ข้อมูลทั่วไปจังหวัดอุทัยธานี

Page 1


คุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมเศรษฐกิจในพื้นที่ชุมชนภาคเหนือตอนล่าง ตําบลสะแกรกรัง อําเภอเมืองอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี

โดย ศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ พิระสันต์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะ

สนับสนุนโดยสํานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สสกว.) (ความคิดเห็นรายงานนี้เป็ นของผูว้ จิ ยั สสกว. ไม่จาํ เป็ นต้องเห็นด้วยเสมอไป)


คานา มรดกทางวัฒนธรรมเกิ ดจากความคิดของมนุ ษย์ที่พฒั นาไปสู่ กลุ่มกิ จกรรมการผลิ ตที่ตอ้ ง พึ่งพาความคิด สร้างสรรค์เป็ นสิ่ งสําคัญ เป็ นแนวคิดการขับเคลื่อนการพัฒนาบนพื้นฐานของการใช้ องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์ (Creativity) และการใช้ทรัพย์สิน ทางปัญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู ้ทางสังคม เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ ดังนั้นอาจจะกล่าวได้วา่ “นวัตกรรม” เป็ นการพัฒนาที่นาํ ไปสู่ ประสบการณ์ ที่แท้จริ ง และมี การเชื่ อมโยงด้วย การเรี ยนรู ้ แบบมีส่วนร่ วมในงานวัฒนธรรมหรื อ คุ ณลัก ษณะพิเศษของพื้นที่ และยัง ทํา ให้เกิ ดการเชื่ อมสัม พันธ์ กับผูค้ นที่ อาศัย อยู่ใ นพื้ นที่ เป็ นผู ้ สร้างสรรค์วฒั นธรรมที่ยงั มีชีวติ นั้นขึ้นมา แต่ถึงกระนั้น การบริ หารจัดการความรู ้จาํ เป็ นต้องคํานึ งถึง ความรู ้ท้ งั สองลักษณะควบคู่กนั ไป เพราะความรู ้ ถื อเป็ นสิ่ งที่ มีพลวัตร (Dynamic) คือ มี การเปลี่ ย นแปลงอยู่ตลอดเวลา ความรู ้ สามารถเปลี่ยนแปลงลักษณะจากความรู ้ ชดั แจ้งไปสู่ ความรู ้ ฝังตัว และจากความรู ้ฝังตัวไปสู่ ความรู ้ ชัดแจ้งกลับไปกลับมา ที่เราเรี ยกว่า “ทฤษฎีเกลียวของความรู้ ” (Spiral of Knowledge) ที่แสดงให้ เห็นถึงความสําคัญของพลวัตรของความรู้ โดยกล่าวถึ งกระบวนการสร้างความรู ้ใหม่ภายในชุ มชน พื้นที่อย่างต่อเนื่ อง โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงลักษณะของความรู ้หวั ใจสําคัญของการขับเคลื่อนให้ เกิดกระบวนการสร้างความรู ้น้ นั คือคนในชุ มชนพื้นที่เพราะคนถือเป็ นแหล่งกําเนิ ดความรู ้และเป็ น ผูน้ าํ ความรู ้ไปใช้ และหากปราศจากความร่ วมมือและความสนใจจากผูค้ นในพื้นที่ ความรู ้ก็จะไม่ได้ รั บ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ และถ่ า ยทอดออกไปในวงกว้า ง ด้ว ยองค์ก รเป็ นที่ ร วมของบุ ค คลที่ หลากหลายซึ่ งมาทํางานร่ วมกันเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์เดียวกัน ดังนั้น มรดกทางวัฒนธรรมจึงมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อประเทศไทยในการจะยืนอยูบ่ นเวที โลกอย่างเข้มแข็ง ทั้งในมิติดา้ นเศรษฐกิ จพอเพียงและการพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยเมื่อเปรี ยบเทียบกับ ประเทศเพื่อนบ้านหรื อประเทศที่ พัฒนาแล้วพบว่าขณะนี้ การใช้มรดกทางวัฒนธรรมที่คิดค้นเองใน ประเทศเพิ่งเริ่ มต้น จึงต้องมีการเร่ งกระบวนการ ถ่ายทอดและการสร้ างนวัตกรรมให้เกิ ดขึ้นอย่าง รวดเร็ ว โดยเฉพาะในด้านการจัดการองค์ความรู้และการบริ หารจัดการภายใต้แนวคิดและรู ปแบบ ใหม่ ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและระดับท้องถิ่ น โดยสร้ างให้เกิ ดกระบวนการมีส่วนร่ วมระหว่าง ประชาชนกับหน่ วยงานภาครัฐ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิ ดนวัตกรรมจํานวนมากพอที่จะสร้างมูลค่าเพิ่ม


ให้กบั สังคมของประเทศได้อย่างรวดเร็ ว สิ่ งที่ดาํ เนิ นการมาวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุ งผลงาน หรื อสิ่ งประดิษฐ์จนกลายมาเป็ นนวัตกรรมในที่สุด ปั จจุบนั ความรู ้ วา่ ด้วยการจัดการมรดกทางมรดกทางวัฒนธรรมเป็ นเรื่ องที่ทา้ ทายคณะวิจยั ทางวัฒ นธรรมเป็ นอัน มาก มรดกทางมรดกทางวัฒ นธรรมไม่ ใ ช่ เ รื่ องของการสื บสาน ขนบธรรมเนี ยมประเพณี เพียงอย่างเดี ยว และไม่ใช่ เป็ นเรื่ องของการจัดงานประเพณี ตามเทศกาล เท่านั้น ยังมีสิ่งต่าง ๆ อีกมากมายที่ตอ้ งพัฒนาให้เท่าทันกระแสโลกาภิวตั น์ หรื อยุคที่ขอ้ มูลข่าวสาร หรื อปรากฏการณ์ที่เกิ ดขึ้นในมุมหนึ่ งของโลกส่ งผลกระทบถึงส่ วนอื่น ๆ ของโลกได้อย่างรวดเร็ ว หรื อที่บางคนเรี ยกว่า โลกไร้พรมแดน จากการศึกษาชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง พบว่า มุมมองเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมที่ แตกต่ า งกันของคนต่ างวัย หรื อ มี ช่ องว่า งระหว่า งวัย ในการมองมรดกทางวัฒนธรรม ในฐานะ นักวิจยั ตระหนักว่ามีวธิ ี ไหนบ้างที่จะลดช่องว่างในการมองมรดกทางวัฒนธรรมลงได้ และหาวิธีการ ที่ เหมาะสมที่ ค นต่ า งวัย สามารถเดิ นไปด้ว ยกัน อย่า งเข้า ใจ เพราะช่ องว่า งที่ เห็ น ในทุ ก วัน นี้ คื อ ผูส้ ู งอายุมกั มองไปที่การรักษามรดกทางมรดกทางวัฒนธรรมแบบเดิม ผูใ้ หญ่หลายคนอาจจะมองว่า มรดกทางวัฒนธรรมเป็ นสิ่ งทีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เป็ นสิ่ งที่เกี่ยวเนื่ องกับของเก่า เป็ นแบบแผน อันดีงามที่ตอ้ งปฏิบตั ิให้ถูกต้อง ไม่สามารถสร้างใหม่ให้ทดแทนของเดิมได้ ต้องพยายามสื บทอดให้ ยาวนานที่สุดเท่าที่จะทําได้ และคาดหวังว่าคนรุ่ นใหม่ควรจะต้องสนใจและช่วยสื บสานมรดกทาง มรดกทางวัฒนธรรมแบบเดิม นอกจากนี้ ในปั จจุ บ นั จะพบว่า ข้อมูล ทางด้า นชุ ม ชนที่ มี อยู่ม ากมาย มี ท้ งั แฟ้ มจดบันทึ ก ภาพถ่าย ม้วนวีดีโอจํานวนมาก แต่ไม่สามารถพัฒนาระบบข้อมูล กระบวนการวิเคราะห์ และพัฒนา ข้อมูลได้ ดังนั้นการวิจยั ในครั้งนี้ จะรวมรวมข้อมูลและพัฒนาข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมเศรษฐกิ จ ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างให้อยูใ่ นฐานข้อมูล TRF Database สําหรับการสื บค้น จึงเป็ นสิ่ งจําเป็ นใน การวิจยั ครั้งนี้ คณะผูว้ ิจ ัย ขอกราบขอบพระคุ ณ ศาสตราจารย์พิ เ ศษ ดร. กาญจนา เงารั ง ษี อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร ผูบ้ งั คับบัญชาระดับสู ง รวมทั้ง ดร. กิตติ สัจจาวัฒนา รองผูอ้ าํ นวยการหน่ วย บูรณาการวิจยั และความร่ วมมือเพื่อพัฒนาเชิ งพื้นที่ (ABC) สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) ขอขอบคุณ ชาวแพลุ่มแม่น้ าํ สะแกกรังและชาวบ้านบริ เวณลุ่มแม่น้ าํ สะแกกรัง ตําบลสะแก-


กรัง อําเภอเมืองอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี ช่วยชี้ แนวทางในการเรี ยบเรี ยงวัตถุดิบข้อคิดเห็นจํานวน มากมายที่ เ ป็ นประโยชน์ อ ย่ า งยิ่ ง ทํา ให้ ก ารวิ จ ัย เล่ ม นี้ มี ค วามสมบู ร ณ์ ม ากยิ่ ง ขึ้ น คณะผู ้วิ จ ัย ขอขอบพระคุณและระลึกในความกรุ ณาเป็ นอย่างสู ง คณะผูว้ ิจยั หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า การวิจยั ในครั้งนี้ มุ่งเน้นพัฒนาการจัดทําข้อเสนอโครงการ “นวัตกรรมทางด้านศิ ลปะสําหรั บการพัฒนาพื้นที่ ภูมิ วฒั นธรรมในเขตภาคเหนื อตอนล่ า ง” ด้วย กระบวนการที่เป็ นระบบและการค้นคว้าองค์ความรู้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเป้ าหมาย สู งสุ ดคือ การค้นพบแนวทางที่เหมาะสมในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนและสังคม ส่ วนรวมให้ดียงิ่ ขึ้นต่อไป ศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ พิระสันต์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2561


สารบัญ ส่ วนที่ 1

หน้ า ข้อมูลทัว่ ไปของจังหวัดอุทยั ธานี

1-32

คําขวัญประจําจังหวัดอุทยั ธานี ตราประจําจังหวัดอุทยั ธานี ธงประจําจังหวัด ประวัติความเป็ นมา อาณาเขต การปกครอง การเดินทาง ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ สภาพทางเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 2

สภาพทัว่ ไปของตําบลสะแกกรัง จังหวัดอุทยั ธานี สภาพทัว่ ไป ประวัติความเป็ นมา สภาพทางภูมิศาสตร์ สภาพภูมิอากาศ สภาพทัว่ ไปทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ การปกครอง

33-44


สารบัญ (ต่ อ) ส่ วนที่ 3

หน้ า ศาสนสถานที่สาํ คัญ

45-71

พุทธศาสนา คริ สต์ศาสนา โบราณสถาน 4

วัฒนธรรม

72-103

วัฒนธรรมทางด้านมุขปาฐะ วัฒนธรรมทางด้านประเพณี วัฒนธรรมทางด้านจักรวาลทัศน์ วัฒนธรรมทางด้านอาหาร วัฒนธรรมทางด้านภาษาและวรรณกรรม วัฒนธรรมทางด้านการช่างฝี มือ วัฒนธรรมทางด้านเครื่ องมือเครื่ องใช้ 5

แหล่งท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทางนันทนาการ แหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวทางเกษตร แหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์

6

บรรณานุกรม

104-123


1

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของจังหวัดอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี ตั้งอยู่บนพื้นที่อนั อุดมสมบูรณ์ ของที่ราบลุ่มภาคเหนื อตอนล่าง ติดต่อกับ ภาคกลางตอนบน ค่อนไปทางทิศสตะวันตก เป็ นเมืองที่มีทศั นี ยภาพงดงามตระการตา ทั้งเรื อกสวน ไร่ นา แม่น้ าํ และป่ าเขาอันหลากหลายทั้งพันธุ์พืชและสัตว์ ด้วยความมัง่ คัง่ ทางทรัพยากรธรรมชาติ อุทยั ธานี จึงเป็ นอู่ขา้ วอู่น้ าํ ของผูค้ นบนผืนแผ่นดิ นมานับแต่อดีต ดังปรากฏหลักฐานการตั้งถิ่ นฐาน ของมนุ ษ ย์โบราญที่ มี ความต่ อเนื่ องกันมาหลายยุค สมัย ประกอบกับสภาพทางภูมิ ศาสตร์ ขของ จังหวัดอุทยั ธานี น้ นั เอื้ออํานวยต่อการตั้งชุ มชนมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จึงพบว่า เกื อบทุ ก พื้นที่ของจังหวัดอุทยั ธานีน้ นั เป็ นแหล่งอารยธรรมที่สาํ คัญมายาวนาน

ภาพ 1 แสดงเมืองอุทยั ธานี จากหลักฐานทางโบราณคดี ในพื้นที่ต่าง ๆ ตามบริ เวณช่องเขา หุ บเขา ถํ้า และในพื้นที่ราบ ลุ่ม ล้วนบ่งบอกว่าพื้นที่บริ เวณนี้เคยมีมนุษย์อาศัยมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เช่น ภาพเขียนสี ที่ เขาปลาร้ า อําเภอลานสัก โครงกระดูกมนุ ษย์ ภาชนะดิ นเผา ลูกปั ดแก้ว ลูกปั ดหิ นสี ต่าง ๆ ที่แหล่ง โบราณคดี บา้ นหลุมเข้า อําเภอหนองขาหย่างโครงกระดูก ภาชนะดิ นเผา เครื่ องมือที่ทาํ จากหิ นที่


2

แหล่งโบราณคดีเขานาคและแหล่งโบราณคดีเขาปฐวี อําเภอทัพทัน เป็ นต้น ประกอบกับพื้นที่ต้ งั ของ เมืองอุทยั ธานี เป็ นจุดเชื่ อมต่อระหว่างช่ องเขา ซึ่ งเป็ นเส้นทางเดินไปมาติดต่อค้าขาย จึงทําให้มีการ ตั้งฐิ่ นฐานของมนุ ษย์อยู่อย่างต่อเนื่ อง จนกลายเป็ นชุ มชนโบราณและพัฒนาการไปสู่ ชุมชนขนาด ใหญ่ คาขวัญประจาจังหวัดอุทยั ธานี เมื องพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณี เทโว ส้ ม โอบ้านนํ้าตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นนํ้าสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ ตราประจาจังหวัดอุทยั ธานี

ภาพ 2 แสดงตราประจําจังหวัดอุทยั ธานี


3

ความหมายของตราประจาจังหวัด ความหมายของตราประจําจังหวัดอุทยั ธานี พลับพลาจตุรขมุขหน้าบรรณศาลาตราจักรี ต้ งั อยู่ บนยอดเขาแก้ว เป็ นที่ ป ระดิ ษ ฐานประบรมรู ป ของสมเด็ จ พระปฐม บรมมหาชนกนาถ แห่ ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ด้วยมี หลักฐานจากจดหมายเหตุ ว่า บ้านสะแกกรังอันเป็ นที่ต้ งั ของจังหวัดอุทยั ธานี เป็ นบ้านเกิดของของสมเด็จพระปฐมมหาชนกนาถฯ ดังกล่าว ซึ่ งมีพระนามเดิมว่า “ทองดี” รับราชการมีตาํ แหน่งเป็ น พระอักษรสุ นทรศาสตร์ เสมียนตรา กรมมหาดไทยและเป็ นเจ้าพระยาจักกรี ศรี องครักษ์ สมุดหนายกเสนาบดี ในสมัยกรุ งศรี อยุธยา ครั้น เมื่อสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช(ทองด้วง) บุตรชายคนโต ได้สถาปนาเป็ น “พระยาบรม ราชจักรี วงศ์ ”ได้สถาปนาพระอัฐิพระบิดาเป็ นที่ “สมเด็จพระชนกาธิ บดี ” ตรานี้ เป็ นรู ปพลับพลา จตุรมุข หน้าบรรณศาลาตาจักรี ตั้งอยูบ่ ยยอดเขาแก้ว(เขาสะแกกรัง) อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี ใช้ อักษรย่อว่า “อน” ธงประจาจังหวัด

ภาพ 3 แสดงธงประจําจังหวัดอุทยั ธานี


4

ความหมายของธงประจาจังหวัด ธงประจําจังหวัดอุทยั ธานี เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนาด 120 x 180 เซนติเมตร แบ่งเป็ นแถบสี ตาม แนวนอนเท่า กัน 2 สี คื อ ริ้ วธงส่ วนบนเป็ นสี เหลื อง หมายถึ ง สี ประจํา พระบรมราชจักรี วงศ์ คื อ พระมหากษัตริ ย ์ ริ้ วธงส่ วนล่างเป็ นสี เขียว หมายถึง สี ประจําพระบรมราชสมภพแห่ งรัชกาลที่ 1 คือ วันพุธ ตรงกลางผืนธงเป็ นตราประจําจังหวัดอุทยั ธานี ต้ นไม้ ประจาจังหวัด ดอกไม้ ประจาจังหวัด

คือ ต้นสะเดา คือ ดอกสุ พรรณิ การ์

ประวัติความเป็ นมา จากหลักฐานทางโบราณคดี หลายสิ่ งแสดงว่า พื้นที่ในเขตจังหวัดอุทยั ธานี เคยเป็ นที่ต้ งั ถิ่ น ฐานของมนุ ษ ย์ส มัย ก่ อ นประวัติ ศ าสตร์ และมี ก ารพัฒ นาเป็ นชุ ม ชนขนาดใหญ่ ข้ ึ นเรื่ อย ๆ เช่นเดียวกับหลายจังหวัดในภาคกลางเช่น จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดนครสวรรค์ และ จังหวัดสุ พรรณบุรี บริ เวณที่ ราบภาคกลางรวมทั้ง บริ เวณจัง หวัดอุ ท ยั ธานี เป็ นแหล่ ง อารยธรรมของมนุ ษ ย์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังหลักฐานที่พบได้แก่ ภาพเขียนสี ก่อนประวัติศาสตร์ ที่เขาปลาร้า อําเภอ ลานสัก โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา ลูกปั ดแก้ว ลูกปั ดหิ นสี ต่าง ๆ ที่บา้ นหลุมเข้า อําเภอหนอง ขาหย่าง โครงกระดูกมนุ ษย์ ภาชนะดิ นเผา เครื่ องมือที่ทาํ จากหิ นที่เขานาค อําเภอทัพทัน ชิ้ นส่ วน โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา หินขัดที่เขาปฐวี อําเภอทัพทัน ต่อมาชุมชนเหล่านี้ ได้พฒั นาขึ้นเป็ นชุ มชนขนาดใหญ่ มีการจัดรู ปแบบเมืองเป็ นแบบมีคูน้ าํ คันดิ นล้อมรอบ มีการกักนํ้าไว้ใช้เพื่อการบริ โภคและการเกษตร รู ้ จกั การทําเครื่ องมือเครื่ องใช้ท้ งั จากวัส ดุ ธ รรมชาติ และจากการหล่ อโลหะ รู ้ จกั การทอผ้า ต่ อมารู ้ จกั สร้ า งอาคารประเภทต่ า ง ๆ โดยเฉพาะอาคารที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา สมัย ทวารวดี ดิ นแดนในประเทศไทยได้รับ วัฒนธรรมจากอิ นเดี ยเข้า มาผสมผสานกับ วัฒนธรรมดั้งเดิมของท้องถิ่น เกิดการพัฒนารู ปแบบทางวัฒนธรรมของตนเองขึ้นเรี ยกว่า วัฒนธรรม ทวารวดี มีอายุอยูป่ ระมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 16 ชุมชนเหล่านี้ ได้พฒั นาลักษณะการปกครอง เข้าสู่ ยุคสังคมเมือง ก่อนจะพัฒนาไปสู่ ความเจริ ญสู งสุ ดแบบนครรัฐ


5

จากหลัก ฐานทางโบราณคดี พบว่า มี ชุม ชนลักษณะเมื องเกิ ดขึ้ นหลายแห่ ง มี คู น้ าํ คันดิ น ล้อมรอบคล้ายวงกลม มีศาสนสถานอยูท่ ้ งั ภายในและภายนอก เช่น เมืองการุ ้ง บ้านด้าย บ้านคูเมือง บึงคอกช้าง เป็ นต้น แหล่งโบราณคดี ที่โคกไม้เคน และบ้านจันเสน เป็ นแหล่งโบราณคดี สมัยทวารวดีที่มีอาณา เขต และลักษณะใกล้เคียง กับแหล่งโบราณคดี ในเขตจังหวัดอุทยั ธานีมากที่สุด สมัยทวาราวดี ในพุทธศตวรรษที่ 11-16 นั้น ได้มีการรวมตัวกันเป็ นชุ มชนเล็ก และรับเอา วัฒนธรรมจากอินเดียมาจัดตั้งเป็ นบ้านเมืองบนดินแดนลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยา ดังนั้นเมืองโบราณสมัยนี้ จึงเกิ ดขึ้นในเขตจังหวัดนครสวรรค์ สุ พรรณบุรี ชัยนาท สิ งห์บุรี และอุทยั ธานี เป็ นต้น ส่ วนมนุ ษย์ ก่อนประวัติศาสตร์ สมัยโลหะตอนปลายก็ได้รับเอาความเจริ ญ และคงจะพากันอพยพ เข้ารวมกลุ่ม ในอารยะธรรมศิ ลปทวาราวดี บนลุ่ มแม่น้ าํ เจ้าพระยา และมี บางส่ วนที่ อพยพเข้าไปอาศัยอยู่ในที่ ห่างไกลจังหวัดอุทยั ธานี ปรากฏว่าได้มีการสํารวจพบหลายแหล่งในท้องที่เขตอําเภอต่าง ๆ คือ 1. เมื อ งโบราณบ้า นด้า ยหรื อ บ้า นใต้ อยู่ใ นท้อ งที่ ต าํ บลทุ่ ง ใหญ่ อํา เภอเมื อ ง อุ ท ัย ธานี ตัวเมืองตั้งอยูร่ ิ มแควตากแดด ลักษณะตัวเมือง เกือบจะเป็ นรู ปวงรี ด้านทิศเหนื อใช้ลาํ นํ้าตากแดด เป็ นคู เมือง ส่ วนด้านอื่ นๆ เป็ นคูและกําแพงดิ น ตัวคู เมืองกว้างประมาณ 30 เมตร กําแพงดิ นหนา ประมาณ 20 เมตร สู งราว 5 เมตร แนวโบราณสถานรอบยาว 865 เมตร ส่ วนรอบนอกยาว 1,270 เมตร วัดตั้งแต่ลาํ นํ้าตากแดดเข้าไป แล้วอ้อมออกลํานํ้าตากแดดตอนล่างแนวโบราณสถานนี้ กว้าง 170 เมตร ห่ างด้านละประมาณ 20 เมตร กําแพงดิ นส่ วนที่ใกล้ลาํ นํ้าถูกตัดเป็ นทางเดินมีเศษภาชนะ ดินเผาติดปะปนอยูใ่ นเนื้ อดิ น กลางเมืองมีสระนํ้าขนาดกว้าง 87 เมตร ยาว 110 เมตร ลึกเข้าไปด้าน ละประมาณ 20 เมตร จะเป็ นตัวสระรู ปวงรี เนื้ อที่ ของเมื องโบราณแห่ งนี้ มีป ระมาณ 100 ไร่ 99 ตารางวา มี ซากโบราณสถานอยู่ 1 แห่ ง ที่เชิ งเขานาคนอกคูเมืองด้านทิ ศตะวันตกทางทิศใต้ของ กําแพงดิน มีซากเจดีย ์ รู ปสี่ เหลี่ยมขนาด 33 เมตร ฐานก่อด้วยอิฐขนาดใหญ่ ส่ วนบนถูกทําลายหักพัง ไม่เป็ นชิ้นดี มุมกําแพงด้านทิศเหนื อ พบระฆังหิ นสี เทากว้าง 78 เซนติเมตร ยาว 150 เซนติเมตร หัก เป็ นสองท่อน กับมีผเู ้ คยพบพระพุทธรู ปสําริ ดฝังอยูร่ ิ มลํานํ้าตากแดด พระพิมพ์ดินเผาปางสมาธิ ฐาน เป็ นรู ปบัว เศียรหักไปส่ วนหนึ่ง ตุม้ หูสาํ ริ ด กําไลหิ น เป็ นต้น 2. เมืองโบราณบ้านคูเมือง อยูใ่ นท้องที่ตาํ บลดงขวาง อําเภอหนองขาหย่าง ตัวเมืองถูกแปร สภาพเป็ นไร่ นา ลักษณะตัวเมือง เป็ นรู ปวงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 800 เมตร คูเมือง กว้างประมาณ 30 เมตร กําแพงดินกว้างประมาณ 20 เมตร ตอนกลางลาดเป็ นแอ่งคล้ายท้อง กะทะ ถูกปรับเป็ นที่นาไปเกื อบหมด รวมเนื้ อที่ประมาณ 140 ไร่ เมืองนี้ มีทางเข้า 3 แห่ ง อยู่ทางด้านทิ ศ


6

ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ตะวันออกเฉี ยงใต้ และทิศเหนื อ โบราณวัตถุ ที่เคยพบมี ลูกปั ดสี ต่างๆ เป็ น จํานวนมาก เครื่ องปั้ นดินเผาก้อนตะกัว่ ตราดินเผา รู ปดอกไม้กบั รู ปสิ งห์ ลักษณะเลือนลางมาก แท่ง หิ นบดยา แว ถ้วยหรื อตระกรั นดิ นเผา ขวานหิ นขัดทําด้วยหิ นทราย ก้อนแร่ เหล็กพระพิมพ์ดินเผา เป็ นต้น นอกจากนี้ พ บระฆัง หิ น แบบเจาะรู 2 รู และรู เ ดี ย วขนาดใหญ่ 2x5 ศอก จากทางเข้าทิ ศ ตะวันออกเฉี ยงใต้ มี ร่องรอยเจดี ยเ์ ล็ก ๆ เรี ยงรายห่ างกันประมาณ 20 เมตร ยาวเกื อบ 2 กิ โลเมตร จนถึ งองค์เจดี ยใ์ หญ่ ที่ ดงหนองสระ หรื อดงเจดี ยร์ าย เข้าใจว่า จะเป็ นโบราณสถานที่ สําคัญ และ ชาวเมืองออกมาทําบุญกันที่นี่ทุกวันพระ บนเขาระแหงที่อยูไ่ ม่ไกลจากเมืองโบราณแห่ งนี้ ชาวบ้าน เล่าว่ามีเจดียเ์ ก่าแก่อยูด่ ว้ ย 3. เมืองโบราณเมืองการุ ้ง อยูใ่ นท้องที่ตาํ บลวังหิ น อําเภอบ้านไร่ ตัวเมืองตั้งอยูร่ ิ มถนนสาย หนองฉาง-บ้านไร่ ตรงกิโลเมตรที่ 40 เดิ มเป็ นพื้นที่ป่าทึบ ปั จจุบนั ได้แปรสภาพเป็ นไร่ นา ลักษณะ ของตัวเมืองเป็ นวงกลมรี เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 800 เมตร ประกอบด้วยคูเมือง กว้างประมาณ 20 เมตร ลึ กประมาณ 2 เมตร มีกาํ แพงดิ นล้อมรอบ คูเมืองบางตอนถูกเกลื่อนลง คูเมืองยาวตลอด เป็ นระยะทางประมาณ 800 เมตร บางแห่ งตื้นกว่าระดับเดิ ม และมี การขุดลอกคู เมืองใหม่ ภายใน บริ เวณเมืองมีซากเจดียห์ กั พังอยูค่ ่อนไปตรงกลาง ตัวเมืองด้านในอยูต่ ิดกับทิวเขาอีกด้านหนึ่ งอยูต่ ิด กับถนนที่ตดั ผ่านในระยะหลัง ภายในเมืองมีสระนํ้าอยู่ค่อนไปทางทิศเหนื อ และที่นอกกําแพงดิ น ด้านทิศใต้มีสระโบราณอีกแห่ งหนึ่ ง โบราณวัตถุ ที่พบนั้น มีพระพุทธรู ปปางเสด็จดาวดึ งส์ และสิ่ ง อื่นๆ เช่นเดียวกับเมืองสมัยทวาราวดีทว่ั ๆ ไป 4. เมืองโบราณบึงคอกช้าง อยูใ่ นท้องที่ตาํ บลไผ่เขียว อําเภอสว่างอารมณ์ ตัวเมืองตั้งอยูใ่ น ป่ า ซึ่ งได้ทาํ การสํารวจและขุดตรวจ เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2514 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม 2514 ปรากฏว่า คูเมืองกว้างประมาณ 20 เมตร กําแพงดิ นสู งโดยเฉลี่ยประมาณ 6-7 เมตร มีประตูเข้าเมืองทั้ง 4 ทิศ และริ มประตูเมื องทั้ง 4 มี สระนํ้าเฉพาะด้านทิ ศ ตะวันออก มี คนั คู อีกชั้นหนึ่ ง ซึ่ งเข้าใจว่า ขุดเพื่ อ เชื่ อมโยงกับลําห้วยทางด้านตะวันออก เพื่อให้น้ าํ เข้าไปหล่อเลี้ยงในคูเมือง เนื่ องจากเมืองอยู่ในป่ า ทึบจึงมีซากวัชพืชทับถมผิวดินหนามาก ไม่อาจพบเศษเครื่ องปั้ นดิ นเผาได้ โบราณสถานที่สํารวจมี อยู่ 5 แห่ง คือ ภายในตัวเมือง 1 แห่ง ตั้งอยูใ่ กล้คูเมืองด้านทิศใต้ ลักษณะเป็ นเนินศิลาแลง ขนาดของ เนิ นมีเส้นฝ่ าศูนย์กลางประมาณ 10 เมตร ตอนกลางถูกขุดเป็ นโพรง นอกคูเมืองมีโบราณสถานก่อ ด้วยอิฐอีก 3 แห่ ง มีขนาดกว้าง 14 เซนติเมตร ยาว 37 เซนติเมตร และหนา 7-8 เซนติเมตร มีแกลบ ผสมมาก ขนาดของเนินที่ใหญ่ที่สุด กว้างด้านประมาณ 10 เมตร สู งประมาณ 3 เมตร ส่ วนอีก 2 แห่ ง เป็ นเนินขนาดเล็กกว้างประมาณ 6-7 เมตร สู งประมาณ 1/2 เมตร


7

นอกจากนี้ ยังพบซากโบราณสถานอยูบ่ นยอดเขาทางทิศตะวันออกของตัวเมืองอีก 1 แห่ ง ซึ่ งก่อสร้ างด้วยอิ ฐที่เผาแกร่ งและมีสีแดงเข้ม มีส่วนผสมกับทรายมากกว่าแกลบและมี น้ าํ หนักอิ ฐ ขนาดกว้าง 12 เซนติ เมตร ยาว 24 เซนติ เมตร และหนา 6 เซนติ เมตร โบราณสถานแห่ งนี้ อยู่ใ น สภาพถูกทําลาย ที่บริ เวณเมืองนี้ พบหลักฐานที่สําคัญมาก คือ ศิลาจารึ กอักษรโบราณ 3 หลัก เป็ น อักษรปั ลลวะ ภาษามอญ แปลเป็ นความว่า 1. สมัยที่ปรัชญาเป็ นเลิศ 2. บุญย่อมส่ งเสริ มนักพรต 3. จงเลือกไปทางนี้ นอกจากการสํา รวจพบเมื อ งโบราณสมัย ทวาราวดี ที่ เ ด่ น ชัดในท้องที่ จงั หวัด อุ ท ัย ธานี ดังกล่าวนี้แล้วยังได้สาํ รวจพบเรื่ องราวสมัยทวาราวดี ในพื้นดินแถบนี้หลายแห่ง คือ 1. พบโบราณสถานสมัยทวาราวดี ที่บา้ นเก่า หมู่ที่ 2 ตําบลลานสัก อําเภอลานสัก เป็ นเนินสู ง 1 เมตร ตรงกลางถูกขุดเป็ นบ่อ พบอิฐขนาดใหญ่มีลกั ษณะแปลกมีลวดลายขีดเขียนด้วย นํ้ามือเป็ นเส้นคู่บา้ ง เป็ นลายเส้นรู ปทรงเรขาคณิ ตในรู ปหลายแบบบ้าง ซึ่ งทําเป็ นลวดลายขีดเขียน แบบแผ่นอิฐก่อนเผา โดยขีดเขียนเพียงด้านเดียว และยังมีผพู ้ บอิฐที่มีรูปมนุ ษย์และรู ปเทวดาบริ เวณ โบราณสถานนั้น นอกจากพบอิฐที่มีขนาด 34+19+8.5 เซนติเมตร ขนาด 33+19.5+8 เซนติเมตร และ 17+33.5+10 เซนติเมตร แล้วยังพบในเสมา ดินเผาขนาด 50+27.5+8 เซนติเมตร อีกด้วย สันนิษฐาน ว่า คงจะเป็ นโบสถ์เก่าสมัยทวาราวดี เสี ยดายที่ถูกทําลายมาก่อนแล้ว จึงไม่มีหลักฐานทางโบราณคดี มากนัก 2. พบพระพิมพ์ดินเผาสมัยทวาราวดีและแม่พิมพ์ดินเผา เป็ นจํานวนมากในถํ้าศูนย์ ตา ตําบลบ้านไร่ อําเภอบ้านไร่ ซึ่ งเป็ นถํ้าที่เข้าใจว่าคงเป็ นแหล่งสร้างพระพิมพ์ในสมัยทวาราวดี ยัง สํารวจไม่พบว่า บริ เวณนั้นมีภูมิสถาน ที่เป็ นเมืองโบราณสมัยทวาราวดี อยู่ใกล้เคียงเลย ภายในถํ้า ปรากฏว่ามีเศษพระพิมพ์ดินเผา และแม่พิมพ์อยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ส่ วนที่สมบูรณ์ น้ นั ได้มีผนู ้ าํ เอาไป จนหมดสิ้ นแล้ว ลักษณะพระพิมพ์ดินเผานี้ เป็ นรู ปพระนัง่ ห้อยเท้าอยูใ่ นซุ ม้ ใต้พุทธคยา แบบเดียวกับ ที่เคยพบที่บา้ นพงนึ ก จังหวัดกาญจนบุ รี นอกจากนี้ ยงั พบพระพุทธรู ปไม้จาํ หลักสมัยหลังๆ เป็ น จํานวนมาก เข้าใจว่าถํ้าแห่งนี้ เดิมเป็ นสถานที่ศกั ดิ์สิทธิ์ หรื ออาจถือเป็ นวัดแห่งหนึ่งในสมัยนั้นก็ได้ 3.รู ปปูนปั้ นของนางดารา สมัยทวาราวดี แสดงแบบของการแต่งกายของคนในสมัย นั้น เป็ นศิลปศรี วิชยั ปั จจุบนั อยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่ งชาติ ได้ไปจากจังหวัดอุทยั ธานี ไม่ทราบว่า จากที่แห่งใด เข้าใจว่าจะได้ไปจากเมืองการุ ้ง


8

4. พบร่ องรอยของเมืองโบราณในเขตตําบลห้วยคต อําเภอบ้านไร่ ตรงทางแยกบ้าน ทุ่งนางาม เรี ยกบ้านนํ้าวิ่ง มีคูเมืองและเคยพบเศษภาชนะดิ นเผา และมีร่องรอยคูเมืองที่อยู่ระหว่าง ตํา บลห้วยรอบกับ บ้า นหิ นโจน มี ค นั คู เป็ นรู ป วงรี และมี ล าํ คลองผ่า นกลางทะลุ ไ ปอี ก ด้า นหนึ่ ง ชาวบ้านเรี ยกบึงทะลุ ประกอบกับประชาชนที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่แห่ งนี้ เป็ นชาวมอญ ที่อยูส่ ื บทอดกัน มานาน เคยมีผพู ้ บเศษอิฐหักกระจัดกระจายอยูบ่ า้ ง จังหวัดอุทยั ธานี มีเมืองโบราณ สมัยทวาราวดี เกิดขึ้นในท้องที่หลายแห่ งบางแห่ งมีโบราณ สถานที่สําคัญ จนเชื่ อว่า ในสมัยทวาราวดี ได้มีผูค้ นอาศัยอยู่มากขึ้น และมีเชื้ อสายสื บทอดมาจาก เผ่าพันธุ์ มอญทวาราวดี (คือเผ่าพันธุ์ ที่ผสมกับชาวละว้าและธิ เบต) มีวฒั นธรรมทวาราวดี สร้างสรร ศิ ลปวัตถุ ข้ ึ นโดยวิวฒั นาการไปอย่างช้าๆ เปลี่ ยนรู ปแบบของมนุ ษ ย์สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ รั บ อิทธิ พลทางศิลปของอินเดียจนสามารถสร้างรู ปปูนปั้ นนางดารา พระพิมพ์ดินเผา พระพุทธรู ปสําริ ด และเครื่ องปั้ นดินเผา รวมถึงการก่อสร้างด้วยอิฐแดงและเผาอิฐได้ เป็ นต้น จนนับว่าดินแดนแถบลุ่ม แม่น้ าํ เจ้าพระยามีความเจริ ญสู งสุ ดในสมัยทวาราวดี ซ่ ึ งหมายถึ งเมืองโบราณต่างๆ ที่พบในจังหวัด อุทยั ธานีดว้ ย ในราว พ.ศ. 1436 ขอมได้ครอบครองดิ นแดนแถบลุ่ มแม่น้ าํ เจ้าพระยาทั้งหมดนั้น อํานาจ ของพวกละว้าที่อาศัยอยู่ตามเมืองโบราณต่างๆ นั้น ไม่ได้กระทบกระเทือนอะไร เพราะขอมได้ส่ง คนไปปกครองเฉพาะเมืองสุ โขทัย เมืองละโว้ และเมืองศรี เทพ ถึงกระนั้นก็มีหลักฐานจากศิลาจารึ ก ปราสาทพระขรรค์วา่ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัตริ ยข์ องขอมก็ยงั ได้ส่งพระพุทธรู ปชื่ อ "พระชัยพุทธ มหานาค" ออกมาประดิษฐานตามเมืองต่างๆ ที่อยูใ่ นดินแดนภาคกลางของประเทศไทยถึง 23 แห่ ง ได้แก่ ลโวทยปุระ (เมืองละโว้) สุ วรรณปุระ (เมืองสุ พรรณเก่า) คัมพูปัฏฎนะ (เข้าใจว่าเมืองแถบ สระโกสิ -นารายณ์ หรื อเมืองนครปฐม) ชัยราชบุรี (เมืองราชบุรี) ศรี ชยั สิ งห์บุรี (เข้าใจว่าเมืองสิ งห์ ที่ จังหวัดกาญจนบุรี) ศรี ชยั วัชรบุรี (เข้าใจว่าเป็ นเมืองเพชรบุรี) เป็ นต้นเป็ นเรื่ องที่น่าจะสันนิษฐานได้ ว่า เมืองโบราณ ในเขตจังหวัดอุทยั ธานี ก็น่าจะมีส่วนได้รับพระพุทธรู ปดังกล่าวด้วยไม่พบหลักฐาน อื่นใดนอกจากซากอิฐศิลาแลงในแถบสระนารายณ์ หมู่ 6 ตําบลหนองหลวง เขตอําเภอสว่างอารมณ์ ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นรู ปสระสี่ เหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวประมาณ 30-37 เมตร ลึกประมาณ 1 เมตร ทางด้าน ใต้ของขอบสระ มีแท่งศิลาใหญ่ มีถนนเก่าปรากฏอยูด่ ว้ ย ส่ วนโบราณวัตถุที่พบมีพระพุทธรู ปตรี กาย หรื อพระพุทธรู ปสามองค์นง่ั เรี ยงอยู่บนฐานเดี ยวกัน ตามคติมหายานที่ถือว่า พระพุทธเจ้ามี 3 กาย คื อ พระธรรมกายพระสั ม โภคี ก าย และพระนิ ร มานกาย (หรื อ พระธยานิ พุ ท ธ พระอาทิ พุ ท ธ) พระพุทธรู ปทั้งสามองค์น้ ี นัง่ ปางมารวิชยั ทรงรัดเกล้าที่เรี ยกว่า เทริ ดขนนกและกุณฑลแบบแปลก


9

ประทับนั่งสมาธิ ราบครองจี วรห่ มเฉี ยง มี ขอบจีวรต่อจากชายขอบสี่ เหลี่ ยมที่ พาดอยู่บนพระอุ ระ ด้านซ้าย ลงมาคลุ มพระหัตถ์ซ้ายและพระโสณี แผ่นหลังติดอยู่กบั เรื อนแก้ว ซึ่ งส่ วนบนทําเป็ นรู ป ปลายใบไม้ หมายถึ ง พระศรี มหาโพธิ์ เนื้ อเป็ นสําริ ด สู ง 31.5 เซนติเมตร ฐานกว้าง 7.8 เซนติเมตร พบที่ตาํ บลดอนขวาง อําเภอเมืองอุทยั ธานี ปั จจุบนั อยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่ งชาติ กรุ งเทพมหานคร และ พระพุทธรู ปยืนปางห้ามญาตสําริ ด ศิลปสมัยลพบุรี พบที่วดั หนองพัง ค่า อําเภอเมืองอุทยั ธานี เป็ น ต้น ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่น่าจะยืนยันได้วา่ ในสมัยนี้ มีพระพุทธรู ปฝี มือลพบุรี ที่ได้รับอิทธิ พลของขอมเข้า มาในจังหวัดอุ ทยั ธานี แล้ว ชนชาติ ที่อาศัยอยู่ก็คงจะเป็ นชาวทวาราวดี ที่สืบเชื้ อสายจากมอญหรื อ ละว้า ต่ อ มา "ท้า วมหาพรหม" ซึ่ งปรากฏในตํา นานว่า เป็ นผูต้ ้ งั เมื อ งอุ ท ัย เก่ า ก็ ใ ช้เ วลาช่ ว งนี้ รวบรวมชนชาติไทยเป็ นชุ มชนเล็กๆ จนในที่ สุดก็สร้ างบ้านเมืองเป็ นหลักฐานที่ บา้ นอุทยั เก่ า ใน ท้องที่อาํ เภอหนองฉาง ซึ่ งพบแนวศิลาแลง วางเรี ยงเป็ นทางยาวอยู่ลึกประมาณ 2 เมตร และระฆัง หิ นประมาณการสร้างเมืองคงตกราวสมัยสุ โขทัย หมู่บา้ นแห่ งนี้ จึงเรี ยกกันทัว่ ๆ ไปว่า "บ้านอู่ไทย" ซึ่ งหมายถึง เป็ นที่อยูข่ องชาติไทย ดูจะเข้าเค้าที่วา่ ในพื้นที่หลายแห่ งของจังหวัดอุทยั ธานี มกั เป็ นที่อยู่ ของชนชาติต่างๆ เช่น หมู่บา้ นมอญ หมู่บา้ นละว้า หมู่บา้ นไทย เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม ได้มีผนู ้ าํ เอาคํา "อุทยั " ไปหาความหมายเป็ นบ้านเมืองที่เจริ ญรุ่ งเรื อง และเป็ นเมืองที่พ่ ึงตั้งขึ้น เหมือนดวงอาทิตย์ แรกขึ้นจากขอบฟ้ า จึงทําให้เข้าใจว่าเมืองอุทยั เก่าเป็ นเมืองใหญ่ ที่มีผคู ้ นอยู่ทาํ มาหากิ น และมีพืช พันธ์ธญ ั ญาหารสมบูรณ์กว่าแหล่งอื่นถ้าพิจารณาตามข้อเท็จจริ งแล้ว ไม่น่าจะกลายเป็ นเมืองใหญ่ได้ รวดเร็ วถึงขนาดนั้น ที่น่าจะเข้าใจก็คือหมู่บา้ นอู่ไทยนั้น มีผคู ้ นที่เป็ นชนชาติไทยไปตั้งถิ่นฐานทํามา หากินเป็ นกลุ่มก้อน และคงจะได้ชกั ชวน พี่นอ้ งคนไทยด้วยกันมาอยูเ่ สี ยที่แห่ งนี้ เนื่ องด้วยมีที่ดินทํา มาหากิ นกว้างขวาง มีแหล่งนํ้าอุดมสมบูรณ์ จึงเป็ นหมู่บา้ นที่เจริ ญกว่าหมู่บา้ นอื่นๆ ที่เป็ นหมู่บา้ น ชาวมอญ หมู่บา้ นชาวกระเหรี่ ยงดังนั้นหมู่บา้ นอู่ไทยจึงเป็ นแหล่งกลางสําหรับหมู่บา้ นอื่น ไปมา ติดต่อค้าขายแลกเปลี่ ยนสิ นค้าด้วยส่ วนที่จะมีการเดินทางติดต่อกับหมู่บา้ นไกลๆ นั้น ก็คงจะมีบา้ ง เพราะพื้นที่แถบนี้มีเมืองโบราณสมัยทวาราวดี เกิดขึ้นแล้วหลายแห่ งและมีชื่อเรี ยกนําหน้าด้วยคําว่า "อู่" เช่นเมืองอู่บน หรื อเมืองบน ที่บา้ นโคกไม้เดน อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ เมืองอู่ตะเภา ที่บา้ นอู่ตะเภา อําเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท เมืองอู่ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี เมืองอู่ล่าง เข้าใจว่าเป็ น เมืองลพบุรี ตามคําพังเพยที่วา่ "ฝูงกษัตริ ยเ์ มืองบน ฝูงคนเมืองล่าง (หรื อลพบุรี)………….." เป็ นต้น ส่ วนที่เป็ นชื่ ออื่ นก็มี เมืองจันเสน ที่อาํ เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ เมืองดงแม่นาง เมือง ที่ตาํ บล ตาสัง อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ เมืองประคํา ที่ตาํ บลโคกเดื่อ อําเภอไพศาลี


10

บ้า นเมื องที่ ร่วมสมัย เดี ย วกับ เมื องอู่ ไ ทยหรื อเมื องอุ ท ยั นั้น ได้เกิ ดขึ้ นหลายแห่ ง ในสมัย สุ โขทัย โดยเฉพาะดินแดนแถบลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยามีเมืองพระบาง ที่จงั หวัดนครสวรรค์ เมืองชัยนาท , เมืองแพรก ศรี ราชา ที่อาํ เภอสรรค์บุรี จังหวัดชัยนาท, เมืองไพสาลี ที่ตาํ บลสําโรงไชย อําเภอท่า ตะโก จังหวัดนครสวรรค์, เมืองศรี ราชาที่จงั หวัดสิ งห์บุรี เป็ นต้น นับเป็ นความเจริ ญของดินแดนใน แถบลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยาที่ได้วิวฒั นาการ และเปลี่ยนแปลงตัวเองสร้างสรรโบราณวัตถุสถานสําคัญ ขึ้น สําหรับเมืองอู่ไทยนั้น ในระยะหลัง ๆ เมื่อกระแสนํ้าเปลี่ยนทางเดิน ทําให้เกิดกันดารนํ้าอันเป็ น เหตุให้มีการอพยพทิ้งหมู่บา้ น ไปหาแหล่งทํามาหากินในที่อื่น และอาจจะเลยเข้ามาอยูใ่ นแถบแม่น้ าํ สะแกกรัง เขตจังหวัดชัยนาท จนสามารถตั้งหมู่บา้ น หรื อชุ มชนเล็ก ๆ อยู่ริมฝั่ งแม่น้ าํ ซึ่ งเรี ยกกัน ภายหลังว่าบ้านสะแกกรั ง ส่ วนเมื องอู่ไทย หรื อเมื องอุทยั เก่า ก็คงจะร้ างลงระยะหนึ่ ง ต่อมา "พะ ตะเบิด" ชาวกระเหรี่ ยงได้อพยพผูค้ นเข้ามาอยูท่ ี่เมืองอู่ไทย หรื อ เมืองอุทยั เก่าอีกครั้งหนึ่ ง ในสมัย อยุธยา พร้อมกับได้สร้างโบราณสถานหลายแห่งตามลําดับ และแก้ไขปั ญหาการขาดแคลนนํ้า โดย ขุดดินทางด้านทิศใต้ ของตัวเมืองเป็ นแอ่งนํ้าขนาดใหญ่ เรี ยกว่า ทะเลสาบ และปรากฏในตํานานว่า "พะตะเบิด" ได้เป็ นเจ้าเมืองคนแรกของเมืองอู่ไทยหรื อเมืองอุทยั เก่าที่ไม่เข้าใจคือ เหตุใดชาวกระเห รี่ ยงจึงมีอาํ นาจและเป็ นเจ้าเมือง จะเป็ นไปได้หรื อไม่วา่ การที่ผคู ้ นเข้ามาอยูใ่ นเมืองอู่ไทย หรื อเมือง อุทยั เก่านี้เป็ นชนชาติกระเหรี่ ยง ละว้า ถึงอย่างไร ก็น่าจะมีคนไทยหลงเหลืออยูบ่ า้ งแต่ถา้ ได้ศึกษาถึงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์แล้วจะเห็น ได้ว่า ชนชาติละว้า หรื อชนชาติกระเหรี่ ยง เป็ นเผ่าพันธุ์ที่ถ่ายทอดมาจากมนุ ษย์เผ่าพันธุ์ไทย อย่าง น้อยก็เกี่ ยวพันกันอยู่ก็น่าที่ จะเข้าใจว่า “พะตะเบิด” ก็เป็ นเชื้ อสายเผ่าพันธุ์ ไทยได้ นอกนี้ ไม่ ปรากฏหลักฐานอะไรถึงการปกครองที่ต่อเนื่องมาจาก "พะตะเบิด" หรื อผูป้ กครองคนต่อมา เมืองอู่ไทย หรื อเมืองอุทยั เก่าในสมัยอยุธยานั้นได้มีการสร้างวัดตามทิศต่างๆ ดังนี้ ทิศเหนื อ วัดหัวหมาก ทิศตะวันตก วัดยาง ทิศตะวันออก วัดแจ้ง และทิศใต้ วัดหัวเมือง โดยมีหลักเมืองทําด้วย ไม้แต่อยูต่ รงกลางค่อนไปทางทิศใต้ ห่ างจากวัดหัวเมืองประมาณ 100 เมตร ตัวเมืองอุทยั เก่ามีอาณา เขตที่ถือเอาวัดเป็ นเกณฑ์ประมาณกว้าง 300 เมตร และยาวประมาณ 500 เมตร นอกตัวเมืองทางด้า น ทิศใต้เป็ นทะเลสาปและมีวดั กุฏิต้ งั อยูร่ ิ มทะเลสาปด้านใต้ ซึ่ งมีแนวคลองผ่านเข้าตัวเมือง ถัดจากตัว เมืองไปทางทิศตะวันตกประมาณ 2 กิ โลเมตรเป็ นหมู่บา้ นคลองค่าย ซึ่ งเป็ นที่ต้ งั ของค่ายทหารใน สมัยอยุธยา สําหรับเกณฑ์ไปช่วยเมืองหลวงในยามศึกสงครามและเป็ นหน้าด่านป้ องกันพม่าที่ยกทัพ เข้ามาทางเขตเมืองอุทยั เก่า


11

ในสมัย กรุ ง ศรี อยุธ ยา สมเด็ จพระนเรศวร ทรงเห็ นว่า เมื องอุ ทยั เก่ า นั้นเป็ นเมื องอยู่ใ กล้ ชายแดน ควรจะเป็ น "เมืองด่าน" ใช้ระมัดระวังพม่าที่เดินทัพเข้ามาทางด่านแม่ละเมา และด่านเจดีย ์ สามองค์ซ่ ึ งเป็ นเส้นทางที่พม่าใช้เดิ นทัพเข้ามาแต่โบราณ จึงให้จดั ตั้งด่านป้ องกันขึ้นหลายแห่ งคือ ด่ านเมื องอุ ทยั (ที่ บา้ นคลองค่า ย) ด่ านแม่กลอง ด่ านเขาปูน ด่ านหนองหลวง ด่ า นสลักพระ โดย ถือเอาเมืองอุทยั เก่าเป็ น "หัวเมืองด่านชั้นนอก" โดยมีเจ้าเมืองอุทยั เก่าเป็ นผูด้ ูแลด่านต่างๆ เมืองอุทยั เก่าในสมัยนั้นมีอาณาเขตการปกครองดังนี้ ทางทิศตะวันออกติดต่อกับเมืองแพรก (เมืองสรรค์บุรี) ทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนื อจดกับเมืองพระบาง (เมืองพังค่าจังหวัดนครสวรรค์)ทางทิศตะวันตก เฉี ยงเหนื อติดต่อกับเมืองแปป (เมืองกําแพงเพชร) และเมืองฉอด (อยู่ที่จงั หวัดตาก) ถื อแนวแม่น้ าํ และลําคลองเป็ นแนวเขต เช่นแม่น้ าํ กลอง คลองห้วยแก้ว ลําห้วยเปิ้ นเป็ นต้น สําหรับด่านสําคัญที่ อยูป่ ลายแดนด้านทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อได้ให้พระพล (พระพลสงคราม) เป็ นผูร้ ักษาด่านแม่กลอง และพระอินทร์ (พระอินทรเดช) เป็ นผูร้ ักษาด่านหนองหลวงซึ่ งเป็ นด่านที่สําคัญของเมืองอุทยั เก่า (ปั จจุบนั อยูใ่ นท้องที่อาํ เภออุม้ ผาง จังหวัดตาก) ในพงศาวดารพม่าปรากฏว่า “สมเด็จพระนเรศวรยก ทัพติดตามตีกองทัพพระเจ้าหงสาวดีไปจนถึงหนองหลวง แล้วจึงกลับคืนพระนคร” ต่ อ มาสมเด็ จ พระเอกาทศรถ ได้โ ปรดให้ บ ัญ ญัติ อ ํา นาจการใช้ ต ราประจํา ตํา แหน่ ง มี บัญชาการตามหัวเมืองนั้น ๆ ได้ระบุในกฎหมายเก่า ลักษณะพระธรรมนู ญว่า “เมืองอุไทยธานี เป็ น หัวเมืองขึ้นแก่มหาดไทย” ตัวเมืองอุทยั เก่านั้นเป็ นเมืองดอนตั้งอยูบ่ นพื้นที่ต่อเนื่ องกับเชิ งเขาบรรทัดที่เป็ นเขตแดนติด กับเมืองมอญ (เมาะตะมะและเมาะตําเลิม) มีที่ราบทํานาได้มาก ทั้งมีธารนํ้าไหลลงมาจากภูเขากักตุน เก็บนํ้าเข้ามาใช้ในการทํานา ไม่มีเวลาที่ นาจะเสี ย จึ งมีผูค้ นได้ต้ งั บ้านเรื อนทํานากันมาก จนเป็ น บ้านเมืองใหญ่ ด้วยเหตุที่หวั เมืองตั้งอยูบ่ นที่ดอนห่ างจากคลองสะแกกรังประมาณ 500 เส้น ลําห้วย ที่มีอยู่เดิ มใกล้ๆ ตัวเมื องก็ต้ื นเขินและใช้การไม่ได้ เรื อจึ งขึ้ นไปไม่ถึงเมื่ อจะขายข้าวต้องบรรทุก เกวียนมาทางบกลงมาที่แม่น้ าํ สะแกกรัง อันเป็ นปลายเขตแดนเมืองชัยนาท และเมืองมโนรมย์ และ การส่ งพืชพันธุ์ธัญญาหาร ก็ตอ้ งอาศัยแม่น้ าํ สะแกกรั งเป็ นหลัก ดังนั้นประชาชนที่ รับซื้ อผลิ ตผล สิ น ค้า ของชาวอุ ท ยั ธานี จึ ง พากัน ไปตั้ง บ้า นเรื อ นอยู่ที่ บ ้า นสะแกกรั ง ซึ่ งเป็ นตลาดค้าขายของ ชาวเมืองอุทยั ธานี พ.ศ. 2206 แผ่นดิน ของสมเด็จพระนารายณ์ กษัตริ ยก์ รุ งศรี อยุธยา พม่าได้ปราบปรามพวก มอญเมืองเมาะตะมะ ซึ่ งเป็ นกบฏจับมังนันทมิ ตร อาของพระเจ้าอังวะ พาเข้ามาในดิ นแดนไทย ดังนั้น "ครั้นถึงกติกมาสได้ศุภวารดฤถี พิชยั ฤกษ์ เจ้าพระยาโกษาธิ บดี และท้าวพระยานายทัพนายก


12

องทั้งปวงกราบถวายบังคมลายกพลโยธาแยกกันไปทางด่านเจดียส์ ามองค์บา้ ง ทางด่านเขาปูนและ ด่านสลักพระแดนเมืองอุทยั ธานี บา้ ง ส่ วนกองทัพพระยาสี หราชเดโชชัย ซึ่ งลงมาจากเมืองเชี ยงใหม่ ถึงเมืองตากนั้นก็รีบยกมาทางเมืองกําแพงเพชร เมืองนครสวรรค์ ผ่านเมืองอุทยั ธานี ถึงเมืองศรี สวัสดิ์ รบกับพม่าที่ไทรโยค และท่าดินแดงร่ วมกับทัพใหญ่ของเจ้าพระยาโกษาธิ บดี คือ เจ้าพระยาโกษาธิ บดี (ขุนเหล็ก) เป็ นแม่ทพั ใหญ่พร้อมด้วยพระยาวิเศษชัยชาญ พระยาราชบุรีและพระยาเพชรบุรี จน พม่าแตกพ่ายหนี ไปด้วยกําลังทหารหาญกับชาวด่ านเมืองอุทยั ธานี ที่ได้ติดตามทัพ พระยาสี หราช เดโชชัยมาช่วยรบในคราวนี้ดว้ ย “บ้า นสะแกกรั ง ” เดิ ม นั้นมี ตน้ สะแกใหญ่ อยู่กลางหมู่บ ้าน เป็ นตลาดค้าขายสําคัญมาแต่ โบราณ ครั้นมีเจ้านายเดินทางมาซื้ อพืชผล และเป็ นที่สนใจของเจ้านายคนอื่นๆ จนถึงกับ "จมื่นมหาสนิ ท (ทองคํา) " ซึ่ งเป็ นบุตร "เจ้าพระยาวงศาธิ ราช (ขุนทอง)" ได้ยา้ ยมาอยู่ที่บา้ นสะแกกรั ง ใน แผ่นดินพระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ บ้านสะแกกรัง ที่มีพ่อค้าคอยรับซื้ อข้าวพืชพันธุ์ของป่ าอยูน่ ้ นั เมื่อปรากฏว่ามีเจ้านายมาตั้ง บ้านเรื อนอยูด่ งั กล่าว ก็ได้มีการสร้างวัดขึ้นตามแหล่งชุ มนุ มชน เช่นวัดกร่ าง (วัดพิชยั ปุรณาราม) วัด ท่าซุ ง, วัดเดิมบนยอดเขาสะแกกรัง เป็ นต้น ด้วยเหตุที่เมืองอุทยั เก่าเป็ นเมืองด่านการขนย้ายช้างใช้ใน การสงคราม และช้างป่ าเข้าสู่ กรุ งศรี อยุธยา จําเป็ นต้องใช้ลาํ คลองสะแกกรังเป็ นเส้นทางขนส่ ง โดย ต่อแพล่องส่ งลงไปยังกรุ ง อันเป็ นเหตุให้ “บ้านสะแกกรัง” เป็ นแหล่ งรวมช้างศึก และได้จดั สร้ าง “เพนี ยดช้าง” (บริ เวณวัดใหม่จนั ทารามพบเสาตะโพนช้าง และพระพุทธรู ปองค์ใหญ่) เป็ นที่ พกั สําหรับขนถ่ายช้าง ไปลงที่ท่าช้าง ซึ่ งเป็ นที่ลาดกว้าง ตั้งแต่หา้ แยกลาดเทลงไปจนถึงแม่น้ าํ สะแกกรัง ส่ วนตลาดนั้นอยู่ถดั เข้ามาข้างใน (แถวหน้าวัดหลวงราชาวาสเดี๋ยวนี้ ต้ งั แต่บา้ นขุนกอบกัยกิ จเข้า ไป) ซึ่ งไม่ห่างจาก “เพนี ยดช้าง” เท่าไรนัก ต่อมาในแผ่นดิ นพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระจมื่นมหาสนิ ท (ทองคํา) ได้เป็ นพระยาราชนิ กูล อยูท่ ี่บา้ นสะแกกรัง จนบุตรชายคนใหญ่ชื่อ “ทองดี” เกิดที่นนั่ จาก พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี ถึง เซอร์ จอห์ น เบาริ่ ง เป็ น ภาษาอังกฤษแปลจากหนังสื อ The Kingdom and People (The Royal Dynasty) หน้า 65-66 มีความ ว่า “สมเด็จพระนารายณ์ จึงได้ทรงแต่งตั้งนายปาน ให้เป็ นเสนาบดีกระทรวงต่างประเทศแทนพระยา คลังซึ่งเป็ นพี่ชาย และเป็ นต้นตระกูลของบรรพบุรุษของเราต่อมา แต่เรื่ องราวการรับราชการในสมัย ต่อมานั้นไม่ ปรากฏ จนกระทัง่ ถึ งสมัย สมเด็ จพระภูมิ นทร์ ราชาธิ ราช ซึ่ ง ปกครองประเทศสยาม ระหว่าง ค.ศ. 1706-1732 (พ.ศ. 2249-2275) ซึ่ งเป็ นพระมหาชนกปฐมกษัตริ ยร์ าชวงศ์จกั รี และเป็ น พระอัยกาของพระบิดาของกษัตริ ยอ์ งค์ปัจจุบนั (คือตัวฉันเอง) และกษัตริ ยอ์ ีกพระองค์หนึ่ง (คือพระ


13

อนุ ชาองค์รองของฉัน) ของประเทศสยาม อันเป็ นราชโอรสอันสู งศักดิ์ของราชวงศ์ที่ได้สืบเชื้ อสาย มาจากตระกูลขุนนางกระทรวงต่างประเทศซึ่ งได้ยา้ ยถิ่นฐานมาอยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยาและต่อมาได้ยา้ ย ถิ่ นฐานอยู่ที่บา้ นสะแกกรั งอันเป็ นหมู่บา้ นเล็ก ๆ ที่ ต้ งั อยู่บนฝั่ งแม่น้ าํ สะแกกรั ง ที่ เป็ นสาขาของ แม่น้ าํ สายใหญ่เชื่ อมอาณาเขตติ ดต่อภาคเหนื อและภาคใต้ของประเทศสยาม เล่ ากันว่าบุ คคลผูม้ ี ความสําคัญได้ถือกําเนิ ดที่นี่ และกลายเป็ นผูม้ ีความรู ้ความสามารถเป็ นพิเศษของราชวงศ์สยาม ได้ สมรสกับบุตรสาวคหบดีชาวจีนผูม้ ง่ั คัง่ ซึ่ งตั้งบ้านเรื อนอยูบ่ ริ เวณกําแพงเมือง ทางทิศตะวันตกเฉี ยง ใต้ของพระราชวัง ได้รับราชการเป็ นที่โปรดปรานของพระมหากษัตริ ยโ์ ดยมี หน้าที่ร่างราชสาส์ น ต่างๆ และทําการติ ดต่อกับ หัวเมื องฝ่ ายเหนื อ (ทั้ง ที่ เป็ นหัวเมื องอิ สระ และที่ ยงั ไม่ เป็ นอิ สระต่ อ ประเทศสยามที่ อยู่ทางภาคเหนื อ) และมี หน้าที่ รักษาพระราชลัญจกร ได้รับพระราชทานนามว่า “พระอักษรสุ นทร เสมียนตรา” คุณพระมีบุตรธิ ดากับภรรยาคนแรกรวม 5 คน ต่อมาภรรยาได้ถึงแก่ กรรม คุณพระจึงได้แต่งงานกับน้องสาวของภรรยา มีบุตรหญิงคนหนึ่ ง ต่อมาพระยาราชนิ กูลได้ยา้ ย เข้าไปทําราชการที่กรุ งศรี อยุธยาและนายทองดีบุตรชายคนใหญ่ของพระยาราชนิ กูล (ทองคํา) ซึ่ งถือ กําเนิดที่บา้ นสะแกกรังนั้นเจริ ญวัยแล้ว ก็ได้ยา้ ยตามบิดาเข้ามารับราชการที่กรุ งศรี อยุธยา ในแผ่นดิน พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกษฐ และได้บรรดาศักดิ์เป็ น “พระอักษรสุ นทรศาสตร์ ” เสมียนตรามีหน้าที่ร่าง ราชสาส์ นต่าง ๆ ของพระมหากษัตริ ย ์ และรักษาพระราชลัญจกร ต่อมาได้แต่งงานกับสตรี งามชื่ อ “หยก” (บางแห่ งว่า "ดาวเรื อง") มีบุตรและธิ ดา 5 คน คือ 1 “สา” เป็ นหญิงภายหลังได้สถาปนาเป็ น “สมเด็จเจ้าฟ้ าหญิงกรมพระยาเทพสุ ดาวดี (ส) 2 "ราม" เป็ นชายภายหลังได้สถาปนาเป็ น “พระเจ้า รามณรงค์” 3 “แก้ว” เป็ นหญิงภายหลังได้สถาปนาเป็ น "สมเด็จเจ้าฟ้ าหญิงกรมพระศรี สุดารัก ษ์ (แก้ว)" 4 "ทองด้วง" เป็ นชายภายหลังสถาปนาตนเป็ น "พระเจ้าแผ่นดินต้น" (ต่อมาได้ถวายพระนาม ตามพระพุทธรู ปว่า "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก") และ 5 "บุญมา" เป็ นชายภายหลังได้ สถาปนาเป็ น "สมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระราชวังบวรมหาสุ รสิ งหนาท" ซึ่ งนับว่าเป็ นปฐมวงศ์ของกษัตริ ย ์ แห่ งราชวงศ์จกั รี ในแผ่นดิ นพระเจ้าอยู่หวั บรมโกษฐเกิ ดศึกกลางเมืองขึ้น ทําให้ไพร่ ฟ้าข้าราชการ ล้มตายจนไม่มีกาํ ลังป้ องกันพระนครและบ้านเมือง "จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าให้กระทําตามคําซึ่ ง กราบทูลนั้น เจ้าพระยาราชภักดี ก็จดั แจงแต่งทัพหลวงให้ถือตราพระราชสี ห์ออกไปเกลี้ยกล่อมเลข จัดพลัด ณ หัวเมืองวิเศษวิเศษไชยชาญเมืองสุ พรรณบุรี เมืองนครชัยศรี เมืองพรหมบุรี เมืองสิ งห์บุรี เมืองสรรคบุรี เมืองชัยนาทบุรี เมืองมโนรมย์ เมืองอุทยั ธานี เมืองนครสวรรค์ ได้คนเป็ นอันมาก พ.ศ. 2309 แผ่นดิ นพระเจ้าเอกทัศน์กองทัพเนเมียวสี หบดี 4,000 คน ได้ยกลงมาจากเมือง นครสวรรค์ ลงมาทางเมืองชัยนาท เมืองอุทยั ธานี เมืองสรรคบุรี ถึงเขตกรุ งศรี อยุธยา ส่ วนกองทัพมัง


14

มหานรธา 3,000 คน ได้มาตั้งอยูท่ ี่วดั ป่ าฝ้ าย ปากนํ้าพระประสบ ข้างด้านเหนื อ นอกจากนี้ พระเจ้าอัง วะ ยังให้สุรินทจอข่อง คุ มพลอีก 1,000 คน ยกลงมาพักอยูเ่ มืองเมาะตะมะ แล้วยกหนุ นเข้ามาทาง ด่านอุทยั ธานี ตั้งทัพอยู่ที่เมืองวิเศษไชยชาญ และพระยาเจ่งรามัญคุ มพล 2,000 คน ยกหนุ นเข้ามา ทางกาญจนบุรี ตั้งทัพที่ขนอนหลวง วัดโปรดสัตว์ขณะที่รอทัพอยูน่ ้ ี พม่าได้ลาออกไปเที่ยวค้นทรัพย์ จับคนทางเมืองวิเศษไชยชาญ เมืองสรรคบุรี เมืองสุ พรรณ เมืองสิ งห์ถึงอุทยั ธานี จนทําให้คนไทย รวมกําลังกันที่ "บ้านบางระจัน" ต่อสู ้ พม่าได้ถึง 8 ครั้ ง ก็สู้พม่าไม่ได้ ต่อมานํ้าท่วมกรุ งศรี อยุธยา พม่าได้ร้ื ออิฐวัดมาก่อกําแพงเป็ นค่าย แล้วรุ กมาตั้งที่วดั กระชาย วัดพลับพลาชัย วัดเต่า วัดสุ เรนทร วัดแดง ยกเป็ นหอรบสู ง แล้วระดมกําลังปล้นกรุ ง ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 ได้ จึงเผาพระนคร จับคนปล้นทรัพย์สินจนสิ้ น แม่ทพั พม่าฝ่ ายเหนื อก็เชิ ญสมเด็จพระบรมราชาธิ ราชที่ 4 ซึ่ งทรงผนวช เป็ นพระภิกษุและพระขัตติยาวงศา เสนามาตย์ไปพร้ อมกับทรัพย์สมบัติศสั ตราวุธ ยกออกทางด่าน อุทยั ธานี เดินบกไปถึงเมืองเมาะตะมะ ขณะนั้นบ้านเมืองเกิดระสํ่าระสายอย่างหนัก ผูค้ นต่างหนี พม่า เข้าป่ าลึก บ้างก็ถูกกวาดต้อนไปกับเขาด้วย รวมทั้งชาวเมืองอุทยั ส่ วนหนึ่ งที่หลบหนี ไม่ทนั ด้วย พระ เถระที่ปรากฏชื่ อมาแต่ครั้งกรุ งศรี อยุธยา (จาก "ประชุ มจารึ กวัดพระเชตุพนฯ " เป็ นตัวเขียนอักษร ขอมลายรดนํ้าปิ ดทอง อยูท่ ี่บานหน้าต่างพระอุโบสถบานที่ 7 ด้านซ้ายทางทิศเหนื อ) นั้นชื่ อ "พระครู อนุโลมมุนีเป็ นพระสมณศักดิ์เจ้าคณะเมืองอุทยั ธานี ในสมัยกรุ งศรี อยุธยา ไม่ปรากฏว่าอยูท่ ี่วดั ใด เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชได้สถาปนากรุ งธนบุรีในปี พ.ศ. 2310 พระองค์ตอ้ งทํา การปราบปรามบรรดาชุมนุมต่างๆ เป็ นการขยายอาณาเขตให้กว้างขวางออกไป พ.ศ. 2313 เจ้ากรุ งธนบุรีทรงปรารภที่จะปราบปรามหัวเมืองเหนื อและได้ข่าวว่า เมื่อเดื อน หก "เจ้าพระฝาง" ซึ่ งเป็ นใหญ่ในหัวเมืองฝ่ ายเหนื อทั้งปวงนั้นเกณฑ์กองทัพให้ลงมาลาดตระเวนตี เอาข้าวปลาอาหาร และเผาบ้านเรื อนราษฎรเสี ยหลายตําบล จนถึงเมืองอุทยั ธานี และเมืองชัยนาท เป็ นทํานองจะคิดลงมาตีกรุ งธนบุรี พระองค์จึงยกทัพไป 3 ทัพ เข้าตีเมืองพิษณุ โลกและเมืองสวางค บุรีจนแตกพ่ายไป พระเจ้ากรุ งธนบุรีทรงเห็นถึงความสําคัญ ของเมืองอุทยั ธานี ซึ่ งถูกพม่ายํ่ายียบั เยิน จนเป็ นเมื องร้ า ง จึ ง แต่ ง ตั้งให้ "ขุนสรวิชิต (หน)" ไปตั้ง กองด่ า นรั กษาเมื องอุ ท ยั เก่ า ประมาณ 2 กิโลเมตร ครั้งอะสี หวุน่ คยี (อะแซหวุน่ กี้) แม่ทพั คนสําคัญของพม่า ยกกองทัพใหญ่เข้ามาทางหัวเมือง เหนื อ เมื่อปี พ.ศ. 2318 นั้น ได้ให้โปสุ พลา โปมะยุง่วน ยกกองทัพไปตีเมืองเชี ยงใหม่ ส่ วนอะแซห วุน่ คยีเองยกกองทัพหลวงพล 15,000 คน เดินทัพเข้าทางด่านแม่ละเมาะ เมืองตากด่านลานหอยและ เมืองสุ โขทัย แล้วคุมพล 30,000 คน เข้าล้อมเมืองพิษณุโลกไว้ ครั้งพม่ายกทัพมาถึงเมืองกําแพงเพชร


15

เห็นไทยตั้งค่ายรักษาเมืองนครสวรรค์แข็งแรง จึงตั้งค่ายที่เมืองกําแพงเพชรแล้วแต่งกองโจรเดินลัด ป่ าทางฝั่งตะวันตกอ้อมหลังเมืองนครสวรรค์ลงไปเมืองอุทยั เก่ากอง 1 พอวันเสาร์ เดือน 3 แรม 12 คํ่า พระเจ้ากรุ งธนบุรีก็ทรงทราบว่า พม่าที่เมืองกําแพงเพชร "ยกลงมาตั้งค่าย ณ บ้านโนนศาลาสอง ค่าย บ้านสลกบาตรค่ายหนึ่ ง บ้านหลวงค่ายหนึ่ ง ในแขวงเมืองกําแพงเพชร แล้วแยกไปทางเมือง อุ ทยั ธานี ก องหนึ่ ง เข้าเผาบ้า นอุ ท ยั ธานี เสี ย " แล้วจะยกไปทางไหนสื บไม่ได้ความ พระองค์ทรง ระแวงพม่าที่ยกไปจากเมืองอุทยั ธานี จะไปซุ่ มสั่งดักทางดอยตีกองลําเลียง ใต้เมืองนครสวรรค์ลงมา อีก จึงโปรดให้แบ่งไพร่ พลในกองทัพหลวง 1,000 คน ให้เจ้าอนุ รุธเทวา บัญชาการทัพเป็ นจางวาง บังคับทั้งสามกอง มีกองทัพของขุนอินทร์ เดชเป็ นแม่กอง กองทัพหลวงปลัดเมืองอุทยั ธานี กบั หลวง สรวิชิต นายด่านเมืองอุทยั ธานี เป็ นกองหน้า และกองทัพของเจ้าเชษฐกุมาร เป็ นกองหลวง ซึ่ งยกลง มาคอยป้ องกันลําเลียงเสบียงอาหารและเครื่ องอาวุธยุทธภัณฑ์ที่ส่งไปจาก พระนครไม่ให้พม่าที่ยก มาเมืองอุทยั ธานีซุ่มดักทางคอยโจมตี ครั้ นเมื่อพม่าได้เมืองพิษณุ โลกแล้วเสบียงอาหารภายในเมืองอัตคัตผูค้ นในเมื องอดอยาก อ่อนแอ อะแซหวุ่นคยี จึงให้มงั แยยางูคุมพลไปทางเมืองเพชรบูรณ์ และเมืองหล่มศักดิ์ ให้กะละโบ่ คุ มพลมาลาดตะเวนทางเมืองกําแพงเพชร รวบรวมหาเสบียงอาหาร ต่อมาอะแซหวุ่นคยีได้ข่าวว่า พระเจ้ามังระสิ้ นพระชนม์ จึงกูจาราชบุตรได้ครองราชสมบัติ จึงรี บเก็บทรัพย์สมบัติกวาดต้อนผูค้ น กลับออกทางเมื องสุ โขทัย เมืองตาก และด่านแม่ละเมา จึงทิ้งให้กองทัพกะละโบ่ กับมังแยยางูใน เมืองไทยด้วยสั่งกลับไม่ทนั คงสั่งแต่เพียงให้กองทัพกะละโบ่ รอกลับพร้อมกับ มังแยยางูพระเจ้ากรุ ง ธนบุรีทรงทราบว่า พม่าเลิ กทัพกลับแล้วยังคงมีกองทัพของกะละโบ่และมังแยยางูเหลืออยู่ จึงแบ่ง กองทัพออกเป็ น 4 กอง ติ ดตามพม่าไปเมื องตาก เมื องกําแพงเพชร และเมื องเพชรบูรณ์ ส่ วนทัพ หลวงนั้น ตั้งค่ายรอรับครอบ-ครัวที่แตกฉานมาจากพิษณุ โลกที่บางแขม เมืองนครสวรรค์ ครั้นวัน จันทร์ เดื อน 6 แรม 11 คํ่า พ.ศ. 2319 พม่าข้างเมืองอุทยั ธานี ยกแยกขึ้นไปเมืองเพชรบูรณ์ กองทัพ ไทยตามไปพบกองทัพมังแยยางูที่บา้ นนายยม ใต้เมืองเพชรบูรณ์ เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 6 แรม 14 คํ่า ก็ระดมกําลังตีจนแตกพ่าย พากันหนี ไปทางเหนื อ เข้าไปในแดนลานช้าง พอถึ งเดื อน 7 ปี วอก พ.ศ. 2319 พระเจ้ากรุ งธนบุรี ทรงทราบว่ามีกองทัพพม่ากะละโบ่ต้ งั อยูท่ ี่เมืองกําแพงเพชรประมาณ 2,000 คนเศษ จึงให้พระยายมราช พระยาราชสุ ภาวดี พระยานครสวรรค์ ยกกองทัพไปสมทบกันตี พม่า ส่ วนพระองค์น้ นั เสด็จยกทัพหลวงไปตั้งอยูท่ ี่ปากคลองขลุ ง พม่ารู ้ข่าวก็รีบยกทัพหนี ไปทาง เหนื อ ส่ วนพม่าอีกกองหนึ่ งประมาณ 1,000 คนเศษ ได้ยกแยกมาทางทิศตะวันตก เดิ นทัพเข้ามาถึง เมืองอุทยั ธานี เที่ยวเก็บทรัพย์จบั ผูค้ นและเผาบ้านเรื อนเสี ย ฆ่าหลวงตาลําบากตายแล้วยกหนี ไปทาง


16

นารี ซ่ ึ งปรากฏในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาว่า "ครั้น ณ วันพฤหัสบดี เดื อน 7 ขึ้น 13 คํ่า จึงเสด็จถอยกองทัพหลวงมาประทัพ ณ เมืองนครสวรรค์ จึงชาวด่านเมืองอุทยั ธานี บอกลงมา กราบทูลว่าทัพพม่ายกผ่านลงมาประมาณพันเศษ เผาค่ายที่ด่านนั้นเสี ย แทงหลวงตาลําบากอยูอ่ งค์ หนึ่ ง แล้วยกไปทางนารี จึงดํารัสให้หลวงเสนาภักดี กองแก้วจินดา ยกติดตามไปถ้าทันเขาจงตีให้ แตกฉาน แล้วให้ยกตามไปจนถึงเมืองชัยโชค" ครั้นได้ข่าวว่าทัพพม่ากองหนึ่ ง ยกลงไปทางเมืองอุทยั ธานี จึงยกกองทัพลงมาทางด่านเขา ปูน ด่านสลักพระ หมายจะไปตามตีพม่าทางเมืองอุทยั ธานี แล้วสั่งให้พระยายมราช พระยาราชสุ ภา วดี ซึ่ งตั้งทัพอยูท่ ี่บา้ นโคนเมืองกําแพงเพชร ยกทัพลงมาตีกองทัพพม่าทางเมืองอุทยั ธานี อีก 2 กอง สมทบกับ กองทัพ มอญ ของพระยารามัญวงศ์ก อง 1 กวาดร่ นมาตั้ง แต่ ท างเหนื อ มายัง เมื อ ง อุทยั ธานี ส่ วนพระองค์น้ นั เสด็จกลับคืนพระนคร เมื่อวันเสาร์ เดือน 7 ขึ้น 14 คํ่า กองทัพเจ้าอนุรุธเทวา ได้พบพม่าตระเวนหาเสบียงอาหารกองหนึ่ ง ที่เมืองสรรคบุรี จึงเข้าตี แตกร่ นหนี ข้ ึนไปสมทบกับพม่า 1,000 คน ที่ต้ งั ค่ายอยูท่ ี่ด่านเมืองอุทยั ธานี ส่ วนกองทัพพระยายมราช พระยาราชสุ ภาวดี นั้น ได้ยกลงมาตั้งค่ายประชิ ดอยู่ที่ด่านเมื องอุทยั ธานี ต่อมาขัดสนเสบี ยง อาหาร จึงต้องถอยทัพมาตั้งอยู่ ณ คอกไก่เถื่อน ต่อมากองทัพเจ้าอนุรุธเทวา หลวงเสนาภักดี กองแก้ว จินดา ได้มาพบกองทัพกะละโบ่ต้ งั ค่ายที่เมืองนครสวรรค์ เห็นเหลือกําลังจึงบอกไปยังกรุ งธนบุรี จึง ให้กรมขุนอนุรักษ์สงคราม หลานเธอ กรมขุนรามภูเบศร์ กับเจ้าพระยามหาเสนา คุมพลไปตีกองทัพ กะละโบ่ทางเมื องนครสวรรค์ แล้วให้กรมขุนอินทรพิทกั ษ์ ลูกเธอคุ มทัพเรื อหนุ นไปช่ วยอีก แล้ว พระองค์ก็เสด็จยกกองทัพหลวงทางเรื อ มาบัญชาการรบอยูท่ ี่เมืองชัยนาท เมื่อเดือน 9 และพระองค์ ได้โปรดให้เกณฑ์หากองทัพ เมืองพิจิตร เมืองนครสวรรค์ เมืองอุทยั ธานี ลงมารวมกันที่ค่ายหลวง ณ เมืองชัยนาทให้หมดสิ้ น ฝ่ ายกองทัพพม่าซึ่ งตั้งอยู่ ณ ด่านเมืองอุทยั ธานี น้ นั ขัดสนเสบียงอาหาร จึง ถอยค่ายเลิกทัพกลับไปพอดีกบั กองทัพไทย เข้าใจว่าตั้งอยูท่ ี่บา้ นทัพหมื่น บ้านทัพค่าย บ้านทัพหลวง ยกทัพ ติ ดตามทันที่ บ้า นทัพ ทัน (คื ออํา เภอทัพ ทัน) พม่ า ถู ก ไทยฆ่ า ตาย แตกหนี แยกย้า ยไม่ เป็ น ระเบียบออกไปทางเขาดาวเรื อง ปลายเขตแดนบ้านโคกหม้อ ขึ้นไปทางบ้านพลวงสองนาง พม่าต่าง หนี ต่างปล้นสดมภ์เสบียงอาหาร ฉุ ดคร่ าหญิงสาวจนชาวบ้านกลัวรานต่างก็เอาลูกสาวไปซ่ อนตาม โพรงไม้ใหญ่ๆ ซึ่ งมีอยูม่ ากในป่ าแถบนั้น หลบซ่ อนอยูจ่ นเวลารุ่ งสาง พอดีเวลาวัดยํ่าฆ้องระฆังพระ ลุกขึ้นครองผ้าออกบิณทบาตร หมู่บา้ นแห่งนี้เรี ยกกันว่า "บ้านโพรงซ่อนนาง" (ต่อมาเรี ยกบ้านพลวง สองนาง) ถัดมาเรี ยก "บ้านสว่างน้อย" กองทัพไทยได้ขบั ไล่พม่าเตลิดหนี จนไม่สามารถตามทัน จน รุ่ งแจ้งก็ไม่เห็นพม่าจึงหยุดตั้งค่าย ตรงที่ถดั จากบ้านว่างน้อยพักผ่อนหุ งหาอาหารกินกันด้วยเสี ยเวลา


17

หลับนอนรุ กไล่พม่ามาหลายวันหลายคืน ผ่านท้องที่ ทุรกันดารมากมาย ร่ างกายต่างอ่อนเปลี้ ยไป ตามๆ กัน ชาวบ้านที่หลบซ่ อนพม่า ก็สบายใจที่กองทัพไทยมาช่ วย ต่างจัดหาอาหารมาเลี้ ยงทหาร ไทย ท้องที่ตรงนั้นเรี ยกกันต่อๆ มาว่า “บ้านสว่างแจ้งสบายใจ” คือ บ้านสว่างอารมณ์ อําเภอสว่าง อารมณ์ เดี๋ยวนี้ ครั้นวันพุธ เดื อนสิ บ ขึ้ นคํ่าหนึ่ งพระยาราชภักดี และพระยาพลเทพ ที่ข้ ึนไปตามพม่าทาง เมืองเพชรบูรณ์ ได้พบพม่าที่บา้ นนายยม จึงขับไล่ตีพม่าแตก หนี ไปทางเมืองอุทยั ธานี จับได้เก้าคน ส่ วนที่หนี มาได้ครั้น ทราบว่ากองทัพพม่าทิ้งค่ายที่ เมืองอุ ทยั ธานี เสี ยแล้ว ก็หนี เลยไปสมทบกันที่ เมื องนครสวรรค์ รวมกับ พม่ าที่ หนี ม าจากเมื องอุ ท ยั ธานี ด้วย ต่อมาก็ถู ก กองทัพ กรมขุนอนุ รัก ษ์ สงคราม กรมขุนรามภูเบศร์ และเจ้าพระยามหาเสนาระดมกําลังตีกองทัพพม่าที่ค่ายเมืองนครสวรรค์ แตกหนีเข้ามาทางเมืองอุทยั ธานี กองทัพไทยรุ กไล่พม่าในเมืองอุทยั ธานี ได้ติดตามสมทบ และทัน กองทัพพม่าที่บา้ นเดิมบางนางบวช เมืองสุ พรรณบุรีจึงตีกองทัพพม่าหนีร่นออกไปทางด่านเจดียส์ าม องค์ เมืองอุทยั เก่ า เป็ นเมืองด่านที่สําคัญพระเจ้ากรุ งธนบุ รี จึ งโปรดให้พระราชทานช้างหลวง สําหรับเมืองอุทยั ธานี เพื่อใช้ในกองทัพทหารด่าน คือ เมื่อปี วอก อัฐศก พ.ศ. 2319 ได้พระราชทาน ช้างหลวง 2 เชื อก แก่เมืองอุทยั ธานี เข้ากองทัพไปรบที่ดอนไก่ เถื่ อน และเมื่อปี ระกา นพศก พ.ศ. 2320 ได้พระราชทานช้างหลวง “พระอุทยั ธานี อยูแ่ ก่พระรามรณคบ พลาย 2 พลัง 3 (ราม) 5” บ้านสะแกกรัง เป็ นอู่ขา้ วอู่น้ าํ มีความอุดมสมบูรณ์กว่าบ้านอื่นๆ ประกอบกับเมืองอุทยั ธานี เก่าถูกพม่าทําลายเสี ยหายมาก เช่น พระปรางค์ที่วดั แจ้ง (นัยว่าสร้าง พ.ศ. 2081) ถูกพม่าทําลายยอด ปรางค์หักเสี ย (ในระยะหลัง ๆ พระอาจารย์ทิม คงคสโร ได้เป็ นหัวหน้าชักชวนพุทธศาสนิ ก -ชน ช่วยกันหาช่างมาปฏิสังขรณ์ ต่อจากฐานเก่าจนสําเร็ จเป็ นองค์พระปรางค์เมื่อ พ.ศ. 2458) วัดอื่นๆ ก็ ถูกพม่าเผาทําลายจนร้าง ผูค้ นต่างได้อพยพหนี มาอยูท่ ี่บา้ นสะแกกรัง ซึ่ งมีพ้ืนที่เหมาะสมกับการทํา มาหากิน ทํานา ค้าขายขาว และยังมีความสําคัญต่อการลําเลียงขนส่ งข้าวปลาอาหาร อาวุธยุทธภัณฑ์ ตลอดจนช้างศึกช้างป่ า เข้าสู่ พระนคร จึงเป็ นเหตุให้บา้ นสะแกกรังเริ่ มครึ กครื้ นเป็ นตลาดใหญ่ จนถึง กับทําให้เมืองอุทยั เก่าซบเซาลง บรรดาเจ้านาย นายทหารชาวด่าน ก็นิยมตั้งบ้านเรื อนอยูท่ ี่น้ ี ด้วยมีลาํ คลองสะแกกรังเป็ นเส้นทางคมนาคมทางเรื อได้สะดวกต้องกับพระราชประสงค์ของพระเจ้ากรุ ง ธนบุรี ต้นสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ได้จดั การ บ้านเมืองให้เป็ นระเบียบ แต่งตั้งเจ้าเมืองปกครองตามเมืองต่างๆ ส่ วนที่เป็ นด่านอยู่ก่อนก็คงมีนาย


18

ด่านเป็ นผูด้ ูแลรักษาเหมือนเดิม และได้สํารวจบัญชี ชา้ งหลวงที่สูญหายหลังจากสงครามด้วยสําหรับ หลวงสรวิชิต (หน) นายด่านเมืองอุทยั ธานี ผูซ้ ่ ึ งขึ้นม้านําทหารออกมารับเสด็จ ณ ทุ่งแสนแสบเมื่อ ครั้งกรุ งธนบุรี เกิดจลาจล แล้วนําทัพเข้าสู่ พระนครนั้น ก็ทรงโปรดให้รับราชการอยูด่ ว้ ย ภายหลังได้ แต่ ง ตั้ง ให้เป็ น พระยาพิ พ ฒ ั นโกษา และเจ้า พระยาพระคลัง (หน) ตามลํา ดับ เนื่ องจากมี ค วามดี ความชอบหลายประการ รวมทั้งมีความสามารถในการเรี ยบเรี ยงหนังสื อด้วย ในพระราชพงศาวดาร กรุ งรั ตนโกสิ นทร์ รั ชกาลที่ 1 ของเจ้าพระยาทิ พากรวงศ์ ปรากฏว่าได้ต้ งั ให้หลวงณรงค์เป็ นพระ อุทยั ธานี เจ้าเมืองอุไทยธานี นอกจากนี้ พระองค์ยงั ได้โปรดให้จดั ตั้งด่านเพิ่มเติมขึ้นอี ก ด้วยทรง ระแวงพม่า ที่จะเข้ามาทางเมืองอุทยั ธานี เช่น ด่านทัพสะเหล่าปูนอุมปุม, ด่านอัทมาต เป็ นต้น และ ปรากฏในพงศาวดารว่า “พระอุทยั ธรรมเป็ นกองหลัง ตั้งค่ายอยู่ ณ เมืองชัยนาท ระวังพม่าจะยกมา ทางด่าน เมืองอุทยั ธานี พร้ อมกับจัดให้มีการลาดตระเวนด่านเมืองเมาะตะมะและเมืองเมาะตําเลิ ม ตลอดจน แต่งคนออกไปสื บราชการเป็ นประจําเจ้าเมืองที่ปรากฏชื่ อในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ คือ “พระยาอุไทยธานี” อันเป็ นบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมืองอุทยั ธานี รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิ ศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 นั้น ได้ดาํ เนิ นรอยตามสมเด็จ พระราชบิดา กล่าวคือ ทรงเห็ นถึงความสําคัญของทหารด่าน และการสื บราชการในเมืองมอญ เช่ น พ.ศ. 2325 หลวงอินทกําโนน ขุนยกกระบัตร ขุนสรวิชิต ขุนหมื่นกรมการ คุมไพร่ ออกไปตั้งรักษา ด่าน เป็ นต้น แม้แต่เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชาวด่านเมืองอุทยั ธานี เอง ก็ทรงโปรดปรานทํานุ บาํ รุ ง อยู่จนเจ้า พระยาพระคลัง (หน) ถึ ง แก่ อสั ญกรรมเมื่ อปี ฉลู พ.ศ. 2348 เมื่ อ จ.ศ. 2352 นั้น เมื อ ง อุทยั ธานี ได้จดั ส่ ง ไม้ชื่อ ไม้เสา ไม้ไผ่ ไม้อุโลก หวาย นํ้ามันยาง สี ผ้ ึง และอื่นๆ สําหรับทําเครื่ อง พระเมรุ พระบรมศพสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง (รัชกาลที่ 1 ) ซึ่ งกําหนดจะถวายพระเพลิง ณ เดือน 4 ปี มะเส็ ง ตามตราเจ้าพระยาจักรี ที่ ให้ขุนไชยเสนารั บมาและยังได้จดั ผ้าขาว 200 ชิ้ น ขมิ้น 1 เพื่อ จัดทําผ้าสบง สดับปกรณ์ ตามหนังสื อ เจ้าพระยาจักรี ส่งไปเกณฑ์ ลงวันอาทิตย์แรม 11 คํ่า เดือน 1 ปี มะเส็ ง ในปี นั้นขุนสถารพลแสนมหาดไทย ได้คุมนํ้าพระพัทสัจจา มาพระราชทานที่เมืองอุไทยธานี และโปรดให้มีตราถึง เมืองอุไทยธานี ให้เจ้าเมืองกรมการ เลาพลเมือง ราษฏร โกนผมไว้ทุกข์ แต่ กองอาทมาตชาวด่าน ต้องลาดตะเวนให้งดไว้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 นั้น เมืองอุไทยธานี ได้มีหน้าที่แต่ง คนออกไปสื บข้อราชการ ทางเมืองเมาะตะมะ และเมาะตําเลิม ซึ่ งมีความปรากฏในสารตรา พ.ศ. 2369 ที่พระยาจักรี มีมาถึงพระยาอุไทยธานี เรื่ องได้รับหนังสื อ กางดุ กระเหรี่ ยง มีมาถึงหลวงอินกํา โนน เป็ นอักษรรามัญแจ้งราชการว่า “กางดุจดั ให้กางภุระกับไพร่ 15 คน ออกไปลาดตระวนถึงคลอง


19

มิคลานพบจางกางเก้าะกง กระเหรี่ ยงพม่า 9 คนบอกว่า เมืองเมาะตะมะมีองั กฤษอยู่ 500 คน อังกฤษ ตีเมืองอังวะได้แต่ ณ วัน 7 คํ่า ฯลฯ เห็นว่าอังกฤษแต่งให้พูดจาจะให้เลื่องลือ ความจะหาจริ งไม่ ซึ่ ง พระยาอุไทยธานีกรมการไม่ไว้ใจแก่ราชการ ให้หลวงอินนายกองคุมไพร่ ออกไปลาดตระเวนพิทกั ษ์ รักษาด่าน ทั้งกลางวันกลางคืน สื บข้อราชการอยูอ่ ีกนั้น ชอบด้วยราชการอยูแ่ ล้วให้พระยาอุไทยธานี กรมการ กําชับหลวงอินกําโนนกองอาฏมาต และหลวงขุนหมื่นชาวด่าน ให้ระวังระไวพิทกั ษ์รักษา ด่านทางจงกวดขันแล้วให้สืบเอาข้อราชการให้ได้ความจงแน่ ถ้าได้ขอ้ ราชการประการใดให้บอกลง ไปให้แจ้งหนังสื อมา ณ วันพุธ ขึ้น 13 คํ่า เดือน 5 จุลศักราช 1188 ปี จอ อัฏศก “สําหรับข่าวจากกางดุ กระเหรี่ ยงนั้นได้แจ้งให้ทราบเมื่อ วันอาทิตย์ ขึ้น 13 คํ่า จุลศักราช 1187 พ.ศ. 2368 มีความละเอียดแจ้งว่า “อังกฤษเป็ นเจ้าขึ้นนัง่ เมืองอังวะ ในเมืองเมาะตะมะ ยิงปื น ใหญ่ 15 นัด ในเมืองย่างกุง้ ยิงปื นใหญ่ 15 นัด” นอกจากหน้าที่สาํ คัญทางชายแดน ดังกล่าวแล้ว เมืองอุไทยธานียงั ส่ งกระวานจํานวน 2 หาบ เป็ นประจําทุกปี ซึ่ งเก็บที่ป่าคอกควาย ป่ าระบํา ป่ าอุมรุ ต ป่ ากลมซึ่ งมีใบบอก ว่า “ด้วยถึง ณ วัน เดือนเก้า เดือนสิ บ เป็ นเทศกาลผลกระวานลูกแก่ขุนหมื่นและ ไพร่ กองอัฏมาต เคยเก็บผลกระวาน ทูลเกล้าฯ ถวายปี ละ 2 หาบ ข้าพเจ้ากรมการ ได้จดั แจงเร่ งรัดขุนหมื่น กองอัฏมาต ออกไปเก็บผล กระวานในตําบลป่ าหน้าด่าน เมืองอุไทยธานี ได้ผลกระวานหนักสองหาบครบจํานวน……” และจะ มีใบบอกส่ งกระวานส่ วย เป็ นประจําทุ กปี บางครั้งก็ให้เป็ นเงิ นแทนผลกระวานที่ ยงั ค้างอยู่ พ.ศ. 2383 ได้ส่งครกสําหรับตําดินปื นไปยังกรุ งเทพฯ มีความปรากฏในใบบอกว่า……… “…..ด้วยมีตราพระราชสี หะ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมขึ้นไปถึ งข้าราชการกรมการว่าให้ เกณฑ์ค รกไม้หว้า ประดู่ ไม้ย าง จ่า ยครั วแขกและตํา ดิ นสําหรั บ ราชการสี่ สิ บ ใบนั้น ข้า ราชการ กรมการได้ทราบในท้องตราพระราชสิ หะ ซึ่ งโปรดขึ้นไป ทุกประการแล้ว ข้าราชกรมการตัดได้ครก ไม้ยางสิ บสองใบ ไม้หว้าแปด ไม้ใหญ่แปดกําสู งศอกคืบ ได้ขนาดอย่างตามท้องตราเกณฑ์น้ นั แล้ว โดยแต่งให้นายเมืองคุมครกมาส่ งด้วยแล้ว…..” พ.ศ. 2386 มีร่างสารตรา แจ้งว่าเมืองอุไทยธานี ได้ ส่ ง มาดเรื อยาว 9 วา กํา ลัง 5 ศอกเศษลงไปยังกรุ งเทพฯ ต่ อมา ณ 5 ฯ 4 คํ่า ปี เถาะ ได้มีส ารตรา โปรดเกล้า ฯ ให้หลวงสั ดดี เป็ นพระศรี สุ นทรปลัดเมื องอุ ไ ทยธานี ครั้ ง เมื่ อมี ก ารซ่ อมแซม และ ปั กหลักสายโซ่ที่เมืองนครเขื่อนขันฑ์ และเมืองสมุทรปราการได้เกณฑ์ ให้เมืองอุไทยธานี ส่งไม้ยาง ยังค้างอยู่ ยางใหญ่ 5 กํา จํานวน 30 ต้นไปกรุ งเทพในเดือน 9 ข้างแรม ปี เถาะ ในปี พ.ศ. 2386 ขุนจ่าสัจ ขุนทิพย์ไพรี มีชื่อกองอาฎมาต ขุนเพชรนารายณ์ไพรี มีชื่อด่านพล ขุนอิน ขุนวิชิต ไพรี มีชื่อด่านหลวงสรวิชิต ได้ออกไปสื บราชการ ณ เมืองเมาะตําเลิ มเมื่อวัน 4 ขึ้น


20

11 คํ่า ปี ขาลจัตวาศกนั้น ปรากฏในคําให้การ ว่า ในระหว่างทางขุนอิน ขุนวิชิตป่ วยไปไม่ได้ ครั้น เมื่อถึงบ้านกางโกะเกะ ขุนเพชรนารายณ์ ได้ป่วยเป็ นไข้ จึงให้อยูร่ ักษาตัวโดยมีมะผิม มะมีบ่าวดูแล ครั้นขุนจ่าสัจ ขุนทิพย์ กลับจากสื บราชการแล้ว ได้ถามกางโกะเกะ และทราบว่าขุนเพชรนารายณ์ หายป่ วยกลับไปแล้ว เมื่อถึ งเมืองอุไทยธานี ไม่เห็ นขุนเพชรนารายณ์ และทราบว่าคนทั้งหมดอยู่ที่ บ้านระแหง กับมะเกาะ น้องมะมี พระยาอุไทยธานีจึงให้ขนุ จ่าสัจ ขุนพิทกั ษ์ กับไพร่ 5 คนไปตามตัว เดินทางไปถึงบ้านระแหงเมื่อวันที่ 1 ขึ้น 3 คํ่า ปี เถาะ เบญจศก จึงทราบข่าวจากมะเกาะว่า ขุนเพชร นารายณ์ ตายเสี ย แล้วที่ บ ้านกางชมภู ส่ วนมะมี มะผิน มะกลิ่ น บ่า วทํา มาหากิ นที่ น่ัน และได้ข อ ติดตามบ่าวจนถึงบ้านมะฝาง บ้านกระเหรี่ ยง ต่อมาได้มีปัญหาเกี่ ยวกับเขตแดนที่เกี่ยวกับเมืองเมาะตําเลิม เมืองมะริ ด เนื่ องจากอังกฤษมี อํานาจในประเทศพม่า มีจดหมายเหตุสําคัญหลายฉบับว่า “เขตแดนเมืองอุไทยธานี ตั้งแต่เขาใหญ่ ปลายคลองแม่เมยมาตามลําคลองแม่ทรางออกลํานํ้าตองโป๊ ะตะวันออก มาจดลํานํ้าตีโล ต่อกับด่าน เมืองศรี สวัสดิ์ ในระหว่างมีคลองแม่ทราง แม่กรอม แม่นางดัด แม่สะเริ ง แม่กริ ว แม่อาํ จาม ปลาย คลองออก แต่เข้าต้นคลองไปออกแม่น้ าํ ตองโป๊ ะฝั่งตะวันออก เป็ นแดนเมืองอุไทยธานี แม่น้ าํ ตอง โป๊ ะฝั่งตะวันตกเป็ นแดนอังกฤษ” ต่อมา พ.ศ. 2388 มีสารตราว่า “หนังสื อเจ้าพระยาจักรี มาถึ งพระยาอุไทยธานี ด้วยทรงพระกรุ ณาตรัสเหนื อเกล้าฯ สั่งว่า พระยาขานุจกั ร์ ออกไปสื บราชการทางเมืองเมาะตําเลิมกลับเข้ามา ณ กรุ งเทพ อังกฤษ เจ้าเมืองเมาะ ตําเลิม มีหนังสื อให้พระยาขานุจกั ร์ ถือเข้ามาถึงเสนาบดีผใู ้ หญ่ ณ กรุ งเทพฯ ว่าเขตแดนเมืองเมาะตําเลิม กับเขตแดนเมืองอุไทยธานี เมืองตากบ้านระแหง จะต่อกันเพียงใด จะขอแบ่งปั นให้เป็ นแน่นอน อย่าให้ววิ าทกันด้วยเขตแดนต่อไปนั้น เขตแดนเมืองอุไทยธานี จะต่อกันกับเขตแดนเมืองเมาะตําเลิม ที่ตาํ บลใด สมเด็จพุทธเจ้าอยูห่ วั จะใคร่ ทรงทราบ บัดนี้ ให้หมื่นพลันเมืองบน ข้าหลวงมหาดไทย ถือ ตราขึ้นมาให้พระยาอุไทยธานี กรมการจัดหลวงขุนหมื่นกรมการ ชาวด่านที่สันทัดทาง และรู ้ จกั ที่ ตําบลเขตแดนเมืองอุไทยธานี กับเมืองเมาะตําเลิมกันต่อที่แห่ ง ที่ตาํ บลใด เป็ นแน่ให้ได้สัก 2-3 คน ให้พระยาอุไทยธานีพาเอาตัวหลวงขุนหมื่น กรมการ ชาวด่านรี บลงไป ณ กรุ งเทพฯ โดยเร็ วถ้าขุนจ่า สัจกลับมาเมืองอุไทยธานีแล้ว ก็ให้เอาตัวขุนจ่าสัจลงไปด้วย จะได้ไล่เลียงไถ่ถาม ด้วยเขตแดนเมือง อุไทยธานีกบั เมืองเมาะตําเลิมให้ได้ความเป็ นแน่ หนังสื อมา ณ วัน 13 เดือน 6 ปี มะเส็ง สัพศก…” ครั้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 6 คํ่า เดือน 9 พ.ศ. 2388 เจ้าพระยาโกษาธิ บดี สมุหกลาโหม กับพระ ยาราชสุ ภาวดี ได้จดั แจงที่เขตแดนหัวเมือง ของกรุ งเทพฯ ที่ติดต่อกับเขตแดนหัวเมืองอังกฤษทางทิศ ตะวันตก พร้อมกับสอบถามพระยาอุไทยธานี พระสุ นทร ปลัดผูเ้ ป็ นพระยาตาก และพระปลัดเมือง


21

ตากเกี่ยวกับเขตแดนเมืองอุไทยธานี เมืองตากเมื่อได้ความแล้วก็ได้ทาํ แผนที่เขตแดนที่แน่นอน และ ในสารตรา เรี ยบเรี ยงเป็ นความปั จจุบนั ดังนี้ “สารตรา ท่านเจ้าพระยาจักรี ให้มาแก่ พระปลัด กรมการเมืองอุไทยธานี ดว้ ยพระกรุ ณาตรัส เหนื อเกล้าฯ สั่งว่า ณ วัน 8 แรม 12 คํ่า ปี มะเส็ ง สัพศก กะปิ ตันแหนริ ยมาเรี ยนดุรันอังกฤษเจ้าเมือง เมาะตําเลิม มีหนังสื อให้มะโกน ไทยรามัญ ถือไปยังเสนาบดี ณ กรุ งเทพฯ ฉบับหนึ่ งว่า เมืองอังวะมี หนังสื อมาถึง กะปิ ตันแหนริ ยมาเรี ยนดุรัน เจ้าเมืองเมาะตําเลิมว่า เมืองเชี ยงใหม่ไปรุ กที่เขตแดนของ พม่าๆ หาได้ทาํ สิ่ งใดที่ไปรุ กเขตแดนไม่ เพราะอังกฤษทําหนังสื อสัญญาไว้แต่ก่อนว่า พม่าเป็ นไมตรี กับอังกฤษๆ เป็ นมหามิตรกับกรุ งเทพฯ พม่าก็ตอ้ งเป็ นใจความดังนี้ ฉบับหนึ่ งว่าขุนนางอังกฤษจะ ขึ้ นมาดู เขตแดนฝ่ ายเหนื อกะปิ ตันแหนริ ยมาเรี ย นดุ รัน จะใคร่ พบขุนนางฝ่ ายกรุ ง ที่ รู้เขตแดนแน่ พูดจาเด็ดขาดได้ ไปที่ปลายเขตแดนพร้อมกันในเดือนยันณุ วา่ เร-(มกราคม) หน้า คิดเป็ นเดือนยี่ขา้ ง ไทยจะได้ว่ากล่าวด้วยที่เขตแดนชี้ แจงกันให้เด็ดขาด หนังสื อซึ่ งมะโกนไทย ถื อเข้ามาเมื่อเดื อน 9 สองฉบับ และเมื่อ ณ เดือน 6 ปี มะเส็ง สัพศก พระยาขานุจกั ร์ ซึ่ งออกไปสื บราชการกลับเข้ามา กะปิ ตันแหนริ ยมาเรี ยนดุรัน มีหนังสื อมอบให้ พระยาขานุ จกั ร์ ถือเข้ามาเป็ นภาษาอังกฤษ 5 ฉบับ อักษร รามัญ 7 ฉบับ ว่าด้วย กะปิ ตันริ ยมาเรี ยนดุรัน รับไปดูที่เขตแดนเมืองกระกับเมืองมะริ ดต่อกัน กับว่า ด้วยพระสุ นทร ปลัดเมืองตาก มีหนังสื อให้พระสุ ทตั ธานีถือไปตามลู กหนี้ ซึ่ งหนี ไป ณ เมืองเมาะตํา เลิมพระสุ ทตั ธานี ไปทําล่วงเกิน ในบ้านเมืองอังกฤษและหนังสื อซึ่ งอังกฤษให้พระยาขานุ จกั ร์ มะ โกนไทย ถือเข้ามานั้นโปรดเกล้าฯ ให้เสนาบดี มีหนังสื อตอบให้มะโกนไทย ถือกลับออกไปแต่ วัน เดื อนสิ บ ขึ้น 4 คํ่าแล้ว ซึ่ งอังกฤษกําหนดมาว่าเดือนยี่จะขึ้นไปดูที่เขตแดนฝ่ ายเหนื อ ขอให้ขุนนาง ไทยที่เป็ นผูใ้ หญ่พูดจาเด็ดขาดได้ไปให้พร้ อมกัน จะได้ว่ากล่าวด้วยที่เขตแดนชี้ แจงกันให้เด็ดขาด นั้น เขตแดนเมืองตากกรมการ เป็ นผูน้ อ้ ยแต่ลาํ พัง เจ้าเมืองกรมการ จะพูดจากับอังกฤษ ความจะไม่ เด็ดขาด โปรดเกล้าฯ ให้พระยากําแพงเพ็ชรเป็ นข้าหลวงผูใ้ หญ่ ไปคอยพูดจากับอังกฤษได้มีตราขึ้น ไปถึงพระยากําแพงเพ็ชร พระยาตาก กรมการ ความแจ้งอยูแ่ ล้ว แต่เขตแดนเมืองอุไทยธานี ที่ติดต่อ กับแดนอังกฤษนั้น โปรดเกล้าฯ ว่า พระยาอุไทย-ธานีก็เป็ นเจ้าเมืองผูใ้ หญ่ ได้ทาํ แผนที่ก่อนที่จะแจ้ง พอจะพูดจากับอังกฤษได้ โปรดเกล้าฯ ให้พระยาอุไทยธานี พระปลัด หลวงยกกระบัตร กรมการคอย รับรองพูดจากับอังกฤษ ให้ถูกต้องตามทํานองและแผนที่ เขตแดนซึ่ งชาวด่านบอกตําบลให้ทาํ นั้น เขตแดนข้างฝ่ ายเหนื อ ด่านเมืองอุไทยธานี ได้รักษาต่อกับเมืองตาก ตั้งแต่เขาใหญ่ปลายคลองแม่น้ าํ ตองเมย มาตามคลองแม่ทรางออกลําคลองแม่น้ าํ ตองโป๊ ะ ฝั่ งตะวันออกเป็ นเขตมาจนลํานํ้าตีโลต่อ กับด่านเมืองศรี สวัสดิ์ ในระวางมีคลองแม่ทราง แม่กรวม แม่นางดัด แม่สะเลิ ง คลองแม่กริ ว แม่อาํ


22

จาม ปลายคลองออกแต่เขา ต้นคลองไปออก แม่น้ าํ ตองโป๊ ะฝั่ งตะวันออก ในป่ าอันนี้ ผูค้ นได้ไป เที่ยวเก็บผึ้งอยู่ทุกปี พระยาอุไทยธานี ลงไปเฝ้ าทูลละออง ได้พาหลวงขุนหมื่นชาวด่านลงไปชี้ แจง ให้ทาํ แผนที่เขตแดนต่อกันกับแดนอังกฤษ ตั้งแต่ทิศเหนื อ เป็ นลําดับต่อๆ กันลงไปทุกเมือง จนสุ ด เขตแดนเมืองกระ พระยาอุไทยธานี ได้ทาํ แผนที่รู้ความถ้วนถี่แล้ว ถ้าอังกฤษจะมาพูดจากับพระยาอุ ไทยธานี พระปลัด กรมการ จะเอาที่เขตแดนให้ล้ าํ เกิ นเข้ามา ที่แห่ งใด ตําบลใด ก็ให้ตอบว่าที่เขต แดนแต่เดิมมาอยูแ่ ต่เพียงนั้น จะมาเอาถึงที่ตาํ บลนั้น เป็ นแดนเมืองอุไทยธานี ลํ้าเกินเข้ามานักยอมให้ ไม่ได้ ถ้าเขาว่าจะเอาแต่เพียงแม่น้ าํ ตองโป๊ ะข้างตะวันตก ก็ให้ว่าชอบแล้ว เขตแดนแต่ก่อนมา ก็อยู่ แต่เพียงนี้ อังกฤษมาดูแลว่ากล่าวเป็ นสัตย์ เป็ นธรรมสมควรหนักหนาความอันนี้ จะบอกลงไปยัง ท่านอัครมหาเสนาบดี ให้ทราบ ถ้าเขาดูเขตแดนเมืองอุไทยธานี แล้ว ก็ให้ถามเขาว่าจะไปดูเขตแดน เมืองไหน ที่แห่ งใด ตําบลใดอีกบ้าง จะไปเมืองใด จะได้มีหนังสื อไปให้เจ้าเมืองกรมการผูใ้ หญ่ๆ ออกมาคอยพูดจาชี้ แจงที่ เขตแดนให้ ถ้าอังกฤษจะไปที่เขตแดนที่ เมื องตากก็ให้พระยาอุ ไทยธานี พระ-ปลัดกรมการมีหนังสื อแต่งตั้ง คนถือไปแจ้งความกับพระยากําแพงเพ็ชร ณ เมืองตาก ถ้าอังกฤษ ว่าจะไปดูเขตแดนข้างเมืองกาญจนบุรี เมืองศรี สวัสดิ์ ก็ให้มีหนังสื อลงมาถึ งเจ้าเมืองกรมการเมือง กาญจนบุรี เมืองศรี สวัสดิ์ ให้รู้ความ จะได้ออกไปพูดจากับอังกฤษด้วยที่เขตแดนทันกําหนด และ การซึ่ งจะพูดจากับอังกฤษนั้น ให้พระยาอุไทยธานี พระปลัดกรมการ พูดจาให้นิ่มนวล เรี ยบร้ อย อย่า ให้พูด ให้แข็ ง แรง การหาสํา เร็ จด้วยพูด จาแข็ง แรงไม่ จึ ง โปรดเกล้า ฯ ให้ค ัดสํา เนาหนังสื อ เสนาบดี มีตอบไปถึงอังกฤษ 3 ฉบับ กับแผนที่เขตแดนเมืองอุไทยธานี มอบให้พระยาอุไทยธานี เอา ขึ้นมาด้วย จะได้พิเคราะห์ดูให้ถว้ นถี่ จะได้รู้ราชการพูดจากับอังกฤษถูกต้อง ไม่ผิดกับความในท้อง ตราและหนังสื อเสนาบดี ซึ่ งมีตอบไปถึงอังกฤษจึงทุกประการ ถ้าพระยาอุไทยธานี ได้พูดจากับ อังกฤษคอยที่เขตแดนความตกลงแล้วกันแลประการใดให้บอกลงไปให้แจ้งหนังสื อมา ณ วันจันทร์ แรม 7 คํ่า เดือน 10 ปี มะเส็ง นักสัต สัพศก” หลังจากที่พระยาอุไทยธานี ได้รับทราบตามสารตราข้างต้นแล้ว ก็มีใบบอก เมื่อวันอาทิตย์ แรม 7 คํ่า เดือน 2 ปี มะเส็งมีความสําคัญตอนหนึ่งว่า “ข้าพเจ้า พระยาอุไทยธานี พระปลัดกรมการ เกณฑ์กรมการหกคน, ขุนหมื่นสิ บหก, ไพร่ สี่ สิ บเอ็ดคน, เข้ากันหกสิ บสามคน, เกณฑ์ด่านพลหลวงพลหนึ่ ง, ขุนหมื่นสามคน, ไพร่ แปดคน, เข้า กันสิ บสองคนเกณฑ์ด่านสรวิชิต หลวงสรวิชิตหนึ่ง ไพร่ สิบห้าคนเข้ากันยี่สิบสองคน เกณฑ์การอาฏ มาต หลวงอินนายกองหนึ่ ง ขุนจ่าสัจปลัดกองหนึ่ ง ขุนหมื่นแปดคน ไพร่ สี่สิบคนเข้ากันห้าสิ บคน เข้ากันข้าพเจ้ากรมการด่านพลด่ านสรวิชิตด่านอาฏมาตนายไพร่ ร้อยสามสิ บเจ็ดคน ให้หลวงแพ่ง


23

หลวงจ่าเมืองกรมการอยูร่ ักษาเมืองแต่ขา้ พเจ้า พระยาอุไทยธานี พระปลัดหลวงกําแหง ผูว้ ่าที่หลวง ยกกระบัตรหลวงสุ นทรภักดี ขุนละคอน ขุนทิพรองนา ขุนรองสัสดีหมื่นรองแขวง กรมการกับนาย ด่านทั้งปวง กราบถวายบังคมลาขุนหมื่นและไพร่ โดยออกไปจากเมืองอุไทยธานี แต่ ณ วันอาทิตย์ เดือนอ้าย แรมแปดคํ่า ปี มะเส็ ง สัพศก ไปคอยอังกฤษอยูท่ ี่แม่กริ ว แม่อาํ จามแกร เมืองอุไทยธานี ฝาก แม่น้ าํ ตองโป๊ ะฝากตะวันออกด้วยแล้ว….” ในที่สุดพระยาอุไทยธานี และอังกฤษก็ได้พูดจากําหนด เขตแดนจนเป็ นที่เรี ยบร้อย ครั้นเมื่อวันจันทร์ แรม 15 คํ่า เดือน 2 ปี มะเส็ ง หลวงชมภู ชาวกระเหรี่ ยง อยูเ่ มืองตาก ได้ พาครอบครัวกระเหรี่ ยงมาตั้งบ้านเรื อนอยูท่ ี่ตาํ บลอุม้ ผาง ในแม่จนั แม่กลอง แขวงเมืองอุไทยธานี มี ชายฉกรรจ์ 15 คน ครอบครัวชาย หญิง 30 คน รวม 45 คน ด้วยพระยาตากถึงแก่กรรมไม่มีที่พ่ ึง พระ ยาราชสุ ภาวดีได้มีหนังสื อ ถึงพระยาอุไทยธานี และพระยาตาก ถึงความสมัครใจของหลวงชมภู ที่ จะขออยูเ่ มืองอุไทยธานี ต่อมาวันพฤหัสบดี ขึ้น 2 คํ่าเดือน 2 หลวงแพ่งเมืองอุไทยธานี ได้มีใบบอก ให้หมื่นชํานิ พาหลวงชมภู กระเหรี่ ยงลงมาขอบารมีที่พ่ ึงจาก พระยาอักษรสุ นทรเสมียนตรา วันพฤหัสบดี ขึ้น 1 คํ่า เดือน 12 พ.ศ. 2388 นายแจ้ง ผูว้ า่ ที่ขุนสุ พมาตราได้คุมเอาถาดหมาก คนโท เงิน เครื่ องยศ สําหรับที่หลวงยกกระบัตร ซึ่ งถึงแก่กรรมส่ งคืนเจ้าพนักงานพระคลังมหาสมบัติ ตาม ใบบอก ของพระยาพิไชยสุ นทร เมื่อวันอังคาร แรม 3 คํ่า เดือน 6 พ.ศ. 2389 แสนเชือกขุนหมื่นกรมช้าง ได้ถือตราสาร ของ เจ้าพระยาจักรี ข้ ึนมาติดตามช้างสําคัญที่หลบหนี เข้าป่ า ณ เมืองอุไทยธานี และขอมะจูกบั บุตรของมะ จู 2 คน จากพระยาอุไทยธานี ช่วยในการติดตามด้วย เมื่อราว พ.ศ. 2376 นั้น ข้าราชการชาวกรุ งเทพฯ ได้เป็ นพระยาอุไทยธานี เจ้าเมืองอุไทย ธานี ครั้นขึ้นไปถึ งเมืองอุไทยธานี ก็คิดว่า ถ้าบ้านเรื อนอยู่ที่สะแกกรัง จะหาเลี้ ยงชี พโดยชอบธรรม ได้ดีข้ ึ นและจะว่าราชการเมื องอุ ไทยธานี (ที่ เมื องอุ ทยั เก่า อําเภอหนองฉาง ) ก็ไปจากที่น้ นั ได้ไม่ ลําบากอันใด พระยาอุไทยธานีคนนี้เป็ นเพื่อนกันกับพระยาชัยนาท ในเวลานั้นจึงขอตั้งบ้านเรื อนบน ฝั่งแม่น้ าํ สะแกกรัง เพื่อจะค้าขายข้าวหาประโยชน์นบั ว่ากลัวความไข้ ไม่กล้าขึ้นไปว่าราชการที่เมือง อุไทยธานีเก่า สําหรับศาลาที่วา่ การเมืองอุไทยธานี ได้ใช้หลังบ้านพักของเจ้าเมืองอุไทยธานี ปลูก โรงไม้ยาวชั้นเดี ยว หลังคามุ งกระเบื้ องแบบไทย ส่ วนพวกกรมการเมื องอุ ไทยธานี นั้น ก็ได้ยา้ ย ตามมาตั้งบ้านเรื อนอยู่ที่บา้ นสะแกกรังตามเจ้าเมือง จนกระทัง่ พ.ศ. 2319 ได้เกิ ดปั ญหาเรื่ องเงิ น


24

อากรสมพัตสรตลาดเงินค่าเสนากร ซึ่ งไม่ชาํ ระกันเนื่ องจากเขตแดนเมืองอุไทยธานี กบั เมืองชัยนาท ไม่ถูกต้อง อันมีจดหมายเหตุ ดังนี้ “หนังสื อพระยามหาอํามาตย์ฯ มาถึงพระยาอุไทยธานี ด้วยหลวงปลัด หลวงอนุ รักษ์ภกั ดี กรมการเมืองชัยนาทบอกลงไปว่า บ้านสะแกกรังที่พระยาอุไทยธานีต้ งั อยูก่ บั ราษฎรตั้งเรื อนทํามาหา กิ นตามริ มฝั่ งนํ้าตะวันตก ตั้งแต่ปากกระบาดขึ้นไปจนบ้านท่าคล่อเหนื อบ้านสะแกกรัง สมพัสษร อากรตลาดหาได้ชาํ ระไม่ แต่บา้ นเนิ นตูม บ้านเนิ นกําแพง บ้านทุ่งแฝก เสนาอากรเรี ยกเป็ นแขวง เมืองไชย-นาทต่อๆ มา ครั้ง ณ ปี มะเส็ ง สัพศก นายโพ พวกหมื่นเทพอากรมาบอกพระยาไชยนาท กรมการว่า บ้านทุ่งแฝก บ้านเนิ นตูม บ้านเนิ นกําแพง พระยาอุไทยธานี วา่ เป็ นแขวงเมืองอุไทยธานี หาได้ชาํ ระเงินอากรไม่ พระยาไชยนาท กรมการว่าให้ทาํ เรื่ องราวมาจะบอกลงไป ณ กรุ งเทพฯ นาย โพหมื่นเทพอากรก็หาทําเรื่ องราวมายื่นไม่ อยู่ ณ ปี มะแม นพศก พวกหมื่นเทพอากรมาว่า หลวง ปลัด กรมการ แต่งกรมการพาหมื่นเทพอากรไปว่ากล่าวกับพระยาอุไทยธานี ๆ ว่า บ้านทุ่งแฝกเป็ น แขวงเมืองไชยนาทแต่บา้ นเนิ นตูม บ้านเนิ นกําแพง บ้านหนองเต่า เป็ นที่เมืองอุ ไทยธานี พระยาอุ ไทยธานีได้ทาํ แผนที่ลงไปทูลเกล้าฯ ถวายแล้วครั้นสื บเถาแก่ผใู ้ หญ่ก็วา่ บ้านเนินตูม บ้านเนิ นกําแพง บ้านหนองเต่าเป็ นแขวงเมืองไชยนาทหลายคนนั้น ความทั้งนี้จะเท็จจริ งประการใดไม่แจ้ง และแขวง ไชยนาทเขตแดนกว้างขวางเกี่ยวคาบมาจนถึงเมืองอุไทยธานี พระอุไทยธานี วา่ ไม่ทาํ แผนที่บา้ นเนิ น ตูม บ้านเนิ นกําแพง บ้านหนองเต่า เป็ นที่เมืองอุไทยธานี ลงมาทูลเกล้าฯ ถวายกันเอาที่เขตแดนเมือง ไชยนาทมา ทั้งนี้ ชอบอยูแ่ ล้วหรื อ กรมการและราษฏรเมืองไชยนาทที่เป็ นคนผูใ้ หญ่ กับที่กรุ งเทพฯ ก็รู้กนั อยู่ว่าบ้านเนิ นตูม บ้านเนิ นกําแพง บ้านหนองเต่า เป็ นเมืองไชยนาทแต่เดิม เมื่อพระยาอุไทย ธานี เป็ นที่ เ จ้า เมื องจะตั้ง บ้า นเรื อ นอยู่ ณ แขวงเมื อ งอุ ไ ทยธานี ว่า ที่ ไ ชยภู มิ ไ ม่ ที่ จึ ง ว่า กล่ า วกับ กรมการเมืองไชยนาทจะขออยู่ ณ บ้านสะแกกรัง ก็อยูต่ ่อๆ มา ครั้งนี้พระยาอุไทยธานี จะครอบงําเอา ที่บา้ นเนินตูม บ้านเนินกําแพง บ้านหนองเต่า เป็ นเมืองอุไทยธานี ปรารถนาจะได้ปลูกสร้างต้นผลไม้ และทําไร่ กนั ที่ จะตั้งอากรสมพัสษรไม่ให้นายอากรเรี ยกเอาด้วย ฝ่ ายเมืองไชยนาทไม่ยอม เป็ น ความวิวาทกันอยูไ่ ม่รู้แล้วเดี๋ยวนี้ พระยาไชยนาทกลับมาแต่ราชการทัพพระยาอุไทยธานี พระยาไชย นาท ก็เป็ นเจ้าเมืองผูใ้ หญ่เขตแดนเกี่ ยวข้องกันอยู่อย่างไรก็ให้นดั หมายดูแล พูดจาปรึ กษาหารื อกัน จะเป็ นที่ เขตแดนเมืองใด ก็ให้ว่ากันเสี ยให้เด็ดขาด ตกลงเป็ นที่เมืองไชยนาทฯ จะได้นาํ เรี ยนเงิ น อากรสมพัสษรต่อไป จะใช้แต่กรมการพูดจะไปมา การก็จะหาแล้วกันไม่ได้มีตรามาถึ งพระยาไชย นาท ความแจ้งอยู่แล้ว ถ้าชําระว่ากล่าวไม่ตกลงจะบอกขอข้าหลวงขึ้นมาสอบสวนดู หรื อจะแต่ง กรมการผูใ้ หญ่ท้ งั สองทางทําแผนที่เมืองไชยนาท เมืองอุไทยธานี ลงไปว่ากล่าว ณ กรุ งเทพฯ ได้ ก็


25

ให้เร่ งคุมแผนที่ลงไป จะได้ตดั สิ นให้เป็ นอันแล้วแก่กนั หนังสื อมา ณ วันเสาร์ แรม 14 คํ่า เดือน 8 ปี วอก สัมฤทธิ์ ศก” นอกจากนี้ ยงั มีหนังสื อไปถึ งพระยาไชยนาท ถึ งเรื่ องบ้านเรื อนอยู่ในแขวงเมืองอุไทยธานี หรื อเมื องไชยนาท และให้นัดหมายพูดจากันไม่เป็ นที่ ตกลง ในที่ สุ ดพระยามหาอํา มาตย์ จึ ง ให้ กรมการขึ้นมาสอบสวนเขตแดนเมืองอุ ไทยธานี และให้สอบเขตแดนเมื องไชยนาทกับเมืองอุไทย ธานี ที่ติดต่อกัน เพื่อสะดวกต่อการเก็บอากรสัมพัสษรตลาด และเงิ นค่าเสนาอากรด้วยเห็ นว่า (จาก “ประชุมนิพนธ์ พระนิพนธ์ ของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุ -ภาพ”) เจ้าเมืองอุไทยธานี ไม่ควร จะมาอยูใ่ นแขวงเมืองไชยนาท อีกทั้งเวลานั้นพวกเจ้าเมืองกรมการ อุไทยธานี ต้ งั บ้านเรื อนเป็ นหลัก แหล่งมัน่ คงเสี ยแล้ว จะไล่ไปก็จะเกิดเดือดร้อนจึงให้ตดั เขตบ้านสะแกกรังทางฝั่งคลองฟากใต้กว้าง 100 เส้น ตั้งแต่ทา้ ยบ้านสะแกกรั ง ไปจดแดนเมืองอุไทยเก่ า โอนที่น่ันจากเมืองไชยนาทเป็ นของ เมืองอุไทยธานี ฯ จึงตั้งอยู่ที่ปลายสุ ดเขตแดน ทางฝั่ งคลองสะแกกรังฟากเหนื อ ตรงบ้านเจ้าเมืองอุ ไทยธานี ข้ามไปก็เป็ นเขตแดนเมืองมโนรมย์ขา้ งใต้บา้ นลงมาสักคุง้ นํ้าหนึ่ งก็เป็ นแดนเมืองไชยนาท ครั้นเมื่อมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็ นแขวง เมืองอุไทยธานี เก่า จึงมีเพียง 4 แขวงหนองขุนชาติ แขวงหนองกระดี่ แขวงหนองหลวง และแขวงแม่ก ลอง ซึ่ งเรี ยกกันติ ดปากว่า “แม่ กลองหนอง หลวง” เพราะมีเขตแดนติดต่อกันส่ วนแขวงหนองขุนชาติน้ นั ต่อมาได้เปลี่ยนเป็ นแขวงอุทยั เก่า จังหวัดอุทยั ธานี ถึ งแม้จะมีความเป็ นอยู่ต่อเนื่ องมาจนถึ งรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั แล้ว ก็ยงั มีภูมิประเทศที่ค่อนข้างจะทุรกันดารปราศจากการคมนาคมใดๆ นอกจาก ทางเกวียนที่ตอ้ งบุกผ่านป่ า หรื ออาศัยเรื อขึ้นล่องติดต่อกับแม่น้ าํ เจ้าพระยาโดยอาศัยลํานํ้าสะแกกรัง ที่ไหลผ่านตัวเมือง ปากแม่น้ าํ สะแกกรังตั้งอยู่ตรง ต.คุ ม้ สําเภา อ. มโนรมย์ จ.ชัยนาทนั้น ที่ปากนํ้า เดิมนั้นหน้าฤดูแล้งราษฎร์ จะช่ วยกันทําคันดินใหญ่เป็ นเขื่อนกั้นนํ้า เพื่อกั้นไม่ให้น้ าํ ในแม่น้ าํ สะแก กรังแห้ง เรื อแพที่ จะผ่านเข้าออกต้องเข็นข้ามเขื่อนนี้ ซึ่ งเป็ นเขื่ อนดิ นทําเป็ นตัวทํานบกั้นนํ้าไว้ให้ ชาวเมืองได้อาศัยนํ้าอาบ กิ น และเพาะปลูก ตลอดจนการสัญจรไปมาในยามปกติด้วยภูมิประเทศ ของจังหวัดนี้ เป็ นที่ดอนแห้งแล้ง ในฤดูน้ าํ ลดลง แม่น้ าํ สะแกกรังจะแห้งขอด ซึ่ งเป็ นเหตุให้ลาํ บาก แก่การคมนาคมและการประกอบกสิ กรรมทัว่ ไปส่ วนใหญ่ชาวจังหวัดอุทยั ธานี มีอาชี พทํานาเป็ นลํ่า เป็ นสัน นับเป็ นเมืองประเภทอู่น้ าํ อู่ขา้ วที่สําคัญ ครั้นเมื่อมีการสร้ างเขื่อนเจ้าพระยาขึ้น เขื่อนที่ก้ นั ตรงปากนํ้าก็เลิกทําเพราะนํ้าในแม่น้ าํ สะแกกรังมีบริ บูรณ์อยูต่ ลอด ต่อมาได้มีการเลิกภาคที่ต้ งั ขึ้นเป็ นมณฑลในรัชกาลที่ 6 ใหม่ โดยรวมเป็ นมณฑลเดียว และ จัง หวัดอุ ทยั ธานี ซึ่ งเดิ ม นั้นขึ้ นกับ มณฑลนครสวรรค์ ได้เปลี่ ยนไปรวมขึ้ นอยู่ก ับ มณฑลอยุธ ยา


26

จังหวัดอุทยั ธานี ในสมัยใหม่ได้เปลี่ยนแปลงตามโครงร่ างของการบริ หารราชการที่ขยายวงกว้างขึ้น ยกเลิกชั้นข้าราชการและนําเอาระบบการกําหนดเงินเดือนตามตําแหน่งมาใช้แล้วเปลี่ยนแปลงใช้การ จัดชั้นข้าราชการควบคู่ไปกับการจัดชั้นตําแหน่งประกาศยกเลิ กมณฑลเสี ยในปี พ.ศ. 2476 และจัด ให้จงั หวัดเป็ นหน่วยการปกครองส่ วนภูมิภาคที่สาํ คัญที่สุด พร้อมกับให้มีเทศบาลเป็ นหน่วยราชการ บริ หารส่ วนท้องถิ่น ส่ วนผูว้ า่ ราชการจังหวัดนั้นให้เรี ยก “ข้าหลวงประจําจังหวัด” ที่มา : ประวัติมหาดไทยส่ วนภูมิภาคฯ สภาพทัว่ ไป จังหวัดอุ ทยั ธานี ตั้งอยู่ภาคเหนื อตอนล่ างบริ เวณลุ่ มนํ้าสะแกกรั ง ซึ่ ง ไหลลงสู่ แม่น้ าํ เจ้าพระยาที่ อําเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาถ ห่างจากกรุ งเทพมหานครไปทางทิศเหนื อตามถนนสายเอเชี ย ประมา 206 กิ โ ลเมตร แยกเข้า จัง หวัด อุ ท ัย ธานี ต ามทางหลวงแผ่น ดิ น หมายเลข 333 ที่ บ ้า นท่ า นํ้า อ้อ ย ประมาณ 16 กิโลเมตร ถึงจังหวัดอุทยั ธานีรวมระยะทาง 222 กิโลเมตร

ภาพ 4 แสดงลุ่มแม่น้ าํ สะแกกรัง


27

มีพ้ืนที่ รวม 6,730 ตารางกิ โลเมตร หรื อประมาณ 4,206,404 ไร่ เป็ นพื้นที่ ทางการเกษตร 1,861,347 ไร่ และพื้นที่ป่าทีมีสภาพเป็ นพื้นที่คุม้ ครอง ได้แก่ ป่ าสงวนแห่ งชาติ 9 แห่ ง วนอุทยาน 2 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 1แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง มีพ้นื ที่รวม 2,828,185 ไร่ อาณาเขตติดต่ อกับจังหวัดใกล้เคียง จังหวัดอุทยั ธานีต้ งั อยูใ่ นเขตภาคเหนือตอนล่าง มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอําเภอพยุหะคีรี อําเภอโกรกพระ และอําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ ทิศใต้ ติดต่อกับอําเภอวัดสิ งห์และอําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท อําเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุ พรรณบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์และอําเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท โดยมีแม่น้ าํ เจ้าพระยาเป็ นเส้นแบ่งเขตแดน ทิศตะวันตก ติดต่อกับอําเภออุม้ ผาง จังหวัดตาก อําเภอสังขละบุรี และอําเภอศรี สวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี การปกครอง จังหวัดอุทยั ธานีแบ่งเขตการปกครองเป็ น 8 อําเภอ แต่ละอําเภอมีระยะทางห่างจากจังหวัด ดังนี้ ระยะทางจากอาเภอเมืองไปอาเภอต่ าง ๆ อําเภอหนองขาหย่าง 10 กิโลเมตร อําเภอทัพทัน 19 กิโลเมตร อําเภอหนองฉาง 22 กิโลเมตร อําเภอสว่างอารมณ์ 33 กิโลเมตร อําเภอห้วยคต 45 กิโลเมตร อําเภอลานสัก 57 กิโลเมตร อําเภอบ้านไร่ 80 กิโลเมตร


28

การเดินทาง สามารถเดินทางไปอุทยั ธานีได้หลายเส้นทาง ได้แก่ 1. จากทางหลวงหมายเลข 32 ผ่านอยุธยา อ่างทอง สิ งห์บุรี ชัยนาท และแยกเข้าทางหลวง หมายเลข 333 ตรงทางแยกท่านํ้าอ้อย บริ เวณหลักกิ โลเมตรที่ 206 ข้ามสะพานข้ามแม่น้ าํ เจ้าพระยา ระยะทางประมาณ 16 กิ โลเมตร ผ่านหน้ารงพยาบาลเลี้ยวซ้ายเข้าตลาดอุทยั ธานี รวมเป็ นระยะทาง ประมาณ 222 กิโลเมตร 2. เริ่ มต้นจากถนนทางหลวงหมาเลข 32 เมื่ อถึ งประมาณกิ โลเมตรที่ 30 เลี้ ยวซ้ายเข้าทาง หลวงหมายเลข 334 และจากนั้นเข้าทางหลวงหมายเลข 309 ไปตามเส้ นทางข้ามสะพานจังหวัด อ่างทอง จากนั้นตามถนนหมายเลข 311 ผ่านจังหวัดสิ งห์บุรี และผ่านจังหวัดชัยนาทที่อาํ เภอสรรพยา จากนั้น เลี้ ย วเข้า เส้ น ทางหมายเลข 3183 เข้า จัง หวัด อุ ท ัย ธานี รวมเป็ นระยะทางประมาณ 283 กิโลเมตร ส่ วนการเดินทางภายในจังหวัดมีท้ งั รถสองแถว และรถบัสประจําทางวิ่งตามเส้นทางต่าง ๆ เช่น อุทยั ธานี -หนองฉาง อุทยั ธานี -วัดสิ งห์ อุทยั ธานี -บ้านไร่ ลานสัก-สว่างอารมณ์ -ทัพทัน บ้านไร่ คลองแห้ง เป็ นต้น ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้ น ที่ โ ดยทั่ว ไป เป็ นป่ าและภู เ ขามี ค วามลาดเทจากทิ ศ ตะวัน ตก ลงมาทางทิ ศ ตะวันออก โดยทางทิศตะวันตกจะเป็ นเทือกเขาสลับซับซ้อน พื้นที่ดอนกลางเป็ นดอนสลับพื้นที่ราบ แบบลู ก คลื่ น ด้า นทิ ศ ตะวันออกของจัง หวัด พื้นที่ ส่ วนใหญ่ เป็ นพื้ นที่ ราบลุ่ ม จากลัก ษณะพื้ นที่ ดังกล่าวทําให้จงั หวัดอุทยั ธานี ประสบกับปั ญหาขาดแคลนนํ้าด้านทิศตะวันตก และหากปี ใดมีน้ าํ มาก หรื อนํ้าหลากจะเกิดนํ้าท่วมด้านทิศตะวันออกเป็ นประจํา ลักษณะภูมิอากาศ พื้นที่ ท ว่ั ไปเป็ นที่ ราบและลัก ษณะเป็ นดิ นปนทราย ทางทิ ศตะวันตกของจังหวัดในเขต อําเภอบ้านไร่ และกิ่งอําเภอลานสักเป็ นป่ าและภูเขาสลับซับซ้อน พื้นที่ลาดเทจากทิศตะวันตกมาทาง ทิศตะวันออก สภาวะอากาศทัว่ ไป จังหวัดอุ ทยั ธานี อยู่ภายใต้อิทธิ พลของลมมรสุ มซึ่ งพัดประจํา เป็ น ฤดูกาล 2 ชนิด คือพัดจากทิศ ตะวันออกเฉี ยงเหนือในฤดูหนาวเรี ยกว่าลมมรสุ มตะวันออกเฉี ยงเหนือ อิทธิ พลของลมนี้ทาํ ให้จงั หวัดอุทยั ธานีมี อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้งกับมรสุ มอีกชนิ ดหนึ่ งคือ ลม


29

มรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้ ซึ่ งพัดจากทิศตะวันตกเฉี ยง ใต้เป็ นส่ วนใหญ่ในฤดูฝน ทําให้อากาศชุ่ มชื้ น และมีฝนตกทัว่ ไป ฤดู ห นาว จะเริ่ ม ตั้ง แต่ ก ลางเดื อ น ตุ ล าคมถึ ง กลางเดื อ นกุ ม ภาพัน ธ์ ซึ่ งเป็ นฤดู ม รสุ ม ตะวันออกเฉี ยงเหนื อพัดผ่าน ทําให้มีอากาศหนาวเย็นทัว่ ไป โดยมี อากาศหนาวจัดระหว่างเดื อน ธันวาคมและมกราคม ฤดูร้อน จะเริ่ มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ระยะนี้ เป็ นช่วงว่างของ ฤดูมรสุ ม จะมีลมจากทิศใต้และทิ ศตะวันออกตกใต้พกั ปกคลุม ทํา ให้มีอากาศร้ อนอบอ้าวทัว่ ไป โดยเฉพาะในเดือนเมษายนเป็ นเดือนที่มีอากาศร้อนอบอ้าวมากที่สุดในรอบปี ฤดูฝน จะเริ่ มตั้งแต่กลางเดื อนพฤษภาคมถึ งกลางเดื อนตุลาคม ซึ่ งเป็ นฤดูมรสุ มตะวันตก เฉียงใต้พดั จากมหาสมุทรอินเดีย เป็ นลมร้อนและชื้นจึงทําให้มีฝนชุกทัว่ ไป ที่มา: ศูนย์ภูมิอากาศ สํานักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา มิถุนายน 2560 สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพหลัก ของชาวจังหวัดอุทยั ธานี คือ การเกษตร/ค้าขาย

ภาพ 5 แสดงอาชีพค้าขาย


30

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ป่ าไม้ มีสภาพเป็ นพื้นที่คุม้ ครอง ได้แก่ ป่ าสงวนแห่ งชาติ 9 แห่ ง วนอุทยาน 2 แห่ ง เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่า 1 แห่ ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ ง มีเนื้ อที่รวม 2,828,185 ไร่ โดยเฉพาะเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง มีพ้ืนที่ ครอบคลุ มเขตอําเภอลานสัก อําเภอห้วยคต และอําเภอบ้านไร่ จังหวัด อุทยั ธานี และอําเภออุ ม้ ผาง จังหวัดตาก มีเนื้ อที่ 1,737,591 ไร่ เป็ นพื้นที่ที่มีความโดนเด่นในด้าน ความหลากหลายของระบบนิ เวศสัตว์ป่า พบชนิ ดพันธ์สัตว์ป่าหายากและใกล้สูญพันธุ์ เช่น ช้างป่ า ควายป่ า วัวแดง กระทิง กวาง เสื อโคลง เสื อดาว นกยูง และนกเหงือกคอแดง เป็ นต้น มีสภาพป่ า เกือบทุกชนิ ด ทั้งป่ าเบญจพรรณ ป่ าเต็งรัง ป่ าดิบแล้ง ป่ าดิบเขา และป่ าดิบชื้ น จากความหลากหลาย และอุดมสมบูรณ์ ทางทรัพยากรทางธรรมชาติทาํ ให้ได้รับการคัดเลือกและประกาศเป็ นพื้นที่มรดก โลกทางธรรมชาติ จากองค์ ก ารศึ ก ษาทางวิ ท ยาศาสตร์ และวัฒ นธรรมแห่ ง สหประชาชาติ (UNESCO) ในการประชุม ณ ประเทศตูนีเซีย เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2534 แร่ ธาตุ มีเหมืองแร่ สัมปทานและเปิ ดทําการแล้ว 3 แห่ ง และมีรายได้จากค่าภาคหลวงแร่ ปี 2553 จํานวนเงิน 4,765,397 บาท แร่ ธาตุที่สําคัญ คือ หิ นอ่อน และหิ นปูน เพื่อเป็ นอุตสาหกรรมก่อสร้ าง (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2553) พืชเศรษฐกิจ พืชเศรษฐกิจที่สาํ คัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสําปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และสับปะรด การปศุสัตว์ /ประมง มีการเลี้ยงสัตว์ที่หลากชนิ ด เนื่ องจากสภาพพื้นที่ที่เหมาะสม ประกอบกับทางราชการเห็ น ความสํา คัญในการประกอบอาชี พเลี้ ย งสั ตว์ เช่ น โค กระบื อ ทํา ให้เกิ ดตลาดนัดโค กระบื อ ที่ มี ชื่อเสี ยง ที่หมู่ 1 ตําบลทัพทัน อําเภอทัพทัน นอกจากนี้ ยังมีการเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา โดยเฉพาะปลาแรด ที่เลี้ยงในกระชังแม่น้ าํ สะแกกรังที่มีชื่อเสี ยง และมีรสชาติอร่ อย รวมทั้งกุง้ ขาว และจระเข้ เป็ นต้น ภาคอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดอุทยั ธานี มี จาํ นวนทัง่ สิ้ น 257 แห่ ง ประเภท โรงงาน คือ โรงสี ขา้ ว โรงงานทํามันเส้น ซ่อมรถยนต์ กลึง เชื่อมโลหะ และผลิตภัณฑ์คอนกรี ต เป็ นต้น ปัญหาทีส่ าคัญของจังหวัด ปั ญหาการพัฒนาแหล่งนํ้าและการบริ หารจัดการทรัพยากรนํ้า


31

ปัจจัยทีท่ าให้ เกิดปัญหา 1) สภาพภูมิประเทศ ทิ ศตะวันตกเป็ นป่ าและภูเขา มี ความลาดเทสู่ ทิศตะวันออก พื้นที่ ตอนกลางเป็ นที่ ดอนสลับ เป็ นลู ก คลื่ น ทิ ศตะวันออกเป็ นที่ ราบลุ่ มที่ เกิ ดจากการทับ ถมของ ตะกอนที่มากลับนํ้าระดับพื้นที่มีความแตกต่างระหว่าง 100-1,900 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ทําให้พ้นื ที่มีความลาดเทมาก 2) ลักษณะดิน พื้นที่ดา้ นทิศตะวันตก เป็ นดินปนทรายหรื อกรวด ไม่สามารถดูดซับ นํ้าไว้ได้ ด้านทิ ศตะวันออกเป็ นดิ นร่ วนปนทรายชั้นบน และเป็ นดิ นเหนี ยวปนทรายชั้นล่ าง การ ระบายนํ้าได้ชา้ ความสามารถในการซึ มผ่านได้นอ้ ยและการไหลของนํ้าค่อนข้างเร็ ว 3) พื้ น ที่ พ ฒ ั นาและก่ อ สร้ า งแหล่ ง กัก เก็ บ นํ้า มี จ าํ กัด เนื่ อ งจากพื้ น ที่ บ ริ เ วณที่ มี ศักยภาพ ส่ วนใหญ่อยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สุตว์ป่าห้วยขาแข้ง ซึ่ งเป็ นมรดก ทางธรรมชาติของโลก ต้องระมัดระวังมิให้มีการดําเนิ นการขัดต่อ พ.ร.บ.อุทยานแห่ งชาติ พ.ศ.2504 ทําให้มีพ้ืนที่ เพาะปลู กที่ อยู่ในเขตชลประทานเพียงร้ อยละ 10 ที่เหลื อเป็ นพื้นที่เกษตรนํ้าฝน ต้อง พึ่งพานํ้าฝน และแหล่งนํ้าทางธรรมชาติ ที่ปัจจุบนั มีสภาพตื้ นเขินจากการทับถมของตะกอนและ ทราย สภาพปัญหา จากปั จจัยที่ทาํ ให้เกิดปั ญหาดังกล่าว ทําให้ในรอบปี หนึ่ ง จังหวัดจะต้องประสบกับ ปั ญหาพื้นที่น้ าํ ท่วมในฤดูฝน และปั ญหาภัยแล้งในฤดูแล้งต่อเนื่องกัน แนวทางแก้ไข 1) จัด ทํา ระบบข้อ มู ล และแผนที่ แ ม่ บ ทเพื่ อ พัฒ นาแหล่ ง นํ้า และบริ ห ารจัด การ ทรัพยากรนํ้า 2) เพิ่มพื้นที่กกั เก็บนํ้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง เป็ นการเพิ่มปริ มาณนํ้าต้นทุน เช่น การสร้าง ฝาย ขุดสระ ปรับปรุ งเขื่อน (เพื่อเพิ่มปริ มาณกักเก็บนํ้า) การก่อสร้าง ปรับปรุ งเพิ่มความจุแก้มลิง ขุด ลอกแม่น้ าํ แคว ลําห้วย คลอง และแหล่งนํ้าธรรมชาติ 3) ปรับปรุ งซ่อมแซมเขื่อนป้ องกันตลิ่ง และคันดินริ มตลิ่งป้ องกันนํ้าท่วม 4) ส่ งเสริ มบริ หารจัดการทรัพยากรนํ้าโดยชุมชนอย่างเป็ นระบบ


32

ปัญหาการประกอบอาชีพของประชาชน ปัญหา ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจําปี มูลค่า 20,727 ล้านบาท รายได้จากภาค เกษตรกรรม มู ลค่ า 7,493 ล้านบาท คิ ดเป็ นร้ อยละ 36.15 (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มิ ถุนายน 2553) ประชาชนร้อยละ 58.33 ของผูม้ ีงานทําทั้งหมด อยูใ่ นภาคเกษตรกรรม และเกษตรกรร้อยละ 90 ทํา การเกษตรนํ้าฝน เพราะระบบชลประทานไม่ครอบคลุมพื้นที่เพาะปลูก เนื่ องจากมีเพียงร้อยละ 10 ของพื้นที่ ส่ งผลให้ปริ มาณผลผลิ ตขึ้ นอยู่กบั ปริ มาณนํ้าฝน และมี รายได้ไม่คงที่ ประกอบกับ มี ภาวะนํ้าท่วม ภัยแล้ง และมีค่าใช้จ่าย-ต้นทุน ในการเพาะปลูกที่สูงขึ้น จากค่าปุ๋ ยและยาฆ่าแมลง นอกจากการภาคเกษตรแล้ว จากปั ญหาวิกฤติ ทางเศรษฐกิ จโลก ส่ งผลกระทบกับการประกอบ อาชีพของประชาชนทุกสาขาอาชีพ รวมถึงปัญหาจ้างงานโดยรอม แนวทางแก้ไข จากปั ญ หาดัง กล่ า ว ได้ก ํา หนดเป็ นแนวทางในการปฏิ บ ัติ ร าชการของจัง หวัด ที่ เน้นหนักใน 4 ด้าน ดําเนิ นการควบคู่ไปกับการแก้ไขปั ญหาและพัฒนาด้านอื่นๆ เพื่อเป็ นการแก้ไข ปั ญหาอย่างเป็ นระบบและยัง่ ยืน คือ - การน้อมนําแนวคิดของหลักปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียงไปสู่ การปฏิ บตั ิให้เกิ ดผล อย่างเป็ นรู ปธรรมโดยมีเป้ าหมาย คือ ลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ของประชาชน เพื่อให้ประชาชน สามารถพึ่งพาตนเองได้ และสามารถดํารงชีวติ ในท้องถิ่นของตนเองได้ตามอัตภาพอย่างพอเพียง - การพัฒนาแหล่งนํ้าเพื่อการเกษตร และการอุปโภค บริ โภคอย่างทัว่ ถึง


33

ส่ วนที่ 2 ตาบลสะแกกรัง อาเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี สภาพทัว่ ไปของตาบลสะแกกรัง แม่น้ าํ สะแกกรั งเป็ นลํานํ้าสําคัญที่ไหลผ่านตัวจังหวัดอุ ทยั ธานี มี เรื่ องเล่าต่อกันมาว่า ใน สมัยก่อนเมื่อพ่อค้าล่องเรื อผ่านมาจะรู ้ ได้ว่าถึ งบ้านสะแกกรังแล้ว ด้วยต้นสะแกจะออกดอกเล็ก ๆ ช่อยาวสี เขียวอมเหลือง ที่ห้อยลงมาริ มนํ้า โดยเฉพาะในเดือนยี่ถึงเดือนสามจะสังเกตได้ชดั เจน การ ล่องเรื อสัมผัสแม่น้ าํ สะแกกรัง ชมภาพชีวติ ของชาวแพ ซึ่ งได้สร้างบ้านคร่ อมไว้บนแพลูกบวบไม้ไผ่ และตลอดลํานํ้า เราจะได้เห็ นการปลูกพืชผักลอยนํ้า โดยเฉพาะเตยแพ และพุทธรักษาที่ชาวบ้าน ปลูกไว้อย่างมากมาย รวมไปถึงการเลี้ยงปลาในกระชังที่ทาํ กันทุกแพ และที่ถือว่าเป็ นความโดดเด่น ของแม่น้ าํ สายนี้ ได้แก่ ปลาแรดที่มีรสชาติดีกว่าแหล่งอื่น ๆ ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรจึง มีการทําประมงนํ้าจื ดจํานวนมาก และในบางฤดู จะมี กุง้ แม่น้ าํ ขนาดใหญ่ ให้กบั คนท้องถิ่ นได้ตก ขึ้นมาเป็ นอาชีพเสริ มมีรายได้ดี

ภาพ 6 แสดงตลาดเช้าที่ตลาดสะแกกรัง


34

ตลาดเช้าของอุทยั ธานี ถือได้วา่ เป็ นแหล่งจําหน่ายปลาสดที่น่าสนใจยิ่งนักและระหว่างการ ล่องเรื อสามารถขึ้นไปชมวิธีการทําปลารมควันที่มีคุณภาพสู งได้อีกด้วย นอกจากสภาพวิถีชีวิตที่ ยังคงความงามแล้ว สภาพธรรมชาติตลอดลํานํ้ามีทิวทัศน์สองฝั่งที่ทาํ ให้นกั ท่องเที่ยวรู ้สึกผ่อนคลาย ได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักดูนกที่สามารถดูนกได้ตลอดลํานํ้า ประกอบด้วยนกที่หากิ น ริ มนํ้าชนิ ดต่าง ๆ ทั้งนกกระเต็น นกยาง อีลุม้ นกอีโก้ง เหยี่ยวขาวไหล่เทา และอีกมากมายให้ได้สุข ใจ ช่ วงเวลาที่เหมาะสมในการล่องแม่น้ าํ สะแกกรังแนะนําให้เป็ นช่ วงเช้าตรู่ จะเห็นภาพชี วิตต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนใช้เวลาทั้งสิ้ นประมาณ 1-2 ชม. ลักษณะแพที่อยูอ่ าศัย ลักษณะการตั้งกลุ่มเรื อนแพ ในปั จจุบนั ปรากฏพบการจอดเรื อนแพ กระจัดกระจายทั้งสองฟากฝั่งลํานํ้าสะแกกรังโดยพบว่ามีการตั้ง กลุ่มอยูก่ นั หนาแน่น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1.กลุ่มทางทิศเหนือ (ชาวบ้านเรี ยกว่ากลุ่มบ้านนํ้าตก) 2.กลุ่มทางทิศใต้ (ชาวบ้านเรี ยกว่ากลุ่มบ้านใต้) 3.กลุ่มหน้าวัดอุโปสถาราม (ชาวบ้านเรี ยกว่ากลุ่มหน้าวัดโบสถ์) เรื อนแพ หมายถึง เรื อนที่สร้ างอยูใ่ นนํ้า อยูบ่ นแพทั้งหลัง โดยมีลกั ษณะและส่ วนประกอบ โดยทัว่ ไปเหมือนกับเรื อนไทยเดิ ม เพียงแต่การลอยอยู่ในนํ้าอาศัยแพ ที่เป็ นทุ่นลอยนํ้า เรื อนแพจึง แยกได้เป็ นสองส่ วน คือ ส่ วนตัวเรื อน และส่ วนแพที่เป็ นทุ่นลอยนํ้า แพเป็ นส่ วนสําคัญที่รับนํ้าหนัก ของเรื อน ส่ วนใหญ่จะใช้แพไม้ไผ่ ต่อมาใช้ถงั นํ้ามัน และวิวฒั นาการเป็ นเรื อเหล็กหนุ น ซึ่ งจะคงทน และรับนํ้าหนักได้มากกว่า แพไม้ไผ่แบบเดิ ม ซึ่ งเป็ นไม้ไผ่ที่มดั รวมกันเป็ นฟ่ อนๆ ถ้าเป็ นลูกบวบ ขนาดเล็ก ฟ่ อนหนึ่งจะมี 40-50 ลํา หากเป็ นลูกบวบขนาดใหญ่ จะมีประมาณ 60-100 ลํา ลูกบวบทํา หน้าที่เป็ นทุ่นให้แพ ลอยได้เหมือนเรื อโป๊ ะแต่ราคาถูกกว่ามาก ในขณะเดียวกันก็มีอายุการใช้งานไม่ ยาวนักเพราะจะถูกคลื่นกระแทกตลอดเวลา เมื่อมีเรื อแล่นผ่าน ส่ วนลักษณะและโครงสร้างของเรื อนแพคล้ายกับเรื อนไทย ฝามีหลายแบบ เป็ นฝากระแชง อ่อน หรื อฝาขัดแตะ ซึ่ งมีน้ าํ หนักเบาสามารถเปิ ดบานกระทุง้ ได้ ส่ วนด้านสกัดของเรื อนเรี ยกฝาถัง ใช้ไม้กระดานเป็ นแผ่นหน้ากว้างตั้งขึ้นเป็ นฝา แต่ทาํ เป็ นลิ้นเข้าไม้สนิทเสมือนเป็ นแผ่นเดียวกันแบบ จีน พบได้ในเรื อนแพส่ วนใหญ่ เพื่อป้ องกันไม่ให้ขโมยที่ อาจพายเรื อเข้ามาเทียบแพงัดฝาได้ง่าย หลังคาจะมุงจาก เนื่องจากนํ้าหนักเบา ทนต่อการสั่นไหวจากคลื่น ถ้าใช้กระเบื้องคงจะหนักและร่ วง หล่นได้ง่าย เรื อนแพทัว่ ไป มักนิ ยมทําเป็ นเรื อนแฝด แต่มีข นาดไม่เท่า กัน เรื อนใหญ่จะอยู่ด้านนอก เรื อนเล็กจะอยู่ด้านใน ริ มตลิ่ ง คนที่มีฐานะดี หน่ อยก็จะปลูกเป็ นเรื อนแฝดสามหลังเลยทีเดี ยว แต่


35

ต่อมาการสร้างเรื อนไทยแบบเรื อนไทยเดิมนั้นค่อยๆลดลง ตามความเปลี่ยนไปของระบบเศรษฐกิ จ การปลูกสร้างที่ อยู่อาศัย ก็ตอ้ งคะนึ งถึ งความรวดเร็ ว และความประหยัด จึ งมี เรื อนรู ปแบบอื่ นมา แทนที่ อีกทั้งในเมืองบางกอก ซึ่ งก็กลายเป็ นกรุ งเทพมหานครในปั จจุบนั ระบบการคมนาคมทางนํ้า ก็มีการพัฒนารู ปแบบไป มี การคิ ดค้นเรื อหางยาว ที่วิ่งเร็ ว เสี ยงดัง เป็ นศัตรู ตวั ฉกาจของเรื อนแพ เพราะผ่านมาคราวใด เรื อนแพก็มีอนั ต้องโยกคลอน ซัดเซไปตามแรงคลื่น ประชากรชาวแพทั้งหลาย ก็จาํ ใจอพยพหนี คลื่น เข้าสู่ คลองเล็กคลองน้อย พอนานๆเข้าก็เริ่ มหนี ข้ ึนฝั่ ง ยึดริ มตลิ่งนัน่ เองเป็ นที่ ปลูกสร้างกระท่อมริ มคลอง

ภาพ 7 แสดงเรื อนแพที่ลุ่มนํ้าสะแกกรัง แม่น้ าํ สะแกกรังถือเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม สองฟากฝั่งน่ ายลด้วยบรรยากาศวิธีเรื อน แพอันเป็ นเอกลักษณ์ สงบงาม มีวดั อุโปสถารามอันเก่าขลังทรงเสน่ ห์เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวสําคัญ อีกทั้งยังมีป่าไผ่ ต้นไม้ใบหญ้าเขียวขจี ให้ชมกันไปตลอด 2 ฝั่งนํ้า โดยเฉพาะช่วงปลายฝนต้นหนาว ก็จะมีดอกไม้ป่าที่ผลิบานมาให้ยลโฉมกันหลายชนิด ทั้งดอกบวบขม ดอกสร้อยไก่ ดอกหงอนไก่ กิ จกรรมท่องเที่ยวการล่องเรื อสัมผัสแม่น้ าํ สะแกกรังนั้น นักท่องเที่ยวที่มาเยือนจะได้ชม ภาพชี วิตของชาวแพ ซึ่ งได้สร้างบ้านคร่ อมไว้บนแพลูกบวบไม้ไผ่ และตลอดลํานํ้ายังจะได้เห็นการ ปลูกพืชผักลอยนํ้าที่สวยงาม โดยเฉพาะเตยแพ และพุทธรักษาที่ชาวบ้านปลูกไว้อย่างมากมาย รวม


36

ไปถึ งการเลี้ ยงปลาในกระชังที่ ทาํ กันทุกแพ และที่ ถือว่าเป็ นความโดดเด่นของแม่น้ าํ สายนี้ ได้แก่ ปลาแรดที่มีรสชาติดีกว่าแหล่งอื่น ๆ ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรจึงมีการทําประมงนํ้าจืด จํานวนมาก และในบางฤดูจะมีกุง้ แม่น้ าํ ขนาดใหญ่ ให้กบั คนท้องถิ่ นได้ตกขึ้นมาเป็ นอาชี พเสริ มมี รายได้ดี นอกจากนี้ แล้ว นักท่องเที่ยวยังจะได้ดูนกที่สามารถดูได้ตลอดลํานํ้า ประกอบด้วยนกที่หา กินริ มนํ้าชนิ ดต่างๆ ทั้งนกกระเต็น นกยาง อีลุม้ นกอีโก้ง เหยี่ยวขาวไหล่เทา และอีกมากมายให้ได้ สุ ขใจ ช่ วงเวลาที่ เหมาะสมในการล่องแม่น้ าํ สะแกกรัง แนะนําให้เป็ นช่ วงเช้าตรู่ จะเห็ นภาพชี วิต ต่างๆ ได้อย่างชัดเจนใช้เวลาทั้งสิ้ นประมาณ 1-2 ชม. และยังมี กิจกรรมมากมายที่ นักท่องเที่ ย ว สามารถเลือกทําได้ อาทิ ล่องเรื อรับประทานอาหาร สัมผัสธรรมชาติที่สดชื่ นของแม่น้ าํ สะแกกรัง พร้อมทั้งสัมผัสวิถีชีวิตชุ มชนเรื อนแพสองฝั่งลํานํ้า หรื อหากอยากใกล้ชิดให้มากกว่านี้ ก็ยงั มีโฮมส เตย์เรื อนแพไว้คอยบริ การ ให้ลองมาใช้ชีวติ แบบชาวเรื อนแพดูได้ ประวัติความเป็ นมา ลํานํ้าสะแกกรัง เส้นเลื อดสําคัญที่ หล่อเลี้ ยงชี วิตของคนอุทยั ธานี ในอดี ตเคยเป็ นเส้นทาง คมนาคมที่ สําคัญยิ่ง ทั้งเป็ นเส้นทางสัญจรของชาวบ้าน และเป็ นเส้นทางขนส่ งสิ นค้านานาชนิ ด รวมถึงเป็ นแหล่งทําการค้า ที่สําคัญอีกแห่ งหนึ่ งของภาคกลาง มีเรื่ องเล่าต่อๆ กันมาว่า ในสมัยก่อน เมื่อพ่อค้าล่องเรื อผ่านมา จะรู ้ได้วา่ มาถึงบ้านสะแกกรังแล้วก็เนื่ องจากจะสังเกตเห็นต้นสะแกที่อยู่ ริ มนํ้า โดยเฉพาะที่จะสังเกตได้ชดั เจนในช่วง เดือนยี่ถึงเดือนสาม (ประมาณปลายเดือนธันวาคม หรื อ ต้นมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์) ต้นสะแกจะออกดอก เล็ก ๆ เป็ นช่อยาวสี เขียวอมเหลืองห้อย ลงมาที่ริมนํ้า และเนื่ องจากมีตน้ สะแกขึ้นอยู่มาก จึงทําให้เป็ นที่มาของ ชื่ อแม่นาสะแกกรั ้ํ ง แต่ใน ปั จจุ บนั นี้ เหลื อต้นสะแกอยู่ไม่มากแล้ว ชี วิตชาวแพที่ อยู่อย่างเรี ยบง่าย และด้วยความที่ เคยเป็ น เส้นทางคมนาคมสําคัญ จึงทําให้เกิดชุมชนบนลํานํ้า ที่อาศัยอยูบ่ นเรื อนแพ โดยลักษณะของเรื อนแพ จะมีให้เห็นทั้งแบบเรื อนไม้ธรรมดาที่ไม่ได้ ตกแต่ง ประดับประดามากมาย และแบบที่ เป็ นเรื อนไทย ที่ มีท้ งั หน้าจัว่ แหลม ทรงมะลิ ลา ทรง ปั้ นหยา โดยที่หลังคาจะ มุงด้วยหญ้าแฝก และสร้ างคร่ อมบนแพลูกบวบไม้ไผ่ มีการทําพื้น ตั้งเสา ทําคาน คล้ายๆ กับบ้านที่อยู่บนบก เรื อนแพที่นี่มีเลขที่บา้ น และทะเบียนบ้า นรับรองการอยู่อาศัย ถูกต้องตามกฎหมาย ในสมัยก่อนมีบา้ นเรื อนแพ อยูเ่ ป็ นจํานวนมาก แต่ในทุกวันนี้ มีจาํ นวนลดลงไป ํ ่ มีการขึ้นลงอาจจะทําให้ลูกบวบใต้เรื อน ส่ วนหนึ่งก็เพราะยากต่อการดูแลรักษา เนื่ องจากระดับน้าที


37

แพเสี ยหายได้ และปั จจุบนั ทางการไม่อนุญาตให้มีการออกทะเบียน บ้านให้เรื อนแพที่สร้างใหม่แล้ว วัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมและประเพณี ของชุมชนชาวแพ

ภาพ 8 แสดงการสัญจรทางนํ้าของชาวลุ่มแม่น้ าํ สะแกกรัง ดินแดนบางส่ วนพบหลักฐานว่าเคยเป็ นที่อยู่อาศัยของมนุ ษย์ก่อน ประวัติศาสตร์ และเป็ น ที่ต้ งั ของเมืองโบราณหลายเมือง ได้แก่เมืองโบราณบึงคอกช้างในสมัยทวารวดี เมือง โบราณบ้านใต้ เมืองโบราณบ้านคูเมือง และ เมืองโบราณการุ ้ง ตามตํานานกล่าวว่าในสมัยสุ โขทัยท้าวมหาพรหมได้ เข้ามาสร้ างเมืองที่บา้ นอุทยั เก่า(อําเภอหนองฉาง) แล้วพาคนไทยมาอยู่ท่ามกลางหมู่บา้ นกะเหรี่ ยง และหมู่บา้ นมอญจึงเรี ยกว่า “เมืองอู่ไทย”ตามกลุ่มหรื อที่อยู่ ของคนไทย ต่อมาเกิ ดความแห้งแล้ง ํ ่ยนทางเมืองจึงถูกทิ้งร้าง ในสมัยอยุธยาชาวกะเหรี่ ยงชื่ อ “พะตะเบิด”เข้ามาปรับปรุ ง กระแสน้าเปลี ํ ใกล้เมืองและเป็ นผูป้ กครองเมืองอู่ไทยเก่าคน แรก ชื่อเมืองจึง เมืองอู่ไทยโดยขุดทะเลสาบขังน้าไว้ เรี ยกเพี้ยนเป็ น“เมืองอุไทย”ตามสําเนี ยงชาวกะเหรี่ ยงและมีฐานะเป็ นหัวเมืองหน้าด่านชั้นนอก สกัด กั้นกองทัพพม่าที่จะเข้ามาตีกรุ งศรี อยุธยา ต่อมาในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นมีการอพยพผูค้ น ํ มาตั้ง บ้านเรื อนที่ ริมฝั่ ง แม่น้าสะแกกรั ง มากขึ้ น และได้กลายเป็ นที่ ต้ งั ของตัวเมื องอุ ท ยั ธานี ใ น ปัจจุบนั


38

เมืองอุทยั ธานี มีหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ของกรมศิลปากรยืนยันไว้วา่ เป็ นที่อยูอ่ าศัย ของมนุ ษย์ก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ 3,000 ปี ) มาแล้ว โดยพบหลักฐานยืนยันในหลายพื้นที่ เช่น โครงกระดูก เครื่ องมือหินกะเทาะจากหินกรวด และภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เขาปลาร้า ตํานานเก่าเล่าว่า ในสมัยสุ โขทัยเจริ ญรุ่ งเรื องนั้น “ท้าวมหาพรหม” ได้เข้ามาสร้างเมืองที่ บ้านอุทยั เก่า คือ อําเภอหนองฉางในปั จจุบนั นี้ แล้วพาคนไทยเข้ามาอยูท่ ่ามกลางหมู่บา้ นคนมอญ และคนกะเหรี่ ยง จึงเรี ยกว่า “เมืองอู่ไทย” เรี ยกชื่ อตามกลุ่มหรื อที่อยู่ของคนไทย ซึ่ งพากันตั้ง บ้านเรื อนอยูอ่ ย่างหนาแน่น มีพืชพันธุ์และอาหาร ที่อุดมสมบูรณ์กว่าแห่ งอื่น ต่อมากระแสนํ้าเปลี่ยน ทางเดินและเกิดกันดารนํ้าเมืองอู่ไทยจึงถูกทิ้งร้าง จนมนที่สุด “พะตะเบิด” ได้เข้ามาปรับปรุ งเมืองอู่ ไทย โดยขุดที่เก็บกักนํ้าไว้ใกล้เมืองและพะตะเบิดได้เป็ นผูป้ กครองเมืองอู่ไทยเป็ นคนแรกในสมัย กรุ งศรี อยุธยา เมืองอู่ไทยได้เรี ยกกันต่อมาเป็ นเมือง “อุไทย” คาดว่าเพี้ยนไปตามสําเนี ยงชาวพื้นเมือง เดิม ได้มีฐานะเป็ นหัวเมืองด่านชั้นนอก มีพระพลสงครามเป็ นนายด่าแม่กลองและพระอิทรเดชเป็ น นายด่ า หนองหลวง (ปั จจุ บ นั แม่ กลอง คื อ อําเภออุ ้ม ผางและหนองหลวง คื อ ตํา บลหนองหลวง อําเภออุม้ ผาง จังหวัดตาก) คอยดูแลพม่าที่จะคอยยกทัพตามเส้นทางชายแดนด่านแม่ละเมาะ ต่อมา ในสมัย พระเอกาทศรถ(พ.ศ. 2148-2163) ได้โปรดบัญ ญัติ อาํ นาจการใช้ ต ราประจํา ตํา แหน่ ง มี บัญชาการตามหัวเมืองนั้น ได้กาํ หนดในกฎหมายเก่าลักษณะพระธรรมนูญว่า “เมืองอุไทยธานี เป็ น หัวเมื องแก่หมาดไทย” เมื องอุ ไทยธานี เป็ นเมืองที่อยู่บนที่ดอนและลึ กเข้าไป ไม่มีแม่น้ าํ สายใหญ่ และไม่สามารถติดต่อทางเรื อได้ ดังนั้นชาวเมืองอุไทยธานี จึงต้องขนข้าวบรรทุกเกวียนมาลงที่แม่น้ าํ จึงทําให้พอ่ ค้าพากันไปตั้งยุง้ ฉางรับซื้ อข้าวที่ริมแม่น้ าํ จึงเป็ นหมู่บา้ นใหญ่ เรี ยกหมู่บา้ น “สะแกกรัง” เนื่องจากเป็ นพื้นที่มีป่าสะแกขึ้นเต็มริ มนํ้าและมีตน้ สะแกใหญ่อยูก่ ลางหมู่บา้ น บ้านสะแกกรัง ชาวจีนเรี ยกเพี้ยนเป็ น “ซิ เกี้ยกั้ง” เป็ นตลาดซื้ อข้าวที่พ่อค้าคนจีนนิ ยมไปตั้ง บ้านเรื อนและยุง้ ฉาง ต่ อมาในระยะหลังได้มี เจ้านายและขุนนางมาตั้งบ้านเรื อนอยู่ เพราะความ สะดวกในการกักเกณฑ์ส่ิ งของส่ งเมืองหลวง ซึ่ งเป็ นจําพวกมูลค้างคาว ไม้ซุง กระวาน และช้างป่ า อีกทั้งยังมีช่องทางในการค้าขายอีกด้วย พ.ศ. 2376 ข้าราชการชาวกรุ งเทพฯ ผูซ้ ่ ึ งได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นพระยาอุไทยธานี เจ้าเมืองอุ ไทยธานีในสมัยนั้น ได้เห็นว่าบ้านสะแกกรังเป็ นตลาดใหญ่ มีผคู ้ นอพยพเข้ามาอยูก่ นั อย่างหนาแน่น อีกทั้งเป็ นสถานที่ที่ชาวอุไทยธานีติดต่อซื้ อขายข้าวและไม้ซุงกับพ่อค้าที่นน่ั กันมานานแล้ว จึงคิดตั้ง บ้านเรื อนเพื่อค้าขาย ประจวบกับเวลานั้นเจ้าเมืองไชยนาถเป็ นเพื่อนกันจึงขอตั้งบ้านเรื อนที่ริมแม่น้ าํ สะแกกรัง เนื่ องจากเป็ นผูต้ ิดต่อราชกรและมาค้าขายกันมาก ทั้งนี้ เนื่ องจากเจ้าเมืองไม่กล้าขึ้นไป


39

เมืองอุไทยธานี จึงตั้งอยูท่ ี่ปลายสุ ดเขตแดนมโนรมย์ ข้างใต้บา้ นลงมาสักคุง้ นํ้าหนึ่ งก็เป็ นแดนเมือง ไชยนาถ พ.ศ. 2441 เมืองอุไทยธานี ขึ้นกับมณฑลนครสวรรค์ ต่อมาในสมัยรัชการที่ 6 ได้เปลี่ยนเป็ น ขึ้นกับมณฑลอยุธยา สุ ดท้ายมีการประกาศเลิกมณฑล และกําหนดให้จงั หวัดเป็ นหน่วยการปกครอง ส่ วนภูมิภาค อุทยั ธานีเมืองพระชนกจักรี พระชนกจักรี มีพระนามเดิมว่า นายทองดี เป็ นบุตรคนโตของจมื่นมหาสนิ ท(ทองคํา) ต่อมา ได้เป็ นราชนิ กูล ปลัดทูลฉลองมหาดไทยในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หวั บรมโกษฐ กรุ งศรี อยุธยา สื บเชื้ อ สายมาจากเจ้า พระโกษาธิ บ ดี (ปาน) ถื อกํา เนิ ดที่ บา้ นอุ ไ ทยธานี หรื อจัง หวัดอุ ท ยั ธานี ในปั จจุ บ นั ภายหลังย้ายไปอยูก่ รุ งศรี อยุธยารับราชการจนได้ตาํ แหน่งเป็ นพระอักษรสุ ทรศาสตร์ เมียนตรากรม มหาดไทย มีหน้าที่ร่างพระราชสาสน์ตราและรักษาพระราชลัญจกร(ตราประจําพระเจ้าแผ่นดิน) พระอักษรสุ นทรศาสตร์ แต่งงานกับคุ ณดาวเรื องหลานสาวพระยาอภัยราชา สมุหนายก มี บุตรธิ ดา 5 คน คนแรกเป็ นหญิงชื่ อ สา คนรองเป็ นชายชื่ อ ราม คนที่สามเป็ นหญิงชื่ อ แก้ว คนที่สี่ และห้าเป็ นชายชื่ อ ทองด้วงและบุญมา ต่อมาพระยามหากษัตริ ยศ์ ึก(ทองด้วง) ได้ปราบตาภิเษกเป็ น ปฐมกษัตริ ยแ์ ห่ งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิ ราช รามาธิ บดี (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬ าโลกมหาราช) ได้นาํ บรรดาศักดิ์ สุดท้าย คือ บิดา คือ พระยา จักรี ศรี องครั กษ์ มาใช้เป็ นราชวงศ์จกั รี และได้สถาปนา พระอัฐิพระบิ ดาขึ้ นเป็ น “สมเด็จพระชน กาธิบดี” จังหวัดอุทยั ธานี ได้สร้ างพระอนุ สาวรี ยส์ มเด็จพระปฐมบรมชนกนาถบนยอดเขาแก้ว(เขา สะแกกรัง) บ้านสะแกกรัง ซึ่งเป็ นสถานที่เกิดไว้เป็ นอนุสรณ์ อุทยั ธานีในวันนี้ ยังคงเอกลักษณ์แห่งความเป็ นพุทธภูมิ ที่มีกลิ่นอายของวิถีชีวิตไทยชนบท ดั้งเดิ ม มี วิถีชีวิตที่ เรี ยบง่ายน่ าอยู่ น่ าสัมผัส มีแหล่งธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะเขตรั กษา พันธุ์ สั ตว์ป่ าห้วยขาแข้ง ที่ ไ ด้รับ การคัดเลื อกและประกาศขึ้ นทะเบี ย นเป็ นแหล่ ง มรดกโลกทาง ธรรมชาติ จากยูเนสโก เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2534


40

สภาพทางภูมิศาสตร์ ลุ่ มนํ้าสะแกกรั งตั้งอยู่ท างตอนกลางของประเทศไทย มี พ้ืนที่ ลุ่ มนํ้ารวมทั้งสิ้ น 4,906.53 ตร.กม. พื้นที่ส่วนใหญ่ครอบคลุม 3 จังหวัด ได้แก่ อุทยั ธานี นครสวรรค์ และกําแพงเพชร ลักษณะ ลุ่มนํ้าวางตัวตามแนวตะวันตก-ตะวันออก อยูร่ ะหว่างเส้นรุ ้ งที่ 14o 25′ เหนือ ถึงเส้นรุ ้งที่ 15o 08′ เหนือ และเส้นแวงที่ 99o 05′ ตะวันออกถึงเส้นแวงที่ 100o 05′ ตะวันออก ทิศเหนื อของลุ่มนํ้าติดกับ ลุ่มนํ้าปิ ง ทิศใต้ติดกับลุ่มนํ้าท่าจีน ทิศตะวันตกติดกับลุ่มนํ้าแม่กลอง และทิศตะวันออกติดกับลุ่มนํ้า เจ้าพระยาบริ เวณทิศตะวันตกของลุ่มนํ้าเป็ นเทือกเขาสู ง เป็ นเขตต้นนํ้าของลํานํ้าสาขาที่สําคัญหลาย สาย ได้แก่น้ าํ แม่วง คลองโพธิ์ และห้วยทับเสลา ต้นกําเนิ ดของลํานํ้าสะแกกรังคือเทือกเขาโมโกจู ซึ่ งเป็ นแนวแบ่งเขตระหว่างจังหวัดตากและจังหวัดนครสวรรค์ ต้นนํ้าของลํานํ้าสาขาทั้ง 3 สายนี้ จะมี ความลาดชันค่อนข้างมากและค่อยๆ ลาดเทลงจนไหลออกสู่ ทุ่งราบของลุ่มนํ้าเจ้าพระยาทางด้านทิศ ตะวันออกของลุ่มนํ้า ลํานํ้าสาขาซึ่ งเป็ นต้นกําเนิ ดของลํานํ้าสะแกกรัง ได้แก่ ห้วยแม่วง ไหลผ่านกิ่ง อําเภอแม่วงก์และอําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ มาบรรจบกับห้วยคลองโพธิ์ ซึ่ งไหลมาจาก เทือกเขาบริ เวณแนวแบ่งเขตระหว่างจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดอุทยั ธานี ที่อาํ เภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทยั ธานี กลายเป็ นแม่น้ าํ ตากแดด แล้วไหลลงมาบรรจบกับห้วยทับ เสลา ในเขตอําเภอทัพทัน จังหวัดอุทยั ธานี เข้าเขตอําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี ไหลเลาะเลี ยบผ่าน ภูเขาสะแกกรังจึงได้ชื่อว่าแม่น้ าํ สะแกกรัง ก่อนไหลลงสู่ แม่น้ าํ เจ้าพระยาทางตอนเหนื อของเขื่อน เจ้าพระยา สภาพพื้นที่ลกั ษณะทางภูมิประเทศโดยทัว่ ไป เป็ นทิ วเขาสู งสลับซับซ้อน มี 2 ใน 3 ของ พื้นที่ของจังหวัด เป็ นป่ าและภูเขาสู งมีลกั ษณะลาดเทจากทิศตะวันตกลงมาทางทิศตะวันออก พื้นที่ ราบทางการเกสรมีประมา 1 ใน 3 ของพื้นที่ท้ งั หมด เกิดจากการตกตะกอนของแม่น้ าํ เจ้าพระยาและ แม่น้ าํ สะแกกรั ง มี แม่น้ าํ สะแกกรั งไหลผ่านตัวเมื องไปบรรจบแม่น้ าํ เจ้าพระยา ที่อาํ เภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท แม่น้ าํ สะแกกรังเป็ นแม่น้ าํ สําคัญที่ไหลผ่านตัวจังหวัดอุทยั ธานี โดยแม่น้ าํ สะแกกรังมีตน้ กําเนิ ดอยูใ่ นเทือกเขาโมโจกูในเขตจังหวัดกําแพงเพชร ไหลไปบรรจบกับแม่น้ าํ เจ้าพระยาที่บา้ นท่า ซุ ง ตําบลท่าซุ ง อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี มีความยาวประมาณ 225 กิ โลเมตรแม่น้ าํ สะแกกรังถื อ เป็ นสายเลือดหลักของจังหวัดอุทยั ธานี เลยก็วา่ ได้ เรื่ องเล่าต่อมาว่าในสมัยก่อนพ่อค้าล่องเรื อผ่านมา จะรู ้ได้วา่ ถึงบ้านสะแกกรังแล้ว ด้วยต้นสะแกจะออกดอกเล็กสี เขียวอมเหลืองห้อยลงมาและจากนั้น เมื่อความอุดมสมบูรณ์ก็มีผคู ้ นมาอาศัยตั้งเรื อนแพริ มนํ้า เพื่ออยูอ่ าศัยและเลี้ยงชีพ


41

แม่น้ าํ สะแกกรัง มี หลายชื่ อตามท้องถิ่ นที่แม่น้ าํ ไหลผ่านคือคลองแม่เร่ - แม่วง คื อ ช่ วงที่ ไหลผ่านอําเภอคลองขลุ ง อําเภอขาณุ วรลักษบุ รี จังหวัดกําแพงเพชร และอําเภอลาดยาว จังหวัด นครสวรรค์ จนถึงเขาชนกัน แม่น้ าํ วังม้า คือ ช่ วงที่ไหลผ่านอําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ และอําเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทยั ธานี แม่น้ าํ ตากแดด คื อ ช่ วงไหลผ่านเขตอําเภอสว่างอารมณ์ อําเภอทัพทัน และอําเภอเมือง ฯ จนถึงปากคลองขุมทรัพย์ แม่น้ าํ สะแกกรัง คือ ช่วงตั้งแต่ปากคลองขุมทรัพย์ หรื อคลองอีเติ่ง ที่บา้ นจักษา อําเภอเมือง ฯ หรื อตรงปลายแม่น้ าํ ตากแดด ณ จุดที่แม่น้ าํ ตากแดดไหลมาบรรจบกับคลองขุมทรัพย์ ซึ่ งนํ้าจะเป็ น สองสี แล้วไหลผ่านตัวเมืองอุทยั ธานี แล้วไหลไปบรรจบแม่น้ าํ เจ้าพระยาที่อาํ เภอมโนรมย์ จังหวัด ชัยนาท มีความยาวจากต้นนํ้าถึงจุดที่บรรจบแม่น้ าํ เจ้าพระยาประมาณ 108 กิโลเมตร ลุ่มนํ้าสะแกกรังตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศไทย มีพ้ืนที่ลุ่มนํ้ารวมทั้งสิ้ น 4,906.53 ตร.กม. พื้นที่ส่วนใหญ่ครอบคลุม 3 จังหวัด ได้แก่ อุทยั ธานี นครสวรรค์ และกําแพงเพชร ลักษณะ ลุ่มนํ้าวางตัวตามแนวตะวันตก-ตะวันออก อยู่ระหว่างเส้นรุ ้ งที่ 14๐25' เหนื อ ถึ งเส้นรุ ้ งที่ 15๐08' เหนือ และเส้นแวงที่ 99๐05' ตะวันออกถึงเส้นแวงที่ 100๐05' ตะวันออก ทิศเหนื อของลุ่มนํ้าติดกับ ลุ่มนํ้าปิ ง ทิศใต้ติดกับลุ่มนํ้าท่าจีน ทิศตะวันตกติดกับลุ่มนํ้าแม่กลอง และทิศตะวันออกติดกับลุ่มนํ้า เจ้าพระยา วิถีชีวิตของผูค้ นที่นี่ยงั คงความดั้งเดิมอยูม่ าก บ้านเรื อนเก่าแก่มีให้เห็นทัว่ เมือง ที่นี่ไม่มี ตึกสู ง ไม่มีหา้ งสรรพสิ นค้า ไม่มีซุปเปอร์ เซนเตอร์ ขนาดใหญ่ ผูค้ นใช้ชีวติ กันอย่างเรี ยบง่าย สภาพภูมิอากาศ จากการรวบรวมข้อมูลภูมิอากาศที่สถานีต่างๆ ในเขตพื้นที่ลุ่มนํ้าสะแกกรัง ซึ่ งบันทึกไว้โดย กรมอุตุนิยมวิทยา ช่วงปี พ.ศ. 2523 - 2552 จํานวน 1 สถานีคือ สถานีจงั หวัดนครสวรรค์ ภูมิอากาศ ํ หลักของสถานีตรวจอากาศในลุ่มน้าสะแกกรั ง ได้ดงั นี้ - อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 28.2 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยสู งสุ ดในเดือนเมษายนวัดได้ 38.0 องศาเซลเซี ยส และอุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุ ดในเดือนธันวาคมวัดได้ 18.7 องศาเซลเซี ยส ช่ วงพิสัยของ ค่าเฉลี่ยรายเดือน 24.6-31.4 องศาเซลเซียส


42

- ความชื้ นสัมพัทธ์ โดยเฉลี่ ยตลอดปี จะอยู่ระหว่าง 71.9 เปอร์ เซ็ นต์ค่าความชื้ นสัมพัทธ์ ํ ดวัดได้ 37.0 เปอร์ เซ็ นต์ช่วงพิสัยของ สู งสุ ด วัดได้ 95.0 เปอร์ เซ็นต์และค่าความชื้ นสัมพัทธ์ต่าสุ ค่าเฉลี่ยรายเดือน 61.0-83.0 เปอร์ เซ็นต์ - ปริ มาณการระเหยโดยเฉลี่ยตลอดทั้งปี 1,877.0 มิลลิเมตร ช่วงพิสัยของค่าเฉลี่ยรายเดือน 117.0-225.0 มิลลิเมตร - ความครึ้ มของเมฆโดยเฉลี่ย 5.3 อ๊อกต้า (010 อ๊อกต้า) ช่วงพิสัยของค่าเฉลี่ยรายเดือน 2.0-8.0 อ๊อกต้า - ความเร็ วลมโดยเฉลี่ยมีค่าประมาณ 2.4 น๊อต ช่วงพิสัยของค่าเฉลี่ยรายเดือน 1.2-4.5 น๊อต ปริ มาณฝนเฉลี่ยรายปี 1,139.7 มิลลิเมตร ช่วงพิสัยของค่าเฉลี่ยรายเดือน 3.8-239.4 มิลลิเมตร สภาพทางสั งคม วิถีชีวติ ของคนไทยตั้งแต่ด้ งั เดิม ล้วนมีความสัมพันธ์กบั สายนํ้าอย่างลึกซึ้ ง ไม่วา่ จะเป็ นการ ดํา รงชี วิต การสั ญจรทางเรื อและการประกอบอาชี พ เช่ นเดี ย วกับ สมาชิ ก ชุ ม ชนชาวแพจัง หวัด อุทยั ธานี ที่ใช้ประโยชน์จากความอุ ดมสมบูรณ์ ของแม่น้ าํ สะแกกรั งในการประกอบอาชี พกันทุ ก ครัวเรื อน เรื อนแพบนสายนํ้าเส้นนี้ ต่างก็ยึดอาชี พปลูกเตยหอม และเลี้ ยงปลาในกระชังกันเป็ นส่ วน ใหญ่โดยเฉพาะปลาแรดดด ที่สร้างรายได้ และสร้างชื่อเสี ยงให้กบั จังหวัดอุทยั ธานีเป็ นอย่างมาก วิถีความเป็ นอยูข่ องชุมชนเรื อนแพ ก็เหมือนกับชุ มชนทัว่ ไป มีผนู ้ าํ ชุ มชนก็คือแพผูใ้ หญ่ ซึ่ ง องค์ประกอบก็คล้ายคลึ งกับชุ มชนบนบก ส่ วนอาชี พของชาวเรื อนแพ ส่ วนใหญ่จะประกอบอาชี พ ทําการประมงนํ้าจืด โดยการเลี้ยงปลาในกระชัง ซึ่ งก็มีท้ งั ปลาสวาย ปลาแรด ปลาเทโพ โดยเฉพาะ ปลาแรดที่เลี้ยงในกระชังของที่นี่ถือว่าขึ้นชื่อเรื่ องเนื้ อนุ่ม หวาน อร่ อยกว่าที่อื่นๆ


43

ภาพ 9 แสดงการจับปลาในลํานํ้าสะแกกรัง นอกจากจะเลี้ ยงปลาในกระชังแล้ว ชาวเรื อนแพก็ยงั จับปลาจากในลํานํ้าสะแกกรั งหรื อ แหล่งนํ้าอื่นๆ มาทําเป็ นปลาแห้ง ปลาเค็ม แล้วนําไปขายในตลาด เพื่อเป็ นรายได้ให้กบั ครอบครัว ซึ่ งส่ วนหนึ่งของรายได้เหล่านั้นก็ตอ้ งนําไปซื้ อลูกบวบมาซ่อมแซมแพ เพื่อให้ยงั คงลอยอยูไ่ ด้ นอกจากนี้ในบางพื้นที่ยงั มีการปลูกใบเตยไว้ขาย แล้วสําหรับบางคนก็ออกไปหางานทําหรื อรับจ้าง ทํางานจากข้างนอก เพราะในปั จจุบนั แม่น้ าํ นํ้าเกิดภาวะแล้งหนักทําให้อาชีพเลี้ยงปลาหรื อจับปลาทํา ได้ลาํ บากมากขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม จังหวัดอุทยั ธานี มีป่าสงวนแห่ งชาติ จํานวน 9 แห่ ง รวมเป็ นพื้นที่ ท้ งั สิ้ น 4,525.10 ตาราง กิ โลเมตร หรื อประมาณ 2,828,185 ไร่ จากภาพถ่ ายดาวเที ยมปี 2531 สภาพป่ าที่ คงเหลื ออยู่จริ ง ประมาณ 1,695,250 ไร่ มีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง สภาพป่ าส่ วนมากยังสมบูรณ์ เป็ นป่ าดิบ ชื้ นมียอดเขาสู งและเป็ นเนิ นป่ าเต็งรังสลับกันกับทุ่งหญ้าหย่อมเล็ก ๆ มีพ้ืนที่ติดต่อกันกับเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี


44

แหล่งนา้ ทีส่ าคัญ แม่น้ าํ สะแกกรัง เกิดจาเทือกเขาแม่วงศ์ ในเขตจังหวัดกําแพงเพชรไหลผ่านอําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ และไหลมาบรรจบแม่น้ าํ เจ้าพระยาจังหวัดอุทยั ธานียาวประมาณ 180 กิโลเมตร ลําห้วยทับเสลา เกิดจาดเทือกเขาในเขตอําเภอบ้านไร่ ทางทิศตะวันตกของจังหวัดอุทยั ธานี ไหลผ่านไปอําเภอลานสักลงมาถึงบ้านทับเสลา อําเภอหนองฉางและแยกเป็ นสองสาย สายหนึ่ งไหล ผ่านอําเภอทัพทันไปบรรจบแม่น้ าํ สะแกกรังที่บา้ นโคกหม้อ อําเภอทัพทัน ส่ วนอีกสายหนึ่ งไหลผ่าน อําเภอหนองฉาง อําเภอหนองขาหย่าง ไปบรรจบแม่น้ าํ สะแกกรั งที่ บา้ นปากกะบาด อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี มีความยาวประมาณ 140 กิโลเมตร ลําห้วยคลองโพ เกิดจากเทือกเขาในเขตอําเภอสว่างอารมณ์ ทางทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อของ จัง หวัดอุ ท ยั ธานี ไหลผ่า นป่ าเขาและหมู่ บา้ นเล็ ก ๆ ลงมาบรรจบแม่น้ าํ สะแกกรั งที่ อาํ เภอสว่า ง อารมณ์ มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร ห้วยขุนลําแก้ว เกิ ดจากเทือกเขาในเขตอําเภอบ้านไร่ ทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ของจังหวัด อุทยั ธานี ไหลผ่านหมู่บา้ นในเขตอําเภอบ้านไร่ อําเภอหนองฉางและไปบรรจบแม่น้ าํ มะขามเฒ่า ที่ อําเภอวัดสิ งห์ มีความยาวประมาณ 60 กิโลเมตร การปกครอง องค์การบริ หารส่ วนตําบลสะแกกรัง ได้แบ่งการปกครองออกเป็ น 8 หมู่บา้ น ได้แก่ 1. บ้านนํ้าตก 2. บ้านเนินตูม 3. บ้านปากกะบาด 4. บ้านท่าดินแดง 5. บ้านบางกุง้ 6. บ้านบางใหญ่ 7. บ้านบางกุง้ 8. บ้านจักษา


45

ส่ วนที่ 3 ศาสนสถานทีส่ าคัญ วัดสั งกัสรัตนคีรี วัดสังกัสรั ตนคี รี สร้ างขึ้ นเมื่ อปี พ.ศ. 2443 ตั้งอยู่บนยอดเขาสะแกกรั ง ชาวอุ ทยั ให้ความ เคารพนับถือและศรัทราเป็ นอย่างมาก พื้นที่วดั มีท้ งั ส่ วนที่ต้ งั อยูบ่ นพื้นราบและส่ วนที่ต้ งั อยูบ่ นยอด เขาสะแกกรัง ซึ่ งเราสามารถเลือกเดินผ่านบันได 449 ขั้นขึ้นไปสู่ ยอดเขา หรื อจะเลือกใช้ยานพาหนะ แทนก็ได้ ยอดเขาแห่ งนี้ นบั เป็ นจุดที่สูงที่สุดของตัวเมืองอุทยั ธานี ทําให้เราสามารถเห็นวิวทิวทัศน์ บ้านเรื อนด้านล่างไปไกลจนสุ ดสายตา และสิ่ งที่ควรไปสักการะ คือ “พระบรมรู ปสมเด็จพระปฐม บรมชนกนาถ” พระชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ซึ่ งเป็ นรู ปหล่อขนาด สองเท่าขององค์จริ ง

ภาพ 10 แสดงวิวมุมสู งจากบนยอดเขาสะแกกรัง


46

พื้นที่บริ เวณบนยอดเขาสะแกกรังนี้ ชาวอุทยั ธานี ถือเป็ นพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ มีศาสนสถานสําคัญ อยูห่ ลายอย่าง เมื่อมาถึงยอดเขาก็ตอ้ งไปสักการะพระพุทธบาทจําลอง ซึ่ งประดิ ษฐ์สถานอยูภ่ ายใน สิ ริมหามายากุฏาคาร มณฑปทรงไทยสวยงสมที่ต้ งั อยูต่ รงสุ ดปลายบันได

ภาพ 11 แสดงพระพุทธบาทจําลอง บนยอดเขารอบรอยพระพุทธบาทจําลองมีพระพุทธรู ปประดิษฐานอยูท่ ้ งั สี่ ทิศ โดยรอยพระ พุทธบาทจําลองนี้ ได้ถูกย้ายมาจากวัดจันทาราม นอกจากนี้ ยงั มีระฆัง 100 ปี ซึ่ งสร้างขึ้นตั้งแต่สมัย รัชการที่ 5 ในปี พ.ศ. 2443 ที่บริ เวณด้านหน้ามณฑปด้วย


47

ภาพ 12 แสดงระฆัง 100 ปี ในบริ เวณบนยอดเขาของวัดสังกัสรัตนคีรียงั มีวิหารพระโพธิ สัตว์กวนอิม วิหารทรงจีนที่ ภายในประดิษฐานเทพเจ้าจีนไว้หลายองค์ และศาลารัชมังคลาภิเษก ที่ ซ่ ึ งรวบรวมพระพุทธรู ปในยุต ต่าง ๆ ไว้ให้สั กการะรวมทั้งพระพุท ธรู ป ปางประทานพร และพระสังกัจจยนะที่ ประดิ ษฐานอยู่ บริ เวณลานกลางแจ้งด้วย

ภาพ 13 แสดงวิหารพระโพธิ สัตว์กวนอิม


48

พระมณฑปทรงไทยสวยงามมีนามว่า “สิ ริมหามายากุฏาคาร” ซึ่ งบนนี้ เขาเปรี ยบให้เป็ น สถานที่ที่พระพุทธเจ้าได้เสด็จขึ้นไปเทศนาโปรดพระพุทธมารดาบนสรวงสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ แล้ว เสด็จกลับโลกมนุษย์

ภาพ 14 แสดงพระมณฑปทรงไทย พุทธประวัติกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาที่เมืองกัสนครและกลายมาเป็ นชื่ อวัดสังกัสรัต นคีรี ซึ่ งสมมุติให้วดั เป็ นกัสนคร ภายในมณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจําลอง ซึ่ งย้ายมาจาก วัดทันทราม สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2448


49

ภาพ 15 แสดงหลวงพ่อพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ “หลวงพ่อพุทธมงคลศักดิ์ สิ ทธิ์ ” พระพุทธรู ปเก่ าแก่ คู่บา้ นคู่เมื องของชาวอุ ทยั ธานี ซึ่ ง สันนิ ษฐานกันว่าสร้ างขึ้นเมื่อสมัยพระยาลิไท มีอายุประมาณ 600-700 ปี มาแล้ว พระพุทธรู ปองค์ หนึ่ งมีขนาดใหญ่ เป็ นพระเนื้ อสําริ ดปางมารวิชยั สี เหลื องทองอร่ าม หน้าตักกว่าง 3 ศอก สร้างใน สมัยพระเจ้าลิ ไท ฝี มือช่ างสุ โขทัยและถูกอัญเชิ ญมาจากสุ โขทัย พุทธลักษณะจึงงดงามอย่างศิลปะ สุ โขทัย ประดิ ษฐานเป็ นพระประธานท่ามกลางความวิจิตรงดงามของลวดลายไทยที่ ประดับด้วย กระจกสี บนผนังของวิหาร


50

ภาพ 16 แสดงพระราชานุสาวรี ยส์ มเด็จพระปฐมบรมมหาชนกนาถ บนยอดเขาสะแกกรังทางด้านทิศเหนื อพระมณฑป เป็ นพระราชานุสาวรี ย ์ สมเด็จพระปฐม บรมมหาชนกนาถ แห่ งรัชกาลที่ 1 ซึ่ งมีพระนามเดิ มว่านายทองดี พระบรมรู ปของสมเด็จพระปฐม บรมมหาชนกนาถ เนรู ปหล่ อขนากสองเท่าของพระองค์จริ งประทับนัง่ บนแท่น พระหัตถ์ซ้ายถื อ ดาบประจําตําแหน่งเจ้าพระยาจักรี ท้ งั ฝักวางบนพระเพลาซ้าย และทรงวางพระหัตถ์ขวาบนพระเพลา ขวา ด้านขวามมีพานวางพระมาลาเส้าสู ง ไม่มียี่กา(ขนนก) สวมพระบาทด้วยรองเท้าแตะไม่หุ้มส้น พระบาท มีพีธีถวายสักการะพระราชานุสาวรี ยแ์ ห่งนี้ทุกวันที่ 9 เมษายนของทุกปี วัดมณีสถิตกปิ ฏฐาราม วัดมณี สถิ ตกปิ ฏฐาราม ตั้งอยู่ที่ถนนสุ นทรสถิ ตย์หลังสวนสุ ขภาพ ตรงวงเวียนหอนาฬิ กา เป็ นวัดที่สร้างในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ชาวเมืองเรี ยกกันว่าวัดทุ่งแก้ว


51

ภาพ 17 แสดงวัดมณี สถิตกปิ ฏฐาราม ภายในวัดนี้มีพระปรางค์ใหญ่อยูอ่ งค์หนึ่ ง ฐานกว้าง 8 เมตรสู ง 16 เมตร ลักษณะเป็ นปรางค์ ห้ายอด สร้างเมื่อ พ.ศ. 2452 ภายในบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุ และเป็ นที่ประดิ ษฐานรู ปหล่อหลวง พ่อแย้มผูส้ ร้างวัดนี้ บริ เวณวัดมีสระนํ้าก่ออิฐเป็ นสระนํ้ามนต์ขนาดใหญ่ กลางสระมีแผ่นศิลาอักขระ ยันต์ของหลวงพ่อแย้มฝั งเอาไว้ นํ้าในสระแห่ งนี้ เคยใช้เป็ นนํ้าสรงพุทธาภิเษกในพระราชพิธีบรม ราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 วัดธรรมโฆษก (วัดโรงโค) วัดธรรมโฆษก (วัดโรงโค) เป็ นวัดที่สร้างในสมัยต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ตั้งอยูท่ ี่ถนนศรี อุทยั ตํา บลอุ ท ัย ใหม่ ใ กล้ก ับ ตลาดเทศบาล เคยใช้ เ ป็ นสถานที่ ป ระกอบพิ ธี ถื อ นํ้า พิ พ ฒ ั นสั ต ยาของ ข้าราชการเมืองอุทยั ธานี และเป็ นลานประหารนักโทษ โบสถ์ของวัดนี้ เป็ นโบสถ์สมัยรัตนโกสิ นทร์ ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนังฝี มืองดงามจัดว่าสวยงามที่สุดในอุทยั ธานี


52

ภาพ 18 แสดงโบสถ์วดั ธรรมโฆษก สั น นิ ษ ฐานว่ า เป็ นฝี มื อ ช่ า งสมัย อยุ ธ ยาตอนปลายที่ ย งั มี ชี วิ ต อยู่ถึ ง สมัย รั ต นโกสิ น ทร์ จิตรกรรมฝาผนังเป็ นภาพพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ และตอนผจญมาร ผนังข้างด้านบน เป็ นภาพเทพชุ มนุ มสลับกับพัดยศ กรอบหน้าต่างด้านนอกเป็ นลายปูนปั้ นเป็ นฝี มือพองาม สําหรับ วิหารสร้ า งยกพื้ นสู ง กว่า โบสถ์ หน้า บันเป็ นรู ป ช้า งสามเศี ย ร ภายในมี แท่ นสํา หรั บ ประดิ ษ ฐาน พระพุทธรู ปซึ่ งมีอยูป่ ระมาณ 20 องค์ จัดเรี ยงอย่างมีระเบียบ บนหน้าต่างด้านนอกมีลายปูนปั้ นเป็ น เรื่ องรามเกี ยรติ์ประดับเป็ นกรอบ ประตูวิหารเป็ นไม้จาํ หลักลายดอกไม้ทาสี แดงงดงามมาก โบสถ์ และวิหารมีพระปรางค์และเจดียเ์ รี ยงรายอยู่ 2-3 องค์


53

ภาพ 19 แสดงจิตกรรมฝาผนังโบสถ์วดั ธรรมโฆษก กําแพงรอบโบสถ์ของวัดนี้ก่อต่อกับฐานวิหารเพราะมีพ้ืนสู งกว่า ประตูเข้ากําแพงทําเป็ นซุ ้มแบบจีน และด้านหลังโบสถ์มีซุม้ สําหรับประดิษฐานพระพุทธรู ปด้วย เช่นเดียวกับด้านหน้ามีกุฏิเล็กอยูต่ ิดกับ กําแพงโบสถ์ ซึ่ งเป็ นฝี มือช่างสมัยอยุธยา ส่ วนบานประตูวดั เป็ นศิลปะการแกะสลักฝี มือช่างในสมัย รัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น แกะเป็ นลายดอกไม้ประกอบใบกระจังต่อก้านสลับดอกเรี ยงเป็ นแถวสวยงาม มาก พื้นในเป็ นสี แดงเข้าใจว่าเดิ มคงลงสี ทองบนตัวลายไว้ สําหรับบานหน้าต่างแกะเป็ นลวดลาย เดี ยวกัน ปกติโบสถ์จะปิ ดหากต้องการชมควรแจ้งไปก่อนที่ โทร. (056)511450 ปั จจุบนั วัดธรรม โฆษกได้รับการจดทะเบียนเป็ นโบราณสถานแล้ว วัดใหม่ จันทราราม วัดใหม่จนั ทาราม แต่เดิมเป็ นวัดร้างมีนามว่า “วัดพะเนียด” ซึ่งเป็ นสถานที่รวมรวบช้างป่ า เพื่อ ส่ งไปเป็ น ช้างศึกให้แก่กรุ งศรี อยุธยา เพื่อใช้ในการทําสงครามในสมัยนั้น เดิมที่มีเสาตลุงเพนี ยดช้าง อยู่ ต่อมาสร้างวัดขึ้นมา และปล่อยทิ้งร้างไป พระอาจารย์เอี่ยม และชาวบ้านท่าซุ ง จึงบูรณะก่อสร้าง ใหม่ ให้นามวัดใหม่ว่า “วัดใหม่จนั ทาราม” แต่ชาวบ้านนิ ยมเรี ยกว่า “วัดใหม่” ภายในโบสถ์มี จิตรกรรมฝาผนัง รู ปดอกมณฑารพ (ดอกไม้แห่งเมืองสวรรค์) ตัวโบสถ์มีลกั ษณะคล้ายเรื อ ส่ วนหน้า


54

เชิ ด ขึ้ น หน้า บัน โบสถ์ เ ป็ นศิ ล ปะจี น ผสม ตกแต่ ง ด้วยกระเบื้ อ งเคลื อ บเป็ นลายเครื อ เถา มี พ ระ ประธานปางปริ นิพพานให้ได้ชมกัน ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมที่น่าชม แม้จะทรุ ดโทรมไปบ้าง แต่ก็ยงั คงได้เห็ นการเขียนภาพจิตรกรรมซึ่ งสัมพันธ์กบั พระพุทธรู ปประธานอันแสดงถึ งวิธีคิดอัน แยบคายของช่างเขียนโบราณ โบสถ์ อาคารโบสถ์มีลกั ษณะคล้ายเรื อ ส่ วนหน้าเชิ ดขึ้นหน้าบันโบสถ์ ได้รับอิทธิ พลศิลปะจีนโดยตกแต่งด้วยกระเบื้องเคลือบเป็ นลายเครื อเถา เสารองรับชายคาด้านหน้า เป็ นเสาแปดเหลี่ยม กรอบประตูหน้าต่างเป็ นซุ ้มโค้งแบบสถาปั ตยกรรมยุคอาณานิ คมที่นิยมในช่วง รัชกาลที่ 4 และ 5

ภาพ 20 แสดงวัดใหม่จนั ทราราม ภาพจิตรกรรมดอกมณฑารพ ชาวพุทธเชื่ อว่าดอกมณฑารพเป็ นต้นไม้ในเมืองสวรรค์ บางคน ก็เรี ยกว่าดอกมณฑา มณฑาเป็ นไม้ตน้ มี ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Talauma candollei BI. ในวงศ์ Magnoliaceae ลักษณะใบใหญ่ มีดอกสี เหลืองนวล กลิ่นหอม ภาพจิตรกรรมดอกมณฑารพเกี่ยวโยง กับพระประธานในโบสถ์ซ่ ึ งแปลกแตกต่างจ่ากวัดอื่นตรงที่เป็ นพระพุทธไสยาสน์ปางปริ นิพพาน แทนที่จะเป็ นพระพุทธรู ปปามารวิชยั ด้วยเหตุน้ ีช่างจึงเขียนภาพบนผนังโบสถ์ดา้ นหลังพระประธาน เป็ นภาพดอกมณฑารพเต็มทั้งผนัง ตามพุทธประวัติ ดอกมณฑารพนี้ จะร่ วงลงมาจากสวรรค์ช้ ัน ดาวดึงส์เมือพระพุทธองค์ประสู ติ ตรัสรู ้ และปริ นิพพาน จิตรกรรมบนผนังอีกสามด้านก็เป็ นภาพอัน


55

เกี่ยวเนื่ องกับการเสด็จสู่ ปริ นิพพานของพระพุทธเจ้าเช่ นเดี ยวกัน เช่น ภาพพระมหากัสสปะ เทวดา และเหล่าอาชี วก นักบวชเปลื อยกายเมื่อครั้งพุทธกาล เดิ นถื อดอกมณฑารพมาเคารพพระบรมศพ พระพุทธองค์เป็ นต้น วิหารพระพุทธชั ยสิ ทธิ์ วัดพิชัยปุรณาราม วัดพิชยั ปุรณาราม เป็ นวัดเก่าแก่แห่ งหนึ่ งจังหวัดอุทยั ธานี เดิมชื่ อวัดกร่ าง หากพิจารณาจาก รู ปแบบศิ ลปกรรมที่ปรากฏในโบสถ์ สันนิ ษฐานว่าน่ าจะสร้ างขึ้ นในช่ วงสมัยอู่ทองหรื ออโยธยา จนถึงสมัยอยุธยาตอนต้น ได้รับการบูรณะซ่อมแซมหลายครั้ง ต่อมาเปลี่ยนชื่ อเป็ นวัดพิชยั ปุรณาราม แต่ชาวบ้านนิ ยมเรี ยกโดยย่อว่าวัดพิชยั ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มาในปี พ.ศ.2418 ช่ วงรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระพุทธชัยสิ ทธิ์ หรื อหลวงพ่อชัยสิ ทธิ์ เป็ นพระพุทธรู ปปางวิชนั มีซุ้มเรื อนแก้วประดับรอบ องค์คล้ายกับพระพุทธชิ นราช จังหวัดพิษณุ โลก และพระประธานในโบสถ์วดั ไลย์ จังหวัดลพบุ รี สันนิษฐานว่าพระพุทธชัยสิ ทธิ์ สร้างขึ้นในสมัยอู่ทองหรื อต้นสมัยอยุธยา

ภาพ 21 แสดงวิหารพระพุทธชัยสิ ทธิ์


56

วิหารพระพุทธชัยสิ ทธิ์ นับเป็ นอาคารสมัยอู่ทองหรื ออโยธยา ซึ่ งมีมาก่อนกรุ งศรี อยุธยา อายุ กว่า 600 ปี ปั จจุบนั เหลือสถาปั ตยกรรมสมัยอู่ทองเพียงสี่ แห่งในประเทศไทย นอกจากที่วดั นี้ แล้วมีที่ โบสถ์พระศรี รัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุ โลก โบสถ์วดั จอมคีรีนาคพรต จังหวัดนครสวรรค์ และ วิหารวัดไลย์ จังหวัดลพบุรี จุดเด่นคือ ภายในอาคารด้านหลังวิหารทําเป็ นมุข ใช้เป็ นที่ประดิษฐาน พระพุทธชัยสิ ทธิ์ ซ่ ึ งเป็ นพระประธาน มีเสาแปดเหลี่ยมเรี ยงเป็ นแนวยาวนําสายตาไปยังพระประธาน ที่ประดิษฐานอยู่ ณ อีกด้านหนึ่ งของห้อง ผนังด้านยาวของวิหารมีการเจาะเป็ นช่ องลูกมะหวดแทน การเจาะหน้าต่างเช่นยุคหลังๆ ช่องลูกมะหวดนี้ นอกจากเป็ นช่องลมเพื่อให้อากาศถ่ายเทแล้ว ยังเป็ น ช่ องแสงที่หากลําแสงส่ องผ่านไปสู่ พระประธานจะช่ วยเสริ มให้องค์พระดู โดดเด่ นสง่ างามยิ่งขึ้ น ด้านนอกอาคารมีเสารองรับชายคาปี กนกซึงมีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม

ภาพ 22 แสดงโบสถ์วดั พิชยั ปุรณาราม ภาพจิตกรรมในโบสถ์ สันนิ ษฐานว่าเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6-7 แห่ งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ รู ปแบบการเขียนต่างจากวัดอื่นๆคือผนังด้านหน้าพระประธานเขียนเป็ นเรื่ องพระมาลัยซึ่ งเป็ นพระ อรหันต์องค์สาํ คัญขณะขึ้นไปนมัสการพระเจดียจ์ ุฬามณี บนสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ ที่บรรจุมวยผม (จุฬา


57

โมลี) ของพระพุทธเจ้า ผนังด้านหลังพระประธานเขียนเป็ นเรื่ องนรกขุมต่างๆส่ วนผนังด้านข้างทั้ง สองด้านเป็ นเรื่ องจันทโครพ เรื่ องการเสด็จสู่ ปริ นิพพานของพระพุทธเจ้า เป็ นต้น วัดจันทาราม หรือวัดท่ าซุ ง วัด ท่ า ซุ ง นี่ ต้ ั งมาก่ อ นสร้ า งกรุ งศรี อยุ ธ ยา 30 ปี พ.ศ.1863 ในยุ ค ต้ น ของจั ง หวัด พระนครศรี อยุธยา หลวงพ่อใหญ่องค์แรก ที่เป็ นผูส้ ร้ างวัด ชื่ อปานเหมือนกับหลวงพ่อปานวัดบาง นมโค อ.เสนา จ.พระนครศรี อยุธยา รู ปร่ างหน้าตาใหญ่โต ท่านธุ ดงค์มาพบที่นี่เข้าแล้ว ก็เลยสร้ าง วัดตรงนี้ ปลูกกุฏิหลังคามุงแฝกขึ้นมา 9 หลัง ในสมัยก่อนโน้นลําคลองนี้ เป็ นคลองเล็ก ลําคลองนี้ มันโตสมัยที่มีเรื อเมล์ เรื อเขียว เรื อแดงวิ่ง มีคลื่ นตลิ่ งมันก็พงั สมัยก่อนลําคลองเล็กใช้น้ าํ ในคลอง ไไม่ ได้ ต้องใช้น้ าํ ในห้วยยเล็ก ๆ หลังวัดมี โบสถ์ข นาดเล็ก ภายในมี จิตรกรรม ฝา ผนังฝี มื อช่ า ง พื้นบ้าน เข้า ใจว่าเขี ยนในสมัยหลังการสร้ างวัด เป็ นเรื่ องพุทธประวัติบ างภาพต่อเติ มจนผิดส่ วน สมบัติอีกชิ้นหนึ่ งของวัดคือ ธรรมาสน์ที่หลวงพ่อใหญ่สร้าง ที่วิหารมีพระปูนปั้ นฝี มือพองามและมี ลายไม้จาํ หลักขอบหน้า บันเหลื ออยู่ 2 - 3 แห่ ง ด้า นตรงข้ามกับวัด เป็ นปูช นี ย สถานแห่ งใหม่ มี บริ เวณกว้างขวางมาก พระราชมหาวีระ ถาวาโร (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) พระเถระที่มีชื่อเสี ยงได้สร้าง อาคารต่าง ๆ มากมาย เช่น พระอุโบสถใหม่ ภายในประดับและตกแต่งอย่างวิจิตร บานหน้าต่างและ ประตูดา้ นในเขียนภาพเทวดาโดยจิตรกรฝี มือดี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จพระราชดําเนิ นมา ตัดลู กนิ มิตพระอุ โบสถแห่ งนี้ บริ เวณโดยรอบสร้ างกําแพงแก้วและมี รูปหล่ อหลวง พ่อปานและ หลวงพ่อใหญ่ขนาด 3 เท่า อยู่มุมกําแพงด้านหน้า มณฑป และ พระวิหารแก้ว ที่ประดิ ษฐานพระ พุทธชินราชจําลอง และ ศพของ หลวงพ่อฤาษีลิงดําที่ไม่เน่าเปื่ อย


58

ภาพ 23 แสดงพระวิหารแก้ว วัดจันทาราม ตั้งชื่ อตามอดี ตเจ้าอาวาสชื่ อจันท์ (ในสมัยพระนารายณ์มหาราช นายทหารชื่ อ จันท์กลับจากศึกเชียงใหม่ มาตาม หาภรรยาไม่พบเลยมาบวชที่วดั ต่อมาเป็ นสมภาร เปลี่ยนชื่ อวัดมา เป็ นวันจันทารามตามชื่อท่านสมภาร) หรื ออีกชื่ อหนึ่ งที่ บุคคลทัว่ ไปนิ ยม เรี ยกว่าวัดท่าซุ ง เพราะใน อดี ตจังหวัดอุทยั ธานี มีป่าไม้มาก จึงมีการขนส่ งท่อนซุ งมาลงท่านํ้าซึ่ งมีแม่น้ าํ สะแกกรัง ไหลผ่าน บริ เวณวัดท่าซุ ง เพื่อผูกเป็ นแพล่องไปตามแม่น้ าํ ในปี พ.ศ. 2332 หลวงพ่อใหญ่ (องค์ที่สอง) ท่านได้ ธุ ดงค์มาปั กกลดชาวบ้าน ท่าซุ งมีความเลื่อมใสศรัทธา มาก ได้นิมนต์ท่านอยูป่ ระจําที่วดั ท่าซุ งนี้ ท่าน ก็รับนิมนต์เป็ นเจ้าอาวาส ที่วดั นี้ มีท่านเพียงองค์เดียว ในตอนแรก สร้างเสนนาสนะเจริ ญรุ่ งเรื อง ใน สมัยของท่าน และหลวงพ่อท่านเจ้าคุ ณพระราชพรหมยาน ท่านได้บอกอี กว่า หลวงพ่อใหญ่ท่าน บรรลุพระอรหันต์ที่วดั นี้อีกด้วย กล่าวคือ เมื่อมีชีวิตอยูท่ ่านเป็ นอนาคามี ก่อนจะมรณภาพท่านก็เป็ น พระอรหันต์ หลวงพ่ อ เส็ ง (หลวงพ่ อ ขนมจี น ) ท่ า นเป็ นผูช้ ่ ว ยหลวงพ่ อ ใหญ่ บู ร ณะวัด ในสมัย ต้น กรุ ง รัตนโกสิ นทร์ และเป็ นเจ้าอาวาสต่อจากหลวงพ่อใหญ่ ท่านเป็ นพระอรหันต์รูปที่ 2 ต่อจากหลวงพ่อ ใหญ่ วัดเจริ ญต่อมาจนถึงสมัยของหลวงพ่อเล่งและหลวงพ่อไล้ ท่านเป็ นพี่นอ้ งกัน ท่านเป็ นพระทรง ฌานทั้งสองรู ป เมื่อจะมรณภาพทุกขเวทนามาก ท่านก็เห็นทุกข์ของการเกิด เป็ นทุกข์เพราะร่ างกาย เห็นคุณของคําสอนของ สมเด็จพระผูม้ ีพระภาคเจ้า ท่านก็เป็ นพระอรหันต์ก่อนมรณภาพทั้งสองรู ป


59

ต่อจากนั้นก็ถึงยุคภิกขุพานิ ช วัดไม่ได้บูรณะมา 47 ปี จนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ. 2511 หลวงพ่อพระราช พรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) ได้มาริ เริ่ มบูรณะวัดอีกครั้ง อาคารเหล่ านี้ ส่ วนใหญ่จะมี ลกั ษณะภายนอกที่ คล้ายคลึ งกันคื อสร้ างด้วยโมเสกสี ขาวใสดู เหมือนแก้ว และยังมีปราสาททองคํา ศาลาฝึ กสมาธิ อาคารแต่ละหลังจะมี เวลาเปิ ด-ปิ ดไม่ตรงกัน และปิ ดช่วงกลางวัน วิหารแก้วจะเปิ ดให้ชมตั้งแต่เวลา 9.00-11.45 น . และ 14.00-16.00 น.

ภาพ 24 แสดงปราสาททองคํา ปราสาททองคํา(กาญจนาภิเษก) ก่อสร้ างด้วยการก่ออิฐฉาบปูน ประดับลวดลายไทยปิ ด ทองคําเปลวติดกระจก ใช้เป็ นสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรู ปที่ญาติโยมถวาย รอบนอกปราสาทใช้ ทองคําเปลวปิ ดรอบปราสาท ซึ่ งภายในบริ เวณใก้ลเคียงนี้ยงั มี พิพิธภัณฑ์ “สมบัติพ่อให้” อยูต่ รงข้าม กับ ปราสาททองคํา ภายในปราสาททองคํามี 3 ชั้น ชั้นแรก เป็ นพิพิธ ภัณฑ์ของพระเดชพระคุ ณ หลวงพ่อ โดยจะนําสิ่ งของต่างๆ ที่ ท่านเคยใช้ หรื อของส่ วนตัวท่านมาประดิ ษฐานไว้ หรื อสร้ าง จําลองสถานที่พกั ที่ท่านเคยอยูอ่ าศัย ชั้นที่ 2 และ 3 เป็ นสถานที่เก็บพระพุทธรู ปขององค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ต่างๆ ที่ญาติโยมนํามาถวายให้แก่วดั


60

วัดอุโปสถาราม วัดอุโปสถาราม ชื่ อว่า วัดโบสถ์มโนรมย์ ชาวบ้านมักเรี ยกว่า วัดโบสถ์ตามประวัติเล่าว่า สร้ างขึ้นในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มาในปี พ.ศ. 2325 มีสิ่ง สําคัญภายในวัดประกอบด้วย

ภาพ 25 แสดงวัดอุโปสถาราม พระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรู ปศิลปะสุ โขทัยปางมารวิชยั ภายในมีภาพจิตรกรรมฝา ผนังฝี มือช่างหลวงเขียนในสมัยรัชกาลที่ 3 ตอนปลาย แล้วเสร็ จในต้นสมัยรัชกาลที่ 4 ได้แก่ ภาพ พุทธประวัติ เริ่ มตั้งแต่ประสู ติบรรพชา มารผจญ ตรัสรู้ โปรดปั ญจวัคคียป์ ริ นิพพาน และถวาย พระเพลิง ด้านบนเป็ นภาพเทพชุมนุม แม้ปัจจุบนั ภาพลบเลือนไปบ้าง แต่ยงั คงความงามและบอก เล่าเรื่ องราวได้เป็ นอย่างดี


61

ภาพ 26 แสดงภาพจิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถ พระวิ ห ารสร้ า งคู่ พ ระอุ โ บสถมาแต่ ต้ น ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ปปางห้ า มญาติ ส มัย รัตนโกสิ นทร์หลายองค์ ด้านหน้าพระวิหารมีจิตรกรรมฝาผนัง เป็ นภาพถวายพระเพลิงและวิถีชีวิต ชาวบ้านที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธ-ศาสนา ซึ่ งแตกต่างจากพระวิหารแห่ งอื่นที่มีภาพจิตรกรรมภายใน เท่ า นั้น ส่ ว นภายในมี ง านจิ ต รกรรมทั้ง 4 ด้า นเป็ นภาพพุ ท ประวัติ เรื่ อ งพระมาลัย พระอสี ติ มหาสาวก และอสุ ภกรรมฐาน 10 ด้านบนเป็ นภาพชุมนุมพระสงฆ์สาวกสลับพัดยศลายต่าง ๆ

ภาพ 27 แสดงพระอุโบสถและพระวิหาร


62

เจดีย ์ 3 องค์ ตั้งอยูห่ ลังพระอุโบสถและพระวิหาร มีสถาปั ตยกรรมต่างกัน องค์ทางทิศ เหนื อเป็ นเจดียท์ รงหกเหลี่ ยมแบบอยุธยา องค์กลางเป็ นเจดี ยย์ ่อมุมไม้สิบสองแบบรั ตนโกสิ นทร์ ส่ วนองค์ดา้ นทิศใต้เป็ นเจดียท์ รงลอมฟางแบบสุ โขทัย มักเรี ยกกันว่า“เจดียส์ ามสมัย” มณฑปแปดเหลี่ยม ศิลปะผสมไทย-จีนและตะวันตก มีลายปูนปั้ นพระพุทธรู ปปางถวาย เนตรล้อมด้วยพรรณพฤกษา หงส์และนกกระสา มณฑปแห่งนี้ หลวงพิทกั ษ์ภาษา(บุญเรื อง พิทกั ษ์ อรรณพ) ตั้งใจสร้างถวายให้พระครู อุไทยทิศธรรมวินยั ซึ่ งภายหลังได้รับแต่งตั้งเป็ น พระสุ นทรมุนี (จัน ) เจ้า คณะจัง หวัด อุ ท ัย ธานี สํ า หรั บ จํา พรรษา เมื่ อ พระ-สุ น ทรมุ นี ม รณภาพ จึ ง ใช้ เ ป็ นที่ ประดิษฐานอัฐิพร้อมทั้งสิ่ งของเครื่ องใช้ต่าง ๆ ของท่าน นับเป็ นโบราณสถานที่มีค่าทางจิตใจของ ชาวอุทยั ธานี

ภาพ 28 แสดงมณฑปแปดเหลี่ยม แม้ว่าวัดอุโปสถารามมี อายุหลายร้ อยปี แต่ยงั คงสง่ างามริ มฝั่ งแม่น้ าํ สะแกกรัง ทั้งยังเงี ยบ สงบ ผูค้ นไม่พลุกพล่าน เป็ นศูนย์รวมจิตใจของชุมชนบนเกาะเทโพและชาว จังหวัด อุทยั ธานี นอกจากนี้ ภายในวัดอุโบสถาราม ยังมีสิ่งของที่น่าชมอีกมาก เช่น เสมาหิ นสี แดงหน้าโบสถ์ ตูพ้ ระธรรมและ ตูใ้ ส่ ของเขียนลายกนกเถาลายดอกไม้บาตรฝาประดับมุกที่ได้รับพระราชทานจาก รัชกาลที่ 5 เป็ นฝี มือช่างสิ บหมู่ และหงส์ ยอดเสา เป็ นต้น และยังมีอาคารสถาปั ตยกรรมเก่าแก่ที่น่า


63

ชมหลายหลัง ได้แก่ มณฑปแปดเหลี่ ยม เป็ นอาคารแปดเหลี่ ยม สองชั้น มี บนั ไดวนอยู่ด้านนอก อาคาร ซุ ม้ หน้าต่างเป็ นวงโค้งแบบอาคารในยุคอาณานิ คม ที่มีลกั ษณะผสมแบบตะวันตก มีลายปูน ปั้ นคล้ายไม้เลื้ อยที่กรอบหน้าต่าง และมีพระพุทธรู ปปูนสลักนูนสู ง อยู่ที่ดา้ นนอกของอาคาร เจดี ย ์ หกเหลี่ยม ย่อมุมไม้สิบสองทรงรัตนโกสิ นทร์ หอประชุ มอุทยั พุทธสภา ซึ่ งเป็ น หอสวดมนต์ เป็ น ศาลาทรงไทย หน้าบันประดับลวดลายปูนปั้ น และแพโบสถ์น้ าํ ซึ่ งใช้ในการประกอบพิธีทางศาสนา เช่น งานบวช งานศพ เป็ นต้น

ภาพ 29 แสดงหอสวดมนต์ แพโบสถ์น้ าํ เรื อนแพเก่าแก่ลอยกลางแม่น้ าํ สะแกกรังหน้าวัดอุโปสถาราม แม้มีสภาพทรุ ด โทรมตามกาลเวลาแต่ โ ดดเด่ น มาก พระครู อุ ไ ทยทิ ศ ธรรมวิ นัย (จัน ) สร้ า งขึ้ น เพื่ อ รั บ เสด็ จ พระบาทสมเด็จพระจุลจอม-เกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) ครั้งเสด็จประพาสมณฑลฝ่ ายเหนื อเมื่อ ร. ศ. 120(พ.ศ. 2444)


64

ภาพ 30 แสดงแพโบสถ์น้ าํ เดิ ม เป็ นแพแฝด 2 หลัง มี ช่ อ ฟ้ าใบระกาเหมื อ นอุ โ บสถ ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2519 ได้ ซ่อมแซมบูรณะใหม่เป็ นหลังเดี่ยว หลังคาทรงปั้ นหยา หน้าบันมีลวดลายจารึ กเป็ นภาษาบาลีวา่ “สุ อาคตํ เตมหาราชา” แปลว่ามหาราชาเสด็จฯ มาดี ปั จจุบนั ใช้ประกอบกิจกรรมในโอกาสวันสําคัญ ของจังหวัด ศาลเจ้ าพ่ อกวนอู สมัยก่อนนี้ มีขบวนการอั้งยี่ ได้เกิ ดขึ้นตามหัวเมืองใหญ่ ๆ ที่ มีคนจีนอาศัยอยู่ เช่ นเดี ยวกับที่ จังหวัดอุทยั ธานี ที่มีพ่อค้าชาวจีนเข้ามาอยู่อาศัย เพราะจังหวัดอุทยั ธานี ในสมัยนั้นเป็ นเมืองอู่ขา้ วอู่ นํ้า มีพ้นื ที่ติดริ มแม่น้ าํ สะแกกรัง ที่มีที่ดินก็ข้ ึนมาจับจองสร้างเป็ นอาคารไม้อยูอ่ าศัย และค้าขายของ การปกครองดูแลไม่ทว่ั ถึ ง ชาวจีนได้ถูกอิทธิ พลมาจากกรุ งเทพฯ ขบวนการอั้งยี่กรุ งเทพฯ จึงได้มี การตั้งสาขาขึ้นในพื้นที่จงั หวัดอุทยั ะานี โดยพิจารณาจากบุคคลที่มีฐานะมีอนั จะกินในท้องถิ่ น ให้ รวมตัวกับขบวนการอั้งยี่ เมื่อท้องถิ่นใดมีการปกครองขาดคุณธรรม ก็ตอ้ งเกิดการคดโกงกันขึ้น และ หัก หลัง กัน และเกิ ดความไม่ ส งบขึ้ น ต่ อมาผูม้ ี บ ้า นริ ม แม่ น้ าํ สะแกกรั ง เรื อนแพ อาศัย ตามเรื อ เอี้ยมจุน๊ หรื อเรื อกระแซงที่ใช้บรรทุกข้าว เป็ นที่อยูอ่ าศัยแทนบ้าน จึงได้รวบรวมกันคิดหาเครื่ องยึด เหนี่ ยวจิ ตใจ ประจวบกับมี ท่อนไม้ไ ด้ไหลวนอยู่ที่บริ เวณท่า แร่ สถานที่ ต้ งั ศาลในปั จจุ บนั จึ งได้


65

ร่ วมกันนําท่อนไม้ที่อยูใ่ นนํ้าวนหน้าศาลเจ้ามาอธิ ษฐานจิต และทําการแกะสลักเป็ นองค์เจ้าพ่อกวนอู ให้ประชาชนได้กราบไหว้ เพื่อให้ทุกคนมีความซื่ อสัตย์เช่นเดียวกับองค์เจ้าพ่อกวนอู

ภาพ 31 แสดงศาลเจ้าพ่อกวนอู สําหรับศาลเจ้าพ่อกวนอูแห่ งนี้ ได้สร้ างมาก่อนปี พ.ศ. 2465 โดยไม่ทราบแน่ชดั องค์เจ้าทํา จากท่อนไม้ที่ไหลวนอยู่ในนํ้าวนหน้าที่ต้ งั ศาลเจ้านําไม้ดงั กล่าว มาแกะสลักเป็ นองค์เจ้าพ่อกวนอู และได้สร้างศาลเจ้าไม้ใต้ถุนสู ง พ.ศ. 2493 ได้สร้างศาลเจ้า เป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก เป็ นอาคารสอง ชั้นทรงจีน และได้ทาํ พิธีอญั เชิญเจ้าพ่อกวนอู เข้าไปประทับในศาลเจ้าในปี พ.ศ. 2494 ศาลเจ้ าแม่ ทบั ทิม เจ้าแม่ทบั ทิมไหหลํา ตุย้ บ่วยเต็งเหนี่ ยง และเทียนโฮวเต็งม่าย ศาลเจ้าแม่ทบั ทิมอุทยั ธานี มี ประวัติความเป็ นมาดังนี้ ได้ทาํ การอัญเชิ ญเจ้าแม่ทบั ทิม มาจาก เกาะไหหลําประเทศจีนราวปี พ.ศ. 2400 อาคาร เดิม ทําด้วยไม้ ใต้ถุ นสู ง อยู่บริ เวณทางสามแพร่ ง ระหว่าง ถนนมหาราช2 และ ถนน สุ นทรสถิ ตย์ อําเภอเมืองอุทยั ธานี เป็ นพื้นที่ลุ่ม อยูใ่ กล้ แม่น้ าํ สะแกกรัง ชาวไหหลํา ก็ได้ชื่อว่าเป็ น ลูกทะเล มีความเชี่ยวชาญ การเดินเรื อเป็ นทุน ในสมัยก่อนจะมีเรื อข้าว การคมนาคมก็อาศัยแม่น้ าํ ลํา คลอง ตลาดสะแกกรัง ในสมัยก่อนจะมีชาวไหหลําเยอะ มีชาวไหหลํา แวะเวียน ไปมาตลอดเวลา


66

เมื่อมีชาวไหหลําอยูม่ าก ก็เกิดสังคมขึ้น การรวมจิตใจ และที่พ่ ึงของ ผูม้ าใหม่ความรักความสามัคคี ก็เกิ ดขึ้นในเชื้ อชาติ มาจากที่เดี ยวกัน พูดภาษาเดี ยวกัน ยิ่งมีองค์ เจ้าแม่ทบั ทิม ยิ่งเพิ่มความรัก เอื้อ อาทรซึ่ งกันและกัน ในสมัยก่อนไม่มีโรงแรม ไม่มีร้านอาหาร ต้องพักค้างแรมที่ศาลเจ้า และไม่สาม รถอยู่นานได้ ดี สุด พักค้างแรม ที่ศาลเจ้า มีอาหาร และตามหาพี่น้อง เมื่ อทราบ แล้ว ก็ไปต่อ ชาว ไหหลํา ก็ตอ้ งหาที่ ยึดเหนี่ ยว สร้างศาลเจ้า ให้องค์เทพที่นาํ มาด้วย เพืี่อความเป็ น สิ ริมงคล และ หา ชัยภูมิสุดยอดในการตั้งศาลเจ้าแม่ทบั ทิมหลังพิง

ภาพ 32 แสดงศาลเจ้าแม่ทบั ทิม เขาสะแกกรั งโอบล้อม คนจี นในสมัยโบราณเชื่ อว่าเขาสะแกกรั ง เป็ นเขามังกร หน้าเป็ น แม่น้ าํ สะแกกรัง ตัวศาลตั้งอยู่ บนทางสามแพร่ ง (ในสมัยก่อน ที่ทาํ ใต้ถุนสู ง เวลา ฤดูนาํ หลาก นํ้าจะ ท่วม) การตั้งศาลชัยภูมิ ถูกต้องถูกพิธี ก็เพิ่มความศักดิ์ สิทธิ์ ลูกหลานก็ดี เพิ่ม บารมี ให้เจ้าแม่ (ของ เก่าพอจะมีให้เห็นอยูก่ ็ ที่เผากระดาษเงิน กระดาษทอง ) จากการบอกเล่า โกพก ค้าขาย ไม้กระดาน อยู่ มโนรมย์ เป็ นบุตรชาย โกโค ช่ างตี มีด อยู่ อุทยั ธานี ตีนสะพานยาว ปั จจุบนั พ.ศ.2549 โกพก อายุ 73 ปี ตั้งแต่เขาเกิดมา เขาก็เห็นศาลเจ้าไม้ แห่งนี้แล้ว ไม่ทราบสร้างแต่เมื่อไหร่ แต่เด บอกว่าศาล มี มานานแล้วรู ้ แต่ว่าเป็ นของไหหลํา สมัยเด็ก ๆ เขาเข้าเรี ยนภาษาจี นที่ ศาลเจ้าแห่ งนี้ สอนภาษา ไหหลําด้วย จึงนับได้วา่ ที่ศาลเจ้าเป็ น โรงเรี ยนสอนภาษาจีน แห่งแรกของอุทยั ธานี * ข้อมูลจาก ศาล เจ้าแม่ทบั ทิม ไหหลํา อุทยั ธานี


67

วัดหลวงราชาวาส วัดหลวงราชาวาส เป็ นวัดเก่าแก่ สร้ างขึ้นในสมัยต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ราวปี พุทธศักราช 2370 ภายในวัดมีโบสถ์ต้ งั คู่กบั วิหารเก่าแก่ ซึ่ งเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธรู ปปางสมาธิ บนเสามี ภาพวาดลวดลายศิลปะแบบจีน ปั จจุบนั ได้มีการวาดและซ่ อมแซมขึ้นมาใหม่ ทว่ายังคงลักษณะเดิ ม เอาไว้อย่างครบถ้วน วัดหลวงราชวาส แม้จะเป็ นวัดเล็ก แต่มีชื่อเสี ยงขจรกระจายยิ่งนัก โดยเฉพาะ ในสมัยของพระครู อุทยั ธรรมกิจ หรื อหลวงปู่ ตี๋ ญาณโสภโณ พระเถระที่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นหนึ่ ง ในเกจิที่มีมนต์ขลังอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเรื่ องราวของความศักดิ์สิทธิ ของเครื่ องรางของขลังและหลวง ปู่ ตี๋ก็ขจรกระจายออกไปอย่างกว้างขวาง ท่านได้นาํ ธรรมะแห่ งพระศาสดาเข้ามาเป็ นกุศโลบายและ เครื่ องชี้นาํ ความลึกซึ้ ง จนมีพุทธศาสนิกชนให้ความนับถือทัว่ ทุกมุมเมือง ศาลเจ้ าพ่ อหลักเมือง(ปุงเถ่ ากง) เดิมมีชื่อว่าศาลเจ้าท่าช้าง เนื่องจากเป็ นท่าที่ให้ชา้ งได้ลงไปกินนํ้า สอบถามจากผูร้ ู ้ พอทราบ ได้วา่ ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองอุทยั ธานี หรื อศาลเจ้าพ่อปุงเถ่ากงแห่ งนี้ มีอายุมาแล้วกว่า 200 ปี ที่มาของ ชื่ อท่าช้างมาจากการที่วา่ อดีต บริ เวณใกล้เคียงกันมีท่าให้ชา้ งลงมากิ นนํ้าในแม่น้าสะแกกรังประจํา จึงได้เรี ยกถนนเส้นนี้วา่ ถนนท่าช้างด้วย ในปี 2477 ได้สร้างอาคารศาลเจ้าขึ้นมาทดแทนหลังเดิมใหม่ พร้ อมกับ สร้ า งองค์เจ้า พ่อขึ้ นใหม่ อีก 1 องค์ เป็ นแบบไทยสวมชฏา นุ่ งโจงกระเบน มื อซ้ายถื อ ดอกบัว ได้นาํ มาจากประเทศจีนพร้อมเกี้ยวเจ้า


68

ภาพ 33 แสดงศาลเจ้าพ่อหลักเมือง โดยเกี้ ยวเจ้าหลังนี้ แกะสลักในรู ปลายมังกร สวยงามมาก เป็ นของลํ้าค่าหาชมได้ยาก ภายใน ศาลเจ้ายังมีภาพวาดที่เก่าแก่ อยูใ่ นศาลเจ้าเป็ นภาพที่เล่าเรื่ องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมจีนที่หาชมได้ยาก ลูกหลานชาวไทยเชื้อสายจีนในอุทยั ธานีกาํ ลังพยายามรักษาไว้ หาชมได้ที่ศาลเจ้าแห่งนี้ ศาลเจ้ าแม่ ละอองสาลี อุทยั ธานี ประวัติความเป็ นมาของศาลเจ้าแม่ละอองสําลี ด้วยเป็ นการเคารพนับถือว่าเมื่อมีองค์เจ้าพ่อ หลักเมื อง ปุ งเถ่ ากงแล้ว ก็เปรี ยบเสมื อนมี อากงแล้วก็ควรมี อาม่า คณะพ่อค้าในตลาดได้ร่วมกัน พิจารณาแล้ว ก็ได้ร่วมกันสร้างศาลเจ้าแม่ละอองสําลี(ปุงเถ่าม่า) ซึ่ งสร้างมาประมาณ 70 ปี เศษ


69

ภาพ 34 แสดงศาลเจ้าแม่ละอองสําลี ศาลเจ้าแห่ งนี้ ต้ งั อยูท่ ี่ถนนณรงค์วิถี ตําบลอุทยั ใหม่ อําเภอเมืองอุทยั ธานี เมื่อสร้างเป็ นศาล เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วเกิดมีผทู ้ ี่มากราบไหว้บนบานให้ได้บุตร ขอให้ขายของได้ และขออื่นๆ ปรากฏว่า ผูท้ ี่ขอเกิดได้ผลตามที่บนบานไว้ ก็มีการจ้างละครรําไปแก้บน ปั จจุบนั ละครรําได้เสื่ อมความนิ ยมไป ตามกาลเวลา จึงได้จดั ให้มีการแสดงลิเก หรื องิ้วแก้บนแทน วัดภูมิธรรม วัดภู มิธรรม ตั้งอยู่เลขที่ 17 บ้า นภูมิ ธรรม หมู่ที่ 3 ตําบลสะแกกรั ง อําเภอเมื องอุ ทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 12 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา


70

ภาพ 35 แสดงวัดภูมิธรรม พื้นที่ต้ งั วัดเป็ นพื้นที่ราบลุ่มอยูร่ ิ มคลองสะแกกรัง อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มีอุโบสถกว้าง 7 เมตร ยาว 12 เมตร สร้ างขึ้ นเมื่ อปี พ.ศ. 2479 โครงสร้ างก่อด้วยอิฐ มี ศาลาการเปรี ยญและหอสวด มนต์เป็ นอาคารไม้ มี กุฏิ สงฆ์จาํ นวน 2 หลัง สํา หรั บ ปูช นี ยวัตถุ มีพระประฐานที่ ประดิ ษฐ์อยู่ใ น อุโบสถ โบราณสถาน วัดโบสถ์ เป็ นวัดเก่ าแก่ อยู่ริมลํานํ้าสะแกกรั ง ในเขตเทศบาลเมื อง มี สิ่งที่ น่าสนใจในวัด เป็ นจิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์และวิหาร เป็ นภาพเขียนสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น ในโบสถ์เป็ นภาพ เกี่ยวกับพุทธประวัติเริ่ มตั้งแต่ประสู ติจนถึงปริ นิพพานฝี มือประณี ตมาก ส่ วนในวิหารเขียนเป็ น ภาพ พระพุทธเจ้าเสด็จโปรดเทพยดาบนสวรรค์และภาพปลงสังขาร ด้านบนฝาผนังเป็ นพระสงฆ์สาวก ชุ มนุ มสลับ กับพัดยศเหมือนจะไหว้พระประธานในวิหาร ฝาผนังด้านนอกหน้าวิหารมี ภาพถวาย พระเพลิงศพ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและภาพชีวติ ชาวบ้านที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา เข้าใจว่าเป็ นฝี มือชั้น หลัง


71

ภาพ 36 แสดงจิตกรรมฝาผนังวัดอุโบสถาราม นอกจากนี้ ภายในวัดอุโบสถาราม ยังมีสิ่งของที่น่าชมอีกมาก เช่น เสมาหิ นสี แดงหน้าโบสถ์ ตูพ้ ระธรรมและ ตูใ้ ส่ ของเขียนลายกนกเถาลายดอกไม้บาตรฝาประดับมุกที่ได้รับพระราชทานจาก รัชกาลที่ 5 เป็ นฝี มือช่างสิ บหมู่ และหงส์ ยอดเสา เป็ นต้น และยังมีอาคารสถาปั ตยกรรมเก่าแก่ที่น่า ชมหลายหลัง ได้แก่ มณฑปแปดเหลี่ ยม เป็ นอาคารแปดเหลี่ ยม สองชั้น มี บนั ไดวนอยู่ด้านนอก อาคาร ซุ ม้ หน้าต่างเป็ นวงโค้งแบบอาคารในยุคอาณานิ คม ที่มีลกั ษณะผสมแบบตะวันตก มีลายปูน ปั้ นคล้ายไม้เลื้ อยที่กรอบหน้าต่าง และมีพระพุทธรู ปปูนสลักนูนสู ง อยู่ที่ดา้ นนอกของอาคาร เจดี ย ์ หกเหลี่ยม ย่อมุมไม้สิบสองทรงรัตนโกสิ นทร์ หอประชุ มอุทยั พุทธสภา ซึ่ งเป็ น หอสวดมนต์ เป็ น ศาลาทรงไทย หน้าบันประดับลวดลายปูนปั้ น และแพโบสถ์น้ าํ ซึ่ งใช้ในการประกอบพิธีทางศาสนา เช่น งานบวช งานศพ เป็ นต้น


72

ส่ วนที่ 4 วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี 1. งานปิ ดทองไหว้ พระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ งานปิ ดทองไหว้พระพุทธมงคลศักดิ์ สิทธิ์ เป็ นงานท้องถิ่ น จัดขึ้นที่วดั สังกัสรัตนคีรีในวัน ขึ้น 3-8 คํ่า เดือน 4 ของทุกปี เป็ นงานประเพณี ไหวพระคู่บา้ นคู่เมืองอุทยั ธานี ซึ่ งเดิมนั้นเป็ น งานนมัส การปิ ดทองพระพุ ทธบาทจําลองบนยอดเขาสะแกกรั ง ในระยะหลังจึ งจัดงานในคราว เดี ยวกันที่วดั นี้ ในวันขึ้น 5 คํ่า เนื่ องจากเป็ นวัดที่พุทธศาสนิ กชนส่ วนใหญ่มาไหว้พระพุทธมงคล ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ และขึ้ น ยอดเขาเพื่ อ ปิ ดทองพระบาทจํา ลองมากที่ สุ ด และได้ใ ห้มี ง านให้ มี ก าละเล่ น สนุกสนานควบคู่กนั ไป 2. พิธีถวายสั กการะพระราชานุสาวรีย์ ในวันที่ 6 เมษายน ของทุ ก ปี ซึ่ งตรงกับช่ วงที่ ดอกสุ พรรณิ ก าร์ หรื อดอกฝ้ ายคํา ดอกไม้ ประจําจังหวัดบานสะพรั่งอยู่บนเขาสะแกกรังด้วยความสวยงาม จะมีพิธีถวายสักการะพระราชานุ สาวรี ยส์ มเด็จพระบรมมหาชนกนาถ แห่ งรัชกาลที่ 1 ซึ่ งมีพระนามเดิมว่า นายทองดี รับราชการใน ตําแหน่ งพระอักษรสุ นทรศาสตร์ เสมียนตรากรมมหาดไทย และต่อมาในสมัยกรุ งศรี อยุธยาเป็ น เจ้า พระยาจักรี ศรี องครั ก ษ์ ครั้ นในสมัยกรุ ง รั ตนโกสิ นทร์ สมเด็จพระพุ ทธยอดฟ้ าจุ ฬ าโลกปฐม กษัตริ ยแ์ ห่ งราชวงศ์จกั รี (พระนามเดิ มนายทองด้วง) ได้สถาปนาพระอัฐิพระบิดาเป็ นสมเด็จพระ ชนกธิ บดี เมื่อปี พ.ศ. 2538 เมืองอุทยั ธานีถือว่าเป็ นเมืองต้นราชวงศ์จกั รี 3. ประเพณีตักรบาตรเทโว จังหวัดอุทยั ธานี การตักบาตรเทโวเป็ นประเพณี ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ตักบาตรเทโว หรื อเรี ยกว่า การ ตักบาตรเทโวโรหณะ ซึ่ งคําว่า “เทโว” ย่อมาจาก “เทโวโรหณะ” แปลว่า การเสด็จจากเทวโลก การ ตักบาตรเทโวจึงเป็ นการระลึกถึ งวันที่พระพุทธองค์เสด็จกลับจากการโปรดพระพุทธมารดาในเท วโลก ประเพณี การทําบุญกุศลเนื่ องในวันออกพรรษานี้ ทุกวัดในประเทศไทย ก็จะมีการจดพิธีการ ตักบาตรเทโวนี้ ตกั บาตรเทโว หรื อตักบาตรเทโวโรหณะ เป็ นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์


73

ชั้นดาวดึงส์ในเวลาเช้าวันแรม 1 คํ่า เดือน 11 หลังจากที่พระองค์ทรงจําพรรษาที่น้ นั เป็ นเวลา 3 เดือน ความสําคัญของวันเทโวโรหณะ เป็ นวันที่มีการทําบุญตักบาตรที่พิเศษวันหนึ่ ง กล่าวคือ ในพรรษา หนึ่งพระพุทธเจ้าได้เสด็จไปยังสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ แสดงพระอภิธรรมโปรด พระมารดา และทรงจํา พรรษาที่น้ นั พอออกพรรษาก็เสด็จลงจากเทวโลกนั้นมายังโลกมนุ ษย์ โดยเสด็จลงที่เมืองสังกัสส์ ใกล้เมื องพาราณสี ชาวบ้านชาวเมื องทราบข่าวก็พากันไปทําบุญตักบาตรพระพุทธองค์ที่น้ นั และ เป็ นการรับเสด็จพระพุทธองค์ด้วย กล่ าวกันว่า ในวันนี้ ได้เกิ ดเหตุอศั จรรย์ คือ เทวดา มนุ ษย์ และ สัตว์นรก ต่างมองเห็นซึ่ งกันและกัน จึงเรี ยกวันนี้ อีกชื่ อหนึ่ งว่า “วันพระเจ้าเปิ ดโลก” คือ เปิ ดให้เห็น กันทั้ง 3 โลกนั้นเอง การตักบาตรรับเสด็จพระพุทธเจ้าได้ปฏิบตั ิสืบเนื่ องต่อกันมาเป็ นประเพณี จนถึงเมืองไทย จึงเรี ยกประเพณี น้ ี ว่าการตักบาตรเทโวโรหณะ เพื่อให้สะดวกในการสื่ อความหมายนิ ยมสั้น ๆ ว่า การตัก บาตรเทโว ด้วยเหตุ น้ ี ณะจึ งเรี ยกอี ก ชื่ อหนึ่ ง ว่า วันตัก บาตรเทโวเมื่ อถึ ง วันตักบาตรเทโว พุทธศาสนิกชนนิยมไปทําบุญตักบาตรกันที่วดั โดยแต่ละที่จะเตรี ยมของไปทําบุญ ในแบบที่อาจตะ แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กบั ที่สัดในแต่ละที่ เช่ น เตรี ยมอาหารในตอนเช้า อาหารที่เตรี ยมเพื่อตักบาตร เป็ นพิ เศษในวันนี้ คื อ ข้า วต้ม มัด และข้า วต้ม ลู ก โยน วัดบางวัดอาจจะจํา ลองสถานการณ์ ว นั ที่ พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลกชั้นดาวดึงส์ คือ ประชาชนจะนัง่ หรื อยืนสองฝั่งทางลงจากอุโบสถ หรื อศาลา พระสงฆ์เดินเข้าแถวเรี ยงลําดับรับบาตรตรงกลาง โดยมีมคั นายก เดินอัญเชิญพระพุทธรู ป นําหน้าแถวพระสงฆ์ หลักจากตักบาตรแล้ว มีการอาราธนาศีล สมาทานศีล และรักษาศีล ฟั งธรรม และทําสมาธิ ตามโอกาส เพื่อทําให้จิตใจบริ สุทธิ์ ผ่องใส แผ่เมตตา และกรวดนํ้าอุทิศส่ วนกุศลให้กบั ญาติ ผูล้ ่วงลับ และสรรพสัตว์ โดยในปี นี้ได้มีการจัดงานตักบาตรเทโว ที่ วัดสังกัสรัตนคีรี เขาสะแก กรัง อ.เมือง จ.อุทยั ธานี โดยภายในงานมี การแสดงแสง สี เสี ยง พร้อมรับประทานอาหารสํารับคาวหวาน พิธีตกั บาตรเทโว ข้าวสารอาหารแห้ง ข้าวต้มลูกโยน การแสดงโต๊ะหมู่บูชาประดับงาช้าง ประเพณี ต ัก บาตรเทโวที่ ว ดั สั ง กัส รั ต นคี รี จัง หวัด อุ ท ัย ธานี เป็ นงานประเพณี ที่ เ ป็ น เอกลักษณ์สาํ คัญของจังหวัด และจัดได้สอดคล้องกับตํานานมาก โดยสมมติ ให้มณฑปที่ประดิษฐาน รอยพระพุทธบาทจําลอง ซึ่ งตั้งอยูบ่ นยอดเขาสะแกกรัง เป็ น “สิ ริมหามายากุฎาคาร” มีบนั ไดทอด ยาวจากมณฑปลงสู่ บริ เวณลานวัดสังกัสรัตนคีรี ซึ่ งอยูเ่ ชิ งเขาสะแกกรัง เปรี ยบเสมือนบันไดทิพย์ที่ ทอดยาวจากสวรรค์ดาวดึ ง ส์ สู่ เมื องสั งกัส นคร เปรี ยบเสมื อนบันไดทิ พ ย์ที่ ท อดยาวจากสวรรค์ ดาวดึงส์ สู่ เมืองสังกัสนคร เริ่ มตั้งแต่วนั ขึ้น 15 คํ่า เดือน 11 ก่อนออกพรรษา และจะตีระฆังที่หน้า มณฑป บนยอดเขาสะแกกรัง เสี ยงระฆังจะดังกังวานไปไหลเป็ น สัญญาณว่าเทศกาลงานตักบาตรเท


74

โวเริ่ มขึ้นแล้ว และพระสงฆ์ 9 รู ป จะเจริ ญพระพุทธมนต์บนยอดเขา มีการแสดงปาฐกถาธรรม จุด พลุ ตะไล ไฟพะเนี ยง สวยงาม วันรุ่ งขึ้น (แรม 1 คํ่า เดือน 11) ตอนสาย ๆ จะอัญเชิญพระพุทธรู ป ปางเปิ ดโลก ขึ้นเสลี่ยงคานหาม โดยมีผแู ้ ต่งชุ ดนุ่งขาวห่ มขาวสมมติเป็ นเทวดาหามเสลี่ยง ลงมาจาก ยอดเขา ตามด้วยขบวนพระภิกษุสงฆ์ทุกรู ป ที่จาํ พรรษาในเขตอําเภอเมือง อุม้ บาตรลงมาจากยอดเขา เดินลงมาตามบันได สู่ บริ เวณเชิงเขาด้านล่าง 4. การแข่ งเรือยาว แข่งเรื อเป็ นกีฬาพื้นบ้านเก่าแก่ชนิดหนึ่งของชาวกรุ งเก่าที่มีการเล่นสื บทอดกันต่อกันมาแต่ สมัยโบราณ จากหลักฐานพบว่ามีการแข่งเรื อกันมาแล้วตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ดังปรากฏในกฎ มนเทียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆ ในสมัยกรุ งศรี อยุธยา ได้กล่าวถึงพระราชพิธีประจําเดือน 11 ซึ่ งเป็ นการอาษยุชพิธีน้ นั จะมีพิธีแข่งเรื อด้วย นอกจากนี้ ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ ยงั ได้กล่าวถึ งการ เล่นแข่งเรื อของชาวบ้านในสมัยกรุ งศรี อยุธยา ซึ่ งมักมีการพนันปะปนอยูด่ ว้ ยและมีการละเล่นที่นิยม กันมากในสมัยนั้นทีเดียว การเล่นแข่งเรื อนับเป็ นกีฬาพื้นบ้านที่นิยมเล่นสื บทอดต่อเนื่ องกันมาโดย ตลอด แม้ในสมัยกรุ งรั ตนโกสิ นทร์ ก็ปรากฏหลักฐานว่ามี การเล่ น แข่งเรื อกันเป็ นประจําเสมอมา เช่ น ในสมัยรั ชกาลที่ 2 เมื่อครั้งทรงโปรดให้ปรั บปรุ ง ราชวัง มี การขุดสระภายในพระราชวัง ใน พ.ศ. 2361 ก็ทรงโปรดให้มีการแข่งเรื อใน ครั้งนั้นด้วย ในสมัยรัชกาลที่ 5 การแข่งเรื อเป็ นกีฬาที่เล่น กันอย่างแพร่ หลาย เมื่อมีชาวต่างชาติชมด้วย ดังปรากฏในพระราชนิ พนธ์ตอนหนึ่ งความว่า เย็นวันนี้ มีการแข่งนาวา ที่กรงน่าตําหนักแพแม่น้ าํ ใหญ่ เรื อที่นงั่ กราบสี่ เอกไชย มาพายให้เจ้าฝรั่งเขานัง่ ดู การ เล่นแข่งเรื อของชาวบ้านในสมัยก่อนมีจุดมุ่งหมาย เพื่อเป็ นการทําบุญ ทํากุศล คือ ชาวบ้านจะเล่นกัน ในเทศกาลทอดกฐิน ทอดผ้าป่ า ซึ่ งจะอยูใ่ นเดื อน 10-12 ซึ่ งระยะนี้ จะเป็ นช่ วงฤดูน้ าํ มาก ชาวบ้านที่ อยูต่ ามที่อยู่ริมฝั่ งแม่น้ าํ จะใช้เรื อเป็ นพาหนะ เมื่อมีงานพิธีทาํ บุญจะมีการแห่ แหนกันทางนํ้า เพื่อนํา องค์กฐิน องค์ผา้ ป่ าไปยังวัดเมื่อเสร็ จพิธีการทางศาสนาแล้ว ก็จะมีการเล่นแข่งเรื อกัน ซึ่ งถือกันว่าผูท้ ี่ ร่ วมแข่ง ขันจะได้บุ ญทางหนึ่ ง ด้วย นอกจากนี้ ก ารเล่ นแข่ ง เรื อยังเป็ นการเล่ นเพื่ อจุ ดมุ่ ง หมายอี ก ประการ เช่ น บางท้องถิ่ นจะจัดให้มีการแข่งเรื อในงานทําบุญไหว้พระประจําปี ของแต่ละท้องถิ่ น บางแห่งจะมีการแข่งเรื อเพื่อเป็ นการบรวงสรวงสักการะสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านนับถือ บางแห่ งจัดให้ มีการเล่นแข่งเรื อเทศกาลสนุกสนานรื่ นเริ งต่างๆ เป็ นต้น อย่างไรก็ตามการแข่งเรื อมักจัดการเล่นกัน เฉพาะในฤดูน้ าํ มากเท่ากัน การเล่นแข่งเรื อของชาวบ้านสมัยก่อนในภาคกลาง มักจัดเป็ นประเพณี ประจํา ปี และมี ก ารเล่ น เป็ นที่ แ พร่ ห ลายแทบทุ ก จัง หวัด เช่ น จัง หวัด ประจวบคี รี ข ัน ธ์ ราชบุ รี


75

สมุ ท รสงคราม สมุ ท รสาคร สมุ ท รปราการ กาญจนบุ รี กรุ ง เทพฯ จันทบุ รี อ่ างทอง สุ พ รรณบุ รี นครสวรรค์ และอุทยั ธานี เป็ นต้น ในปั จจุบนั การแข่งเรื อยังมีการเล่นกันอยูโ่ ดยทัว่ ไป

ภาพ 38 แสดงการฝึ กซ้อมแข่งเรื อ การแข่งขันเรื อยาว ประเพณี แข่งเรื อยาวได้จดั ขึ้นที่บริ เวณหน้าศาลากลางจังหวัดอุทยั ธานี ในงานประเพณี ตกั บาตรเทโว ณ เขาสะแกกรังการแข่งเรื อยาวประเพณี ชิงถ้วยพระราชทานฯ การแข่ ขันเรื อยาวเป็ นประเพณี ไทยมาช้านาน ในจังหวัดที่มีแม่นาไหลผ่ ้ํ าน เรื อยาวถูกแบ่งออกตามขนาด ของเรื อโดยกีการกําหนดฝี พายบนเรื อเป็ นหลัก มี การเรี ยกชื่อตามความยาว คือเรื อยาวเล็ก เรื อยาว กลาง เรื อยาวใหญ่ และแบ่งตามจํานวนฝี พาย เช่นเรื อยาวไม่ เกิน 5 ฝี พาย ไม่เกิน 8 ฝี พาย ไม่เกิน 30 ฝี พาย ไม่เกิน 55 ฝี พาย ที่จงั หวัดอุทยั ธานี มีการจัดการแข่งขันเรื อ ยาวประเพณี ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี 2552 จัดขึ้นในวัน เดียวกันกับประเพณี ตกั บาตรเทโวโรหนะวัดสังกัสรัตนคีรี ที่ลือชื่ อ วันที่ 5 ตุลาคม 2552 นอกจากนี้ ยงั มีการแข่งขันเรื อรอบ คัดเลือกในวันที่ 3 ตุลาคม วันที่ 4 ตุลาคม แข่งรอบ 8 ทีมสุ ดท้าย และมีการ แข่งขันเรื อประเภท พื้นบ้านสร้างความสนุกสนานสลับกันไปตลอดวัน


76

5. งานฉลองครบรอบการเสด็จประพาสต้ น การเสด็จประะพาสต้นเมืองอุทยั ธานี 10 สิ งหาคม 2449 (พระราชนิพนธ์เสด็จประพาสต้น ในรัชกาลที่ 5) วันที่ 10 ออกเรื อ 2 โมงเช้า มาถึงหน้าที่วา่ การเมืองมโนรมย์ 4 โมงเศษ เขาเอาแพเล็ก มาจอดเรี ยงกัน 4 หลัง แล้วทํานอกชานจนดูเป็ นแพใหญ่ดี 5 โมงเช้า ลงเรื อมาไปเข้าคลองสะแกกรัง ชัว่ โมงเศษถึงเขายืนแพวัดไปจอดที่ๆ เคยจอดแต่ก่อน ทํากับข้าวกินข้าวแล้ว บ่าย 2 โมงเศษ ลงเรื อ ไปเหนื อนํ้า หยุดถ่ายรู ปแล้วขึ้นตลาด คราวนี้ ถนนแห้งเดิ นดูได้ทว่ั ถึ ง ดูครึ กครื้ นกว่าตลาดกรุ งเก่ า มาก กลับมาลงเรื อแวะที่หน้าวัดโบสถ์ พบพระครู จนั ครู่ หนึ่ ง แล้วกลับลงมามโนรมย์ ขึ้นเดินบนบก ครึ กครื้ นกว่าที่ คาดเป็ นอันมาก ที่ติดได้เพราะเหตุดว้ ยหน้าแล้ง พวกสแกกรังต้องเดิ นมาซื้ อในที่ น้ ี เพราะปากคลองปิ ดเข้าได้แต่เรื อพายม้า 2 แจว รั ชกาลที่ 5 เสด็จพระราชดําเนิ นหัวเมื องฝ่ ายเหนื อ ปี 2444 เมื่ อครั้ งพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดําเนิ นหัวเมืองฝ่ ายเหนื อเมื่อ พ.ศ.2444 นั้น พระองค์ได้เสด็จ ประพาสเมืองอุไทยธานี ซึ่ งในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2444 (ร.ศ.120) นั้นพระยาประธานนคโรไทย จางวางกํากับเมืองอุไทยธานี ได้ออกไปรอรับเสด็จที่พลับพลาท่าฉนวน อําเภอมโนรมย์ เมืองไชย นาท ซึ่งมีจดหมายเหตุปรากฎความดังนี้ “เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ร.ศ.120 เวลาเช้า 3 โมงเศษ เสด็จพระราชดําเนิ นด้วยเรื อพระที่นงั่ กลไฟ องครักษ์ล่องไปเข้าคลองโกรกกรากที่ปากคลองนั้นตื้น เป็ นคันช่องข้างเหนื อเข้าไม่ได้ เข้าได้แต่ช่อง ใต้ ถัดปากคลองเข้าไปหน่ อยหนึ่ ง มีบา้ นเรื อนและแพอยู่บา้ ง เป็ นที่ ลุ่มจนถึ งพรมแดนเมืองอุไทย ธานี ต่อเข้าไปจนเป็ นที่ดอน ฟากข้างขวามือเป็ นป่ ายางโดยมาก 2 ชัว่ โมงจึงถึงเมืองอุไทยธานี ซึ่ งตั้ง พลั บ พลาที่ ท ้ า ยเมื อ งใกล้ ที่ ว่ า การซึ่ งปลู ก ใหม่ ไ ด้ พ ระราชทานพระแสงราชศาสตรา เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์และเสมา แก่ขา้ ราชการเมืองอุไทยธานี เมื่อเสด็จแล้วก็ประทับเสวยกลางวันในที่นน่ั เวลาบ่ายเสด็จพระราชดําเนิ นด้วยเรื อพระที่นง่ั แจว มีเรื อไฟเล็กลากไปตามลําคลอง ถนนมีแต่ร้อนนัก จึงไม่ได้ทอดพระเนตรเห็ นบ้านเรื อนตอน ข้างบก เสด็จพระราชดําเนินขึ้นที่ท่าตลาดใกล้วดั ขวิด ตลาดนั้นมีผคู ้ นหนาแน่น แต่ถนนยังเป็ นทราย อ่ อนและรางนํ้า มัก จะเต็ม ไม่ เ ป็ นถนน ที่ ไ ด้ท าํ เป็ นแต่ ท างเดิ น ได้ท อดพระเนตรเห็ นบ้า นเรื อ น หนาแน่น ราษฎรเป็ นคนบริ บูรณ์ โดยมากความบริ บูรณ์ของเมืองนี้ อาศัยการค้าข้าวอย่างเดียว เพราะ เหตุที่แผนดินนอกคลองนั้นออกไปเป็ นพื้นที่ราบมากมีลาํ ห้วยซึ่ งมีน้ าํ แต่ฤดูฝน เมื่อพระราชดําเนินกลับจากตลาดแล้ว เสด็จพระราชดําเนิ นทอดพระเนตรวัดอุโบสถรามอยู่ ตรงข้ามพระครุ อุไทยธรรมนิ เทส (จัน) ทําแพช่อฟ้ าจอดไว้ถวายที่หน้าวัดและเชิ ญพระพุทธรู ปหล่อ


77

ด้ว ยเงิ น สององค์ องค์ ห นึ่ งหนัก 70 ชั่ง องค์ ห นึ่ งหนัก 50 ชั่ง มาตั้ง ให้ ท อดพระเนตรและขอ พระราชทานถวายด้วยทรงพระราชดํา ริ เห็ นว่า เป็ นพระซึ่ งราษฎร ได้มีใจศรั ทธาหล่อขึ้ น ควรจะ คงไว้ให้เขาได้สักการบูชา จึงไม่ทรงรับ และพระ 2 องค์น้ นั องค์ที่หนัก 50 ชัง่ หุ ้มผ้ามีกลีบจีวรหล่อ ด้วยเงิ นไม่ได้ผสม อีกองค์หนึ่ งผสมทองแดง เจ้าของว่าเพื่อให้เงาลึ กเป็ นพระอย่างแม่ลูกอิน แล้ว เสด็จพระราชดําเนิ นออกจากจังหวัด ไปตามลําคลองสะแกกรัง แล้วลัดออกทางคลองสําเหล้า มา ออกทางคลองขุนสุ นกั ข์ แล้วออกคลองปากบาง คลองทั้ง 2 นี้ เป็ นคลองแคบ แต่คลองหลังนํ้าเชี่ ยว จัดต้องขึ้นทรงพระราชดําเนินเลียบคลองไปลงเรื อพระที่น้ งั ที่แม่น้ าํ ออกที่เกาะเทโพ

ภาพ 39 แสดงการเตรี ยมเรื อสําหรับงานฉลองครบรอบการเสด็จประพาสต้น “เสด็จพระราชดําเนินกลับถึงพลับพลาบ่าย 4 โมงเศษ ที่พลับพลาร้อนจัด ต้องประทับอยูบ่ น บก เวลาคํ่าฝนตกหนักแล้วตกมากบ้างน้อยบ้าง ไปตลอดคืนยันรุ่ ง ยุงชุม” กระบวนเรือเสด็จ กระบวนเรื อที่ จดั สําหรั บใช้ใ นการเสด็จประพาสต้นเป็ น“กระบวนเรื อปิ กนิ ก ” ได้จดั กระบวนเรื อเสด็จ โดยมีเรื อกลไฟสําหรับลากเรื อพระที่นงั่ กระบวนเรื อที่ใช้ในการเสด็จประพาสต้น (ครั้งที่ 1) ร.ศ. 123 มีชื่อเรื อ ปรากฏดังนี้


78

1. เรื อยอดไชยา เป็ นเรื อ 6 แจว ที่พระยาวจีสัตยาลักษ์ (ขํา ศรี ยาภัย) เจ้าเมืองไชยาได้สร้าง ถวายพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงดํารงราชานุภาพ ใช้เดินทางล่วงหน้ากระบวนไปก่อน เพื่อจัดเตรี ยมการเดินทาง พระที่ประทับแรม ตลอดจนที่ทาํ อาหาร 2. เรื อลบแหล่งรัตน เป็ นเรื อพระที่นงั่ ยนต์ ที่บริ ษทั บอร์ เนี ยวถวายเป็ นเรื อประทับ เดิ มชื่ อ เรื อชื่นใจ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็ น เรื อลบแหล่งรัตน 3. เรื อพระที่นง่ั เป็ นเรื อมาดประทุน ขนาด 4 แจว 4. เรื อเล็ก 5. เรื อต้น ใช้เป็ นเรื อพระที่นง่ั รอง 6. เรื อเครื่ องมหาดเล็ก หรื อ เรื อตาอ้น กระบวนเรื อที่ใช้ในการเสด็จประพาสต้น (ครั้งที่ 2) ร.ศ. 125 มีชื่อเรื อ ปรากฏดังนี้ 1. เรื อสุ วรรณวิจิก เป็ นเรื อแม่ปะ ใช้เป็ นเรื อพระที่นงั่ 2. เรื อประพาส เป็ นเรื อชะล่า มีเก๋ งเรื อ 3. เรื อเหลื อง หรื อเรื อประทุนเหลือง สําหรับพระเจ้าลูกยาเธอประทับภายหลังใช้เป็ นเรื อ สําหรับล้างรู ป 4. เรื อเก๋ ง ของกรมหลวงสมเด็จพระน้องยาเธอ กรมหลวงดํารงราชานุภาพ 5. เรื อเก๋ ง ของพระยาสุ จริ ตรักษา เจ้าเมืองตาก 6. เรื อเก๋ ง ของพระยาวิเชียรปราการ เจ้าเมืองกําแพงเพชร 6. ประเพณีในเทศกาลตรุ ษสงกรานต์ ตรุ ษตรงกับวันแรมสิ บห้าคํ่า เดือนสี่ ตามปฎิทินทางจันทรคติถือว่าเป็ นวันสิ้ นปี ส่ วนสงกรานต์ ตรงกับวันที่สิบสาม เมษายน ตามปฎิทินทางสุ ริยคติ ถือว่า ดวงอาทิตย์โคจรเข้าสู่ ราศีเมษ ในเทศกาล นี้ มีการทําบุญตักบาตรและการละเล่นต่าง ๆ เทศกาลตรุ ษเริ่ มตั้งแต่ วันแรมสิ บสี่ ค่ าํ เป็ นการรับวัน ตรุ ษ วันแรมสิ บห้าคํ่าเป็ นวันตรุ ษ วันขึ้นหนึ่งคํ่า เดือนห้า เป็ นวันส่ งท้าย การทําบุญในเวลาเช้า จัดอาหารไปถวายพระ อาหารที่ขาดไม่ได้คือ ขนมจีนนํ้าพริ ก หรื อนํ้ายา เป็ นของคาว ข้าวเหนี ยวแดง กะละแม เป็ นของหวาน จัดให้มีการบังสกุล อัฐิญาติผใู ้ หญ่ อุทิศส่ วน กุศลให้ผตู ้ าย กลางวันไปเยีย่ มญาติผใู ้ หญ่ ส่ วนหนุ่มสาวก็จะมีการละเล่นเช่น ทอดสะบ้า ระบํา รําวง ช่วงชัย ไม้ห่ ึ ง มอญซ่อนผ้า ฯลฯ


79

วันมหาสงกราต์ตรงกับวันที่สิบสาม เมษายน วันที่สิบสี่ เป็ นวันเนา วันที่สิบห้า เป็ นวันเถลิงศก ขึ้นจุ ลศักราชใหม่ มีการําบุ ญให้เกิ ดศิ ริมงคลมีการทําบุ ญ ตักบาตร เหมือนวันตรุ ษ มีการก่อเจดี ย ์ ทราย สรงนํ้าพระ รดนํ้าขอพรผูใ้ หญ่ เล่นนํ้า ปล่อยนกปล่อยปลา นอกจากนี้ จะมีการแห่ ธงสงกรานต์ โดยชาวบ้านจะเดินถือธง เดินขบวน ไปตามหมู่บา้ น มีขบวนกลองยาว นําหน้า การแห่ ธงสงกรานต์ เพื่อ ขอบริ จาคเงินตามศรัทธา แล้วนําเงินมาถวายวัดถือเป็ นการทําบุญ 7. ประเพณีจัดโต๊ ะหมู่บูชาประดับงาช้ าง ในสมัย อยุธ ยา จัง หวัด อุ ท ัย ธานี เ ป็ นเมื อ งที่ จ ะต้อ งจับ ช้า ง ส่ ง ไปกรุ ง ศรี อ ยุธ ยาเป็ นประจํา นอกจากนี้ ยงั เป็ นเมืองทําไม้ซ่ ึ งจะต้องใช้ชา้ งช่วยในการชักลากซุ ง จึงมีชา้ งมากพอสมควร เมื่อช้าง ล้มก็เก็บงาเอาไว้ บ้านคหบดีส่วนใหญ่จึงมีงาช้างบ้านละหลาย ๆ คู่ เป็ นมรดกตกทอดมาถึงลูกหลาน เจ้าของงาช้างจะเก็บรักษางาช้าง โดยนําไปเก็บรักษาประดับคู่กบั โต๊ะหมู่บูชาประจําบ้าน เมื่อมีการ แห่เจ้าประจําปี ของศาลเจ้าต่าง ๆ ชาวบ้านในตลาดอุทยั ธานี จะนําโต๊ะหมู่บูชามาตั้งหน้าบ้านและ นํา งาช้าง มาประดับโต๊ะหมู่บูชาด้วย เพื่อแสดงฐานะของแต่ละบ้านว่าใครจะมีงางามกว่ากันต่อมาเมื่อมี การแห่ ขบวนรถพุทธประวัติในวันตักบาตรเทโวจังหวัดอุทยั ธานี​ี จึงเชิ ญชวนบ้านต่างๆที่มีงาช้างจัด โต๊ะ หมู่ บู ช าประดับ งาช้า งออกมาประกวด เพื่ อ เป็ นการประชาสั ม พันธ์ ง านตัก บาตรเทโว และ ประกวดโต๊ะหมู่บูชาประดับงาช้าง ซึ่ งหาดูได้ที่จงั หวัดอุทยั ธานีแห่งเดียว 8. งานแห่ เจ้ า ของชาวจีนในอุทยั ธานี เป็ นประเพณี ของชาวจีนในอุทยั ธานี ที่จะจัดพิธีแห่ เจ้าพ่อและเจ้าแม่ ซึ่ ง ประดิ ษฐานอยู่ที่ศาลต่าง ๆ โดยกําหนดวันแห่ ตามการครบปี ของ เจ้าแต่ละศาล ซึ่ งเจ้าบางองค์ 5 ปี ถึงจะมีการแห่ครั้งหนึ่ง บางองค์ 12 ปี และบางองค์ 14 ปี ในการแห่ เจ้าพ่อปึ งเถ่ากง เจ้าพ่อหลักเมือง อุทยั ธานี น้ ี ในขบวนแห จะมี สาวงามถื อธงร่ วมขบวน ไปตามถนนรอบเมือง และจะมีสิงโตคณะ ต่างๆ อวยพรตามร้ านค้าคนจี นในตลาด ซึ่ งทุกร้ านจะตั้งโต๊ะบูชาไว้ ถ้าเป็ นงานของเจ้าแม่ทบั ทิ ม "จุย้ บ้วยเนี้ยว" จะมีพิธีเปลี่ยนเครื่ องทรงเจ้าแม่ เมื่อครบ 12 ปี และเข้าทรงกับทําพิธีลุยไฟ ตานานเมืองอุทยั ธานี ตํา นานเมื องอุ ท ยั ตามตํา นานเล่ า ว่า ท้า วมหาพรหมได้ม าตั้ง เมื องที่ บ ้า นอุ ไ ทย ในสมัย สุ โขทัยเชื่ อกันว่าเป็ นแหล่งที่อยูข่ องคนไทยจึงเรี ยกว่า เมืองอู่ไทย ต่อมาแม่น้ าํ เปลี่ยนทางเดินทําให้


80

เมืองเกิดกันดารนํ้า เมืองอู่ไทยจึงถูกทิ้งร้างจนถึ งสมัยอยุธยา จนกระทัง่ สมิงพะตะเบิด ชาวมอญได้ เข้ามาปรับปรุ งพัฒนาเมืองอู่ไทย โดยขุดทะเลสาบกักเก็บนํ้าไว้ใกล้เมืองและตั้งตนเป็ นผูป้ กครอง เมืองอู่ไทย ชาวอุทยั ธานีจึงนับถือว่า พะตะเบิด เป็ นเจ้าเมืองคนแรก พญานาคพ่นไฟวัดเขาสะแกกรัง เขาแก้วหรื อเขาสะแกกรั งที่ ทอดยาวอยู่หน้าเมื องอุ ทยั ธานี น้ ัน เล่ า ขานสื บต่ อกันว่า เป็ น พญานาค ซึ่ งทอดกายสงบนิ่ งมานาน จนร่ างกลายเป็ นหิ นแล้วเป็ นภูเขาแก้วจนถึงปั จจุบนั พญานาค จะต้อ งคายพิ ษ ทุ ก ปี ซึ่ งจะเกิ ด ไฟไหม้ป่ า หรื อ บ้า นเรื อ นราษฎรที่ อ ยู่บ ริ เ วณส่ ว นหัว หรื อ ปาก พญานาคในราวเดือนเมษายนของทุกปี มีซินแส(หมอดู) ทํานายว่า การสร้างมณฑปรอยพระพุทธ บาท บนหัว เขาสะแกกรั ง ไม่ ส ามารถสะกดพญานาคไม่ ใ ห้ พ่ น ไฟได้ ต้อ งหาสิ่ ง ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ มี อิทธิ ฤทธิ์ ยงิ่ ใหญ่ มาสะกดจึงย้ายพระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ จากวัดขวิดริ ม

ภาพ 40 แสดงเขาสะแกกรัง แม่น้ าํ สะแกกรัง บริ เวณวัดสังกัสรัตน์คีรีซ่ ึ งตรงกับ บริ เวณปากพญานาค ตั้งแต่น้ นั มา เมือง อุทยั ธานีไม่เคยเกิดอัคคีภยั ครั้งใหญ่อีกต่อไป เป็ นตํานานเล่าต่อกันมา ถ้าเล่าขานโดยคนจีนจะเปลี่ยน พญานาค เป็ นมังกร ตามตํานานนิยายจีน ความเชื่ อในเรื่ องการเกิดอัคคีภยั ทําให้เกิดการป้ องกันมาก ขึ้น


81

ชีวติ วัฒนธรรม แม่น้ าํ สะแกกรั งเป็ นลํานํ้าสําคัญที่ไหลผ่านตัวจังหวัดอุ ทยั ธานี มี เรื่ องเล่าต่อกันมาว่า ใน สมัยก่อนเมื่อพ่อค้าล่องเรื อผ่านมาจะรู ้ ได้ว่าถึ งบ้านสะแกกรังแล้ว ด้วยต้นสะแกจะออกดอกเล็ก ๆ ช่อยาวสี เขียวอมเหลือง ที่ห้อยลงมาริ มนํ้า โดยเฉพาะในเดือนยี่ถึงเดือนสามจะสังเกตได้ชดั เจน การ ล่องเรื อสัมผัสแม่น้ าํ สะแกกรัง ชมภาพชีวติ ของชาวแพ ซึ่ งได้สร้างบ้านคร่ อมไว้บนแพลูกบวบไม้ไผ่ และตลอดลํานํ้า เราจะได้เห็ นการปลูกพืชผักลอยนํ้า โดยเฉพาะเตยแพ และพุทธรักษาที่ชาวบ้าน ปลูกไว้อย่างมากมาย รวมไปถึงการเลี้ยงปลาในกระชังที่ทาํ กันทุกแพ และที่ถือว่าเป็ นความโดดเด่น ของแม่น้ าํ สายนี้ ได้แก่ ปลาแรดที่มีรสชาติดีกว่าแหล่งอื่น ๆ ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรจึง มีการทําประมงนํ้าจื ดจํานวนมาก และในบางฤดู จะมี กุง้ แม่น้ าํ ขนาดใหญ่ ให้กบั คนท้องถิ่ นได้ตก ขึ้นมาเป็ นอาชีพเสริ มมีรายได้ดี

ภาพ 41 แสดงตลาดเช้าสะแกกรัง


82

ตลาดเช้าของอุทยั ธานี ถือได้วา่ เป็ นแหล่งจําหน่ายปลาสดที่น่าสนใจยิ่งนักและระหว่างการ ล่องเรื อสามารถขึ้นไปชมวิธีการทําปลารมควันที่มีคุณภาพสู งได้อีกด้วย นอกจากสภาพวิถีชีวิตที่ ยังคงความงามแล้ว สภาพธรรมชาติตลอดลํานํ้ามีทิวทัศน์สองฝั่งที่ทาํ ให้นกั ท่องเที่ยวรู ้สึกผ่อนคลาย ได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักดูนกที่สามารถดูนกได้ตลอดลํานํ้า ประกอบด้วยนกที่หากิ น ริ มนํ้าชนิ ดต่าง ๆ ทั้งนกกระเต็น นกยาง อีลุม้ นกอีโก้ง เหยี่ยวขาวไหล่เทา และอีกมากมายให้ได้สุข ใจ ช่ วงเวลาที่เหมาะสมในการล่องแม่น้ าํ สะแกกรังแนะนําให้เป็ นช่ วงเช้าตรู่ จะเห็นภาพชี วิตต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนใช้เวลาทั้งสิ้ นประมาณ 1-2 ชม.

ภาพ 42 แสดงแพตลาดนํ้า ในแต่ละวันเมื่อตะวันสาดแสง ริ มแม่น้ าํ สะแกกรังจะคึ กคักไปด้วยผูค้ นที่พากันออกมาเป็ นพ่อค้า แม่คา้ ขายของแบกะดินริ มแม่น้ าํ สะแกกรัง ส่ วนใหญ่จะเป็ นของพื้นบ้าน ทั้งอาหาร ขนม ผัก ผลไม้ หลากหลายชนิ ด และของใช้ต่างๆ แต่ที่ขาดไม่ได้ก็คือปลา ซึ่ งสดใหม่หลายชนิ ด หลายร้ านที่ ท้ งั ชาวบ้านและชาวแพได้นาํ มาวางขายกันตลอดเส้นทางตลาด เรี ยกได้วา่ เป็ นตลาดปลาที่ใครอยากทาน ปลาสด สามารถมาเดินเลือกซื้ อรับอากาศสดชื่นยามเช้าที่ไร้ซ่ ึ งมลพิษได้อย่างสบาย


83

ภาพ 43 แสดงตลาดเช้าสะแกกรัง ส่ วนชาวแพสะแกกรั งนั้น ยัง คงใช้ชี วิตกับ สายนํ้า ด้วยความรั ก ความผูก พัน โดยทุ ก เช้า จะต้องพายเรื อพากันนําลูกหลานมาส่ งบนฝั่งหน้าตลาด เพื่อมาเรี ยนหนังสื อ เป็ นภาพที่แทบจะหาดู ได้ยากในปั จจุบนั ชาวแพสะแกกรังจะนิ ยมใช้เรื อพายมากกว่าใช้เรื อยนต์เพราะรักความสงบ และ ยังคงช่วยกันอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรนํ้า ใช้ชีวติ คู่กบั สายนํ้าด้วยความรักและรู ้คุณค่า แม้กาลเวลา ที่นาํ ความสะดวกสบายเข้ามาอย่างมากมายเพียงใดแล้วก็ตาม ลํานํ้าสะแกกรังไหลผ่านตัวจังหวัด อุทยั ธานี มีเรื่ องเล่าต่อกันมาว่า ในสมัยก่อน เมื่อพ่อค้าล่องเรื อผ่านมา จะรู ้ ได้ว่าถึ งบ้านสะแกกรั ง แล้ว โดยเฉพาะในเดือนยี่ถึงเดือนสามจะสังเกตได้ชดั เจน ต้นสะแกจะออกดอกเล็ก ๆ ช่อยาวสี เขียว อมเหลืองห้อยลงมาริ มนํ้า


84

ภาพ 44 แสดงเรื อนแพลุ่มนํ้าสะแกกรัง บริ เวณสองฝั่ งแม่น้ าํ จะมีเรื อนแพอยู่เรี ยงราย ฝั่ งแม่น้ าํ ด้านตะวันตกมีอาคารบ้านเรื อนอยู่ หนาแน่ น เป็ นตลาดใหญ่ของที่มาขายที่ ตลาดนั้น ทั้งข้าวสารซึ่ งวางขายอยู่ในกระบุ ง อาหารคาว หวาน ส่ วนใหญ่ชาวบ้านจะปลูกเองทําเอง และนํามาขาย ส่ วนฝั่งแม่น้ าํ ด้านตะวันออกเป็ นเกาะเทโพ มี สวนผลไม้ และป่ าไผ่ตามธรรมชาติ เรื อนแพที่ อยู่สองฝั่ ง แม่ น้ าํ เป็ นเรื อนไม้สร้ า งคร่ อมบนแพ ลูกบวบไม้ไผ่ ชาวแพบอกว่าอยูแ่ พแล้วสบาย หน้าร้อนลมเย็น หน้าหนาวตอนเช้าแดดอุ่น ชาวเรื อน แพเหล่านี้ ส่วนใหญ่ประกอบอาชี พทําการประมงในช่ วงเช้าหลังจากที่ได้ปลามาจะนํามาชําแหละ เสี ยบไม้เป็ นแผง ผึ่งให้แห้ง ย่างรมควันทําเป็ นปลาแห้ง และนําไปขายในตลาด ตามเรื อนแพริ มนํ้า เหล่านี้ยงั มีกระชังเลี้ยงปลาสวาย ปลาแรด และปลาเทโพบ้างเล็กน้อย ปกติปลาแรดที่เลี้ยงในกระชัง จะไม่คาวเหมื อนปลาแรดที่ เลี้ ยงในบ่อดิ นอยู่แล้ว แต่ปลาแรดในกระชังของที่ นี่นับว่าขึ้ นชื่ อมาก เพราะเนื้ อแน่ นนุ่ มและหวาน บางคนกล่ าวว่า เป็ นเพราะนํ้าที่นี่มีการไหลเวียนดี และอาจมีแร่ ธาตุ บางอย่างอยู่ ปลาแรดจึงมีเนื้อนุ่ม


85

ภาพ 45 แสดงเรื อโดยสารนักท่องเที่ยว สภาพความเป็ นอยูท่ ี่สามารถพบเห็นตามสองฝั่งลํานํ้าสะแกกรัง จึงเหมาะสําหรับนัง่ เรื อชม ทิวทัศน์ โดยจะนัง่ เรื อไปถึง อําเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาทก็ได้ โดยจะวนเฉพาะรอบตัวเกาะเทโพ หรื อนักท่องเที่ยวสามารถว่าจ้างเรื อจากบริ เวณท่าเรื อตลาดสดเทศบาลเมืองอุทยั ธานี เรื อจะล่องไป มโนรมย์ ใช้เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมง ถ้าล่องเรื อในช่วงเย็น คือประมาณ 16.00-18.00 น. จะได้เห็น พระอาทิ ตย์ตกซึ่ งสวยงามมาก และในช่ วงเดื อนธันวาคม-มกราคม จะเห็ นยอดักปลาเต็มไปหมด บางครั้งอาจได้เห็นชาวบ้านพายเรื อมาเก็บผักตบชวา เพื่อนําใบไปรองเข่งปลา หรื อจะนําไปเลี้ยงหมู ได้ เกาะเทโพเดิ มเป็ นแหลมยื่นออกมาคัน่ ระหว่างแม่น้ าํ เจ้าพระยาและแม่น้ าํ สะแกกรัง แม่น้ าํ ทั้งสองสายจะมาบรรจบกันทางทิ ศใต้ข องแหลม และมี ก ารขุดคลองเชื่ อมทางเหนื อในภายหลัง เพื่อให้แม่น้ าํ เจ้าพระยามาหนุ นแม่น้ าํ สะแกกรังในยามนํ้าแล้ง แหลมนี้ จึงกลายเป็ นเกาะเทโพ ที่เกาะ เทโพนี้ เป็ นจุ ดที่ น่า สนใจสํา หรั บ ผูท้ ี่ ช อบปั่ นจัก รยานท่ องเที่ ย ว หลัง จากข้า มสะพานที่ เชื่ อมต่ อ ระหว่างตลาดสดเทศบาลและวัดอุโบสถาราม ซึ่ งไม่ยาวนักและขนาดเล็กเพียงรถมอเตอร์ ไซค์สวน กันได้ ก็นบั เป็ นการเริ่ มต้นการเดิ นทางบนเกาะเทโพ บรรยากาศสองข้างจะเป็ นป่ าไผ่ ไร่ ขา้ วโพด และทุ่งนาให้บรรยากาศที่สงบร่ มรื่ น ชาวบ้านที่นี่ทาํ สวนส้มโอ มีท้ งั พันธุ์มโนรมย์ และขาวแตงกวา และยังปลูกมะไฟด้วย เมื่อผ่านบ้านท่าดินแดงจะเห็นเสื่ อลําแพนวางขายอยู่ ชาวบ้านใช้ตน้ ไผ่ที่มีอยู่


86

หนาแน่นในพื้นที่นาํ มาสานเสื่ อ และวางขายกันที่หน้าบ้าน ไม่ได้ส่งตลาด หากเดินทางต่อไปถึงวัด ภู มิ ธ รรม ก็ จะมี ศ าลาให้นั่ง พัก ตากลมได้ บรรยากาศในวัดเงี ย บสงบ เมื่ อปั่ นจัก รยานครบรอบ เส้นทางที่กาํ หนดไว้ก็จะถึงท่าเรื อที่จะข้ามไปวัดท่าซุ งได้ รวมระยะทางปั่ นจักรยานบนเกาะทั้งหมด 33 กิโลเมตร การเกิด เมื่อทารกคลอดออกมาแล้วจะอาบนํ้าทําความสะอาด ให้นอนบนเบาะแล้วยังมีกระด้งรอง ถ้า เป็ นชายก็จดั สมุดดินสอไว้ขา้ งตัว ถ้าเป็ นหญิงก็จดั เข็มด้ายไว้ หมอผูท้ าํ พิธีจะยกกระด้งขึ้นร่ อนและ พูดว่า "สามวันลูกผี สี่ วนั ลูกคน ลู กของใคร มารับเอาเน้อ" แล้วก็ทิ้งกระด้งลงกับพื้นเบา ๆ พอให้ ทารกรู ้สึกตัวก็จะตกใจร้อง พ่อของทารกหรื อญาติผใู ้ หญ่ก็จะออกปากรับว่า "ลูกข้าเอง" ทําดังนี้ สาม ครั้ง แล้วหมอผูท้ าํ พิธีก็จะส่ งทารกให้ท้ งั กระด้ง เพื่อเป็ นการป้ องกันเภทภัยต่าง ๆ กระด้งที่ใส่ ทารก จะต้องอยูภ่ ายใต้วงสายสิ ญน์ ติดผ้ายันต์สี่ทิศ บางแห่ งก็ใช้แห ทําเป็ นกระโจมกางคลุ มกระด้ง ส่ วน แม่น้ นั พอคลอดแล้วให้รีบดื่มนํ้าส้มมะขามเปี ยก กับเกลือ เพื่อให้ถ่าย ก่อนนอนไฟ ด้วยเตาเชิ งกราน เป็ นเวลาสามวัน ในระหว่างนั้นทางฝ่ ายพ่อ และญาติจะช่ วยกันทอดเตาไฟใหญ่ เพื่อการอยู่ไฟ หา หมอเลื อกวันดี ให้ทาํ นํ้ามนต์ธรณี สาร ประพรมเตาไฟ เคี่ ยวข้าวสารกับเกลื อพ่นท้องพ่นหลังแม่ เรี ยกว่า ดับพิษไฟ จะต้องมีธูปเทียน ข้าวตอกดอกไม้ หมากพลู กุง้ พล่า ปลายํา ใส่ กระทงเล็ก ๆ วาง ไว้ท้ งั สี่ มุมเตา ก่อนที่จะขึ้นกระดานไฟจะต้องกราบไหว้เตาไฟ ระลึกถึงคุณพระเพลิ ง พระพาย แม่ พระธรณี แม่พระคงคา และกินยาแก่โลหิ ต เช้าเย็น ใช้เวลาอยู่ไฟประมาณหนึ่ งเดือน ส่ วนทารกให้ นอนอยูใ่ นกระด้งสามวัน จึงทําพิธีข้ ึนอู่ คือนอนเปล มีบายศรี ปากชามทําขวัญ อครบเดือนก็จะทําพิธี โกนผมไฟ มีบายศรี ผกู ขวัญ ให้เงินทองสิ่ งของทําขวัญให้ศีลให้พร การบวช เป็ นประเพณี การบําเพ็ญกุศลของคนไทยที่นบั ถือพระพุทธศาสนา ผูช้ ายที่มีอายุครยยีส่ ิ บปี ขึ้นไป จึงบวชเป็ นพระภิกษุได้ ถือเป็ นประเพณี แห่ งการดําเนิ นชี วิต เข้าสู่ วยั ผูใ้ หญ่ เพื่อการศึกษาอบรมให้ รู ้ จกั ผิดชอบชั่วดี บาปบุ ญคุ ณโทษตามหลัก พระพุ ท ธศาสนา ใช้เป็ นแนวทางในการดําเนิ นชี วิต นอกจากนั้นยังถื อเป็ นการตอบแทนบุ ญคุ ณ บิ ดามารดาอี ก ด้วย ก่ อนบวชผูท้ ี่ จะบวช หรื อพ่อแม่


87

จะต้องเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์ เพื่อแสดงความจํานงว่าจะบวชรับข้อปฎิ บตั ิต่าง ๆ ให้เข้าใจไว้ก่อน ก่อนบวชหนึ่งวัน มักมีการทําขวัญ ผูบ้ วชต้องโกนผมโกนคิ้ว นุ่งขาวห่ มขาว เตรี ยมพร้อมที่จะบวชที่ เรี ยกว่า นาคหมอทําขวัญจะต้องประกอบพิธีตามตําราสวดคาถา ให้โอวาทสอนนาค ให้รําลึกถึงคุณ บิดามารดา ให้อดทนขยันหมัน่ เพียรในกิจพระศาสนา ตลอดถึงอันตรายเบื้องต้นที่จะทําให้พระภิกษุ ถึงศีลวิบตั ิ จบแล้วก็เบิกบายศรี ญาติผใู ้ หญ่ร่วมเวียนเทียน สามรอบ หมอเจิมขวัญให้นาคเป็ นเสร็ จพิธี ทําขวัญก่อนนาคเข้าอุโบสถ จะต้องเดินประทักษิณอุโบสถสามรอบ เมื่อเข้าโบสถ์แล้วไปนัง่ รอพระ อุปัชฌาย์บิดามารดาจะมอบ ผ้าไตร และเครื่ องสักการะพระอุปัชฌาย์อาจารย์ให้แก่เจ้าหน้าที่ จากนั้น เป็่ นหน้าที่ของคณะสงฆ์ที่จะทําพิธีบรรพชาอุปสมบทให้ต่อไป ผูท้ ี่บวชแล้วจะเป็ นผูส้ มบูรณ์เต็มตัว เมื่อสึ กออกมาแล้วจะมีเหย้ามีเรื อนก็เหมาะสม นับว่าเป็ นผูใ้ หญ่พอที่จะปกครองตัวเองได้ อาหารการกิน ของดีเมืองอุทยั อุทยั ธานี เนื่ องจากชาวบ้านลุ่มแม่น้ าํ สะแกกรั ง มีวิถีชีวิตส่ วนใหญ่อยู่กบั แม่น้ าํ ชาวบ้านจึงมีอาชี พ เลี้ ยงปลากระชัง โดยจะมีการยกยอข้างกระชังปลาเพื่อนํามาขายและนํามาเป็ นอาหาร ส่ วนที่เหลื อ นั้นยังนํามาแปรรู ปได้อีก โดยวิธีการย่าง ปลาย่างของชาวบ้านมีความสะอาด หอม กรอบ และอร่ อย ทําให้ “ปลาย่าง” เป็ นหนึ่งในของดีของจังหวัดอุทยั ธานี

ภาพ 46 แสดงปลาเนื้ออ่อนย่าง


88

ํ ่ไหลเอื่อยเรื่ อยไปบนเส้นทางคดเคี้ยวของ “ลําน้าสะแกกรั ํ ปลาย่าง สายน้าที ง” กอปรกับการบริ หาร ํ จัดการที่ให้ ทุกคน โดยเฉพาะชุ มชนชาวแพสํานึ กรักและช่วยกันดูแลรักษา คุณภาพผืนน้าสายนี ้ จึง ยังคงดีไม่ต่างจากอดี ต ฉะนั้น กับการประกอบอาชี พเลี้ ยงปลาในกระชัง จึงยังคงเป็ นงานหลักหล่อ เลี้ยงชีวติ ชุมชนชาวแพ ภูมิปัญญาแปรรู ปปลาด้วยวิธีนาํ ไปย่าง จนได้เนื้ อปลากรอบหอมอร่ อยซึ่ งกับ ภูมิปัญญานี้ สืบทอดมานานนับทศวรรษ อาชี พนี้ ทาํ กันมาตั้งแต่รุ่นปู่ ย่าตายาย นับได้เป็ นร้อยปี แล้ว การเลี้ยงปลาในกระชังมีท้ งั ปลาแรด เทโพ สวาย ปลากด ซึ่ งปลาที่เลี้ยงอยูไ่ ม่พอ นํามาแปรรู ป และ บางชนิ ดก็ไม่ได้เลี้ ยง จึงรับซื้ อจากชาวประมงคนอื่น ส่ วนปลานํามาย่างก็จะมี สวาย เทโพ ปลากด เนื้ออ่อน ซึ่ งทุกชนิดได้รับความนิยมจากตลาด ในการย่างปลามีข้ นั ตอนที่พิถีพิถนั เป็ นอย่างมาก โดย เริ่ มตั้งแต่นาํ ปลาสด โดยยกตัวอย่างปลาเนื้ออ่อน มาล้างทําความสะอาดอย่างดี จากนั้นเสี ยบไม้ เรี ยง ต่อกัน โดยให้ตวั ปลาทับซ้อนบนครี บของปลาอีกตัวหนึ่ง แล้วจึงดัดลําตัวปลาให้โค้ง นําไปตากแดด จนแห้ง เริ่ มก่อไฟโดยใช้ข้ ีเลื่อยไม้เบญจพรรณเป็ นเชื้ อเพลิง นําปลาที่ผา่ นกระบวนการตากแดดวาง ลงบนตะแกรงใช้เสื่ อรําแพนสานจากไม้ไผ่คลุ มปิ ดทับ ย่างด้วยไฟอ่อนไปเรื่ อย ๆ จนเนื้ อปลาแห้ง เบากรอบ แต่ระหว่างนั้นให้กลับปลาเพื่อจะได้สุก สี เสมอกัน ปลาแรดสะแกกรัง กรมทรัพย์สินทางปั ญญา นิยามปลาแรดลุ่มนํ้าสะแกกรังอุทยั ธานี ไว้ดงั นี้ ปลาแรดลุ่มนํ้าสะแกกรังอุทยั ธานี (Pla Rad Lumnam Sakae Krang Uthai Thani) หมายถึง ปลาแรดที่มีเกล็ดหนา หน้างุม้ ครี บบนและล่างสั้น เพศผูม้ ีโหนกสู งใหญ่กว่าเพศเมีย สี เนื้ อเข้ม หนัง หนา มีเมือกน้อย ด้านบนลําตัวสี น้ าํ ตาลปนดําหรื อค่อนข้างเทา ด้านล่างสี ขาวเงินแกมเหลือง เพศผูท้ ี่ โคนครี บหูมีสีขาวและมีนอสี แดง เพศเมียที่โคนครี บหูมีสีดาํ เนื้อนุ่มแน่นเป็ นเส้นใย มีรสหวาน ไม่มี กลิ่นโคลนหรื อกลิ่นสาบ เป็ นปลาแรดที่เลี้ยงในกระชัง บริ เวณลุ่มนํ้าสะแกกรัง เริ่ มตั้งแต่บา้ นจักษา จนไปบรรจบที่ แม่น้ าํ เจ้าพระยาที่ ตาํ บลท่าซุ ง ซึ่ งครอบคลุ มพื้นที่ ตาํ บลสะแกกรั ง ตําบลอุทยั ใหม่ ตําบลนํ้าซึ ม และตําบลท่าซุ ง ของอําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี ในธรรมชาติปลาแรดสร้างรังวางไข่คล้ายรังนกควํ่าอยูใ่ นนํ้า โดยใช้วสั ดุ คือ แหน สาหร่ าย ผักบุง้ จอก ไข่น้ าํ ต้นเจียก ฟางข้าว กาบมะพร้ าว หญ้าต่าง ๆ รากไม้ รากหญ้า ที่มีลกั ษณะอ่อนนุ่ ม ไข่ปลาแรดมีลกั ษณะเหลื องกลม ไขมันมาก ลอยนํ้า ฤดูวางไข่อยูใ่ นช่ วงเดือนกุมภาพันธ์-สิ งหาคม ยุคแรก ๆ งานเลี้ยงปลาแรด ผูเ้ ลี้ยงหาลูกปลาได้จากธรรมชาติ เมื่อถึงช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ก็หาช้อน


89

ลูกปลามาใส่ ในกระชัง ได้มากบ้างน้อยบ้าง ทําให้ตอ้ งช้อนกันหลายครั้ งหลายหน ลู กปลาที่ได้มี ขนาดแตกต่างกัน เมื่อเทคโนโลยีพฒั นา นักวิชาการประมงได้ผสมเทียมปลาขึ้นหลายชนิ ด ดังนั้นผูอ้ ยากเลี้ยง ไม่จาํ เป็ นต้องหาช้อนลูกปลาแรดในธรรมชาติ แต่มีเอกชนเพาะจําหน่าย ข้อดีน้ นั สะดวก ขนาดของ ลูกปลาไม่แตกต่างกัน เมื่อนําลงเลี้ยงในกระชัง จึงเจริ ญเติบโตใกล้เคียงกัน เปรี ยบเทียบกับปลาชนิ ด อื่น ชาวบ้านเลี้ยงกัน ๖-๘ เดือน ก็จบั จําหน่ายได้แล้ว เขาเลี้ยงอาหารสําเร็ จรู ป แต่ปลาแรดในกระชัง ที่ลุ่มนํ้าสะแกกรัง ให้อาหารสําเร็ จรู ปช่วงที่อายุยงั น้อย เมื่อโตขึ้นจึงให้อาหารเป็ นผักและผลไม้ตาม ฤดูกาล เช่น จอก แหน ผักบุง้ ผักกาดขาว ตําลึง ขนุนสุ ก และอื่น ๆ ระยะเวลาที่เลี้ยง ปี ครึ่ งถึง ๒ ปี

ภาพ 47 แสดงปลาแรดสะแกรัง ปลาแรดพบทัว่ ไปในเมืองไทย เช่น แม่น้ าํ นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม แม่น้ าํ ตาปี จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี แต่ปลาแรดลุ่มนํ้าสะแกกรั งเขามี เอกลักษณ์ ทั้งนี้ คงเป็ นเพราะคุ ณภาพของนํ้า แหล่ ง อาหารของปลา เหมือนอย่างปลาช่อนแม่ลา สิ งห์บุรี เขามีของดีต่างจากที่อื่น สิ่ งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ นั้นมีขอ้ กําหนดที่ชดั เจน ไม่เฉพาะทางด้านสัตว์น้ าํ เท่านั้น พืชพรรณหลายชนิ ดก็ได้รับสิ่ งบ่งชี้ ทาง ภูมิศาสตร์ อาทิ ส้มโอขาวแตงกวาชัยนาท ซึ่ งอยูไ่ ม่ไกลจากอุทยั ธานี


90

ขนมปังสั งขยา สังขยา เป็ นขนมชนิ ดหนึ่ งของไทยทําจาก ไข่ นํ้าตาล กะทิ นํามากวนให้เข้ากัน นิ ยมแต่งสี และกลิ่ นด้วยใบเตยให้ได้สีเขียว หรื อผสมกับนํ้าชาเรี ยกสังขยาชาเย็น ใช้ทาขนมปั งหรื อใช้เป็ นไส้ ขนมปั ง ซาลาเปา ในมาเลเซี ยและอินโดนี เซี ยมีขนมลักษณะเดียวกันนี้ เรี ยก กายา หรื อศรี กายา เป็ น แบบที่ทาํ ให้ขน้ ใช้ทาขนมปั ง ใช้เป็ นไส้ขนมได้ดว้ ย ส่ วนผสมเป็ นไข่ กะทิ นํ้าตาล เคี่ยวให้เข้ากัน นิยมใส่ ใบเตยให้เป็ นสี เขียวอ่อนหรื อใส่ ไข่ให้เป็ นสี ส้ม กายาที่ใช้กินกับขนมปั งจะต่างจากกายาที่กิน กับข้าวเหนียว

ภาพ 48 แสดงขนมปังสังขยา วิธีทา ํ า และยีสต์เข้าด้วยกัน ปิ ดด้วยพลาสติกถนอม 1.ทําแป้ งหมัก โดยผสมแป้ งขนมปั งกับน้าเปล่ อาหาร พัก ทิ้งไว้ ประมาณ 30-60 นาที (แล้วแต่อุณหภูมิรอบข้าง) จนแป้ งโดว์พองเต็มที่ จากนั้นคน ให้ยบุ ตัว ผสมไข่กบั นม คนให้เข้ากัน เตรี ยมไว้ ํ 2. ผสมแป้ งขนมปั งอีกส่ วนกับน้าตาลทราย และเกลือป่ นให้เข้ากัน เทส่ วนผสมไข่ไก่กบั นม ลงไป ตาม ด้วยแป้ งหมัก นวดให้เข้ากันจนเนื้ อเนี ยน เทเนยละลาย ลงไปนวดให้เข้ากันจนเนื้ อเนี ยน ขึ้นรู ปขนมปั ง เป็ น ก้อนกลม


91

3. นําไปอบที่อุณหภูมิ 175 องศาเซลเซี ยส ด้วยไฟล่าง นานประมาณ 15-20 นาที จนสี ขนม สวย พัก ขนมทิ้งไว้ให้เย็นก่อนบีบไส้ ส้ มโอเกาะเทโพ หรือส้ มโอบ้ านนา้ ตก การปลูก เกษตรกรปลูกส้มโอมากที่บา้ นนํ้าตก ตําบลเกาะเทโพ อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี เพราะพื้นที่เป็ นที่ ราบริ มฝั่งแม่น้ าํ ดินอุดมสมบูรณ์ พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์ขาวแตงกวา มีรสหวาน กรอบอร่ อยเก็บไว้ได้นาน สร้ างชื่ อเสี ยงเป็ นที่ รู้จกั กันในนาม ส้มโอบ้านนํ้าตก คุ ณค่า เป็ นอาหาร ประเภทผลไม้ นิ ยมรับประทานกันทัว่ ไป มี คุณค่าด้านโภชนาการหลายอย่าง เช่ น คาร์ โบไฮเดรต วิตามินซี ฟอสฟอรัส เป็ นต้น หน่ อไม้ รวกเขาสะแกกรัง วิธีการทําหน่อไม้จืด 1.นําหน่อไม้มาต้มให้สุก ไม่ตอ้ งหัน่ เก็บเป็ นท่อน ๆ 2. นําไปใส่ ถุงพลาสติก หรื อขวด ไม่ตอ้ งอัดกันแน่น 3 .ให้นาํ ขวดไปแขว ต้องแขวนไว้เท่านั้น เนื่องจากถ้าวางพื้นจะเน่าควรเก็บในที่ร่ม วิธีการทําหน่อไม้เปรี้ ยว 1. ล้างหน่อไม้ให้สะอาด หัน่ เป็ นแว่น ๆ บาง ๆ เฉี ยง ๆ 2. นําไปหมักเกลือ โดยนําเกลือมาเคล้าทิง้ ไว้ 1 วัน (หน่อไม้จะนิ่ม) 3. นํามาบรรจุ ขวดพลาสติ กและควรเก็บไว้ในที่ ร่ม เก็บไว้ประมาณ 3 เดื อนแล้งจึ งนํามา รับประทานได้ แต่สามารถเก็บไว้ได้นานเป็ นปี วัฒนธรรมทางด้ านภาษาและวรรณกรรม ภาษา ภาษาที่ ใ ช้กนั โดยทัว่ ไปคื อภาษาไทยภาคกลาง แต่เนื่ องจากในเขตจังหวัดอุ ท ยั ธานี มีค น หลายเชื้ อชาติอยู่อาศัย เช่ นไทย จีน มอญ กะเหรี่ ยง จึงทําให้ภาษาที่ใช้แตกต่างกันไปบ้าง บางคําก็ เป็ นเอกลักษณ์ของจังหวัด


92

จารึ ก บริ เวณเมื องโบราณบึ ง คอกช้าง ตําบลไผ่เขี ยว อําเภอสว่างอารมณ์ พบจารึ กอักษร โบราณ ซึ่ งเป็ นหลักฐานแสดงว่า บริ เววณนี้มีความเจริ ญมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 ศิลาจารึ กที่พบมี สามหลัก ดังนี้ หลักที่ 1 จารึ กด้วยอักษรปั ลลวะ เป็ นภาษาสันสกฤต มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 เป็ นศิ ลาจารึ กชิ้ นแรกที่คน้ พบ มีตวั อักษรหนึ่ งบรรทัดแถว ยาวประมาณ 5 นิ้ ว สู ง 3 นิ้ ว เพียงด้าน เดียว บนศิลาแลง มีคาํ จารึ กดังนี้ คําจารึ ก วรปรชญาวาระ คําแปล สมัยที่ปรัญชาเป็ นเลิศ หลักที่ 2 จารึ กด้วยอักษรปั ลลวะ เป็ นภาษามอญ มีอายุอยูป่ ระมาณ พุทธศตวรรษที่ 12 - 14 มีตวั อักษรหนึ่งบรรทัด แถวยาว 8 นิ้ว สู ง 5 นิ้ว จารึ กเพียงด้านเดียว บนแผ่นหิ นหน้าเรี ยบ มีคาํ จารึ ก ดังนี้ คําจารึ ก ปุญญสิ ธเคลา คําแปล บุญย่อมส่ งเสริ มนักพรต หลักที่ 3 จารึ กด้วยอักษรปั ลลวะ เป็ นภาษามอญ มีอายุอย่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 12 - 14 มีอกั ษรหนึ่ งบรรทัด แถวยาว 4 นิ้ ว สู ง 4 นิ้ ว จารึ กเพียงด้านเดี ยว บนแผ่นหิ นหน้าเรี ยบ มีคาํ จารึ ก ดังนี้ คําจารึ ก ปสิ ณาวุ คําแปล จงเลือกไปทางนี้


93

วัฒนธรรมทางด้ านการช่ างฝี มือ ช่ างซ่ อมเรือโบราณ

ภาพ 48 แสดงช่างซ่อมเรื อ การทาดอกไม้ ใบเตย นอกจากชาวแพสะแกกรังจะหารายได้จากการเลี้ยงปลาในกระชังแล้ว การเลี่ยงแพใบเตยยังเป็ นอีก ช่องทางหนึ่ งที่สร้างรายได้ให้กบั ชาวลุ่มนํ้าสะแกกรังได้เป็ นอย่างดี เนื่ องจากวิถีชีวิตของชาวลุ่มนํ้า สะแกกรังยังดําเนิ นอย่างเรี ยบง่ายตามแบบวิถีชีวิตชาวพุทธริ มนํ้า ยังคงมีการพายรับบินฑบาตรจาก พระสงฆ์ยามเช้ากันเป็ นประจํา


94

ภาพ 49 แสดงแพใบเตย ใบเตย มี ป ระโยชน์ ม ากมายทั้ง ด้า นสมุ นไพรและการนํา มาประกอบเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของ อาหาร ไม่เพียงเท่านี้ ใบเตยยังสามารถน ามาประดิษฐ์เป็ นดอกกุหลาบสวย ๆได้ดว้ ย กลิ่นหอมของ ใบเตยช่ ว ยให้ส ดชื่ น สามารถหาได้ง่ า ย และวิ ธี ป ระดิ ษ ฐ์ก็ ไ ม่ ย าก อี ก ทั้ง เป็ นวัส ดุ ที่ เ ป็ นมิ ตรกับ ธรรมชาติ ลดวัสดุ ที่ก่อมลพิษ เหมาะกับการมอบเป็ นช่อดอกไม้แสดงความยินดี ประดับไว้ในส่ วน ต่างๆ ของบ้าน หรื อเป็ นดอกไม้บูชาพระก็ได้ ประโยชน์ของกุหลาบใบเตยหอม สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น นําไปดับ กลิ่นห้องนํ้า นําไปตั้งไว้ในห้องเรี ยนเพื่อไล่แมลง เป็ นต้น ส่ งผลให้นกั เรี ยนมีสภาพแวดล้อมที่ดีข้ ึน อากาศสดชื่นขึ้น และกุหลาบใบเตยหอมยังช่วยประดับให้ห้องนํ้ามีความสวยงามอีกด้วย หรื อนําไป ประดับในรถได้อีกเช่นกัน การทาธูปหอม ทองตะนาว เกาะเทโพ การทําธูปนั้นเป็ นการสะท้อนวิถีชีวิตในเรื่ องของความเชื่ อซึ่ งอยูค่ ู่กบั สังคมไทยมานาน ตั้งแต่ อดีตจนถึงปั จจุบนั นั้น ธูปถือว่าเป็ นสื่ ออย่างหนึ่งในการที่มนุ ษย์ใช้ติดต่อกับสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ไม่วา่ จะใน การประกอบศาสนพิธีต่างๆ การกราบไหว้บรรพบุรุษ ซึ่ งความเชื่ อในลักษณะนี้ มีความเชื่ อมานาน นับร้อยปี และมีอยูใ่ นทุกชุมชน โดยวิวฒั นาการของธู ปนั้นก็มีเพิ่มขึ้นตามยุคสมัยเช่นในเรื่ องของ สี กลิ่น ขนาด หรื อการพัฒนาให้แท่งขี้ธูปมีรูปร่ างอักขระหรื อภาพสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ที่เคารพบูชา ซึ่ งความ


95

เชื่ อเกี่ ยวกับสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ สิ่ งที่อยู่เหนื อธรรมชาติเหล่านี้ น้ นั ยังคงอยู่คู่กบั คนไทยและไม่สามารถลบ เลือนได้ และทําให้ภูมิปัญญาในการทําธูปนั้นยังมีอยูจ่ นถึงปั จจุบนั ในปั จจุบนั ธู ปนั้นมีรูปแบบและการใช้งานอย่างหลากหลายมากขึ้น จัดว่าการทําธู ปนั้นเป็ น ภูมิปัญญาสัง่ สม เริ่ มจากการทําธูปที่ใช้ในการไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ไม่วา่ จะเป็ นกระบวนการผลิตที่ยงั คง ใช้คนในการทํา และในเรื่ องของวัตถุดิบในการทําธู ปนั้นก็ยงั สามารถหาได้ในท้องถิ่น ถึงแม้จะเพิ่ม รู ปแบบของธูปนอกเหนือจากการธูปแบบธรรมดาที่ใช้ไหว้เป็ น ธู ปหอมสมุนไพร ธู ปไล่ยุง ธู ปหอม ใช้ผอ่ นคลาย รวมถึงการต่อยอดในการผลิตสิ นค้าที่ใช้วตั ถุดิบคล้ายคลึงกัน ออกมาเพื่อให้เหมาะสม กับยุคสมัยและความต้องการของผูบ้ ริ โภคในปั จจุบนั แต่ยงั คงไว้ซ่ ึ งภูมิปัญญาที่มีมาตั้งแต่ในอดีต

ภาพ 50 แสดง ธูปหอม ( ที่ ม า ข อ ง ภ า พ :

http://www.eakpawintravel.com/archives/264)

ซึ่ งภูมิปัญญาในการทําธู ปหอมทองตะนาวของชุ มชนเกาะเทโพนี้ สะท้อนวิถีชีวิตความเป็ น ชุมชนเกษตรกรรม และความเป็ นอยูแ่ บบดั้งเดิม คงไว้ซ่ ึ งเอกลักษณ์ที่เห็นได้เด่นชัดก็คือการยังคงใช้ วิธีการผลิ ตคือยังใช้แรงงานคนอยู่ ซึ่ งจะต้องมีความชํานาญสู ง เพราะใช้มือทําทุกขั้นตอน โดยจะ แตกต่างกับบางแห่ งที่ใช้เครื่ องจักรทําแทนกําลังคนแทบทั้งสิ้ น ด้วยความที่ชุมชนในพื้นที่น้ นั ส่ วน


96

ใหญ่มีอาชี พหลักคือเกษตรกรรม จึงยังคงไว้ซ่ ึ งการทําสิ่ งต่างๆด้วยตนเองแบบวิถีชีวิตดั้งเดิ มที่สืบ ทอดต่อกันมาจากบรรพบุรุษ โดยมีการทําธู ปเป็ นอาชี พเสริ ม และมีการถ่ายทอดองค์ความรู ้ ของภูมิ ปั ญญานี้ สืบต่อกันมาจากอดี ตจนถึ งปั จจุบนั ในลักษณะของทําสื บต่อกันมาเพราะใช้มือในการทํา ดังนั้นจึงต้องอาศัยความชํานาญและการฝึ กฝนจึงจะสามารถทําได้ ถึงแม้วา่ จะมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่เอื้อประโยชน์และอํานวยความสะดวกในการผลิ ตให้เร็ วและได้ครั้งละมากๆ แต่ชุมชนนี้ ก็ยงั ใช้ กรรมวิธีแบบดั้งเดิ มต่อไป ถื อเป็ นเอกลักษณ์ ในการทําธู ปหอมของชุ มชน เกาะเทโพที่เห็ นเด่นชัด มากที่สุด รองลงมาคือวัตถุดิบอย่างเช่นตัวก้านธู ปที่ใช้ไม้ไผ่สีสุก ซึ่ งเป็ นไม้ไผ่ที่มีอยูม่ ากใน ต.เกาะ เทโพ มีประสิ ทธิ ภาพในการติดไฟสู งซึ่ งเหมาะกับการนํามาใช้ทาํ ธู ปเป็ นอย่างยิ่ง รวมถึ งสมุนไพร ต่างๆที่ ใช้ในการปรุ งกลิ่ น สี ของธู ปที่สามารถหาได้ตามท้องถิ่ นเช่ นมะกรู ด ตะไคร้ แป้ งรํ่า มะลิ ฯลฯ ซึ่ งจะสามารถช่วยลดค่าต้นทุนการผลิตได้อีกทางหนึ่ง


97

วัฒนธรรมทางด้ านเครื่องมือเครื่องใช้ ตะกร้ า

ภาพ 51 ภาพแสดงตะกร้า ลักษณะเครื่ องมือประมง ทําจากไม้ไผ่สานปากมี เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 เซนติเมตร สู ง ประมาณ 30 เซนติเมตร มีเชือกสําหรับสะพาย บางครั้งที่ปากเย็บเนื้ออวนคลุมมีหูรูดเพื่อป้ องกันปลา ออก วิธีทาการประมง ใส่ ปลาที่ชาวประมงจับได้


98

กระชัง

ภาพ 52 แสดงกระชัง

ลักษณะเครื่ องมือประมง ทําจากไม้ไผ่ถกั เป็ นรู ปทรงกระบอกลักษณะคล้ายลอบนอน โครงทําด้วย ไม้หรื อเหล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 40 เซนติเมตร ด้านหัวและท้ายใช้ไม้ไผ่ถกั ปิ ดหมดทั้ง 2 ด้าน แต่เจาะด้านใดด้านหนึ่ งสําหรับเอาปลาเข้าออก โดยมีไม้เนื้ อแข็งหรื อแผ่นพลาสติกแข็งเป็ นฝา ปิ ด วิธีทาการประมง ใช้ขงั ปลาที่ชาวประมงจับได้


99

ข้ อง

ภาพ 53 แสดงข้อง

ลักษณะเครื่ องมือประมง ทําจากไม้ไผ่สานมีรูปร่ างต่างๆ กัน คล้ายแจกันทรงเตี้ยบ้าง คลายเป็ ดบ้าง ที่ปากมีงาสามารถเปิ ดปิ ดได้ มีเชือกสําหรับสะพายหรื อมัดเอว ข้องบางอันติดทุ่นที่ทาํ จากไม้ไผ่ หรื อ โฟม เพื่ อ ให้ ล อยนํ้า ได้ ปลาจะได้ไ ม่ ต าย มี ข นาดต่ า งกัน ขึ้ น กับ ปริ ม าณสั ต ว์น้ ํา ที่ ต้อ งการใส่ วิธีทาการประมง ใช้ใส่ ปลาที่จบั ได้ทุกชนิด


100

เบ็ดล่อ

ภาพ 54 แสดงเบ็ดล่อ

ลักษณะเครื่องมือประมง เป็ นเบ็ดคันที่ทาํ มาจากไม้รวก คันยาวประมาณ 5 เมตร ปลายคันเบ็ดผูกสาย เบ็ดยาวประมาณ 3.5 เมตร หรื อประเภทสายสั้น ประมาณ 0.5 เมตร ตัวเป็ นมีความยาวประมาณ 4.5 เซนติเมตร วิธีทาการประมง เบ็ดย็อกส่ วนมากจะใช้ตกปลาตามทุ่งนา และตามลํานํ้าสงคราม ชาวประมงจะเกี่ยว เหยื่อ และหย่อนเบ็ดไปที่ ผิวนํ้าและทําการกระตุ ก คันเบ็ดเบาๆ เพื่อให้เหยื่อเคลื่ อนไหวเป็ นการ กระตุน้ ให้ปลามากินเหยือ่ เหยือ่ ที่ใช้ได้แก่ ลูกปลา หรื อเขียด ทําเลที่จะใช้เบ็ดย็อก คือ บริ เวรทุ่งนาที่ มีทางนํ้าไหล และบริ เวรชายป่ า หรื อพืชนํ้าที่ลอยในลํานํ้าสงคราม


101

เบ็ดมือ

ภาพ 55 แสดงเบ็ดมือ

ลักษณะเครื่องมือประมง เบ็ดมือประกอบด้วยตัวเบ็ดเบอร์ 17 ผูกติดกับสายเอ็น และมีตะกัว่ ถ่วงอยู่ สู งจากตัวเบ็ดประมาณ 10 เซนติเมตร วิธีทาการประมง การทําการประมงเบ็ดมือ จําเป็ นจะต้องใช้เรื อพาย เพื่อเป็ นพาหนะในการทําการ ประมงตามลํานํ้าสงคราม ทําเลที่จะใช้เบ็ดมือ คือ บริ เวณ ตอม่อสะพาน พุ่มไม้ เสาไม้ ทําการประมง โดยเกี่ ยวเหยื่อ และหย่อนไปในนํ้าจนถึ งพื้น หรื อระดับกลางนํ้า บางครั้งต้องกระตุกสายเบ็ดเป็ น ระยะเพื่อให้เหยือ่ เคลื่อนไหวปลาจะได้มองเห้น เหยือ่ ที่ใช้ คือ กุง้ ฝอย เนื้อหอยกาบ


102

แห

ภาพ 56 แสดงหว่านแห ลักษณะเครื่ องมือประมง เป็ นเครื่ องมือที่สานด้วยเชื อกหรื อเอ็น โดยสานเป็ นรู ปวงกลม ขนาดตา แหจะอยูใ่ นช่วง 3-7 เซนติเมตร ขอบแหจะติดลูกตะกัว่ โดยรอบ ขนาดของแหมีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 3-6 เซนติเมตร วิธีทาการประมง ใช้จบั ปลาตามลํานํ้าสงคราม หนอง บึง ที่ระดับนํ้าไม่ลึกมาก ประมาณ 1-2 เมตร ชาวประมงยืนสังเกตปลาอยู่ริมฝั่ งหรื อบนเรื อเมื่อสังเกตเห็ นปลาขึ้นมาผุดจึงทําการหว่านแห แล้ว ชาวประมงก็จะลงไปงมจับปลาที่อยูใ่ นแห


103

ยอ

ภาพ 57 แสดงยอ ลักษณะเครื่องมือประมง ยอขันช่อมีส่วนประกอบ 3 ส่ วน (แพไม้ไผ่ คันยอ และเนื้ ออวน) แพไม้ไผ่ ใช้เป็ นที่ติดตั้งยอและเป็ นที่อยูอ่ าศัยชัว่ คราวของชาวประมงในขณะทีทาํ การประมง คันยอทําจากลํา ไม้ไผ่ และคันยอจะยึดอยูก่ บั ขายอที่ทาํ จากไม้ไผ่ที่มดั เป็ นง่ามสามารถควบคุ มการยกยอหรื อวางยอ โดยการดึ งเชื อกที่ขายอ เนื้ ออวนเป็ นรู ปสี่ เหลี่ ยมจัตุรัส ขนาด 10x10 เมตร ตรงกลางจะติดตั้งข้อง เพื่อให้ปลาเข้าไปเมื่อยกยอ วิธีทาการประมง ใช้เฝื อกกั้นทางเดินของปลาในลํานํ้าสงคราม เพื่อกันปลาให้เดิ นทางผ่านจุดที่วาง ยอ และทําการยกยอเป็ นระยะๆ จะยกถี่หรื อไม่ข้ ึนอยูก่ บั ว่าสามารถจับปลาได้หรื อไม่


104

ส่ วนที่ 5 แหล่งท่องเทีย่ ว แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ เขาสะแกกรัง เขาสะแกกรัง เป็ นภูเขาที่ต้ งั กั้นเมืองอุทยั อยู่ทางทิ ศตะวันตกก่ อนที่ จะเป็ นเขตรั กษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เหมือนดัง่ เป็ นร่ มเงาให้กบั จังหวัดอุทยั ทั้งจังหวัด แต่เดิมเรี ยกกันว่าเขาแก้ว เป็ น ที่ต้ งั ของวัดสังกัสรัตนคีรี เป็ นวัดเก่า แก่สร้ างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2443 ยอดเขาสะแกกรังเป็ นดินแดนที่ ชาวอุทยั ยกให้เป็ นสถานที่ศกั ดิ์สิทธิ์ ภายในวัด เป็ นที่ ประดิษฐานของพระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ เป็ น พระพุทธรู ปปางมารวิชัย ซึ่ งเป็ นพระคู่บา้ นคู่เมือง ของเมือง อุทยั มา ตั้งแต่สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น ที่ ชาวเมื องต่างให้ความเคารพศรั ทธาเป็ นจํานวนมาก ตั้งแต่อดี ต จนถึ งปั จจุ บนั ปั จจุ บนั ประดิษฐานอยูใ่ นวิหารหลังใหม่ฝั่งตรงข้ามบันไดทางขึ้นยอดเขาสะแกกรัง

ภาพ 58 แสดงเขาสะแกกรัง


105

ทางขึ้ นสู่ ยอดเขาสะแกกรั งขึ้นไปได้สองทาง คื อทางรถยนต์ และจากบริ เวณลานวัดจะมี บันได 449 ขั้นตัดตรงขึ้น สู่ ยอดเขาสะแกกรังถ้าไม่อยากเดินขึ้นบันไดก็สามารถใช้ทางรถก็ได้ โดย ขึ้นทางด้านข้างสนามกี ฬาจังหวัด ซึ่ งบน ยอดเขานั้นบนเขาสะแกกรังมีศาสนสถานที่สําคัญหลาย แห่ งคื อพระมณฑปทรงไทยสวยงามมี นามว่า สิ ริม หามายากุ ฎาคาร ซึ่ ง ที่ บ นนี้ เขาเปรี ย บให้เป็ น สถานที่ที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปเทศนา โปรดพระพุทธมารดาบน สรวงสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ แล้วเสด็จ กลับสู่ โลกมนุ ษย์ ซึ่ งตามพุทธประวัติกล่าวว่าพระพุทธเจ้าเสด็จลงมาที่เมือง กัสนคร และกลายมา เป็ นชื่ อวัดสังกัสรัตนคีรี จากบนยอดเขาสามารถมองเห็ นทิวทัศน์เมืองอุทยั ธานี ได้กว้างขวาง มีจุด นั่ง พัก ผ่ อ นชมวิ ว หลายจุ ด และมี ศาสนสถาน ที่ ใ ห้ เ ข้า ไปไหว้พ ระทํา บุ ญ หลายแห่ ง ทั้ง วิ ห าร พระพุ ท ธรู ป สํ า คัญ วิ ห ารพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ศาลเจ้า จี น นอกจากนี้ ยัง เป็ นที่ ต้ ัง ของมณฑป ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจําลอง ซึ่ งย้ายมาจากวัดจันทาราม สร้ างเมื่อ พ.ศ. 2448 ด้านหน้ามี ระฆัง ใบใหญ่ ที่ พ ระปลัดใจและชาวอุ ท ยั ธานี ร่ วมกันสร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2443 ถื อกันว่า เป็ น ระฆัง ศักดิ์สิทธิ์ ใครมาแล้วต้องตีเพื่อความเป็ นสิ ริมงคล

ภาพ 59 ล่องเรื อลํานํ้าสะแกกรัง


106

แหล่งท่องเทีย่ วทางนันทนาการ ตลาดเช้ าสะแกกรัง ตลาดเช้าสะแกกรัง ถือได้วา่ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิ ยมไม่นอ้ ยไปว่าสถานที่ท่องเที่ยวอื่น ๆ ซึ่ งที่ ตลาดเช้าขะมีการจําหน่าย ปลาสดที่น่าสนใจยิ่งนัก และระหว่างการล่องเรื อสามารถขึ้นไป ชมวิธีการทําปลารม ควันที่มีคุณภาพสู งได้อีกด้วย นอกจากสภาพวิถีชีวติ ที่ยงั คงความงามแล้ว สภาพ ธรรมชาติตลอดลํานํ้ามีทิวทัศน์สองฝั่งที่ทาํ ให้นกั ท่องเที่ยวรู ้สึกผ่อนคลายได้เป็ นอย่างดี

ภาพ 60 แสดงตลาดเช้าสะแกกรัง ตรอกโรงยา ถนนที่สะท้อนถึงภาพชี วิตความเป็ นอยูข่ องผูค้ นภายในเมืองอุทยั ธานี ในอดีตได้สมบูรณ์ที่สุด ในจัง หวัดอุ ทยั ธานี ถนนสายนี้ ใ นอดี ตเคยเป็ ที่ อยู่อาศัยและที่ ทาํ มาหากิ นแหล่ งใหญ่ ของชาวจี น อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยูใ่ นเมืองอุทยั ธานี ซึ่ งมีความหลากหลายทางฐานะตั้งแต่เถ้าแก่ยนั จนถึงจับกัง และคนลากรถเจ็กแต่ก็มีการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุ ข และช่วยเหลือจุนเจือซึ่ งกันแบบญาติพี่น้อง ในกลุ่มคนจีนมีการตั้งขบวนการอั้งยี่ โดยมีเถ้าแก่ซอยเป็ นผูน้ าํ ชาวจีนในสมัย นั้นและได้สร้างโรงยา ฝิ่ นเป็ นสถานที่สูบฝิ่ นอย่างถูกกฎหมายในสมัยของจอมพลป. พิบูลสงครามซึ่ งต่อมาในปี พ.ศ 2500


107

ถูกสั่งให้ปิดลงในสมัยของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงกลายเป็ นตํานานของชื่ อตรอกโรงยาตั้งแต่บดั นั้นเป็ นต้นมา

ภาพ 61 แสดงโรงฝิ่ น ถนนตรอกโรงยาแห่ งนี้ มีความสัมพันธ์ต่อชี วิตชุ มชนของคนในเมืองอุทยั ธานี ในหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านอาหารการกิน ในอดีตที่ผา่ นมาเป็ นแหล่งที่รวมของร้านอาหรของชาวจีนมีอาหารและขนม อร่ อย ๆ จํานวนมากเช่ น ข้าวต้ม กุ๋ยนานเป๋ งเฮี้ ยง ข้าวมันไก่ โกส่ วน เจ๊ก เซี้ ยะข้าวเตี๋ ยวไก่ เจ็กปิ ง เย็นตาโฟ และเม้งเป็ ดพะโล้ นอกจากนี้ ยงั มีขนมหวาน เช่น ขนมแคระเจ๊เตียง ซาลาเปาเจ๊กฉัว่ เจ๊อิม ลอดช่อง เจ๊ฮวยขนมหวาน


108

ภาพ 62 แสดงตรอกโรงยา ปั จจุบนั ภาคเอกชนในจังหวัดอุทยั ธานี ได้มีการรวมตัวกันในรู ปคณะกรรมการชุ มชนเมือง อุทยั ธานีจดั กิจกรรมถนนคนเดินตรอกโรงยาขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่ออนุ รักษ์และฟื้ นฟูเอกลักษณ์ ของเมืองอุทยั ธานี ในด้านต่าง ๆ เช่ น วิถีชีวิตชุ มชนที่สงบเรี ยบง่ายตลอดจนวัฒธนธรรมที่ดีงามใน ด้า นต่ า ง ๆ ตลอดจนบ้า นเรื อนที่ มี เอกลัก ษณ์ เ ช่ นเรื อ นแพ ศาลเจ้า วัด และห้ องแถวไม้โ บราณ นอกจากนี้บนถนนคนเดินยังเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ชุมชนที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้แสดงความคิดเห็น ในชุ มชนและจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น เวทีเสาวนาภาพเก่าเล่าเรื่ องเมืองเก่ากิจกรรมเด็กๆและเยาวชน การแสดงดนตรี ของชุมชน


109

ภาพ 63 แสดงถนนคนเดินตรอกโรงยา ถนนคนเดิ นตรอกโรงยา ซึ่ งเป็ นแหล่งรวมสิ นค้านานาชนิ ดทั้งเสื้ อผ้า ของกิน ของใช้ ไป จนถึงของเก่าของโบราณ และพระเครื่ อง ฯลฯ มีระยะทางเพียง 150 เมตร สองข้างทาง เราจะพบกับ บ้านไม้โบราณที่มีความเก่าแก่ แต่ยงั คงช่ วยกันอนุ รักษ์ดูแล สําหรับอาหารที่ข้ ึนชื่ อภายในถนนคน เดิน เช่น ขนมถังแตกเจ้าแรกของอุทยั ธานี ข้าวเกรี ยบปากหม้อ ขนมเบื้องญวน ลูกชิ้นปลากราย หมู สะเต๊ะ ปลาแหนม ฯลฯ ถนนคนเดินตรอกโรงยาจะเปิ ดให้บริ การทุกวันเสาร์ ในเวลา 16.00-20.00 น.


110

ภาพ 64 แสดงถนนคนเดินตรอกโรงยา ในส่ วนของด้านเศรษฐกิจได้มีการซื้ อขายสิ นค้าในตลาดเพิ่มขึ้นให้ผคู ้ า้ ขายที่อยูใ่ นชุ มชนดดย ได้จดั ให้มีพ้ืนที่ในการซื้ อขายสิ นค้าและนําเอาเอกลักษณ์ ของเมืองในด้านต่าง ๆที่ได้ขอ้ มูลจากการ ทํากิจกรรม เช่น รู ปภาพสิ่ งของตํานานเมืองมาสร้างคุณภาพเพิ่มให้กบั ตลาดโบราณบ้านสะแกกรัง แหล่งท่องเทีย่ วประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้ องถิ่น ตั้งอยู่ที่ ศูนย์การศึ ก ษานอกโรงเรี ย น จังหวัดอุทยั ธานี มีการจัดแสดงโครงกระดูกมนุ ษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ศิลาจารึ กอักษรปั ลลาวะ สมัยทวารวดี รวมทั้งสภาพภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ของเมืองอู่ไทยธานี พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดอุทยั ธานี ที่อยู่ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนจังหวัดอุทยั ธานี ถนนศรี อุทยั อําเภอเมืองอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี 31000 เบอร์ โทรศัพท์ 0-5651-1511 เบอร์ โทรสาร 05651-1153 พระแสงดาบศั สตราวุธประจาเมืองอุทัยธานี สมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นพระแสงดาบที่จงั หวัด อุทยั ธานี ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ครั้งเสด็จพระราชดําเนิ น ประพาสหัวเมืองฝ่ ายเหนื อถึงเมืองอุทยั ธานี เมื่อ พ.ศ. 2449 พระแสงดาบนี้ พระราชทานแก่จงั หวัด อุ ท ั ย ธานี เป็ นลํ า ดั บ ที่ 3 (อั น ดั บ 1 เมื อ งอยุ ธ ยา อั น ดั บ 2 เมื อ งชั ย นาท)


111

พระแสงดาบศัสตราวุธ เป็ นดาบไทยทําด้วยเหล็กสี ขาวอย่างดี ปลายแหลม คมด้านเดี ยว มี นํ้าหนักเบา สันเป็ นลาย ฝังงาในเนื้อเหล็กรู ปดอกไม้ร่วง และริ มสันทั้งสองข้างมีลายทองเป็ นรู ปก้าน ขด โคนตรงกลางมีจารึ กนามอักษร “พระแสงสําหรับเมืองอุไทยธานี ” ด้ามพระแสงทําด้วยไม้เนื้ อ แข็งหุม้ ทองลงยา โคนเป็ นลายกนกตาอ้อย ปลายด้ามเป็ นรู ปจุฑามณี บวั ควํ่า 3 ชั้น ประดับด้วยพลอย ต้นฝักพระแสงทําด้วยทองคําเป็ นรู ปรักร้ อยประดับพลอย มีกาบกนกหุ ้มต้นฝักทําด้วยทองคําเป็ น ลายก้านขด ช่อดอกแกมใบประดับพลอย ตัวฝักพระแสงทําด้วยทองคําดุน ฝักทั้งสองข้างมีลวดลาย ต่างๆ สวยงามมาก นับเป็ นศิลปกรรมฝี มือเยี่ยมแห่ งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ และเป็ นพระแสงดาบสําคัญ ประจําเมืองอุทยั ธานี ปั จจุบนั เก็บรักษาไว้ที่คลังจังหวัดอุทยั ธานี จะนําออกให้ชมเฉพาะในงานพระ ราชพิธีเท่านั้น ฮกแชตึ๊ง (Hok Sha Tung) บ้านไม้สักแบบจีนอายุเก่าแก่ประมาณ 100 ปี ชาวจีอพยพมาที่ หมู่บา้ นสะแกกรังตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย ส่ วนใหญ่เป็ นพ่อค้าที่มากับเรื อสิ นค้า หมู่บา้ นนี้ เป็ น ตลาดการค้าที่รุ่งเรื อง “ฮกแชตึ๊ง” ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็ นแหล่งที่พบปะสังสรรค์ และเป็ นศูนย์กลางใน การจัดงานต่างๆ เช่น เทศกาลกินเจประจําปี เป็ นต้น และที่นี่ยงั เคยเป็ นร้านขายยา ปั จจุบนั ชั้นบนใช้ เป็ นที่เก็บเครื่ องดนตรี และ สิ่ งของที่ใช้ในงานพิธีเทศกาลกินเจ และชั้นร้างเป็ นร้านยา เจ้าของคือคุณ เสงี่ยม ปาลวัฒน์วิไชย ฮกแชชตึ๊งตั้งอยูท่ ี่ 427 ถ.ศรี อุทยั ต.อุทยั ใหม่ อ.เมือง โทร. 0 5651 1078, 0 5651 1452, 0 1973 0527 พิพธิ ภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้ องถิ่นจังหวัดอุทัยธานี ได้จดั ตั้งขึ้นเป็ นทางการ เมื่อวันที่ 13 สิ งหาคม 2525 โดยใช้ตวั อาคารเดิมของโรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ ซึ่ งเป็ นอาคารไม้สอง ชั้น มี อายุ ก ว่า 80 ปี เป็ นที่ จ ัด แสดงสิ่ ง ต่ า งๆ ผสมผสานระหว่า งวิ ช าการ สิ่ ง แวดล้อม และ ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่ น ตลอดจนชี วิตความเป็ นอยู่ของชาวอุทยั ธานี ในอดี ตและปั จจุ บนั ให้เป็ น แหล่งรวบรวมข้อมูล เพื่อให้นกั เรี ยน นักศึกษาและประชาชน ได้ศึกษาหาข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ โดยได้จดั การเรี ยนรู้ภายในพิพิธภัณฑ์ฯ ไว้ 9 ห้อง ห้ องที่ 1 ห้องบุคคลสําคัญของจังหวัดอุทยั ธานี เป็ นการจัดแสดงพระราชประวัติของสมเด็จ พระปฐมบรมมหาชนก มีพระนามเดิ มว่า ทองดี เกิ ดที่บา้ นสะแกกรัง เมืองอุไทยธานี เป็ นพระ ชนกของพระบาทสมเด็จพระรามาธิ บดี ฯ พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก พระนามเดิ มว่า ด้วง ฉะนั้น ชาวอุทยั ธานีจึงได้สร้างอนุสาวรี ยพ์ ระองค์ท่านไว้บนยอดเขาสะแกกรัง เพื่อเป็ นที่เคารพสักการะใน ฐานะที่พระองค์เป็ นสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก นอกจากนี้ ยังจัดแสดงประวัติและผลงานของ


112

พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ นามเดิมชื่ อกิ นเหลียง วัฒนปฤดา เกิดที่แพในลํานํ้าสะแกกรัง ท่านมร ผลงานมากมาย เป็ นนักพูดและนักประพันธ์ มีผลงานสรุ ปโดยรวมแล้วมากกว่าหนึ่ งพันเรื่ อง และ ท่านยังทําคุณประโยชน์ให้กบั ประเทศชาติและชาวอุทยั ธานี หลายประการ สมควรที่ชาวอุทยั และ บุคคลทัว่ ไป จะรําลึกถึงท่าน ห้องนี้ จึงจัดแสดงประวัติศาสตร์ และผลงานหนังสื อที่ท่านประพันธ์ ไว้หลายเล่ม รวมทั้งภาพถ่ายและรู ปปั้ นของท่าน ห้ องที่ 2 ห้องอาชี พของชาวอุ ทยั ธานี จัดแสดงอาชี พของชาวอุ ทยั ธานี เช่ น การทํานา เนื่ องจากพื้นที่จงั หวัดอุทยั ธานี มีลกั ษณะราบลุ่ม ฝนตกชุ กในฤดูฝน มีแม่น้ าํ ลําคลอง ไหลผ่าน หลายสาย เหมาะแก่การทํานาในห้องนี้ จดั แสดงแบบจําลองไร่ นาสวนผสมและเครื่ องไม้ เครื่ องมือ ในการทํานาไว้ให้ศึกษา การเลี้ยงปลาในกระชัง เป็ นอีกอาชี พหนึ่ งที่ดาํ เนิ นอยูจ่ นปั จจุบนั นับเป็ น ภูมิปัญญาชาวบ้านของชาวอุทยั ธานี ที่สืบทอดกันมานับร้อยปี โดยสร้างกระชังไว้ใต้แพที่พกั อาศัย ปลาที่ เ ลี้ ย งส่ ว นใหญ่ เ ป็ นปลากราย ปลาเทโพ และปลาแรด มี รสชาติ อร่ อยขึ้ นชื่ อของจัง หวัด อุทยั ธานี เครื่ องจักสาน เป็ นการจัดแสดงเครื่ องจักสานของชาวอุทยั ธานี โดยเฉพาะชาวบ้าน ท่า รากหวาย ตําบลเกาะเทโพ ชาวบ้านจะรวมกลุ่มกันทําจักสาน เครื่ องมือเครื่ องใช้ต่างๆ เช่น กระบุง กระด้ง ตะกร้ า ตะแกรง ออกแบบรู ปทรง ลวดลายสวยงาม มี ท้ งั ลายธรรมดาและยกดอกพิกุล ฝี มือละเอียดประณี ต จึงนับว่าเป็ นอาชี พที่สําคัญอีกอย่างหนึ่ ง ผ้าทอเมืองอุทยั ฯ จัดแสดงวิธีการทํา ผ้ามัดหมี่ การย้อมและลายผ้าต่างเป็ นรองจังหวัดอื่นและราคาไม่แพง ห้ องที่ 3 ห้องอนุ รักษ์ป่าไม้ เนื่ องจากจังหวัดอุทยั ธานี เป็ นที่ต้ งั ของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ซึ่ งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็ นมรดกโลก ห้องนี้ จึงจัดแสดงป่ าจําลองมรดกโลกห้วยขา แข้ง ในรู ปแบบของตูส้ ามมิติ ทําให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังจัดแสดงประวัติและ ผลงาน สื บ นาคะเสถียร ผูส้ ละชีวิตเพื่อการอนุรักษ์ป่าและสัตว์ป่า เพื่อให้ผชู้ มได้มีความรู สึกรัก และหวงแหนป่ าไม้ที่เป็ นมรดกของโลกมากยิง่ ขึ้น ห้ องที่ 4 ห้องวิวฒั นาการทางเทคโนโลยี ห้องนี้ จดั แสดงเครื่ องมือ เครื่ องใช้ และอาวุธ โบราณ แสดงให้เห็นถึงวิวฒั นาการทางเทคโนโลยี ความเจริ ญก้าวหน้าของมนุ ษย์ เช่น เครื่ องโทร พิมพ์ เครื่ องพิมพ์ดีดภาษาไทยรุ่ นแรก ที่มีในสยาม เครื่ องเล่นจานเสี ยงและอื่นๆ อีกมากมาย


113

พระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ หรือหลวงพ่ อมงคล เป็ นพระพุทธรู ปปางมารวิชยั วัสดุสัมฤทธิ์ ขนาดหน้าตักกว้าง ๓ ศอก หรื อ ๑๕๐ เซนติ เมตร ศิลปะสมัยสุ โขทัย ยุคเดียวกับพระพุทธชิ นราช จังหวัดพิษณุ โลก สันนิ ษฐานว่าสร้ าง ในสมัย พ่อขุนรามคําแหง ระหว่าง พ.ศ. 1821 - 1860 ปั จจุบนั มีอายุประมาณ 600 - 700ปี อัญเชิญมาประ ดิษ ฐาน

ณ วัดสังกัสรัตนคีรี อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี โดย พระเถระคณะสงฆ์จงั หวัดอุทยั ธานี พระพุทธมงคลฯ ได้รับการอัญเชิ ญไปประดิ ษฐานที่วดั ขวิด บ้านสะแกกรังอุทยั ธานี ซึ่ ง

ตั้งอยูร่ ิ มแม่น้ าํ สะแกกรังฝั่งตะวันตกราว พุทธศักราช 2342 - 2345 ครั้นพุทธศักราช 2471 เจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต(เฮง เขมจารี ) เจ้าคณะมณฑลนครสวรรค์ท่านเป็ นชาวจังหวัดอุทยั ธานี ได้เดินทาง มาตรวจวัดวาอารามที่จงั หวัดอุทยั ธานีได้พบเห็นพระพุทธรู ปสมัยสุ โขทัยที่งดงาม จึงมีความเลื่อมใส ศรัทธาเป็ นอย่างมาก เมื่อได้กราบนมัสการสักการะแล้ว จึงโปรดให้พระมหาพุฒหรื อพระราชอุทยั กวี เจ้าคณะจังหวัดอุทยั ธานี (ปั จจุบนั มรณภาพแล้ว) ดูแลรักษาพระพุทธรู ปองค์น้ ีไว้ให้ดี ครั้นถึ งวันพุธขึ้น ๓ คํ่า เดือน ๔ ปี ชวด พุทธศักราช ๒๔๗๑ หลวงพ่อป๊ อก(พระครู อุเทศ ธรรมวิจบั ) พระอาจารย์ผูเ้ รื องเวทย์แห่ งวัดโบสถ์ พร้ อมด้วยข้าราชการ พ่อค้าและประชาชนใน จังหวัด ร่ วมกันประกอบพิธีบวงสรวงอัญเชิญหลวงพ่อพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ มาประดิษฐานที่วดั สังกัส รัตนคีรีมีพิธีเฉลิมฉลองสมโภชอย่างยิ่งใหญ่พร้ อมกับบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุไว้ภายในพระเศียร ของหลวง พ่อด้วย วันขึ้น 3 - 8 คํ่า เดือน 4 ของทุกปี ประชาชนชาวอุทยั ธานี จะร่ วมกันจัดงานไหว้พระพุทธ มงคลศักดิ์สิทธ์ ซึ่งได้จดั มาเป็ นประจําทุกปี จนกลายเป็ นประเพณี สืบต่อกันมาจนถึงปั จจุบนั


114

ภาพ 65 แสดงหลวงพ่อพุทธมงคงศักดิ์สิทธิ์ บุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกนาถ

ภาพ 66 แสดงสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกนาถ


115

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกนาถ เดิ มชื่ อ "ทองดี " เป็ นบุตรคนโตของพระยาราชนิ กูล (ทองคํา) ปลัดทูลฉลองมหาดไทยซึ่ งสื บเชื้ อสาย มาแต่เจ้าพระยาโกษาธิ บดี (ปาน) เกิดใน แผ่นดิ น สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว บรมโกษฐ์ ที่ "บ้ า นสะแกกรั ง " เมื อ งอุ ท ัย ธานี และรั บ ราชการใน กระทรวงมหาดไทย จนได้รับ แต่ ง ตั้ง เป็ น หลวงพิ นิ จอัก ษร และเป็ นพระอัก ษรสุ ท รทรศาสตร์ เสมียนตรากรมมหาดไทย เมื่อคุ ณพระได้แต่งงาน กับคุณดาวเรื องมีพระราชโอรสและพระราชธิ ดา ซึ่ งได้รับการสถาปนาภายหลัง ดังนี้ คือสมเด็จเจ้าฟ้ าหญิงกรมพระยาเทพสุ ดาวดี (สา) พระเจ้าราม รงค์ สมเด็จเจ้าฟ้ าหญิงกรมพระศรี สุดารัตน์ (แก้ว) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก (ทอง ด้วง) และสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระราชวัง บวรมหาสุ รสิ งหนาท (บุญมา) พอหลังจากเสี ยกรุ งศรี อยุธยา แก่พม่า คุณพระได้หลบไปอยูท่ ี่เมืองพิษณุ โลก ครั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกได้ สถาปนาราชวงศ์จกั รี แล้ว จึงสถาปนาพระอัฐิของพระบิดาเป็ น "สมเด็จพระชนกาธิ บดี" เมื่อ ปี พ.ศ. 2338 ชาวอุทยั ธานี ได้ร่วมใจกันสร้ างพระบรมรู ปของ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกเป็ นรู ปหล่ อ สองเท่าองค์จริ ง ประทับนั่งบนแท่นฉลองพระองค์ตวั ใน คอตั้ง แขนกระบอก ผ่าหน้าตลอด ขัด กระดุ มความยาว คลุ มตะโพก มีผา้ คาดเอว คลุ มทับด้วยเสื้ อครุ ย สนับเพลายาวครึ่ งน่ อง นุ่ งผ้าทับ พระหัตถ์ซ้าย ถื อดาบประจําตําแหน่ งเจ้าพระยาจักรี ท้ งั ฝั กวางบนพระเพลาซ้าย ส่ วนพระหัตถ์ขวา ทรงวางบนพระเพลาขวา ด้านขวามือมีพานวางพระมาลา เส้าสู ง ไม่มียกี่ ่า (ขนนก) สวมพระบาทด้วย รองเท้าแตะไม่หุม้ ส้นพระบาท ซึ่ งพระบรมรู ปฯ นี้ ประดิษฐานไว้บนยอดเขาสะแกกรัง ชาวอุทยั ธานี ทุกคนสักการะพระบรมรู ปสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ด้วยความจงรักภักดี ต่อราชวงศ์จกั รี อย่าง ที่สุด และในวันที่ 6 เมษายน ของทุกปี จะมีพิธีถวายสักการะพระบรมอนุ สาวรี ยแ์ ห่ งนี้ เพื่อรําลึกพระ มหากรุ ณาธิ คุณของพระมหากษัตริ ยแ์ ห่ งราชวงศ์จกั รี ที่ ได้ทรงบําเพ็ญพระราชกรณี ย กิ จอันเป็ น ประโยชน์ต่อประเทศและจังหวัดอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี มีเทือกเขาสะแกกรังอันเป็ นที่ประดิ ษฐานพระราชานุ สาวรี ย ์ สมเด็จพระ ปฐมบรมมหาชนกแห่งรัชกาลที่ 1 ในพลับพลาจตุรมุข มีสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ มีระฆังสัมฤทธิ์ ใบ ใหญ่ ซึ่ งถือกันว่า เป็ นระฆังศักดิ์สิทธิ์ มีมณฑป สิ ริมหามายา กูฎาคาร ซึ่ งเป็ นที่ประดิษฐานรอยพระ พุทธบาทจําลองและจากตรงจุ ดนี้ จะมี บนั ไดทอดลงมาจากยอดเขา จํานวน 460 ขั้น จรดพื้นล่ า ง บริ เวณวัดสั ง กัส รั ตนคี รี ดัง นั้น เมื่ อถึ ง วัน แรม 1 คํ่า เดื อน 11 ของทุ ก ปี ชาวอุ ท ยั ธานี จึ งจัดงาน ประเพณี ตกั บาตรเทโว


116

บุคคลสาคัญทางการเมือง พระยาวิทูรธรรมพิเนตุ พระยาวิฑูรธรรมพิเนต นามเดิ มชื่ อ โต๊ะ อัมระนันท์ เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2436 (ร.ศ.112) ที่บา้ นสะแกกรัง เป็ นบุตรของหลวงศรี ทิพบาล (ดู่) ได้ศึกษาที่โรงเรี ยนวัดอุโสถารม จนสําเร็ จการชั้นประโยคประถม ต่อมาได้ถวายตัวไว้กบั สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิ วัฒน์วิศิษฐ์ จนกระทัง่ พ.ศ.2455 ได้เข้ารับราชการตําแหน่ งผูพ้ ิพากษาที่ 6 ทําการพนักงานอัยการ ต่อมาได้เป็ นผูพ้ ิพากษาศาลคดีต่างประเทศ ได้ไปศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย นับเป็ น คนไทยคนแรกที่สําเร็ จวิชากฎหมายสู งสุ ดจากสหรัฐอเมริ กา และเดินทางกลับเมื่อปี พ.ศ.2466 ได้ เป็ นผูพ้ ิพากษาในกระทรวงยุติธรรม ผูพ้ ิพากษาคดีต่างประเทศ เจ้ากรมกองฎี กา กรมราชเลขาธิ การ ผูช้ ่วยเลขาธิ การ แผนกกฤษฎีกา อธิ บดีกรมกฤษฎีกา และองคมนตรี ตามลําดับ ออกจากราชการเมื่อ อายุ 39 ปี และสมัครเป็ นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร ได้รับเลือกเป็ นผูแ้ ทนราษฎรจังหวัดอุทยั ธานีและ เป็ นรองประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร และเป็ นรองประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร ท่านเป็ นนักการเมืองที่ ต่อสู ้ทาํ หน้าที่ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนสู ้ให้มีกฎหมายพรรคการเมืองขึ้น ชี วิตใน บั้นปลาย ได้บริ จาคที่ดินเพื่อการกุศล จึงนับได้วา่ ท่านได้ทาํ คุณประโยชน์ให้กบั บ้านเมือง และสร้าง ความเจริ ญให้กบั จังหวัดอุทยั ธานีเป็ นอย่างมาก ท่านถึงแก่อนิจกรรม เมื่อปี พ.ศ.2514 รวมอายุได้ 78 ปี ข้อมูลจากหนังสื อ วัฒนธรรม พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุทยั ธาน พระยาประธานนคโรไทย พระยาประธานนคโรไทย (รอด) เป็ นบุตรชายนายจันทร์ มหาดเล็กหุ ้มแพร เกิดเมื่อ ปี พ.ศ.2346 ได้ถวายตัวเป็ นมหาดเล็กในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมขุนอิศรานุ รักษ์ เมื่อปี พ.ศ. 2361 ต่อมาในปี พ.ศ.2363 ได้เป็ นปลัดเวรมหาดเล็กและนายเวรมหาดเล็ก พ.ศ.2370 รับตําแหน่งที่ เมื องอุ ไ ทยธานี จนถึ ง ปี พ.ศ.2376 เจ้าพระยาบดิ นทรเดชา (สิ งห์ สิ งหเสนี ) ได้ข อตัวมาอยู่ก รม มหาดไทย ได้รับราชการต่อมาอีกหลายแห่ง จนถึงปี พ.ศ.2418 ได้รับแต่งตังเป็ น พระยาพิไชยสุ นทร ผูว้ า่ ราชการเมืองอุไทยธานี และได้เป็ นพระยาประธานนคโรไทย จางวางกํากับเมืองอุทยั ธานี ในเวลา ต่อมา ท่านเจ้าเมืองที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงไว้วางพระราชหฤทัยมาก เป็ นผูท้ ี่


117

มัน่ อยู่ใ นความจงรั ก ภัก ดี เป็ นอย่า งยิ่ง เคยจัดงานสมโภชพระชนมพรรษาถวายพระราชกุ ศ ลแด่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมื่อวันที่ 19-21 กันยายน พ.ศ. 2429 พระยาประธานนคโรไทยสมรสกับคุณหญิงนวน บุตรี ของเจ้าพระยารัตนาธิ เบศร์ (กุน) มีบุตรธิ ดา ดังนี้ 1. พระพิทกั ษ์อุไทยเขตร (ขํา) 2. พระยาประธานนคโรไทย (ชื่น) 3. พระยาพิไชยสุ นทร (ชม) 4. นางภู่ ภรรยาของหลวงภูมิเมือง ต้นตระกูลรัตนะวราหะ ท่านถึงแก่กรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2440 รวมอายุได้ 94 ปี บุคคลสาคัญทางการเมือง พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ นามเดิมชื่อกิมเหลียง วัฒนปฤดา เกิดที่แพในลํานํ้าสะแกกรัง เมื่อ วันที่ 11 สิ งหาคม พ.ศ.2441 เมื่ออายุ 8 ขวบ เข้าเรี ยนที่โรงเรี ยนวัดขวิด แล้วศึกษาต่อทางบาลี ที่วดั มหาธาตุ ฯ กรุ งเทพ ฯ โดยได้บรรพชาเป็ นสามเณร เมื่ออายุได้ 19 ปี สอบได้เปรี ยญธรรม 5 ประโยค ได้ที่ ห นึ่ งของประเทศไทย ได้ รั บ พระราชทานประกาศนี ย บัต รหมายเลข 1 จากพระหั ต ถ์ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เมื่ ออายุได้ 20 ปี ได้เข้ารั บราชการในตําแหน่ งเสมี ยน กระทรวงการต่างประเทศ และเมื่อได้ไปปฎิบตั ิราชการที่กรุ งปารี ส ก็ได้ศึกษารัฐศาสตร์ และศึกษา กฎหมายที่กรุ งปารี ส แต่ไม่ทนั ได้รับปริ ญญาก็ตอ้ งย้ายไปประจําสถานฑูตไทยที่กรุ งลอนดอน ต่อมา ได้เป็ นเจ้ากรมปกาสิ ต และอธิ บดีกรมศิลปากร เมื่อรับราชการอยูก่ ระทรวงการต่างประเทศ ท่านได้ ดํารงตําแหน่งเป็ น เอกอัครราชทูตหลายประเทศคือ ญี่ปุ่น อินเดีย สวิตเซอร์ แลนด์ ออสเตรเลีย และ ยูโกสลาเวีย พลตรี หลวงวิ จิ ต รวาทการได้ รั บ ปริ ญญาดุ ษ ฎี บ ั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ทางการทู ต จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทางเศรษฐศาสตร์ และสหกรณ์ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้รับ ปริ ญญาอักษรศาสตร์ ดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


118

เนื่ องด้วยเป็ นคนขยันมีความอุตสาหะ พากเพียร มี มนุ ษยสัมพันธ์ ดี เป็ นคนเอาใจใส่ ช่างสังเกต จดจํา มองคนในแง่ดี นําสิ่ งที่ดีของแต่ละคนมาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและประเทศ มีความรู ้ ภาษาไทย ภาษาฝรั่ ง เศส ภาษาอัง กฤษ ภาษาเยอรมัน และภาษาบาลี ได้รั บ ความไว้ว างใจจาก ผูบ้ งั คับบัญชา ในกระทรวงการต่างประเทศมาก ดํารงตําแหน่ งทางราชการในช่ วงสุ ดท้ายของอายุราชการเป็ นเจ้ากรมประกาศิตและอธิ บดี กรม ศิลปากร สําหรับตําแหน่งทางการเมืองท่านได้รับแต่งตั้งเป็ นรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิ การ และกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรี ีวี ่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการคลัง และกระทรวงเศรษฐการ ท่านเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ดีทางอักษรศาสตร์ ท้ งั ในภาษาไทย ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาบาลี เป็ นนักพูดและนักประพันธ์ผมู ้ ีผลงานมากกว่าพันเรื่ อง นอกจากผลงานดังกล่าวแล้ว ท่านยังได้ทาํ ประโยชน์ให้กบั ชาวอุทยั ธานีอีกหลายประการ เช่น การ ของบประมาณในการทําถนนเพื่อพัฒนาเส้นทางคมนาคมในจังหวัดอุทยั ธานี เป็ นต้น หลวงวิจิตรวาทการถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2505 รวมอายุได้ 64 ปี บุคคลสาคัญทางศาสนา พระสุ นทรมุนีวนิ ัยวาทีสังฆปาโมกข์ (ใจ คังคสโร) พระสุ นทรมุนีวนิ ยั วาทีสังฆปาโมกข์ (ใจ คังคสโร) เป็ นบุตรขุนศรี ราชบุตร (อินท์) เกิดเมื่อปี พ.ศ.2398 เมื่อปี พ.ศ.2433 พระอาจารย์ทอง วัดทุ่งแก้ว พร้ อมด้วยชาวบ้านสะแกกรัง ได้ ไปนิมนต์ให้มาสอนพระปริ ยตั ิธรรมที่วดั ทุ่งแก้ว อําเภอเมือง ฯ ในปี พ.ศ.2442 ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระ ปลัด ปี พ.ศ.2443 ได้เลื่อนเป็ นพระครู อุทานธรรมนิเทศ และเป็ นรองเจ้าคณะจังหวัดอุทยั ธานี เมื่อปี พ.ศ.2444 ในปี พ.ศ.2454 ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระครู สุนทรมุนี เจ้าคณะใหญ่จงั หวัดอุทยั ธานี และในปี พ.ศ.2458 ได้เลื่อนเป็ น พระสุ นทรมุนีวนิ ยั วาทีอุทยั สังฆปาโมกข์ พระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่จงั หวัด อุทยั ธานี พระสุ นทรมุนี เป็ นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดทุ่งแก้ว และเป็ น พระราชาคณะองค์แรก ของ จังหวัดอุทยั ธานี เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ความสามารถทางภาษาบาลีชาํ นาญในคัมภีร์มูลกัจจายนะ คัมภีร์สัท นาวิเศษ เป็ นผูส้ ร้ างวัดเขา (วัดสังกัสรัตนคีรี) บนยอดเขาสะแกกรัง เมื่อปี พ.ศ.2442 สร้างระฆังใบ


119

ใหญ่ ร่ วมกับชาวพุทธ เมื่อปี พ.ศ.2454 และสร้ างมณฑปบนยอดเขาสะแกกรั ง ริ เริ่ มประเพณี ตกั บาตรเทโวที่ให้พระภิกษุสงฆ์เดินลงมาจากยอดเขาสะแกกรัง และประชาชนรอตักบาตรที่ลานวัด ด้านล่าง เพื่อให้สอดคล้องกับพุทธประวัติและชื่ อของวัด พระสุ นทรมุนีวินยั วาทีสังฆปาโมกข์ (ใจ คังคสโร) เป็ นบุตรขุนศรี ราชบุตร (อินท์) เกิดเมื่อปี พ.ศ.2398 เมื่อปี พ.ศ.2433 พระอาจารย์ทอง วัด ทุ่งแก้ว พร้ อมด้วยชาวบ้านสะแกกรัง ได้ไปนิ มนต์ให้มาสอนพระปริ ยตั ิธรรมที่ วดั ทุ่งแก้ว อําเภอ เมือง ฯ ในปี พ.ศ.2442 ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระปลัด ปี พ.ศ.2443 ได้เลื่อนเป็ นพระครู อุทานธรรมนิเทศ และเป็ นรองเจ้าคณะจังหวัดอุทยั ธานี เมื่อปี พ.ศ.2444 ในปี พ.ศ.2454 ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระครู สุ นทรมุนี เจ้าคณะใหญ่จงั หวัดอุทยั ธานี และในปี พ.ศ.2458 ได้เลื่อนเป็ น พระสุ นทรมุนีวินยั วาที อุทยั สังฆปาโมกข์ พระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่จงั หวัดอุ ทยั ธานี พระสุ นทรมุนี เป็ นเจ้าอาวาสองค์ แรกของวัด ทุ่ ง แก้ว และเป็ น พระราชาคณะองค์ แ รก ของจัง หวัด อุ ท ัย ธานี เป็ นผู้ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถทางภาษาบาลี ช ํา นาญในคัมภี ร์มู ล กัจจายนะ คัม ภี ร์สั ท นาวิเศษ เป็ นผูส้ ร้ า งวัดเขา (วัดสังกัสรัตนคีรี) บนยอดเขาสะแกกรัง เมื่อปี พ.ศ.2442 สร้างระฆังใบใหญ่ ร่ วมกับชาวพุทธ เมื่อปี พ.ศ.2454 และสร้างมณฑปบนยอดเขาสะแกกรัง ริ เริ่ มประเพณี ตกั บาตรเทโวที่ให้พระภิกษุสงฆ์เดิน ลงมาจากยอดเขาสะแกกรัง และประชาชนรอตักบาตรที่ลานวัดด้านล่าง เพื่อให้สอดคล้องกับพุทธ ประวัติและชื่ อของวัดพระราชพรหมยานเถระไพศาล ภาวนานุ สิ ฐ มหาคณิ สสร บวรสังฆาราม คามวาสี เกิดวันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2460 เดิมชื่ อสังเวียน เป็ นบุตรคนที่ 3 ของนายวง นาง สมบุญ สังข์สุวรรณ เกิดที่ตาํ บลสาลี อําเภอบางปลาม้า จังหวัดสุ พรรณบุรี เมื่ออายุ 6 ขวบ เข้าเรี ยนที่ โรงเรี ยนประชาบาลวัดบางนมโค อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรี อยุธยาจนจบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 เมื่ออายุ 15 ปี เข้ามาอยูก่ บั ยายที่บา้ นหน้าวัดเรไร (อําเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี ในสมัยนั้น) และได้ ศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณ เมื่ออายุ 19 ปี เข้าเป็ นเภสัชกรทหารเรื อ สังกัดกรมแพทย์ทหารเรื อง พอ อายุครบบวช ได้รับการอุปสมบท ณ วัดบางนมโค เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 เวลา 13.00 น. โดยมีพระครู รัตนาภิรมย์เป็ นพระอุปัชฌายะ พระครู วิหารกิ จจานุ การเป็ นพระกรรมวาจาจารย์ พระ อาจารย์เล็ก เกสโร เป็ นพระอนุศาสนาจารย์ อายุ 21 ปี สอบได้ปริ ญญาตรี อายุ 22 ปี สอบได้ปริ ญญา อายุ 23 ปี สอบได้ปริ ญญาเอก ระหว่างปี พ.ศ. 2480 - 2484 ได้ศึกษาพระกรรมฐานจากพระอาจารย์ หลายรู ป อาทิเช่น หลวงพ่อปาน โสบันโห วัดบางนมโค หลวงพ่อจง พุทธสโร วัดหน้าต่างนอก พระ อาจารย์เล็ก เกสโร วัดบางนมโค พระครู รัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน พระครู อุดมสมาจารย์ วัดนํ้าเต้า


120

หลวงพ่อสุ่ ม วัดบางปลาหมอ หลวงพ่อเนี ยม วัดน้อย หลวงพ่อโหน่ง วัดอัมพวัน และหลวงพ่อเรื่ อง วัดใหม่พิณสุ วรรณ พ.ศ. 2484 ได้เข้ามาจําพรรษาที่วดั ช่างเหล็ก อําเภอตลิ่งชัน ธนบุรี เพื่อเรี ยนภาษาบาลี ต่อมา สอบได้เปรี ยฐธรรม 3 ประโยค ได้ยา้ ยมาอยู่วดั อนงคาราม หลังจากนั้นไี้ดเ้ ป็ นรองเจ้าคณะ 4 วัด ประยุรวงศาวาส ต่อมาได้เป็ ฯเจ้าอาวาสวัดบางนมโค และย้ายไปอยู่ อีกหลายวัดจนถึง พ.ศ. 2511 จึงมาจําพรรษาที่วดั ท่าซุ ง อําเภอเมืองจังหวัดอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี ท่านได้ บูรณะซ่อมแซมขยายวัดท่าซุ งจากเดิมมี พื้นที่ 7 ไร่ จนกระทัง่ เป็ นวัดที่มีบริ เวณพื้นที่ประมาณ 290 ไร่ พ.ศ. 2527 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็ นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระสุ ธรรมยาน เถระ พ.ศ. 2532 ได้รับพระราชทานเลื่ อนสมณศักดิ์ เป็ นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชพรหม ยานเถระไพศาลภาวนานุสิฐ มหาคณิ สสร- บวรสังฆาราม คามวาสี พ.ศ. 2535 หลวงพ่อพระราชพรหมยานเถระฯ หรื อหลวงพี่อฤาษีลิงกําอาพาธด้วยโรคปอด บวม และติ ดเชื้ อในกระแสโลหิ ต เข้ารั กษาและมรณภาพที่โรงพยาบาลศิ ริราช เมื่อวันศุก ร์ ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2535 เวลา 16.10 น. รวมอายุได้ 75 ปี หลวงพ่อเคลือบ สาวรธมฺโม หลวงพ่อเคลื อบเป็ นคนเชื้ อสายจี น สัญชาติ ไทย เกิ ดเมื่อปี พุทธศักราช 2432 ที่บา้ นคลอง ชะโด ตําบลทุ่งใหญ่ อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี นามมารดา บิดา ยังไม่ทราบหลักฐาน มีพี่นอ้ งร่ วม มารดาบิ ดา 8 คน นายเคลื อ บเมื่ อ อายะครบบวชแล้ว ก็ ไ ด้เ ข้า รั บ การบรรพชาอุ ป สมบท เมื่ อ ปี พุทธศักราช 2453 ที่พทั ธสี มาวัดหนองเต่า ตําบลโนนเหล็ก อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี โดยมีพระ ครู อุทยั ธรรมวินิฐ (หลวงพ่อสิ น) เป็ นพระอุปัชฌาย์พระกรรมวาจาจารย์ และพระอนุ สาวนาจารย์ ไม่ ทราบนาม แล้วท่านก็ได้นามว่าพระเคลือบ สาวรธมโม ตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา หลวงพ่อเคลือบท่านได้ อยู่จาํ พรรษาเรี ยนวิชาอาคมกับหลวงพ่อสิ นที่วดั หนองเต่าเป็ นเวลา 3 พรรษาได้วิชาวาจาสิ ทธิ์ และ วิชาคงกระพัน-ชาตรี จากหลวงพ่อสิ น สมัยนั้นพระภิกษุสามเณรวัดหนองเต่ามีจาํ นวนมากไม่เหมาะ แก่การบําเพ็ญเพียรทางจิตหลวงพ่อสิ นท่านพูดอยู่เสมอว่า ถ้าจะให้วิชาขลังนั้น ต้องไปหาที่สงบฝึ ก


121

จิต หลวงพ่อเคลือบสนทนาธรรมกับหลวงพ่อสิ นแล้วก็ขอลาไปฝึ กจิตเรี ยนวิชาเพิ่มเติม หลวงพ่อสิ น บอกว่า มีพระเก่งวิชาเพ่งกษิณอยูแ่ ถบลพบุรี ท่านก็ลาไปโดยมีพระร่ วมเดินทางไป 3 รู ป ท่านก็ไป พบอาจารย์ซ่ ึ งจากการสอบถามคนเก่ าหลายคน บอกว่า เป็ นหลวงพ่อวัดเขาสาริ กา ซึ่ งเป็ นผูม้ ีวิชา อาคมแก่กล้ามาก ในสมัยนั้น โดยเฉพาะกษิณไฟ ท่านเพ่งเทียนจนไฟลุกได้ เมื่อหลวงพ่อ เดินทางไป ถึงแล้วก็เข้าไปกราบพร้อมฝากตัวเป็ นศิษย์เพื่อเรี ยนคาถาพระอาจารย์พูดว่า ถ้าไม่สึกจะสอนวิชาให้ ถ้าสึ กก็จะไม่สอน หลวงพ่อเคลื อบ ก็ปฏิ ญาณ แน่ วแน่ ว่าชาติ น้ ี จะไม่ขอสึ ก ส่ วนพระที่ไปด้วยไม่ รับปากจึงไม่ได้เรี ยนวิชาด้วย ท่านเรี ยนกรรมฐานทําสมาธิ จนจิตเป็ นหนึ่ งเดียว และเรี ยนวิชากษิณ ไฟและเรี ย นอักษรขอมที่ ใช้เขี ยนยันต์ เพิ่ม เติ มจากหลวงพ่อกบอี กเป็ นเวลาถึ ง 6 ปี เต็ม ท่า นก็ ล า อาจารย์ ี์ออกธุ ดงค์ไปทางเหนื อ อีกหลายปี ไม่ทราบว่าไปที่ใดบ้าง แล้วท่านก็กลับมาที่อุทยั อีกมา อยู่วดั หนองเต่าแต่อยู่ได้ไม่กี่วนั ทางญาติโยมวัดหนองหญ้านาง ก็มานิ มนต์ หลวงพ่อเคลื อบไปอยู่ เมื่อหลวงพ่อมาอยูท่ ่านก็ได้สร้างพระอุโบสถขึ้นมาหนึ่ งหลัง แต่ยงั ไม่ทนั เสร็ จเรี ยบร้อยดีก็เกิดเรื่ อง กับ บรรดามัคทายกวัด ขึ้นเสี ยก่อน หลวงพ่อเคลือบจึงพูดขึ้นว่า “ถ้าข้าอยูใ่ ครก็มาอยูไ่ ม่ได้” ต่อมาก็ หาพระมาอยู่ได้ย าก แล้วหลวงพ่อเคลื อบก็ ก ลับมาที่ วดั หนองเต่ า พอดี ทางวัดหนองแกขาดพระ หลวงพ่อเคลือบจึงมาจําพรรษาอยูท่ ี่นี่หนึ่ งพรรษาแล้วย้ายมาอยูท่ ี่วดั ทัพทัน อีกสามพรรษา พอดีทาง วัดหนองกระดี่ ไม่มีเจ้าอาวาส พวกญาติโยมจึ งนิ มนต์หลวงพ่อเคลื อบมาเป็ นเจ้าอาวาสหลวงพ่อ เคลือบท่านอยู่ ที่วดั หนองกระดี่จนมรณภาพ ในปี พ.ศ.2497 นัน่ เอง สมเด็จพระวันรัต (เขมจารีมหาเถระ) สมเด็จพระวันรัต มีนามเดิมว่า เฮง หรื อ กิมเฮง นามฉายาว่า เขมจารี วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2424 ณ บ้านท่าแร่ ตําบลสะแกกรัง อําเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี บิดาเป็ นจีนนอก ชื่ อตั้วเก๊าแซ่ ฉั่ว เป็ นพ่อค้า มารดาชื่อ ทับทิม มีพี่นอ้ งร่ วมบิดามารดา 4 คน ยายชื่ อ แห เลี้ยงดูสมเด็จฯ ต่อมา ครั้นอายุ ย่างเข้า 8 ปี ป้ าชื่อ เกศร์ ได้พาท่านไปฝากให้เรี ยนหนังสื อไทยอยูใ่ นสํานักพระอาจารย์ชงั วัดขวิด จน มีความรู ้หนังสื อไทยเขียนได้อ่านออก ครั้นอายุยา่ งเข้า 11 ปี ยายและป้ าได้พาไปฝากอยูใ่ นสํานักพระ ปลัดใจ (ซึ่ งต่อมาเป็ นพระราชาคณะที่พระสุ นทรมุนี เจ้าคณะจังหวัดอุทยั ธานี ) เจ้าอาวาสวัดทุ่งแก้ว เมื่ อไปอยู่วดั ทุ่งแก้ว ก็เริ่ มศึ กษาภาษาบาลี เริ่ มอ่านและเขี ยนอักษรขอม แล้วหัดอ่านหนังสื อพระ มาลัยตามประเพณี การศึกษาในสมัยโบราณ แล้วท่องสู ตรมูลกัจจายน์และเรี ยนสนธิ กบั พระอาจารย์


122

อํ่า เรี ยนนามถึงกิตก์กบั พระอาจารย์แป้ น เรี ยนอุณณาทและการกกับพระปลัดใจ และเรี ยนพระธรรม บทและมงคลทีปนี กบั พระปลัดใจบ้างกับท่านอาจารย์ม่วงบ้าง กับหลวงธรรมปรี ชา (เอก) บ้าง กับ พระอาจารย์ฤกษ์บา้ ง กับอาจารย์อุ่ม ซึ่ งขึ้นไปจากกรุ งเทพฯ และไปพักอยู่ที่วดั พิไชยบ้าง เรี ยนกับ พระมหายิม้ วัดมหาธาตุฯ ในกรุ งเทพฯ ครั้นอายุยา่ งเข้า 17 ปี จึงลงมาอยูว่ ดั มหาธาตุฯ กรุ งเทพฯ ในปี พ.ศ.2443 ได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าพระอรุ ณนิภา คุณากรเป็ นอธิบดีในการสอบพระปริ ยตั ิธรรมและประชุ มสอบที่วดั พระศรี รัตนศาสดาราม สมเด็จฯ เข้าสอบได้อีกประโยคหนึ่งในปี นี้ จึงเป็ นเปรี ยญ 4 ประโยค เมื่ออายุยา่ งเข้า 20 ปี ครั้นรุ่ งขึ้นใน พ.ศ. 2444 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุ ณนิ ภาคุ ณากรสิ้ นพระชนม์ จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ทรงเป็ นแม่กองกลาง ให้สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (แสง) เป็ นแม่กองเหนื อ สมเด็จพระวันรั ต (ฑิ ต) เป็ นแม่กองใต้ ประชุ มสอบ ณ วัด พระศรี รัตน ศาสดาราม สมเด็จฯ เข้าสอบประโยค 5 ได้ แต่สอบประโยค 6 ตก จึงเป็ นเปรี ยญ 5 ประโยค เมื่ออายุ ย่าง 21 ปี ต่อมาเมื่ออายุย่างเข้า 22 โดยปี ได้อุปสมบท ณ พัทธสี มาวัดมหาธาตุฯ เมื่อ ณ วันจันทร์ เดือน 7 ขึ้น 11 คํ่า ปี ขาล ตรงกับวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.2445 โดยสมเด็จพระวันรัต (ฑิต) เป็ นพระ อุปัชฌายะ และพระธรรมวโรดม (จ่าย) วัดเบญจมบพิตรกับพระเทพเมธี (เข้ม) วัดพระเชตุพนฯ เป็ น คู่กรรมวาจาจารย์ และในปี นั้น เข้าสอบพระปริ ยตั ิธรรม ได้อีก 2 ประโยค จึงเป็ นเปรี ยญ 7 ประโยค ครั้นปี รุ่ งขึ้น คือ พ.ศ.2446 ได้เข้าสอบได้อีก 1 ประโยค จึงเป็ นเปรี ยญ 8 ประโยค สมเด็จพระวันรัต (ฑิต) พระอุปัชฌายะได้ถวายตัวฝากเรี ยนฎีกาสังคหะ (อภิธมฺ มตฺ ถวิภาวินี) กับพระเจ้าน้องยาเธอกรม หลวงวชิรญาณวโรรสทรงเป็ นพระอาจารย์แต่น้ นั มา ครั้นรุ่ งขึ้นในปี พ.ศ.2447 สมเด็จฯ ก็เข้าสอบได้ อีก 1 ประโยค จึงเป็ นเปรี ยญ 9 ประโยค เมื่ ออายุย่างเข้า 24 ปี สมเด็จฯ เป็ นนักการศึกษา ตําแหน่ ง หน้าที่ประจําที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลงและยืดยาวนานของท่าน คือ นายกมหาธาตุวิทยาลัย ซึ่ งท่านได้รับ ช่วงสื บต่อมาจากสมเด็จ พระวันรัต (ฑิต) พระอุปัชฌายะของท่าน และท่านก็สามารถทํานุ บาํ รุ ง และ จัดการศึกษาของสถานศึกษาฝ่ ายพระมหานิ กายแห่ งนี้ ให้เจริ ญก้าวหน้าเป็ นอย่างยิ่ง สมดังพระราช ปณิ ธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ซึ่ งปรากฏในประกาศพระราชปรารภในการ ก่อพระฤกษ์สังฆิกเสนาสนราชวิทยาลัย ท้าวความเดิมถึงพระราชปณิ ธานที่ตรงตั้งมหาธาตุวิทยาลัย ไว้วา่ “อีกสถานหนึ่ ง เป็ นที่เล่าเรี ยนของคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิ กาย ได้ต้ งั ไว้ที่วดั มหาธาตุฯ ได้เปิ ดการ เล่าเรี ยนมาตั้งแต่วนั ที่ 8 พฤศจิกายน รัตนโกสิ นทรศก 108 (พ.ศ.2432) สื บมา” สมเด็จฯ ทุ่มเทชี วิต


123

จิตใจและสติปัญญาลงไปในการจัดการศึกษาของมหาธาตุวทิ ยาลัยอย่างจริ งจัง นอกจากจัดการศึกษา โดยตรงแล้ว เพื่อสนับสนุ นการศึกษาให้มนั่ คงถาวรยิ่งขึ้น สมเด็จฯ ได้ขวนขวายจัดตั้งมูลนิ ธิบาํ รุ ง การศึกษาพระปริ ยตั ิธรรมของมหาธาตุวิทยาลัยขึ้น เมื่อ พ.ศ.2468 เรี ยกชื่ อตามตราสารตั้งมูลนิ ธิว่า “นิ ธิ โรงเรี ยนบาลีมหาธาตุวิทยาลัย ” มีคณะกรรมการทั้งฝ่ ายบรรพชิ ตและฝ่ ายคฤหัสถ์ร่วมจัดการ และมีระเบียบดําเนิ นการอย่างรัดกุมเป็ นอย่างดี ยิ่ง สํานักงานของมูลนิ ธิ ตั้งอยู่ที่สํานักงานพระคลัง ข้างที่ในพระบรมราชวัง การจัดตั้งมูลนิ ธิของสมเด็จฯ ทําให้มหาธาตุวิทยาลัยสมัยนั้นมีฐานะมัน่ คง เข้มแข็ง และสามารถขยายการศึกษาได้กว้างขวางยิ่งขึ้น ในการศึกษาพระปริ ยตั ิธรรม แม้เมื่อสมเด็จ ฯ บําเพ็ญกุศลในคราวมีอายุครบ 5 รอบ หรื อ 60 ปี บริ บูรณ์ ใน พ.ศ.2485 ยังได้สร้างหนังสื อแปล บาลีแบบสนามหลวง ตั้งแต่ประโยค 3 ถึงประโยค 9 ซึ่ งสมเด็จฯ แปลขึ้นเพื่อใช้เป็ นตัวอย่าง แจกจ่าย ไปตามสํานักเรี ยนต่าง ๆ ทั้งในกรุ งและหัวเมือง ตลอดถึงนักเรี ยนผูต้ อ้ งการทั้งในสํานักวัดมหาธาตุฯ และต่ า งสํ า นัก ท่ า นอาพาธด้ว ยโรคหลอดลมอัก เสบเรื้ อรั ง กับ ขั้ว ปอดโตขึ้ น มี อ าการไอกํา เริ บ มรณภาพวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2486 ณ หอเย็นคณะเลข 1 วัดมหาธาตุฯ อายุได้ 63 ปี พรรษาได้ 42 พรรษา http://academic.obec.go.th/cdc/buddhism_files/manual/c0327-372.doc


124

บรรณานุกรม http://www.sakaekrang.com/tourdata/260313202242 http://developers.nsru.ac.th/histories/P6_ARITC/2012/local/local_ut/person.php


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.