าวเหนียวนํามานึ่งให้สุก จากนั้นนําไปตําให้ละเอียดแล้ว นํามาห่อใบตองไป ปิ้ งย่างบนเตาไฟให้กรอบ นํามาจิม้ กินกับนํ้าอ้อยหรื อ นมข้นหวาน ซึ่ งที่เรี ยกพิซซ่ าม้งเพราะลักษณะ จะแบน และเรี ยกกันเล่นๆจนติดปากมา ซึ่ งคล้ายกับข้าวจี่ หรื อแป้ งจี่ ซึ่ งรับประทานตอนย่างใหม่ๆ ขนมยังร้อน ๆ จะอร่ อย หอมหวาน คลายหนาวนี้ ได้เป็ นอย่างดี โดยส่ วนใหญ่ขนมปี ใหม่มง้ นี้ จะทํา กันกิ นในครอบครัวเท่านั้น ไม่ได้มีขาย ดังนั้นถ้าอยากรับประทานต้องมาในช่วงเทศกาลปี ใหม่มง้ เท่านั้น วัฒนธรรมทางด้ านภาษาและวรรณกรรม ม้งไม่มีภาษาที่ แน่ นนอน ส่ วนใหญ่ มกั จะรั บภาษาอื่ นมาใช้พูดกัน เช่ น ภาษาจี นยูนนาน ภาษาลาว ภาษาไทยภาคเหนื อ เป็ นต้น ซึ่ ง ม้ง ทั้ง 3 เผ่า พูดภาษาคล้า ย ๆ กัน คื อ มี รากศัพ ท์และ ไวยากรณ์ที่เหมือนกัน แต่การออกเสี ยงหรื อสําเนี ยงจะแตกต่างกันเล็กน้อย ม้งสามารถใช้ภาษาเผ่า ของตนเอง พูดคุยกับม้งเผ่าอื่นเข้าใจได้เป็ นอย่างดีแต่มง้ ไม่มีภาษาเขียนหรื อตัวหนังสื อ มีเรื่ องเล่ากัน ว่า แต่เดิ มม้งมี ตวั หนังสื อเหมื อนกันแต่ ด้วยศึ กสงคราม และต้องอพยพอยู่เสมอวันหนึ่ งขณะขน ลําเลียงหนังสื อบรรทุกม้าเดินทางมาถึง ริ มลําธารแห่ งหนึ่ งจึงปลดตะกร้าหนังสื อลงจากหลังม้าแล้ว พากันพักผ่อน และนอนหลับไป ลืมปล่อยม้ากินหญ้า ม้าเลยกินหนังสื อของเขาเสี ยจนหมด ยังคงมี เรื่ องเล่ าอี กเรื่ องหนึ่ งที่ คล้ายคลึ งกันนี้ เล่ าว่า ม้งมาระหว่างทางขณะหนี ศึกสงคราม และใช้มา้ ขน ลําเลียงหนังสื อ มีพายุฝนตกหนักทําให้หนังสื อเปี ยกหมด เมื่อฝนหยุดจึงเอาหนังสื อมากางตากแดด แล้วทุ กคนก็มาพักผ่อนและม่อยหลับไป พอตื่ นขึ้นมาม้าก็กินไปเสี ยเกื อบหมด จึงพยายามเก็บใน ส่ วนที่ เหลื ออยู่พ อไป ถึ ง ที่ พกั ก็ นาํ หนัง สื อส่ วนที่ เหลื อซึ่ ง ยังไม่ แห้ง ดี ไ ปเก็ บ ไว้บ นร้ า น สําหรั บ รมควันในบ้าน พอตกกลางคืนหนูก็พากันมากินหนังสื อเสี ยจนหมด


109

อย่างไรก็ตามในปั จจุ บนั ชาวม้งได้เขี ยน และอ่านหนังสื อภาษาม้ง โดยการใช้ตวั อักขระ หนังสื อละติน (Hmong RPA) เรื่ องราวความเป็ นมาต่าง ๆ ของม้ง จึงอาศัยวิธีการจําและเล่าสื บต่อกัน มาเพียงเท่านั้น สําหรับในด้านประวัติศาสตร์ บางส่ วนที่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร สามารถศึ กษาค้นหาได้ใน หนังสื อประวัติศาสตร์ ของประเทศจีน ลักษณะตัวหนังสื อ ม้งจะมีการนําพยัญชนะภาษาอังกฤษมา ใช้เนื่องจากสมัยก่อนม้งหนีจากจีนมาตั้งหลักอาศัยอยูใ่ นประเทศลาว ซึ่ งลาวตกอยูภ่ ายใต้อาํ นาจของ อัง ฤกษ ดังนั้นม้งที่ อยู่ในประเทศลาวจะรั บเอาตัวอักษรอัง กฤษมาใช้เป็ นภาษาเขีย นเป็ นคําพูด ของม้ง ซึ่ งม้งขาวกับม้งดําจะมีลกั ษณะภาษาเขียนแตกต่างกันไป พยัญชนะที่ใช้ท้ งั หมด 26 ตัวส่ วน วรรณยุกต์มี 8 วรรณยุกต์และสระมี 13 สระพยัญชนะ ได้แก่ abcdefghi jklmnopqs truvwxyz วรรณยุกต์ ได้แก่ สั๊วบัว (suab npua), สั๊วฮ่า (suab has), สั๊วก้อ (suab koj), สั๊วเป๊ (suab peb), สัว๊ กู่ (suab kuv), สัว๊ ยอห์(suab yog), สัว๊ เธอ (suab ntawd), สัว๊ นาะ (suab nam)


110

ตัวอย่างการเขียนภาษาม้ง เช่น

ภาพ 36 แสดงตัวอย่างการเขียนภาษาม้ง


111

ภาพ 37 แสดงตัวอย่างการเขียนภาษาม้ง สระ ได้แก่ สระโอ่ง (oo), สระอ (o) , สระอัว๊ ( ua), สระอา (a), สระ_าง (aa), สระ_ี​ี (i) , สระ_ีื (w), สระ -ีู (u), สระ เ_ (e), สระ เ_ง (ee), สระเ_อ (aw), สระเ_ียี (ia), สระโ_ (au), สระ ไ_ (ai)


112

ตัวอย่างสระกับการผสมสระ มีดงั นี้

ภาพ 38 แสดงตัวอย่างสระกับการผสมสระ การฝึ กผสมพยัญชนะกับสระ และวรรณยุกต์เข้าด้วยกันสามารถอ่านได้ ดังนี้ ภาษาม้ ง หมวดคาศัพท์เกีย่ วกับอวัยวะต่ าง ๆ ของร่ างกาย ภาษาม้ ง คาอ่าน คาแปล taub hau เต้า-เฮา หัว caj dab จี้-ดั้ง คอ xwb pwg เหา-เจ่า เข่า caj npab จี้ - บั้ง แขน txhais tes เตก มือ ntiv tes ดิ-เตก นิ้วมือ nruab qaum เจ่า-เค้ว หลัง sab ceg ฉ่าย-จี ขา


113

txhais ko taw ดิ-เตอร์ เท้า ntsej muag เจก-มัว หน้า ภาษาม้ ง คาอ่าน คาแปล pob ntxvg ป้ อ -เจก หู ghov ntseg ข้อ-จื่อ จมูก plaub hau เปลา-เฮา ผม plab ปลั้ง ท้อง ghov muag ข้อ-มัว ตา ghov ncauj ข้อ-เจา ปาก nplaig ปล่าง ลิ้น ภาษาม้ ง หมวดคาศัพท์เกีย่ วกับสี ต่าง ๆ ภาษาม้ง คําอ่าน คําแปล dub ดู้ ดํา xiav เสี ย สี น้ าํ เงิน liab daj เลีย-ดาง นํ้าตาล ntsuab จัว๊ เขียว liab dawb muag เลีย-เกอะ-มัว ชมพู liab เลีย แดง daj ดาง เหลือง dawb เดอะ ขาว paj yeeb ป้ าง - ยิง้ สี บานเย็น ภาษาม้ ง หมวดคาศัพท์เกีย่ วกับการทักทาย ต่ าง ๆ Nyob zoo แปลว่า สวัสดี kuv hlub koj แปลว่า ฉันรักเธอ Thov kom tau koob hmoov zoo แปลว่า ขอให้โชดดี Thov txim แปลว่า ขอโทษ Kuv lub npe hu ua taiv yiv แปลว่า ฉันชื่อ...หยี Thaum twg แปลว่า เมื่อไร


114

Ghov twg Hnub no Neb tuaj ghov twg tuaj zoo saib tau tsis ntsib haus dej Tov nej pab kuv thiab Noj mov Ua tsaug daug Tsaus ntuj baus li ca

แปลว่า แปลว่า แปลว่า แปลว่า แปลว่า แปลว่า แปลว่า แปลว่า แปลว่า แปลว่า

ที่ไหน วันนี้ คุณมาจากที่ไหน ยินดีที่ได้พบกัน ดื่มนํ้า โปรดช่วยฉันด้วย กินข้าว หรื อ ทานข้าว ขอบคุณมาก ตอนเย็น ราคาเท่าไร

ภาษาม้งก็นบั ได้วา่ เป็ นอีกหนึ่งภาษาในประเทศไทย แต่ภาษาม้งเป็ นภาษาที่ใช้ได้ในกลุ่มคน บางกลุ่ ม คนเท่ า นั้น เนื่ องจากว่า ภาษาม้ง จะใช้ไ ด้เ ฉพาะคนที่ เ ป็ นม้ง เป็ นส่ วนใหญ่ แ ละนับ วัน ลูกหลานม้งเริ่ มที่ จะเห็ นคุ ณค่าของภาษานี้ น้อยลงเนื่ องจากการเปลี่ ยนแปลงของสังคมเปลี่ ยนไป ทําให้มง้ ไม่ค่อยได้ใช้ภาษาของตัวเองแต่จะใช้ภาษากลางเป็ นหลักซึ่ งหากว่า เป็ นเช่ นนี้ อีก 10 ปี ข้างหน้า เยาวชนม้งรุ่ นต่อไปจะไม่สามารถสื่ อสารด้วยภาษาของตัวเองได้และไม่สามารถที่จะเขียน ได้ ดังนั้นทางทีมงานของเราจึงได้ไปค้นคว้าหาความรู ้ต่างๆ เพื่อที่จะได้นาํ มาเสนอไว้ในเว็บไซต์น้ ี และเพื่อที่จะได้เผยแพร่ เป็ นองค์กรความรู ้แด่เยาวชนม้งที่มีความสนใจในด้านภาษาและหัดเขียน พูด ได้ถูกต้อง


115

วัฒนธรรมทางด้ านการช่ างฝี มือ งานช่ างฝี มื อดั้งเดิ ม หมายถึ ง ภูมิ ปัญญา ทัก ษะฝี มื อช่ าง การเลื อกใช้วสั ดุ และกลวิธีการ สร้ างสรรค์ที่แสดงถึ งอัตลักษณ์ สะท้อนพัฒนาการทางสังคม และวัฒนธรรมของกลุ่ มชน วิธีการ ผลิ ตมักจะเป็ นไปตามธรรมชาติ ที่เรี ยบง่ายและมีความประสานกลมกลื น ทําให้เกิ ดความงามที่ มี ลักษณะเฉพาะถิ่ นที่แตกต่างไปจากสิ นค้าอุตสาหกรรม งานช่ างฝี มื อชาวไทยภูเขาเป็ นอาชี พที่ทาํ ควบคู่กบั อาชีพเกษตรกรรมที่ผลิตกันอย่างแพร่ หลายได้แก่ ผ้าทอ เครื่ องประดับเงิน งานจักสานลาย และไม้ไผ่ งานตีเหล็ก ผลิตภัณฑ์ดนตรี พ้ืนเมือง รู ปแบบกระบวนการผลิตและวัสดุที่ใช้ผลิตปั จจัย ทั้งสามประการนี้ ทําให้งานช่ างฝี มือชาวไทยภูเขา มีลกั ษณะแตกต่างตามสภาพการดํารงชี วิตและ สภาพของสิ่ งแวดล้อม 1) การปักผ้า ในอดี ตผ้า ปั ก ชาวขาวส่ วนใหญ่ จะใช้ผ า้ ไหมดิ บ ที่ ผ ลิ ตเองมาปั ก เป็ นลวดลายต่ า ง ๆ ซึ่ ง ลวดลายเหล่านี้ ม้งคิดค้นออกแบบของลวดลายเอง ปกติแล้วม้ง จะมีความประณี ตในการคิดลวดลาย และการปั กลวดลายต่าง ๆ ซึ่ งจะเห็น ได้จากกระโปรงของม้งที่ทาํ จากผ้าบาติกกับผ้าปั ก

ภาพ 39 แสดงการทอผ้า


116

เมื่อมีการปั กลายเรี ยบร้อยแล้ว จะนํามาแปลรู ปเป็ นเสื้ อผ้าที่จะสวมใส่ ในเทศกาลปี ใหม่หรื อ ในวันสําคัญต่าง ๆ และสามารถที่จะประดิ ษฐ์เป็ นเครื่ องใช้อย่างอื่นได้เช่ น ถุ งย่าม กระเป๋ าสะพาย กระเป๋ าเป้ กระเป๋ าใส่ ส ตางค์ถุ ง ใส่ โทรศัพ ท์มื อถื อ เครื่ องใช้อื่น ๆ เป็ นต้น ซึ่ งผ้า ปั ก ของม้ง จะมี ลวดลายที่แตกต่างกันไป และมีชื่อเรี ยกแตกต่างกัน 2) ผ้าทอจากต้ นกันชง ชนเผ่าม้ง นําเอาเส้นใยกัญชงมาทอเป็ นผ้าสวมใส่ และใช้ในการทําพิธีกรรมตามความเชื่ อ ของชนเผ่า สตรี เผ่าม้ง บอกถึ งวิถีชีวิตกับเส้นใยกัญชงว่ามีการปลูกกัญชงมาตั้งแต่ปู่ ย่า ตา ยายแล้ว เกิ ดมาก็รู้ว่าพ่อ แม่ปลูกต้นกัญชง แต่ปัจจุบนั การปลูกต้นกัญชงถื อว่าเป็ นสิ่ งผิดกฎหมาย ใยกัญชง สําหรับคนทัว่ ไปอาจเป็ นเพียงแค่ผลิตภัณฑ์ที่แปลกตา มีความคงทน และมีลวดลายที่สวยงาม แต่ใน มุ ม หนึ่ งของสั ง คม ใยกัญ ชงเป็ นเสมื อ นสายสั ม พัน ธ์ ชี วิ ต ที่ น อกจากจะใช้แ ปรรู ป เป็ นเสื้ อ ผ้า ผลิตภัณฑ์ในบ้านที่ใช้ในชี วิตประจําวันแล้ว ยังเป็ นส่ วนหนึ่ งของพิธีกรรมตามความเชื่ อของชนเผ่า อีกด้วย คนเผ่าม้งที่นบั ถื อตามความเชื่ อดั้งเดิมอยู่ ถือว่าเส้นใยกัญชงมีความสัมพันธ์กบั ชี วิต ตั้งแต่ เกิดจนตาย ในพิธี “อัวเน้ง” คือพิธีกรรมของเผ่าม้ง จะต้องมีใยกัญชงในการประกอบพิธีกรรม นัน่ คือ เวลาที่คนม้งเสี ยชี วิต ญาติจะต้องเอาใยกัญชงมาทอเป็ นเสื้ อผ้า รองเท้า สวมให้ผทู ้ ี่ ตาย โดยเฉพาะ รองเท้าชาวบ้านถื อว่าชี วิตของผูต้ ายที่ จะต้องเดิ นทางต่อไปในภพหน้า จะต้องเจอร้ อน เจอหนาว ขอให้รองเท้าเส้นใยกัญชงเป็ นเครื่ องรองรับความร้อนหนาว ให้ฟันฝ่ าไปสู่ สุคติในภพหน้า ปั จจุบนั แม้สังคมจะเปลี่ยนไป แต่คนม้งยังยึดถือปฏิบตั ิกนั มาตลอด ลักษณะของกัญชง ต้นกัญชง จัดเป็ นพรรณไม้ลม้ ลุ กที่มีอายุเพียงปี เดี ยว ลําต้นเป็ นสี เขียวตั้งตรง มีความสู งได้ ประมาณ 1-6 เมตร มี ล ัก ษณะอวบนํ้า เมื่ อเป็ นต้น กล้า และจะเริ่ ม มี ก ารสร้ า งเนื้ อไม้เมื่ อ อายุ ไ ด้ ประมาณ 2-3 สัปดาห์ การเจริ ญเติบโตของต้นจะช้าในช่วง 6 สัปดาห์แรก หลังจากนั้นจะเพิ่มความ สู งขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีความสู งโดยเฉลี่ยประมาณ 3 เมตร มีรากเป็ นระบบรากแก้วและมีรากแขนง เป็ นจํานวนมาก การปลูกต้นกัญชงจะปลูกด้วยการใช้เมล็ด ซึ่ งใช้เวลางอกประมาณ 8-14 วัน และ สามารถเก็ บ เกี่ ย วได้เ มื่ อ ต้น อายุ 3-4 เดื อ น กัญ ชงเป็ นพื ช ที่ มี แ หล่ ง กํา เนิ ด ในเอเชี ย กลางและ แพร่ กระจายไปสู่ เอเชียตะวันออก อินเดีย และในทวีปยุโรป


117

ภาพ 40 แสดงต้นกัญชง ใบกัญชง ใบเป็ นใบเดี่ ยว ลักษณะของใบเป็ นรู ปฝ่ ามื อ แผ่นใบแก่ แยกเป็ นแฉกประมาณ 7 - 9 แฉก การเรี ยงตัวของใบค่อนข้างห่ าง ขอบใบจักเป็ นฟั นเลื่อยและเว้าลึกจนถึงโคนใบ ปลายใบ สอบและเรี ยวแหลม ก้านใบยาวประมาณ 2 - 7 เซนติเมตร เมื่อมีการสร้างดอกจํานวนแฉกของใบจะ ลดลงตามลําดับ


118

ภาพ 41 แสดงใบกัญชง ดอกกัญชง ออกดอกเป็ นช่ อตามซอกใบและปลายยอด ดอกมีขนาดเล็กสี ขาว มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-4 มิ ลลิ เมตร ดอกเป็ นแบบแยกเพศและอยู่ต่างต้นกัน (บางชนิ ดอยู่ต้น เดี ย วกัน แต่ ที่ พ บปลู ก ในบ้า นเราคื อชนิ ดที่ อยู่ต่า งต้นกัน) โดยช่ อดอกเพศผูจ้ ะเป็ นแบบ panicle ประกอบไปด้วยกลี บ เลี้ ย ง 5 กลี บ แยกจากกันเป็ นอิ ส ระ มี สี เขี ย วอมเหลื อง มี เกสรเพศผู ้ 5 อัน มีระยะเวลาการบานประมาณ 2 เดื อน ส่ วนดอกเพศเมียจะเกิดตามซอกใบและปลายยอด ในบริ เวณ ช่อดอกจะอัดกันแน่ น ช่อดอกจะเป็ นแบบ spike ประกอบไปด้วยกลี บเลี้ ยงสี เขียวเข้มหุ ้มรังไข่ไว้ ภายใน stigma 2 อัน สี น้ าํ ตาลแดง อายุของดอกค่อนข้างสั้นประมาณ 3 - 4 สัปดาห์ก็จะติดผล


119

ภาพ 42 แสดงดอกกัญชง

ภาพ 43 แสดงผลกัญชง ผลกัญชง ผลเป็ นเมล็ดแห้งสี เทา ลักษณะเป็ นรู ปไข่ ผิวเรี ยบเป็ นมันและมีลายประสี น้ าํ ตาล เมื่อแห้งจะเป็ นสี เทา มีขนาดกว้างเฉลี่ยประมาณ 4.47 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 5.11 มิลลิเมตร และมี ความหนาเฉลี่ ยประมาณ 3.75 มิลลิ เมตร ภายในเมล็ดมีอาหารสะสมจําพวกแป้ งและไขมันอัดกัน แน่น โดยมีน้ าํ มันถึง 29-34%, มีไขมันชนิ ดไม่อิ่มตัวสู ง ประกอบไปด้วย linoleic acid 54 - 60%, linolenic acid 15 - 20%, oleic acid 11-13%


120

กัญชง กับ กัญชา มี หลายคนมักเข้า ใจผิดคิ ดว่า ต้นกัญชงก็ คือกัญชา แต่แท้จริ งแล้วต้นกัญชงแค่มีล ักษณะ คล้ายคลึ งกับต้นกัญชาในด้านลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เท่านั้น ไม่ใช่ พืชที่เป็ นสารเสพติดเหมือน กัญชา เพียงแต่ตน้ กัญชงเป็ นพืชที่นิยมนํามาแปรรู ปทําเป็ นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการถักทอ กัญชงและกัญชา เป็ นพืชที่มีถิ่นกําเนิ ดมาจากพืชชนิ ดเดียวกัน โดยมีถิ่นกําเนิ ดในเขตอบอุ่น ทางตอนใต้ของแคว้นไซบีเรี ย ประเทศเปอร์เซีย แคว้นแคชเมียร์ของประเทศอินเดีย และในทางตอน เหนือของประเทศจีน จนได้สายพันธุ์ที่มีความแตกต่างไปจากสายพันธุ์เดิมแล้วเกิดเป็ นพืชที่เรี ยกว่า “กัญชง” โดยต้นกัญชง (Hemp ชื่อวิทยาศาสตร์ Cannnabis sativa L. Subsp. sativa) จะมีลาํ ต้นสู ง มากกว่า 2 เมตร ปล้องหรื อข้อยาว แตกกิ่งก้านน้อยและแตกกิ่งไปในทิศทางเดียวกัน เปลือกเหนี ยว ลอกง่าย ให้เส้นใยยาวคุณภาพสู ง แผ่นใบเป็ นสี เขียวอมเหลือง ใบมีแฉกประมาณ 7-9 แฉก การเรี ยง ตัวของใบค่อนข้างห่าง เมื่อออกดอกจะมียางที่ช่อดอกไม่มาก เมล็ดมีขนาดใหญ่และเป็ นลายบ้าง ผิว เมล็ดหยาบด้าน ใบเมื่อนํามาสู บจะมีกลิ่นหอมน้อย ทําให้ผเู ้ สพปวดหัว มีสาร tetrahydrocannabinol (THC) น้อยกว่า 0.3% การปลูกระยะห่างระหว่างต้นจะแคบ เพราะปลูกเพื่อต้องการเส้นใยเพียงอย่าง เดียว ในขณะที่ตน้ กัญชา (Marijuana ชื่อวิทยาศาสตร์ Cannabis sativa L. Subsp. indica (Lam.) E. Small & Cronquist) จะมีความสู งไม่ถึง 2 เมตร ปล้องหรื อข้อสั้น แตกกิ่ งก้านมากและแตกกิ่งเป็ น แบบสลับ เปลือกไม่เหนียว ลอกได้ยาก ให้เส้นใยสั้นมีคุณภาพตํ่า แผ่นใบเป็ นสี เขียวถึงเขียวจัด ใบมี ประมาณ 5-7 แฉก การเรี ยงตัวของใบจะชิ ดกัน เมื่อออกดอกจะมียางที่ช่อดอกมาก เมล็ดมีขนาดเล็ก ผิวเมล็ดมันวาว ใบเมื่อนํามาสู บจะมีกลิ่นหอมคล้ายหญ้าแห้ง มีสาร (tetrahydrocannabinol (THC) ประมาณ 1-10% การปลูกระยะห่างระหว่างต้นจะกว้าง เพราะปลูกเพื่อต้องการใบ


121

ภาพ 44 ภาพแสดงเปรี ยบเทียบลักษณะของกัญชงกับกัญชา สรรพคุณของกัญชง 1. ใบมีสรรพคุณเป็ นยาบํารุ งโลหิต (ใบ) 2. ช่ วยทําให้รู้สึกผ่อนคลาย สดชื่ น ช่ วยให้นอนหลับสบาย ช่วยรักษาอาการวิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะหรื อไมเกรน และช่วยแก้กระหาย (ใบ) 3. ใช้รักษาโรคท้องร่ วง โรคบิด (ใบ) 4. ภูมิปัญญาของชาวม้งจะใช้เมล็ดสดเป็ นยาสลายนิ่ว โดยนํามาเคี้ยวสด ๆ (เมล็ด) 5. ช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด คลายกล้ามเนื้อ รักษาโรคเกาต์ (ใบ) ประโยชน์ ของกัญชง 1. เปลื อกจากลําต้นให้เส้นใยเพื่อนําไปใช้ทาํ เป็ นเส้นด้ายและเชื อก ใช้สําหรับการทอผ้า ทําเครื่ องนุ่งห่ ม ฯลฯ นอกจากนี้ ยงั ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ และใช้เป็ นรองเท้าของคนตายเพื่อเดิ นทาง ไปสู่ สวรรค์ ใช้ทาํ เป็ นด้ายสายสิ ญจน์ในพิธีกรรมต่าง ๆ และใช้ในพิธีอวั เน้งหรื อพิธีเข้าทรง ซึ่ งเป็ น งานประเพณี สาํ คัญของชาวม้ง เส้นใยจากต้นกัญชงนั้นมีความผูกพันกับวิถีชีวติ ของคนม้ง 2. เนื้อของลําต้นที่ลอกเปลือกออกแล้วสามารถนํามาผลิตเป็ นกระดาษได้ 3. แกนของต้นกัญชงจะมีคุณสมบัติในการดูดซับกลิ่น นํ้า หรื อนํ้ามันได้ดี ในต่างประเทศ นิ ยมนําไปผลิ ตเป็ นพลังงานชี วมวลในรู ปแบบต่าง ๆ เช่ น ถ่านไม้, Alcohol, Ethanol, Methanol นอกจากนี้ แกนกัญชงยังถูกนําไปผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์เพื่อการตกแต่งอาคารและเฟอร์ นิเจอร์ อีกด้วย


122

4. เมล็ดใช้เป็ นอาหารของคนและนก เมล็ดกัญชงที่เก็บได้สามารถนํามาสกัดเอานํ้ามันมาใช้ ในการปรุ งอาหารได้ ซึ่ งจากการศึกษาก็พบว่า ในนํ้ามันจากเมล็ดนั้นมีโอเมก้า 3 สู งมาก นอกจากนี้ ยังมีโอเมก้า 6, โอเมก้า 9, linoleic acid, alpha- และ gamma-linolenic acid และสารในกลุ่มวิตามิน เช่น วิตามินอี ซึ่ งเมื่อบริ โภคแล้วจะมีประโยชน์ต่อการป้ องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด และช่วยลด การเกิดโรคมะเร็ งในร่ างกายได้อีกด้วย 5. นํ้ามันจากเมล็ ดสามารถไปผลิ ตเป็ นนํ้า มันซัก แห้ง ทําสบู่ เครื่ องสํา อาง ครี มกันแดด แชมพู สบู่ โลชัน่ บํารุ งผิว ลิปสติก ลิปบาล์ม แผ่นมาส์ กหน้า หรื อแม้กระทัง่ เป็ นนํ้ามันเชื้ อเพลิง และ ถูกพัฒนาเป็ นตํารับครี มนํ้ามันกัญชงที่ให้ความชุ่มชื้ นและช่วยบํารุ งผิวแห้งเพื่อรักษาโรคผิวแห้งคัน และสะเก็ดเงินที่ได้ผลเป็ นอย่างดี 6. เมล็ดนอกจากจะให้น้ าํ มันแล้ว ยังพบว่ามีโปรตีนสู งมากอีกด้วย โดยสามารถนํามาใช้ใน การทําผลิ ตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้มากมาย เช่ น เนย ชี ส เต้าหู ้ โปรตี นเกษตร นม ไอศกรี ม นํ้ามันสลัด อาหารว่าง อาหารเสริ ม ฯลฯ หรื อผลิตเป็ นแป้ งทดแทนถัว่ เหลืองได้เป็ นอย่างดี ซึ่ งในอนาคตอาจใช้ เป็ นทางเลือกในการบริ โภคแทนถัว่ เหลืองซึ่ งเป็ นพืช GMOs ก็เป็ นได้ 7. ในส่ วนของใบก็สามารถนําไปใช้ทาํ ประโยชน์ได้หลายอย่าง ตั้งแต่เป็ นอาหาร ยารักษา โรค เครื่ องสําอาง รวมไปถึงการนําใบมาเป็ นชาเพื่อสุ ขภาพ, นํามาเป็ นผงผสมกับสารอาหารอื่น ๆ เพื่อผลิตเป็ นอาหารเสริ ม, ผลิตเป็ นอาหารโดยตรงอย่างเส้นพาสต้า คุกกี้ หรื อขนมปั ง, ใช้ทาํ เบียร์ , ไวน์ , ซ้อสจิ้ม อาหาร ฯลฯ และยัง ใช้ประโยชน์ โดยนํามาสกัดเป็ นนํ้ามันหอมระเหยเพื่ อใช้ใ น อุตสาหกรรมเครื่ องสําอาง ที่มีคุณสมบัติช่วยดูแลผิวพรรณ ทําให้ผิวชุ่มชื้ น เหมาะกับผิวแพ้ง่าย ผิว บอบบาง 8. ในประเทศญี่ ปุ่ นมี การปลู ก ต้นกัญชงเพื่ อกําจัดกัม มันตภาพรั ง สี ใ ห้สลายตัวที่ จงั หวัด Fugushima และสารกัมมันตภาพรังสี รั่วจากโรงงานไฟฟ้ านิ วเคลียร์ ที่ระเบิดจากสึ นามิ ซึ มลงดินจน ไม่สามารถทําการเกษตรได้ 9. กัญชงจัดเป็ นเส้นใยมงคลที่ชาวญี่ปุ่นนิยมนํามาตัดกิโมโน เพราะเป็ นผ้าที่มีความทนทาน นับร้อยปี


123

ประโยชน์ ของเส้ นใยกัญชง กัญชงให้ผลผลิ ตมากกว่าปลูกฝ้ าย มีคุณภาพมากกว่า และใช้แรงงานในการปลูกน้อยกว่า เพราะไม่ตอ้ งพรวนดินหรื อให้ปุ๋ย ไม่ตอ้ งใช้สารป้ องกันกําจัดศัตรู พืช ซึ่ งเป็ นอันตรายต่อสิ่ งแวดล้อม การเก็บต้นกัญชงมาใช้ประโยชน์ในการผลิตเส้นใยนั้นจะเก็บในระยะที่ตน้ เจริ ญเติบโตเต็มที่แต่ยงั ไม่ออกดอก แปลงส่ วนที่เหลื อจะปล่อยไว้ให้ออกดอกและเมล็ดเพื่อใช้ในการทําพันธุ์ต่อไป และ เนื่องจากเป็ นพืชอายุส้ ัน จึงสามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี โดยปลูกทีละน้อยเพื่อเก็บรวบรวมไว้ทาํ เส้น ใยทอเป็ นผ้า และกว่าจะนําเส้นใยมาทอได้น้ นั ก็ตอ้ งผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน เริ่ มตั้งแต่การตัด ต้นกัญชงมาตากแห้ง แล้วนํามาลอกเปลือกออกจากต้นช่วงที่มีอากาศชื้ นหรื อหน้าฝน เพราะจะช่วย ทําให้การลอกเปลือกเป็ นไปอย่างมีคุณภาพไม่ขาดตอน จากนั้นก็นาํ มาต่อให้ยาวแล้วปั่ นและม้วนให้ เป็ นเส้นก่อนนําไปต้มในนํ้าเดือดที่ผสมกับขี้เถ้า เพื่อช่วยให้เส้นใยนุ่มและเหนี ยว จากนั้นก็นาํ ไปซัก ในนํ้าเปล่า ก็จะได้เส้นด้ายที่มีความเหนียวทนทาน เส้นใยกัญชงนั้นจัดว่าเป็ นเส้นใยที่มีคุณภาพสู งมาก เพราะมีคุณสมบัติที่แข็งแรงกว่าผ้าฝ้ าย สามารถดูดซับความชื้ นได้ดีกว่าไนลอน และให้ความอบอุ่นยิ่งกว่าลิ นิน จึงเหมาะนํามาใช้ทาํ เป็ น เครื่ องนุ่งห่มเป็ นอย่างมาก เพราะเมื่อสวมในช่วงอากาศร้อนจะให้ความเย็นสบาย ถ้าสวมใส่ ในหน้า หนาวจะให้ความอบอุ่น เพราะช่วยดูดความร้อน ดูดกลิ่น และสารพิษจากร่ างกายที่ขบั ออกมาในรู ป ของเหงื่อได้ดี อีกทั้งผ้าที่ได้ก็บางเบาสวมใส่ ได้สบาย ไม่ระคายผิว ให้สัมผัสอ่อนนุ่ม มีความยืดหยุน่ ดี ทนทานต่อการซัก ยิง่ ซักยิง่ นุ่ม ไม่มีกลิ่นอับชื้นและไม่ข้ ึนราแม้อยูใ่ นที่อบั ชื้น งานวิจยั ของสถาบันฟิ สิ กส์และวิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ ประเทศจีน พบว่า ผ้าที่ทอจากเส้นใย กัญชง แม้จะเป็ นการทอด้วยเส้นใยกัญชงเพียงครึ่ งหนึ่ งก็สามารถช่วยป้ องกันรังสี UV ได้สูงถึง 95% (ถ้าทอทั้งผืนจะป้ องกันได้ 100%) ในขณะที่เสื้ อผ้าที่ทอด้วยผ้าประเภทอื่นจะป้ องกันรังสี UV ได้ เพียง 30-50% เท่านั้น และเส้ นใยกัญชงที่ ทาํ ให้แห้งสนิ ทจะมี คุณสมบัติเป็ นฉนวนกันไฟฟ้ า มี ค่า ความต้านทานไฟฟ้ าที่นอ้ ยที่สุดก็ยงั อยูท่ ี่ 30% ซึ่ งมากกว่าเส้นใยฝ้ าย ส่ วนการทดสอบผ้าที่ทอด้วย เส้ นใยกัญชงในสภาพความร้ อนสู งถึ ง 370 องศาเซลเซี ย ส ก็ พ บว่า ไม่ ไ ด้ท าํ ให้คุ ณสมบัติด้า นสี เปลี่ ยนแปลงไปแต่อย่างใด ดังนั้นมันจึงเหมาะที่จะนํามาผลิตเป็ นกระโจมพักแรม ชุ ดคลุมสําหรับ ผูป้ ฏิ บ ัติ ง านเฉพาะกิ จ วัส ดุ ต กแต่ ง ภายใน และอื่ น ๆ อี ก มากมาย พร้ อ มกัน นี้ ภายในเส้ น ใยมี ออกซิ เจนขังอยูต่ ามรู


124

ภาพ 45 แสดงเส้นใยกัญชง ต่า ง ๆ มากพอสมควร จึ ง ทํา ให้แบคที เรี ยประเภท Anaerobic Bacteria ไม่ ส ามารถเติ บ โตได้ นอกจากนี้เส้นใยกัญชงยังมีส่วนประกอบของสารที่เอื้อประโยชน์กบั สุ ขภาพ ตัวอย่างที่เห็นได้ชดั คือ จะไม่มีโรคพืชหรื อแมลงชนิดใดที่สามารถทําลายต้นกัญชงได้เลย เนื้ อสด ๆ ที่ห่อด้วยผ้าทอจากเส้น ใยกัญชงจะคงความสดและอยูไ่ ด้นานมากกว่าเป็ นสองเท่าของปกติ รองเท้าที่ทาํ จากเส้นใยกัญชง จะ ป้ องกันเท้าของคุ ณจากโรคเหน็บชาและโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้ อราได้ และยังช่ วยป้ องกันสัตว์พิษ กัดต่อยได้เป็ นอย่างดี, ไส้กรอกที่ไม่ได้ห่อหุ ม้ อย่างมิดชิ ดด้วยผ้ากัญชงมักจะเน่าเสี ยได้โดยง่าย, วัสดุ สํา หรั บ ธนบัตรมัก ทํา มาจากเส้ นใยกัญชง ฯลฯ ผลิ ตภัณฑ์ที่ ท อจากเส้ นใยกัญชงจึ ง เป็ น “สิ นค้า ปกป้ องสิ่ งแวดล้อม” และเหมาะอย่างยิ่งสําหรับคนยุคใหม่ที่รักษาและห่ วงใยธรรมชาติอย่างแท้จริ ง (www./medthai.com) 2. ผ้าเขียนเทียน ผ้าบาติ กชาวเขาเผ่าม้ง ในอดี ตม้งมี การนําผ้าไหมดิ บที่ ทอเองมาเขียนเป็ นลวดลายต่าง ๆ เพื่อที่จะทําเป็ นกระโปรงของผูห้ ญิงม้ง ซึ่ งผ้าไหมนั้นทํามาจากเปลื อกของเส้นใยกัญชงที่แห้งสนิ ท จากนั้นจะนํามาฉี กออกเป็ นเส้นเล็ก ๆ เพื่อที่จะได้เส้นด้ายที่มีขนาดเล็กเหมาะสมกับการทอผ้า ซึ่ ง ทัว่ ไปจะนําเส้นใยกัญชง ที่แบ่งเป็ น 4 ส่ วน หรื อแบ่งออกเป็ นอีก 16 - 20 เส้น จากนั้นจะนําเส้นใย กัญชงไปตําในครกกระเดื่อง เพื่อให้เปลือกนอกที่หุม้ ติดกับเส้นใยหลุดออกไป ให้เหลือแต่เส้นใยแท้


125

ๆ เท่านั้น เพราะเส้นใยกัญชงแท้จะมีความอ่อนตัว และสะดวกแก่การปั่ น หลังจากที่มีการตําเส้นใย กัญชงเรี ยบร้อยแล้วก็จะนํามาพันม้วน ๆ เป็ นก้อนโดยใช้ตีนดัว่ (ตีนดัว่ เป็ นเครื่ องมือเฉพาะในการ พันเส้นใยกัญชง) ทํามาจากไม้กลม ๆ เส้นผ่าศูนย์กลางยาวประมาณ 8-10 นิ้ว มีที่ถือทําด้วยหวายถัก ในขณะที่นาํ มาพันแกนไม้น้ นั จะมีการต่อเส้นใยกัญชงแต่ละเส้น โดยใช้นิ้วมือขยี้ส่วนปลายของเส้น ใยกัญชงให้แตกออกเป็ นสองเส้น จากนั้นก็จะนําอีกเส้นหนึ่ งมาต่อกับเส้นเดิม เมื่อเส้นใยกัญชงเต็ม แกนแล้วจะคล้ายกับรองเท้าจีน จากนั้นจึงถอดไม้ออกเก็บม้วนเส้นใยไว้นาํ ไปจุ่มนํ้าร้อนให้อ่อนตัว แล้วนําไปตีเป็ นเกลี ยว โดยผ่านการเข้าเครื่ องตีเกลียว นัน่ คือชั้วดัว่ เส้นใยที่ผ่านการปั่ นเป็ นเกลี ยว แล้วจะกรอไว้ในแกนที่เรี ยกว่า ซาย ซึ่ งเครื่ องชัว่ ดัว่ เครื่ องหนึ่ งสามารถที่จะใจแกนเส้นใยกัญชงได้ ครั้งละ 4 - 6 แกนเมื่อเสร็ จก็จะเปลี่ยนชุดใหม่อีก

ภาพ 46 แสดงการทําผ้าเขียนเทียน จากนั้นก็ดึงด้ายออกจากแกนเข้าเครื่ องโกลเพื่อเก็บต่อไป จากนั้นนําด้ายเส้ นใยกัญชงมา ฟอกสี และทําให้ดา้ ยอ่อนตัว โดยนํามาต้มกับนํ้าขี้เถ้าประมาณ 4 กะละมัง นํามาร่ อนเศษถ่านออก แล้วผสมนํ้าใส่ ลงในกระทะใบบัวเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 - 3 1/2 ฟุต เอาไจด้ายกัญชงลงต้มจน ด้ายนิ่มยกลง และเอาไจด้ายคลุกกับขี้เถ้า แช่ไว้เช่นนั้น เมื่อแห้งสนิทแล้วนําไปต้มกับนํ้าขี้เถ้า แช่ไว้1 คื น ล้างขี้ เถ้า ออกให้หมด ตากให้แห้ง ทําซํ้าเช่ นนี้ จนกว่าเส้ นใยจะขาวจนพอใจจึ งซักให้สะอาด


126

จากนั้นก็นาํ เส้นด้ายที่ปั่นเรี ยบร้ อยแล้วมาทอเป็ นผ้าไหมดิ บ เมื่อทอเรี ยบร้อยแล้วก็จะนํามารี ดด้วย ก้อนหิ น ซึ่ งก้อนหิ นนี้ ใช้สําหรั บในการรี ดผ้าไหมดิ บเท่านั้น หากว่าไม่รีดให้เรี ยบแล้ว เวลานําผ้า ไหมดิบมาเขียนเป็ นลวดลายจะไม่สามารถเขียนได้เนื่องจากมีปมของเส้นด้ายที่ต่อกันด้วย หากว่าไม่ เรี ยบก็จะเขียนลวดลายได้ไม่สวย นําขี้ผ้ งึ มาละลายหรื อต้มให้ร้อน โดยวิธีการดังนี้ นํากระป๋ องที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว้าง 10 เซนติ เมตร เจาะฝาข้างหนึ่ งออก แล้วไม่ตอ้ งตัดทิ้ง และทําให้ฝาข้างที่เจาะขึ้ นนั้นมันเรี ยบร้ อย พร้อมกับสามารถที่จะเป็ นที่หยดนํ้าขี้ผ้ งึ ได้บริ เวณรอบ ๆ ขอบของกระป๋ องต้องจัดให้เรี ยบร้อย โดย ที่ไม่เป็ นอันตรายต่อคนที่ใช้จากนั้นนําขึ้ผ้ งึ ใส่ ลงไป นํากระป๋ องไปอุ่นกับถ่านที่ร้อนจัด จากนั้นขึ้ผ้ งึ ก็จะละลาย รอจนกว่าขึ้ผ้ งึ ร้อนจัดถึงจะใช้ได้ นําผ้าไหมที่ทอได้เรี ยบร้อย มาสร้างตารางสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดของสี่ เหลี่ยมประมาณ 2-3 เซนติเมตร ตารางทุกช่องจะต้องมีขนาดเท่ากัน โดยสร้างตารางให้เต็มผ้าไหมดิบ ต้องใช้ดินสอขีด เส้นตาราง หรื อปากกานํ้าเงินก็ได้ไม่ควรที่จะใช้ปากกาสี แดง เพราะปากกา สี แดงเมื่อนํามาขีด หรื อ สร้ างตารางแล้วเวลาย้อมผ้าไหม จะเห็ นเส้ นตารางเป็ นสี แดงอยู่ทาํ ให้ผา้ ไหมไม่ส วย จากนั้นนํา ปากกาเขียนขี้ผ้ งึ โดยนําปากกาไปจุ่มขี้ผ้ งึ แล้วนํามาเขียนลวดลายต่าง ๆ บนผ้าไหมดิบปากกาเขียน ขี้ผ้ งึ นั้นเรี ยกว่า ดาต้าะ ซึ่ งดาต้าะทําจากเหล็กหรื อทองเหลือง วิธีการทําคือ นําแผ่นทอง เหลืองหรื อ แผ่นเหล็กมาวัดเป็ นรู ปสามเหลี่ ยมที่ มีขนาดประมาณ 2 เซนติ เมตร จากนั้นแล้วนํามาขัดด้านด้าน หนึ่งให้เรี ยบ เหลาไม้ไผ่ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร หรื อประมาณ 1 เซนติเมตร นําไม้ไผ่มาผ่าปลายด้านใดด้านหนึ่ ง แล้วนําแผ่นเหล็กที่ตดั มาเรี ยบร้อยมา สอดใส่ ลงไปในช่องรอย ผ่าแล้วมัดให้เรี ยบร้อย หลังจากที่เขียนลวดลายเสร็ จ จะนําผ้าบาติกไปย้อมครามให้ดาํ เมื่อย้อมเสร็ จ เรี ยบร้อยแล้ว ก็จะนําไปล้างสี ครามนั้นออกให้หมดก่อน โดยที่จะล้างสี ครามออกได้น้ นั จะมีวิธีการ ดังนี้ คือ ต้มนํ้าร้อนให้เดือด จากนั้นก็น้ าํ ผ้าบาติกมาแช่น้ าํ เย็นจากนั้นกํานําผ้าบาติก ที่ แช่น้ าํ เย็นออกรอให้แห้งก่อน แล้วนําผ้าบาติกมาต้มกับนํ้าร้อนในกระทะที่ต้ งั นํ้าไว้รอสักประมาณ 35 นาทีพยายามล้างคราบขี้ผ้ ึงออกให้หมด นําไปผึ่งแดดให้แห้ง แล้วก็นาํ ผ้าบาติกไปตัดตกแต่งให้ สวยงาม โดยที่นาํ ผ้าสี อื่นมาปะชุ นให้เรี ยบร้อยดังนี้ แล้วจึงนํามาจับจีบทั้งหมด นําผ้าที่ปักเรี ยบร้อย มาต่อกับผ้าบาติก แล้วจัดกลี บให้ตรงกัน จากนั้นรอยจีบนั้นจะต้องเอาด้ายร้ อยไว้แน่ น เพื่อให้จีบ สามารถอยู่ได้นาน และจัดตัวอยู่ตลอดเวลา เมื่ อถึ ง งานเทศกาลปี ใหม่ จะสามารถนํามาใช้ได้เลย เพราะหากว่ากระโปรงนั้นจับจีบไม่สวย ก็ใส่ ไม่สวยเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อจับจีบเรี ยบร้อยแล้จะต้อง เก็บ ประมาณ 1 เดือนเป็ นอย่างน้อย เพื่อให้จีบคงทน และสวยงาม สามารถนํามาใช้ได้เลย


127

4. การตีมีด การตีมีด ในอดี ตม้งมีความรู ้เรื่ องการทํามีดอยูม่ ากมาย ลักษณะมีดของม้งจะไม่เหมือนกับ ชนเผ่าอื่น ม้งจะมีการตีมีดตามสภาพการ ใช้งาน ถ้าเป็ นงานหนักตัวมีดก็จะมีลกั ษณะใหญ่แต่ถา้ ใช้ ในการดายหญ้า ม้งจะทําด้ามมืดให้ยาวเพื่อสะดวกในการฟั นหญ้า หรื อถ้าตัดไม้มง้ ก็จะทําตัวมี ด ใหญ่ข้ ึนด้ามไม่ค่อยยาวเท่าไร เพื่อสะดวกแก่การใช้งาน ม้งจึงได้ชื่อว่าผูท้ ี่มีความสามารถในการตีมีด เป็ นอย่างมากมีดม้งจะมีลกั ษณะพิเศษกว่า คือตัวมีดจะหนา ตรงปลายมีดจะแหลมมาก มีความคม มาก เครื่ องเป่ าลมกับกองถ่าน เครื่ องเป่ าลมมีประโยชน์ในการเป่ าลมเพื่อให้ถ่านร้ อนขึ้นและไม่ดบั สะดวกแก่ ก ารเผามี ด ให้ ร้ อน และสามารถที่ จะตี มี ด ตามรู ป แบบที่ ต้อ งการ ซึ่ ง มี ดที่ ถู ก วัดแบบ เรี ยบร้อยแล้ว จะถูกนํามาเผาให้มีความอ่อนตัวขึ้น แล้วจึงจะตีมีดให้มีความสวยงาม เครื่ องเป่ าลมทํา มาจากไม้โดยหาท่อนไม้ที่มีขนาดใหญ่พอสมควร เจาะตรงกลางให้มีช่องว่างในท่อนไม้อยูจ่ ากนั้น นําเส้นเหล็กมา เอาแผ่นไม้มาทําเป็ นฝาปิ ดตรงด้านหน้าของท่อนไม้เจาะรู ตรงกลางของแผ่นไม้ที่ใช้ ทําเป็ นฝา นําเส้นเหล็กที่เตรี ยมไว้มาสอดใส่ เข้าไป จากนั้นจึงนําไปสวมลงไปในท่อนไม้เวลาที่ดึง ออกแล้วดันเข้าไปจะมีลมเป็ นตัวช่ วยเปา ให้ถ่านที่ติดไฟอยู่ขา้ งหน้าไม่ตอ้ งดับ ซึ่ งการตีมีดแต่ละ ครั้ง ม้งจะต้องมีการนําแผ่นเหล็กที่จะตีเป็ นมีด มาวัดตามแบบมีดตามที่มง้ ออกแบบไว้เพื่อสะดวกแก่ การใช้งานเพราะมีดม้ง แต่ละแบบจะมีการนํามาใช้งานคนละด้านกัน มีดจะมีขนาดของตัวมีดหนาก็ จะมีการใช้งานที่ค่อยข้างหนัก หรื อใช้สําหรับในการตัดสิ่ งของที่มีความแข็งแรง ส่ วนมีด ที่มีขนาด ของตัวมีดบาง และเล็กลงจะใช้ในการตัดสิ่ งของที่อ่อนกว่า เช่น ใช้หนั่ ผักต่าง ๆส่ วนมีดที่ใช้ในการ หั่นเนื้ อสัตว์ต่างกันตรงปลายมี ดจะมี ล ักษณะแหลมมาก ตัวมี ดจะมี ลัก ษณะเล็กยาวเรี ยว เหมาะ สําหรับในการพกพาไปไหนมาไหนได้สะดวก


128

ภาพ 47 แสดงการตีมีดของชาวม้ง 5. การทาทองขาว ในอดีตม้งนิยมทําเครื่ องประดับจากเงิน และทองขาว เนื่ องจากสมัยก่อนนั้นม้งไม่ รู ้จกั ทอง มีเรื่ องเล่าว่า สมัยก่อนมีมง้ ผูช้ ายคนหนึ่ งซึ่ งพระเจ้าได้ให้ตื่นแต่เช้าตรู่ เพื่อที่จะไปตีสิ่งของที่บินผ่าน มา และพระเจ้าได้บอกว่าเห็ นอะไร บินผ่านมาก็ตีให้หมด พอชายคนนี้ ตื่นแต่เช้าตรู่ เพื่อที่จะไปตี สิ่ งของที่บินผ่านมา แต่พอไปถึงชายหนุ่มม้งเห็นสิ่ งของอะไรก็ไม่รู้ บินมาลอยอยูต่ รงหน้า เห็นเป็ นสี เหลืองๆ แต่ก่ ไ็ ม่ตีปล่อยให้ลอยผ่านไป สักพักหนึ่ งก็มีสีขาวบินผ่านมาชายคนนี้ ก็ไม่ตีอีก แต่พอเห็น สี ดาํ ลอยผ่านมาจึงได้ตดั สิ นใจตีเมื่อตีเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ชายหนุ่มม้งก็กลับมารายงานให้กบั พระเจ้า พระเจ้าจึงได้พดู ว่า เจ้านี่ทองลอยมาก็ไม่ตีเงินลอยมาก็ไม่ตีพอเหล็กลอยมาก็ตีขา้ ให้เจ้าไปตีทองและ เงินนะ ไม้ได้ให้ไปตีเหล็ก แต่เมื่อเจ้าตีได้แค่เหล็ก เจ้าจงนําเหล็กนี้ ไปทําเป็ นอาวุธ เพื่อที่จะได้ใช้ไป ทํามาหากินนะ หลังจากนั้นมาม้งจึงไม่รู้จกั ทองกับเงิน แต่ที่มง้ รู ้จกั ใช้ทองและเงิน เนื่ องจากชายม้งผู ้


129

อาภัพได้ไปค้าขายกับจี น จึ งทําให้มง้ เริ่ มรู ้ จกั ใช้เงิ นตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา ม้งจึ งเริ่ มรู ้ จกั นําเงิ นและ ทองขาวมาทํา เป็ นเครื่ องประดับ ดัง นั้น ภายหลัง หรื อ ยุ ค หลัง ๆ ม้ง จึ ง นิ ย มนํา ทองขาวมาทํา เครื่ องประดับ สามารถที่จะทําเป็ น ต่างหูกาํ ไลข้อมือ กําไลข้อเท้า เข็มขัด เข็มกลัด ห่วงคอ เป็ นต้น ซึ่ งมีข้ นั ตอนการทําดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 นําแผ่นทองขาวมาวัดขนาดของห่วงต่าง ๆ ซึ่ งการทําห่วงคอของม้งนั้นจะมีอยู5่ ห่ วง คือห่ วงอันที่หนึ่ งจะมีขนาดใหญ่ที่สุด และจะลดขนาดลงไปเรื่ อยๆจนถึงขนาดที่เล็กที่สุด ห่ วง เล็กจะอยูบ่ นสุ ดของห่วงทั้งหมด หลังจากที่วดั ขนาดของห่วง ทั้ง 5 ห่วงเรี ยบร้อย ขั้นตอนที่ 2 นํามาตอกลวดลายเป็ นรู ปดอกไม้ต่างๆแต่ก่อนที่จะตอกลวดลาย สมัยก่อนจะ ไม่นาํ แผ่นเงิ นมาทาบบนชันไม้แต่ปัจจุบนั จะนําแผ่นทองขาวมาทาบบนชันไม้เพื่อไม่ให้เคลื่ อนที่ และสะดวกในการตอกลาย ช่วยป้ องกันมิให้แผ่นเงินเกิดการชํารุ ด ขั้นตอนที่ 3 นําห่ วงคอที่ตอกลายเรี ยบร้อยแล้ว จากนั้นนําห่ วงคอที่ละอันมาดัดให้งอ้ เข้าหา กัน เพื่ อ ที่ จ ะเชื่ อ มเข้า กัน ได้จ ากนั้น ก็ ท าํ การเชื่ อ มห่ ว งที ล ะอัน ให้ เ สร็ จ เรี ย บร้ อ ย จากนั้น นํา มา ประกอบเข้าด้วยกัน โดยจะจัดเรี ยงห่ วงคอที่มีขนาดที่ ใหญ่ที่สุดเป็ นฐาน แล้วตามด้วยห่ วงคอที่ มี ขนาดเล็กลดลัน่ ตามกันมาจนครบ 5 ห่วง เมื่อมีกนั จัดเรี ยงห่วงคอเรี ยบร้อยแล้วก็จะมีการเชื่อมห่วง คออีกครั้ง โดยที่เชื่อมห่วงคอทั้ง 5 ห่ วงให้ติดกันเป็ นแผ่น แล้วจัดทํากระดุมให้แผ่นห่ วงคอคล้องกัน ได้ ขั้นตอนที่ 4 จากนั้นก็นาํ ห่วงคอไปล้างด้วยนํ้ากรด ขัดให้เรี ยบร้อย แล้วชุ บด้วยเงิน เมื่อเสร็ จ เรี ยบร้ อยแล้ว จะนําไปล้างด้วยนํ้ากรดอ่อนอีกครั้งเพื่อให้ขาวและเงามากมากขึ้น ซึ่ งเครื่ องประดับ ชิ้ น นี้ ใช้ เ ฉพาะในการ ส่ ว มใส่ ใ นเทศกาลฉลองปี ใหม่ เ ท่ า นั้น หรื อ วัน สํ า คัญ ต่ า งๆเท่ า นั้น ซึ่ ง เครื่ องประดับชนิดนี้ก็เป็ นอีกอาชีพหนึ่ง ที่เสริ มรายได้ให้กบั ม้ง 6. การทาเครื่องเงิน เครื่ องประดับเงินม้ง ในปั จจุบนั ม้งเริ่ มมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นตลอด จนได้รับการพัฒนา ฝี มือ และมีการประกอบอาชีพที่เป็ นการเสริ มรายได้ให้กบั ครอบครัวได้อย่างมัน่ คง ซึ่ งอาชี พดังกล่าว ได้แก่การทําเครื่ องเงิน การทําเครื่ องประดับจากทองเหลืองและการเขียนผ้าบาติก การปั กผ้าชาวเขา การทํามีด (ตีมีด) เป็ นต้น การทาเครื่องเงิน มีวธิ ีการทามีดังนี้


130

ขั้นตอนที่ 1 นําเงินเม็ดมารี ดให้เป็ นแผ่นบาง ๆ หรื ออาจจะมีการนําเศษเงินที่เหลือมารี ดให้ เป็ นเส้ นตามขนาดที่ ตอ้ งการ ซึ่ งเม็ดเงิ นที่ รีดได้น้ นั ใช้ในการทํากระเป๋ าเงิ น เข็มขัดเงิ น กําไลมื อ กําไลเท้า ต่างหู ส่วนเศษเงิ นที่ได้จากการรี ดจะใช้ในการทําสร้ อยคอเงิ น สร้ อยข้อมือ ต่างหู เป็ นต้น เงินที่รีดมาเป็ นแผ่นบาง ๆ จะนํามาวัดขนาดของแบบที่ตอ้ งการ ขั้นตอนที่ 2 นําแผ่นเงิ นที่รีดเป็ นแผ่นบางๆเรี ยบร้ อยแล้ว มาวัดแบบที่ตอ้ งการถ้าต้องการ กระเป๋ า ขนาดความกว้างเท่าไร สู งเท่าไรเสร็ จเรี ยบร้อย ก็จะนําไปทาบบนชันไม้ที่เตรี ยมไว้ซ่ ึ งก่อน ที่จะทาบแผ่นเงินไปนั้นต้องเผาชันไม้ให้มีความอ่อนตัวเพื่อที่จะได้ยืดแผ่นเงินได้ดีและมัน่ คง แผ่น เงินจะได้ไม่เคลื่อนที่เวลาตอกลาย ขั้นตอนที่ 3 จากนั้นเริ่ ม ตอกลวดลายลงบนแผ่นเงิ นที่ ท าบไว้บ นแผ่นชันไม้หรื อยางไม้ ส่ วนมาก ลวดลายที่ตอกลงไปนั้นจะเป็ นรู ปดอกไม้ตน้ ไม้หรื อรู ปสัตว์ต่าง ๆ มื่อตอกลายเรี ยบร้ อย แล้วจะนําแบบที่ ตอกลายไปเชื่ อมและดัดให้เข้ารู ปที่ ตอ้ งการจากนั้นนําไปแช่ น้ าํ กรดอ่อน ๆ (นํ้า มะนาว) แล้วขัดให้ขาวสนิทหรื อถ้าต้องการลงสี อื่นเพิม่ เติม 7. การทาไม้ กวาด “ดอกหญ้า” เป็ นชื่อเรี ยกเป็ นภาษาภาคกลางของผลผลิตจากพืชชนิ ดหนึ่ งซึ่ งในแต่ละภาคจะ เรี ยกไม่เหมื อนกัน เช่ น ภาคใต้เรี ยกว่า “ดอกอ้อ ” ภาคเหนื อ เรี ยกว่า “ดอกกง” หรื อ “ดอกแขม” เพราะดอกของต้นแขมนี้ ได้สร้างรายได้ให้กบั ชุ มชนนี้ มานับร้อยปี จากคําบอกเล่าของคนสู งอายุใน หมู่บา้ นทําให้ทราบว่า “ดอกแขม” มีอยู่ 2 ประเภท คือ “แบบแข็ง” และ “แบบอ่อน” แต่ที่นาํ มาทํา ไม้กวาดคือ ดอกแขมแบบอ่อน ต้นแขมเป็ นพืชล้มลุ ก ชอบอากาศเย็น ดิ นทรายปนกรวดบริ เวณ เชิงเขา ไม้กวาด เป็ นอุปกรณ์ที่ยงั จําเป็ นต้องใช้ภายในครอบครัว แม้ปัจจุบนั บางบ้านได้นาํ เครื่ องดูด ฝุ่ นเข้ามาใช้บา้ งแล้ว แต่ก็ยงั มีบา้ นและสถานที่ต่าง ๆ อีกจํานวนไม่นอ้ ย ที่ตอ้ งการใช้ไม้กวาด ดังนั้น การทําไม้กวาดเพื่อจําหน่าย จึงเป็ นการเสริ มรายได้อีกทางหนึ่งให้กบั ครอบครัวได้


131

ภาพ 48 แสดงการทําไม้กวาด ลักษณะที่โดดเด่น ไม้กวาดดอกหญ้าของชุ มชน ดอกหญ้ามีน้ าํ หนักเท่ากันใส่ กาวเพื่อไม่ให้ดอกหญ้าหลุ ดง่าย เวลากวาดบ้านนอกจากนั้นระยะเวลาการใช้งานของไม้กวาดใช้งานคงทนซึ่ งถือเป็ นภูมิปัญญาของ ชุ มชนที่สืบทอดกันมากว่า 50 ปี ซึ่ งคนในชุ มชนได้ประกอบอาชี พเสริ มทําให้รายได้ของครัวเรื อน ประเภทของไม้กวาดที่มีไว้สาํ หรับทําความสะอาดในครัวเรื อน ส่ วนใหญ่จะใช้กวาดเศษขยะชิ้นเล็ก ๆ ฝุ่ น รวมไปถึงหยากไย่ที่อยูต่ ามซอกมุมและเพดาน ส่ วนใหญ่ทาํ จากช่อดอกหญ้าตองกง พืชล้มลุก ตระกูลหญ้า พบได้ในพื้นที่สูง เนิ นเขา และริ มแม่น้ าํ ความสู งประมาณ 3 - 4 เมตร ใบคล้ายหอก มีช่อดอกออกที่ปลายยอดของลําต้น และต้นแขม วัชพืชนํ้าที่ข้ ึนตามพื้นที่ช้ื นแฉะ ความสู งประมาณ 2 - 3 เมตร ใบยาวเรี ยวปลายแหลม มีกาบใบหุ ้มลําต้นแต่ไม่มีขน มีช่อดอกขนาดใหญ่ที่ปลายยอด สําหรับด้ามจับทําจากไม้ไผ่หรื อหวาย โดยมีข้ นั ตอนการทําไม้กวาดดอกหญ้าดังนี้ อุปกรณ์ - ดอกหญ้า จะเป็ นดอกหญ้าตองกง ดอกอ้อ หรื อดอกแขมก็ได้ - ไม้ไผ่ความยาวประมาณ 80 เซนติเมตร


132

- เชือกฟาง - เข็มเย็บกระสอบ - ตะปู วิธีทาํ 1. ขั้นตอนแรกในการทําไม้กวาดดอกหญ้าคือ นําดอกหญ้ามาทําความสะอาดและตากให้แห้ง สนิท ก็จะได้ไม้กวาดที่แข็งแรง คงทน และไม่หลุดง่ายเมื่อนําไปใช้งาน 2. จากนั้นจึงนําดอกหญ้าประมาณ 1 กํามือมามัดรวมกันเป็ นวงกลม 3. นําเข็มเย็บกระสอบที่ร้อยเชือ กฟางแล้วแทงกลางช่ อดอกหญ้าที่มดั รวมไว้ แล้วถักขึ้น-ลง แบบหางปลาให้ได้ 3 ชั้น พร้อมจัดดอกหญ้าให้แบน 4. เมื่อได้ทรงเรี ยบร้อยก็ตดั โคนดอกหญ้าให้เสมอกัน จากนั้นนําด้ามไม้ไผ่เสี ยบลงตรงกลาง มัดดอกหญ้า แล้วนําเชือกฟางมามัดไว้ดว้ ยกัน 5. จากนั้นก็ตอกตะปูยดึ ดอกหญ้ากับด้ามไม้ไผ่ให้แน่น เพื่อให้ไม้กวาดมีความแข็งแรงมากขึ้น


133

วัฒนธรรมทางด้ านเครื่องแต่ งกาย ลักษณะการแต่ งกายม้ งขาว หรือม้ งด๊ าว ชาย ตัวเสื้ อจะเป็ นผ้ากํามะหยี่ เสื้ อแขนยาวจรดข้อมือ ชายเสื้ อจะยาวคลุมเอว ด้านหน้ามีสาบเสื้ อ สองข้างลงมาตลอดแนว สายเสื้ อลงไปยังชายเสื้ อ ด้านหลัง มักจะปั กลวดลายสวยงามด้วย ปั จจุบนั นิ ยมใส่ ซิปลงขอบ สาบเสื้ อ เพื่อสะดวกในการใส่ ส่วนกางเกงจะสวมใส่ กางเกงขาก๊วย หรื อกางเกง จีนเป้ าตื้นขาบานมีลวดลายน้อย และใส่ ผา้ พันเอวสี แดง คาดทับกางเกง และอาจมีเข็มขัดเงินคาดทับ อีกชั้นหนึ่งด้วยเหมือนกัน

ภาพ 49 แสดงการแต่งกายของม้งผูช้ าย หญิง ตัวเสื้ อจะเป็ นผ้ากํามะหยี่ เสื้ ออาจจะเป็ นสี น้ าํ เงินเข้มหรื อดําแต่ปัจจุบนั ก็มีการเปลี่ยนแปลง ให้หลากสี มากขึ้น เป็ นเสื้ อแขนยาว ซึ่ งที่ปลายแขนนี้ มีการปั กลวดลายใส่ ดา้ นหน้ามีสาบเสื้ อสอง ข้างลงมาและมีการปั กลวดลาย ใส่ ดว้ ย การแต่งกายของหญิงม้งขาว (ม้งเด๊อะ) เดิมจะสวมกระโปรง จีบ รอบตัวสี ขาวล้วนไม่มีการปั กลวดลายใด ๆ เมื่อสวมใส่ จะปล่อยรอยผ่าไว้ดา้ นหน้า พร้อมกับมีผา้


134

สี่ เหลี่ยมยาวปั กลวดลายปิ ดทับรอยผ่า มีผา้ แถบ สี แดงคาดเอวไว้ช้ นั หนึ่งโดยผูกปล่อยชายเป็ นหางไว้ ด้านหลัง

ภาพ 50 แสดงการแต่งกายของม้งผูห้ ญิง ปั จจุบนั นิยมใส่ กระโปรงสี ขาวเฉพาะงานสําคัญเท่านั้น เพราะกระโปรงขาวเปรอะเปื้ อนได้ ง่ าย จึ งหันมานิ ย มสวมกางเกงทรงจี นกับเสื้ อแทนกระโปรง และมี ผ า้ สี่ เหลี่ ยมผืนยาวห้อยลงทั้ง ด้านหน้า และหลัง ผ้านี้ มกั จะปั กลวดลาย สวยงามมีผา้ แถบสี แดงคาดเอว สําหรับเครื่ องโพกผมของ หญิงม้งขาวนั้น นิยมพันมวยผมคล้อยมาด้านหน้า และใช้ผา้ สี ดาํ โพกผมเป็ นวงรอบศีรษะ โดยมีการ ปั กลวดลายไว้ด้วย นอกจากนี้ ยงั มี เครื่ องประดับอื่ นประกอบเพิ่มเติ ม ซึ่ งมักจะสวมใส่ กนั ในงาน สํา คัญจํา พวกเครื่ องเงิ น กํา ไลคอ กํา ไลข้อมื อตุ ้ม หู แหวน รวมทั้ง เหรี ย ญเงิ นขนาดต่ าง ๆ ทั้ง รู ป วงกลม และสามเหลี่ยม ที่ประดับตามเสื้ อผ้าแพรพรรณรวมทั้งสายสะพายปั กลวดลายสวยงาม เวลา ใช้จะสะพายไหล่เฉี ยงสลับกันสองข้าง


135

ลักษณะการแต่ งกายของม้ งดา ชาย เสื้ อแขนยาวจรดข้อมือ แต่ชายเสื้ อระดับเอวปกสาบเสื้ อด้านขวา จะป้ ายเลยมาทับซี กซ้าย ของตัวเสื้ อตลอดจนแนวสาบเสื้ อจะใช้ดา้ ยสี และผ้าสี ปักลวดลายต่าง ๆ สะดุดตา กางเกงสี เดียวกับ เสื้ อ มีลกั ษณะขากว้างมากแต่ปลายขาแคบลง ส่ วนที่เห็นได้เด่นชัดคือ เป้ ากางเกงจะหย่อนลงมาจน ตํ่ากว่าระดับเข่ารอบเอวจะมีผา้ สี แดงพันทับกางเกงไว้ซ่ ึ งชายผ้าทั้งสองข้างปั กลวดลายสวยงาม อยู่ ด้านหน้า และนิยมคาดเข็มขัดทับผ้าแดงไว้

ภาพ 51 แสดงการแต่งกายของม้งดํา


136

หญิง ปั จจุบนั เสื้ อม้งเขียวหรื อม้งดําจะทําให้มีหลากหลายสี มากขึ้นเหมือนกัน ชายเสื้ อยาวจะถูก ปิ ดด้วยกระโปรงเวลาสวมใส่ สาบเสื้ อทั้งสองข้างจะปั ก ลวดลาย หรื อขลิบด้วยผ้าสี ตวั กระโปรงจีบ เป็ นรอบ ทําเป็ นลวดลายต่าง ๆ ทั้งการปั ก และย้อมรอยผ่าของกระโปรงอยูด่ า้ นหน้า มีผา้ เหลี่ยมผืน ยาวปัก

ภาพ 52 แสดงการแต่งกายของม้งดํา ลวดลายปิ ดรอยผ่า และมี ผ า้ สี แ ดงคาดเอวทับ อี ก ที ห นึ่ ง โดยผูก ปล่ อ ยชาย เป็ นหางไว้ ด้านหลัง สําหรับกระโปรงนี้ จะใส่ ในทุกโอกาส และในอดีตนิ ยม พันแข้งด้วยผ้าสี ดาํ อย่างประณี ต ซ้อนเหลื่ อมเป็ นชั้น ๆ ปั จจุบนั ก็ไม่ค่อย นิ ยมใส่ กนั แล้ว ผูห้ ญิ งม้งดํานิ ยมพันผมเป็ นมวยไว้กลาง กระหม่อม และมีชอ้ งผมมวยซึ่ งทํามาจากหางม้าพันเสริ มให้มวยผมใหญ่ข้ ึนใช้ผา้ แถบเป็ นตาข่าย สี ดําพันมวยผมแล้วประดับด้วยลูกปั ดสี สวย ๆ ส่ วนเครื่ องประดับเพิ่มเติมนั้น มีลกั ษณะเหมือนกับม้ง ขาว


137

วัฒนธรรมทางด้ านดนตรี 1. แคน

ภาพ 53 แสดงแคนม้ง แคน (Qeej) เป็ นภาษาม้ง อ่านว่า เฆ่ง หรื อ qeng ซึ่ งแปลว่า แคน หรื อ mouth organ เฆ่ง หรื อแคนเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ทาํ จากลําไม้ไผ่ และไม้เนื้ อแข็ง มีปรากฏในเอเชี ยมากว่า 3,000 ปี แล้ว และถื อได้ว่าเป็ นเครื่ องดนตรี ที่เก่าแก่ ที่สุดชนิ ดหนึ่ ง ม้งมีเรื่ องเล่าเกี่ ยวกับความเป็ นมาของเฆ่งว่า ในอดีตกาลมีคนม้งอยูค่ รอบครัวหนึ่ ง มีพี่นอ้ ง 7 คน วันหนึ่ งผูเ้ ป็ นบิดาสิ้ นชี วิตลง และบรรดาพี่นอ้ ง ทั้ง 7 คน ต้องการจัดพิธีงานศพเพื่อเป็ นเกี ยรติให้กบั ผูเ้ ป็ นบิดา แต่ไม่รู้ว่าจะทําอย่างไรดี จึงได้ขอ คําปรึ กษาจากเทพเจ้า "ซี ย" ซึ่ งคนม้งมีความเชื่ อว่าเป็ นเทพเจ้าที่พระเจ้าส่ งมาเพื่อช่ วยเหลื อมวล มนุ ษ ย์ใ นโลก และเป็ นผู้มี บ ทบาทสํา คัญในการกํา หนดพิ ธี ก รรมที่ สํา คัญทางศาสนาของคนม้ง เทพเจ้าซี ยีได้แนะนําให้ คนหนึ่ งไปหาหนังสัตว์มาทํากลองไว้ตี และอีกหกคนไปหาลําไม้ไผ่ที่มี ขนาด และความยาวไม่ เ ท่ า กัน มาคนละอัน เรี ย งลํา ดับ ตามขนาด และอายุ ข องแต่ ล ะคน เมื่ อ เตรี ยมพร้ อมแล้ว ให้คนหนึ่ ง ตี กลอง และอี ก 6 คนที่ เหลื อ เป่ าลําไม้ไผ่ของตนบรรเลงเป็ นเพลง เดี ยวกัน และเดิ นวนไปรอบ ๆ คนที่ตีกลองพร้ อมกับมอบบทเพลงต่าง ๆ ให้เมื่ อเทพเจ้าซี ยี กล่าว


138

เสร็ จ พี่นอ้ งทั้ง 7 จึงได้กลับไปจัดงานศพให้บิดาตามที่เทพเจ้าซี ยไี ด้แนะนําให้ ต่อมามีพี่นอ้ งคนหนึ่ ง ได้ตายจากไป เหลือคนไม่พอที่จะเป่ าลําไม้ไผ่ท้ งั หก พี่นอ้ งที่เหลือ 6 คน จึงได้ขอคําปรึ กษาจากเทพ เจ้าซี ยีอีกครั้ ง เทพเจ้า ซี ยีจึง แนะนําให้รวมลํา ไม้ไ ผ่ท้ งั หกมาเป็ นชุ ดเดี ย วกัน แล้วให้ค นเดี ย วเป่ า เท่านั้น

ภาพ 54 แสดงการเป่ าแคนม้ง ส่ วนคนอื่นให้ทาํ หน้าที่ถวายเครื่ องบูชา ตระเตรี ยมอาหาร และทําหน้าที่อื่นไป ต่อมารู ปแบบพิธีงาน ศพดังกล่าวก็ได้รับการถื อปฎิ บตั ิมาเรื่ อย ๆ จนกลายเป็ นประเพณี ในการจัดพิธีงานศพของคนม้งมา จนกระทัง่ ทุกวันนี้ เฆ่งประกอบด้วยลําไม้ไผ่ทะลุปล้อง 6 อัน คือ ซย้งตัว๋ จื๋อ (xyoob tuam tswm) 1 อัน และ ซย้งเฆ่ง (xyoob qeej) 5 อัน แต่ละอันมีขนาด และความยาวไม่เท่ากันกับลําไม้เนื้ อแข็งซึ่ งมี ปากกลมยาว (ก๋ างเฆ่ง kaav qeej) เป็ นไม้แดงหรื อ ที่ภาษาม้งเรี ยกว่า ดงจือเป๋ (ntoo txwv pem) เมื่อ เป่ าหรื อสู ดลมเข้าออก จะให้เสี ยงไพเราะต่อเนื่ องกัน ตลอดจนจบตอนของบทเพลงลําไม้ไผ่ แต่ละ อันมีชื่อเรี ยกเฉพาะของตัวเอง เช่น ดีลวั ดีไล ดีเส่ ง ดีตือ ดีจู้ คนม้งจะใช้แคน (เฆ่ง) ในพิธีงานศพเป็ น


139

หลัก โดยเป็ นเครื่ องนําทางดวงวิญญาณของผูต้ ายไปสู่ ปรโลก หรื อแดนของบรรพบุรุษ ฉะนั้นใน ธรรมเนี ยมม้งจึ งห้ามมิให้ฝึกเป่ าแคนภายในบ้าน ส่ วนใหญ่จะฝึ กในที่ ๆ ห่ างไกลจากหมู่บา้ นซึ่ ง มักจะเป็ นที่พกั พิงตามไร่ สวน 2. ขลุ่ย

ภาพ 55 แสดงขลุ่ย ขลุ่ยเป็ นเครื่ องดนตรี อีกประเภทหนึ่ งของ ม้งที่ใช้เป่ าเรี ยกหาคู่ และสร้างความจรรโลงใจ ซึ่ งขลุ่ยม้ง จะทํามาจากกระบอกไม้ไผ่ และท่อพีวีซี จะใช้เป่ าแทนความรู ้สึกของสภาพจิตใจของผูน้ ้ นั จะเป่ าใน วันสําคัญ เช่นงานปี ใหม่และงานสําคัญอื่น ๆ


140

4. จิ๊งหน่ อง (จ่ าง-Ncas)

ภาพ 56 แสดงจิ๊งหน่อง จิ๊งหน่องเป็ นเครื่ องดนตรี คู่กายคู่ใจ ของหนุ่ มสาวม้ง จ่างเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ปู่ย่าตายาย ท่านสร้างไว้ และเชื่ อกันว่ามีผีสิงอยู่ ใช้เป่ าเพื่อบรรยายความรู ้ สึกในใจ สามารถเป่ าได้หลากหลาย รู ปแบบ เช่น เราเป็ น หนุ่มต้องเดินทางไกลไปเที่ยวสาวก็จะเป่ าจ่างทางไกล หรื อถ้าเป็ นหนุ่มสาวใน หมู่บา้ นเดี ยวกันก็จะเป่ าอีกแบบหนึ่ ง เพื่อแสดงว่าเราเป็ นคนคุ น้ เคยกัน จ่างนับว่าเป็ นเครื่ องดนตรี ของม้งที่ใช้สื่อรักกัน แต่พอได้มาเป่ าจ่างโต้ตอบกัน และทําให้ต่างคนต่างเห็ นคุ ณค่าของแต่ละคน จนเกิ ดความผูกพัน และรักกัน การเป่ าจ่าง เราจะต้องเป่ าชมเชยยกย่องเขา เขาเองก็จะเป่ าชมเชยยก ย่องเราเช่ นกัน ในบางเรื่ องราวที่เราต้องการสื่ อความรักแต่ไม่กล้าพูดก็จะใช้จ่างเป็ นสื่ อ เพราะจ่าง เป็ นเครื่ องดนตรี ที่สื่อภาษารักได้ดว้ ยความนุ่มนวล และไม่ทาํ ให้ผสู ้ ื่ อ และผูร้ ับนั้นเกิดความเขินอาย การเรี ยนรู ้ ในเรื่ องการเป่ าจ่างนั้นไม่จาํ เป็ นต้องมีครู สอน เพียงแต่เรี ยนรู ้ หลักการนิ ดหน่ อย แล้วก็ ฝึ กฝนด้วยตนเอง หลัก เกณฑ์ใ นการเป่ าจ่ า งก็ จะต้อ งมี ค าํ ขึ้ นต้น มี ค าํ ที่ ใ ช้แทนนามสกุ ล ที่ ต่ า งกัน ไป สําหรับเนื้ อหาของจ่างนั้นมีหลากหลายเรื่ องราว แล้วแต่วา่ จะเป่ าพูดถึงเรื่ องอะไร อาจจะเป็ นเนื้ อหา ที่คิดเองทําเองก็ได้ แต่ตอ้ งเป็ นไปตามหลักการเนื้ อหาที่เป่ า จะเป็ นเรื่ องราวที่พรรณนาให้เห็ นภาพ ความสวยงามของสาว เมื่ อเทียบกับดอกไม้ใบหญ้า ดังนี้ ในการเกี้ยวพาราสี ของม้งนั้นเราจะใช้จ่าง


141

เป็ นสื่ อ ของประเพณี การเกี้ยวพาราสี อย่างหนึ่ งของม้ง ก็คือหนุ่มต้องไปหาสาวในยามคํ่าคืน ซึ่ งสาว นอนในบ้านหนุ่ มอยู่ นอกบ้านหนุ่ มต้องรู ้ วา่ สาวนั้นเป็ นใคร นอนอยู่ตรงไหน ในยามที่ทุกคนหลับ หนุ่ มจะค่อย ๆ ไปเรี ยกสาว สาวเองคงไม่ตอบหนุ่ มอย่างง่ายดาย เหมือนที่ทุกคนคิดกัน ถ้าสาวไม่ ตอบหนุ่ มก็ตอ้ งกลับ หรื อไม่ ก็ตอบมาว่ายามนี้ เวลาดึ กแล้ว ทุ กคนต้องการพักผ่อน ขออย่าได้ม า รบกวนเมื่อได้คาํ ตอบเช่นนี้ หนุ่มก็ตอ้ งกลับไปที่บา้ น แล้วหาวิธีที่ให้พูดกับสาวให้ได้รู้จกั กัน นัน่ คือ หนุ่ มจะต้องเป่ าจ่างที่เป็ นบทเพลงรักมอบให้สาวเพื่อให้สาวได้​้เห็ นคุ ณค่าของหนุ่ ม แล้วจะมีเสี ยง ตอบออกมาว่า ใครนะเป่ าจ่างได้เก่งจังเลย อยากจะรู ้จกั จริ ง ๆ การสนทนาจึงเกิดขึ้น จ่างเป็ นดนตรี ที่ มีอิทธิ พลต่อความรู ้สึกของคนม้งในอดีตอย่างยิง่ ปั จจุบนั จ่างได้หายไปจากวิถีชีวิตของหนุ่ มสาวคนรุ่ นใหม่ ทําให้หลาย ๆ คนได้รู้จกั ความหมาย ในการสื่ อรักด้วยจ่าง และถ้าหากจะมีใครนํากลับมาเรี ยนรู ้ และนําไปใช้อีกครั้งหนึ่ งก็คงจะดีไม่นอ้ ย เลย 5. กลองหรือจั๊ว กลองเป็ นเครื่ องดนตรี ของม้งที่มีลกั ษณะเป็ นกลองสองหน้า หรื อหนึ่ งหน้าก็ได้รูปร่ าง กลมแบน โดยใช้แผ่นผนังสัตว์สองแผ่นมาประกอบ เข้ากับโครงกลองหลอมตัวกลอง ทั้งสองด้าน ริ มขอบของแผ่นผนังทั้งสองแผ่นจะเจาะรู เป็ นคู่ ๆ สําหรับเสี ยบสลักไม้เล็ก ๆ เพื่อใช้เชื อกร้อยสลัก ไม้ของแผ่นผนังทั้งสองด้านดึ งเข้าหากัน ซึ่ งจะทําให้แผ่นผนังกลองตึงตัวเต็มที่ เมื่ อตีจะมีเสี ยงดัง กังวาน และมีไม้ตีกลองหนึ่ งคู่ หรื อสองอันทําจากไม้ดา้ นหนึ่ ง จะเอาผ้าพันไว้สําหรับตีกลอง ส่ วน ด้านที่ไม่มีผา้ ห่ อใช้สําหรับจับ กลองม้งนี้ จะใช้เมื่อประกอบพิธีงานศพ การปล่อยผีหรื อปลดปล่อย วิญญาณ เท่านั้น


142

6. ซอ

ภาพ 57 แสดงซอ เป็ นเครื่ องดนตรี ชนิ ดหนึ่งจําพวกเครื่ องสาย ทําให้เกิดเสี ยงโดยการใช้คนั ชักสี เข้ากับสายที่ขึงเอาไว้ 7. ใบไม้

ภาพ 58 แสดงการเป่ าใบไม้ การใช้ใบไม้มาเป่ าเป็ นทํานองต่างๆ หนุ่มสาวม้งสมัยก่อนเวลาไปทําไร่ ก็จะเอาใบไม้ มาเป่ ากันเรี ยกหากัน


143

เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์เครื่ องใช้ของม้งโดยปกติแล้วม้งจะมีการทํางานหนักในไร่ หรื อในสวนต่างๆ ม้งจึงมี การตีมีดให้เหมาะสมกับงานที่ทาํ เช่น การตัดไม้จะต้องใช้มีดด้ามยาว (เม้าะจัว๊ ะ) หรื ออาจจะใช้ขวาน ก็ได้ส่วนการทําอาหารต่างจะใช้มีดด้ามสั้นหรื อมี ดปลายแหลม ส่ วนงานที่ หนักจะต้องใช้มีดที่ มี ขนาดใหญ่เหมาะกับการใช้งาน มีด มีดด้ามสั้นหรื อมีดปลายแหลม(เจ๊าะปลึ่ อ) ตัวมีดจะมีความยาวประมาณ15-25 เซนติเมตร ตรงปลายมีดจะแหลมและคมมาก วิธีการประดิษฐ์มีดปลายแหลมหรื อมีดด้ามสั้นจะนําเส้นเหล็กมา เผาให้แดง เพื่อง่ายต่อการตีแล้วจะตีตามแบบที่มีไว้แล้ว มีดด้ามสั้นนี้ จะเป็ นมีดที่ใช้ในการประกอบ อาหารและใช้พกติดตัว เมื่อออกไปล่าสัตว์ในป่ า

ภาพ 59 แสดงมีด มีดด้ ามยาว มีดด้ามยาว (เม้าจัว๊ ) หรื อมีดดายหญ้าของม้ง มีความยาวประมาณ 30 -45 เซนติเมตร ตรง ปลายมีดจะมีลกั ษณะงอเข้าหาตัวมีดที่คม มีดด้ามยาวนี้ จะเป็ นมีดคู่ชีพ ของม้งเพราะม้งจะใช้มีดนี้ ใน การทําไร่ ตลอดเวลา เพื่อสะดวกกับการด้ายหญ้า


144

ภาพ 60 แสดงมีดด้ามยาว เคียวเกีย่ วข้ าว

ภาพ 61 แสดงเคียวเกี่ยวข้าว เคียวเกี่ยวข้าว ทํามาจากเหล็ก ม้งจะมีการตีเคียวเพื่อใช้ในการเกี่ยวข้าวโดยเฉพาะ คือ เคียว ม้งจะมีลกั ษณะโค้ง ตัวมีดจะหนานิ ดหน่อย ไม่มีรอยหยักด้านในของด้ามที่มีความคม ซึ่ งเคียวใช้ใน การเกี่ยวข้าวโดยตรงเท่านั้น


145

ขวาน

ภาพ 62 แสดงขวาน ขวาน (เต่า) เป็ นอุ ปกรณ์ ที่ใ ช้ในการทํางานหนักเช่ น เมื่ อไปผ่าฟื น ตัดต้นไม้ที่มีลกั ษณะ คล้ายต้นปาล์ม แล้วเลาะเปลื อกออก จากนั้นก็ตดั เป็ นท่อนๆ แล้วนําไปสับต้มอาหารหมูหรื อไปตัด ไม้และเป็ นอุปกรณ์ ในการตีมีด ทํามาจากเหล็ก ส่ วนด้ามนั้นทําจากไม้ซ่ ึ งไม้น้ นั จะต้องมีการเหลา ทุกครั้ง เพื่อไม่ให้ผวิ ไม้แทงมือเมื่อใช้ ปื นแก๊ส

ภาพ 63 แสดงปื นแก๊ส


146

ปื นแก๊ส (ปลอ-ย่าง) เป็ นปื นแก๊สม้ง ซึ่ งมี ลกั ษณะเหมื อนปื นยาว แต่ไม่ได้ใช้กระสุ นจริ ง กระสุ นที่ใช้จะเป็ นการเอาขลุ่ยไม้ที่เหลามาผสมกับดินปื น ซึ่ งม้งทําขึ้นเพื่อใช้ยิงสัตว์ตวั เล็ก เช่น นก ลิง ปลา เป็ นต้น ธนู

ภาพ 64 แสดงธนู ธนู(เน่ง) neeg เป็ นธนูมง้ ซึ่งทํามาจากไม้และเส้นหวายหรื อด้ายหวาย วิธีการประดิษฐ์คือจะ นําไม้มาเหลาให้เรี ยบร้ อย แล้วดัดให้งอเล็กน้อยเพื่อเป็ นธนูส่วนคั้นทํามาจากไม้หรื อเส้นเหล็กก็ได้ แล้วนํามาประกอบกันเป็ นธนูหวั ธนูจะใช้ท่อยึดเพื่อให้คงทน แล้วพันแถบด้วยเทปกาวใส จากนั้นนํา เส้นเชือก หรื อ เส้นหวายที่มว้ นให้มีขนาดเล็กมาก เพื่อทนกับการใช้งาน ส่ วนมากธนูจะใช้ยิงสัตว์ที่ มีขนาดเล็กเช่น นก ลิง กระรอก เป็ นต้น กระบุง กระบุง (เกอะ) kawm เป็ นภาชนะของม้งซึ่ งทําจากไม้ไผ่โดยนําไม้ไผ่มาสานเป็ นลวดลาย ต่างๆ ประกอบกันเป็ นกระบุงหรื อเกอะ กระบุงของม้งนั้นมีหลายลักษณะโดยที่ กระบุงจะแตกต่าง กันนั้นขึ้นอยู่กบั ชนิ ดของม้ง ถ้าเป็ นกระบุงที่มง้ ดําทําจะมีลกั ษณะลวดลายที่แตกต่าง จากม้งขาวคือ ลวดลายของม้งขาวจะละเอียด กว่าม้งดําและตัวกระบุงจะมีขนาดเล็กกว่าม้งดําแต่ที่เหมื อนกันคื อ วิธีการใช้คือจะใช้เมื่อต้อง ออกไปทํางานในไร่ และนําสัมภาระไปด้วย


147

ภาพ 65 แสดงกระบุง กระด้ ง

ภาพ 66 แสดงกระด้ง กระด้ง (ว้าง) เป็ นอุปกรณ์ที่มง้ ใช้ในการล่อนข้าวหรื อตากเมล็ดพันธุ์ต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังใช้ รองในการทําขนม ตัวกระด้งทํามาจากไม้ไผ่และในการสานกระด้งนั้นจะสานจากส่ วนกลางให้ เรี ยบร้ อยก่ อน แล้วจากนั้นจะทําการตัดขอบและดัดให้โค้งเป็ นวงกลมเพื่อที่ จะทําสันกระดังหรื อ ขอบกระด้ง ซึ่ งการทําขอบกระด้งนั้นเพื่อให้กระด้งแข็งแรงทนทานกับการใช้งาน ส่ วนมากม้งจะ นําไปผิงไฟไว้เพื่อให้เนื้อไม้ไผ่แห้งสนิท สี สวย


148

กระชอน

ภาพ 67 แสดงกระชอน กระชอน (ซัวะจี้) เป็ นอุปกรณ์ที่มง้ ใช้ในการกรองข้าวหรื อใช้ในการกรองนํ้ามันต่างๆเช่ น นํ้ามันหมูเป็ นต้น เป็ นอุปกรณ์ ที่ทาํ จากไม้ไผ่วิธีการประดิษฐ์ คือ นําไม้ไผ่มีขนาดหนา 3-5 ซ.ม เพื่อ ประกอบกันเป็ นวงกลมแล้วนําไม้ไผ่ที่มีความหนา 2-3 ซม.มาทําเป็ นเส้นที่วางอยูใ่ นแนวตั้ง จากนั้น นําไม้ไผ่ที่มีขนาดของเส้นเล็กหนา 1 ซม. เพื่อใช้เป็ นตัวสาน ตามขวางถ้าเส้นไม้ไผ่หมดก็สามารถที่ ต่อตามรอยเดิมได้ซวั ะจี้หรื อกระชอนนี้ ม้งจะประดิษฐ์เพื่อใช้งานในการหุ งข้าว กับการกรองนํ้ามัน หมูเป็ นต้น หม้ อข้ าว หม้อข้าว (จู่) เป็ นอุปกรณ์ มง้ ที่ใช้ในการหุ งข้าว ใช้สําหรับครอบครัวที่มีสมาชิ กครอบครัว หลายสิ บคน หม้อข้าว (จู่) ทํามาจากไม้ไผ่วธิ ี การประดิษฐ์ คือ จะนําไม้ไผ่ที่เรี ยบมาไว้ขา้ งใน จากนั้น ก็จะนํา ไม้ไ ผ่ที่ จะสานไว้ข ้า งนอกจากนั้นเริ่ ม สานข้า งนอกก่ อน แล้วนําไม้ไ ผ่ที่ เรี ย บ เป็ นชิ้ นมา ประกอบไว้ขา้ งใน


149

ภาพ 68 แสดงหม้อข้าว ขัน

ภาพ 69 แสดงขัน ขัน (ฝึ๋ กเต้า) เป็ นอุปกรณ์ที่มง้ ใช้ในการตักข้าวขณะหุ งอยูแ่ ละใช้ตกั นํ้านอกจากนี้ แล้วยังจะ ใช้ตกั อาหารให้กบั สัตว์เลี้ยงด้วย ตัวขันทํามาจากนํ้าเต้า วิธีการประกอบคือ นําฝึ กเต้า ที่แก่เต็มมาตัด หรื อแบ่งเป็ นสองข้างแล้ว ขุดเมล็ดที่อยูข่ า้ งในออกให้เรี ยบร้อย เพื่อความสะอาดและสามารถใช้งาน ได้จากนั้นก็จะนําไปผิงไฟไว้เพื่อให้แห้งเต็มที่อีกครั้งหนึ่ง ผิงไว้1-2อาทิตย์ก็สามารถนํามาใช้ได้เลย


150

กระทะ

ภาพ 70 แสดงกระทะ กระทะ (เยีย) เยียเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ทาํ กับข้าว ใช้ในเวลาทอด หรื อคัว่ ส่ วนใหญ่จะใช้ในการ ต้มอาหารให้สัตว์เลี้ ยง แต่จะไม่ใช้ร่วมกับการต้มอาหารให้กบั คน เพราะม้งถื อว่าสัตว์เป็ นสัตว์ที่ สกปรก ฉะนั้นจะใช้เยียแยกกัน หม้ อเล็ก หม้อเล็ก (เล่าเก๋ ว) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการหุ งข้าวใช้สาํ หรับครอบครัวขนาดเล็ก การหุ งคือ

ภาพ 71 แสดงหม้อ

เล็ก


151

จะนํานํ้ามาต้มให้เดื อดแล้วนําข้าวสารที่ลา้ งเรี ยบร้อยมาเทลงไปในหม้อเล็ก รอให้น้ าํ เดื อดและข้าว นวลมือก็จะ เทนํ้าออก นําหม้อพิงไฟไว้ขา้ ง ๆ กองไฟ หม้ อตาข้ าว

ภาพ 72 แสดงหม้อตําข้าว หม้อตําขนมม้ง (ดั้งจัว่ ) เป็ นอุปกรณ์ ที่ใช้ในการตําขนมม้ง วิธีการทําหม้อตําขนมม้งคือ หา ท่อนไม้ที่มีขนาดที่ใหญ่มาก จากนั้นนําท่อนไม้มาผ่าครึ่ งแล้วทําการเจาะ ให้เป็ นรู ป สี่ เหลี่ ยมหรื อ สี่ เหลี่ยมผืนผ้าก็ได้จากนั้นก็จะนําไปแช่น้ าํ 1 วันหลังจากแช่น้ าํ เสร็ จสามารถนํามาใช้ได้เลย วิธีการทํา ขนมม้ง คือ จะนําข้าวเหนียวที่หุงให้สุกเรี ยบร้ อยแล้ว นํามาเทลงไปในหม้อ ดั้งจัว่ จากนั้นก็จะนําไม้ มาตําให้ขา้ วเหนียวเหลว จากนั้นก็นาํ กระด้ง (ว้าง) มารอง ไว้ขา้ งๆหม้อ (ดั้งจัว่ ) เพื่อที่จะนําขนมออก จากดั้งจัว่ แล้วนําไข่แดงมาทากระด้ง(ว้าง) ให้เรี ยบร้ อย ก่ อนที่จะนําขนมลงจากกระด้งเพื่อไม่ให้ ขนมติดกระด้ง(ว้าง) จากนั้นดึงข้าวเหนี ยวที่ตาํ แล้ว มาเป็ นก้อนๆ แล้วเอาใบกล้วยมาห่ อไว้เป็ นลูกๆ เก็บไว้กินนานๆ ปั จจุบนั นี้การทําขนมจากดัง๊ จัว่ ยังมีและจะทําในเทศกาลปี ใหม่เท่านั้น


152

การรีดนา้ อ้อย

ภาพ 73 แสดงหม้อตําข้าว เครื่ องรี ดนํ้าอ้อย เป็ นอุปกรณ์ ที่ใช้ในการรี ดนํ้าอ้อย ซึ่ งเป็ นอุปกรณ์ ที่ทาํ มาจากไม้วิธีการ ประดิ ษฐ์จะนําเสาไม้2 ต้นมาฝั งในพื้นที่ ๆต้องการ จากนั้นนําแผ่นไม้สองแผ่นมาเจาะรู เพื่อที่ จะ นําเข้าประกบกับเสาไม้ทีต้ งั ไว้ระหว่างแผ่นไม้สองแผ่นนั้นจะมี แผ่นเหล็กที่ สามารถเคลื่ อนที่ได้ แผ่นไม้ที่อยู่ดา้ นบนเจาะรู แล้วนําท่อนเหล็กที่มีขนาดใหญ่มาวาง ไว้ด้านบน และล็อคเอาซึ่ งท่อน เหล็กสามารถที่จะเคลื่ อนที่ได้เพราะทุกครั้งที่จะมีการรี ด นํ้าอ้อยนั้นจะมีคนอยู่2คนที่เป็ นคนหมุน ท่อนเหล็กด้านบนเพื่อบังคับให้แผ่นไม้หรื อแผ่น เหล็กที่อยูใ่ นช่องกลาง มีการเคลื่อนที่ เพื่อหนีบอ้อยให้น้ าํ ออก ซุ้ มไก่ ซุ ้มไก่ (เต้อะคาร์ ) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนไก่ซ่ ึ งทําจากไม้ไผ่วิธีการทําคือจะนําไม่ไผ่มา ผ่าเป็ นซี กๆ แล้วเหลาให้เรี ยบร้อย เพื่อมิให้ซีกไม้ไผ่บาดมือ จากนั้นจะนําไม้ไผ่ที่ มีขนาดให็ไว้เป็ น สัน หรื อเป็ นรู ปทรงไว้จากนั้นนําไม้ไผ่ที่บางกว่ามาสานตามรู ปทรงที่ เตรี ยมไว้เวลาสานให้สลับสี ของไม้ไผ่รูปทรงจะมีสีสันที่สวยงาม เมื่อสานได้แล้วจะ ทําประตูให้กบั ซุ ้มไก่เพื่อใช้สําหรับปิ ดเปิ ด ไม่ให้ไก่ออกจากซุ ม้ ไก่ได้และสามารถที่ จะนําเคลื่อนที่ได้อีก


153

ภาพ 74 แสดงซุ ม้ ไก่ เครื่องโม่ ข้าว

ภาพ 75 แสดงเครื่ องโม่ขา้ ว เครื่ องโม่ขา้ วโพด (แยะ-yeb) เป็ นอุปกรณ์ที่มง้ ใช้ในการโม้ขา้ วโพดให้มีขนาดเล็กลง เพื่อใช้ เป็ นอาหารให้กบั สัตว์เลี้ยง ลักษณะของอุปกรณ์เครื่ องโม่(แยะ) จะทําจากหิ นอัคนี ที่มีความแข็งแรง มาก ตัดให้เป็ นรู ปทรงกลม 2 ข้างไว้ทบั กัน ส่ วนข้างที่อยูข่ า้ งบนจะเจาะรู ตรงกลาง ของหิ นทรงกลม และด้านข้างของหิ นจะทําเป็ นที่จบั แต่ตอ้ งเจาะรู เพื่อที่ใส่ ดา้ มให้เพื่อจะได้หมุนเวลาโม่ขา้ วโพดต่างๆ หรื อว่าจะเป็ นเมล็ดพันธุ์อย่างอื่นที่ตอ้ งการรู


154

ครกกระเดื่อง

ภาพ 76 แสดงครกกระเดื่อง ครกกระเดื่ อง (จู่ -cug) เป็ นอุ ปกรณ์ ของม้งที่ใ ช้ใ นการตําข้าวเปลื อกไว้สําหรับบริ โภค ลักษณะของอุปกรณ์มีดงั นี้ จู่ทาํ จากท่อนไม้ที่มีขนาดใหญ่โดยเจาะรู ให้มีขนาดใหญ่แต่ตอ้ งไม่ให้รั่ว แล้วฝังไว้ในบ้านหรื อนอกตัวบ้านก็ได้แล้วจะทําเสาไว้ยึด แล้วนําท่อนไม้อีกท่อนหนึ่ งที่มีขนาดเล็ก ลง ที่มีลกั ษณะเป็ นรู ปตัวทีเพื่อที่จะใช้ในการเหยียบ วัฒนธรรมทางด้ านความเชื่อและขนบธรรมเนียมปฏิบัติ ชาวม้งมีการนับถื อวิญญาณบรรพบุรุษ สิ่ งศักดิ์ สิทธิ์ เกี่ ยวกับธรรมชาติส่ิ งแวดล้อมที่อยู่บน ฟ้ า ในลํานํ้า ประจําต้นไม้ ภูเขา ไร่ นา ฯลฯ ชาวม้งจะต้องเซ่ นสังเวยสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ต่าง ๆ เหล่านี้ ปีละ ครั้ง โดยเชื่ อว่าพิธีไสยศาสตร์ เหล่านี้ จะช่วยให้วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องและทําการรักษาได้ผล เพราะ ความเจ็บป่ วยทั้งหลาย ล้วนแต่เป็ นผลมาจากการผิดผี ทําให้ผีเดือดดาลมาแก้แค้นลงโทษให้เจ็บป่ วย จึงต้องใช้วธิ ี จดั การกับผีให้คนไข้หายจากโรค หากว่าคนทรงเจ้ารายงานว่าคนไข้ที่ลม้ ป่ วยเพราะขวัญ หนี ก็จะต้องทําพิธีเรี ยกขวัญกลับเข้าสู่ ร่างของบุคคลนั้น แต่การที่จะเรี ยกขวัญกลับมานั้น จะต้องมี พิธีกรรมในการปฏิ บตั ิมากมาย บางครั้งบางพิธีกรรมก็มีความยุ่งยากในการปฏิบตั ิ แต่มง้ ก็ไม่ยอ่ ท้อ ต่ออุปสรรคเหล่านั้น ม้งเชื่ อว่าการที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง โดยไม่มีโรคภัยมาเบียดเบียน นัน่ คือ ความสุ ขอันยิง่ ใหญ่ของม้ง


155

ภาพ 77 แสดงพิธีกรรมในวันปี ใหม่มง้ ม้งจึงต้องทําทุกอย่างเพื่อเป็ นการรักษาให้หาย จากโรคเหล่านั้น ซึ่ งพิธีกรรมในการรักษา โรคของม้งนั้นมีอยู่หลายแบบ ซึ่ งแต่ละแบบก็รักษาโรคแต่ละโรค แตกต่างกันออกไป การที่จะทํา พิธีกรรมการรักษาได้น้ นั ต้องดูอาการของผูป้ ่ วยว่าอาการเป็ นเช่นไร แล้วจึงจะเลือกวิธีการรักษาโดย วิธีใดถึงจะถูกต้อง ในอดี ตวิถีชีวิตของม้งได้รับการสื บทอดวิธีปฏิ บตั ิบูชาเพื่อการรักษาโรคภัยต่าง ๆ มาจาก บรรพชน สามารถที่จะขับผีร้ายที่เข้า สิ งสู่ อยู่ในร่ างของผูป้ ่ วยได้และได้มีนิยายปราบปรามเกี่ ยวกับ การรักษาโรคของม้งดังนี้ นานมาแล้วได้มีเรื่ องเล่าว่า มีหมอผีคนหนึ่ งชื่ อ “ ฉี ยี” แปลว่า หมอผูท้ รง วิทยาคุ ณ อยู่มาวันหนึ่ งหมอฉี ยีได้ผ่านมาพบไข่พญานาคอยูท่ ี่เชิ งผา หมอฉี ยีได้ทุบไข่พญานาคให้ แตกเรี ยบร้อย แล้วหมอฉี ยไี ด้กลับบ้านพอผ่านไปได้สามวัน หมอฉี ยีได้กลับมาดูไข่พญานาคอีกครั้ง แต่พบว่าไข่พญานาคกลับคืนสภาพเหมือนเดิ ม จากนั้นหมอฉี ยีได้ทุบไข่พญานาคให้แตกเรี ยบร้ อย ทุกใบแล้วก็กลับบ้าน พอผ่านไปหนึ่ งวันก็กลับมาดูไข่พญานาคอีก แต่พบว่าไข่ที่ทุบเรี ยบร้ อยนั้น กลับมาในสภาพเดิมอีก หมอฉียจี ึงได้สงสัยมาก จึงได้ตดั สิ นใจทุบไข่พญานาคอีกครั้ง แล้วหาที่หลบ ซ่ อนเพื่อดูความเปลี่ ยนแปลงของพญานาคอีกครั้ง พอเวลาผ่าน ไปได้สักพักหนึ่ ง แม่พญานาคได้ กลับมาพบว่าไข่ของตนเองได้แตกเรี ยบร้อยหมดแล้ว แม่พญานาคจึงตรงไปที่หน้าผาแล้ว เด็ดต้นยา


156

ต้นหนึ่ งจากหน้าผามาเคี้ยวแล้วถ่มไข่ที่แตก ถ่มครั้งแรกไข่ก็ดีข้ ึนมานิ ดหนึ่ ง ถ่มครั้งที่สองไข่ก็ดีข้ ึน อีก ถ่มครั้งที่สามไข่ก็กลับมาสภาพดีเหมือนเดิม จากนั้นหมอฉี ยีได้นงั่ รอจนกว่าแม่พญานาคจากไป จึงได้เอาหิ นทุบไข่ให้แตกเรี ยบร้ อย แล้วปี นหน้าผาเอาต้นยานั้นกลับไปดูแลที่บา้ น เมื่อเวลาผ่านไป สองวันหมอฉี ยีได้กลับมา ดู ไข่ที่ตนเองทุบไว้แต่เห็ นว่าไข่ที่ตนทุ บไว้น้ นั เน่ าเสี ยเรี ยบร้ อยไปแล้ว หมอฉี ยีได้กลับบ้านมาดู แลต้นยาให้ดีและคนใน หมู่บา้ นที่ลม้ ป่ วยหมอฉี ยีได้ทาํ การรักษาจนหาย เจ็บป่ วย ส่ วนคนที่ตายก็สามารถพื้นขึ้นมา จากนั้นหมอฉี ยีได้มีชื่อเสี ยงโด่งดังมาก มีคนรู ้จกั ไปทัว่ หมอฉี ยีได้ต้ งั ชื่ อต้นยานั้นว่า “ กัว๊ มั้วจัว๊ ” ต่อมาผีนรกหรื อผีด๊า จึงเห็ นว่าหมอฉี ยีมีความสามารถ เกินไป จึงได้ส่งผีนรกหรื อผีด๊า จํานวน 7 ตน มากินคนในหมู่ บ้านนั้น จากนั้นหมู่น้ นั ก็ได้มีคนตาย มาก จนทําให้หมอฉี ยีฉียีรักษาไม่ทนั จนกระทัง่ ในวันหนึ่ งหมอฉี ยีได้พบกับผีด๊า หรื อผีนรกนั้น จึง ได้คิดกลอุบายในการล่อฆ่าผีด๊าเหล่านั้น หมอฉี ยกี บั ผีด๊าทั้ง 7 ตน ได้มาต่อลองกันส่ วนหมอฉี ยีได้ต่อ ว่าผีท้ งั 7 ตน ว่าเพราะผีท้ งั 7 ทําให้ตน รักษาคนไม่ทนั และให้ผีท้ งั 7 กางแขนข้างหนึ่งออกหมอฉี ยี ได้กม้ มองดูที่ใต้รักแร้ของผีหมอฉี ยไี ด้เห็นว่า คนที่ตายมีเยอะมาก ดังนั้นหมอฉี ยไี ด้ต่อว่าพวกผีด๊า หรื อผีนรกเหล่านั้น ส่ วนผีท้ งั 7 ตนก็ได้บอกให้หมอฉี ยีกาง แขนออกข้างหนึ่ งแล้วก้มที่ใต้รักแร้ของหมอฉี ยีแล้วพบว่ามีหมูเป็ ดไก่ที่เซ่ นไหว้มีมากมาย หมอฉี ยี ได้วางแผนในการล่อผีด๊า 7 ตนนั้น ว่าพวกแกจะกิ นคนก็ได้แต่ขอให้พากันไปยืนตรงที่เชิ งผา และ ฉันจะยืนอยู่ตรงนี้ พ่นยาใส่ พวกแก ถ้าฉันโงนเงนล้มลง เป็ นอันว่าฉันแพ้จะให้ผีด๊ากิ นคนให้หมด โลกเลย แต่ถา้ ฉันไม่ลม้ พวกแกก็จะต้องหยุดกิ นคนทันทีเมื่อหมอฉี ยีได้หลอก ให้ผีด๊ายืนที่หน้าผา แล้วหมอฉี ยไี ด้พน่ ยาให้ผดี ๊าครั้งแรก หมอฉี ยกี ็แกล้งทําเป็ นจะล้มผีด๊าก็หวั เราะชอบใจ พอครั้งที่ สอง เค้าก็ทาํ เหมื อนเดิ ม ผีด๊าหัวเราะชอบใจนึ กว่าฉี ยีตอ้ งแพ้แน่ นอน พอพ่นครั้ งที่ สามผีด๊าทั้ง 7 ตนก็ กลายเป็ นหิ น หมดเลย จากนั้นหมู่บา้ นได้สงบอีกครั้ง เมื่อเวลาผ่านไปสองวันเมียของผีด๊าทั้ง 7 คนไม่เห็นสามีตวั เองกลับมาจึงได้ข้ ึนมาในยมโลก และหลอกล่อ ฉี ยีให้ไปรักษา หรื ออัว๊ เน้งที่ เมืองผีและเมียผีจึงได้แอบมาเอาชี วิตของลูกชายคนโต ของฉี ยีไปฆ่าเป็ นหมูเพื่อจะใช้ในการรักษาสามีตวั เอง (ม้งมีความเชื่ อว่า เมื่อคนที่ตายไปแล้วไปถึ ง เมืองผีจะกลายเป็ นสัตว์ทนั ที) ดังนั้นสัตว์ที่เมียของผีท้ งั 7 ตนเอามาให้หมอฉี ยีรักษา หรื ออัว๊ เน้ง พอ เสร็ จ สิ้ นพิ ธี ก ารรั ก ษาแล้ว เมี ย ผีท้ งั 7 ตน จึ ง ได้ต ัก หมู ที่ นํา มารั ก ษาให้ห มอฉี ยีกิ น แต่ ห มอฉี ยี มี ความรู ้ สึกแปลก ๆ แต่ก็ตอ้ งยอมตักเอาตับ (เชี้ ย) มาหนึ่ งชิ้ นแล้วกิ นเรี ยบร้อยทันใดนั้น จื้อเน้ง หรื อ เครื่ องมือที่ใช้ในการอัว๊ เน้ง หรื อทําผีก็หมุนกลิ้งลงมาสู่ โลกฉี ยีจึงรี บติดตามมาพอมาถึงบนโลกนี้ ได้ รู ้วา่ ลูกชายของตนเองตายเสี ยแล้ว และเห็นญาติได้ทาํ พิธีศพกัน หมอฉี ยีโกรธมากจึงได้นาํ ยามาพ่น


157

ใส่ ลูกชายหนึ่ งครั้ง สภาพสี เนื้ อก็ดีข้ ึนพ่นครั้งที่สองก็ดีข้ ึนพ่นครั้งที่สามแล้ว ลูกชายก็ฟ้ื นขึ้นมา แต่ ด้วยว่าหมอฉี ยไี ด้กินหัวใจไปข้างหนึ่งแล้ว จึงทําให้ลูกชายเจ็บปวดมาก ลูกชายบอกให้หมอฉี ยีรักษา ตนเองให้หายดี กว่านี้ แล้วหมอฉี ยีจึงได้พ่นยาใส่ ลูกชายอีกครั้ง ทําให้สภาพเนื้ อของลูกชายอืดขึ้ น บวมขึ้น พ่นครั้งที่สองก็เริ่ มเน่า พ่นครั้งที่สามร่ างของลูกชายเน่าจึงไม่สามารถรักษาได้หมอฉี ยีเสี ยใจ มาก จนอยากจะตามลูกชายไปในเมืองผีเขาจึงบอกว่าทุกคนว่าเขาจะไม่เอาเครื่ องอัว๊ เน้งไป ถ้ามีใคร อยากเรี ยนก็มาเรี ยนจากเขา ข่าวนี้ แพร่ กระจายออกไปทัว่ แต่ก็ไม่มีใครอยากเรี ยน จนกระทัง่ มีคน หนึ่ งอยากจะเรี ยนอัว๊ เน้ง แต่บา้ นอยู่ไกลมาก กว่าจะมาถึ งบ้านหมอฉี ยีหมอฉี ยีก็ตายแล้ว แต่ก่อน หมอฉี ยีจะตาย หมอฉี ยีได้ฝากบอกว่ารอไม่ไหว แล้ว หมอฉี ยีจะไปอุจจาระไว้บนภูเขา ถ้าใครมา เรี ยนก็ให้ไปกินกองอุจจาระของหมอฉี ยเี พราะอุจจาระของหมอฉี ยีน้ นั จะเป็ นตําราวิเศษที่ผเู ้ รี ยนเมื่อ กินเข้าไปแล้ว จะสามารถเรี ยนรู ้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ของม้งได้ก่อนที่หมอฉี ยีจะตาย ได้ส่ังไว้ว่า ต้องกิ นกองอุจจาระนั้นให้หมด จึงจะมีความรู ้ ความสามารถทัดเทียมกับหมอฉี ยี ดังนั้นเมื่อชายที่ ต้องการเรี ยนมาถึงบ้านฉี ยกี ็ได้เห็นเขาจัดงานศพให้หมอฉี ยไี ปแล้ว และได้ถามเจ้าของบ้านว่า หมอฉี ยีได้ส่ัง หรื อฝากอะไรให้หรื อเปล่า เจ้าของบ้านจึงบอกว่า ฉี ยไี ด้ฝากกองอุจจาระให้ไปกิน พอชายคน นั้นได้ฟังดังนั้น จึงขึ้นไปบนภูเขาแล้วเห็นกอง อุจจาระของหมอฉี ยีทิ้งไว้กองอุจจาระกองใหญ่มาก มีหนอนไต่อีกทําให้ชายคนนั้นไม่กล้าที่จะไปกินอุจจาระนั้น คิดอยูน่ านมากจึงตัดสิ นใจเอามือแตะ นิ ดหนึ่ งขึ้นมากิน แล้วกองอุจจาระนั้นก็กลายมีขนาดเล็กมาก จากนั้นอุจจาระก็หายไป ชายคนนั้นก็ ได้กลับบ้าน และก็ได้เป็ นหมอผีที่มีความสามารถในการทําผีหรื ออัว๊ เน้ง รักษาคนป่ วยให้หาย แต่ไม่ ทัดเทียมกับหมอฉี ยชี ายคนดังกล่าวเป็ นได้แค่อว๊ั เน้งอย่างเดียว ส่ วนต้นยานั้นไม่รู้จึงรักษาคนป่ วยได้ บ้างไม่ได้บา้ ง 1.ความเชื่อเรื่องผี เป็ นสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ที่มีอาํ นาจเหนื อธรรมชาติ มีลกั ษณะเหมือนมนุ ษย์แต่มีอาํ นาจเหนื อกว่าซึ่ ง สามารถให้ท้ งั คุณและโทษแก่ มนุ ษย์ได้ ผีในวัฒนธรรมม้งสามารถแบ่งออกได้เป็ น ๒ ประเภท ฝ่ าย ดี และฝ่ ายร้ า ย ฝ่ ายดี เป็ นผีประจํา เสากลางในบ้านของชาวม้ง ทําหน้าที่ ปกป้ อง คุ ม้ ครองคนใน ครัวเรื อน ผีบรรพบุรุษ มีหิ้งติดฝาผนังบ้านเป็ นที่อยูอ่ าศัย ผีแห่ งความรํ่ารวยและทรัพย์สมบัติ อาศัย อยู่ที่แผ่นกระดาษติดฝาผนัง ใกล้กบั หิ้ งผีบรรพบุรุษ ผีประตูทาํ หน้าที่ปกป้ องของครอบครัว และผี เตาไฟใหญ่ และเตาไฟเล็ก มี หน้าที่ ปกป้ องคุ ม้ ครองคนในครัวเรื อน จะเห็ นได้ว่า "ผี" ที่ให้คุณแก่ มนุ ษย์ เป็ นผีที่อาศัยอยู่ในบ้านของชาวม้ง อย่างไรก็ดีผีที่ให้คุณดังกล่าวจะให้โทษแก่มนุ ษย์ได้ ถ้า หากมนุ ษย์ไปลบหลู่หรื อขาดการเอาใจใส่ ในการให้เครื่ องเซ่ นแก่ผีเหล่านั้น การเซ่ นสังเวยมักจะใช้


158

หมูหรื อไก่แล้วแต่กรณี ส่ วน "ผี" ฝ่ ายร้ ายได้แก่ ผีที่อยู่ตามป่ าเขาเป็ นผีที่ดุร้ายและมักก่อให้เกิ ดภัย พิบตั ิแก่มนุษย์ 2. ความเชื่อเรื่องขวัญ ขวัญเป็ นสิ่ งเหนือธรรมชาติอย่างหนึ่ งแต่ไม่ได้มีลกั ษณะ เหมือนมนุ ษย์อย่างฝ่ ายดีและผีฝ่าย ร้ า ย ชาวม้ง เชื่ อว่า ขวัญ อยู่ใ น ร่ า งกายของมนุ ษ ย์ต้ งั แต่ ๔-๙ แห่ ง แล้ว แต่ ค วามเชื่ อถื อ เมื่ อ ขวัญ บางส่ วนออกไปจากร่ างกายมนุ ษย์จะทําให้ มนุ ษย์เกิ ดการเจ็บป่ วย การตายของมนุ ษย์แสดงว่าขวัญ ออกไปจากร่ างกายทั้งหมด ดังนั้นมนุ ษย์จึงต้องระวัง มิให้ขวัญเกิ ดการตกใจ ซึ่ งจะทําให้ขวัญหนี ออกไปจากร่ างกายของมนุษย์ จึงมีการบํารุ งรักษาขวัญ หรื อมัดขวัญอยูส่ มํ่าเสมอ และมีพิธีเรี ยกขวัญ กลับมา ถ้าเข้าใจว่าขวัญหนี ออกไปจากร่ างกาย ผูท้ าํ หน้าที่เชื่ อมโยงระหว่างมนุ ษย์กบั อํานาจเหนื อ ธรรมชาติ ได้แก่ หมอผี เมื่อชาวม้งเกิ ดการเจ็บป่ วยหรื อประสบภัยพิบตั ิ ต่างๆ หมอผีจะทําหน้าที่ ตรวจสอบว่า เกิ ดจากการกระทําของผีชนิ ดไหนหรื อสาเหตุของการป่ วยไข้ ทั้งนี้ อาจจะกระทําได้ โดยการใช้ไม้คู่เสี่ ยงทาย หรื อประกอบพิธีติดต่อกับผี หรื อหาวิธีบรรเทาอาการเจ็บป่ วยหรื อภัยพิบตั ิ ต่างๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ชาวม้งไม่ได้พิจารณาว่าอาการเจ็บป่ วยหรื อปรากฏการณ์ต่างๆ ว่าเกิ ด จากการกระทําของอํานาจเหนื อธรรมชาติแต่อย่างเดี ยว ดังนั้น ในการรักษาความเจ็บป่ วยนอกจาก การใช้หมอผีแล้วยังอาจจะใช้หมอยาก็ได้ หมอยานี้ มิได้เป็ นผูท้ าํ หน้าที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อกับผี แต่เป็ นผูท้ ี่มีความชํานาญในการใช้ยากลางบ้านหรื อสมุนไพร 3. ความเชื่อเรื่องชีวติ หลังความตาย ม้งถือว่าเค่งเป็ นเครื่ องดนตรี ที่สําคัญที่สุด โดยเชื่ อว่าสามารถสื่ อสารกับวิญญาณได้ ใช้เป่ า ในพิธีกรรมทางความเชื่ อ ได้แก่ ความเชื่ อเรื่ องชี วิตหลังความตาย จึงมี พิธีศพถื อว่าเป็ นพิธีสําคัญ ที่สุด ความเชื่ อในเรื่ องการปกป้ องรักษา จึ งมี พิธีซ้ื อ ความเชื่ อเรื่ องการเกิ ดใหม่จึงมีพิธี "ตจอผลี่ " ความเชื่อเรื่ องลางบอกเหตุร้าย จึงมีพิธีทาํ บุญฆ่าวัวให้วิญญาณผูต้ าย มีเพลงเป่ าในเวลาเช้า เที่ยงและ เย็น ห้ามเป่ าปนกันหรื อเป่ าเล่น ห้ามสตรี เป่ าเค่งในงานศพ ใช้เค่งเป่ าเพื่อความบันเทิง การเกี้ยวพา ราสี เป็ นเพื่อนขณะเดินทางและในวาระพิเศษต่างๆได้ ม้งถือว่าพระแม่เจ้าคือบรมครู ทางวิชาเป่ าเค่ง เค่งเป็ นเครื่ องดนตรี ตระกูลเครื่ องลม (Aerophones) ลิ้นเดียว (Single Reed) ระบบเสี ยงของเค่งมี 6 เสี ยง จากการวิเคราะห์ระบบเสี ยงเค่งทั้ง 12 ขนาด พบว่า ค่าความยาวโดยเปรี ยบเทียบเสี ยงแต่ละท่อ ของเค่งทั้ง 12 ขนาด มีความยืดหยุน่ ไม่คงที่ เสี ยงเค่งทั้งหมดมี 6 เสี ยง มีลกั ษณะคล้ายกับบันไดเสี ยง สากลแบบ 5 เสี ยง (Pentatonic)โดยมีเสี ยงที่ 1 กับเสี ยงที่ 6 ห่ างกัน 1 Octave ปั จจุบนั เค่ง เป็ นเครื่ อง ดนตรี ที่ยงั คงรักษาระบบเสี ยงแบบดั้งเดิมไว้ไม่เปลี่ ยนแปลง ถึ งแม้ว่าชี วิตประจําวันของนายเล่าต๋ า


159

แซ่เฒ่า จะคลุกคลีกบั สังคมโลกสมัยใหม่ที่มีการตั้งเสี ยงดนตรี อย่างสากล แบบ Equal Temperament ก็ตาม 4. การเกิด ในอดี ตม้งมีความเชื่ อว่า การตั้งครรภ์เกิ ดจากผีพ่อผีแม่ให้เด็กมาเกิ ด เวลาใกล้คลอดหญิงมี ครรภ์จะไม่ไปไหนมาไหนโดยลําพัง จะต้องมีเพื่อนไปด้วยอย่างน้อย 1 คน การคลอดบุตรเป็ นไป ตามธรรมชาติ โดยหญิงตั้งครรภ์จะนัง่ อยูบ่ นม้านัง่ ขนาดเล็กหน้าห้องนอน เอนตัวพิงสามี ปิ ดประตู บ้านห้ามเด็กเข้าไปยุง่ ในบ้าน หลังจากคลอดเสร็ จจะทําความสะอาดเด็ก ตัดรกด้วยกรรไกร ถ้าเป็ น เด็กชายจะนํารกไปฝังไว้ที่เสากลางบ้าน ซึ่ งเป็ นเสาที่มีผเี สาสถิตอยู่ เพราะเด็กผูช้ ายควรจะรู ้เรื่ องผีถา้ บุตรเป็ นหญิงจะฝังรกไว้ใต้แคร่ นอนของมารดา เพราะต้องการให้ลูกสาวรู ้จกั รักนวลสงวนตัว และ รู ้จกั การบ้านการเรื อน เด็กที่เกิดได้ 3 วัน บิดาจะทําพิธีต้ งั ชื่อ โดยต้องนําไก่มาเซ่ นไหว้ผีบรรพบุรุษ 2 ตัว และขอบคุ ณผีพ่อผีแม่ที่ ส่ง เด็ก มาเกิ ด พร้ อมทั้ง บอกผีบ ้านขอให้คุม้ ครองเด็ก และรั บไว้เป็ น สมาชิ กของครอบครัวของวงศ์ตระกูล ม้งเชื่ อว่าถ้าเด็กที่เกิดมายังไม่ครบ 3 วัน ยังไม่เป็ นมนุ ษย์หรื อ ยังเป็ นลูกผีอยูจ่ ึงยังไม่ต้ งั ชื่อให้หากเด็กนั้นตายลงจะไม่ทาํ บุญศพให้ตามประเพณี และสามารถนําไป ฝังได้เลย ในปั จจุบนั นี้ มง้ ที่เป็ นผูเ้ ฒ่า ผูใ้ หญ่บางคนยังมีความเชื่ อนี้ อยู่ แต่มง้ ที่ได้รับการศึกษา จะไม่ ค่อยมีความเชื่ อเช่ นนี้ แต่เด็ก หรื อบุตรที่เกิ ดมาจะต้องมีการทําพิธีตามประเพณี ของม้งทุกประการ ส่ ว นการเกิ ด ในปั จ จุ บ ัน นี้ ส่ ว นใหญ่ จ ะไปคลอดที่ โ รงพยาบาลเท่ า นั้น ม้ง จะไม่ ค ลอดเองตาม ธรรมชาติเนื่องจากเกรงว่าอาจจะเกิดอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์ได้ดว้ ย 5.การตาย ม้งเชื่อว่าพิธีศพที่ครบถ้วนถูกต้อง จึงจะส่ งวิญญาณผูต้ ายไปสู่ สุคติและควรที่จะตายในบ้าน ของตน หรื อบ้า นญาติ ก็ ยงั ดี เมื่ อทราบแน่ ชัดว่า บุ คคลนั้นใกล้สีย ชี วิตแล้ว บรรดาญาติ ส นิ ทจะมา ชุ มนุ มพร้ อมเพียงกัน เพื่อที่จะได้มาดูแลคนที่ใกล้จะเสี ยชี วิต ม้งมีความเชื่ อว่าการตายในบ้านของ ตนเองนั้น เป็ นผูม้ ีบุญมาก เพราะได้เห็ นลูกหลานของตนเองก่อนตาย ผูต้ ายจะได้นอนตายตาหลับ พร้ อมกับหมดห่ วงทุ กอย่าง เมื่ อแน่ ใจว่าสิ้ นลมหายใจแล้ว ญาติ จะยิงปื นขึ้ นไปบนฟ้ า 3 นัด เป็ น สัญญาณบอกว่ามีการตายเกิ ดขึ้ นในบ้านหลังนั้น ชาวบ้าน หรื อญาติ ใกล้เคียงจะมาช่ วยกันจัดงาน ให้กบั ผูต้ าย โดยอาบนํ้าให้ศพก่อน จากนั้นก็จะแต่งกายให้ศพด้วยเสื้ อผ้าที่ลูกหลานได้เตรี ยมไว้ให้ ก่อนตาย ซึ่ งเป็ นผ้าปั กด้วยลวดลายงดงาม มีผา้ รองศีรษะต่างหมอน หากว่าเป็ นผูช้ ายจะมีผา้ คาดเอว หรื อปกเสื้ อ หากว่าเป็ นผูห้ ญิงบริ เวณใบหน้าจะคลุมด้วยผ้าแดง เพื่อไม่ให้ผตู ้ ายต้องตากหน้าต่อหน้า ธารกํานัล ผูช้ ายจะให้แต่งกายด้วยเครื่ องแต่งกายของผูห้ ญิง ส่ วนผูต้ ายที่ เป็ นผูห้ ญิงจะให้แต่งกาย


160

ด้วยเครื่ องแต่งกายของผูช้ าย แล้วนําศพไปวางนอนขนานกับฝาผนังซึ่ งอยูต่ รงกันข้าม กับประตูบา้ น ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความเชื่อของแต่ละนามสกุลที่แตกต่างกันออกไป จะมีการผูกข้อมือญาติทุกคนด้วยผ้า สี แดง ห้ามแกะออกจนกว่าจะเสร็ จงานศพ บางแซ่จะมีการคาดศีรษะด้วยผ้าสี ขาว ดังเช่น พิธีศพของ ชาวจี นชาวม้งเชื่ อว่าเมื่อมีเด็ก หรื อใครก็ตามที่หกล้มบริ เวณบ้านของผูต้ าย ให้รีบทําพิธีเรี ยกขวัญ บุคคลนั้นกลับมา มิฉะนั้นวิญญาณของผูต้ ายจะนําวิญญาณของผูห้ กล้มไปด้วย ชาวม้งมีความเชื่ อว่าระหว่างการเดิ นทางไปยังปรโลก วิญญาณของผูต้ ายอาจถูกรั้งไว้ดว้ ย การปอกหัวหอมในชั้นปรโลก ทําให้เดิ นทางไปเกิดได้ชา้ ลง ดังนั้นชาวม้งจึงนิ ยมพันนิ้ วมือศพด้วย ด้ายสี แดง เพื่อให้วิญญาณสามารถอ้างได้วา่ เจ็บนิ้วไม่สามารถปอกหอมได้รวมทั้งมีการสวมรองเท้า ให้ศพ ตามความเชื่ อที่วา่ วิญญาณจะต้องเดินทางฝ่ าดงบุง้ ยักษ์ซ่ ึ งศพจะถูกจัดวางบนแคร่ หามสู งจาก พื้นประมาณ 1 เมตร ตั้งบนพื้นใกล้ศาลพระภูมิหรื อศาลบรรพชน ภาษาม้งเรี ยกว่า "สื อ ก๋ าง-xwm kaab" รอให้ญาติมารวมกันครบ ระหว่างรอญาติเดิ นทางมา จะมีการตั้งข้าวให้ศพ วันละ 3 เวลา แต่ ละครั้งจะต้องยิงปื น 3 นัด และมีการจุดตะเกี ยงวางไว้ที่ลาํ ตัวของศพ หากผูต้ ายยังมีหนี้ สินอยู่ ญาติ จะช่ ว ยกันชํา ระหนี้ แทนให้เรี ย บร้ อ ยก่ อนจะฝั ง ศพ เพื่ อให้ ผูต้ ายมี ชี วิต ที่ เป็ นอิ ส ระมัง่ คัง่ และมี ความสุ ขในชาติหน้า(ปั จจุบนั ได้เปลี่ ยนเป็ นการนําศพไว้ในโลง เพื่อไม่ให้ศพมีสภาพที่ไม่น่าดูแต่ ทั้งนี้ก็ข้ ึนอยูก่ บั ความเชื่อ และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวนั้น ๆ ด้วย) เมื่อญาติมากันครบแล้ว จึงนําแคร่ วางศพตั้งในที่สูงเหนื อพื้นและฆ่าไก่สําหรับเซ่ นไหว้นาํ ไปวางไว้ขา้ งศีรษะศพ ผูเ้ ฒ่าซึ่ ง เป็ นหมอผีในการทําพิธีสวดให้ผตู ้ ายไปสู่ ปรโลก โดยจะใช้ไม้เสี่ ยงทายยาวประมาณเจ็ดนิ้ว เสี่ ยงทาย ทางให้กบั วิญญาณผูต้ ายพร้อม ๆ กับริ นเหล้า และตักข้าวปลาอาหารไปด้วย ผูเ้ ฒ่าจะบอกกับวิญญาณ ว่าเมื่อไปถึงที่ใดให้ทาํ อย่างไร เช่น หากร้อนแดดให้เข้าอาศัยร่ มเงาจากปี กไก่หรื อใต้หางไก่หากฝน ตกให้เดิ นทางสายกลางตามไก่เพื่อไปสู่ ดินแดนแห่ งบรรพชน เมื่อไปถึ งสถานที่ตรงนี้ ให้จุดธู ป จุด เทียนเผากระดาษ เป็ นต้น ซึ่ งในระหว่างที่ผตู ้ ายเดินทางไปสู่ ปรโลก หากว่าพิธีกรรมไม่นาน แสดงว่า วิญญาณของผูต้ ายรับรู ้ และยินยอมที่จะไปตามทางที่วา่ นั้น แต่หากว่าพิธีกรรมนาน แสดงว่าวิญญาณ ของผูต้ ายไม่ยอมไป ยังมีความเป็ นห่ วงลูกหลาน ญาติพี่นอ้ งอยูใ่ นระหว่างจัดพิธีศพนั้นจะมีการพับ กระดาษเป็ นรู ปต่าง ๆ เช่น รู ปเรื อ กระดาษที่ใช้จะเป็ นกระดาษเงิน กระดาษทอง เพื่อให้วิญญาณของ ผูต้ ายจะได้ไม่ลาํ บากในระหว่างเดินทางไปสู่ ปรโลกและจะได้มง่ั มีศรี สุขในชาติหน้า หากผูต้ ายเป็ นผูส้ ู งอายุลูกหลานจะรวมตัวกัน เพื่อคาราวะศพทุกวัน เช้า และเย็น ภาษาม้ง เรี ยกว่า "ซอก-xyom" มีพิธีการมอบผ้าปั ก เป็ นผ้าสี่ เหลี่ยมสี แดง มีการปั กเป็ นลวดลายต่าง ๆ ภาษาม้ง เรี ยกว่า "น๋ อง จ๋ อง-noob ncoos" ซึ่ งผ้าเหล่านี้ จะทําให้วิญญาณมีไร่ มีนา มีทรัพย์สิน มัง่ คัง่ รํ่ารวยใน


161

ชาติหน้า ผูท้ ี่จะให้น๋อง จ๋ อง-noob ncoos นี้ คือ ลูกสาวของ ผูต้ ายจะเป็ นผูท้ ี่ทาํ ให้มีการตัดกระดาษ แขวนไว้ขา้ งฝาทั้งสองข้างของตัวบ้าน เพื่อที่ จะเผา และเป็ นการส่ งตัวผูต้ ายให้ไปถึ งที่หมายด้วย (ปั จจุบนั ได้มีการนําพวงหรี ดไว้อาลัยร่ วมกับการแขวนกระดาษด้วย) พิธีศพของม้งบรรดาญาติและ ผูค้ นทั้งที่อยูใ่ นหมู่บา้ นนั้นๆ และต่างหมู่บา้ นจะมาช่วยเหลือพิธีกรรมด้วยทุกคืน โดยเฉพาะสมาชิ ก ในบ้านที่เป็ นผูช้ าย ภาษาม้งเรี ยกว่า "เป้ า หยุน้ -txwg tuag" ซึ่ งเชื่ อกันว่า เมื่อเราได้ให้ความช่วยเหลือ เขา และเมื่อครอบครัวของเรามีงานศพจะได้มีคนอื่นมาช่ วยอีก เป็ นการแสดงนํ้าใจอย่างหนึ่ งของ ชาวม้งเรา หากผูต้ ายเป็ นบุคคลที่มีชื่อเสี ยง และเป็ นที่นบั หน้าถือตาแก่บุคคลทัว่ ไป จะจัดพิธีใหญ่โต และครบถ้วนแขกเหรื่ อ หรื อบุคคลที่รู้จกั กับผูต้ าย จะมาร่ วมแสดงความอาลัยอย่างสุ ดซึ้ ง ต่อหน้าผูต้ าย โดยทายาทของผูต้ ายจะเป็ นผูไ้ ปรับแขกด้วยตัวเองถึงประตูบา้ น และเชิ ญให้แขกมายัง ตัวศพเพื่อร่ วมไว้อาลัย เมื่อมีแขกที่ให้ความช่วยเหลือทุนทรัพย์ในการจัดพิธีศพ ทายาทของผูต้ ายซึ่ ง เป็ นเจ้าภาพจะต้องกล่าวขอบคุณแขกผูน้ ้ นั ด้วย ซึ่ งในคืนก่อนวันที่จะนําศพไปฝังจะมีการสวด และ บอกเรื่ องราวต่าง ๆ ในภาษาม้งเรี ยกว่า "ฮ่า จืด สาย - has txwv xaiv" โดยจะมีคนหนึ่ง ซึ่ งรํ่าเรี ยนมา ทางด้านการสวดโดยเฉพาะเป็ นผูบ้ อกกล่าว นิยมทํากันกรณี ที่ผตู ้ ายเป็ นผูใ้ หญ่ที่มีลูกหลาน หรื อญาติ พี่นอ้ งเยอะ และผูต้ ายเป็ นบุคคลที่มีชื่อเสี ยงเป็ นที่นบั หน้าถือตาซึ่ งพิธีน้ ี จะเป็ นการสั่งสอนลูกหลาน ว่าเมื่อตัวเองไม่มีหวั หน้า ครอบครัวแล้วควรจะทําอย่างไรต่อไป ซึ่ งจะบอกเป็ นท่วง ทํานองที่คล้อง จองกันไพเราะและซาบซึ้ งมาก หากไม่ได้ฟังตั้งแต่ตน้ จนจบจะไม่สามารถเข้าใจในสิ่ งที่พูดได้จะพูด เป็ นเรื่ องราวติดต่อกันตั้งแต่เวลาประมาณสองทุ่มไปจนถึงสองยาม หรื อประมาณตีสองตีสาม ในคืนนี้ จะมีบรรดาเพื่อนบ้าน หรื อญาติพี่น้องมารวมตัวกัน เพื่อที่จะฟั งการสวดด้วย วันที่ จะนําศพไปฝัง ช่วงเช้าจะให้ลูกหลานของผูต้ ายทําความสะอาดศพอีกรอบ โดยจะล้างมือของศพให้ ครบทุกคน จะมีการฆ่าวัวเพื่อบูชาศพบางนามสกุล ญาตินาํ คานมาหามแคร่ วางศพออกจากเรื อน เพื่อ นําไปยังลานที่ได้เตรี ยมไว้เพื่อทําพิธีกรรมอีกรอบ ซึ่งเรี ยกว่า "ชือ ฉ้า-tswm tshaav" แต่บางแซ่ จะไม่มีการ "ชื อ ฉ้า-tswm tshaav" เมื่อทําพิธีเสร็ จแล้วญาติจะนําคานมาหามศพไปฝังในสุ สาน ในช่วงเวลาประมาณบ่ายคล้อย หรื อ 16.00 น. ในขบวนแห่ ศพจะมีผนู ้ าํ ขบวนเดินเป่ าแคนไม้ซางตลอดทาง ตามด้วยสาวถื อคบเพลิง เพื่อ ส่ องทางให้ศพ แต่เมื่อนําศพผ่านพ้นเขตหมู่บา้ น สาวจะโยนคบเพลิงทิ้งแล้ววิ่งหนี กลับบ้านไป ซึ่ ง เชื่ อว่าจะทําให้วิญญาณไม่สามารถย้อนกลับเข้าบ้านได้เมื่อขบวนถึ งสุ สาน จะมีผเู ้ ฒ่าสวดทําพิธีอีก ครั้ งหนึ่ ง ศพจะถู ก หย่อ นลงในหลุ ม ที่ เ ตรี ย มไว้ซ่ ึ งหลุ ม ศพนี้ จะดู จ ากตํา ราฮวงจุ ้ย หรื อ ผูเ้ ฒ่ า ที่ เชี่ ยวชาญเรื่ องฮวงจุ ย้ ในหมู่บา้ นนั้น ๆ บางครั้ งก็เป็ นสถานที่ ฝังศพผูต้ ายได้ตระเตรี ยมบอกกล่ าว


162

ล่วงหน้าแก่ลูกหลานว่า เมื่อถึงเวลาตัวเองสิ้ นลมหายใจ ให้นาํ ศพตัวเองไปฝั งไว้ยงั สถานที่ที่ตนได้ บอกไว้จากนั้นญาติจะกลบดินปิ ดปากหลุม แล้วจัดวางก้อนหิ นเหนื อหลุ มศพ รวมทั้งปิ ดด้วยกิ่งไม้ เพื่อไม่ให้สัตว์มาคุ ย้ เขี่ยหลุมศพแล้วจึงจัดการเผากระดาษ หรื อทุกสิ่ งทุกอย่างที่มอบให้กบั ศพ เมื่อ ครั้งจัดพิธีที่บา้ นส่ วนแคร่ ที่หามศพมานั้น จะถูกตัดครึ่ งเพื่อไม่ให้กลับบ้านไป พาคนอื่นสู่ ปรโลกอีก วิญญาณได้ไปสู่ สุคติและห้ามไม่ให้ลูกหลาน หรื อญาติร้องไห้ในระหว่างทาง มิฉะนั้นวิญญาณจะ กังวลใจในการไปสู่ ปรโลก สําหรับศพของผูม้ ี อายุจะถูกฝั งตามไหล่เขา ซึ่ งมีสันเขาขนานอยู่รอบ ด้าน สันเขาด้านซ้ายหากหันหน้าไปทางทิศตะวันออกจะมีบริ เวณฝังศพของญาติฝ่ายหญิง ด้านขวา ของสันเขาเป็ นของญาติฝ่ายชาย ทิวเขาที่รายล้อมรอบเขาที่ฝังศพ ส่ งผลต่อลู กหลานที่ยงั มีชีวิตอยู่ โดยนับจากทิวเขาที่อยูด่ า้ นซ้ายของศพ เป็ นฝั่งที่บอกถึงความเจริ ญรุ่ งเรื อง สุ ขภาพ และความมัง่ มีศรี สุ ข หากมีทิวเขาที่อยูด่ า้ นซ้ายของศพยาวมากกว่า หรื อสู งกว่าอีกฝั่ง แสดงว่าจะมีความเจริ ญรุ่ งเรื อง มากกว่า ม้งห้ามฝังศพลูกในวันคล้ายวันฝั งบิดามารดา เพราะเชื่ อว่าจะทําให้การทํามาหากินไม่เจริ ญ และห้ามนําศพอื่นไปฝังในระดับเดี ยวกันอีกในไหล่เขานั้นเว้นแต่จะฝั งให้ต่ าํ กว่า หรื อเยื้องไปจาก ศพที่ฝังไว้ก่อน ถ้าฝังอยูใ่ นระดับเดียวกันจะทําให้ผตู ้ ายแย่งที่ทาํ กินกัน และจะกลับมารบกวนทําให้ ญาติพี่น้องเจ็บป่ วย ห้า มฝั งศพไว้บนไหล่เขาซึ่ งมีหมู่บา้ นตั้งอยูส่ ําหรับศพเด็กนิ ยมฝั งไว้ในบริ เวณ เดียวกัน เพื่อให้เป็ นเพื่อนเล่นกันแก้เหงา ม้งเชื่อว่าเด็กนั้นยังความกลัวผีมาก ฉะนั้นจึงนําไปฝังที่ใกล้ ๆ กัน หรื อที่เดียวกัน บางครอบครัวอาจจะล้อมรั้วบริ เวณหลุมศพ เพื่อไม่ให้สัตว์หรื อแมลงต่าง ๆ มา คุย้ เขี่ยหลุมศพได้พอหลังจากนี้แล้วห้ามไม่ให้ญาติไปดูแลหลุมศพของผูต้ ายอีก เมื่อครบ 13 วัน จะมี การทําพิธีปลดปล่อยดวงวิญญาณของผูต้ ายให้ไปผุดไปเกิ ด และหากเมื่ อพ้น 13 วันไปแล้ว จึ งจะ สามารถไปดูแลหลุ มศพ หรื อสร้ างสุ สาน (ฮวงซุ ้ย) ได้ท้ งั นี้ ข้ ึนอยู่กบั ความเชื่ อของแต่ละนามสกุล ด้วยเช่นกัน ที่จะทิ้งช่ วงเป็ นระยะเวลากี่วนั กี่ปี จึงจะไปดูแลหลุมศพได้ ชาวม้งเชื่ อว่าหลุมศพ หรื อ สุ ส านที่ มีหญ้า รก ๆ เช่ น ผัก โขม (ที่ มี หนาม) จะทํา ให้ค รอบครั วญาติ พี่ น้องของผูต้ ายอยู่ดีมี สุ ข อย่างไรก็ตาม ความเชื่ อสําหรับกรณี ที่เสี ยชี วิตด้วยอุบตั ิเหตุหรื อถูกทําร้ายด้วยอาวุธ บางนามสกุล ญาติจะไม่นาํ ศพเข้าบ้านแต่จะจัดสุ ราอาหารออกไปเซ่ นไหว้ให้ไกลจากตัวบ้านออกไป ก่อนจะฝั ง ศพในลักษณะเดียวกับศพทัว่ ไป แต่บางนามสกุลก็จดั พิธีในบ้านเช่นเดียวกับศพทัว่ ไปเช่นกัน การไว้ทุกข์ญาติพี่นอ้ งจะไว้ทุกข์ให้ผตู้ ายประมาณ 13 วัน ไม่มีการแต่งตัวเป็ นพิเศษแต่อย่าง ใด คงเป็ นไปตามปกติ แต่ห้ามปฏิ บตั ิ กิจบางอย่างซึ่ งจะทําให้ผูต้ ายไปเกิ ดไม่ได้กล่ าวคื อ ห้ามซัก เสื้ อผ้า และหวีผม เพราะสิ่ งสกปรกในผ้าจะเข้าไปในอาหารของผูต้ าย ห้ามต่อด้ายเพราะด้ายจะพัน


163

แข้งขาของผูต้ าย ห้ามเย็บผ้าเพราะเชื่ อว่าผูต้ ายจะถูกเข็มแทง ถ้าสามีหรื อภรรยาตาย ห้ามแต่งงาน ใหม่ในทันทีจนกว่าจะพ้น 13 วันไปแล้ว เพราะจะทําให้ผตู ้ ายมีความกังวลในสามี หรื อภารยาของ ตน ในปั จจุบนั ม้งยังคงอนุรักษ์วฒั นธรรมนี้ ไว้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง จะเปลี่ยนก็คือมีการนําศพ มาบรรจุไว้ในโลงศพ เพื่อให้แขกที่มาแสดงความเสี ยใจจะได้มีความรู ้สึกที่ดีไปด้วยส่ วนในอดีตนั้น ไม่มีการนําศพมาใส่ โลง และจะนํามาใส่ แคร่ ไม้แทน 6.การแต่ งงาน เมื่อฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงรู ้จกั กันและเกิดรักกัน ทั้ง2 คนอยากใช้ชีวิตร่ วมกัน ฝ่ ายชายและ ฝ่ ายหญิงจะกลับมาบ้านของตนเอง และฝ่ ายชายค่อยมาพาฝ่ ายหญิงจากบ้านของฝ่ ายหญิง โดยผ่าน ประตูผีบา้ นของฝ่ ายหญิง เพราะคนม้งถือและเป็ นวัฒนธรรมของคนม้ง หลังจากที่ฝ่ายชายและฝ่ าย หญิงกลับมาถึงบ้านของฝ่ ายชาย พ่อ แม่ของฝ่ ายชายจะเอาแม่ไก่มาหมุนรอบศีรษะทั้งสองคน 3 รอบ เรี ยกว่า “ หรื อข๊า ” เป็ นการต้อนรับคนทั้งสองเข้าบ้าน ซึ่ งฝ่ ายชายต้องแจ้งให้ญาติทางฝ่ ายหญิงทราบ ภายใน 24 ชัว่ โมง โดยจัดหาคน 2 คน เพื่อไปแจ้งข่าวให้พ่อแม่และญาติทางฝ่ ายหญิงทราบว่าตอนนี้ บุตรชายของเราได้พาบุตรสาวของท่านมาเป็ นลูกสะใภ้ของเราแล้ว ท่านไม่ตอ้ งเป็ นห่ วงบุตรสาว โดยคนที่ไปแจ้งข่าวนั้นคนม้งเรี ยกว่า “ แม่โก๊ง ” พ่อ แม่ฝ่ายหญิงจะแจ้งให้ทางฝ่ ายชายว่าทราบว่า อีก 3 วันให้“ แม่โก๊ง ” มาใหม่น้ นั หมายถึงว่าพ่อ แม่ทางฝ่ ายหญิงต้องการจัดงานแต่งงาน สมัยก่อน คนม้งมักจะอยู่กินด้วยกันก่อนสองถึ ง3เดื อนหรื ออาจจะเป็ นปี แล้วค่อยมาจัดงานแต่ง แต่ปัจจุบนั นี้ สังคมเปลี่ ยนไปตามยุคเทคโนโลยีทาํ ให้การจัดงานแต่งงานของคนม้งได้กาํ หนดจัดงานแต่งงาน ภายใน 3 วันเป็ นที่นิยมกันในปั จจุบนั การกําหนดงานแต่งงานบางคนอาจกําหนดเมื่อมาแจ้งข่าว คนม้งเรี ยกว่า “ ก่างซุ น ” แต่บาง คนอาจจะกําหนดหลังจากนั้นประมาณ 2-3 วัน ที่เรี ยกว่า “ หน่าจื่อจ้งโช้ง ” พ่อแม่ของฝ่ ายชายแม้จะ ไม่พร้ อมแต่เมื่อทางฝ่ ายหญิงต้องการก็ตอ้ งพร้ อมสําหรับจัดงานแต่งงาน เมื่อทั้ง 2 ฝ่ ายพร้ อมจะจัด งานแต่งงานทันที ในงานแต่งงานทางฝ่ ายเจ้าบ่าวและทางฝ่ ายเจ้าสาวจะผูน้ าํ ในการจัดงานแต่ง ฝ่ า เจ้าบ่าวเรี ยกว่า “ แม่โก๊ง ส่ วนฝ่ ายเจ้าสาวเรี ยกว่า “ ป๋ อมิ๋น ” ซึ่ งจะทําหน้าในการประสานงานทั้ง 2 ฝ่ ายเพื่อให้งานนั้นดําเนิ นอย่างราบรื่ น การที่ฝ่ายชายจะเดิ นทางไปบ้านของฝ่ ายหญิงนั้นฝ่ ายเจ้าบ่าว ต้อง ฆ่าหมู1 ตัวเพื่อเป็ นการขอบคุณญาติและแขกที่มาในงานแต่งของตัวเองและก่อนจะเดินทางผูน้ าํ ของ


164

ฝ่ ายเจ้าบ่าวที่เรี ยกว่า “ แม่โก๊ง ” จะสวดบทสวดซึ่ งมีเนื้ อหาว่า “ เราจะพาลูกบ่าวและลูกสะใภ้ ของท่านไปที่ บา้ นของลู กสะใภ้เพื่อจัดงานแต่งงานขอให้ท่านอย่าห่ วง” ในการเดิ นทางนั้นฝ่ าย เจ้าบ่าวประกอบด้วย 1. แม่ โก๊ ง (เฒ่ า แก่ ) หน้า ที่ ประสานงานทั้ง 2 ฝ่ าย รั บ ผิ ด ชอบงานทุ ก อย่า งใน ระหว่างจัดงานแต่ง 2. เจ้าบ่าว หน้าที่ ทําตามขั้นตอนพิธีกรรมม้ง 3. เพื่อนเจ้าบ่าว หน้าที่ ดูแลและรับผิดงานทุกอย่างร่ วมกับเจ้าบ่าว 4. เจ้าสาว หน้าที่ ทําตามขั้นตอนพิธีกรรมม้ง 5. เพื่อนเจ้าสาว หน้าที่ คุม้ ครองดูแลเจ้าสาว 6. คนแบกข้าวมื้อเที่ยง หน้าที่ดูแลข้าวมื้อเที่ยงของการเดินทาง ทางฝ่ ายพ่อแม่เจ้าสาวฆ่าหมูหรื อฆ่าไก่ก็ได้เพื่อเป็ นการขอบคุ ณแขกและต้อนรับฝ่ ายเจ้าบ่าว และจะมี การแบ่งหน้าที่ ในการรับผิดชอบ เช่ น คนทําข้าว คนสับเนื้ อ ในงานแต่ง เมื่ อฝ่ ายเจ้าบ่าว มาถึงบ้านของเจ้าสาว “ แม่โก๊ง ” ทางฝ่ ายของเจ้าบ่าวจะถามว่าอยูบ่ า้ นไหม “ เม้ปัว ง้อ เช่” และพ่อ แม่ทางฝ่ ายหญิงจะตอบว่าอยู่ “ ง้อ ” และจะเปิ ดประตูให้เข้าบ้าน ทางฝ่ ายเจ้าบ่าวจะคาราวะญาติและ แขกทางฝ่ ายหญิ งด้วยการคุ กเข่าโดยมี เจ้าบ่ าวและเพื่อนเจ้าบ่ าวคาราวะและหลังจากนั้นพัก ตาม อัธยาศัยและพ่อแม่ทางฝ่ ายเจ้าสาวเตรี ยมอาหารเพื่อให้ฝ่ายเจ้าบ่าวรับประทาน โดยบ้านฝ่ ายเจ้าสาวมี “ กางสื่ อ ” เป็ นผูจ้ ดั เตรี ยมการ ก่อนรับประทานอาหารผูน้ าํ (แม่โก๊ง) ของฝ่ ายเจ้าบ่าวจะสวดบทสวดซึ่ งมีเนื้อหาว่า “ เราขอขอบคุณสําหรับการต้อนรับและอาหารในมื้อนี้ เป็ นอย่างมาก ” การสวดบทสวดนั้นเพื่อเป็ นการขอบคุณที่พ่อแม่ทางฝ่ ายเจ้าสาวฆ่าหมูอย่างมีคุณค่า จากนั้นร่ วมรับประทานอาหารร่ วมกัน และหลังจากรับประทานอาหารเสร็ จพักตามอัธยาศัย เมื่อตก ดึกผูน้ าํ ทั้ง 2 คนคือ “ แม่โก๊ง ” และ “ ป๋ อมิ๋น ” จะประสานงานกันถึงค่าสิ นสอด ในสมัยก่อนค่า สิ นสอดเรี ยกว่า “ หน่าจื่อเค้าชอ ” ซึ่ งหมายถึง ค่าเลี้ยงดูบุตร หรื อค่าที่พอ่ แม่ชุบเลี้ยงลูก ปั จจุบนั นี้อาจจะไม่คุน้ หูและอาจไม่เป็ นที่รู้จกั กันและปั จจุบนั นี้ ค่าสิ นสอดของคนม้งที่นิยม กันคือ เงิ นแท่ง 4 แท่ง เมื่อตกลงค่าสิ นสอดทั้งสองฝ่ ายแล้ว “ แม่โก๊ง ” จะเอาเงินให้ทางฝ่ ายหญิง ดูแล “ กางสื่ อ ” จะเป็ นบุคคลเก็บเงินและบอกกับพ่อแม่ทางฝ่ ายหญิงว่า ฝ่ ายเราเป็ นฝ่ ายเสี ยเปรี ยบ เพราะฝ่ ายเขาได้คน แต่ฝ่ายเราไม่ได้คนเราก็ควรจะเอาค่าสิ นสอดและมีการจ่ายเงินให้อา ป้ า พี่สาว น้องสาว พี่ชายและน้องชาย ญาติและแขก โดยจ่ายคนละ 200 บาท ซึ่ งคนม้งเรี ยกว่า “ เงินเติมจ๋ อ ” หลังจากนั้นจะมีการตั้งโต๊ะโดยทั้ง 2 ฝ่ ายคือ ทางฝ่ าเจ้าสาวและทางฝ่ ายเจ้าบ่าว ฆ่าไก่คนละ 1 ตัว


165

และหลังจากนั้นนําไปต้มเสร็ จนําไปตั้งโต๊ะ “ แม่โก๊ง ” และ “ ป๋ อมิ๋น ” จะสวดบทสวดก่อนจะขึ้น โต๊ะและจะมีการดื่มเหล้า โดยที่ “ แม่โก๊ง” พูดว่าเราเอาเหล้าทุกคนดื่มเนื่ องจากฝ่ ายของเราเหลือได้ ฝ่ ายของท่าน และได้นาํ หมูมา 1 ตัวด้วย ซึ่ งคนม้งนิ ยมนําหมูที่นาํ มาทําพิธีแต่งงานต้องมีน้ าํ หนักไม่ น้อยกว่า 80 กิ โลกรั ม และไม่ม ากกว่า 120 กิ โลกรั ม ส่ วนความใหญ่น้ นั คนม้งนิ ยมไม่น้อยกว่า 6 เมตร และความสู งไม่เกิ น 8 เมตร และหลังจากนั้นทุกคนจะไปพักผ่อนตอนเช้าทางฝ่ ายเจ้าบ่าวจะ จัดการฆ่าหมูที่เตรี ยมมาซึ่ งเป็ นหน้าที่โดยตรงที่ฝ่ายเจ้าบ่าวรับผิดชอบ เมื่อจัดการเสร็ จทางฝ่ ายพ่อแม่ ของฝ่ ายเจ้าสาวจะจัดการสับเนื้ อและต้ม เมื่อต้มเสร็ จพ่อแม่ทางฝ่ ายเจ้าสาวจะเตรี ยมตั้งโต๊ะและไป เชิญญาติและแขกมารับประทาน วิธีการเชิญแขกมางานแต่งของคนม้งนิยมเชิญว่า “ ลูกสาวของตนเองแต่งงานแล้วและวันนี้ เป็ นงานมงคลขอให้ท่า นผูม้ ี เกี ย รติ อยู่และอย่า เพิ่ งกลับ -อยู่เพื่ อดื่ มฉลองพิ ธีแต่ง งาน” หลังจาก แขกเหรื่ อมารับประทานอาหารเสร็ จแล้วจะมีการตั้งโต๊ะใหม่มีการต้มยาใช้สําหรับดื่มบนโต๊ะ ซึ่ งยา ที่ตม้ นั้นส่ วนมาก คือ ใบฝรั่ง โดยที่กางสื่ อจะริ มให้แม่โก๊งดื่ มและริ นให้ป๋อมึ๋น ดื่ ม ซึ่ งบนโต๊ะนั้น แม่โก๊งจะอยู่ตรงกลาง และทางมือซ้ายของแม่โก๊งคือ อากับป้ า และถัดมาคือ แขก และทางมือขวา นั้น คื อ น้ อ ง แขกและพี่ ช าย บนโต๊ ะ นั้ น จะมี ก ารดื่ ม เหล้ า เมื่ อ กางสื่ อ สวดบทสวดให้ แ ม่ โ ก๊ ง และป่ อมิ๋น ทุกคนที่อยู่บนโต๊ะจะต้องลุ กขึ้น ในการดื่ มเหล้าบนโต๊ะคนม้งถือว่าไม่ควรพูดว่า หมด เพราะถือว่าเป็ นคําหยาบ หากคนที่อยูบ่ นโต๊ะพูดจะถูกปรับโดยการดื่มเหล้าแทน “ กางสื่ อ ” พูดว่า วันนี้เราจัดงานแต่งงาน เจ้าบ่าวและเพื่อนเจ้าบ่าวจะคุกเข่า 2 ครั้ง เพราะการคุกเข่านั้นเป็ นการแสดง ความเคารพต่อแขกและคนเฒ่ า คนแก่ เพราะในอดี ตนั้นม้งไม่ มีก ารบันทึ ก เป็ นลายอัก ษรว่า ใคร แต่งงานกับใคร จึงมีการคุกเข่าเพื่อเป็ นสัญลักษณ์และให้คนที่มาในงานแต่งเป็ นพยาน หากวันใดการใช้ชีวิตร่ วมกันของคน 2 คนมีปัญหาขอให้คนที่มาในงานแต่งช่วยพูดให้คน 2 คนหันมารักกันต่อ และหลังจากนั้นเป็ นการกิ นเลี้ ยงโดยผูช้ ายจะรั บประทานก่ อนและตามด้วย ผูห้ ญิง หลังจากรับประทานอาหารเสร็ จจะมีการเตรี ยมตั้งโต๊ะใหม่การหันโต๊ะกลับเพราะใกล้ถึงเวลา ที่ฝ่ายเจ้าบ่าวจะกลับ กางสื่ อจะเตรี ยมเหล้าซึ่ งเป็ นเวลาที่พ่อแม่เจ้าสาวสั่งสอนการใช้ชีวิตร่ วมกัน ระหว่างเจ้าบ่าวและเจ้าสาว และหลังจากนั้นญาติพี่นอ้ งจะเอาของให้เจ้าสาว เช่ น จาน หม้อ เสื้ อผ้า และผ้าห่ มเป็ นต้น กางสื่ อจะเป็ นคนมอบข้าวของให้เจ้าสาว จากนั้นแม่โก๊งจะสวดบทสวดเพื่อเป็ น การขอบคุณสําหรับข้าวของ ก่อนสวดบทสวดจะริ มเหล้าให้เจ้าบ่าวและเจ้าสาว และหลังจากนั้นแม่ โก๊งจะสวดบทสวดเอาร่ มก่ อนกลับ และฆ่าไก่และห่ อข้าวให้โดย ไก่ ที่ฆ่านั้นจะผ่า ครึ่ งตัวให้แม่ เจ้าสาว และอีกครึ่ งตัวให้เจ้าสาว โดยครึ่ งตัวที่ให้เจ้าสาวนั้นมีหวั ไก่ดว้ ย ส่ วนข้าวที่ห่อนั้นจะผ่าเป็ น


166

สองส่ วน อี กส่ วนให้แม่ของเจ้าสาว และอีกส่ วนให้เจ้าสาว เพราะถื อว่าเป็ นสิ่ งที่ ดีต่อการใช้ชีวิต ร่ วมกันของเจ้าบ่าวและเจ้าสาว และจากนั้นเจ้าบ่าวและเพื่อนเจ้าบ่าวจะคุกเข่าเพื่อขอบคุณแขกและ คนเฒ่า คนแก่ ก่อนกลับ จากนั้นทางฝ่ ายเจ้าบ่ าวจะพาเจ้า สาวกลับ โดยผ่านประตู ผีซ่ ึ งเป็ นการจบ ขั้นตอนในการจัดงานแต่งที่บา้ นของเจ้าสาว เป็ นธรรมเนียมของคนม้งเมื่อเดินทางกลับครึ่ งทางจะมี การรับประทานอาหาร เพื่อเส้นไหว้เจ้าที่เจ้าทาง และเมื่อเดินทางถึงบ้านเจ้าบ่าวแม่โก๊งจะบอกว่า เรา ได้พาเจ้าบ่าวและเจ้าสาวไปจัดงานแต่งงานที่บา้ นฝ่ ายเจ้าสาวเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว จากนั้นเจ้าบ่าวและ เพื่อนเจ้าบ่าวจะคุกเข่าคาราวะเพื่อขอบคุณพ่อแม่และแขกที่มาร่ วมงานแต่งที่บา้ นเจ้าบ่าว ขอบคุณทุก คนที่มาช่วยงานในงานแต่ง 7.การจีบ หลังจากว่างงานหลังฤดูเก็บเกี่ยว หนุ่มสาวม้งจะหาโอกาสเกี้ ยวพาราสี ในเวลาคํ่าคืนหนุ่ ม สาวม้งมีขอ้ ห้ามที่จะไม่ไม่เกี้ยวพาราสี กบั คนแซ่เดียวกัน หรื อตระกูลเดียวกัน เพราะถือว่าเป็ นพี่นอ้ ง กัน สําหรับโอกาสที่ดีที่สุด คือเทศกาลปี ใหม่มง้ ทั้งชายหนุ่ม และหญิงสาวจะแต่งกายด้วยเสื้ อผ้าสวย สดงดงาม ที่ได้รับการจัดเตรี ยมมาตลอดทั้งปี ชายหนุ่มและหญิงสาวจะจับคู่โยนลูกบอล ซึ่ งลูกบอล ทําจากผ้าสี ดาํ และมีขนาดใหญ่กว่าลูกเทนนิ สเล็กน้อย ฝ่ ายหญิงเป็ นผูน้ าํ ลูกบอลมาการโยนลูกบอล ไป-มานั้น ฝ่ ายหญิง และชายจะยืนห่ างกันประมาณ 4-5 เมตร หญิงสาวที่ยงั ไม่มีคู่จะเป็ นคนเข้าไป ทักชายหนุ่มที่ตนรู ้จกั หรื อชอบพอและยืน่ ลูกบอลให้เป็ นการขอเล่นโยนลูกบอลด้วย หากชายหนุ่ มคนใดไม่ชอบพอหญิงสาวคู่โยนของตน ก็จะหาทางปลี กตัวออกไปโดยมิให้ เสี ยมารยาท ระหว่างเล่นโยนลูกบอลไปมาจะสนทนาไปด้วย หรื ออาจเล่นเกม โดยตกลงกันว่าใคร รับลูกบอลไม่ได้ตอ้ งเสี ยค่าปรับเป็ นสิ่ งของ หรื อเครื่ องประดับให้กบั ฝ่ ายตรงข้าม การเสี ยค่าปรับแก่ กันและกัน จะเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ท้ งั คู่ได้พบกัน และเกี้ยวพาราสี กนั ในตอนกลางคืน ในการเกี้ยวพาราสี จะกระทําที่บริ เวณนอกบ้านของฝ่ ายหญิง เพราะการเกี้ยวพาราสี ในบ้าน ถือเป็ นการผิดผีและรบกวนผูใ้ หญ่หรื อเป็ นการไม่ให้เกียรติญาติฝ่ายหญิง เมื่อชายหนุ่มแน่ ใจว่าพ่อ แม่ของฝ่ ายหญิงสาวหลับหมดแล้ว ตนจะเข้าไปชิ ดฝาผนังบ้านข้าง ๆ ห้องนอน ของหญิงสาว แล้ว กระซิ บเรี ยก หรื อเป่ าจ่าง(จ่างเป็ นเครื่ องดนตรี ชนิ ดหนึ่ งทําจาก แผ่นทองเหลื องบาง ๆ ใช้ดีดที่ริม ฝี ปากแล้วเป่ าเบา ๆ แผ่นโลหะจะสั่นสะเทือน และให้เสี ยงนุ่ มเบาไพเราะน่ าฟั ง) หากฝ่ ายหญิงจํา เสี ยงได้ว่าเป็ นชายหนุ่ มที่ตนชอบพอ ก็จะกระซิ บตอบ และพูดคุ ยด้วย หรื ออาจจะออกมาพบชาย หนุ่ มข้างนอกบ้าน หากเสี ยงดัง และพ่อแม่ฝ่ายหญิงได้ยินจะติเตียน และฝ่ ายชายต้องไม่โต้เถี ยงแต่ อย่างใด มิฉะนั้นอาจถูกปรับเงิ น แต่โดยปกติพ่อแม่ฝ่ายหญิ งจะเข้าใจ และให้อิสระลูกสาวในการ


167

พูดคุย หรื อออกไปพบชายหนุ่มที่ตนเห็นว่าเป็ นคนดีโดยวิธีการปฏิบตั ิเช่นนี้ จึงมีผขู ้ นานนามม้งว่า ผู ้ ไม่อิ่มในรัก ปั จจุบนั ยังคงนิยมวิธีน้ ีอยู่ 8. การหมั้น ในอดี ตการหมั้นของม้ง จะนิ ยมหมั้นระหว่างญาติลูกพี่ลูกน้องต่างแซ่ กนั กล่าวคือ ลูกของพี่ หรื อน้องชาย กับลูกของพี่ หรื อน้องสาว การหมั้นจะกระทําตั้งแต่บุตรของทั้งสองฝ่ ายมีอายุประมาณ 1 เดือน ทางฝ่ ายชายเป็ นผูไ้ ปหมั้น โดยนําสิ่ งของตาม ธรรมเนี ยมไปมอบให้บิดามารดาของฝ่ ายหญิง โดยทั้งสองฝ่ ายให้คาํ มัน่ สัญญาต่อกันว่า ถ้าบุตรโตเป็ นหนุ่มเป็ นสาวแล้วจะให้แต่งงานกัน ถ้าฝ่ ายใด ฝ่ ายหนึ่ งผิด สัญญาจะต้องเสี ยค่าปรับให้คู่สัญญาตามธรรมเนี ยมการหมั้น ปั จจุ บนั ม้งยังคงยืดถื อ ปฏิบตั ิกนั อยูแ่ ต่พบน้อยมาก การสู่ ขอ ในอดีตม้งจะหาภรรยาให้กบั บุตรชายของตน เมื่อมีอายุประมาณ 14-16 ปี หากรู ้วา่ บุตรชายไปชอบหญิงสาวลูกของใคร ถึ งกับต้องการไว้เป็ นภรรยาบิดาจะไหว้ผีดว้ ยธู ป 7 ดอก และ ต้มไก่เซ่นผีโดยอธิ ษฐานว่าหากบุตรของตนแต่งงานกับ หญิงสาวแล้ว จะอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ขรํ่ารวยมีเงินมี ทองหรื อไม่ขอให้ผตี อบโดยดูลกั ษณะดีหรื อไม่ดีที่ลิ้นไก่และกระดูกขาไก่ที่ตนเซ่นไหว้ หากมีลกั ษณะไม่เป็ นมงคล บิดาจะบอกให้บุตรเลิกติดต่อกับหญิงสาวคนนั้น และฆ่าไก่อีก เพื่อเซ่ นผีเพื่อทราบคําทํานายของผีเกี่ยวกับหญิงคนนั้น ถ้าได้ลกั ษณะเป็ นมงคลก็จะจัดเถ้าแก่2 คน ไปสู่ ขอหญิงสาว ซึ่ งในการไปสู่ ขอนั้น จะให้บุตรชายที่จะไปแต่งงานไปกับเพื่อนพร้ อมกับเถ้าแก่ เพื่อให้ชายหนุ่ม และหญิงสาวซึ่ งจะแต่งงานได้พบปะซึ่ งกันและกัน เพื่อตกลงใจขั้นสุ ดท้าย ขณะเดินทางไปสู่ ขอ ถ้ามีสัตว์ป่า เช่น งูหรื อกวางเดินตัดหน้า หรื อมีคนตายในหมู่บา้ นที่เดิน ผ่าน ม้งถือว่าเป็ นลางร้ายมักเลิกล้มความตั้งใจที่จะไปสู่ ขอ เพราะถ้าแต่งงานไปแล้วอาจอยู่ดว้ ยกัน ไม่นาน อาจตายจากกันหรื อทํามาค้าขายไม่ข้ ึน อย่างไรก็ตามหากมีสัตว์ป่าเดินตัดหน้าถึง 2 ครั้งหรื อ มากกว่านั้น ก็ไม่ถือว่าเป็ นลางร้าย เพราะม้งเชื่อว่าสัตว์ป่าออกมาหากินโดยปกติวิสัย ม้งนิ ยมไปสู่ ขอ ในเวลาเย็นหลังจากเลิกทํางาน เมื่อไปถึงบ้านหญิงสาวและได้รับเชิญเข้าไปในบ้าน เถ้าแก่ฝ่ายชายจะ หยิบยาเส้นขนาดโตประมาณเท่านิ้ วหัวแม่มือ มอบให้บิดามารดาของหญิงสาว แล้วแจ้งให้รู้ว่าลูก ชายของใครต้องการอยากจะมาเป็ นลูกชายของท่าน ตามประเพณี ของม้ง บิดามารดาของฝ่ ายหญิงชายตกลงเพียง 2 คนไม่ได้จะต้องเรี ยกบรรดาญาติพี่นอ้ งมาช่วยพิจารณาตกลงใจด้วย แม้คณะญาติจะ เห็นชอบด้วยแล้ว ฝ่ ายบิดามารดาของหญิงสาวจะกล่าวอ้างเหตุผลเป็ นทํานอง ไม่รับในการสู่ ขออีก ครั้งหนึ่ งก็ได้เพื่อเป็ นการยืนยันว่าฝ่ ายชายมีความตั้งใจอย่างแรงกล้าในการสู่ ขอหญิงสาว ทางฝ่ าย หญิงสาวจะตั้งเถ่าแก่ของตนขึ้น 2 คนเพื่อตกลงกับเถ้าแก่ฝ่ายชายในเรื่ องเงินสิ นสอด โดยเถ้าแก่ทาง


168

ฝ่ ายหญิงสาว จะนําเหล้า 1 ขวด และจอกดื่ มเหล้า 4 ใบ ไปวางไว้บนโต๊ะเหล้า ซึ่ งอยู่ใกล้กบั ประตู บ้านด้านใน เถ้าแก่ท้ งั สองฝ่ าย จะมาร่ วมนัง่ ดื่มเหล้า และเจรจากันในเรื่ องการสู่ ขอ เมื่อเป็ นที่ ตกลงกันได้เถ้าแก่ ฝ่ายหญิงจะกล่าวว่านั่งดื่ มเหล้าที่ปากประตูเป็ นการกี ดขวาง ทางเดิน จึงควรย้ายไปที่อื่นจะดีกว่า จากนั้นคณะทั้งสองฝ่ ายจะย้ายโต๊ะไปนัง่ ข้างในบ้านแล้ว เจรจา ตกลงกันเรื่ องสิ นสอด และกําหนดวันแต่งงานในคืนนั้น เถ้าแก่ฝ่ายชายจะนอนค้างแรมที่บา้ นหญิง สาว 1 คืน รุ่ งขึ้นจึงเดินทางกลับ ในทางตรงกันข้ามหากฝ่ ายหญิงสาวปฏิเสธการสู่ ขอในครั้งนี้ เถ้าแก่ ฝ่ ายหญิงสาวจะย้ายโต๊ะไปดื่มเหล้ากันข้างนอกบ้าน เมื่อเหล้าหมดขวดฝ่ ายชายก็จะลากลับบ้านหาก ฝ่ ายชายมีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะสมรสกับหญิงสาว แม้จะถูกปฏิ เสธการสู่ ขอไปแล้ว 1 ครั้ง ก็จะพยายามไปสู่ ขออีกถึง 2 ครั้ง หากไม่สาํ เร็ จก็เลิกรากันไปเองอย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั นี้ มง้ บาง หมู่บา้ น ไม่นิยมการสู่ ขอแต่นิยมการฉุ ด หรื อหนี ตามกันเมื่ อทํามาหากิ นมี เงิ นทองแล้วจึ งไปสู่ ขอ และจัดพิธีแต่งงานในคราวเดียวกัน 9. การใช้ ชีวติ ร่ วมกัน ในอดี ตส่ วนใหญ่แล้วม้ง จะเป็ นครอบครั วขนาดใหญ่ ดงั นั้นเมื่ อคู่บ่าว-สาวยินดี พร้ อมใจ แต่งงานด้วยกัน ผูห้ ญิงม้งที่แต่งงานแล้วส่ วนใหญ่จะต้องเตรี ยมตัวเพื่อที่จะให้กาํ เนิ ดบุตร ผูห้ ญิงม้ง จะต้องทํางานทุกชนิ ด และตื่นนอนตั้งแต่เวลา 04.00น – 05.00 น. ต้องตักนํ้าตําข้าว หุ งหาอาหารให้ สมาชิ กในบ้านรับ ประทาน และหาอาหารให้สั ตว์เลี้ ยงด้วย พอฟ้ าสางแล้วต้องเตรี ยมตัวเพื่ อไป ทํางานในไร่ เช่น เก็บเกี่ ยวฝิ่ น ถางหญ้า หรื อเก็บเกี่ยวผลผลิ ตที่ปลูกไว้ในไร่ หรื อ หากวันไหนไม่มี งานในไร่ ก็ตอ้ งทํางานอยูก่ บั บ้าน เช่น ทอผ้าเลี้ยงลูก เป็ นต้น ส่ วนฝ่ ายชายที่เป็ นสามีจะสบายมากกว่า คือนัง่ จิบนํ้าชานอนสู บฝิ่ นเฝ้ าบ้าน สนทนากับแขก แม้วา่ งานในกลางวันเสร็ จสิ้ นลงแล้ว แต่ในตอน กลางคืนเธอต้องปั้ นฝิ่ น และทําให้ร้อนเพื่อให้สามีสูบ งานของเธอจะสิ้ นสุ ดลง ก็ต่อเมื่อทุกคนใน บ้านหลับกันหมดแล้ว ผูห้ ญิงม้งมักต้องทํางานหนักกว่าผูช้ าย เพราะว่า ชายม้งถือว่าได้ซ้ื อ ผูห้ ญิงมาทําหน้าที่แทนทุก คนในบ้าน หรื อมาเป็ นคนรับใช้ดงั นั้น ผูห้ ญิงม้งที่แต่งงานจึงเปรี ยบได้วา่ เป็ นคนรับใช้ดงั นั้นงานที่ จะต้องทํามีอยูม่ ากมาย และไม่มีวนั หมด ทํางานหนักทุกวัน แต่ไม่พอเลี้ยงปากเลี้ยงท้อง ทําให้ชายม้ง ต้องการมี ภรรยาหลายคน เพื่อที่ จะได้มาแบ่งภาระเหล่ านี้ บางคนอาจมี ถึง 4 คน แต่บรรดาภรรยา ของชายม้งจะอยูร่ ่ วมกันเสมือนญาติพี่นอ้ ง ไม่มีการทะเลาะวิวาทกันแต่ปัจจุบนั ม้งเริ่ มรับวัฒนธรรม ของคนไทย จึงทําให้ครอบครัวม้งมีขนาดเล็กลง คือจะประกอบด้วยพ่อ แม่ลูก เท่านั้น และผูช้ ายม้ง เริ่ มหันมาให้ความช่วยเหลือภรรยาของตนมากขึ้น


169

10.การฉุ ด ในอดี ตนั้นม้งนิ ยมการแต่งงานโดยการฉุ ดเป็ นส่ วนมาก การฉุ ดจะกระทําเมื่อหญิงสาวไม่ เต็มใจรับรักชายหนุ่ ม จะใช้วิธีการฉุ ด ซึ่ งนําไปสู่ การแต่งงานในภายหลัง บิดาทางฝ่ ายชายจะหาวิธี ในการฉุ ด และจัดหาคนไปช่วยบุตรชายของตนด้วย การฉุ ดจะกระทํากันนอกบ้านโดยลวงหญิงรัก ออกจากบ้านพัก เพราะถ้าฉุ ดในบ้านถื อว่าเป็ นการผิดผีจะต้องเสี ยค่าปรับไหม ฝ่ ายหญิงสาวจะไม่ ยอมให้ความร่ วมมือ และกระทําทุกวิธีทางที่จะให้ญาติช่วยเหลือตนเอง ขณะแย่งชิ งกันญาติผใู ้ หญ่ทางฝ่ ายชายจะอ้อนวอนญาติทางฝ่ ายหญิงให้ปล่อยหญิงสาวไป กับตน เมื่ อตัวหญิงสาวไปถึ งบ้านฝ่ ายชายแล้วจะถูกจัดให้อยู่ ในห้องเดี ยวกับชายหนุ่ มที่ ตอ้ งการ แต่งงานด้วย ในวันรุ่ งขึ้นฝ่ ายชายจะส่ งผูแ้ ทน 2 คนไปแจ้งให้บิดามารดาฝ่ ายหญิงทราบ พร้ อมกับ อ้อนวอนมิ ให้มีค วามกังวลในบุ ตรสาวของตนถึ งเวลาสมควรจะมาสู่ ข อ และแต่ งงานในโอกาส ต่อไป ผูแ้ ทนที่ไปเจรจาจะต้องมีวาทศิลป์ ในการสนทนา เพื่อชักจูงให้บิดามารดาฝ่ ายหญิงเห็นชอบ กับการฉุ ดนั้น ขณะเดียวกันก็พยายามแจกยาเส้นให้แก่บิดามารดาฝ่ ายหญิง ทํานองเดียวกับการสู่ ขอ ถ้ารับยาเส้นก็แสดงว่าเห็นชอบด้วยในฝั่งตรงข้าม หากฉุ ดหญิง สาวไปแล้วทางฝ่ ายชายไม่มาแจ้งให้ บิดามารดาทราบ ม้งถื อว่าเป็ นการผิดธรรมเนี ยมประเพณี ตอ้ งเสี ยค่าปรับประมาณ 12 มัง่ (ลักษณะนามของ เหรี ยญเงิ นขนาดใหญ่ชาวม้งใช้กนั ) ในทํานองเดี ยวกัน ถ้าหญิ งสาวสามารถกลับบ้านของตนได้ หลังจากการฉุ ดประมาณ 3 วัน ฝ่ ายชายจะต้องถูกปรับ แต่บางครั้ง หากบิดาของหญิงสาวไม่ประสงค์ ให้บุตรสาวของตนแต่งงานกับชาหนุ่ มที่มาฉุ ดไป ก็อาจไม่ปรับ และให้ส่งตัวลูกสาวคืนเท่านั้น ใน ปั จจุบนั การฉุ ดของม้งเริ่ มที่จะสู ญสลายไป เนื่ องจากฝ่ ายหญิงที่ถูกฉุ ดไปนั้น บางคู่มีชีวิตครอบครัว ไม่สมบูรณ์ บางคู่อาจทําร้ ายตัวเอง แต่บางคู่ก็ประสบความสําเร็ จกับชี วิตคู่ ซึ่ งสังคมที่เปลี่ยนแปลง ไปบวกกับม้งเริ่ มมี การศึ กษาเพิ่มขึ้ น ทําให้มง้ มี ความคิ ด และวิถีชีวิตที่ แตกต่างออกไป จึ งได้เลิ ก วิธีการฉุดไปบ้าง แต่ถ้ากรณี ที่จาํ เป็ นจริ ง เช่ น ลู กชายของตัวเองรั กชอบพอกับหญิงสาวคนนั้นมาก และไม่ สามารถที่จะเกลี่ยกล่อม ลูกชายของตัวเองให้ตดั ใจได้ก็จะสามารถที่จะฉุ ดหญิงสาวคนนั้นได้แต่ตอ้ ง ขึ้นอยู่กบั ว่าหญิ งสาวนั้นไม่มีชายหนุ่ มในใจเสี ยก่อนหากว่าหญิงสาวมี ชายหนุ่ มในใจแล้ว ก็จะไม่ สามารถที่จะทําได้เช่ นกัน แต่เนื่ องจากปั จจุบนั เงิ นเป็ นเครื่ องยึดเหนี่ ยวจิตใจของมนุ ษย์หากว่าชาย หนุ่มที่หญิงสาวไม่ได้รักชอบพอกัน แต่ถา้ ญาติผใู ้ หญ่ของหญิงสาวเห็นดีเห็นงามด้วยแล้ว หญิงสาว


170

จะไม่มีสิทธิ์ เรี ยกร้องสิ ทธิ์ ของตัวเองได้เนื่องจากญาติผใู ้ หญ่จะบังคับให้หญิงสาวแต่งงาน กับชายคน หนุ่มคนนั้นทันทีไม่มีขอ้ แม้ใด ๆ การหนี ตามกัน ในอดี ตการหนี ตามกันจะเกิ ดขึ้นบ่อยมาก เมื่อชายหนุ่มหญิงสาวมีความรัก ใคร่ ชอบพอกัน แต่ฝ่ายชายไม่สามารถไปสู่ ขอฝ่ ายหญิงสาวแต่งงานได้ชายหนุ่มจะชักพาหญิงสาวที่ ตนรักให้นาํ เสื้ อผ้า และสิ่ งของต่าง ๆ ไปอยูท่ ี่บา้ นของตน วันรุ่ งขึ้นจึงส่ งผูแ้ ทนไปแจ้งให้บิดามารดา ของฝ่ ายหญิงทราบ หญิงสาวจะช่ วยครอบครัวของสามีทาํ มาหากิน เมื่อมีเงิ นทองเพียงพอแล้ว ฝ่ าย ชายจะไปสู่ ข อ และจัดพิ ธี แต่ ง งานตามประเพณี ปั จจุ บ นั นี้ ม้ง นิ ย มแต่ ง งานด้ว ยวิธี น้ ี เพราะไม่ สิ้ นเปลื องค่าใช้จ่ายมาก การมีภรรยาคนที่สองของม้งมักเกิ ดขึ้นโดยวิธีหนี ตามกันนี้ เพราะเป็ นการ กระทําของบุคคลสองคนเท่านั้นไม่มีญาติหรื อผูใ้ หญ่เป็ นพยานในการใช้ชีวิตคู่ หากว่าเกิดความ ล้มเหลว ในการใช้ชีวติ คู่ฝ่ายชายสามารถที่จะหาหญิงสาวมาแต่งงานใหม่ได้อีก มารยาททางสั งคมของม้ ง มารยาททางสังคมที่ชาวเขาเผ่าม้งพึงมีต่อกันเพื่อสร้างความเข้าใจ และความสงบสุ ขในการอยู่ ร่ ว มกัน เป็ นหมู่ บ ้า นเดี ย วกัน ส่ ว นมากเป็ นข้า ปฏิ บ ัติ ที่ ไ ด้รั บ แนวคิ ด มาจากค่ า นิ ย มเบื้ อ งต้น ใน วัฒนธรรมประจําเผ่า มารยาทที่สาํ คัญ ได้แก่ 1. มารยาทในการเยีย่ มบ้ าน แขกที่มาเยี่ยมบ้านแม้วหรื อม้งนั้นจะต้องเรี ยนรู ้ วฒั นธรรมของม้งให้รู้ก่อนที่จะไปเยี่ยมบ้าน แม้วหรื อม้ง เพื่อจะได้ไม่เสี ยมารยาท แขกที่ตอ้ งการเข้าไปเยี่ยมบ้านม้งนั้นเมื่อเข้าไปถึ งบ้านที่ท่าน ต้องเข้าไปสนทนาด้วยนั้นจะต้องปฏิ บตั ิเมื่ อแขกเดิ นไปถึ งหน้า ประตูบา้ นม้งนั้น ถึ งแม้จะเห็ นว่า ประตูบ ้านจะปิ ดหรื อเปิ ด ก็ ตอ้ งตะโกนถามคนในบ้านก่ อนว่า “ไจ๊จือไจ๊” เป็ นการถามเพื่ อขอ อนุญาตเข้าบ้านม้ง (คําว่า ไจ๊จือไจ๊นน่ั มีความหมายว่า ขออนุ ญาตให้เข้าไปได้หรื อไม่) ถ้ามีเสี ยงตอบ ในบ้านมาว่า “จือไจ๊” แสดงว่าเจ้าของบ้านม้งยอมอนุ ญาตให้เข้าบ้านได้(คําว่า จือไจ๊ นั้นหมายความ ว่า อนุ ญาตให้เข้าบ้านได้) แต่ถา้ มีเสี ยงตอบรับ ว่า ไจ๊ ดังนั้น แขกที่มาเยี่ยมบ้านไม่ควรเข้าไปเพราะ อาจทําให้ผิดผีเพราะบ้านม้งนั้นอาจจะประกอบพิธีกรรมอยูก่ ็ได้ในขณะนั้น แต่ถา้ บ้านหลังนั้นเปิ ด ประตูไว้แต่ไม่มีเสี ยงตอบรับ ไม่ควรถือสิ ทธิ์ เข้าในบ้านม้งควรจะฝากข้อความไว้กบั คนบ้าใกล้เคียง ถ้าในกรณี ที่แขกมาเยีย่ มบ้านนั้นแล้วเจอกัน แล้วบ้านไม่ไจ๊มง้ จะมีการต้อนรับอย่างดีโดยถ้า เป็ นแขกที่ ไม่ใช่ ญาติ กนั ม้งจะมี การตอบ รั บ โดยรั บด้วยนํ้าชาหรื อเหล้า ขึ้ นอยู่กบั ความสัมพันธ์


171

ระหว่างแขกคนนั้นกับคนในครอบครัวนั้น ถ้าเป็ นญาติกนั ก็จะมีการต้อนรับ โดยฝิ่ นมารยาทในการ รับเครื่ องรับรองจากเจ้าของบ้าน แขกจะต้องดื่ม หรื อลงมือรับประทานอาหารหลังจากที่เจ้าของบ้าน ให้พร้ อมกับเจ้าของบ้านมารยาทแขกที่ จะต้องค้างคื นกับเจ้าของบ้านม้ง จะต้องปฏิ บตั ิ ดงั นี้ แขก จะต้องนอนในที่เจ้าของบ้านจัด เตรี ยมให้เท่านั้น คือม้งจะมีการจัดเตรี ยมที่นอนให้กบั แขกไว้ใกล้กบั เตาไฟเล็กให้กบั แค่นอนเพื่อที่จะพักผ่อนแขกที่คา้ งคืน ในบ้านม้งนั้นจะต้องไม่มีเพศสัมพันธ์กนั ใน ระหว่างที่ การพัก ค้า งคื นอยู่ใ นบ้า นระหว่า งที่ อยู่ใ นบ้า นพัก ม้ง นั้น แขกควรจะหลี ก เลี่ ย งอาหารที่ ต้องห้ามดังนี้ และจะต้องไม่กระทําอะไรที่เป็ นอันขัดแย้งกับความคิดเห็นของเจ้าของบ้าน เช่น ม้งก ลุ่มแซ่ “ลีหรื อ รี ” จะไม่บริ โภคม้ามของสัตว์ทุกชนิ ด ม้งกลุ่มแซ่ “ย่าง” จะไม่บริ โภคหัวใจของสัตว์ ทุ ก ชนิ ด ม้ง กลุ่ ม แซ่ “ว่า ง” จะต้องไม่ นํา ผลไม้ที่ มี ร สเปรี้ ยวที่ ข้ ึ น เองตามธรรมชาติ ใ นป่ า มา รับประทานในบ้าน สิ่ งเหล่านี้ เป็ นความเชื่ อและเป็ นมารยาทของม้งที่ปฏิ บตั ิต่อกันตั้งแต่อดีตจนถึ ง ปั จจุบนั นี้ ข้ อควรสั งเกตในการเยีย่ มบ้ านม้ ง หากแขกไปเยี่ยมบ้านม้งแล้วพบประตูปิดแล้วมี ไม้หรื อกิ่ งไม้หรื อตะแหลวแขวนอยู่ชายคา หน้าบ้านแขกก็ไม่ควรเข้าไปรบกวนเรี ยกเจ้าของบ้าน เพราะเจ้าของบ้านม้งกําลังอยูก่ รรม หรื อ “ไจ๊” อยู่ การไจ๊หรื ออยูก่ รรมของม้งนั้น ม้งถือว่าเป็ นการหลีกเลี่ยงการเจ็บป่ วยอย่างหนึ่ง ถ้าหากว่า เจ้า ของบ้านมีบุคคลใดคนหนึ่งเกิดไม่สบายขึ้นมา ม้งถือว่า ขวัญ หรื อ ปลี่ อยูไ่ ม่ครบ ดังนั้นจึงต้องมีการ ทํา ผีหรื อ อัว๊ เน้ง เพื่ อเป็ นการรั ก ษาคนป่ วยในครอบครั วนั้น ดังนั้นเมื่ อหมอผีจะอัว๊ เน้ง หรื อทํา ผี เรี ยบร้ อยแล้ว หมอผีจะเป็ นคนที่บอกว่าควรจะ อยู่กรรม หรื อ ไจ๊จะกําหนดระยะเวลาของการอยู่ กรรมหรื อ ไจ เลือกวันที่ควรจะอยูก่ รรมด้วย เมื่อบ้านนั้นอยูก่ รรมบ้านนั้นจะมีไม้หรื อกิ่งไม้แขวนไว้ ที่หน้าประตูเพื่อเป็ นการเตือนหรื อบอกให้ผอู้ ื่นรับรู้ หากว่าแขกที่มาเยี่ยมบ้านนั้นไม่ทราบ เกิ ดไป ตะโกนถามคนในบ้านนั้นจะทําให้ผีเอาขวัญของคนป่ วยในบ้านนั้นไป และจะต้องมีการทําผีหรื อ อัว๊ เน้งใหม่อีกครั้ง โดยจะปรับแขกที่มาเรี ยกนั้นเป็ นค่าปรับหรื อเป็ นสัตว์ที่จะต้องมาทําผี หรื ออัว๊ เน้ งอีกครั้ง 2. มารยาทในการร่ วมพิธีกรรม ม้งมีขอ้ กําหนดในเรื่ องการประกอบพิธีกรรมที่แตกต่างกัน ตามความเชื่ อของ แต่ละแซ่ สกุล ย่อย พิธีกรรมหนึ่ง ๆ ที่มีชื่อเหมือนกันและมีจุดประสงค์อย่างเดียวกัน อาจจะมีรูปแบบการประกอบ พิธีกรรมแตกต่างกันในสกุล ฉะนั้น ถ้ามีการเข้าร่ วม ในพิธีกรรมใดๆก็ตาม ถ้าเป็ นพิธีกรรมต่างแซ่


172

ต่างสกุลต่างกันคนที่เป็ นเจ้าของงาน หรื อเจ้าของพฺ ธีกรรมนั้นจะต้องอธิ บายถึงการวางตัวที่เหมาะสม ให้กบั แขกที่มาร่ วม พิธีกรรมนั้นให้ทราบโดยทัว่ กัน มารยาทในการร่ วมงานพิธีศพ เป็ นพิธีกรรมที่มง้ ให้ความสําคัญมากเป็ นพิเศษ หากว่าเจ้าของบ้านมีงานศพขึ้น ม้งที่เป็ นเครื อ ญาติจะต้องมีการแบ่งหน้าที่ ในการประกอบพิธีกรรมให้สมบูรณ์ เรี ยบร้ อยดังนั้นแขกที่ จะมาร่ วม พิธีกรรมในงานศพนั้นจะต้องปฏิบตั ิ ดังนี้ จะต้องไม่แสดงพฤติกรมรังเกียจสภาพศพที่เห็น เพราะม้ง จะนิ ยมไม่นาํ ศพใส่ ในโลงศพ ทําให้แขกที่มาร่ วมงานจะเห็นสภาพศพที่ข้ ึนอืดจนน่าเกลียดมาก ศพ บางศพจะเน่ า และลิ้ นจะโผล่ ออกมาให้เห็ นเลย ดัง นั้นแขกที่ ม าร่ วมจะต้องไม่ แสดงพฤติ ก รรม เหล่านี้ออกไป มารยาทในการร่ วมงานปี ใหม่ งานปี ใหม่เป็ นเทศกาลอย่างหนึ่ งของชนเผ่าม้งที่จดั ขึ้นในทุก ๆรอบปี ซึ่ งจะจัดขึ้นในระหว่าง ขึ้น 1 คํ่าเดือน หนึ่งของทุกปี ซึ่ งตรงกับเดือนธันวาคมของทุกปี ม้งทุกหลังคาเรื อนจะต้องมีการฆ่าหมู เพื่อเป็ นการเฉลิ มฉลองงานปี ใหม่ร่วมกัน การฆ่าหมูน้ นั เป็ นการสรรสันต์ร่วมกันและเป็ นการเซ่ น ไหว้บรรพบุรุษด้วย ดังนั้นแขกที่มาเยี่ยมบ้านม้งนั้นม้งจะมีการต้อนรับเป็ น อย่างดีและม้งจะมีการ ต้อนรับโดยเอาเหล้ามารับแขกซึ่ งแก้วที่นาํ มาใส่ เหล้านั้นจะเรี ยกว่า แก้วแม่ววั กับแก้วลูกวัว ดังนั้น หากว่าเจ้าของบ้านเอาแก้วแม้ววั ให้กบั แขกดังนั้นแขกจะ ต้องดื่ มก่ อนและต้องดื่ มให้หมด ถ้าไม่ หมดม้ ง ถื อ ว่ า เป็ นการรั ง เกี ย จกั น ดั ง นั้ นถ้ า แขกดื่ ม ไม่ ห มดม้ ง ถื อ ว่ า แขกคนนั้ นไม่ อ ยากมี ความสัมพันธ์กบั ตน หรื อไม่ให้เกี ยรติกบั เจ้า ของบ้านดังนั้นจึงถื อว่าความสัมพันธ์ระหว่างแขกกับ เจ้าของบ้านขาดจากกัน แต่ถา้ เจ้าของ บ้านเอาแก้วลูกวัวให้แขก แขกได้รับแก้วลูกวัวแล้วจะต้องดื่ม แก้วเหล้าให้หมด แต่ถา้ ไม่สามารถที่จะดื่มหมดก็สามารถที่จะให้คนอื่นมาช่ วยดื่มแก้วเหล้าลูกวัวนี้ แทนตัวเองได้และความสัมพันธ์ระหว่างแขกกับเจ้าของบ้านยังคงเหมือนเดิมหรื อแน่ นแฟ้ นยิ่งขึ้น มารยาท ระหว่างผูน้ อ้ ยกับผูใ้ หญ่ ข้ อห้ าม ชาวเขาเผ่าม้งมีความยึดมัน่ ในข้อปฏิบตั ิเฉพาะประจํากลุ่ม ประจําแซ่ สกุลของตนเอง ม้งแต่ละ สกุลหรื อแต่ละแซ่มาอยูร่ ่ วมกัน เป็ นชุ มชนหมู่บา้ นม้ง ทุกคนต่างก็จะตระหนักถึงข้อปฏิบตั ิให้อยูใ่ น กรอบ ซึ่ งข้อกําหนดหรื อข้อปฏิบตั ิมีดงั นี้ 1. สมาชิ กม้งที่มีนามสกุลเดียวกัน จะแต่งงานด้วยกันไม่ได้ถา้ จําเป็ นต้องแต่งงงาน กันจริ งๆ จะต้องให้หญิงและชายคู่กรณี ทาํ พิธีตดั ญาติก่อน แล้วจึงจะแต่งงานกันได้


173

2. พฤติกรรมคบชูส้ ู่ ชาย เป็ นข้อห้ามอย่างเคร่ งครัด ถ้าสาวม้งที่ยงั ไม่แต่งงงานนั้น มี สิ ทธิ์ ที่จะเลื อกคบชายใดก็ได้สิทธิ์ คบชายนั้นขึ้นอยู่กบั ฝ่ ายสาวม้ง แต่ถ้าสาวม้งแต่งงานกับชายม้ง เมื่ อไหร่ แล้ว สาวม้ง ไม่ มี สิ ท ธิ์ ในการพูดคุ ย หรื อไปไหนมาไหนกับ ชายใด ถื อว่า เป็ นการทํา ผิ ด วัฒนธรรมของม้ง ฉะนั้นสาวม้งที่ แต่งงาน จะต้องปฏิ บตั ิ หน้าที่ แทนแม่สามี ทนั ที และจะต้องตื่ น ก่อนทุกคนใน ครอบครั ว เตรี ยมหาอาหารให้กบั ทุกคนในครอบครั ว และสัตว์เลี้ ยงด้วย จะเห็ นว่า สาวม้งจะทํางานหนักมาก ฉะนั้นชายม้งสามารถ ที่จะหาภรรยาเพิ่มก็ได้ข้ ึนอยูก่ บั ความยินยอม ของ ฝ่ ายภรรยา และชายม้งจะแอบมีเพศสัมพันธ์กบั หญิงที่แต่งงานแล้ว เช่ นหญิงที่ เป็ นหม้ายที่มีความ ยินยอมเท่านั้น 3.ชายหญิงม้งจะต้องไม่แสดงพฤติ กรรมที่แสดงถึ งความรู ้ สึกชอบพอกันต่อหน้า พ่อ-แม่ของฝ่ ายหญิงเด็ดขาด หรื อในที่สาธารณะ 4. ห้ามไม่ให้ชายอื่นที่ไม่ใช่มง้ อยูก่ บั สาวม้งตามลําพังสองต่อสองในที่ลบั ตา 5. ห้ามให้พี่ชายม้งแต่งงานกับน้องสะใภ้ 6. ห้ามแขกมีเพศสัมพันธ์ในบ้านม้งที่เข้าไปอาศัยอยู่ 7. ห้ามตีกลองโดยพลกาลเด็ดขาด เพราะการตีกลองนั้นถือว่าเป็ นเสี ยงสัญญาณของ งานศพที่มีคนตาย ในหมู่บา้ น ซึ่ งกลองเป็ นเครื่ องดนตรี ชนิดหนึ่ งที่ใช้ในงานศพของม้ง และจะใช้ ประกอบกับแคน 8. ห้ามยิงปื นโดยเด็ดขาด เพราะการยิงปื นนั้นม้งถือเป็ นสัญลักษณ์การยิงปื นเพื่อให้ คนรอบข้างทราบว่าใน บ้านหลังนั้นมีการตายเกิดขึ้น ดังนั้นม้งจึงห้ามไม่ให้มีการยิงปื นในหมู่บา้ น เด็ดขาด 9. ห้ามใช้เงิ นในวันขึ้ นปี ใหม่ 1 วันซึ่ งจะมี การประกอบพิธีก รรมทางศาสนา ใน วันนี้ จึงไม่ให้ใช้เงิ นเพราะม้ง มีความเชื่ อว่า จะทําให้การทํามาหากิ นในปี ถัดไป ไม่ได้ผลเท่าที่ควร หรื ออาจจะจนก็ได้ 10. ห้ามบริ โภคอาหารที่เป็ นข้อห้าม เช่ น - ม้งลีจะไม่รับประทานม้ามของสัตว์ทุก ชนิ ด- ม้งย่าง จะไม่รับประทานหัวใจของสัตว์ทุกชนิ ด - ม้งแซ่ ว่าง จะต้องไม่นาํ ผลไม้ที่มีรสเปรี้ ยว จากป่ าหรื อธรรมชาติมาบริ โภคในบ้านเด็ดขาด – ห้ามไม่ให้ เด็กชาย-เด็กหญิ ง ม้งบริ โภค ตี นไก่ กระเพาะไก่ไส้ไก่เด็ดขาด เพราะม้งมีความเชื่ อว่า เมื่อบริ โภคตีนไก่แล้วจะทําให้เด็กหญิง-ชาย ชอบ ก้า วก่ า ยเรื่ องของผูอ้ ื่ นและจะทํา ให้ท าํ เรื่ องอะไรก็ ไ ม่ ป ระสบความสํา เร็ จกระเพาะไก่ ไ ส้ ไ ก่ เมื่ อ บริ โภคแล้วจะทําให้เด็กไม่ฉลาด เพราะกระเพาะไก่กบั ไส้ไก่จะไปห่อสมองจนคิดไม่ได้


174

การนับวัน การนับวัน เดื อน ปี ของม้งนั้นซึ่ งตามวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ของม้งส่ วนใหญ่จะอยู่ตามภูเขาสู ง ดังนั้นบรรพบุรุษ ของม้งได้อาศัยธรรมชาติ ในการนับวันเพื่อเป็ นฤดูการเพาะปลู กต่าง ๆ เช่ นช่ วง เดื อนที่ มีเสี ยงแมลงร้ องทั้งวันจะบอกเป็ นลางว่าฝนจะตกแล้วต้องทําการเผาป่ า เพื่อจะได้ทาํ การ เพาะปลูก ไม่เพียงแต่การเพาะปลูกเท่านั้น ยังมีการนับวันของการเดิ นทางด้วย เนื่ องจากม้งมีความ เชื่ อเรื่ องโชคลาง หากว่าการเดิ นมีการเสี่ ยงทายดูก่อนที่จะเดินทางเพื่อให้การติดต่อหรื อการสื่ อสาร ประสบความสํา เร็ จ และมี โชดในการเดิ นทางอี ก ด้วย หากจะเดิ นทางนั้นจะ ต้องมี ก ารดู เวลาที่ เหมาะสมในการเดิ นซึ่ งการนับเดื อนของม้งนั้น ในหนึ่ งปี จะมี12 เดื อน แต่มง้ จะนับเดื อนธันวาคม เป็ นเดือนที่1 แล้วเรี่ ยงตามลําดับ 1. การนับเดื อนของม้ง การนับเดื อนของม้ง ม้งจะมี การนับเดื อนตามวัน หากว่า เดือนใดที่มีขา้ งขึ้นหรื อข้างแรม เพียง 14 วัน ก็แสดงว่าเดือนนั้น จะมี 29 วัน แต่ถา้ เดือนใดที่นบั แล้ว มีขา้ งขึ้นและข้างแรม 15 วัน ก็แสดงว่าเดือนนั้นจะมี 30 วัน 2. การนับวันของม้ง การนับวันของม้งโดยทัว่ ไปแล้วม้งจะมีการนับวันเช่นเดียวกับ ประเทศจีน และยึดถือปฎิทินฉบับเดียวกับคนจีน ซึ่ งการนับวัน ม้งจะนับเป็ นข้างขึ้นกับข้างแรมโดย เริ่ มนับจากขึ้น 1 คํ่าเป็ นวันที่หนึ่งของเดือนนั้นและตรงกับวันหนูหรื อชั้วะนู ้ หนุ่มสาวชาวม้ ง กาลเวลาแปรเปลี่ ยนไปพร้ อมกับการหมุ นของโลกที่ เกิ ดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่ งฤดู กาลเริ่ ม หมุนเวียน ไปเรื่ อย ๆ อย่างไม่สามารถหยุดยั้งได้ฤดูใบไม้ผลิ เริ่ มแวะเวียนมาอีกครั้ง วันเวลานําพา ใบไม้ร่วงโรยไปตามฤดูกาล ..แต่ดูเหมือนบางสิ่ งบางอย่างคงเดิมอยูต่ ลอดเวลานัน่ คือ ขบวนการจีบ สาว ของชายม้ง ไม่วา่ กาลเวลาจะแปรเปลี่ยนไปพร้อมกับกระแสของสังคมก็ตามที แต่ขบวนการจีบ สาว ๆ ยังคงยืนยงคงกระพันอยู่ ไม่มีแนวทางแก้ไขหรื อเปลี่ยนแปลงได้เลย เพราะผูห้ ลักผูใ้ หญ่ต่าง คิดว่า นัน่ คือ ค่านิยม หรื อ ประเพณี ไปแล้ว จึงทําให้ไม่สามารถมีทางแก้ไขตรงจุดนี้ ได้ ผูห้ ลักผูใ้ หญ่ ม้งที่ เป็ นผูช้ าย มักจะสอนกลวิธีการจี บสาวให้ลูกหลานที่เป็ นผูช้ ายเสมอ กลวิธีต่างๆ เหล่ านี้ เป็ น สาเหตุหนึ่งที่เยาวชนม้ง ในสมัยก่อนมักจะแต่งงานตอนอายุยงั น้อยมาก บางคู่แต่งงานอายุเพียง11-15 ปี ซึ่ งเป็ นช่ วงอายุที่น้อยมากและยังอยู่ในวัยที​ี่ ่ กําลังจะเจริ ญเติ บโตทางด้าน ร่ างกายเท่า นั้น ส่ วน พัฒนาการทางสมองหรื อความมัน่ คงด้านจิตใจยังไม่เจริ ญเติบโตบริ บูรณ์ เขาเหล่านี้ ตอ้ งมาเรี ยน รู ้ ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ที่ตอ้ งรับผิดชอบ ทั้ง ๆ ที่ยงั ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ ซึ่ งเยาวชนม้งบางคู่จะถู ก บิดามารดา จับแต่งงานกันตั้งแต่เด็ก และต้องมารับภาระหน้าที่ในครอบครัว คือต้​้องออกไปทําไร่


175

ปลูกข้าว ปลูกข้าวโพด ปลูกฝิ่ นเท่านั้น ซึ่ งมีหลายต่อหลายครอบครัวม้งที่ตอ้ งทนตรากตรําทํางาน หนักในไร่ เท่านั้น เพื่อที่ จะ นําพืชภัณฑ์ธัญญาหารเหล่ านี้ มาเลี้ ยงครอบครัว เป็ นสาเหตุของความ ยากจนมาก แต่มงั ก็ยงั คงทนอยู่ในสภาพ เช่นนี้ เรื่ อย ๆ มา แต่ส่ิ งเหล่านี้ เป็ นสิ่ งที่เกิ ดขึ้นในอดีตของ เยาวชนม้งแทบทุกคน แม้ว่าปั จจุบนั นี้ กาลเวลา ได้แปรเปลี่ ยนไปพร้อมกับสังคมเปลี่ยนแปลง และ ความเจริ ญทางเทคโนโลยีได้คืบคลานเข้ามาแล้วก็ตาม แต่การจีบกันของเยาวชนม้งยังคงอยูใ่ นสภาพ เดิม โดยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งที่การศึกษาได้เข้าทัว่ ถึงแล้ว แต่ค่านิ ยมเหล่านี้ ไม่สามารถที่ จะแปรเปลี่ยนไปได้ จะสังเกตเห็นว่า ตอนดึกประมาณสองทุ่มถึงตีหนี่ งหรื อตีสอง บ้านม้งหลังไหน มีสาว จะมีหนุ่ มอยู่นอกบ้านหลังนั้น เหมือนทําหน้าที่เป็ นยามในบ้านหลังนั้น หากว่าใครที่ไม่เคย รับรู ้ขอ้ มูลมาก่อน แล้วมาเห็นภาพนี้ คงจะนึ กว่า ม้งค่อยข้างจะมีฐานะ ต้องมียามประจําบ้านด้วย แต่ ความจริ งแล้วคือ หนุ่มม้งนิ ยมการจีบสาวแบบเฝ้ าบ้านให้ โดยที่สามารถได้ไปคุยกับสาวม้งที่ตวั เอง ชอบ แต่ดูเหมือนว่าผูห้ ลักผูใ้ หญ่จะเห็ นพ้องต้องกัน และไม่มีผหู ้ ลักผูใ้ หญ่คนไหน ที่จะนําความรู ้ ใหม่ ๆ หรื อแม้แต่นาํ แนวความคิดที่จะพัฒนาเยาวชนให้มีค่ามากขึ้น ให้เยาวชนได้รับการศึกษามาก ขึ้น โดยลดปั ญหาความยากจนของม้งลง ซึ่ งดูเหมือน ว่าสังคมของม้งมีมุมมองที่แคบเกินไป เยาวชน อาจจะมีความสุ ขในการใช้ชีวิตช่ วงวัยรุ่ นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่พวกเขายังไม่ได้เข้าไปเผชิ ญกับ ความเจริ ญของโลกที่มีการเปลี่ ยนแปลงตลอด เวลา ดังนั้นจึงมีกลุ่มเยาวชนบางกลุ่ มที่ดอ้ ยโอกาส และไม่สามารถที่จะก้าวทันกระแสของโลกได้

ภาพ 78 แสดงสาวชาวม้ง


176

ฉะนั้นเยาวชนม้งรุ่ นใหม่ควรที่จะก้าวออกจากกะลา เพื่อมาเรี ยนรู ้โลกใบกว้างที่รอการเข้า ไปสัมผัสกับมันอย่างแท้จริ ง เพราะโลกสี เขียวใบนี้ ยังมีสิ่งที่มีค่าแก่การเก็บเกี่ยวรออยู่ เราต้องเรี ยนรู ้ และเก็บเกี่ ยวประสบการณ์ ดว้ ยตัวเอง แล้วเราก็จะได้เก็บสิ่ งดี ๆไป ส่ วนสิ่ งที่ ไม่ดีก็เก็บเอาไว้เป็ น ประสบการณ์ ชีวิต ชี วิตจึ งจะมี คุณค่ามากยิ่งขึ้ น แต่อย่างไรก็ตามหากว่าเราไม่เปลี่ ยนแปลงตัวเอง แล้วสิ่ งแวดล้อมรอบข้างจะเปลี่ยนแปลงตัวเราเอง โดยที่เราไม่สามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงนั้น ได้ ...ฉันใดก็ฉนั นั้น...การจีบสาวม้ง ถึงเวลาแล้วที่เราต้องเปลี่ยนแปลง แต่หากว่าการเปลี่ยนแปลง นั้นเปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดี เราก็ไม่ควรเปลี่ยนแปลงมัน แต่หากว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นเปลี่ยนแปลง ไปทางที่ ดีข้ ึ น ทรงคุ ณ ค่ า มากขึ้ น เราฐานะเยาวชนม้ง จํา เป็ นต้อ งเปลี่ ย น เนื่ อ งจากสิ่ ง แวดล้อ ม เปลี่ยนไป ฐานะทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป วิถีชีวติ ความเป็ นอยูก่ ็เปลี่ยนแปลงไปแล้ว...เราจึงควร ต้ อ งเปลี่ ยนแปลงไปตาม กาลเวลา และยอมรั บ กั บ สภาพความเป็ นจริ งในโลกใบนี้ (www.openbase.in.th/node)


177

ส่ วนที่ 5 แหล่งท่องเทีย่ ว ความสาคัญของการท่องเทีย่ วในเศรษฐกิจไทย เป็ นที่เข้าใจกันว่า การพัฒนาการท่องเที่ยวจะเป็ นเส้นทางลัดไปสู่ การพัฒนาทางเศรษฐกิ จ ของประเทศที่กาํ ลังพัฒนาในหลายๆประเทศ รวมทั้งประเทศสังคมนิ ยมที่เริ่ มเปิ ดประเทศใหม่ เช่ น ในกลุ่มประเทศอินโดจีนและกลุ่มประเทศในยุโรปตะวันออก ต่างมุ่งหวังให้การท่องเที่ยวเป็ นภาค บุกเบิกที่จะนําผลประโยชน์ท้ งั หลายมาสู่ ระบบเศรษฐกิจของประเทศด้วยการลงทุนที่ไม่สูงนัก โดย หวังว่าการท่องเที่ยวจะดึ งดูดเงิ นตราต่างประเทศ ทําให้คนในท้องถิ่ นมีงานทําและมีรายได้ ใน ขณะเดียวกันประเทศไทยก็เคยอาศัยการท่องเที่ยวมาเป็ นกลยุทธ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทําให้ประเทศไทยประสบความสําเร็ จทางการตลาดอย่างงดงาม จนเป็ นที่รู้จกั ในฐานะ “สยามเมือง ยิม้ ” และประเทศไทยได้กลายมาเป็ นสถานพักผ่อนที่มีชื่อเสี ยงแห่งหนึ่งของโลก แต่ ห ากจะเที ย บกับ ประเทศที่ มี นัก ท่ องเที่ ย วจํา นวนสู ง เป็ นอัน ดับ แรกๆ ของโลก เช่ น ฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน ซึ่ งมีนกั ท่องเที่ยวประมาณ 27-50 ล้านคนต่อปี ประเทศไทยนับว่ายังเล็ก มาก เพราะมี นักท่องเที่ ยวต่างประเทศเพียงประมาณ 5 ล้านคน แต่ถ้าเปรี ยบเที ยบกับประเทศใน เอเชียซึ่ งมีสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร์ และประเทศที่มีสิ่งมหัศจรรย์ติดอันดับโลก เช่น อียิปต์ (มีนกั ท่องเที่ยว 2.6 ล้านคน) และอินเดีย (1.8 ล้านคน) ก็นบั ว่าประเทศไทยประสบความสําเร็ จสู ง มาก รายได้จากการท่องเที่ ยวของไทยค่อนข้างจะมี ความสําคัญ คือ คิดเป็ นร้ อยละ 5.4 ของ GDP (รายได้ประชาชาติ) ซึ่ งสู งกว่าประเทศอื่น ๆ ใน อาเซี ยน ยกเว้นสิ งคโปร์ (ร้อยละ 11.4 ของ GDP) ความสํา เร็ จของการท่ องเที่ ยวไทยหรื อยุค ทองของการท่ องเที่ ยว เพิ่ง จะเริ่ มในช่ วงแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 6 (2530-2534) โดยมีรายได้จากการท่องเที่ยวในปี แรก ของแผนฯ ประมาณ 50,000 ล้า นบาท และเพิ่ ม เป็ น 100,000 ล้า นบาทในปี สุ ด ท้ายของแผนฯ ความสําเร็ จดังกล่าวส่ วนหนึ่งเกิดจากกลยุทธ์การตลาดที่ประกาศให้ปี 2530 เป็ นปี แห่ งการท่องเที่ยว ไทย ทําให้รายได้จากการท่องเที่ยวในปี นั้นเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 34 และต่อมา ในปี 2531 เพิ่มขึ้นอีกร้อย ละ 58 ในปี 2534 รายได้จากการท่องเที่ยวเท่ากับสองในสามของสิ นค้าออกประเภทเกษตรกรรม


178

และมีมูลค่าใกล้เคียงกับรายได้จากการส่ งออกสิ่ งทอและเสื้ อผ้าสําเร็ จรู ป ซึ่ งเป็ นสิ นค้าหัตถกรรมที่มี การส่ งออกสู งสุ ด อย่างไรก็ตามข้อที่น่าสังเกตเกี่ยวกับลักษณะการเติบโตของการท่องเที่ยวไทย คือ การเพิ่มของรายได้ต้ งั แต่ ปี 2524 เป็ นต้นมา ส่ วนใหญ่เป็ นผลมาจากการเพิ่มจํานวนนักท่องเที่ยว และระยะเวลาที่อยูใ่ นประเทศไทย แต่ค่าใช้จ่ายต่อวันที่คิดในราคาคงที่แทบจะมิได้เพิม่ ขึ้นเลย ความสาคัญของการท่ องเทีย่ วชุ มชน อุตสาหกรรมการท่องเที่ ยว นับเป็ นธุ รกิ จการท่องเที่ ยวที่ สร้ างรายได้เป็ นเงิ นตราให้กบั ผู ้ ประกอบการและกระจายเข้าไปในท้องถิ่นที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยว ดังนั้นองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น (อบต. เทศบาลตําบล และอบจ.) หน่ วยงานราชการที่ เกี่ ยวข้องและรั ฐบาลจึ งควรมี นโยบายและ แผนงานพัฒนาและส่ งเสริ มการท่องเที่ยว โดยเพิ่มจํานวนนักท่องเที่ยวทั้งนักท่องเที่ยวชาวไทยและ นักท่องเที่ยวต่างประเทศ เพื่อเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว อีกทั้งยังเป็ นการเพิ่มเศรษฐกิจของท้องถิ่น โดยรวม และส่ งผลต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศด้วย รายได้จากการท่องเที่ยวย่อมกระจายเข้าไปสู่ ทอ้ งถิ่นผูเ้ ป็ นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวได้ ยกตัว อย่างเช่น มีนกั ท่องเที่ยวมากินอาหารในพื้นที่ หรื อซื้ อสิ นค้าของที่ระลึกต่างๆ เงินจากนักท่องเที่ยว จะผ่านมื อจากเจ้าของร้ า นไปซื้ ออาหารสด ผลไม้ส ด หรื อซื้ อผ้า ทอ เงิ นเหล่ านี้ ย่อมกระจายไปสู่ เกษตรกรผูผ้ ลิตอาหารและผลไม้ หรื อไปสู่ ช่างทอผ้าซึ่ งอยูใ่ นท้องถิ่นได้ เป็ นต้น ดังนั้นการจัดการการท่องเที่ยวในท้องถิ่นย่อมเป็ นภาระหน้าที่ของคนในท้องถิ่นจะต้องร่ วม กันคิดร่ วมกันทํา เพื่อให้มีนกั ท่องเที่ยวต่างถิ่นเดินทางมาเที่ยวได้เพิ่มขึ้นตลอดทั้งปี และตลอดกาล อันเป็ นการจัดการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนนัน่ เอง กระบวนการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน นั้นมีหลายระดับ ระดับแรกก็คือ ชุ มชนหรื อ ประชาคม (Community) ผูร้ ับผิดชอบเป็ นเจ้าของเป็ นผูค้ รอบครอง จะต้องมีหน้าที่ มีบทบาท ดังนี้ 1) หน้าที่รับผิดชอบการท่องเที่ยวของชุมชนตามที่กฎหมายระบุ องค์กรชุมชนหรื อประชาคม (Community) หรื อกลุ่มประชาชน นับเป็ นองค์กรเล็ก ที่สุด และมีบทบาทเป็ นเจ้าของท้องถิ่น เจ้าของทรัพยากรการท่องเที่ยว เจ้าของแหล่งท่องเที่ยว ต้องมี บทบาท และหน้าที่ต่อการพัฒนาและส่ งเสริ มการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืนร่ วมกัน ตามรัฐธรรมนูญกําหนด บทบาทการมีส่วนร่ วมของประชาชนเป็ นกฎหมาย ดังนี้


179

รัฐธรรมนูญไทยฉบับพ.ศ.2540 ระบุไว้ในหมวดที่ 3 สิ ทธิ และเสรี ภาพของชนชาว ไทย มาตราที่ 46 ระบุไว้ว่า บุคคลซึ่ งรวมกันเป็ นชุ มชนท้องถิ่นดั้งเดิมย่อมมีสิทธิ อนุ รักษ์และฟื้ นฟู จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะหรื อวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ และมีส่วนร่ วม ในการจัดการ การบํารุ งรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่าง สมดุลและยัง่ ยืน ทั้งนี้ตามกฎหมายบัญญัติมาตราที่ 56 ระบุไว้วา่ สิ ทธิ ของบุคคลที่จะมีส่วนร่ วมกับ รัฐและชุมชนในการบํารุ งรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย ทางชีวภาพ และในการคุม้ ครองส่ งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม เพื่อให้ดาํ รงชี พอยูอ่ ย่างปกติ และต่อเนื่ อง ในสิ่ งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิ ดอันตรายต่อสุ ขภาพอนามัย สวัสดิ ภาพ หรื อคุณภาพ ชีวติ ของตน ย่อมได้รับความคุม้ ครอง ทั้งนี้ตามกฎหมายบัญญัติ เพื่อให้การทํางานของชุ มชนร่ วมกับ หน่วยงานอื่น ๆ มีความคล่องตัว ชุมชนหรื อประชาคมจะต้องเลือกผูแ้ ทนกลุ่มหนึ่ งเพื่อทําหน้าที่เป็ น องค์กรชุมชน ได้แก่ประธาน รองประธาน (1-2 ตําแหน่ง) เลขานุการและนายทะเบียน เหรัญญิกหรื อ สมุห์บญั ชี ปฏิ คมและประชาสัมพันธ์ มีการกําหนดหน้าที่ ระเบียบ กติกา และรายงานต่อชุ มชนใน ท้องถิ่นอย่างชัดเจน โปร่ งใส เช่น ชุ มชนสามแพร่ ง ชุ มชนท่าเตียน (เขตพระนคร กรุ งเทพฯ) ชุ มชน วัดเกตุการาม (อ.เมืองเชี ยงใหม่) ชุ มชนรักษ์อมั พวา (อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม) เป็ นต้น เพื่อให้ การทํา งานของกลุ่ ม ผูแ้ ทนสามารถทํา งานได้ค วรกํา หนดเงิ น ตอบแทนเป็ นเบี้ ย ประชุ ม สํา หรั บ ค่าใช้จ่ายอื่นรวมอยูใ่ นงบประมาณดําเนินการ บทบาทขององค์กรชุ มชนหรื อประชาคมต่อการพัฒนา และส่ งเสริ มการท่องเที่ ยวที่ยงั่ ยืน นั้นจะต้องทํางานร่ วมกันกับพหุ ภาคี โดยร่ วมเสนอความคิดและระดมความคิดเห็ นในการศึกษา สถานภาพของแหล่ งท่องเที่ ยวและกิ จกรรมการท่องเที่ ยวว่า มี จุดเด่ น จุ ดด้อย โอกาสและปั ญหา อะไรบ้าง จากนั้นจึงร่ วมวางแผนงาน ทั้งแก้ไขปั ญหา ส่ งเสริ มและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ทํา แผนปฏิบตั ิการทั้งแผนเฉพาะกิจ แผนระยะเร่ งด่วน ระยะกลาง และระยะยาว ร่ วมมือกันทํางานตาม แผนที่ วางไว้ให้เป็ นผลสําเร็ จ รวมทั้งร่ วมลงทุ นในธุ รกิ จท่องเที่ยวที่ ได้รับการยินยอมจากชุ มชน ร่ วมกันประเมินผลงาน เพื่อให้ประสบผลสําเร็ จตามเป้ าหมายที่วางไว้ดว้ ยกัน หรื อพบปั ญหาที่ตอ้ ง ร่ วมกันแก้ไ ข ฟื้ นฟู พัฒนาให้มี คุ ณภาพดี ข้ ึ น นอกจากนั้น กลุ่ ม ผูแ้ ทนชุ มชนต้องทํา หน้า ที่ สร้ า ง เครื อข่ายทั้งระดับแนวตั้งและแนวนอนด้วย 2) ทรัพยากรการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว ที่ชุมชนเป็ นเจ้าของ


180

หากพิจารณาทรัพยากรการท่องเที่ยวในท้องถิ่นแล้ว สามารถแยกออกเป็ น ประเภทต่าง ๆ ได้ 7 ประเภท คือ (1) แหล่งธรรมชาติที่มีความสวยงาม โดดเด่น เป็ นเอกลักษณ์ของท้องถิ่ น เช่น ป่ า เขา นํ้าตก ถํ้า ทะเล (2) แหล่งโบราณคดี/ แหล่งประวัติศาสตร์ / ศาสนสถานที่สวยงาม (3 )พิพิธภัณฑ์พ้นื บ้าน (4 ) งานบุญพื้นบ้าน งานประเพณี พ้นื เมืองในรอบปี (12 เดือน) (5 ) ภูมิปัญญาพื้นบ้าน วิถีชีวิตพื้นบ้าน และการประกอบอาชี พหลักใน ชุมชน (6) ไร่ นา สวนเกษตรต่าง ๆ และ ฟาร์ มเลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ (7) บุคลากรในท้องถิ่ นที่มีความสามารถทํางานในธุ รกิ จท่องเที่ยวด้าน บริ การอย่างมีคุณภาพในแต่ละสาขา เช่น บริ การรถนําเที่ยว เรื อนําเที่ยว บริ การในร้านอาหาร และ บริ การนําเที่ยว(มัคคุเทศก์ทอ้ งถิ่น หรื อ วิทยากรในท้องถิ่น) เป็ นต้น ดังนั้น หากนําทรัพยากรการท่องเที่ยวในท้องถิ่นมาจัดรู ปแบบการท่องเที่ยวก็เข้าหลักการ การท่องเที่ยวชมวิถีชีวติ ชนบท แล้วสามารถจัดรู ปแบบการท่องเที่ยวที่เป็ นรู ปแบบสากล ดังนี้ (1) การท่องเที่ ยวเชิ ง เกษตร หมายถึ ง การเดิ นทางท่ องเที่ ย วไปยัง พื้ นที่ เกษตรกรรมสวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุ นไพร ฟาร์ ม ปศุ สัตว์และเลี้ ยงสัต ว์ เพื่ อชื่ นชมความ สวยงาม ความสําเร็ จและเพลิดเพลินในสวนเกษตร ได้ความรู ้ มีประสบการณ์ใหม่บนพื้นฐานความ รับผิดชอบ มีจิตสํานึกต่อการรักษาสภาพแวดล้อมของสถานที่แห่งนั้น (2) การท่องเที่ยวเชิ งประวัติศาสตร์ หมายถึ ง การเดิ นทางท่องเที่ยวไปยัง แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดี และประวัติศาสตร์ เพื่อชื่ นชมและเพลิดเพลินในสถานที่ท่องเที่ยวได้ ความรู ้ มีความเข้าใจต่อประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ในท้องถิ่ นบนพื้นฐานของความรับผิดชอบ และมีจิตสํานึกต่อการรักษามรดกทางวัฒนธรรม และคุณค่าของสภาพแวดล้อมโดยที่ประชาคมใน ท้องถิ่น มีส่วนร่ วมต่อการจัดการการท่องเที่ยว (3) การท่องเที่ยวงานชมวัฒนธรรมและประเพณี หมายถึง การเดินทางมา ท่องเที่ยวเพื่อชมงานประเพณี ต่างๆ ที่ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้นๆ จัดขึ้น ได้รับความเพลิดเพลินตื่นตา


181

ตื่นใจในสุ นทรี ยศิลป์ เพื่อศึกษาความเชื่ อ การยอมรั บนับถื อการเคารพ พิธีกรรมต่างๆ และได้รับ ความรู ้มีความเข้าใจต่อสภาพสังคมและวัฒนธรรมชองชุมชนนั้น ๆ มีประสบการณ์ใหม่ๆเพิ่มขึ้นบน พื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึ กต่อการรักษาสภาพแวดล้อม และมรดกทางวัฒนธรรม โดยประชาคมในท้องถิ่นมีส่วนร่ วมต่อการจัดการท่องเที่ยว (4) การท่องเที่ยวชมวิถีชีวิตในชนบท หมายถึ ง การเดิ นทางท่องเที่ยวใน หมู่บา้ นชนบทที่ มีลกั ษณะวิถีชีวิต และผลงานสร้ างสรรค์ที่มีเอกลักษณ์ พิเศษมี ความโดดเด่ น เพื่อ ความเพลิดเพลิน ได้ความรู ้ ดูผลงานสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาพื้นบ้าน มีความเข้าใจในวัฒนธรรม ท้องถิ่นบนพื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึ กต่อการรักษามรดกทางวัฒนธรรม และคุณค่า ของสภาพแวดล้อม โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่ วมต่อการจัดการการท่องเที่ยว (5) การท่องเที่ ยวเชิ งสุ ข ภาพ หมายถึ ง การท่องเที่ ยวในแหล่ งธรรมชาติ และแหล่งวัฒนธรรม เพื่อการพักผ่อนและเรี ยนรู ้ วิธีการรักษาสุ ขภาพกายและใจ ได้รับความเพลิน เพลิ น และสุ นทรี ยภาพ มี ความรู ้ ต่อการรั กษาคุ ณค่า และคุ ณภาพชี วิตที่ ดีมีจิตสํานึ กต่อการรั กษา สิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่ น โดยประชาชนในท้องถิ่ นมีส่วนร่ วมต่อการจัดการท่องเที่ยวที่ ยัง่ ยืน (6) การท่องเที่ยวเชิ งทัศนศึกษาและศาสนา หมายถึง การเดินทางเพื่อทัศน ศึกษา

แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้จากปรัชญาทางศาสนา หาความรู ้ สัจธรรมแห่ งชี วิต มีการฝึ กทําสมาธิ

เพื่อมีประสบการณ์ และความรู ้ ใหม่เพิ่มขึ้น มีคุณค่าและคุ ณภาพชี วิตที่ดีเพิ่มขึ้น มีจิตสํานึ กต่อการ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่ นโดยประชาชนในท้องถิ่ นมี ส่ วนร่ วมต่ อการจัดการการ ท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน นอกจากนั้นนักท่องเที่ยวบางกลุ่มมุ่งการเรี ยนรู ้วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย เช่น การทําอาหารไทย

การนวดแผนไทย รําไทย มวยไทย การช่ างและงานศิลปหัตถกรรมไทย

รวมถึงการเรี ยนรู้การบังคับช้าง และเป็ นควาญช้าง เป็ นต้น (7)

การท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ ศึ ก ษากลุ่ ม ชาติ พ นั ธุ์ ห รื อ วัฒ นธรรมกลุ่ ม น้อ ย

หมายถึง การเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเรี ยนรู ้วิถีชีวิตความเป็ นอยู่ วัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อย หรื อชน เผ่าต่าง ๆ เช่น หมู่บา้ นชาวไทยโซ่ง หมู่บา้ นผูไ้ ทย หมู่บา้ นชาวกูย หมู่บา้ นชาวกะเหรี่ ยง หมู่บา้ นชาว จี นฮ่ อ ฯลฯ เพื่ อมี ป ระสบการณ์ และความรู ้ ใ หม่ เพิ่ ม ขึ้ น มี คุ ณค่ า และคุ ณภาพชี วิต ที่ ดี เพิ่ ม ขึ้ น มี


182

จิตสํานึ กต่อการรักษาสิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่ น โดยประชาชนในท้องถิ่ นมีส่วนร่ วมต่อ การจัดการการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน (8) การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์และฟาร์ มสเตย์ หมายถึงนักท่องเที่ยวกลุ่ม ที่ตอ้ งการใช้ชีวิตใกล้ชิดกับครอบครัวในท้องถิ่ นที่ ไปเยือน เพื่อการเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่ นและ วัฒนธรรมท้องถิ่น ได้รับประสบการณ์ ในชี วิตเพิ่มขึ้น โดยมีจิตสํานึ กต่อการรักษาสิ่ งแวดล้อมและ วัฒนธรรมท้องถิ่น เป็ นการจัดการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่ วมของชุมชนในท้องถิ่นที่ยงั่ ยืน แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ 1) กังหันนา้ กังหันนํ้า อยูต่ รงข้ามกับโรงเรี ยนการเมืองการทหาร เป็ นกังหันนํ้าขนาดใหญ่ สร้าง ขึ้นจากการผสมผสานความคิดก้าวหน้าทางวิชาการ กับการนําประโยชน์จากธรรมชาติมาใช้งาน โดยนักศึกษาวิศวะที่เข้าร่ วมกับพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย (พคท.) หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ขับเคลื่อนด้วยพลังนํ้าเพื่อหมุนแกนกระเดื่องตําข้าว เปรี ยบเสมือนโรงสี ขา้ ว 2) ทะเลหมอกบนเขาค้ อ อ่างเก็บนา้ รัตนัย เขาค้อ เป็ นชื่อเรี ยกรวมทิวเขาน้อยใหญ่ของเทือกเขาเพชรบูรณ์ ในเขตอําเภอเขาค้อ เหตุที่เรี ยกกันว่า เขาค้อ เพราะป่ าบริ เวณนี้ มีตน้ ค้อขึ้นอยูม่ าก เนื่ องจากภูมิอากาศบนเขาค้อเย็นตลอด ปี ค่อนข้างเย็นจัดในฤดูหนาวและมีทศั นียภาพสวยงาม จึงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิ ยมมาก ที่สุดแห่ งหนึ่ งของเพชรบูรณ์ เขาค้อประกอบด้วยภูเขาสลับซับซ้อนมากมาย ยอดเขาค้อมีความสู ง ประมาณ 1,174 เมตร เหนื อระดับ นํ้าทะเล เขาย่าสู ง 1,290 เมตรและเขาใหญ่ สู ง 865 เมตร นอกจากนั้นยังมีเขาตะเคียนโง๊ะ เขาหิ นตั้งบาตร เขาห้วยทราย และเขาอุม้ แพ ลักษณะป่ าไม้ในแถบนี้ เป็ นป่ าเต็งรังหรื อป่ าไม้สลัดใบ ป่ าสน และป่ าดิ บ ที่น่าสนใจก็คือ พันธุ์ ไม้ตระกูลปาล์ม ลักษณะ คล้ายต้นตาล แต่ออกผลเป็ นทะลายคล้ายหมาก แม้ปัจจุบนั ป่ าจะถูกถางไปมากก็ตาม แต่ก็ยงั มีให้เห็น อยูบ่ า้ ง สถานที่ท่องเที่ยงบนเขาค้อ นอกจากสถานที่ที่มีความสําคัญทางด้านประวัติศาสตร์ แล้ว เขา ค้อยังมีความสวยงามให้ชื่นชมได้ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะการขึ้นไปชมทะเลหมอกในฤดูหนาว ซึ่ งมีที่ พักหลายแห่ งสามารถเห็ นทะเลหมอกที่ สวยงามได้ในตอนเช้า ส่ วนในฤดูร้อนก็ยงั มีนกั ท่องเที่ยว


183

นิ ยมมาเที่ ยวชม เนื่ องจากมี อุณหภูมิเฉลี่ ยตํ่า ทําให้มีอากาศเย็นตลอดทั้งปี ทะเลหมอกบนเขาค้อ บริ เวณที่เกิดทะเลหมอกบนเขาค้อ คือบริ เวณเหนื ออ่างเก็บนํ้ารัตนัย ซึ่ งอยูด่ า้ นล่างของถนนเส้นทาง หลักสาย 2196 บริ เวณใกล้ๆ กับที่ ทาํ การอําเภอเขาค้อ สามารถชมทะเลหมอกได้เป็ นระยะทาง ค่อนข้างยาวไกล ในช่วงเช้า ก่อนพระอาทิตย์ข้ ึน ถึงเวลาประมาณ 8 โมงเช้า จุดที่นิยมไปชมกันมาก ที่สุด คือบริ เวณศาลาชมวิวเขาค้อ, จุดบริ เวณที่ต้ งั ของรี สอร์ ทเขาค้อทะเลหมอก, พรสวรรค์รีสอร์ ท ,เขาค้อสวิส , รุ่ ง อรุ ณ รี ส อร์ ท , ภูอ าบหมอก, บ้า นทะเลหมอก และบริ เวณใกล้เคี ย ง เช่ น ชุ ม สายโทรศัพ ท์เขาค้อ และสถานที่ ราชการ ที่ อยู่ติดๆกัน เช่ นสถานี ตาํ รวจภู ธ ร อ.เขาค้อ และ โรงเรี ยนร่ มเกล้าเขาค้อ นอกจากนี้ ยังมีรีสอร์ ทอีกหลายแห่ ง ที่สามารถพักแรมในบ้านพัก หรื อกางเต็นท์นอน เพื่อ ชมทะเลหมอกยามเช้า ที่หน้าบ้านกันเลย ส่ วนใหญ่อยูใ่ นบริ เวณจุดชมทะเลหมอกริ มถนนสาย 2196 นี้ บางรี สอร์ ทอาจต้องเข้าซอย หรื ออยู่ต่ าํ ลงไปอีกนิ ดหนึ่ ง แต่ก็สามารถชมทะเลหมอกได้เช่ นกัน บางวันที่มีหมอกหนาแน่ น รี สอร์ ทที่อยู่ต่ าํ ก็จะถูกหมอกคลุ ม กลายเป็ นส่ วนหนึ่ งของทะเลหมอก เป็ นบ้านในสายหมอก ได้บรรยากาศไปอีกแบบ จุดกางเต็นท์สามารถกางเต็นท์ในรี สอร์ ทเกื อบทุก แห่ ง ซึ่ งจะเสี ยค่าบริ การรายหัว ประมาณ 100-250 บาท แล้วแต่รีสอร์ ท เป็ นค่าที่พกั รวมกับอาหาร เช้า และบริ การเสริ มอื่น ๆ ของรี สอร์ ท แต่หากต้องการกางเต็นท์ในพื้นที่ราชการบริ เวณนี้ ก็สามารถ กางเต็นท์ได้ที่ ชุ มสายโทรศัพท์เขาค้อ บริ เวณติดกัน รวมถึ งสถานที่ราชการอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียง ซึ่ ง ส่ วนใหญ่เปิ ดบริ การให้นกั ท่องเที่ยวเข้ามากางเต็นท์พกั แรม ในช่วงเทศกาล หรื อหากไม่ตอ้ งการพัก แรมเบียดเสี ยดกัน ก็หาที่พกั ที่ไกลออกไปสักนิด แล้วค่อยขึ้นมาชมทะเลหมอกยามเช้า ก็สะดวกดี 3) เนินมหัศจรรย์ อยู่ตรงกลางกม.ที่ 17.5 ถนนสายนางัว่ -สะเดาะพง (หมายเลข 2258) เมื่อขับรถ มาถึ งตรงนี้ แล้ว และดับเครื่ องรถจะถอยหลังขึ้นเนิ นได้ ปรากฏการณ์ ดงั กล่าวเกิ ดจากภาพลวงตา เนื่ องจากวัดระดับความสู งของเนิ น ช่ วงที่มองเห็ นเป็ นยอดเนิ นจะมีระดับตํ่ากว่าช่ วงที่เป็ นทางขึ้น เนิน มีลกั ษณะเป็ นทางขึ้นเนินเมื่อ จอดรถดับเครื่ อง และปล่อยเกียร์ วา่ ง รถจะไหลขึ้นเนิ นสู งอย่างน่า อัศจรรย์ ไปเองประมาณ 10 เมตร และจากการพิสู จน์ ปรากฏการณ์ ดงั กล่าว เกิ ดจากภาพลวงตา เนื่ องจากวัดระดับ ความสู งของเนิ นจะมี ระดับตํ่ากว่า ช่ วงที่เป็ นทางขึ้นเนิ น ดังนั้นรถจึงถอยหลัง ตามแรงโน้มถ่ วงของโลก จากเพชรบูรณ์ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 21 (เพชรบูรณ์ -หล่มสัก)


184

ระยะทางประมาณ 13 กิ โลเมตร ถึงสามแยกนางัว่ เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 2258 เริ่ ม หลักกิโลเมตรที่ 0 เนิ นมหัศจรรย์ จะอยูร่ ะหว่างหลักกิโลเมตรที่ 17-18 จากทางหลวงหมายเลข 12 (พิ ษ ณุ โลก-หล่ ม สั ก ) เมื่ อได้เที่ ย วเขาค้อ เต็ ม อิ่ ม แล้ว เมื่ อ มาถึ ง สามแยกสะเดาะพง เพื่ อ จะกลับ เพชรบูรณ์ ในเส้นทางหลวงหมายเลข 2258 มายังสามแยกนางัว่ เนิ นมหัศจรรย์ จะอยู่ระหว่างหลัก กิโลเมตรที่ 17-18 หยุกรถทดสอบได้ ช่วงเทศกาลท่องเที่ยวจะมีรถจอดทดสอบมาก มาถึงช่วงนี้ ตอ้ ง ระวังให้มาก ๆ 4) นา้ ตกศรีดิษฐ์ เป็ นนํ้าตกขนาดใหญ่ มีน้ าํ ไหลตลอดปี เป็ นนํ้าตกชั้นเดียว สายนํ้าไหลผ่านหน้าผา หิ นกว้าง มองเห็นคล้ายม่านนํ้า ตกลงสู่ เบื้องล่างกระทบหิ นนํ้ากระเชนสวยงาม ในช่วงฤดูฝนนํ้าจะมี ปริ มาณมาก ในฤดูร้อนนํ้าจะไหลเอื่อยๆแต่ไม่แห้งขอด มีลานกว้าง สําหรับเล่นนํ้า บริ เวณใกล้ ๆ นํ้าตกมาเล็กอยมีบา้ นที่ทาํ ด้วยไม้ไผ่ที่ใช้เป็ นศูนย์ปฏิบตั ิการของ ผกค. และครกกระเดื่องตําข้าว โดย ใช้พลังนํ้า อยูบ่ ริ เวณเชิงสะพานไม้ ทางเดินเข้านํ้าตก ซึ่ งเมื่อก่อนพวกผูก้ ่อนการร้ายคอมมิวนิ สต์ เคย ใช้ตาํ ข้าวมาก่อน อาศัยพลังนํ้าช่วยผลักให้กงั หันไม่หมุน ทําให้สากไม้กระดก ตําข้างละเอียด และ เสี ยงนํ้าตกจะช่วยกลบเสี ยงครกตําข้างได้เป็ นอย่างดี จุดกางเต็นท์ สามารถกาง เต็นท์ในรี สอร์ ทเกือบ ทุกแห่ ง ซึ่ งจะเสี ยค่าบริ การรายหัว ประมาณ 100-250 บาท แล้วแต่รีสอร์ ท เป็ นค่าที่ พกั รวมกับ อาหารเช้า และบริ การเสริ มอื่นๆของรี สอร์ ท แต่หากต้องการกางเต็นท์ในพื้นที่ราชการบริ เวณนี้ ก็ สามารถกางเต็นท์ได้ที่ ชุ ม สายโทรศัพท์เขาค้อ บริ เวณติ ดกัน รวมถึ ง สถานที่ ราชการอื่ นๆ ที่ อยู่ ใกล้เคียง ซึ่ งส่ วนใหญ่เปิ ดบริ การให้นกั ท่องเที่ยวเข้ามากางเต็นท์พกั แรม ในช่วงเทศกาล หรื อหากไม่ ต้องการพักแรมเบียดเสี ยดกัน ก็หาที่พกั ที่ไกลออกไปสักนิ ด แล้วค่อยขึ้นมาชมทะเลหมอกยามเช้า ก็ สะดวกดี ที่ต้ งั ตั้งอยูบ่ า้ นร่ มโพธิ์ ร่ มไทร หมู่ที่10 ตําบลหนองแม่นา อําเภอเขาค้อ การเดินทาง จาก สามแยกหนองแม่นา บ้านหนองแม่นา ให้เลี้ ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2325 ระยะทาง ประมาณ 10 กิโลเมตร จะเห็นป้ ายทางเข้านํ้าตกศรี ดิษฐ์ ให้เลี้ยวซ้ายเข้าไปประมาณ 1 กิโลเมตร ถึง ลานยอดรถ เดินเข้าไปประมาณ 100 เมตร จะถึงตัวนํ้าตก


185

ภาพ 79 แสดงนํ้าตกศรี ดิษฐ์ 9) ชมวิวทะเลหมอก วิวมุ ม สู ง ที่ ท ศั นี ย ภาพสวยงามบนเขาค้อ สามารถเลื อกชมได้จากจุ ดชมวิ วหลายๆ แห่ ง หลักๆก็คือบริ เวณจุดชมวิวทะเลหมอก จุดชมวิวจากฐานอิทธิ บนยอดเขาค้อ และจุดชมวิวจากเขา พระตําหนัก นอกจากนี้ ยังมีจุดชมวิวสวยๆ ริ มทางอีกหลายแห่ งที่พร้อมให้นกั ท่องเที่ยวแวะชม แวะ ซื้ อของที่ระลึก หรื อเพียงแค่แวะพักรถ จิบกาแฟ ก่อนเดินทางต่อ 9.1) จุดชมวิวทะเลหมอกบนเขาค้อ อยู่บริ เวณเหนื ออ่างเก็บนํ้ารัตนัย จุดชมวิวที่สวยที่สุด และใกล้ชิดที่สุด คือบริ เวณ ศาลาชมวิว อ.เขาค้อ ที่ทาํ การชุมสายโทรศัพท์เขาค้อ ที่ทาํ การไปรษณี ยเ์ ขาค้อ และบริ เวณใกล้เคียง รอบๆ ซึ่ งอยูร่ ิ มเส้นทางสาย 2196 ที่เป็ นถนนสายหลักสําหรับการเดินทางบนเขาค้อ จุดชมวิวสําคัญ อยูฝ่ ั่งตรงข้ามกับที่วา่ การอําเภอเขาค้อนัน่ เอง จุดชมวิวตรงนี้ กําหนดเป็ นจุดชมวิวอย่างเป็ นทางการ และเปิ ดเป็ นสถานที่ สําหรับให้นกั ท่องเที่ยวเข้าไปใช้บริ การกางเต็นท์พกั แรมได้ดว้ ย บริ เ วณใกล้เ คี ย งกัน ยัง มี รี ส อร์ ท ของเอกชนหลายแห่ ง ตั้ง อยู่ บ นจุ ด ชมวิ ว แห่ ง นี้ ซึ่ ง นักท่องเที่ยวสามารถเข้าพักค้างแรม และตื่นขึ้นชมทะเลหมอกในตอนเช้าได้เลย เช่ น เขาค้อทะเล หมอก พรสวรรค์รีสอร์ท ภูอาบหมอก ภูชิดหมอก เขาค้อฟ้ าใสหมอกสวย ลีปันดารี สอร์ ท ไล่เรี ยงไป


186

ตามเส้นทางสาย 2196 จนกระทัง่ ถึงสามแยกตลาดพัฒนา มีป้ายบอกทางไปนํ้าตกศรี ดิษฐ์ ลงไปตาม ถนนจะพบจุดชมทะเลหมอกอีกหลายรี สอร์ ท เช่น The Sense วิวทะเลหมอกเขาค้อ, บ้านไร่ ระเบียง หมอก, แทนรักทะเลหมอก ฯลฯ 9.2) จุดชมวิวบนฐานอิทธิ เป็ นจุ ดชมวิวที่ สูง ที่ สุดในบนเขาค้อ สามารถมองเห็ นทะเลหมอกในยามเช้าได้ เหมื อนกัน และในช่ วงกลางวัน จะมองเห็ นทัศ นี ยภาพที่ กว้างไกลสุ ดลู กตาจากความสู งที่ ระดับ 1,174 เมตรจากระดับนํ้าทะเล จุดชมวิวจุดนี้ ตั้งอยูส่ ่ วนในสุ ดของฐานอิทธิ ซึ่ งใช้เป็ นกองบัญชาการ รบในสมรภูมิเขาค้อ เมื่อ 40 ปี ก่อน ภายในยังมีบงั เกอร์ หลุมพลาง ปรากฏอยูใ่ ห้เห็น จุดชมวิวตรงอยู่ ตั้งอยู่ด้านหลัง อนุ สรณ์ สถานผูเ้ สี ยสละเขาค้อนั่นเอง ด้านหน้า ยังมี ร้านค้า ขายสิ นค้าที่ ระลึ ก ผัก ผลไม้ ในท้องถิ่น ไว้รอจําหน่ายให้กบั นักท่องเที่ยวด้วย 9.3) จุดชมวิวบนพระตําหนักเขาค้อ ตั้งอยูใ่ นบริ เวณพระตําหนักเขาค้อ บนเขาย่า ซึ่ งเป็ นเขาลูกที่สูงที่สุดในกลุ่มเขาค้อ จุดชมวิวที่นี่จะสามารถมองเห็ นเนิ นเขาลดหลัน่ สลับกันไปมาสวยงาม และหากมีเรี่ ยวแรงมากพอ แนะนําให้เดินเท้าไต่ข้ ึนสู่ จุดชมวิวของเขาย่า ด้วยระยะทางอีกประมาณ 700 เมตร จากบริ เวณพระ ตําหนัก ซึ่ งจะถึ งฐานปฏิ บตั ิ ก ารเขาย่า บนระดับความสู ง 1,290 เมตรจากระดับนํ้า ทะเล ณ จุ ดนี้ สามารถมองเห็นทัศนียภาพโดยรอบของเขาค้อทั้งหมด เนื่องจากเป็ นจุดที่สูงที่สุด 9.4) จุดชมวิววัดกองเนียม ตั้ง อยู่ใ กล้ก ับ หอสมุ ดนานาชาติ ติ ดกับ ทางขึ้ นไปชมอนุ ส รณ์ ส ถานเขาค้อ ริ ม เส้นทางสาย 2196 เป็ นจุดที่สามารถมองเห็ นทะเลหมอกในทางทิศตะวันออก พร้ อมกับแสงสี ส้ม ของอาทิตย์ ทะเลหมอกในจุดนี้ เกิดค่อนข้างยากพอสมควร ต้องในวันที่มีอากาศเย็นจัดและไม่มีลม จริ ง ๆ เท่านั้น แต่เมื่อเกิ ดทะเลหมอกแล้วก็จะสวยงามกว่าทุก ๆ ที่เพราะเป็ นทะเลหมอกท่ามกลาง เนิ นเขาสลับซับซ้อน โดยมีตน้ ค้อสู งใหญ่เป็ นฉากหน้า และฉาบทาด้วยแสงสี ส้มของพระอาทิตย์ ส่ วนฉากหลังก็เป็ นดวงอาทิตย์สีส้มดวงใหญ่ ทะเลหมอกที่วดั กองเนี ยมพบได้บ่อยในช่ วงปลายฝน ต้นหนาว ในวันที่ไม่มีกระแสลม


187

9.5) จุดชมวิวเขาตะเคียนโง๊ะ อยูบ่ ริ เวณหมู่ 2 ในต.หนองแม่นา อ.เขาค้อ บนถนนสาย 2258 จากพระตําหนักเขา ค้อ มุ่งหน้าไปยังทุ่งแสลงหลวง ตรงนี้เป็ นจุดชมวิวบนยอดเขาสู งของเส้นทาง ซึ่ งสามารถมองเห็นวิว ได้โดยรอบ 360 องศา ในยามทีมีทะเลหมอกจากบริ เวณอ่างเก็บนํ้ารัตนัยก็จะสามารถมองเห็ นได้ เพราะเป็ นจุดเชื่ อมโยงกัน และยังสามารถเห็ นทะเลหมอกในบริ เวณหุ บเขาตะเคียนโง๊ะอีกฟากฝั่ ง หนึ่งด้วย ซึ่ งเมื่อทะเลหมอกทั้ง 2 จุดล้นมาเจอกันก็จะกลายเป็ นทะเลหมอกกว้างใหญ่ผืนเดียวกัน ที่ สวยงามอลังการ

ภาพ 80 แสดงจุดชมวิวเขาตะเคียนโง๊ะ 9.6) จุ ด ชมวิ ว ผาซ่ อ นแก้ ว เป็ นอี ก จุ ด หนึ่ งที่ มี วิ ว สวยงาม เพราะเป็ นทิ ว เขา สลับซับซ้อนต่อเนื่องมาจากภูทบั เบิก และภูหินร่ องกล้า จุดสู งสุ ดของผาซ่ อนแก้ว คือผาตั้วเพ่ง และ ผาตัด ซึ่ งสู งกว่า 1,300 เมตรจากระดับนํ้าทะเล แต่เข้าถึงยากเพราะต้องเดินทางด้วยรถขับเคลื่อน 4 ล้อเท่านั้น แต่ก็มีจุดชมวิวบริ เวณเชิ งเขาที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายๆ คือจุดชมวิวบริ เวณวัดผาซ่ อนแก้ว และจุดชมวิวบริ เวณร้านกาแฟ PINO LATTE ที่เลยจากวัดผาซ่อนแก้วไปทางเชิ งเขา ซึ่ งสามารถมอง


188

ย้อนกลับมายังวัดผาซ่อนแก้วในมุมมองที่สวยงาม นอกจากนี้ ในฤดูฝน บริ เวณผาซ่ อนแก้วจะเต็มไป ด้วยหมอกสี ขาวลอยฟุ้ ง ปริ่ มอยูท่ วั่ ไป ถือว่าเป็ นจุดที่สวยงามที่สุดในฤดูฝนของเขาค้อ 9.7) จุดชมวิวทะเลหมอก อ่างเก็บนํ้ารัตนัย อ่างเก็บนํ้ารัตนัย เป็ นโครงการชลประทานขนาดเล็กตามพระราชดําริ เก็บนํ้าความ จุประมาณ 2,020,000 ลูกบาศก์เมตร บนเนื้ อที่ 1,600 ไร่ มีอาคารระบายนํ้าล้นกว้าง 15 เมตร พร้อม ทํานบดิ นสู ง 15 เมตร ยาว 250 เมตร ก่ อสร้ างเสร็ จเมื่อปี พ.ศ.2530 ประโยชน์เพื่ออุปโภค บริ โภค และเกษตรกรรม ในบริ เวณอ่า งเก็ บนํ้าจะมี ล ัก ษณะคล้ายกับ ทะเลสาบ เหมาะสํา หรั บ การเป็ นที่ พักผ่อนหย่อนใจ ของนักท่องเที่ยว และเป็ นจุดชมวิวที่สวยที่สุดของอําเภอเขาค้อ

ภาพ 81 แสดงอ่างเก็บนํ้ารัตนัย 9.8) จุดชมวิวระหว่างทางเส้นทางขึ้นเขาค้อ มี 2 เส้ น ทางหลัก คื อ 1. เส้ น ทางสาย 2258 นางั่ว -สะเดาะพง ซึ่ งจะเลี้ ย วซ้ า ย หลังจากผ่านตัวจังหวัดเพชรบูรณ์มาประมาณ 13 กม. และ 2. เส้นทางสาย 12 พิษณุ โลก-หล่มสัก ซึ่ ง เริ่ มเข้าสู่ เส้นทางนี้ เมื่อรถไปถึงแยกพ่อขุนผาเมือง แล้วเลี้ยวซ้ายสู่ เขาค้อ


189

– จุดชมวิวสําหรับเส้นทางสายนางัว่ -สะเดะพง (2258) อยู่บริ เวณก่อนถึ ง แยกสะเดาะพง ประมาณ 3 กม. ซึ่ งจัดเป็ นจุดชมวิว สําหรับพักรถ และสําหรับซื้ อสิ นค้าพื้นเมือง เป็ น จุดแรกสําหรับการสู ดอากาศเย็นๆ บนภูเขาสู งเข้าปอด ก่อนที่จะเดินทางต่อไปยังเขาค้อ

ภาพ 82 แสดงจุดชมวิวที่เขาค้อ - จุดชมวิวสําหรับเส้นทางสายพิษณุ โลก-หล่ มสัก(12) อยู่บริ เวณกม.ที่ 108 ชื่ อสวนรัชมัง คลา เป็ นจุ ดพักรถ และมี สินค้าพื้นเมื องจากชาวเขา ผักสด ผลไม้ กาแฟ และเสื้ อผ้า เป็ นที่ ระลึ ก สําหรับนักท่องเที่ยว บนจุดชมวิวจะเห็ นหุ บเขา บริ เวณบ้านนํ้าก้อ เบื้องหลังภูเขาสู งใหญ่เบื้องหน้า สลับกันไปมาสวยงาม (http://www.khaoko.com) 10) เดินป่ าศึกษาธรรมชาติ 10.1) ทุ่งโนนสน อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง ทุ่งโนนสน เป็ นทุ่งโล่งที่มีดอกไม้นานาชนิ ด ถื อว่าเป็ นเพชรเม็ด งามของ อช.ทุ่ ง แสลงหลวง อยู่ก ลางทุ่ ง ลึ ก ต้องนั่ง รถเป็ นระยะทาง 16 กม. และเดิ นเท้า ต่ อ อี ก ประมาณ 15 กม. เปิ ดให้นกั ท่องเที่ยวเข้าเที่ยวชมเพียงปี ละ 2 เดือน คือประมาณปลายเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม ขณะที่บางปี ก็ปิดไม่ให้นกั ท่องเที่ยวเข้าไป เนื่องจากที่นี่เป็ นทุ่งดอกไม้ธรรมชาติ ที่


190

งดงามที่สุดของเมืองไทย และมีสภาพที่ค่อนข้างเปราะบาง ควรอนุ รักษ์เป็ นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม การที่ได้ต้ งั แคมป์ และ ชมทุ่งดอกไม้ที่ทุ่งโนนสน ถือเป็ นสุ ดยอดแห่งการเดินป่ าครั้งหนึ่ งในชี วิตเลย ทีเดียว ทุ่งโนนสน มี ลกั ษณะเป็ นที่ ราบบนยอดเขา เป็ นลานทุ่งดอกไม้ บนลานหิ นทราย ท่ามกลางป่ าสนที่งดงาม บนเนื้ อที่ประมาณ 10 ตารางกิโลเมตร มีดอกไม้ หลากสี ผลัดกันเบ่งบานสะพรั่งในช่วงฤดูที่เปิ ดให้ท่องเที่ยว เช่น ดุสิตา เอื้องม้าวิ่ง เอื้องนวลจันทร์ ยี่โถ ปี นัง กระดุมเงิน ดอกจันทร์ จรัส สาหร่ ายข้าวเหนี ยว และต้นจอกปวาย ไม้กินแมลงที่มีกลไกการจับแมลง นักท่องเที่ยวสามารถ เที่ยวชมทุ่งดอกไม้ ทุ่งหญ้า ป่ าสน ทุ่งดอกกระดุมเงินสี ขาว ทุ่งดอกกุงสี เหลือง เที่ยวชมดอกไม้ป่า นานาชนิด 10.2) ป่ าบางระจัน เส้ นทางเดิ นป่ า ใหม่ ล่ าสุ ด ที่ น้อยคนจะรู้ จกั ทําให้ที่ นี่คงความ สมบูรณ์ของป่ าแท้ๆ จากธรรมชาติเต็ม 100% เส้นทางเดิน ผ่านป่ าที่หลากหลาย ทั้งป่ าไม้ดิบชื้ น ป่ า สน ป่ าหญ้า ป่ าเฟิ ร์ น สิ้ นสุ ดเส้นทางที่น้ าํ ตกจากแหล่งต้นนํ้า ลํานํ้าเข็กที่นอ้ ยคนจะได้ไปถึง ขากลับ นัง่ เรื อล่องแก่งบางระจัน ตื่นตากับธรรมชาติสีเขียวริ มลําธาร เส้นทางป่ าบางระจัน มีระยะทางประมาณ 6 กม.จัดขึ้นโดยชาวบ้านที่รวมตัวกันเป็ น “กลุ่มชุ มชนคน รักป่ าหนองแม่นา-ทานตะวัน” ร่ วมกับเจ้าหน้าที่ของอุทยานแห่ งชาติทุ่งแสลงหลวง จัดกิ จกกรม ท่องเที่ยวให้ กับนักท่องเที่ยวที่สนใจเข้าไปสัมผัสธรรมชาติ ในป่ าแห่ งทุ่งแสลงหลวง เริ่ มต้นจากที่ ทําการอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง(หนองแม่นา) 10.3 ) ทุ่งแสลงหลวง ทุ่งแสลงหลวง มีเส้นทางผจญภัยที่สนุ กสนาน ทั้งปี นเขา ลงทาง ดิ่ง และผ่านสภาพป่ าหลายหลาก ว่ากันว่าการขี่จกั รยานที่นี่เป็ นสุ ดยอดทริ ป ที่นกั ปั่ นใฝ่ ฝั น เพราะ ธรรมชาติสวยงามตลอดเส้นทาง และบรรยากาศแคมป์ ปิ้ งที่สุดยอด เส้นทางขี่จกั รยานที่อุทยานแห่ งชาติ ทุ่งแสลงหลวง ถูกจัดให้เป็ น เส้นทางขี่จกั รยานที่ดีที่สุดสายหนึ่งของการท่องเที่ยวใน ประเทศไทย และได้รับการยกย่องให้เป็ น 1 ใน UNSEEN THAILAND เมื่อปี 2547 เพราะเป็ นเส้นทางที่มีครบรสชาติ ทั้งทุ่งหญ้า ป่ าสน เนิ นเขา


191

จนถึง ลําธาร ระหว่างทางจะได้ชมกับไม้นานาพันธุ์ โดยเฉพาะดอกไม้ป่าเล็กๆ ริ มทาง และหากได้ เริ่ มปั่ นกันแต่เช้าแล้ว จะเป็ นการขี่จกั รยานกันในสายหมอกทีเดียว ทุ่ง แสลงหลวง มี เส้ นทางขี่ จกั รยานอยู่ 2 เส้ นทางหลัก คื อเส้ น อุทยานแห่ งชาติทุ่งแสลงหลวง-ทุ่งนางพญา ระยะทางประมาณ 10 กม. และเส้นทางแก่งวังนํ้าเย็น ระยะทางประมาณ15 กม. หากต้องการระยะทางไกลกว่านั้น สามารถขี่จกั รยานบนเส้นทางที่เรี ยกว่า “ข้ามทุ่ง” คือขี่จกั รยานลัดข้ามจากที่ทาํ การอุทยานแห่ งชาติทุ่งแสลงหลวง ฝั่ งหนองแม่นา(เขาค้อ) ไปทะลุ ที่ ท าํ การอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ทุ่ ง แสลงหลวงฝั่ ง พิ ษ ณุ โ ลก บริ เ วณ กม.ที่ 80 รวมระยะทาง ประมาณ 42 กม. ซึ่ งเส้นทางนี้ ค่อนข้างทรหด เหมาะสําหรับขาลุยมืออาชี พ เส้นทางต้องผ่านป่ า ขึ้น เนินเล็ก ๆ น้อย จากหนองแม่นา ไปจนถึง ทุ่งโนนสน และเริ่ มลงเขาในครึ่ งทางหลัง จนถึงที่ทาํ การ อุทยานแห่ งชาติทุ่งแสลงหลวงฝั่งพิษณุ โลก อย่างไรก็ตาม เส้นทางนี้ จําเป็ นต้องทําเรื่ องขออนุ ญาต จากเจ้า หน้า ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ณ ที่ ท าํ การก่ อ น เนื่ อ งจากเป็ นเส้ น ทางที่ ค่ อ นข้า งอนุ รั ก ษ์ และ เจ้าหน้าที่จะได้รับรู ้ สามารถให้ความช่วยเหลือได้ หากมีการตกค้างภายในอุทยานแห่งชาติฯ ทุ่งแสลงหลวง ที่ทาํ การ หน่วยหนองแม่นาตั้งอยูร่ ิ มทุ่งหญ้าสะวัน นานพื้นที่ กว้างขวาง มี ทิวเขาโอบล้อม มี บ ้านพักรั บ รองของอุ ทยานฯให้บริ การ มี ลานกางเต็นท์ สําหรั บการตั้งแค้มป์ พักแรม ซึ่ งค่อนข้างสะดวกสบาย ทางอุ ทยานฯจัดเตรี ยมลานกางเต็นท์ และ ห้องนํ้า ไว้ให้บริ การ นักท่องเที่ยวสามารถนํารถยนต์เข้าไปจอดถึงจุดตั้งแค้มป์ ริ มทุ่งหญ้าได้เลย 10.4) เส้นทางบนเขาค้อ เส้นทางสําหรับการปั่ นจักรยานบนเขาค้อ เป็ นเส้นทางที่ค่อนข้าง โลดโผน และใช้พละกําลังอย่างมาก เป็ นเส้นทางสําหรับนักปั่ นน่ องเหล็กโดยตรง เนื่ องจากพื้นที่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นเนิ นเขาสลับ ซับ ซ้ อ น มี ร ะดับ สู ง ตํ่า ขึ้ น -ลง เนิ น อยู่ต ลอดเวลา ทํา ให้ ต้องใช้แ รง ค่อนข้างมาก จึงมักถูกใช้เป็ นเวทีการแข่งขันสําหรับมืออาชีพ สําหรั บเส้ นทางโดยทัว่ ไป อาจเริ่ มต้นจากตัวจังหวัดเพชรบูรณ์ หรื อบริ เวณบ้านนางัว่ ซึ่ งเป็ นจุดเริ่ มต้นก่อนขึ้นเขาค้อ มุ่งตรงขึ้นเขาค้อด้วยระยะทางประมาณ 20-30 กม. โดยมี จุดหมายอยู่บริ เวณจุ ดชมวิวทะเลหมอก หน้าที่ว่าการอําเภอเขาค้อหรื ออาจจัดย่อยเป็ น เส้ น ทางสายท่ อ งเที่ ย ว โดยเริ่ ม จากจุ ด ชมวิ ว เขาค้อ ขี่ ช มวิว ไปยัง บริ เ วณอ่ า งเก็ บ นํ้า รั ต นัย และ


192

ย้อนกลับขึ้นมายังบริ เวณจุดชมวิวจุดเดิม ซึ่งจะมีระยะทางชันมากประมาณ 2-3 กม. ส่ วนที่เหลือเป็ น ทางลาดเอียงที่มีความชันน้อย 10.5 ) ล่องแก่งลํานํ้าเข็ก ในช่ วงฤดู ฝน ลํานํ้าเข็ก มี กระแสนํ้าที่ ค่ อนข้างหลากหลาย ตาม ลักษณะของโค้งนํ้า ตั้งแต่การไหลเอื่อยไปตามแนวลําธารเรี ยบๆ จนถึงเชี่ ยวกรากกลางแก่งหิ นในลํา นํ้า ความยากของการล่องแก่งมีให้เลื อกตั้งแต่ระดับ ง่ายมาก จนถึ งระดับยากที่สุด จึงเป็ นที่ทา้ ทาย ของนักผจญภัย ได้มาทดสอบความกล้าหาญ การล่องแก่งที่นี่ ขึ้นชื่อเป็ นอันดับต้นๆ ของเมืองไทย ลํา นํ้า เข็ก มี แก่ ง ต่ า งๆที่ มี ล ัก ษณะแตกต่ า งกันไป ถึ ง 8 แก่ ง คื อ แก่งท่าข้าม แก่งไทร แก่งปากยาง แก่งหิ นลาด แก่งรัชมังคลา แก่งซาง แก่งโสภาราม แก่งนางคอย และแก่งยาว ในฤดูฝนมีกระแสนํ้าค่อนข้างรุ นแรง ทําให้เส้นทางล่องมีความยากง่ายในแต่ละแก่ง ไม่เหมือนกัน จัดลําดับความยากอยูท่ ี่ระดับ 2-5 จากระดับความยาก 5 ระดับคือ ระดับความยากง่ายของการล่องแก่ง ระดับ 1 ง่ายมาก มีแก่งเล็กน้อย นํ้าจะไหลไปเรื่ อย ๆ ไม่อนั ตราย ระดับ 2 ธรรมดา นํ้าไหลแรงขึ้น เริ่ มมีแก่งบ้าง ระดับ 3 ปานกลาง มีแก่งที่น่าตื่นเต้นมากขึ้น ระดับ 4 ยาก มีแก่งมาก หรื อนํ้าอาจจะแรง และมีโขดหิ นที่ขวางลํานํ้า ระดับ 5 อันตรายมาก ไม่เหมาะกับการล่องแก่ง อาจเกิดอุบตั ิเหตุได้ แก่งแรก คือ แก่งปากยาง มีระดับความยากอยู่ที่ระดับ 2-3 ความยาวของแก่งจะประมาณ 100 เมตร และ เริ่ มมีสีสันเพิ่มความยากในการล่องมากขึ้น เมื่อเริ่ มผ่านแก่งหิ นลาด จนไปถึ งแก่ ง รั ช มัง คลา แก่ ง ซาง เป็ นแก่ ง ที่ ย ากที่ สุ ด สนุ ก หวาดเสี ย วที่ สุ ด ต้อ งคอยประคองเรื อ และลุ ้น ตลอดเวลา ไม่ให้หล่น หรื อไม่ทาํ ให้เรื อควํ่า ต้องผ่านกิ่งไม้ โขดหิ น ท่ามกลางกระแสนํ้าที่เชี ยวกราก สุ ดๆ การผ่านแก่งซางไปได้จะทําให้ตอ้ งจดจํารส ชาติการล่องแก่งสนุ กสนานมากที่สุดเลยทีเดีย เมื่อ ผ่านไปแล้วจะหายเหนื่ อยเป็ นปลิ ดทิ้ง เหลื อไว้แต่ความสนุ ก เสี ยงเล่าขานที่สุดมัน โล่งอกกันโดย ถ้วนหน้า ส่ วนช่ วงปลายของแก่งซาง เป็ นช่ วงที่น้ าํ ไหลเบาๆ ทําให้มีโอกาสได้มองทัศนี ยภาพสอง ข้างทางมากขึ้น และสามารถลงเล่นนํ้าได้ในช่วงนี้


193

ภาพ 83 แสดงล่องแก่งลํานํ้าเข็ก “ลํานํ้าเข็ก” มีตน้ กําเนิ ดจากเทือกเขาในจังหวัดเพชรบูรณ์ ทางด้านอําเภอเขาค้อ ไหลผ่าน อุทยานแห่ งชาติทุ่งแสลงหลวง เป็ นนํ้าตกศรี ดิษฐ์ และนํ้าตกแก่งโสภา ไหลผ่านอําเภอวังทอง ไป รวมกับแม่น้ าํ น่าน ที่อาํ เภอบางกระทุ่ม ช่ วงที่ เหมาะสมสํา หรั บ การล่ อ งแก่ ง ในลํา นํ้า เข็ก คื อระหว่า งเดื อนกรกฎาคม ถึ ง เดื อ น ตุลาคม ระยะทางในการล่องแก่งกว่า 8 กิ โลเมตร ใช้เวลาล่องแก่งไม่เกิน 3 ชัว่ โมง ในบางช่วงนํ้า อาจมีสีน้ าํ ตาลขุ่น นํ้ามีระดับสู ง จุดเริ่ มต้นการล่องแก่งลํานํ้าเข็ก ส่ วนใหญ่อยูใ่ นเขตอ.วังทอง จ.พิษณุ โลก ซึ่ งเป็ นพื้นที่ติด กับ อ.เขาค้อ แต่รีสอร์ ทหลายแห่ งบนเขาค้อ จัดกิจกรรมนี้ ข้ ึนมา เพื่อบริ การนักท่องเที่ยว ในช่วงฤดู ฝน ที่มีน้ าํ หลาก และกระแสนํ้าเหมาะสําหรับการล่องแก่ง เพื่ออํานวยความสะดวกกับนักท่องเที่ยว ที่ตอ้ งการเที่ยวชมเขาค้อ และต้องการหาเวลาว่าง ทํากิจกรรมล่องแก่งสัก 1 วัน (www.khaoko.com )


194

แหล่งท่องเทีย่ วทางนันทนาการ ศูนย์ การเรียนรู้ ศิลปะวัฒนธรรมม้ ง บ้ านเล่ าเน้ ง ศูนย์การเรี ยนรู้ศิลปะวัฒนธรรมม้ง เป็ นสถานที่สําหรับจัดประชุ มและยังมีลานกว้างไว้ สําหรั บใช้ชาวบ้านได้จดั กิ จกรรมอี กด้วย อี กทั้งยังเป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ ให้กบั นักท่องเที่ยวที่ ผ่าไปมา บริ เวณศูนย์การเรี ยนรู ้ ยงั มีศูนย์วฒั นธรรม 3 ชนเผ่า ที่จดั แสดงวิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณี ของ ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ

ภาพ 84 แสดงศูนย์การเรี ยนรู ้ศิลปะวัฒนธรรมม้ง บ้านเล่าเน้ง ศูนย์ วฒ ั นธรรม 3 ชนเผ่ า ศูนย์วฒั นธรรม 3 ชนเผ่า คือ ม้ง เย้า และลีซอ เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้วิถีชีวิต ความเป็ นตัวตน และ เอกลักษณ์ที่มีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ทั้งอาหารการกิน การเก็บรักษาเมล็ดพันพืช ภาษา การแต่งกาย อีก ทั้งยังจําลองวิถีชีวติ ประจําวันของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ไว้ภายใน


195

ภาพ 85 แสดงศูนย์วฒั นธรรม 3 ชนเผ่า แหล่งท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม พระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก พระบรมธาตุเจดี ยก์ าญจนาภิเษก ตั้งอยูบ่ นเขาค้อ ริ มทางหลวงหมายเลข 2196 อยู่ ห่างจาที่วา่ การอําเภอเขาค้อไปทางทิศเหนื อประมาณ 2 กิโลเมตร จะเห็นพระบรมธาตุเจดียก์ าญจนา ภิ เษกอยู่ติดถนนด้านขวามื อ เป็ นเจดี ยท์ ี่ มีสถาปั ตยกรรมผสมผสานทั้งแบบสุ โขทัย อยุธยา และ รัตนโกสิ นทร์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรู ปให้ประชาชนได้สักการบูชา ยอดเจดียบ์ รรจุพระบรม สารี ริกธาตุ พระอัฐธาตุของพระพุทธเจ้า ที่อญั เชิ ญมาจากประเทศศรี ลงั กา โดยพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชทานให้กบั ประชาชนในพื้นที่ หลังจากยุติการสู ้รบกับคอมมิวนิ สต์ในประเทศ ไทย


196

ภาพ 86 แสดงพระบรมธาตุเจดียก์ าญจนาภิเษก ความเป็ นมา เมื่ อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2529 พระบาทสมเด็ จพระเจ้า อยู่หัวและสมเด็ จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุ รวมทั้งพระธาตุของพระอริ ย สาวก ในสถูปศิลาขนาดเล็ก ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร และหนึ่งในจํานวนของสถูปศิลาที่ได้ บรรจุพระบรมสารี ริกธาตุ ได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ถวายแด่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็ จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริ ณายก และพะราชทานพรบรมสารี ริกธาตุแก่ พลเอก พิจิตร กุลละ วณิ ชย์ เพื่อให้อญั เชิ ญไปประดิษฐานประจําสํานักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม บ้านเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ การที่ พ ระบาทสมเด็ จพระเจ้า อยู่หัว ได้ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้า โปรดกระหม่ อ ม ให้ อัญเชิ ญพระบรมสารี ริกธาตุมาประดิษฐานไว้ ณ พื้นที่เขาค้อแห่ งนี้ เนื่ องจากพื้นที่แห่ งนี้ ในอดีตเคย


197

เป็ นพื้นที่ที่มีการสู ้รบ ระหว่างคนไทยด้วยกันเองมานาน จนทําให้เกิดการสู ญเสี ยชี วิต และเลือดเนื้ อ จํานวนมาก ยังเศร้าโศกเสี ยใจให้กบั คนไทยทั้งชาติ และเมื่อการสู ้รบยุติลง ความสงบสุ ขร่ มเย็นก็เริ่ ม บังเกิ ดขึ้ น ราษฎรในพื้นที่ ได้รับ การส่ งเสริ ม ให้มีที่ทาํ กิ นเป็ นของตนเอง มี การพัฒนาอาชี พทาง การเกษตร ราษฏรในพื้นที่เขาค้อ มีชีวิตความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึนเป็ นลําดับ มีรายได้เพียงพอต่อการครอง ชี พ และที่สําคัญราษฎรมีความรัก และหวงแหนในแผ่นดิ น ที่แลกมาด้วยชี วิตเลื อดเนื้ อ และหยาด นํ้าตาของทหารหาญและพี่นอ้ งคนไทยจํานวนมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทาน พระบรมสารี ริกธาตุให้กบั พลเอก พิจิตร กุลละวณิ ชย์ เพื่อให้นาํ ไปประดิษฐาน ณ พื้นที่เขาค้อนี้ ให้ เป็ นที่เคารพสักการะ และนําความสงบสุ ขร่ มเย็นมาสู่ ราษฎรในพื้นที่ อีกทั้งให้เป็ นศูนย์รวมจิตใจ ของคนไทยทุกหมู่เหล่า ให้ร่วมมือร่ วมใจพัฒนาชาติไทย ให้วฒั นาสถาพร ดังนั้น จึงได้มีพระบรม สารี ริกธาตุให้ราษฎรในพื้นที่เขาค้อ และใกล้เคียงได้เคารพสักการะ ณ สํานักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม บ้านเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา ปี พ.ศ. 2534 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดําเนินไป ทรงปลู ก ป่ าบริ เ วณอ่ า งเก็ บ นํ้า ห้ ว ยลึ ก หลัง สํ า นัก สงฆ์วิ ช มัย ปุ ญ ญาราม อํา เภอเขาค้อ จัง หวัด เพชรบูรณ์ เจ้าอาวาสสํานักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม ได้กราบบังคมทูลว่ามีเศรษฐี นีท่านหนึ่ ง มีความ ประสงค์จะขอสร้ างพระสถูปเจดี ย ์ เพื่อบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชกระแสกับ พลเอก พิจิตร กุลละวณิ ชย์ ว่าควรจะให้คนไทยทุกหมู่เหล่าได้มีส่วนร่ วมในการก่อสร้างพระบรมธาตุเจดี ย ์ เพื่อบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุดงั กล่าวน่าจะเหมาะสมกว่า พลเอก พิจิตร กุลละวณิ ชย์ รองผูบ้ ญั ชาการทหารสู งสุ ด (ขณะนั้น) ได้มีหนังสื อกราบบังคม ทูลเชิญ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็ นองค์ประธานการสร้างพระสถูปเจดีย ์ บรรจุพระบรมสารี ริกธาตุเขาค้อ และการจัดสร้างวัตถุมงคล และทรงตอบรับเชิญ เป็ นองค์ประธาน ในการก่อสร้าง และทรงเป็ นองค์ประธานในพิธีบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุ ไว้ในพระบรมธาตุเจดี ย ์ กาญจนาภิเษก อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม 2542 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานชื่ อว่า “พระบรม ธาตุเจดียก์ าญจนาภิเษก” เมื่อ 27 มิถุนายน 2539 แนวคิ ดในการออกแบบ ให้มีเอกลักษณ์ ทางศิลปพุทธสถานทางภาคเหนื อ เป็ นลักษณะ สถาปัตยกรรมสมัยสุ โขทัย และรัตนโกสิ นทร์ ประยุกต์ รู ปแบบขององค์พระบรมธาตุเจดีย ์ ที่ผงั ของ


198

ฐานด้านล่างเป็ นแบบย่อมุมไม้สิบสอง ฐานชั้นบนมีผงั เป็ น 8 เหลี่ยม อันเป็ นลักษณะที่มีการใช้ต้ งั แต่ ครั้งสมัยทวาราวดี องค์พระบรมธาตุเจดียม์ ีความสู ง 69 หลา หมายถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระชนมายุครบ 69 พรรษา ฐานเจดียก์ ว้าง 39 หลา หมายถึงปี พุทธศักราช 2539 ลักษณะรู ปแบบในส่ วนของรู ปด้านบริ เวณฐานชั้นล่ างและฐานชั้นบนยึดขยายยกสู ง ขึ้ น และได้มีการนําลักษณะแบบอย่างการใช้ซุ้มคูหามาประดับเข้า 4 ด้าน ซึ่ งในการประดับด้วยซุ ้มคู หา นี้ตามหลักฐานปรากฏว่า มีการใช้มาตั้งแต่ครั้งสมัยทวาราวดี บริ เวณฐานชั้นล่างนี้ มีซุ้มคูหา 4 ภายใน ประดิษฐานพระพุทธรู ปทั้ง 4 ทิศ และบริ เวณฐาน 8 เหลี่ยม ตอนบนมีซุ้มคูหาขนาดใหญ่ และเล็ก สลับกัน ซึ่ งซุ ม้ คูหาขนาดใหญ่ ภายในประดิษฐานพระพุทธรู ปทั้ง 4 ทิศ http://www.khaoko.com วัดพระธาตุผาแก้ ว หรือ วัดผาซ่ อนแก้ ว วัดพระธาตุ ผาแก้ว หรื อ วัดผาซ่ อนแก้ว ตั้งอยู่บนยอดเนิ นเขาลูกหนึ่ ง บนเชิ งหน้าผาของ ภูเขาที่มีชื่อว่า “ผาซ่ อนแก้ว” ที่มีภูมิทศั น์สวยงาม เงียบสงบ และโดดเด่นมากที่สุดบนถนนสาย 12 พิษณุ โลก-หล่มสัก ความโดดเด่นสวยงามนี้ ยงั ถูกเสริ มเติมแต่งให้วิจิตรงดงามมากขึ้น ด้วยองค์พระ เจดี ยส์ ู งสง่า ที่บรรจุพระบรมสารี ริกธาตุไว้ภายใน เดิ มชื่ อ พุทธธรรมสถานผาซ่ อนแก้ว เป็ นสํานัก ปฎิบตั ิธรรมที่งดงาม ทั้งด้านสถาปั ตยกรรม ทําเลที่ต้ งั และความสงบสุ ขที่สามารถค้นพบได้ภายใน ไม่ใช่สถานที่ท่องเที่ยว จึงไม่แนะนําให้นกั ท่องเที่ยว เข้ามารบกวนการปฏิบตั ิธรรม และการเจริ ญสติ ปั ฏ ฐาน ๔ ของพระสงฆ์แ ละญาติ โ ยมที่ เข้า มาร่ วมปฏิ บ ัติธ รรม แต่ เ หมาะสํ า หรั บ ผูท้ ี่ ต้อ งการ แสวงหาความสงบ ความงามแห่งธรรม และร่ วมทําบุญกับสํานักสงฆ์ เพื่อร่ วมก่อสร้างเจดียพ์ ระธาตุ ผาซ่อนแก้ว สิ ริราชย์ธรรมนฤมิตร สิ่ งที่โดดเด่นมากที่สุด ในวัดพระธาตุผาแก้ว คือการใช้ศิลปะ ทาง โลก มาเป็ นแรงบันดาลใจในการก่อสร้างสถาปั ตยกรรมทางธรรม ท่ามกลางธรรมชาติที่สวยงามโดด เด่นของเขาค้อ โดยเฉพาะองค์เจดียพ์ ระธาตุผาซ่ อนแก้ว สิ ริราชย์ธรรมนฤมิตร ที่ต้ งั ตระหง่านอยูบ่ น สันเขา นอกจากนี้ ยงั มีการก่อสร้างพระอุโบสถ เป็ นรู ปพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ขนาดสู งใหญ่เคียง ข้างกับองค์เจดีย ์ และมีบา้ นพักปฏิบตั ิธรรมสําหรับผูม้ ีจิตศรัทธา ปลูกสร้างไว้เรี ยงราย สวยงาม รอบ ๆ อาณาบริ เวณวัด


199

ภาพ 87 แสดงวัดพระธาตุผาแก้ว ประวัติความเป็ นมา พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว ตั้งอยู่ ณ บริ เวณเนิ นเขาในหมู่บา้ นทางแดง ต.แคมป์ สน อ.เขา ค้อ จ.เพชรบูรณ์ ซึ่ งได้เริ่ มก่อสร้างในราวปลายปี ๒๕๔๗ โดย คุณภาวิณี โชติกุล และ คุณอุไร โชติ กุ ล ได้ มี จิ ต ศรั ท ธาซื้ อที่ ดิ น ถวาย เพื่ อ ก่ อ สร้ า งเป็ นสถานที่ ป ฏิ บ ัติ ธ รรมแก่ พ ระสงฆ์ และ พุทธศาสนิ กชนทัว่ ไป สถานที่ อนั เป็ นธรรมภูมิที่งดงาม ซึ่ งเรี ยกว่าผาซ่ อนแก้วนี้ มีธรรมชาติ เป็ น ภูเขาที่ สูงใหญ่ ซ้อนกันเป็ นทิ วเขาเรี ยงรายโอบรอบบริ เวณศาลาปฏิ บตั ิ ธรรม และบนยอดเขาสู ง ตระหง่ านนั้น มี ถ้ าํ อยู่บ นปลายยอดเขา ซึ่ งมี ช าวบ้านทางแดงหลายคน ได้เห็ นลู ก แก้วลอยเหนื อ ฟากฟ้ า และลับหายเข้าไปในถํ้าบนยอดผา ชาวบ้านเชื่ อว่าเป็ นพระบรมสารี ริกธาตุเสด็จมา และต่าง ถือว่าเป็ นสถานที่มงคล มีความศักดิ์สิทธิ์ และเรี ยกตามๆ กันว่า “ผาซ่อนแก้ว” และพุทธสถานที่มาตั้ง ในจุดที่โอบล้อมด้วยทิวเขาดังกล่าว จึงเรี ยกว่า “พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว” เพื่อเป็ นนิ มิตมงคลแก่ ชาวบ้านทางแดง และผูม้ าปฏิบตั ิธรรมสื บไป


200

ภาพ 88 แสดงภาพจําลองวัดผาซ่อนแก้ว วัตถุประสงค์ การสร้ าง เพื่อเป็ นที่สอนปฏิบตั ิการเจริ ญสติปัฏฐาน ๔ ซึ่ งเป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา ตามคําสอน ของพระพุทธเจ้า ที่ทรงชี้วา่ เป็ นทางสายเอกที่นาํ ไปสู่ ความบริ สุทธิ์ ของกายและใจ ความดับทุกข์ การ เข้าถึงมรรคและพระนิพพาน พุทธธรรมสถานผาซ่ อนแก้ว เป็ นที่วิเวกสงบโอบล้อมด้วยธรรมชาติที่ งดงาม ซึ่งความเบิกบานของธรรมชาติ เป็ นแรงบันดาลใจให้เกิดสมาธิ เรี ยกว่าความสุ ขเป็ นเหตุใกล้ ให้เกิ ดสมาธิ สมาธิ เป็ นเหตุใกล้ให้เกิ ดปั ญญา ซึ่ งศาสนาพุทธล้วนเป็ นกระบวนการของเหตุปัจจัย ดังนั้น สถานที่แห่ งนี้ จึงสร้ างให้เหมาะกับเหตุปัจจัย ที่อยูท่ ่ามกลางธรรมชาติที่จะช่ วยน้อมนํามาสู่ ธรรมชาติ ภ ายในของตัว เอง หลัก คํา สอนของการปฏิ บ ัติ ธ รรม สติ ปั ฏ ฐาน ๔ เป็ นหัว ใจและ วัตถุประสงค์หลัก ของการสอนปฏิบตั ิธรรม ที่พุทธธรรมสถานผาซ่ อนแก้ว โดยเน้นความเรี ยบง่าย เป็ นหลัก เพื่อรู ้จกั ฐานที่ต้ งั ของสติ ตั้งแต่กาย ซึ่ งเรี ยกว่ารู ปธรรม และ นามธรรม ตั้งแต่ อารมณ์ จิตใจ ซึ่ งอยูก่ บั เราตลอดเวลา ดังนั้น คําสอนหลักของการปฏิบตั ิธรรม ที่พุทธธรรมสถานฯ เน้นเพื่อให้รู้จกั หลัก ของการเจริ ญสติ ปัฏ ฐาน ๔ เพื่อนําไปใช้ใ นชี วิตประจํา วัน ในการอยู่ร่วมกันอย่า งสันติ สุ ข ศาสนสถานสําคัญประจําจังหวัดเพชรบูรณ์ วัดพระธาตุผาซ่ อนแก้ว ตั้งอยูบ่ นเนิ นเขาใกล้กบั ผาซ่ อน แก้ว ในหมู่บา้ นทางแดง ต.แคมป์ สน เป็ นวัดที่มีความสวยงามทั้งสถาปั ตยกรรมของสิ่ งปลูกสร้ าง และทําเลที่ต้ งั ซึ่ งอยูบ่ นเนิ นเขาสู งท่ามกลางขุนเขาและทะเลหมอก เป็ นสถานที่ ที่ห้ามพลาดสําหรับ การเที่ยวเขาค้อ


201

การเที่ ยวชมวัดพระธาตุผาซ่ อนแก้ว นอกจากการได้ไหว้พระ ขอพรเพื่อเป็ นสิ ริมงคลกับ ชีวติ แล้ว ยังสามารถ เที่ยวชมความสวยงามของสถานที่ และภูมิทศั น์รอบๆ วัดได้อย่างเพลิดเพลินใจ และคุม้ ค่าสําคัญการมาเที่ยวชมอย่างที่สุด จุดสําคัญ 1. เจดี ยพ์ ระธาตุผาซ่ อนแก้ว สิ ริราชธรรมนฤมิตร มีรูปทรงวิจิตรงดงามด้วยการออกแบบ ดอกบัว ซ้ อ นกัน 7 ชั้น วัต ถุ ป ระสงค์ก ารสร้ า งเจดี ย ์ เพื่ อ ถวายเป็ นพระราชกุ ศ ล ในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี และเป็ นที่ สื บพระศาสนา ให้ดาํ รงอยู่คู่ แผ่นดิ นไทย เพื่อประโยชน์แก่มนุ ษยชาติ และคนรุ่ นหลังได้มีโอกาสเรี ยนรู ้ ต่อไป จุดเด่นขององค์ เจดี ยส์ ี ทองนี้ อยู่ที่การเอาใจใส่ รายละเอี ยดทุ กกระเบียดนิ้ ว สี สันที่สดใสของเจดี ย ์ เกิ ดจากการนํา กระเบื้องสี ถ้วยชามเบญจรงค์ มุก ลูกปั ด แก้ว แหวน เงิ นทอง เพชร พลอย สิ่ งมีค่าต่างๆ ตลอดจน เซรามิคหลากสี สัน มาประดับประดาตกแต่ง เป็ นลวดลายที่สวยงาม บนยอดเจดียจ์ ะบรรจุพระบรม สารี ริกธาตุ ซึ่ งได้รับประทานมาจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริ ณา ยก และ บริ เวณใต้ฐานพระเจดี ยจ์ ะใช้เป็ นที่เก็บรวบรวมหลักธรรมคําสอน, ภาพปริ ศนาธรรม และ เป็ นที่เจริ ญสติภาวนา สําหรับพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป 2. พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ตั้งเด่นสง่ าอยู่บนเนิ นเขา ซึ่ งสามารถมองเห็ นได้แต่ไกล จาก บริ เวณถนนสาย 12 เส้ นทางหลักของการเดิ นทางในบริ เวณนี้ ความสวยงามของพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ คือสถาปั ตยกรรมที่งดงาม ผสานอย่างลงตัวกับการตกแต่งรายรอบ ประดับประดาไปด้วย เซรามิคหลากสี สัน หลายลวดลาย แก้วแหวนเงินทอง และโลหะมันวาวหลายชนิ ด รายล้อมไปด้วย ภูมิทศั น์งดงาม ภูเขา หุ บเขา และสายหมอก ซึ่ งจะสวยงามมากที่สุดในฤดูฝน ที่สามารถเห็นทะเล หมอกได้จากหุ บเข้าบริ เวณพระพุทธรู ปนี้เอง องค์พระพุทธรู ป ตั้งอยูบ่ นอาคารขนาดใหญ่ ซึ่ งมีความ สู ง 6 ชั้น และมีความสู งรวมทั้งหมด 45 เมตร กว้าง 41 เมตร จุดประสงค์ในการสร้างนี้ เพื่อเป็ นการ ร่ วมน้อมถวายเป็ นพระราชกุศล เนื่ องในมหาวโรกาสเฉลิมฉลองพระชนม์มายุ 85 พรรษา ขององค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ของปวงชนชาวไทย อีกทั้งเป็ นการสื บสาน พระพุทธศาสนาให้ดาํ รงคงอยูค่ ู่แผ่นดินไทยสื บต่อไป


202

แหล่งท่องเทีย่ วทางการเกษตร ไร่ บี.เอ็น. เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งเกษตรที่ได้รับความนิ ยมมานานไม่มีเสื่ อมคลาย จากผูท้ ี่มาเที่ยวเขา ค้อ จุ ดเด่ นอยู่ที่ความสามารถในการทําการเกษตรเชิ งวิชาการแผนใหม่ มาปรับปรุ งพัฒนาใช้กบั พืชผลในไร่ จนกลายเป็ นแหล่งสําคัญในการผลิต และการจําหน่ายผลผลิตทางการเกษตรสําหรับไม้ เมื องหนาวที่ สําคัญ ที่ นี่มีพืช ผัก ผลไม้ที่หมุ นเวียนผลัดเปลี่ ยนกันตามฤดู กาลมากมาย จากพื้นที่ การเกษตรนับพันไร่ จึ งไม่ควรพลาดจะแวะชม และเลื อกซื้ อพืชผลเหล่ านี้ เป็ นของฝากติ ดมื อ ที่ ระลึกจากเขาค้อ ผลไม้เมืองหนาวที่หาได้จากไร่ บี.เอ็น. มีมากมาย ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนตามฤดูกาล เช่น สต รอเบอร์ รี่ ลิ้นจี่ น้อยหน่ า อโวคาโด้ ลู กพลับ ผักต่างๆ เช่ น แครอท บี ทรู ท แตงกวาญี่ ปุ่น ฟั กแม้ว ผักกาดแก้ว บรอคเคอรี่ และดอกไม้สวยๆ สําหรับเมืองหนาว เช่น คาร์ เนชัน่ แกลดิโอลัส แอสเตอร์ ซึ่ งหาซื้ อกันได้ในเรื อนจัดแสดงสิ นค้า และจําหน่ ายพืชพรรณของทางไร่ นอกจากนี้ ยงั มีสินค้าแปร รู ป ประเภท ไอศครี ม แยมผลไม้ นํ้าผลไม้ ผลไม้อบแห้ง ผลไม้แช่อิ่มประเภทต่างๆ ส่ วนด้านนอกอาคาร สามารถชมไร่ ลิ้นจี่ได้ ตั้งแต่เริ่ มเลี้ ยวเข้าสู่ ไร่ บีเอ็น และจอดรถกันได้ ในสวนลิ้นจี่เลยทีเดียว ถัดเข้ามาเป็ นแปลงพืชพรรณแปลกตามมากมาย ทั้งไม้โบราณดึกดําบรรพ์ ไม้ เมืองหนาว ดอกไม้ประดับ ต้นไม้บางชนิ ดอาจไม่เคยเห็นที่ไหนมาก่อน หากต้องการเที่ยวชมแปลง สาธิ ตพืชผลทางการเกษตร ก็สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ล่วงหน้าเพื่อให้ พาแวะเข้าชมพืชแปลงต่างๆได้ เช่นกัน ให้บรรยากาศของการท่องเที่ยวในไร่ เมืองหนาวได้เป็ นอย่างดี ที่อยู่ : ตั้งอยูบ่ นถนนสาย 2196 ห่างจากแยกแคมป์ สนประมาณ 4 กม.ในเขต ต.แคมป์ สน อ. เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ เปิ ดบริ การเวลา 7.00 - 17.00 น. ทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทรศัพท์ 056 750 419 สถานีทดลองเกษตรทีส่ ู งเขาค้ อ ตั้ง อยูท่ ี่ 51 หมู่ 3 ตําบลสะเดาพง เป็ นสถานที่ทดลองปลูกไม้เมืองหนาวจากสถาบันวิจยั พืช สวน กรมวิชาการเกษตร ภายในสถานี ได้ปลูกไม้เมืองหนาวนานาชนิ ด เช่ น พลับฝาด พลับเนคตา ซี น แมคคาเดเมียนัท กาแฟ มะกอกนํ้า นักท่องเที่ยวที่มีความประสงค์จะเข้าชมภายในสถานี ทดลอง การเกษตรที่สูงเขาค้อ จะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ก่อนล่วงหน้า 1 สัปดาห์ และสามารถจองเต็นท์ได้ใน ราคา 250 บาท พักได้ 4 คน สอบถามรายละเอี ยดเพิ่ มเติ ม ได้ที่ โทร. 056-723-056 สถานี ทดลอง เกษตรที่สูงเขาค้อ ตั้งอยูใ่ นทําเลที่เหมาะสม อากาศดี ภูมิทศั น์สวยงาม ส่ วนงานวิจยั ก็สอดคล้องกัน


203

เพราะมีวิจยั เรื่ องผลไม้ ดอกไม้ สมุนไพร พืชผักปลอดสารพิษ เดิ มที เกษตรที่สูงเขาค้อ เน้นวิจยั ทางด้านเกษตรอย่างเดี ยว แต่ต่อมารัฐบาลได้เสนอให้เปิ ดเป็ นแหล่งท่องเที่ยว จึงมีการปรับเปลี่ ยน บางส่ วนเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวเพราะเขาค้อ มีนกั ท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมค่อนข้างมากเป็ นปกติ จาก จุดเด่นเรื่ องของอากาศที่เย็นสบายตลอดปี และหนาวมากที่สุดในช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิจะลดตํ่าลง เหลือ 4-5 องศาเซลเซี ยสเท่านั้น สถานี ทดลองเกษตรที่สูงเขาค้อ จัดภูมิทศั น์ได้อย่างสวยงามลงตัว ส่ วนหนึ่ งเป็ นดอกไม้เมืองหนาว คอยหมุนเวียนสับเปลี่ยน ให้นกั ท่องเที่ยวได้ชม ที่โดดเด่นมากคือ ฮอลลี่ ฮ็อก ดาวเรื อง ผีเสื้ อ และไม้สวยอื่นๆ ภายในสถานี ฯมีที่พกั ให้เลือกหลายหลัง แบ่งเป็ นแบบ บ้านเดี่ ยว และเรื อนพัก แต่ช่วงเทศกาลต้องจองกันนาน โดยเฉพาะช่ วงฤดูหนาว ต้องจองล่วงหน้า นานเป็ นพิเศษ โครงการควบคุมและกาจัดหนอนใยผักโดยเทคนิคการใช้ แมลงทีเ่ ป็ นหมันในรุ่ นลูก ได้ดาํ เนิ นงานวิจยั ตั้งแต่ พ.ศ. 2535-2543 ที่สถานี ทดลองเกษตรที่สูงเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยนําเทคนิ คการใช้แมลงที่เป็ นหมันด้วยรังสี ในรุ่ นลูกมาใช้ควบคุมกําจัดหนอน ใย ผักในแปลงกะหลํ่าปลี โดยฉายรังสี ให้แมลงเป็ นหมันไม่สมบูรณ์ในรุ่ นพ่อแม่ แล้วปล่อยไปผสม พันธุ์ไปผสมพันธุ์กบั แมลงในธรรมชาติเพื่อให้เกิ ดรุ่ นลูกที่มี ความเป็ นหมันเพิ่มขึ้น การติดตามผล การทดลองกระทําโดย ผ่าดูโครโมโซมของอัณฑะหนอนเพศผูว้ ยั สุ ดท้ายที่จบั ได้ในแปลงทดลอง ถ้า เป็ นแมลงที่ เป็ นหมันในรุ่ นลู กจะมี โครโมโซมผิดปกติ ส่ วนการติ ดตามผลการปล่ อยแมลงที่เป็ น หมันในรุ่ นพ่อแม่ โดยการทําเครื่ องหมายด้วยผงสี สะท้อนแสง และจับแมลงกลับด้วยกับดักกาว เหนี ยวสี เหลือง เพื่อหาอัตราส่ วนระหว่างแมลงฉายรังสี กบั แลงธรรมชาติ ชี้ ให้เห็นความเป็ นไปได้ ของเทคนิคนี้ นอกจากนี้ยงั พบแมลงตัวหํ้า และแมลงตัวเบียนเพิ่มขึ้นทุกปี ทําให้เกิดสมดุลธรรมชาติ ความสําเร็ จของโครงการนี้ทาํ ให้เกษตรกรไม่ตอ้ งใช้สารฆ่าแมลงในผักและสิ่ งแวดล้อมน้อยลง แปลงปลูกแมคคาเดเมียนัท แมคคาเดเมียพันธุ์ใหม่วชิ าการฯ หนุนเกษตรกรปลูกส่ งออกสร้างรายได้นายจํารอง ดาวเรื อง ผอ.ศูนย์บริ การวิชการด้านพืชและปั จจัยการผลิ ตเชี ยงใหม่ (ฝาง) สวพ.1 เชี ยงใหม่ กรม วิชาการเกษตร เปิ ด เผยว่า ขณะนี้ได้ดาํ เนินการศึกษาวิจยั คัดเลือกและปรับปรุ งพันธุ์แมคคาเดเมียเพื่อ ปลูกในพื้นที่สูงของไทย ส่ ง เสริ มให้เกษตรกรและชาวเขาปลูกเพื่อสร้างรายได้ เนื่ องจาก แมคคาเด เมีย ถือเป็ นพืชเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มที่ดี และมีราคาสู ง โดยแมคคาเดเมียอบแห้งกะเทาะเปลือกแล้ว ขายกก.ละ 1,200 บาท แต่หากเป็ นเมล็ดสดไม่อบสุ ก กก.ละ 250-300 บาท นอกจากนั้น ยังมีคุณค่า ทางโภชนาการ ทั้ง มี เบต้าแครอที นสู ง และไม่ มีค อลเรสเตอรอล ทําให้เป็ นที่ นิย มของผูบ้ ริ โภค


204

โดยเฉพาะตลาดในต่างประเทศเช่ น จี น ไต้หวัน เกาหลี และฮ่องกง ที่ ส่วนใหญ่มกั นําเข้ามาจาก ฮาวาย หากไทยสามารถขยายพื้นที่ปลูกเพื่อเพิ่มกําลังการผลิตส่ งออกไปยังตลาดต่าง ประเทศเชื่ อว่า แมคคาเดเมีย น่าจะเป็ นพืชเศรษฐกิจที่น่าสนใจอีกชนิ ดหนึ่ งของไทย ทั้งนี้ การศึกษาวิจยั เพื่อคัดเลือก และปรับปรุ งพันธุ์แมคคาเดเมียที่เหมาะสม เริ่ มต้นได้คดั เลือกพันธุ์แมคคาเดเมียจากเกาะฮาวาย และ ทดลองปลูกในพื้นที่สูงที่แตกต่างกัน แบ่งเป็ น 2 ระดับ คือ ระดับตํ่ากว่า 400 เมตรจากนํ้าทะเล ระดับ ตั้งแต่ 700-1,000 เมตรจากนํ้าทะเล และระดับสู งกว่า 1,000 เมตรจากระดับนํ้าทะเล โดยทดลองปลูก ในแปลงทดลองของศูนย์วจิ ยั พืชสวนเชียงราย ศูนย์วจิ ยั พืชสวนเพชรบูรณ์ และศูนย์วิจยั เกษตรหลวง เชียงใหม่ นายจํารอง กล่าวเพิ่มเติม ปั จจุบนั ได้พนั ธุ์แมคคาเดเมียที่เหมาะสมปลูกในพื้นที่สูงกว่านํ้า ทะเล 700 เมตร ซึ่ งเตรี ยมขึ้นทะเบี ยนเป็ นพันธุ์ พืชใหม่กบั กรมวิชาการเกษตรและส่ งเสริ มให้ แก่ เกษตรกรปลูก พื้นที่ปลูกที่เหมาะสมต้องอยูร่ ะดับสู งกว่านํ้าทะเลไม่น้อยกว่า 700 เมตร เช่ น อ.พบ พระ จ.ตาก อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ เป็ นต้น ซึ่ งการปลูกแมคคาเดเมียส่ วนใหญ่จะปลูกเสริ มในแปลง ปลูกผัก หรื อ พืชไร่ โดยจะเริ่ มให้ผลผลิ ตตั้งแต่อายุ 4 ปี ไปจนถึงอายุ 25 ปี ให้ผลผลิตประมาณต้น ละ 25 กก. หรื อราว 400-500 กก.ต่อไร่ ทั้งนี้ เชื่ อว่า แมคคาเดเมีย จะเป็ นพืชสําหรับปลูกในพื้นที่สูง อีกหนึ่งทางเลือกให้แก่เกษตรกรที่สนใจ แมคคาเดเมียนัท แปลงปลูก แมคคาเดเมียนัท เป็ นพืชที่ปลูกกันมาในจังหวัด เชี ยงใหม่ เลย และเพชรบูรณ์ แมคคาเดเมียนัท ที่เกษตรที่สู งเขาค้อ มี พ้ืนที่ ปลู กประมาณ 20 ไร่ โดยมี การปลู ก กาแฟแซม แมคคาเดเมียนัท ปลูกได้ผล ในที่ค่อนข้างสู ง ลําต้นมีขนาดใหญ่ พุ่มใบแน่นทึบ ใบเขียว ทั้งปี เป็ นพืชที่ เหมาะจะปลู กคลุ มภูเขาไม่ให้เป็ นเขาหัวโล้น ซึ่ งจากข้อมูลทางวิชาการนั้นระบุ ว่า สามารถปลูกได้ไม่กี่จงั หวัดเท่านั้น ส่ วนกาแฟที่ปลูกแซมในแปลงแมคคาเดเมียนัท ส่ วนหนึ่ งปลูกใต้ ต้นกระถิ นณรงค์ กาแฟเป็ นงานทดลองเช่นกัน แต่ผลผลิตสามารถนํามาแปรรู ป เป็ นกาแฟสดที่ให้ รสชาติดีมาก วิธีปลูกแมคคาเดเมียที่เพชรบูรณ์ เป็ นต้น ซึ่ งการปลูกแมคคาเดเมียส่ วนใหญ่จะปลูกเสริ มใน แปลงปลู ก ผัก หรื อ พื ช ไร่ โดยจะเริ่ ม ให้ผ ลผลิ ตตั้ง แต่อายุ 4 ปี ไปจนถึ งอายุ 25 ปี พื ชผัก ปลอด สารพิษ ที่ นี่มี ก ารส่ ง เสริ ม การปลู ก มะระหวาน ซึ่ ง เป็ นผลงานของคนงานในสถานี เพื่ อสร้ า งรายได้ใ ห้ ครอบครัวผูม้ ีรายได้นอ้ ย ทําให้ยอดมะระหวาน มีจาํ นวนมากในบริ เวณเขาค้อ และมีวางขายทัว่ ไป จนกลายเป็ นอาหารหลักของคนที่ข้ ึนมาท่องเที่ยว เกือบทุกร้านอาหารจะมีเมนูยอดมะระหวานให้ลิ้ม


205

ลอง ซึ่ งมีต้ งั แต่ยอดมะระหวานผัดนํ้ามันหอย แกงจืด แม้กระทัง่ ก๋ วยเตี๋ยวก็ใช้แทนผักบุง้ และถัง่ งอก ได้ นอกจากนี้ สถานี ทดลอง เกษตรที่สูงเขาค้อ มีโรงเรื อนปลูกผักปลอดสารพิษ ในเนื้ อที่ 5 ไร่ ให้ ความสําคัญกับการปลูกผักเมืองหนาวที่หารับประทานได้ยาก และการปลูกทําโดยปลอดสารพิษ 5.5) สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเขาค้อ (สวนสัตว์เปิ ดเขาค้อ) สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเขาค้อ (สวนสัตว์เปิ ดเขาค้อ) เป็ นสถานี วิจยั เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ ดําเนิ นโครงการโดยกองอนุ รักษ์สัตว์ป่า ส่ วนอนุ รักษ์สัตว์ป่า กรมป่ าไม้ เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชดําริ เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชิ นีนาถได้ทรงเสด็จพระราชดําเนิ นเยี่ยมราษฎรบนพื้นที่เขาค้อ และจากนั้น ส่ วนอนุรักษ์สัตว์ป่าได้จดั ตั้งศูนย์เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สัตว์ป่าเขาค้อและจัดทําโครงการสวนสัตว์ เปิ ดเขาค้อ ครอบคลุมพื้นที่ 20 ตารางกิโลเมตร ในตําบลเขาค้อ ตําบลสะเดาะพง และตําบลหนองแม่ นา อําเภอเขาค้อ สัตว์ป่าที่เพาะเลี้ ยงและขยายพันธุ์ภายในสถานี แบ่งออกเป็ น 3 จําพวก ได้แก่ สัตว์ ป่ าจํา พวกเลี้ ยงลู ก ด้วยนม สั ตว์ป่ าจํา พวกสั ตว์ปีก สั ตว์ป่ าจําพวกเลื้ อยคลานและสั ตว์ส ะเทิ นนํ้า สะเทินบก สิ่ ง อํา นวยความสะดวก: สถานี เพาะเลี้ ย งสั ต ว์ป่ าเขาค้อเพชรบู ร ณ์ มี บ ้า นพัก ไว้สํ า หรั บ นักท่ องเที่ ยว จํานวน 3 หลัง พักได้หลังละ 10 คน หากผูท้ ี่ เข้าชมเป็ นหมู่ค ณะต้องการเจ้าหน้า ที่ บรรยายและนําชมให้ความรู ้เกี่ยวกับสัตว์ป่า ต้องทําหนังสื อล่วงหน้าถึง หัวหน้าสถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ ป่ าเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67270 โทร. 08 6887 7393 และสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ ที่ กลุ่มวิจยั การเพาะเลี้ ยง สํานักอนุ รักษ์สัตว์ป่า กรมอุ ทยานแห่ งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช บางเขน กรุ งเทพ โทร. 0 2561 4292 ต่อ 713, 0 2579 9630 การเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับนํ้าตกศรี ดิษฐ์ เมื่อ ถึงกิโลเมตรที่ 7แยกซ้ายเข้าไปอีกประมาณ 3.5กิโลเมตร


206

ภาพ 89 แสดงเนื้ อทรายสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเขาค้อ สวนสัตว์เปิ ดเขาค้อ มีท้ งั สัตว์ที่ปล่อยตามธรรมชาติและสัตว์ที่เลี้ยงไว้ในกรง หากผูท้ ี่เข้าชม เป็ นหมู่คณะต้องการเจ้าหน้าที่บรรยายและนําชมให้ความรู ้เกี่ยวกับสัตว์ป่า ต้องทําหนังสื อล่วงหน้า ถึง หัวหน้าโครงการสวนสัตว์เปิ ดเขาค้อ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ความเป็ นมา:เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2527 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระ นางเจ้าสิ ริกิต์ พระบรมราชิ นีนาถ ได้เสด็จพระราชดําเนิ นเป็ นองค์ประธาน ในพิธีเปิ ดอนุ สรณ์ ผู ้ เสี ยสละเขาค้อ และทรงเยี่ยมราษฎรบนพื้นที่เขาค้อ ในการเสด็จฯพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ได้ ทรงมี พ ระราชดําริ ใ ห้มี ก ารอนุ รั ก ษ์ป่าและสัตว์ป่าโดยให้จดั ทําเป็ นสวนสัตว์เปิ ดในบริ เวณด้าน ตะวันตกของเขาค้อ เนื้ อที่ประมาณ 14 ตารางกิโลเมตร เพื่อเป็ นการสนองต่อพระราชดําริ กรมป่ า ไม้จึงได้มอบหมายให้ กองอนุ รักษ์สัตว์ป่า(ในขณะนั้น) เป็ นหน่วยงานรับผิดชอบในการดําเนิ นงาน กองอนุ รัก ษ์สั ตว์ป่ า จึ ง ได้ท าํ การจัด ส่ ง เจ้า หน้า ที่ ไปสํา รวจพื้ นที่ และให้ด ํา เนิ นการจัด ตั้ง ศู น ย์ เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สัตว์ป่าเขาค้อ เพื่อดําเนินการตามแนวทางอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ ตั้งแต่ เดือน มิถุนายน 2527 โดยครอบคลุ มพื้นที่ประมาณ 20 ตารางกิ โลเมตร และต่อมา คณะกรรมการ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) ได้อนุ มตั ิดาํ เนินงาน โครงการสวนสัตว์ เปิ ดเขาค้อตามพระราชดําริ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2527 ข้อมูลด้านกายภาพ:พื้นที่: 12500 ไร่ ภู มิ ป ระเทศ: ลั ก ษณะพื้ น ที่ เ ป็ นภู เ ขาและมี ที่ ร าบบางส่ วน ยอดเขาที่ สู งที่ สุ ดจาก ระดับนํ้าทะเลปานกลางประมาณ 1,300เมตร เป็ นแหล่งต้นนํ้าห้วยค้อ ไหลลงสู่ แม่น้ าํ น่าน สภาพป่ า


207

เป็ นป่ าดงดิ บ เขาภู มิ อากาศ สภาพอากาศโดยทัว่ ไปในฤดู ร้อนอุ ณหภู มิ สู งสุ ดประมาณ 34 องศา เซลเซียส ในฤดูหนาวอุณหภูมิต่าํ สุ ดประมาณ 2การเดินทาง:ใช้เส้นทางเดียวกับนํ้าตกศรี ดิษฐ์ เมื่อถึง กิโลเมตรที่ 7 แยกซ้ายเข้าไปอีกประมาณ 3.5 กิโลเมตรข้อมูลด้านชี วภาพทรัพยากรป่ าไม้: พันธุ์ไม้ที่ พบ ได้แก่ : สนเขา ลําใยป่ า มะม่วงป่ า ค้อ ตะแบก ตะเคียน ปอสา หมาก หวาย ไผ่ต่าง ๆ เป็ นต้น ทรัพยากรสัตว์ป่า: สัตว์ป่าที่พบในธรรมชาติ ได้แก่ : กวาง เก้ง หมีควาย หมูป่า เสื อลายเมฆ เสื อไฟ แมวดาว ไก่ป่าตุม้ หู แดง นกเขาเขียว นกแก๊ก นกแซงแซว นกเขาเปล้า นกขุนทอง เต่าปูลู ฯลฯสัตว์ ป่ าที่เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์ ได้แก่ : สัตว์ป่าหายากใกล้สูญพันธุ์และมีค่าทางเศรษฐกิจ ได้แก่ เ6ก้ง วัวแดง กวาง เนื้ อทราย ละองละมัง่ ไก่ฟ้าพญาลอ ไก่ฟ้าหลังขาว ไก่ฟ้าหน้าเขียว นกยูง นกหว้า นก แว่น เป็ ดก่า เป็ ดหงส์ เป็ ดแดง นกกระราง นกขุนแผน นกแก้วโม่ง นกแขกเต้า และเต่าชนิดต่าง ๆ การคมนาคม: จากจังหวัดพิษณุ โลกเดิ นทางไปตามทางหลวงแผ่นดิ นหมายเลข 12 สายพิษณุ โลกหล่ มสัก ถึ งสายแยกแคมป์ สน (หลักกิ โลเมตรที่ 100) เลี้ ยวขวาไปเขาค้อ ระยะทางประมาณ 27 กิโลเมตร ถึงบ้านรัตนัย-ปั ญญาคี แล้วเดินทางต่ออีกประมาณ 3 กิโลเมตร ถึงทางเข้าสถานี เพาะเลี้ยง สัตว์ป่าเขาค้อ รวมระยะทางประมาณ 130 กิโลเมตร จากจังหวัดเพชรบูรณ์เดินทางไปตามทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 21 สายสระบุรี-หล่มสัก ถึงสามแยกบ้านนางัว่ (ระยะทางประมาณ 13 กิโลเมตร) เลี้ยวซ้ายไปเขาค้อเดินทางต่ออีกประมาณ 32 กิโลเมตร เลี้ยวขวาเข้าสถานี ทดลองเกษตรที่สูงเขาค้อ เดิ นทางต่ออีกประมาณ 3 กิ โลเมตร ถึ งสถานี เพาะเลี้ยงเขาค้อ รวมระยะทางประมาณ 48 กิ โลเมตร ที่ต้ งั :สถานี เพาะเลี้ ยงสัตว์ป่าเขาค้อ ตั้งอยู่ในท้องที่ ตาํ บลเขาค้อ ตําบลเดาะพง ตําบลหนองแม่นา อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีพ้นื ที่ดาํ เนินการประมาณ 12,500 ไร่ แหล่งท่องเทีย่ วประวัติศาสตร์ อนุสรณ์ สถานผู้เสี ยสละเขาค้ อ ฐานอิทธิ (พิพิธภัณฑ์อาวุธ) อยูเ่ ลยกิโลเมตรที่ 28 ทางหลวงหมายเลข 2196 (ไปเล็กน้อย แล้ว แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2323 ไปประมาณ 3 กิ โลเมตร เป็ นจุดหนึ่ งที่เห็ นทิวทัศน์สวยงาม และเคยเป็ นฐานสําคัญทางยุทธศาสตร์ ในอดี ต ปั จจุ บนั จัดเป็ นพิพิธภัณฑ์อาวุธ จัดแสดงปื นใหญ่ ซากรถถัง และอาวุธที่ใช้สู้รบกันบนเขาค้อ มีห้องบรรยายสรุ ปแก่ผเู ้ ข้าชมเป็ นหมู่คณะด้วย เปิ ดให้ เข้าชมทุกวัน ค่าเข้าชมคนละ 10 บาท เขาค้อ เคยได้ชื่อว่าเป็ นดิ นแห่ งคอมมิวนิ สต์ เป็ นพื้นที่ สี แดงที่คุกรุ่ นไปด้วยควันไฟของการสู ้รบจากผูท้ ี่มีแนวคิดทางการเมืองที่แตกต่างกัน(ช่วง พ.ศ. 25112525 ) ในยุคที่เขาค้อถือเป็ นดินแดนต้องห้ามที่คนทัว่ ไปไม่ควรเฉี ยดเข้าไปใกล้แม้แต่นอ้ ย เพราะถือ


208

ว่า อันตรายสุ ด ๆ แต่ เ มื่ อเวลาผัน ผ่า นไป ความขัด แย้ง ยุ ติ ล ง เขาค้อปรั บ เปลี่ ย นกลายเป็ นพื้ น ที่ ท่องเที่ยวอันโดดเด่น ธรรมชาติสวยงามและมีเสน่ห์ที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละตั้งตระหง่านอยูบ่ นยอดเขา มีความโดดเด่นด้วยแท่งหิ นอ่อนรู ปทรง สามเหลี่ยม ออกแบบโดยศาตราจารย์ ดร.กฤษฎา อรุ ณวงษ์ ณ อยุธยา มีความหมายตามขนาดและ รู ปร่ างดังนี้ - รู ปทรงสามเหลี่ยม หมายถึง การปฏิบตั ิการร่ วมกันระหว่างพลเรื อน ตํารวจ และทหาร - ฐานอนุ สรณ์สถานกว้าง 11 เมตร หมายถึ ง พ.ศ.2511 อันเป็ นปี เริ่ มการปฏิบตั ิการรุ นแรง ของผูก้ ่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในพื้นที่น้ ี - ความสู งจากแท่นบูชาถึงยอดอนุ สรณ์สถาน 24 เมตร หมายถึง พ.ศ. 2524 อันเป็ นปี ที่เปิ ด ยุทธการครั้งใหญ่ - ความสู งจากฐานถึงยอดอนุสรณ์สถาน 25 เมตร หมายถึง ปี 2525 อันเป็ นปี สิ้ นสุ ดการต่อสู ้ ด้วยอาวุธ - ความกว้างฐานสามเหลี่ ยมด้านละ 2.6 เมตร หมายถึ งปี 2526 อันเป็ นปี เริ่ มการก่ อสร้ าง อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละ แห่งนี้ อนุ ส รณ์ ส ถานแห่ ง นี้ พลเอก อาทิ ตย์ กํา ลัง เอก ผูอ้ าํ นวยการป้ องกันการกระทํา อันเป็ น คอมมิวนิสต์ทวั่ ไป ได้มาทําพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2526 โดยสร้างขึ้นด้วยเงินบริ จาค ของประชาชนและข้า ราชการทุ ก ฝ่ ายพระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หัว ฯ และสมเด็ จ พระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถฯ ได้เสด็จฯ มาเป็ นองค์ประธานเปิ ดอนุสรณ์สถานแห่ งนี้ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2527 เพื่อเตือนใจคนไทยทั้งชาติวา่ "ยามใดที่คนไทยขัดแย้งกัน จะต้องมีการสู ญเสี ยอย่างผูก้ ล้าหาญ 1,171 ชี วิต ที่ จารึ กไว้กบั องค์อนุ สรณ์ จงอย่าให้เกิ ดเหตุ การณ์ เช่ นนี้ อีก" ทางจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ กําหนดวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 เป็ นต้นมา ให้เป็ นวันสมโภชอนุสรณ์สถาน ผูเ้ สี ยสละเขาค้อแห่งนี้ นอกจากนี้ บริ เวณด้านข้างของอนุ สรณ์ ฯ เป็ นฐานจําลองการสู ้ รบที่เป็ นเนิ นเตี้ย ๆ มีหลุ ม หลบภัย มีกระสอบทรายบังเกอร์ ซึ่ งในอดี ตที่แห่ งนี้ เป็ นฐานแห่ งแรกที่ทหารไทยยึดคืนมาได้จาก การสู ้รบกับพรรคคอมมิวนิ สต์แห่ งประเทศไทย (พคท.) บริ เวณอนุ สรณ์ สถาน ยังเป็ นจุดชมวิวที่ สวยงามที่สุดแห่ งหนึ่ งบนเขาค้อ เนื่ องจากตั้งอยูบ่ นส่ วนที่สูงที่สุด สามารถมองเห็นทัศนี ยภาพของ เนิ นเขาลูกเล็ก ลูกน้อย ไล่เลี ยงกันเป็ นทะเลภู และในเช้าวันที่มีทะเลหมอกด้านล่าง ยังสามารถชม ทะเลหมอกได้จากจุดชมวิวนี้ได้ดว้ ย


209

อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละเขาค้อ อนุ ส รณ์ แห่ ง นี้ องค์พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หัว ฯ ทรงพระราชทานให้ เ มื่ อ วัน ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2527 เพื่อเป็ นสิ่ งเตื อนใจคนไทยทั้งชาติ ว่า "ยามใดที่ คนไทยขัดแย้งกัน จะต้องมี การ สู ญเสี ยอย่างผูก้ ล้า 1,171 ชีวติ จารึ กกับองค์อนุสรณ์ จงอย่าให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ข้ ึนอีก" วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างอนุสรณ์สถาน ผูเ้ สี ยสละเขาค้อ คือ 1. เพื่อเป็ นการสดุ ดีและระลึกถึ งวีรกรรมของประชาชนพลเรื อน ตํารวจ และทหารที่ได้ ปฏิบตั ิภารกิจในการต่อสู ้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ 2. เพื่อเป็ นการระลึ กถึงดวงวิญญาณของผูก้ ล้าหาญที่ได้เสี ยสละชี วิต และเลื อดเนื้ อเป็ น แบบอย่างให้พี่นอ้ งประชาชนชาวไทยได้ สํานึ กว่าแผ่นดินนี้ เป็ นสมบัติของตนที่ตอ้ ง หวงแหนและ ปกป้ องรักษาไว้ยงิ่ ชีพ 3. เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสามัคคี และการรวมพลังในการต่อสู ้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิ สต์ ตลอดจนส่ งเสริ มให้ประชาชนมี ความรัก และเทิดทูนไว้ซ่ ึ งสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข 4. เพื่อเป็ นสถานที่เคารพสักการะ และเป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจของประชาชนทัว่ ไป ความ ปลื้มปิ ติที่มีต่อทหารกล้าผูเ้ สี ยสละนั้น เราไม่สามารถแสดงออกมาได้เกินกว่าความรู ้สึกที่เก็บไว้ใน ใจ "ชี วิตหนึ่ งชี วิตก็มีค่าแค่เพียงความมีชีวิต แต่การสร้างคุ ณค่าให้กบั ชี วิตนั้นขึ้นอยูก่ บั ว่าเราเลือกที่ จะสร้ างคุ ณค่า ให้กบั จิตใจในทิศทางใด" เราคงภาคภูมิใจอยู่ไม่น้อย ถ้าจุดสิ้ นสุ ดแห่ งชี วิตของเรา ต้องจบลงดัง่ เช่นทหารเหล่านั้น ในบริ เวณที่ใกล้กบั อนุ สรณ์ สถานผูเ้ สี ยสละนั้น คือที่ต้ งั ฐานกรุ งเทพ (ซึ่ งเป็ นชื่ อเรี ยกขาน ทางวิทยุของร้อย 1741 ที่สามารถยึดยอดเขาค้อได้) ซึ่ งแต่เดิมนั้นบริ เวณนี้ เคยเป็ นที่ต้ งั ของ ผกค. แต่ ฝ่ ายเราก็สามารถยึดมาได้ดว้ ยความยากลําบาก เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2522 ปั จจุบนั ฐานกรุ งเทพได้ กลายเป็ นจุ ดชมวิวที่ สวยงามแห่ ง หนึ่ ง ผนังภายในมี การบันทึ กประวัติอนุ ส รณ์ ฯ รายชื่ อวีรชนผู ้ เสี ยสละเพื่อประเทศชาติและได้มีการสลักบทกวีพระราชนิ พนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูห่ วั ความรักประเทศสู้ ยอมสละ ทั้งร่ วมและชีวะ ปลดเปลื้อง รักษาอิสระ ภาพแห่ง ไทยแฮ ยอยศสยามราชเรื้ อง รัฐคุม้ อวสาน ฯ


210

รวมทั้งรอยจารึ กพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และ พระบรมวงศานุ วงศ์ ที่ผนังหน้าทางเข้าอนุ สรณ์สถานผูเ้ สี ยสละเขาค้อ พลเอกอาทิตย์ กําลังเอก ผูอ้ าํ นวยการป้ องกัน การกระทําอันเป็ นคอมมิวนิสต์ทว่ั ไป ได้มาทําพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2526 โดย สร้างขึ้นโดยเงินบริ จาคของประชาชนและข้าราชการทุกฝ่ าย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ พระสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชิ นีนาถฯ ได้เสด็จมาเป็ น องค์ประธานการเปิ ดอนุสรณ์สถานแห่งนี้เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2527 เพื่อเตือนใจคนไทยทั้งชาติวา่ ยามใดคนไทยขัดแย้งกันจะต้องมีการสู ญเสี ยอย่าง ผูก้ ล้าหาญ 1,171 ชี วิต ที่จารึ กไว้กบั องค์อนุ สรณ์ จงอย่าให้เกิดเช่นนี้อีก ทางจังหวัดเพชรบูรณ์จึงได้กาํ หนดวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 เป็ นต้นมา เป็ นวันสมโภชอนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละเขาค้อแห่ งนี้ ในบริ เวณใกล้เคียงกันยังมีฐาน กรุ งเทพฯ ซึ่ งเป็ นฐานที่มนั่ ของทหารไทยในอดีต ซึ่ งฐานกรุ งเทพฯ มาจากชุดปฏิบตั ิการขึ้นมาประจํา ที่ฐานนี้ อาคารสิ่ งก่อสร้างหลงเหลืออยู่บางส่ วนก็ชาํ รุ ดทรุ ดโทรมไปตามกาลเวลา ฐานกรุ งเทพฯ มี จุดชมวิวที่สามารถมองเห็นภูกระดึง ภูเรื อ และภูหินร่ องกล้าด้วย บริ เวณฐานแห่ งนี้ ได้สร้างศาลสิ มา รักษ์ ขึ้นเพื่อเป็ นอนุสรณ์แก่ พันเอกอิทธิ สิ มารักษ์ ฐานกรุ งเทพ อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละเขาค้อ ด้านตรงข้ามเป็ นฐานกรุ งเทพเป็ นเนิ นเตี้ย ๆ มีหลุมหลบภัยมี ฐานยิงปื นใหญ่สนับสนุ นการสู ้รบกับ ผกค. ในอดี ตเป็ นฐานแห่ งแรกที่ ทหารไทยยึดคืนมาได้จาก ผกค. และเป็ นจุ ดวางแผนในการปฎิ บตั ิงานวางแผนในการสู ้รบ เมื่ อยืนอยู่ที่ฐานกรุ งเทพสามารถ มองเห็ นเส้ นทางคดเคี้ ย วที่ เชื่ อมต่ อกัน เห็ นทัศ นี ย ภาพของอํา เภอเขาค้อ ได้ชัดเจนที่ สุ ด เหมาะ สําหรับการถ่ายภาพเก็บเป็ นที่ระลึก http://www.khaoko.com


211

ภาพ 90 แสดงอนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละ เขาค้อ อนุสาวรีย์จีนฮ่ อ อนุ สาวรี ยจ์ ีนฮ่อ เป็ นอนุ สาวรี ยท์ หารอาสาจากหน่วยรบกองพลที่ 93 ซึ่ งมาช่วยรบในพื้นที่ เขาค้อ และเสี ยชีวติ ในการสู ้รบ ตั้งอยูเ่ ลยกิโลเมตรที่ 23 ของทางหลวงหมายเลข 2196 ไปเล็กน้อย อนุสาวรี ย ์ จีนฮ่อ หากกล่ าวถึ งสมรภูมิเขาค้อในอดี ตซึ่ งเป็ นกําลังสําคัญอี กส่ วนหนึ่ งในการรบครั้ งนั้น คื อ พวกจีนฮ่อ กองพล 93 (ก๊กมินตัง๋ ) ซึ่ งอยู่ที่ดอยแม่สลอง อําเภอแม่จนั จังหวัดเชี ยงราย ได้ส่งกอง กําลังทหาร จีนฮ่อ มาร่ วมปราบปรามผูก้ ่อการร้ายคอมมิวนิ สต์พ้ืนที่เขาค้อ มีภารกิจคุม้ กันการสร้าง ทางทุ่งสมอ - เขาค้อ โดยบริ ษทั สร้ างทางภานุ มาศ เหล่าทหารที่อาสาร่ วมรบ ได้สร้ างอนุ สรณ์ ข้ ึ น เพื่ อ ให้ร ะลึ ก ถึ ง ผูเ้ สี ย สละในช่ วงนั้นที่ ต้ งั อยู่ อนุ ส าวรี ย ์ไ ด้ส ลัก รายชื่ อ ของทหารที่ เสี ย ชี วิต และ ข้อความต่าง ๆ ไว้ดว้ ย อนุ สาวรี ย ์ จีนฮ่อ ทีระลึ กของผูเ้ สี ยชี วิตจากผูอ้ าสาเข้าร่ วมในการรบจากองพล 93 วันที่ 6 ก.พ. 2524 ได้รับคําสั่งปฏิบตั ิการในเขตพื้นที่ “เขาค้อ” จาก กม. 23 - 30 มีทหารจํานวน 64 นายได้ ออกเคลียร์ พ้ืนที่ 935 ทหารกล้าได้ปฏิบตั ิภารกิจอย่างกล้าหาญ และมีสติมน่ั คงจนได้รับความสําเร็ จ ในที่สุด เราจึงได้สร้างอนุสาวรี ยเ์ พื่อระลึกถึงผูเ้ สี ยชีวติ มีจาํ นวน 16 นาย 1. ร.ท.อุทยั เกิดศีล 9. ส.ท.หมินจง แซ่ซงั่


212

2. ร.ต.มงสิ ท ตันติมา 10. ส.ท.อายต้า เกสุ ข 3. ร.ต.จือชัน แซ่จงั 11. ส.ท.สมชาย บุญขัง 4. ร.ต.ยินเซิ น แซ่ฟุ 12. ส.ท.ตังธง กมลพา 5. ร.ต.กวางมึ๋น แซ่หลี 13. ส.ท.จะโท สี ลากา 6. ส.อ.ไอควาย สงคว้า 14. ส.ท.อาพะ สิ นาลัย 7. ส.ท. ฝุชิน แซ่จงั 15. ส.ท.จ่าโต ขําขั 8. ส.ท.อายเตา เกตมณี 16. ส.ท.นันเลียงลี ทองมี ด้วยความนับถือหน่วย 93 กองร้อย 445 เขาค้อ สถานที่ต้ งั อยู่ เลย กม. ที่ 23 ของทางหลวง หมายเลข 2196 ไปเล็กน้อย หากมาจากสิ มารักษ์จะอยู่ดา้ นขวามือจาก สภอ. เขาค้อจะอยูท่ างด้าน ซ้ายมือ

ภาพที่ 91 แสดงอนุสาวรี ยจ์ ีนฮ่อ


213

ศาลเจริ ญทองนิ่ม

ภาพที่ 92 แสดงศาลเจริ ญทองนิ่ม


214

บรรณานุกรม ฝ่ ายพัฒนาศาสนาแคมป์ สนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2543). เพชรในพง ไพร. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั สหธรรมิก. สมหมาย ดูยอดรัมย์, (2556). มหาจุฬาฯแคมป์ สนกับการอนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาฯ,. สํานักค้นคว้าทางวิญญาณ. (2518). วิญญาณ ฉบับที่ 3-4. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ วิญญาณ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.