75year-of-thai-zoos-book

Page 1

The

Zoological

Park Organization under the Royal Patronage of His Majesty the King


Great hornbill (Buceros bicornis) and Rhinoceros hornbill (Buceros rhinoceros) นกกก และนกเงือกหัวแรด


“เขาดินวนา” ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสวนพฤกษชาติ ขึ้นในพระนคร เขตพระราชอุทยานสวนดุสิต ต่อมา 18 มีนาคม 2481 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล พระราชทานให้เทศบาลนครกรุงเทพฯ รับสวนดุสิตหรือเขาดินวนา สนามเสือป่า และ สวนอัมพร มาจัดเป็นสวนสาธารณะใช้ชื่อว่า “สวนสัตว์ดุสิต” เป็นสวนสัตว์แห่งแรกในประเทศไทย

2521

“Khao Kheow Open Zoo” was established in 1969 when board members of the ZPO agreed that Dusit Zoo had limited space with too many animals. Therefore, it was officially agreed to use Khao Kheow – Khao Chom Poo National Forest, Chonburi province. In 1978, the doors were finally opened to tourists on June 1st.

2520

“สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” พ.ศ. 2512 คณะกรรมการองค์การสวนสัตว์ฯ พิจารณาเห็นว่า สวนสัตว์ดุสิต มีพื้นที่น้อยทำให้สัตว์ต่างๆ อยู่กันอย่างหนาแน่น แออัด จึงมีมติรับหลักการ ใช้พื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติเขาเขียว - เขาชมภู่ จังหวัดชลบุรี เพื่อดำเนินการจัดสร้างสวนสัตว์เปิดเขาเขียว จนสามารถเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2521

“Chiangmai Zoo” founded by Mr. Harold Mason Young, an American missionary during the Korean War in 1950-1953. Until his death in 1975. Following his death, the zoo was then managed by Chiangmai Provincial Administrative Organization until the 16th June 1977 when it was transferred to the ZPO.

“สวนสัตว์เชียงใหม่” ผู้ก่อตั้งขึ้น คือ นายฮาโรลด์ เมสัน ยัง มิชชันนารีชาวอเมริกัน ในช่วง สงครามเกาหลีระหว่างปี พ.ศ. 2493 - 2496 จนนายฮาโรลด์ถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2518 องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงรับกิจการสวนสัตว์แห่งนี้ไว้ในความดูแล กระทั่งวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2520 จึงโอนเข้าสังกัดองค์การสวนสัตว์ฯ

“Nakhon Ratchasima Zoo” is located in Chaimongkhon Sub-district, Muang District, Nakhon Ratchasima Province, and also considered as one of the best modern zoos with the best standardized management systems in Asia. It was officially opened on 14 December 1997.

“สวนสัตว์นครราชสีมา” ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลไชยมงคล อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เป็นสวนสัตว์ ที่มีความทันสมัย และมีการจัดการที่ได้มาตรฐานที่สุดแห่งหนึ่งของเอเชีย มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2539

2541

“Songkhla Zoo” the first zoo in the southern region of Thailand near Khao Roob Chang mountain. It lies in the midst of bright green ranges and is surrounded by Songkhla lagoon and the gulf of Thailand and officially opened to the public on 3rd October 1998. It’s the fifth zoo managed by the Zoological Park Organization.

“สวนสัตว์สงขลา” เป็นสวนสัตว์แห่งแรกของภาคใต้ บริเวณบ้านสวนตูลบนเขารูปช้าง ท่ามกลาง ขุนเขาเขียวขจี โอบล้อมด้วยทะเลสาบสงขลา และอ่าวไทย เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2541 เป็นสวนสัตว์แห่งที่ 5 ขององค์การสวนสัตว์ฯ

2553

“Khon Kaen-Udonthani Upper Isan Wildlife Park” or more commonly known as “Khao Suan Kwang Zoo”. The local elders always tell stories of how rich and dense the mountain originally is, they could see hundreds of thousands of deer, thus the name “Khao Saen Kwang” (Mountain of a hundred thousand deer) started, which eventually became Khao Suan Kwang. It was established and opened on 9th January 2010.

“อุทยานสัตว์ป่าอีสานตอนบน ขอนแก่น - อุดรธานี” หรือ “สวนสัตว์เขาสวนกวาง” คนเฒ่าคนแก่ในพื้นที่เล่าสืบต่อ กันมาว่า แต่เดิมภูเขาสวนกวางมีฝูงเก้งกวางอยู่เป็นแสนๆ ตัว จึงเรียกภูเขานี้ว่า “ภูเขาแสนกวาง” ต่อมาเพี้ยนเป็น “ภูเขาสวนกวาง” เปิดเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2553

Today & Future of Thai zoos / สวนสัตว์ในวันนี้และอนาคต

“Dusit Zoo” was previously called Suan Dusit or known as Khao Din Wana. In the reign of H.M. King Chulalongkorn (Rama V), it was built as the private garden adjacent to the royal palace. As a lot of dirt had to be added to form a small hill in the middle of the pond, the king named the garden “Khao Din Wana”. Khao Din means dirt mountain, and Wana means park or forest. Today people still call the zoo, Khao Din, the first zoo in Thailand

The First Two Regional Zoos in Thailand / สวนสัตว์ในภูมิภาค สองแห่งแรกของประเทศไทย

The First Step of Thai zoos / ก้าวแรกของสวนสัตว์ไทย

2481

2539

New Zoo is Modern Zoo / แนวคิดสวนสัตว์สมัยใหม่

Thai zoos’ 75th Year : Moving forward together 75 ปีสวนสัตว์ไทย : ก้าวที่ไม่เคยหยุดนิ่ง

2556

“Ubon Ratchathani Zoo” is located in Dong Fa Huan National Park in a sparse forest. ZPO was handed the property from the Royal Forest Department. These exhibitions are planned to be completed in mid 2013.

“สวนสัตว์อุบลราชธานี” ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติดงฟ้าห่วน มีสภาพเป็นป่าโปร่ง องค์การสวนสัตว์ฯ ได้รับมอบพื้นที่แห่งนี้จากกรมป่าไม้ และคาดว่าจะสามารถเปิดอย่างเป็น ทางการได้ในราวกลางปี พ.ศ. 2556 ซึ่งจะมีสัตว์ให้ชมอย่างครบครัน “Surin Elephant Kingdom Project” : At the end of the last battle on elephants’ backs in 1826, Mahouts (Elephant riders or keepers), who were in charge of war elephants, brought the discharged elephants to settle down in the areas presently known as Ban Ta-Klang and nearby villages. Later, the elephant nurturing areas were invaded by locals and investors. This has resulted in a devastation of elephants’ natural habitats and a shortage of elephants’ food. Consequently, locals started earning a living by taking their elephants to stray and sell food on the streets in the cities. In response to the issue, the Zoological Park Organization asked for permission of Suanpa Dong Phu Din, national conserved forest areas in Tha Toom district, Surin province, for this project.

“โครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร์” หลังสงครามในปี พ.ศ.2369 บรรดาควาญช้าง ต่างนำช้างที่ปลดระวาง มาตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณบ้านตากลาง และหมู่บ้านใกล้เคียง ต่อมาพื้นที่เลี้ยงช้างได้ถูกบุกรุกจากชาวบ้านและนายทุน ทำให้ป่าลดลง อาหารเริ่มขาดแคลน ชาวบ้านจึงเริ่มนำช้างเข้ามาเร่ขายอาหารช้างในเมือง องค์การสวนสัตว์ฯ จึงได้ ขอใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ สวนป่าดงภูดิน อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เป็นพื้นที่ดำเนินโครงการดังกล่าว


Contents Thai zoos’ 75th Year: Moving forward together / 75 ปีสวนสัตว์ไทย: ก้าวทีไ่ ม่เคยหยุดนิง่ 4 The First Step of Thai zoos / ก้าวแรกของสวนสัตว์ไทย • Khao Din Wana… the Forest in a city / “เขาดินวนา” ป่าจำลองกลางพระนคร

11

The First Two Regional Zoos in Thailand / สวนสัตว์ในภูมิภาค สองแห่งแรกของประเทศไทย • Chiangmai Zoo / สวนสัตว์เชียงใหม่ • Khao Kheow Open Zoo / สวนสัตว์เปิดเขาเขียว

31 45

New Zoo is a Modern Zoo / แนวคิดสวนสัตว์สมัยใหม่ • Nakhon Ratchasima Zoo / สวนสัตว์นครราชสีมา • Songkhla Zoo / สวนสัตว์สงขลา

61 75

Today and the Future of Thai zoos / สวนสัตว์ในวันนี้และอนาคต • Khon Kaen-Udonthani Upper Isan Wildlife Park / อุทยานสัตว์ป่าอีสานตอนบนขอนแก่น - อุดรธานี • Ubon Ratchatani Zoo / สวนสัตว์อุบลราชธานี • The Surin Elephant Kingdom Project / โครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร์

Indochinese Water Dragon (Physignathus cocincinus) ตะกอง

91 103 113

Moving towards a World Standard / สู่ความเป็นมาตรฐานสวนสัตว์ระดับโลก • Zoos - Lifelong Recreational Source / สวนสัตว์แหล่งนันทนาการตลอดชีวิต • Their Lives are in Our Hands / สัตว์ทุกชีวิตอยู่ในความดูแลของเรา • Expand Knowledge – Extend Future / ต่อยอดความคิดเพื่อชีวิตในอนาคต • Knowledge Transfer / ถ่ายทอดความรู้สู่สาธารณะ

127 143 157 177

Animals’ Stories Told / เรื่องเล่ากล่าวขานตำนานสัตว์

189

Animal Photo Index / ดัชนีภาพ

202


The First Step of Thai zoos ก้าวแรกของสวนสัตว์ไทย


2481 10

11

Khao Din Wana… the Forest in a City เขาดินวนา” ป่าจำลองกลางพระนคร The magnificent central dome of the Ananta Samakhom Throne Hall is visible from Dusit Zoo in the midst of rich greenery of trees. A traditional Thai wooden house on the small island believed to be a place where H.M. the King Chulalongkorn enjoyed his leisure time. หากมองจากริมสระน้ำภายในสวนสัตว์ดุสิต จะสามารถมองเห็นยอดโดมของ พระที่นั่งอนันตสมาคม อยู่ท่ามกลางแมกไม้ อีกทั้งบริเวณเกาะเล็กๆ กลางสระน้ำ ของสวนสัตว์นั้น ก็ยังมีศาลาเรือนไทย ที่เชื่อกันว่าเคยเป็นสถานที่ประทับเพื่อ สำราญพระราชอิริยาบถของล้นเกล้ารัชกาลที่ 5


History of the Zoological Park Organization

12

Their Majesties the King and Queen visited the Zoological Park Organization to receive an auspicious elephant from Lt.Gen. Banyat Dhephasdin na Ayudhaya, Chairman of the Zoological Park Organization, on Monday 10th February 1967. After assigned the royal elephant’s rank, the elephant was temporarily kept at Dusit Zoo (Khao Din Wana), then moved to the Royal Stable in Chitralada Villa Royal Residence in 1976. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินมาทีอ่ งค์การสวนสัตว์ ในพิธนี อ้ มเกล้าถวายช้างพลายสีประหลาด ที่ องค์การสวนสัตว์ เมื่อวันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2501 ซึ่ง พลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นประธาน คณะกรรมการองค์การสวนสัตว์ใน สมัยนั้น และหลังจากสมโภชขึ้นระวาง แล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย เลี้ยงไว้ที่สวนสัตว์ดุสิต (เขาดินวนา) เป็นการชัว่ คราว ได้ยา้ ยไปอยูท่ โ่ี รงช้างต้น ในบริเวณพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อ พ.ศ. 2519

D

espite various attempts to conserve wildlife, a lot of species of them have been disappearing from the earth due to both human- and nature-caused environmental changes. Dating back thousands of years, there was evidence of the relationship between humans and wildlife. The animals were regarded as humans’ sources of food, clothing materials, means of transportation, religious and ritual symbols, and entertainment. In Asian countries, especially, Thailand, the people’s ways of life were attached to the forest and wildlife. Wild elephants were captured and trained to work on farms and in war. Monkeys were trained to pick up coconuts and perform in a circus. Doves were caught and raised as pets for the fascinating sound they made. The ways people live have changed through the periods of time. Therefore, the ways of raising wild animals are totally different- from a small cattle pen in the backyard or a small circus to a very large area with crew, and more complicated management. And it’s called a zoo. In Thailand, the first zoo is “Dusit Zoo”, a place of timeless memories. Dusit Zoo was previously called Suan Dusit or known as Khao Din Wana. In the reign of H.M. King Chulalongkorn (Rama V), it was built as the private garden adjacent to the royal palace. As a lot of dirt had to be added to form a small hill in the middle of the pond, the king named the garden “Khao Din Wana”. Khao Din means dirt mountain, and Wana means park or forest. Today people still call the zoo, Khao Din. In B.E.2444(1901) King Rama V paid a visit to Java Islands and was offered six spotted deer on July 12. The king brought them back with him and kept them in the deer garden which was located in Amphorn Satharn Villa. After that, the deer were moved to Dusit Zoo. Later, H.M. King Prajadhipok (Rama VII) considered renovating, expanding, and upgrading this zoo. Also, the zoo was to be opened to the public. So, he asked Phra Maha Savake Tri Phraya Boriharn Rajamanop to be in charge. After the change of the Ruling system in B.E.2475 (1932), the government at that time with Field Marshal Plaek Phibunsongkhram as the Prime Minister asked H.M. King Ananda Mahidol (Rama VIII) for Suan Dusit to be taken care of by Bangkok Municipality in order to offer the zoo and recreation area to the public. On 18th March, B.E. 2481(1938) H.R.H. Prince Aditya Dibabha, Chairman of the Royal Regent Chamber, on behalf of H.M. King Ananda Mahidol, gave Bangkok Municipality the king’s approval to arrange Suan Dusit or Khao Din Wana, Sanam Suea Pa and Suan Amphon as to be public parks. Therefore, asphalt roads in the areas of Khao Din Wana and Sanam Suea Pa were built. The places were redecorated and rearranged beautifully and appropriately to be homes for animals and recreation park for people.

13


14

15

The spotted deer were transferred from Amphorn Satharn Villa; crocodiles and monkeys from Saranrom Royal Garden were moved to Suan Dusit. There were also more species of animals found in the country and abroad. Additionally, the Bangkok Municipality arranged with the Royal Household Department to give the visitors a startling opportunity to see the Royal elephants- Phang Pan and Phang La, on Sundays. Thailand’s first zoo, Dusit Zoo, covering the area of approximately 181 rai, has been very popular since it was opened to the public. In B.E. 2485 (1942), the big flood caused Dusit Zoo’s loss of a lot of animals, and the zoo was seriously damaged. The zoo then had to temporarily close down.

In their younger days, H.R.H. Crown Prince Maha Vajiralongkorn, H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn, and H.R.H.Princess Chulabhorn were welcomed by Lt. Gen. Banyat Dhephasdin na Ayudhaya, Chairman of the Zoological Park Organization when visiting Dusit Zoo. เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ สมเด็จพระบรม โอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทัง้ สามพระองค์ เคยเสด็จพระราชดำเนินชมสวนสัตว์ ดุสิต โดยมีพลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นผู้นำชมสวนสัตว์

Six years later, the government had appointed a group of committee to renovate and improve the zoo under the periodical budget support. In B.E. 2496 (1953), Lt.Gen. Banyat Dhephasdin Na Ayudhaya, the Minister of Interior proposed to the government that the zoo needed to be under the supervision of a separate organization for better operation and sufficient budget. Therefore, according to the Royal Decree, on 15th February, B.E.2497 (1954), Zoological Park Organization was established under the Office of the Prime Minister. On 1st July, B.E.2497(1954), Bangkok Municipality officially handed over the zoo administration and properties to the Zoological Park Organization of Thailand. Most importantly, H.M. King Bhumibol Adulyadej (King Rama IX) accepted Zoological Park Organization of Thailand to be under His Majesty Royal patronage on15th November, B.E.2506 (1963). Since then the organization has been renamed as Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King. In B.E. 2512(1969), according to the Zoological Organization Committee, Dusit Zoo was considered to be too crowded with an increasing number of animals. However, some rare species had difficulties breeding. Khao Kheow and Khao Chompoo National Park in Chonburi was selected to be developed as the second zoo and approved in B.E.2516 (1972). The expansion of zoos has continued to the other regions of the country since then. Responsibilities of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King: • To promote wildlife conservation, breeding, and research • To develop the zoo to be a wildlife reference source, based on the national educational plans curricula, with efficient services and


16

• To provide educational sectors with efficient academic services, research, and recreational activities related to wildlife conservation • To develop the zoo as an eco-tourist attraction for both Thai and foreign tourists • To develop the organization structure and personnel to be more efficient in order to meet international standard requirements • To reserve animal breeds including maintaining the balance of nature and environment

T

he Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King has successfully reached the above goals; however, the organization is determined to move forward in order for Thai zoos to be the world’s leading zoos. At presents, the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King has Dusit Zoo, Khao Kheow Open Zoo, Chiangmai Zoo, Nakhon Ratchasima Zoo, Songkhla Zoo, and Ubon Ratchathani Zoo under its responsibilities, and the project of taking of five more zoos including Surin Zoo, Nakhon Sawan Zoo, Ratchburi Zoo, SukhoThai zoos, and Choomporn Zoo, is currently in progress.

A teak wood tree was planted by Prince Valdemar, the son of King Christian IX of Denmark, during his official visit in 1900, as evidenced by the existing golden teak tree and the inscription stone in Dusit Zoo ต้นสัก ทรงปลูกโดยเจ้าชายวัลเดอร์มาร์ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก ครั้งเสด็จมาเยือนประเทศสยามอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2442 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งยังคงมีหลักฐานเป็นต้นสักทองในสวนสัตว์ดุสิต และมีศิลาสลัก อักษรจารึกเป็นหลักฐานไว้ให้เห็นจนถึงปัจจุบัน

17


เขาดินวนา” ป่าจำลองกลางพระนคร

18

นับย้อนกลับไปก็คงจะรับรู้กันว่าสัตว์ป่าในธรรมชาติลดน้อยลงแม้ว่ามีการพยายามอนุรักษ์สัตว์ป่าดังกล่าวอย่าง เข้มแข็งเพียงใดก็ตาม แต่ปัจจัยจากทั้งการเบียดเบียนของมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของโลก ก็ทำให้สัตว์ป่าลดน้อยลงไปเรื่อยๆ

ย่างไรก็ตามความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสัตว์ป่ามีมานานมากแล้ว มีหลักฐานมากมายที่กล่าวถึงการ นำสัตว์ป่ามาเลี้ยงเพื่อประโยชน์ของมนุษย์นานกว่า 4,000 ปี ทั้งความต้องการพื้นฐานเพื่อใช้เนื้อ เป็นอาหาร เอาหนังมาเป็นเครื่องนุ่งห่ม สัตว์ป่าหลายชนิดเป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อทางศาสนา และพิธีการ หรือจับมาฝึกเพื่อใช้เป็นพาหนะ หรือใช้ในการสงคราม แม้กระทั่งใช้ในกิจกรรมนันทนาการเพื่อ ความบันเทิงในชีวิตคือ การนำสัตว์ป่ามาเลี้ยงดูเพื่อความสวยงาม หรือนำมาฝึกฝนเพื่อการแสดง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศในทวีปเอเซีย อาทิ อินเดีย และจีน รวมถึงไทยที่วิถีชีวิตผูกพันกับป่าไม้และสัตว์ป่า ต่างก็นำสัตว์ปา่ มาใช้ประโยชน์ทง้ั นัน้ ไม่วา่ จะเป็นการคล้องช้างมาใช้งานและการสงคราม การฝึกลิงให้เก็บมะพร้าว หรือแสดงละครและการต่อนกเขาเพือ่ ฟังเสียงร้องฯลฯ ล้วนบ่งบอกว่าคนไทยมีการเลีย้ งสัตว์ปา่ เพื่อใช้ประโยชน์ มานานแล้ว

In the past, several events, especially the Winter Fair, were organized in Dusit Zoo, where people enjoyed skittles, swimming races, and body building contests. ในอดีตมีภาพหลักฐานปรากฏว่า สวนสัตว์ดุสิตเป็นสถานที่จัดกิจกรรม โดยเฉพาะงานฤดูหนาว ที่เป็นงานนัด พบปะ เพื่อชมการละเล่นอย่าง การแข่ง สะบ้า แข่งว่ายน้ำ และประกวดชายงาม เป็นต้น

การที่วิถีชีวิตในสังคมมนุษย์มีเปลี่ยนแปลงมาเป็นระยะๆ ทำให้การเลี้ยงสัตว์ป่าในอดีตและปัจจุบันต่างกันอย่าง มากมาย ทั้งหน้าตาและหน้าที่ จากคอกสัตว์เล็กๆ ที่อยู่หลังบ้าน หรือคณะละครสัตว์ที่ร่อนเร่ไปเปิดแสดงในที่ ต่างๆ กลับกลายมาเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้ที่ดิน บุคลากร ศิลปะ และความประณีตในการจัดการที่สลับ ซับซ้อน โดยเรียกกันว่า “สวนสัตว์” สำหรับประเทศไทยสวนสัตว์แห่งแรกก็คือ “สวนสัตว์ดุสิต” สถานที่แห่งความทรงจำของผู้คนทุกยุคสมัย แต่เดิมเรียกว่า “สวนดุสิต” หรือคำสามัญเรียกว่า “เขาดินวนา” ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสวนพฤกษชาติขึ้นในพระนคร เขตของพระราชอุทยาน สวนดุสิต เพื่อเป็นสวนพฤกษชาติสำหรับเป็นที่เสด็จประพาสและสำราญพระราชอิริยาบถ เนื่องจากมีการนำดิน มาถมสร้างเป็นเนินเขากลางน้ำพระองค์จึงโปรดเรียกว่า “เขาดินวนา” และติดปากพสกนิกรทั่วไป กระทั่งจนถึง ทุกวันนี้

19


20

ในชัน้ ต้นพระองค์มพี ระราชกระแสรับสัง่ ให้สร้างขึน้ เป็นสถานทีส่ ำหรับ เสด็จประพาสเป็นการส่วนพระองค์ และข้าราชบริพารฝ่ายในก่อน ดังนั้น สวนดุสิตหรือเขาดินวนาในขณะนั้น จึงเป็นส่วนหนึ่งในเขตพระราชฐาน พระราชวังดุสิต ในคราวที่เสด็จประพาสหมู่เกาะชวาในปีพ.ศ. 2444 ฮิส เอกซเศล เลนศิย์ วิลเลม รูเสบูม คอเวอเนอเยเนราล แห่งเนเธอแลนด์ ที่เมือง บุยเตนซอร์ค ได้ถวายกวางดาวจำนวน 6 ตัว กับพระองค์ในวันที่ 12 กรกฎาคม ร.ศ. 120 โดยทรงนำกวางดาวกลับมา และโปรดให้เลี้ยงไว้ ที่สวนกวางซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณพระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งในกาลต่อมา ลูกหลานของกวางดาวฝูงนี้ก็ได้ถูกย้ายมาไว้ที่สวนสัตว์ดุสิต ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงพระราชดำริที่จะทำนุบำรุงสวนสัตว์แห่งนี้ให้กว้างขวางและดีกว่าที่ เป็นอยู่ และเปิดโอกาสให้ประชาชนทัว่ ไปเข้ามาเทีย่ วพักผ่อนหย่อนใจ ด้วย ดังนั้นจึงมีพระราชกระแสรับสั่งให้พระมหาเสวกตรีพระยาบริหาร ราชมาณพ ดำเนินการปรับปรุงพื้นที่เพื่อเตรียมการดังกล่าว ภายหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองปี พ.ศ. 2475 คณะรัฐบาลในสมัยนัน้ ซึ่งมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้กราบบังคมทูลขอ พระราชทานที่ดินบริเวณสวนดุสิตจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 เพื่อให้เทศบาลนครกรุงเทพฯ นำไปจัดทำเป็น สวนสัตว์สาธารณะ และเป็นที่พักผ่อนของประชาชน

Now being one of the amazing Bangkok’s tourist attractions, the exhibition on World War II and the Greater East Asia War in the old air raid shelter, depicting the historical controversy. บริเวณหลุมหลบภัยมีภาพนิทรรศการเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงคราม มหาเอเชียบูรพาอันเป็นร่องรอยสำคัญทางประวัติศาสตร์ บนความขัดแย้งที่ กรุงเทพมหานครและประเทศไทยต้องได้รับผลกระทบ ซึ่งในปัจจุบันถูกยกว่าเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่มหัศจรรย์ของกรุงเทพมหานคร

21


22

23

ในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2481 พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทน พระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล ได้พระราชทานอนุมัติในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ให้เทศบาลนครกรุงเทพฯ รับสวนดุสิตหรือเขาดินวนา สนามเสือป่าและสวนอัมพร มาจัดเป็นสวนสาธารณะได้

ทศบาลนครกรุงเทพฯ เมื่อได้รับพระบรมราชานุมัติแล้ว ก็ได้สร้างถนนลาดยางในบริเวณเขาดินวนาและ สนามเสือป่า ทำการตกแต่งสถานที่ จัดสวนจนสวยงามเพือ่ ให้เป็นทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจสำหรับประชาชน ดำเนินการสร้างคอกสัตว์ กรงสัตว์ รวมไปถึงบ่อสำหรับการเลี้ยงสัตว์ โดยต้องการให้ประชาชนได้มีโอกาส เข้ามาชมสัตว์ ซึง่ ได้ทำการย้ายกวางดาว จากพระทีน่ ง่ั อัมพรสถานมาไว้ทส่ี วนดุสติ ย้ายสัตว์บางชนิด เช่น จระเข้และ ลิง จากสวนสราญรมย์มาไว้ด้วยกัน และรวบรวมสัตว์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ มาเลี้ยงไว้เพื่อให้ประชาชน เข้าชม นอกจากนีท้ างเทศบาลนครกรุงเทพฯ ยังได้ขอให้สำนักพระราชวังส่งช้างหลวงมาให้ประชาชนได้ชมในทุก วันอาทิตย์ ได้แก่ พังแป้น และพังล่า สร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับผู้มาเยือนเป็นอย่างยิ่ง และให้สถานที่แห่งนี้ใช้ ชื่อว่า “สวนสัตว์ดุสิต” อันเป็นสวนสัตว์แห่งแรกในประเทศไทย มีเนื้อที่ตามโฉนด 181 ไร่ 2 งาน 66 ตารางวา เมือ่ เปิดสวนสัตว์ดสุ ติ ให้ประชาชนได้เข้าชมแล้ว สถานทีแ่ ห่งนีก้ เ็ ป็นทีร่ จู้ กั และเป็นทีน่ ยิ มของประชาชนโดยทัว่ ไป มีประชาชนทุกเพศทุกวัยพากันไปเที่ยวชมและแสวงหาความเพลิดเพลินอย่างล้นหลามและต่อเนื่องยาวนาน

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2485 เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ สวนสัตว์ดุสิตได้รับความเสียหายไม่น้อย สัตว์หลายชนิดสูญหาย หรือว่ายน้ำหนีออกไปจากพื้นที่ จะเหลืออยู่ก็เพียงบางส่วนเท่านั้น ทางสวนสัตว์ดุสิตจึงต้องหยุดบริการ ประชาชนไปเป็นระยะเวลาหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2491 รัฐบาลได้ตง้ั คณะกรรมการขึน้ มาชุดหนึง่ เพือ่ ดำเนินการบูรณะและปรับปรุงสวนสัตว์ดสุ ติ ขึน้ ใหม่ โดยรัฐบาลให้งบประมาณสนับสนุนเป็นคราวๆ ไป และสวนสัตว์ดุสิตได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง This evidence revealed that once จนกระทั่งในปีพ.ศ. 2496 พลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในสมัยนั้น there were polar bears in Dusit Zoo. ได้พิจารณาเห็นว่าเทศบาลนครกรุงเทพฯได้รับงบประมาณน้อย ซึ่งไม่เพียงพอที่จะจัดสรรไปปรับปรุงสวนสัตว์ หมีขั้วโลกภาพหลักฐานที่บอกว่า ดุสิตให้เจริญตามที่ตั้งใจได้ ประกอบกับทางเทศบาลนครกรุงเทพฯ เองก็มีภาระหน้าที่มากอยู่แล้ว จึงได้เสนอขอ ครั้งหนึ่งเคยมีหมีขาวที่สวนสัตว์ รัฐบาลจัดตัง้ หน่วยงานเป็นองค์การ เพือ่ ให้บริหารงานได้อย่างคล่องตัว จนเมือ่ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 เขาดิน


จึงได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นองค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย โดยขึ้นตรงกับสำนักนายกรัฐมนตรี จากนั้นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 เทศบาลนครกรุงเทพฯ จึงได้มอบงานสวนสัตว์และทรัพย์สินทั้งหมด ให้แก่องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงรับองค์การ สวนสัตว์แห่งประเทศไทยไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ตั้งแต่นั้นมา หน่วยงานแห่งนี้จึงมีชื่อเต็มว่า องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อสส.)

24

ในปี พ.ศ. 2512 คณะกรรมการองค์การสวนสัตว์ ซึ่งหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ดูแลสวนสัตว์โดยตรง เห็นว่า สวนสัตว์ดสุ ติ มีพน้ื ทีน่ อ้ ยเมือ่ เปรียบเทียบกับปริมาณสัตว์ ทำให้เกิดความหนาแน่นเกินกว่าพืน้ ทีจ่ ะรองรับได้ ส่งผลให้สตั ว์อยูอ่ าศัยกันอย่างแออัดไม่เป็นธรรมชาติ ทำให้การขยายพันธุข์ องสัตว์ปา่ ไม่เป็นไปตามปกติ สัตว์ปา่ หายากบางชนิดไม่มกี ารขยายพันธุเ์ ลย สมควรขยายพื้นที่เพื่อความเป็นธรรมชาติ แต่ก็ไม่สามารถจะเพิ่มพื้นที่ ของสวนสัตว์ดุสิตได้เนื่องจากเป็นพื้นที่ใจกลางเมืองยากต่อการขยับขยาย จึงมีมติรบั หลักการออกไปใช้พน้ื ที่ นอกกรุงเทพมหานคร โดยสวนสัตว์แห่งทีส่ องนีใ้ ช้พน้ื ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติเขาเขียว และเขาชมพู่ จังหวัดชลบุรี เพือ่ ดำเนินการสร้างสวนสัตว์เปิดเขาเขียว โดยทางองค์การสวนสัตว์ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปสำรวจร่วมกับเจ้าหน้าที่ กรมป่าไม้ และได้รับอนุญาตให้ดำเนินการในปี พ.ศ. 2516 และหลังจากนั้นจึงขยายพื้นที่ไปสู่ส่วนภูมิภาคอื่นๆ จนกระทั่งปัจจุบัน

ารกิจสำคัญขององค์การสวนสัตว์ฯ นั้น ได้แก่ การส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ขยายพันธุ์สัตว์ และวิจัย ด้านสัตว์ปา่ มุง่ เน้นพัฒนาสวนสัตว์ให้เป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงเกีย่ วกับสัตว์ปา่ นานาชนิด โดยสามารถ ให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักสูตรของแผนการศึกษาแห่งชาติ อีกทั้งมีการ ส่งเสริมให้สถานศึกษาและหน่วยงานต่างๆ เข้ามาใช้บริการในสวนสัตว์อย่างทั่วถึง ทั้งการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ทางด้านวิชาการ การนันทนาการ และเป็นสถานที่เพื่อพัฒนาจิตใจเยาวชนของชาติ ให้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ตลอดจนพัฒนาสวนสัตว์ตา่ งๆ ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ ของประชาชน และนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ โดยมีการปรับปรุงโครงสร้างองค์การและพัฒนาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาสวนสัตว์ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานสากล เพื่อดำเนินงานด้านการเลี้ยงและสงวนพันธุ์ สัตว์ รวมทั้งสร้างสมดุลทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อันจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไป

Paddle boat ride, a popular activity at Dusit Zoo. การปั่นจักรยานน้ำ กิจกรรมที่ได้รับ ความนิยมของสวนสัตว์ดุสิต

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการดำเนินกิจการขององค์การสวนสัตว์ฯ ได้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวอย่างครบถ้วนแล้ว แต่ทางองค์การสวนสัตว์ฯ ก็จะยังมีการพัฒนาต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด เพื่อก้าวไปสู่มาตรฐานการเป็นสวนสัตว์ ชั้นนำของโลก โดยปัจจุบันองค์การสวนสัตว์ฯ มีสวนสัตว์ต่างๆ ในความดูแลรับผิดชอบ ได้แก่ สวนสัตว์ดุสิต สวนสัตว์เชียงใหม่ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว สวนสัตว์นครราชสีมา สวนสัตว์สงขลา อุทยานสัตว์ป่าอีสานตอนบน ขอนแก่น – อุดรธานี อุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี และโครงการคชอาณาจักร สุรินทร์

25


26

27

Khao Din or Dusit Zoo is a part of the cherished childhood memory of many people. Apart from being an inspirational place for children, it is a relaxing place for all. คนส่วนใหญ่มองว่าเขาดินคืออดีตความ ทรงจำในวัยเด็ก ในความเป็นจริงปัจจุบัน สวนสัตว์ดุสิตหรือเขาดิน ยังเป็นสถานที่ ทีส่ ร้างแรงบันดาลใจให้แก่เด็กหลายๆ คน และที่สำคัญกว่านั้นเขาดินเหมาะสำหรับ การพักผ่อนของผู้คนทุกเพศทุกวัย


28

29

Expansion of ZPO : 2 New Zoos in Chonburi and Chiangmai การเติบโตขององค์การสวนสัตว์ 2 สวนใหม่ที่ชลบุรีและเชียงใหม่ The lake in Khao Kheow Open Zoo, a sanctuary for water birds and migratory birds. บึงน้ำในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว จุดนัดพบของนกน้ำ ทั้งที่ปล่อย และอพยพเข้ามาหลบพักอาศัยตามฤดูกาล


2520 30

31

Chiangmai Zoo สวนสัตว์เชียงใหม่

Giant Panda (Ailuropoda melanoleuca) Star of Chiangmai Zoo แพนด้ายักษ์ ดาราเด่นสวนสัตว์เชียงใหม่


Chiangmai Zoo

32

“Chiangmai Zoo” is another zoo that is under the management of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of HM the King (ZPO). It’s located on the way to Doi Suthep, Huay Kaew road, Suthep sub-district, Muang district, Chiangmai province. The zoo is located amongst the mountain mist and nature’s breeze on a considerably large area of 531 rai. The zoo houses more than 3000 local and foreign animals that were brought in from abroad, available for visiting and education. This zoo dates back more than 60 years, founded by Mr. Harold Mason Young, an American missionary born in Chan State, Myanmar, who came to Thailand as a volunteer and taught wilderness survival skills to border police and soldiers during the Korean War in 1950-1953. The arrival of Mr. Harold was probably due to an agreement between the U.S. and Thai governments, where the U.S. had agreed to support political, military, economic and social issues to name a few in exchange for support to fight against communism as outlined in 3 Thai-American agreements in 1950. These agreements were memorandum on education and culture in July, collaboration on economics and technical support in September and military support in October. As a result, after 1950, the American government sent a high number of consultants, volunteers, and other field support, especially soldiers and police, into Thailand. In 1950, The US sent military consultants to base in Thailand which then expanded into JUSMAG to aid in strategic planning, interdepartmental collaboration and army organization. The police force, which was under Police General Phao Sriyanond at the time, also expanded as the US received much support through the Sea Supply Corporation. Mr. Harold, whom came in as a volunteer to teach wilderness survival skills to the border police and soldiers was most probably part of this corporation.

O

Indian Rhinoceros (Rhinoceros unicornis) endangered species exhibited only at Chiangmai Zoo แรดอินเดีย สัตว์ใกล้สูญพันธุ์ของโลก ในประเทศไทยมีจัดแสดงแห่งเดียว ที่สวนสัตว์เชียงใหม่

nce in Thailand, Mr. Harold rented Weruwun house on the foothills of Doi Suthep, Chiangmai province from Mr. Kee and Mrs. Kim Ho Nimanhemint and began to raise various animals until he was able to open a small, private zoo in 1952. He hired a few locals and mountain villagers to help raise these animals. Thus, the area within Weruwun house, such as the front garden, was used to care for them. Mr. Kee and Mrs. Kim Ho Nimanhemint thus asked Mr. Harold to move the animals to their other property that was also located at the foothills of Doi Suthep (which now belongs to Chiangmai University). However, as Mr. Harold was an American, a nation which at the time had much political influence, he went directly to the Governor of Chiangmai and asked for the part of the protected forest on the foothills of Doi Suthep and thus was granted 60 rai to be used as a private zoo. The zoo was opened to the public on 6th April, 1957 and remained such until his death in 1975. Following his death, the zoo was then managed by Chiangmai Provincial Administrative Organization until the 16th June 1977 when it was transferred to the ZPO. In 1983, the Royal Forest Department, the Ministry of Agriculture and Cooperatives, and congress members agreed to increase this area of Doi Suthep by 500 rai. Historical data shows that parts of Chiangmai Zoo was “Vien Jed Lin”, an ancient city, circular in shape that was built during Phaya Sam Fung Kaen, the 8th King of the Mungrai dynasty (1945-1984). Traces of this ancient life can still be seen through different ridges. A high number of bricks also protrude especially near the hills above the elephant enclosure. This large evidence has led to the hypothesis that this was an ancient religious site (currently Wad Goo Din Kao).

33


34

Chiangmai Zoo, a zoo with a long historical background and is one of the most well-known zoos in Thailand. One of the zoo’s highlights is the Panda family, Shuang Shuang, Lin Hooy and Lin Ping, which are friendship ambassadors from the Republic of China of which Thailand is the 5th nation that has received the panda bears from China to display outside of their homeland; the other nations being the US, Japan, Mexico and Germany. Furthermore, there are many other interesting animals on show for visitors to learn from, such as the Thai elephant, koala bears, Bengal tigers, the Indian rhinoceros, mountain goats, Chinese goral and the serow to name a few. There are also animal shows such as the Macaws, otters, the Spot-billed pelican, and the penguin exhibition as well as the Zoo Kids Zone and an aviary that displays birds of the Ping city on 6 rai of land for students to come on field trips. These outreach projects aim to educate and build awareness towards conservation of natural resources, wildlife and the environment so that it can truly live up to its name of “model center for lifelong learning”.

A

dditionally, this zoo also houses “Chiangmai Zoo Aquarium”, a complete exhibition of aquatic animals with a tunnel that stretches out 133 meters, which is considered to be the longest in the world. The tunnel is divided into 66.5 meters of fresh water, and 66.5 meters of seawater. On display is the freshwater species of Mekong basin and more than 200 species of underwater animals and more than 8000 individuals. Additionally, there are also activities such as fish feeding, fish performance and learning of the natural history of various fish species. The most recent highlight is the Chiangmai Zoo Snow Dome, that allows visitors to experience -7 ºC temperatures and snow tube. The dome also has snowboards and safety equipments with staff constantly available to guide visitors as needed. Visitors will also get to experience snow fall as if they were really in a winter land. Visitors will walk out with memories and pictures of the snow dome as well as get the opportunity to buy the many souvenirs the zoo has ready, such as the snow dolls, and even igloos or Eskimo homes that are made of compact snow and protects the inhabitants from snow storms and the cold. With such a variety of activities and diversity of animals, this zoo does live up to slogan of “The Magical Chiangmai Zoo – more than the expected”.

Chiangmai Zoo and city views at night. บรรยากาศยามค่ำของสวนสัตว์และเมืองเชียงใหม่

35


สวนสัตว์เชียงใหม่

36

“สวนสัตว์เชียงใหม่” เป็นสวนสัตว์ซึ่งอยู่ในความดูแลขององค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยตัง้ อยู่ บริเวณทางขึน้ ดอยสุเทพ บนถนนห้วยแก้ว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ท่ามกลางกลิน่ อายของ ขุนเขาและธรรมชาติอันร่มรื่น นับเป็นสวนสัตว์ขนาดใหญ่ ที่มีเนื้อที่กว่า 531 ไร่ มีสัตว์นานาชนิด ทั้งที่มีอยู่ ในเมืองไทย และนำมาจากต่างประเทศ ให้ได้ชมและศึกษามากกว่า 3,000 ตัว โดยสวนสัตว์แห่งนี้มีความเป็น มายาวนานกว่า 60 ปี ผูก้ อ่ ตัง้ ขึน้ คือ นายฮาโรลด์ เมสัน ยัง (Mr. Harold Mason Young) มิชชันนารีชาวอเมริกนั ผู้เกิดในรัฐฉาน ประเทศพม่า ซึ่งเข้ามาเป็นอาสาสมัครสอนการยังชีพในป่าให้แก่ทหารและตำรวจตระเวน ชายแดนของไทย ในช่วงสงครามเกาหลีระหว่างปี พ.ศ. 2493 - 2496

ารเข้ามาของนายฮาโรลด์ คงเนื่องด้วยพันธสัญญา ที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกามีต่อรัฐบาลไทย ในการ สนับสนุนทั้งทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ และสังคมฯลฯ อย่างเต็มที่ เพื่อร่วมกันต่อต้าน คอมมิวนิสต์ตามสนธิสัญญาไทย - อเมริกัน 3 ฉบับ ในปี พ.ศ. 2493 คือ ความตกลงทางการศึกษา และวัฒนธรรมในเดือนกรกฎาคม ความตกลงร่วมมือทางเศรษฐกิจและเทคนิคในเดือนกันยายน และความตกลง ทางการช่วยเหลือทางทหารในเดือนตุลาคม ซึง่ ผลปรากฏว่า หลังปี พ.ศ. 2493 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้จดั ส่ง คณะที่ปรึกษา อาสาสมัคร และกำลังสนับสนุนด้านต่างๆ เข้าสู่ประเทศไทยจำนวนมาก เฉพาะด้านทหารและ ตำรวจนัน้ ทางสหรัฐอเมริกาได้ส่งคณะทีป่ รึกษาทางทหารมาประจำในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2493 ต่อมาขยาย เป็นหน่วย JUSMAG เพือ่ ช่วยวางแผนการจัดกองพล การจัดกรมผสม และจัดระบบส่งกำลังกองทัพบกฯลฯ ขณะที่กองกำลังตำรวจเวลานัน้ อยูภ่ ายใต้การนำของ พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ ก็ได้รบั การขยายกำลังออกไป อย่างกว้างขวาง โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ได้ให้การสนับสนุนผ่านทาง บริษทั ซี ซับพลาย (Sea Supply Coporation) ซึง่ การเข้ามาทำงานในประเทศไทย ในฐานะอาสาสมัครผู้สอนการยังชีพในป่าให้แก่ทหารและ ตำรวจตระเวนชายแดน ของนายฮาโรลด์ ก็คงจะอยู่ในบริษัททางการเมืองดังกล่าวด้วย

Koala (Phascolarctos cinereus) a lovely koala from Australia โคอาล่า สัตว์น่ารักจากทวีปออสเตรเลีย

เมื่อเข้ามาอยู่ในประเทศไทย นายฮาโรลด์ได้เช่าบ้านเวฬุวัน เชิงดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ของนายกี และ นางกิมฮ้อ นิมมานเหมินท์ เป็นสถานทีพ่ กั พิง และเริม่ ต้นการเลีย้ งสัตว์นานาชนิด กระทัง่ ได้เปิดเป็นสวนสัตว์เล็กๆ ของเอกชนขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2495 โดยจ้างคนพื้นเมืองและชาวเขาจำนวนหนึ่ง ช่วยกันดูแล ดังนัน้ พืน้ ทีอ่ นั สวยงามของบ้านเวฬุวนั เช่น สนามหญ้าหน้าบ้านจึงถูกใช้เป็นทีเ่ ลีย้ งสัตว์ไปโดยปริยาย นายกี และ นางกิมฮ้อ จึงขอให้นายฮาโรลด์ย้ายสวนสัตว์ไปยังที่ดินอีกแปลงหนึ่งของตน ซึ่งอยู่เชิงดอยสุเทพเช่นกัน (ปัจจุบนั เป็นส่วนหนึง่ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่) แต่ดว้ ยความทีน่ ายฮาโรลด์เป็นชาวอเมริกนั ประชาชนของประเทศ ทีม่ อี ทิ ธิพลทางการเมืองมากในขณะนัน้ เขาจึงติดต่อขอทีด่ นิ ป่าสงวนเชิงดอยสุเทพต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ โดยตรง จนได้รับอนุมัติให้ใช้พื้นที่ดังกล่าวประมาณ 60 ไร่ เป็นที่ตั้งสวนสัตว์ของเอกชน เปิดให้เข้าชม

37


38

39

ตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2500 จนนายฮาโรลด์ถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2518 องค์การบริหารส่วนจังหวัด เชียงใหม่จงึ รับกิจการสวนสัตว์แห่งนีไ้ ว้ในความดูแลเรือ่ ยมา จนกระทัง่ เมือ่ วันที่ 16 มิถนุ ายน พ.ศ. 2520 จึงโอน เข้าสังกัดองค์การสวนสัตว์ฯ และในปี พ.ศ. 2526 ก็ได้รับความเห็นชอบจากกรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และคณะรัฐมนตรี ให้ขยายพื้นที่บริเวณเชิงดอยสุเทพ เพิ่มเติมอีกประมาณ 500 ไร่ ซึ่งจากหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ ชี้ชัดว่า พื้นที่ส่วนหนึ่งของสวนสัตว์เชียงใหม่คืออาณาบริเวณของ “เวียงเจ็ดลิน” เวียงโบราณ รูปวงกลม ทีส่ ร้างขึน้ ในสมัยพญาสามฝัง่ แก่น กษัตริยแ์ ห่งราชวงศ์มงั ราย ลำดับที่ 8 (พ.ศ. 1945 - 1984) ร่องรอย คูน้ำ คันดินบางส่วน ซากอิฐจำนวนไม่น้อย ยังคงปรากฏอยู่จนถึงทุกวันนี้ โดยเฉพาะบนเนินเหนือที่เลี้ยงช้าง ซึ่งเป็นกองอิฐใหญ่นั้น ทำให้สันนิษฐานได้ว่า เป็นโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับศาสนามาก่อน (ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ของวัดกู่ดินขาว)

วนสัตว์เชียงใหม่ จึงเป็นสวนสัตว์ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย ความน่าสนใจของสวนสัตว์แห่งนี้ได้แก่ ครอบครัวหมีแพนด้า ช่วงช่วง หลินฮุ่ย และหลินปิง ซึ่งเป็น ทูตสันถวไมตรีจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยประเทศไทยเป็นประเทศที่ 5 ของโลก ที่ได้รับหมีแพนด้าจากจีนมาจัดแสดง นอกเหนือไปจากประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เม็กซิโก และเยอรมนี อีกทั้งยังมีสัตว์ที่น่าสนใจอืน่ ๆ อีกมากมายให้ได้ศกึ ษาเรียนรู้ เช่น ช้างไทย โคอาล่า เสือขาวเบงกอล แรดอินเดีย แกะภูเขา กวางผา และเลียงผาฯลฯ มีการแสดงความสามารถของสัตว์ เช่น นกแก้วมาคอว์ นาก นกกระทุง รวมทั้งมีส่วนจัดแสดงนกเพนกวิน แมวน้ำ สวนสัตว์เด็ก หรือ Zoo Kids Zone และสวนชมนกนครพิงค์ ในพืน้ ที่ 6 ไร่ สำหรับโรงเรียนที่จะนำนักเรียนเข้ามาทัศนศึกษา ก็มีโครงการนำนักเรียนเข้าเรียนรู้ในสวนสัตว์เชียงใหม่ บริบทนีส้ วนสัตว์นบั ว่าเป็นทีร่ องรับในการให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึก และสร้างความตระหนัก ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม สมกับที่ได้รับการยกย่องให้เป็น “แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตต้นแบบ” Wat Ku Din Khao, an ancient temple from Lanna Period, located in the area of Chiangmai Zoo วัดกู่ดินขาว โบราณสถานสำคัญ ที่เป็นร่องรอยในอดีตของถิ่นล้านนา ที่อยู่ในพื้นที่สวนสัตว์เชียงใหม่

นอกจากนี้ ทีน่ ย่ี งั เป็นทีต่ ง้ั ของ “เชียงใหม่ ซู อควาเรียม” ศูนย์แสดงพันธุส์ ตั ว์นำ้ ครบวงจรทีม่ อี โุ มงค์นำ้ ความยาว กว่า 133 เมตร ซึง่ จัดว่ายาวทีส่ ดุ ในโลก แบ่งเป็นอุโมงค์นำ้ จืด 66.5 เมตร และอุโมงค์นำ้ เค็ม 66.5 เมตร จัดแสดง ปลาน้ำจืดแห่งลุ่มน้ำโขง และสัตว์ใต้ทะเลนานาชนิดกว่า 200 สายพันธุ์ มากกว่า 8,000 ตัว ทั้งยังมีกิจกรรม การแสดงต่างๆ เช่น การแสดงให้อาหารปลา การแสดงความสามารถของปลา และเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของปลาสายพันธุ์ ต่างๆ เป็นต้น ที่พิเศษคือ “หิมะตกในสวนสัตว์เชียงใหม่” คือส่วนแสดงพิเศษเชียงใหม่ซูสโนว์โดม


40

(Chiangmai Zoo Snow Dome) ทีจ่ ำลองพืน้ ทีส่ ำหรับการเข้าไปสัมผัส อุณหภูมิ -7 ºC มีการเล่นสโนว์ Tube มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ คือ สโนว์บอร์ด และอุปกรณ์ปอ้ งกันอันตราย ซึง่ จะมีเจ้าหน้าทีแ่ นะนำวิธกี ารเล่น อย่างปลอดภัย รวมถึงได้สมั ผัสกับละอองหิมะเสมือนได้อยูท่ า่ มกลางหิมะตก จริงๆ ได้เก็บภาพความประทับใจกับหิมะในสโนว์โดมเป็นที่ระลึก ซึ่งทาง สวนสัตว์เชียงใหม่ยงั ได้จดั เตรียมตุก๊ ตาหิมะ และตุก๊ ตาน้ำแข็งอีกหลายชนิด ไว้ให้นกั ท่องเทีย่ วได้สมั ผัส รวมทัง้ อิกกรู (Igloo) หรือบ้านของชาวเอสกิโม ซึ่งทำจากหิมะอัดเป็นก้อนแล้วก่อขึ้นรูป สามารถเข้าไปอาศัยเพื่อหลบ พายุหมิ ะ และป้องกันความหนาวเย็นได้ ซึง่ ด้วยความหลากหลายของชนิด สัตว์ สถานที่ และกิจกรรมต่างๆ ภายในสวนสัตว์เชียงใหม่ จึงกล่าวได้ว่า สวนสัตว์แห่งนี้มคี วามน่าสนใจ สมกับสโลแกนทีว่ า่ “มหัศจรรย์สวนสัตว์ เชียงใหม่ ให้อะไรมากกว่าที่คิด” จริงๆ

Chiangmai Zoo Aquarium, the Pride of ASEAN, equipped with the longest and the most spacious underwater walkways in the world เชียงใหม่ ซู อควาเรียม ศูนย์แสดงพันธุ์สัตว์น้ำครบวงจร แห่งแรก หนึ่งเดียวใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยอุโมงค์ใต้น้ำขนาดใหญ่ และถือได้ว่ามี ความยาวมากที่สุดในโลก

41


42

43

Victoria Crowned Pigeon (Goura victoria) นกพิราบหงอนวิคตอเรีย

Tiger (Panthera tigris) เสือโคร่งขาว


2521 44

45

Khao Kheow Open Zoo สวนสัตว์เปิดเขาเขียว

White Rhinoceros (Ceratotherium simum) and Giraffe (Giraffa camelopardalis) living together peacefully in African Zone, Khao Kheow Open Zoo แรดขาวและยีราฟอยู่ร่วมกันอย่างเสรีในส่วนแสดงสัตว์ แอฟริกา สวนสัตว์เปิดเขาเขียว


Khao Kheow Open Zoo

46

W

hen one mentions a zoo, “Khao Kheow Open Zoo” is usually one that first comes to mind. It is located in the midst of a rich forest on more than 5000 rai of the Khao Kheow - Kao Chom Poo Wildlife Conservation Area, Bang Pla sub-district, Sriracha district, Chonburi province. This is a very well-known zoo as it houses an animal kingdom that varies from Asia to Africa and has more than 300 varieties and 8000 inhabitants. Khao Kheow Open Zoo is also the first Thai zoos to become a member of the World Association of Zoos and Aquarium (WAZA). Khao Kheow Open Zoo was established in 1969 when board members of the Zoological Park Organization of Thailand Under the Royal Patronage of H.M the King (ZPO) agreed that Dusit Zoo, or what was known then as “Khao Din Wana” had limited space with too many animals. This caused over crowding and forced animals to live in non-natural habitats. Additionally, as a result, animals were not added on to this zoo and neither did breeding occur.Therefore, it was officially agreed to use Khao Kheow – Khao Chom Poo National Forest, Chonburi province, which later became Khao Kheow – Khao Chom Poo Wildlife Conservation Area for such needed habitat.The work to create Khao Kheow Open Zoo was approved and surveys began in 1973 by ZPO and the Royal Forest Department. In 1974, ZPO began to improve the land, restore the forest and construct various buildings that would make up Khao Kheow Open Zoo. The animals from Dusit Zoo were gradually transferred to their new replicated habitat on approximately 500 rai. In 1978, the doors were finally opened to tourists on June 1st. In 1984, ZPO received approval from the Council of Ministers to expand the zoo by an additional 2500 rai, making the zoo a total of 3000 rai. Then in 1992, the Council of Ministers agreed to develop Khao Kheow Open Zoo so that it could reach a wider group of audience. The zoo expanded by an additional 2000 rai, now making it total of 5000 rai. It became the zoo with the largest area. This zoo aimed to care and conserve various animal species as well as create a balance between nature and environment that would be of national benefit. Furthermore, the zoo is also a source of education, research and recreation. It also aims to develop public and youth awareness on the significance of conserving natural resources as well as to become a place of relaxation and tourism.

Clouded Leopard (Pardofelis nebulosa) เสือลายเมฆ

Today, Khao Kheow Open Zoo is known to be one of the world’s leading zoos. It is divided into 3 sections. The first is the Exhibition area used to enclose the different wild animals. Each enclosure is designed to meet the natural needs and behaviors of the animals, thus they will usually resemble the natural habitat as much as possible. This allows visitors to get close to the animals ensuring both their enjoyment and safety. Examples of such areas are the Eld’s deer park and the large aviary, just to name a few. This area consists of approximately 1000 rai. The second area is the Education and Research area. This area is where the animals live in their natural habitat and where research is conducted. The projects conducted focus on research and breeding of rare and nearly extinct animals. For example, there is the Reintroduction of Painted Stork and Spot-billed Pelican project, Wildlife rehabilitation project and Forest Flora project, to name a few.This area is not opened to the public and consists of 3500 rai.

47


48

T

he last area, whichis on 500 rai, is used for recreation and animal presentations, which is on 500 rai. This area is an entertainment area where tourist can be amazed and experience the intelligence of animals’ ability to interact with humans. For example, the slyness of the Macaws, falcons catching prey, the amazing binturong, or Otter the conservationist. Additionally, the zoo also offers a night zoo or also known as Khao Kheow After Dark. Visitors can see nocturnal behavior and will be amazed and intrigued by the various animals such the spotted deer, the sambar deer, the barking deer and the hog deer. Visitors can also see nocturnal predators such as the tigers that are enclosed in the tiger cave. Furthermore, visitors can also see nocturnal feeding behavior from animals such as the large group of Eld’s deer, bantengs, gaurs, binturongs, barn owls and many more wild animals. With such a large inventory of animals, it can be said that the Khao Kheow Open Zoo is a bank of rare animals, an institute for research and education, and a replica of nature and learning source which highly makes it worth the visit.

Ring-tailed lemur (Lemur catta) Tourists can observe lemur’s life in a close proximity in the recently opened Lemur Land ลีเมอร์หางแหวนในลีเมอร์แลนด์ ส่วนแสดงใหม่ที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัส และเรียนรู้ชีวิตของลีเมอร์อย่างใกล้ชิด

49


50

51

During mating season, painted storks nest in their colony to lay eggs, and raise their chicks until they can fly. ในฤดูผสมพันธุ์ บรรดานกกาบบัว จะมารวมฝูงสร้างรัง วางไข่ และเลีย้ งลูก จนสามารถบินออกสู่ธรรมชาติได้

Giraffe (Giraffa camelopardalis) in the African Zone, decorated with a wild-life theme as they live in natural habitat ยีราฟในส่วนแสดงสัตว์แอฟริกา ที่มีการตกแต่งให้กลมกลืน ทั้งพื้นที่และเหมาะสมกับ พฤติกรรมสัตว์ป่า


52

สวนสัตว์เปิดเขาเขียว มื่อเอ่ยถึงสวนสัตว์ เชื่อว่า “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” ซึ่งตั้งอยู่ท่ามกลางผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ บนเนื้อที่ กว่า 5,000 ไร่ ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว - เขาชมภู่ ในพื้นที่ตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี คงเป็นสวนสัตว์ลำดับต้นๆ ที่หลายคนนึกถึง เพราะที่นี่ เป็นเสมือนอาณาจักรสัตว์ป่าที่หา ชมยาก ทัง้ จากแถบเอเชีย และแอฟริกา กว่า 300 ชนิด จำนวนมากถึง 8,000 ตัว และเป็นสวนสัตว์แห่งแรกของ ประเทศไทยที่ได้เป็นสมาชิกของสมาคมสวนสัตว์โลกและอควาเรียม (WAZA) สำหรับจุดเริม่ ต้นของการถือกำเนิดสวนสัตว์เปิดเขาเขียวนัน้ เนือ่ งมาจาก เมือ่ ปี พ.ศ. 2512 คณะกรรมการองค์การ สวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้พจิ ารณาเห็นว่า “สวนสัตว์ดสุ ติ ” หรือทีเ่ รียกกันในสมัยก่อนว่า “เขาดินวนา” มีพน้ื ทีน่ อ้ ย หากแต่มปี ริมาณสัตว์มากเกินไป ทำให้สตั ว์ตา่ งๆ อยูก่ นั อย่างหนาแน่น แออัด ในสิง่ แวดล้อมทีผ่ ดิ แผก ไปจากธรรมชาติ จึงเป็นผลให้การขยายพันธุข์ องสัตว์ปา่ เป็นไปอย่างเชือ่ งช้า และสัตว์หายากบางชนิดไม่มี การขยายพันธุ์ ในทีส่ ดุ จึงมีมติรบั หลักการ ใช้พน้ื ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติเขาเขียว - เขาชมภู่ จังหวัดชลบุรี (ต่อมาได้รบั การประกาศให้เป็น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว - เขาชมภู่) เพื่อดำเนินการจัดสร้างสวนสัตว์เปิดเขาเขียวขึ้น โดยองค์การสวนสัตว์ฯ ได้สง่ เจ้าหน้าทีด่ ำเนินการสำรวจร่วมกับเจ้าหน้าทีก่ รมป่าไม้ และได้รบั อนุญาต ให้ดำเนินการ ในปี พ.ศ. 2516 กระทั่ง ปี พ.ศ. 2517 องค์การสวนสัตว์ฯ ได้เริ่มดำเนินการปรับปรุงสถานที่ ฟื้นฟูสภาพป่า ก่อสร้างอาคารต่างๆ ของสวนสัตว์เปิดเขาเขียว และระบายสัตว์จากสวนสัตว์ดสุ ติ มาปล่อยเลีย้ งให้อยูใ่ นสภาพทีใ่ กล้เคียงกับธรรมชาติ ในพื้นที่ประมาณ 500 ไร่ จนสามารถเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2521 และต่อมา ในปี พ.ศ. 2527 องค์การสวนสัตว์ฯ ก็ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะรัฐมนตรี ให้ขยายเนือ้ ทีด่ ำเนินการของสวนสัตว์เพิม่ ขึน้ อีก 2,500 ไร่ รวมมีพน้ื ทีด่ ำเนินการทัง้ สิน้ 3,000 ไร่ จากนัน้ ในปี พ.ศ. 2535 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ ให้มี Zoo visitors are observing the parade of painted storks (Mycte- การจัดทำโครงการพัฒนาสวนสัตว์เปิดเขาเขียวเพือ่ อำนวยประโยชน์ให้แก่สงั คมอย่างกว้างขวางมากขึน้ พร้อมทัง้ ria leucocephala) while they’re ได้ขยายพื้นที่เพิ่มขึ้นอีก 2,000 ไร่ รวมเป็นพื้นที่ทั้งสิ้น 5,000 ไร่ นับว่าเป็นสวนสัตว์ที่มีเนื้อที่มากที่สุดในโลก being fed. โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อดำเนินงานด้านการเลี้ยงและสงวนพันธุ์สัตว์ รวมทั้งสร้างสมดุลทางธรรมชาติและ พาเหรดนกกาบบัว เป็นกิจกรรมการฝึก ให้อาหารนก ซึ่งในแต่ละวันนักท่องเที่ยว สิง่ แวดล้อม อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ อีกทัง้ เพือ่ บริการด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจยั ต่างๆ การนันทนาการ การพัฒนาจิตใจของประชาชน และเยาวชน ให้ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สามารถมานั่งชมนกกาบบัวบินเป็น สิ่งแวดล้อม ตลอดจนเพื่อพัฒนาสวนสัตว์แห่งนี้ ให้เป็นที่รู้จัก และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของนักท่องเที่ยว ริ้วขบวนสวยงาม

53


ปัจจุบนั สวนสัตว์เปิดเขาเขียวได้ชอ่ื ว่าเป็นหนึง่ ในสวนสัตว์ชน้ั นำของโลก โดยแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกคือ ส่วนแสดง เป็นพื้นที่ใช้เลี้ยงสัตว์ป่านานาชนิด โดยคอกสัตว์แต่ละชนิดจะขึ้นอยู่กับความเหมาะสม กับลักษณะถิ่นอาศัย และพฤติกรรมดั้งเดิมของสัตว์นั้นๆ จึงมีสภาพใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุด ทำให้ผู้มา เที่ยวชมสามารถใกล้ชิดกับสัตว์ได้อย่างเพลิดเพลินและปลอดภัย เช่น สวนละมั่ง กรงนกใหญ่ฯลฯ รวมพื้นที่ ทัง้ สิน้ 1,000 ไร่ ส่วนต่อมาคือ ส่วนศึกษาและวิจยั เป็นส่วนทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์ปา่ ตามธรรมชาติ และดำเนินงาน ด้านการวิจัย ซึ่งเป็นพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและขยายพันธุ์สัตว์ป่าหายาก และใกล้สูญพันธุ์ เช่น โครงการนก กาบบัว นกกระทุง คืนสู่ธรรมชาติ โครงการฝึกสัตว์เพื่อนำกลับสู่ธรรมชาติ และโครงการศึกษาวิจัยพันธุ์ไม้ป่า เป็นต้น โดยพื้นที่ส่วนนี้จะไม่อนุญาตให้บุคคลทั่วไปเข้าชม มีเนื้อที่ประมาณ 3,500 ไร่ และส่วนสุดท้ายคือ ส่วนบริการ เป็นส่วนของการพักผ่อน และการแสดงความสามารถของสัตว์ (Animal Presentations) บนเนื้อที่ ประมาณ 500 ไร่ ซึง่ เป็นความบันเทิงเต็มรูปแบบทีส่ มั ผัสได้อย่างเต็มความรูส้ กึ ผูเ้ ข้าชมจะประทับใจ ไปกับความ ฉลาดแสนรู้ของสัตว์ต่างๆ ที่สามารถสื่อสารกับมนุษย์ได้อย่างน่าอัศจรรย์ เช่น ความเจ้าเล่ห์ของนกแก้วมาคอว์ สัตว์ปีกที่มีสีสันสวยงามมากที่สุดในโลก เหยี่ยวโฉบเหยื่อ หมีขอแสนรู้ ตัวนากนักอนุรักษ์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมชมสัตว์ตอนกลางคืน หรือเขาเขียว อาฟเตอร์ ดาร์ค (Khao Kheow After Dark) ซึง่ เป็นกิจกรรมหนึง่ ที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียวสร้างทางเลือกใหม่ ให้กับผู้สนใจศึกษาพฤติกรรมสัตว์ป่าในเวลากลางคืน ผู้เข้าชมจะรู้สึก ตื่นตา ตื่นใจ ไปกับสัตว์ป่านานาชนิด เช่น ฝูงกวางดาว กวางป่า เก้ง เนื้อทราย ที่ออกหากินตามธรรมชาติ อีกทั้งนักล่ายามราตรีอย่างเสือชนิดต่างๆ ที่รวบรวมไว้ในหุบเสือป่า ตลอดจนพฤติกรรมของสัตว์ที่หากินใน เวลากลางคืน เช่น ละอง ละมั่งฝูงใหญ่ วัวแดง กระทิง หมีขอ นกแสก และสัตว์ป่าอื่นๆ อีกมากมาย จึงกล่าว ได้ว่า สวนสัตว์เปิดเขาเขียวนั้น เป็นทั้งธนาคารสัตว์ป่าหายาก เป็นสถาบันการศึกษาและวิจัย อีกทั้งเป็นส่วน จำลองและห้องปฏิบัติการทางธรรมชาติ ซึ่งควรค่าแก่การมาศึกษา เที่ยวชม และพักผ่อน อย่างยิ่ง

54

Tiger (Panthera tigris) having a fun time splashing around in water เสือโคร่งขาวเป็นสัตว์อกี ชนิดหนึง่ ทีม่ ี พฤติกรรมชอบเล่นน้ำเป็นอย่างมาก

55


56

57

The Underwater World, the new addition to the Zoo, where tourists experience land and aquatic lives โลกใต้น้ำ ส่วนแสดงใหม่ที่ให้นักท่องเที่ยวได้เห็นพฤติกรรมสัตว์ ทั้งบนบกและใต้น้ำได้อย่างใกล้ชิด

Asian elephant (Elephas maximus) in the foot of the mountain as if they live in a natural habitat. ช้างเอเชีย ในส่วนแสดงช้างบนเชิงเขาที่มองดูเป็นธรรมชาติเหมือนนั่งเฝ้ามอง ช้างป่าในธรรมชาติจริงๆ


New Zoo is a Modern Zoo แนวคิดสวนสัตว์สมัยใหม่

Painted Stork (Mycteria leucocephala) นกกาบบัว (ตัวไม่เต็มวัย)


2539 60

61

Nakhon Ratchasima Zoo สวนสัตว์นครราชสีมา

Lion (Panthera leo) สิงโต (เพศเมีย)


Nakhon Ratchasima Zoo

62

A

mong the zoos in the North East of Thailand, Nakhon Ratchasima Zoo or Kho Rat Zoo, under the management of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King, is the biggest zoo with the area of 545 rai. It is located in Chaimongkhon Sub-district, Muang District, Nakhon Ratchasima Province, and also considered as one of the best modern zoos with the best standardized management systems in Asia. Nakhon Ratchasima Zoo was initiated under the name of Nakhon Ratchasima Zoo Project by the government with General Chatichai Choonhavan as the Prime Minister on 23rd May 1989. Nakhon Ratchasima Zoo was officially opened on14th December 1997 by General Prem Tinsulanonda, President of the Privy Council and Statesman. The zoo is located on the plain laterite area and it’s usually hot and dry. So, there are some areas that have been adjusted to be the wave areas like Savanna grassland, and mainly arranged for various African animal exhibitions, especially “the Big Five”: lions, leopards-panthers, African elephants, white rhinoceros, and African buffalos, along with Thai wildlife exhibitions- totally over 1,800 animals. There are also giraffes, zebras, antelopes, barking deer, deer, hog deer, gaurs, camels, lesser adjutants, ostriches, flamingos, penguins, hornbills, and more than 300 species of birds found in Thailand. These animals are provided with suitable habitations based on their ways of living. Nakhon Ratchasima Zoo is, therefore, called “Thailand Safari”. It is one of the places in the North East that surely is worth a visit. Nakhon Ratchasima Zoo is also well known for succeeding in breeding Sarus or Thai cranes which are listed as one of fifteen endangered animal spicies and had disappeared from Thailand for over 50 years. Nowadays, Nakhon Ratchasima Zoo has increased a high number of the birds by applying either natural or artificial insemination. For two years, 19 Eastern sarus cranes have been successfully released into the wetlands as their natural habitats in Burirum. And the zoo is determined to continue the project in order for the birds to be able to live and reproduce naturally. As a result, is should help enhance biodiversity and complete ecosystem. The International Crane Foundation (ICF) has confirmed such success as the first success in the world. Nakhon Ratchasima Zoo has also been accepted and honored by the South East Asian Zoo Association (SEAZA) and the World Assocoation of Zoo and Aquariums (WAZA) as a model of conservation, research, and reintroduction of endangered animals. Moreover, the zoo has been responsible for the cranes in Chitralada Villa Royal Residence, Dusit Palace since 2004.

Common Zebra (Equus burchellii) and Giraffe (Giraffa camelopardalis) live together peacefully in an immersion exhibit. ม้าลายและยีราฟ ในส่วนแสดงที่จำลอง บรรยากาศของถิ่นเกิด ซึ่งสัตว์เหล่านี้ สามารถอาศัยอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ

Nakhon Ratchasima Zoo has the first seal training center in Thailand and South East Asia. Therefore, the zoo offers visitors amusing and heart-warming shows by well-trained Cape fur seals and other animals, and visitors will learn about their livelihoods throughout the shows. . Regarding educational promotion, Nakhon Ratchasima Zoo is officially accepted as the model of lifelong learning source. Besides the learning enhancement through nature and the animals in the zoo, the Learning Center for Conservation is available for visitors to experience nature and wildlife development through authentic materials including eggs, skeletons and other parts of animals’ anatomy, detailed

63


64

explanation, and knowledgeable guides. The Center is arranged to resemble Jurassic Park dating back million years on the area of over 4 rai. The models with the actual sizes of more than 20 different kinds of Dinosaurs are displayed, together with important relevant information, and always popular among children.

F

urthermore, the zoo offers two units of the kingdom of reptiles and amphibious animals exhibitions including snake section with several species of snakes and the section of other reptiles such as iguanas, monitor lizards, and red-headed monitor. In addition, the zoo offers the biggest water park in Isan called Korat Zoo Lagoon or Isan Ocean with various kinds of entertainments. So, it’s very clear that Nakhon Ratchasima Zoo is very popular among Thai and foreign visitors. It can be said that this is definitely one of the leading zoos in the world.

Leopard (Panthera pardus) เสือดาว

65


สวนสัตว์นครราชสีมา

66

ในบรรดาสวนสัตว์ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “สวนสัตว์นครราชสีมา” หรือ “สวนสัตว์โคราช” ได้ชอ่ื ว่า เป็นสวนสัตว์อีสานที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ด้วยมีอาณาบริเวณที่กว้างขวางถึง 545 ไร่ ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลไชยมงคล อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ทั้งยังเป็นสวนสัตว์ที่มีความทันสมัย และมีการจัดการที่ได้มาตรฐานที่สุดแห่ง หนึ่งของเอเชีย โดยอยู่ในความดูแลขององค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2532 ในสมัย พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ภายใต้ชอ่ื “โครงการ สวนสัตว์นครราชสีมา” กระทัง่ มีพธิ เี ปิดอย่างเป็นทางการ เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2539 โดยมี ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ เป็นประธานในพิธี และใช้ชื่อว่า “สวนสัตว์นครราชสีมา” นับแต่นั้นเป็นต้นมา สำหรับลักษณะของสวนสัตว์นครราชสีมา เป็นแบบซาฟารี กึ่งเปิดและปิด เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่มีลักษณะ ร้อน และแห้งแล้ง รวมทั้งสภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบดินลูกรัง จึงมีการปรับพื้นที่เป็นลูกคลื่น ทำให้มองดู คล้ายทุง่ หญ้าสะวันนา แล้วเน้นการจัดส่วนแสดงสัตว์ปา่ แอฟริกาเป็นหลัก ผสมผสานกับสัตว์ปา่ ของไทย รวมแล้ว กว่า 1,800 ตัว จนได้รบั การขนานนามว่าเป็น “ซาฟารีเมืองไทย” โดยได้นำ 5 สัตว์ผยู้ ง่ิ ใหญ่แห่งทุง่ หญ้าแอฟริกา ที่เรียกว่า The Big Five มาจัดแสดง ได้แก่ สิงโต เสือดาว - เสือดำ ช้างแอฟริกา แรดขาว ควายป่าแอฟริกา ถือ เป็นสิ่งมหัศจรรย์แห่งแรกและแห่งเดียวในแดนอีสาน อีกทั้งยังมียีราฟ ม้าลาย แอนติโลป เก้ง กวาง เนื้อทราย กระทิง อูฐ นกตะกรุม นกกระจอกเทศ นกฟลามิงโก นกเพนกวิน นกเงือก และนกพันธุ์ไทยกว่า 300 ชนิด ให้ได้ชม รวมไปถึงสัตว์อื่นๆ อีกมากมาย โดยภายในคอกสัตว์ต่างๆ นั้นกว้างขวาง มีการจัดสภาพแวดล้อมให้ เหมาะสมกับลักษณะนิสัยของสัตว์แต่ละชนิด

น African elephant (Loxodonta africana) training การฝึกช้างแอฟริกา

อกจากนี้ สวนสัตว์นครราชสีมายังมีชื่อเสียงจากความสำเร็จในการเพาะและขยายพันธุ์นกกระเรียน พันธุ์ไทยอีกด้วย ซึง่ จัดเป็นสัตว์ปา่ สงวน 1 ใน 15 ชนิดทีใ่ กล้สญ ู พันธุ์ และสูญพันธุไ์ ปจากธรรมชาติ ในเมืองไทย มานานกว่า 50 ปี ปัจจุบัน ทางสวนสัตว์นครราชสีมาสามารถเพาะพันธุ์นกกระเรียน พันธุไ์ ทย ทัง้ โดยวิธธี รรมชาติ และการผสมเทียม เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนมาก และปล่อยคืนสูพ่ น้ื ทีช่ มุ่ น้ำตามธรรมชาติ ในจังหวัดบุรรี มั ย์ไปแล้ว 2 ปี จำนวน 19 ตัว ซึง่ ถือเป็นการช่วยให้ธรรมชาติมคี วามหลากหลาย และมีระบบนิเวศ ที่สมบูรณ์ โดยมีนโยบายจะปล่อยให้ได้ตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นกกระเรียนพันธุ์ไทยสามารถใช้ชีวิต อยูไ่ ด้ตามธรรมชาติอย่างแท้จริง ซึง่ จากความสำเร็จดังกล่าว มูลนิธนิ กกระเรียนสากล (ICF: International Crane Foundation) ประเทศสหรัฐอเมริกา ให้คำยืนยัน เกีย่ วกับการดำเนินงานในการอนุรกั ษ์ และวิจยั “นกกระเรียน พันธุไ์ ทย” ของสวนสัตว์นครราชสีมาว่า สามารถทำการเพาะขยายพันธุ์ ทัง้ วิธธี รรมชาติและผสมเทียมในกรงเลีย้ ง ได้เป็นแห่งแรกของโลก ทั้งยังประสบความสำเร็จในการปล่อยคืนสูธ่ รรมชาติ เป็นแห่งแรกของโลก เป็นศูนย์เพาะ

67


68

ขยายพันธุแ์ ละมีนกกระเรียนพันธุไ์ ทยมากที่สุดในประเทศไทย ทั้งได้รับ การยอมรับ และยกย่อง จากสมาคมสวนสัตว์อาเซียน (South East Asian Zoo Association, SEAZA) สมาคมสวนสัตว์โลก (World Association of Zoos and Aquariums, WAZA) ด้านการวิจยั และอนุรกั ษ์สตั ว์ปา่ มา อย่างต่อเนือ่ ง และให้ถอื การดำเนินงาน “นกกระเรียนพันธุไ์ ทย” เป็นต้นแบบ การอนุรกั ษ์ วิจยั และนำคืนสูธ่ รรมชาติ สำหรับสัตว์ปา่ ใกล้สญ ู พันธุ์ ทีส่ ำคัญ คือ นอกจากการดำเนินงานภายในสวนสัตว์นครราชสีมาแล้ว คณะทำงาน ยังได้รับพระบรมราชโองการ ให้รับผิดชอบดูแลนกกระเรียน ในพระ ตำหนักสวนจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสติ โดยทางคณะทำงานสวนสัตว์ นครราชสีมา ได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา ซึ่งมีการ ปรับปรุงกรงเลี้ยง รวมถึงการดูแลในด้านการเพาะขยายพันธุ์มาจนถึง ปัจจุบัน สิง่ ทีน่ า่ สนใจอีกอย่างคือ ภายในสวนสัตว์แห่งนีย้ งั มีการแสดงความสามารถ ของแมวน้ำ สายพันธุ์เคปเฟอร์ซีล ที่ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี เพราะ ที่นี่ ถือเป็นโรงเรียนสอนแมวน้ำแห่งแรกของประเทศไทย และเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งนอกจากผู้เข้าชมจะได้รับความสนุกสนาน และเสียง หัวเราะจากความน่ารักของมวลหมู่แมวน้ำแสนรู้แล้ว ยังจะได้รับความรู้ ทางธรรมชาติของแมวน้ำควบคู่กันไปด้วย อีกทั้งยังมีการแสดงความ สามารถของสัตว์อื่นๆ เช่น ความน่ารักของตัวนาก ความแสนรู้ของหมีขอ และความฉลาดของนกแก้วอิเคล็คตัส เป็นต้น

White Rhinoceros (Ceratotherium simum) the second largest to elephants and the famous giant of Nakhon Ratchasima Zoo แรดขาว สัตว์บกขนาดใหญ่รองจากช้าง เป็นอีกหนึ่งในสัตว์เด่นของสวนสัตว์โคราช

69


ในด้านการศึกษา สวนสัตว์นครราชสีมา ได้รับการยกย่องจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ ตลอดชีวติ เช่นเดียวกับสวนสัตว์ทกุ แห่งในสังกัดองค์การสวนสัตว์ฯ ซึง่ นอกเหนือจากการได้เรียนรูธ้ รรมชาติ และ สัตว์ป่าในสวนสัตว์แล้ว ยังมีศูนย์การเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์ เป็นศูนย์การเรียนรู้ชีวิตธรรมชาติและวิวัฒนาการ ของเหล่าสัตว์ปา่ ต่างๆ พร้อมทัง้ มีนทิ รรศการงานด้านการอนุรกั ษ์ วิจยั ทีป่ ระสบความสำเร็จมาให้ได้ศกึ ษาเรียนรู้ ตลอดจนการนำไข่ โครงกระดูกและส่วนอืน่ ๆ ของสัตว์มาจัดแสดงไว้ พร้อมข้อมูลให้ได้ศกึ ษาเรียนรูก้ นั อย่างเต็มที่ โดยมีข้อมูล วิทยากรแนะนำ และให้คำบรรยาย มีการจัดสถานที่เป็นอุทยานสัตว์โลกล้านปี พื้นที่คล้ายดินแดน ย้อนยุค ซึง่ บนพืน้ ทีก่ ว่า 4 ไร่ ได้จดั สร้างหุน่ จำลองไดโนเสาร์สายพันธุต์ า่ งๆ ขนาดใกล้เคียงของจริงกว่า 20 ชนิด มีทั้งกินพืช ตัวสูง คอยาว ร่างยักษ์ คือ บราคิโอซอรัส และประเภทกินเนื้อที่ดุร้ายอย่าง ไทรันโนซอรัส ซึ่งเด็กๆ ชอบเป็นพิเศษ โดยแต่ละชนิดจะมีชอ่ื ยุคทีค่ น้ พบ แหล่งทีค่ น้ พบ และข้อมูลอืน่ ๆ เพือ่ เป็นแหล่งความรูส้ ำหรับเด็ก และผู้สนใจทั่วไป

70

ไม่เพียงเท่านั้น ที่นี่ยังมีอาณาจักรสัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ซึ่งถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนจัดแสดงงูชนิดต่างๆ ทั้งที่มีพิษ และไม่มีพิษ ตั้งแต่ขนาดเล็กกว่าดินสอ ไปจนถึงขนาดใหญ่ เช่น งูหลาม และงูเหลือม โดยเฉพาะงูหลามทอง ซึ่งมีสีสันแปลกตาและหายาก นอกจากนี้ยังเชื่อง สามารถนำมาพาดคอ ถ่ายรูปด้วยได้ หรืองูจงอาง ที่มีความยาวเกือบ 5 เมตร กินงูสดๆ ทั้งตัวเป็นอาหาร นับเป็นภาพที่หาชมยาก เช่นกัน โดยการชมงูของที่นี่ จะชมผ่านกระจกหนา ก่อสร้างขึ้นอย่างแข็งแรง รับรองความปลอดภัย เป็นการ จัดแสดงภายในอาคาร ส่วนที่ว่างตรงกลาง จะเป็นสวนหย่อม ลักษณะโอเอซีส (Oasis) มีต้นไม้ ใบไม้ แหล่งน้ำ สำหรับเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์เลื้อยคลานอีกประเภทหนึ่ง คือ กลุ่มของอีกัวนา ตะกวด และตุ๊ดตู่ เป็นต้น

Cape Fur Seal (Arctocephalus pusillus) / แมวน้ำเคปเฟอร์ Thailand’s first seal training school was established here in Nakhon Ratchasima Zoo. The ‘graduates’ then became stars. สวนสัตว์โคราชเป็นโรงเรียนแมวน้ำ แห่งแรกของเมืองไทย หลายตัวที่จบ ออกไปกลายเป็นขวัญใจของนักท่องเทีย่ ว ที่มาชมการแสดง

รัน้ เทีย่ วชมสัตว์ตา่ งๆ กันจนเต็มอิม่ แล้ว ทีน่ ก่ี ย็ งั มี “สวนน้ำนครราชสีมา” หรือ Korat Zoo Lagoon ขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ในภาคอีสาน มากมายไปด้วยเครือ่ งเล่นนานาชนิด จนได้รบั ฉายาว่าเป็น “ทะเลอีสาน” ให้สนุกเพลิดเพลินกันอีกด้วย ซึ่งด้วยแนวคิด รูปแบบการสร้างสวนสัตว์ที่ทันสมัย สะดวกสบาย และปลอดภัยในการเที่ยวชม จึงทำให้สวนสัตว์นครราชสีมาได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทย และ ชาวต่างชาติ เป็นอย่างมาก เหมาะที่จะเป็นสวนสัตว์เพื่อการเรียนรู้และพักผ่อนหย่อนใจอย่างแท้จริง

71


72

73

In reptile zone, tourists can take a close-up shot with reptiles under the supervision of well-trained staff. The demonstration of snakebite first-aid is also shown. ในส่วนแสดงสัตว์เลือ้ ยคลาน นักท่องเทีย่ วสามารถถ่ายภาพร่วมกับ สัตว์เลื้อยคลานเป็นที่ระลึก โดยให้ สัมผัส และมีเจ้าหน้าที่คอยดูแล อย่างใกล้ชิด ขณะเดียวกันก็มี การสอนการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เมื่อโดนงูกัดโดยผู้เชี่ยวชาญด้วย

Korat Water Park, a place to offer recreational activities สวนน้ำโคราช เป็นอีกส่วนหนึ่งของการจัดสถานเพื่อกิจกรรมด้านนันทนาการ


2541 74

75

Songkhla Zoo สวนสัตว์สงขลา

Flat-headed Cat (Prionailurus planiceps) แมวป่าหัวแบน


Songkhla Zoo

76

T

he first zoo in the southern region of Thailand under the management of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King (ZPO) is Songkhla Zoo. The zoo is on 878 rai near Khao Roob Chang mountain, Khao Roob Chang Sub-district, Mueang District, Songkhla province. It lies in the midst of bright green ranges and is surrounded by Songkhla lagoon and the gulf of Thailand. This area is also a historical site as it was the battlefield of Greater East Asia War between the Thai and Japanese in 1941. During those times, Japan sent the troops to 8 places in Thailand: by land to Arunyapratet, by sea via Bang Pu, Samut Prakarn, Prachuab Khiri Khan, Choomporn, Surat Thani, Nakhon Si Thammarat, Songkhla, and Pattani as an attack strategy against Malayan troops (now-Malaysia). The battle between Thailand and Japan began with Songkhla having the highest density of Japanese troops since it provided the easiest port entrance, with wide and long beaches that stretch up to 9 kms. Furthermore, Songkhla is also in close proximity to Saiburi state and Penang, but the Thai had planned ahead with troops and defense line with suitable strategy including land military in front and artillery battalion to back up. The base was Suan Toon surrounded by mountains with high density of coconut trees, in which the troops can be hidden from the sight of pilots and bombs. The entrance of Suan Toon was a mountain pass, which had a bottleneck shape, between Khao Roob Chang and Khao Samrong mountains. Even though the Japanese had more soldiers; they could not come inside easily. The cannons were placed in the right spot (Songkhla Zoo at present). The battle in Songkhla was well strategized; the Japanese troop was severely destroyed.

Hornbills exhibited in a natural environment, Songkhla Zoo ส่วนแสดงนกเงือก นกเงือกในสวนสัตว์ สงขลาอาศัยอยู​ู่ในกรงขนาดใหญ่ สภาพภายในส่วนจัดแสดงใกล้เคียง กับธรรมชาติ

The area of Ban Suan Toon on Khao Roob Chang mountain, the former battle field, later was developed to be Songkhla Zoo on 23rd May 1989 and officially opened to the public on 3rd October 1998. It’s the fifth zoo managed by the Zoological Park Organization. Today, there are more than 173 species, 1,084 animals including local and foreign species. The zoo is divided into sections. First, hoofed animals section includes spotted deer, Eld’s deer, brow-antlered deer, sambar deer, red barking deer, Fea’s barking deer, mouse deer, Sumatran serows, bantengs, and gaurs; elephants, rhinoceros, and hippopotamus can also be visited in this area. Second, domestic and foreign birds section: parrots, macaws, aquatic birds, hornbills, pheasants, and various rare beautiful birds. The hornbill presentation area is considerably large with six out of thirteen species of domestic hornbills; visitors can enjoy driving around the area and feed the birds closely. Third, there is a Tiger Center with different kinds of tigers such as Bengal tigers, Indochinese tigers, white tigers, lions, black jaguars, leopards, panthers, and some other rare species. Fourth, about 100 meters from the tiger section, there is a section of Malayan sun bears, Asian black bears. Fifth, monkeys section includes chimpanzees, orangutans, various spiecies of Thai monkeys, langurs, and gibbons. The sixth section is Malayan tapir presentation and breeding section which is operated under the Songkhla Zoo’s policy of being the conservation and breeding center for the wild animals originated in the south of Thailand. Songkhla Zoo now houses three species of Thailand’s endangered animals: Eld’s deer, Fea’s barking deer, and Malayan tapirs. There is also a scenic point which attracts a lot of visitors with towers built on the trees and a pavilion. Visitors can enjoy the panorama of Tinasulanond Bridge, Songkhla town, and the gulf of Thailand. Restaurants, camping sites, and various programs and activities are also provided for nature lovers.

77


78

In addition, in order for tourism and learning promotion, Songkhla Zoo offers the first and only one water park in the South, which was officially opened on 23rd October 2011. Visitors can relax and enjoy the views of Songkhla while they swim around the whirlpool in the midst of nature.

Tourists experiencing wet and wild activities in Songkhla Zoo’s Water Park, where they also enjoy spectacular city view บริเวณทีต่ ง้ั สวนน้ำสวนสัตว์สงขลา นอกจากนักท่องเทีย่ วจะได้เพลิดเพลินกับเครือ่ งเล่น ภายในสวนน้ำแล้วยังสามารถสัมผัสกับทิวทัศน์ที่สวยงามของเมืองสงขลาได้อีกด้วย

79


80

81

Nilgai (Boselaphus tragocamelus) นิลกาย

Banteng (Bos javanicus) วัวแดง


สวนสัตว์สงขลา

82

สวนสัตว์แห่งแรกของภาคใต้ ในความดูแลขององค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ คือ “สวนสัตว์สงขลา” ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 878 ไร่ บริเวณเขารูปช้าง ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา (บ้านสวนตูล) ท่ามกลางขุนเขาเขียวขจี โอบล้อมด้วยทะเลสาบสงขลา และอ่าวไทย โดยพื้นที่แห่งนี้ครั้งหนึ่งคือดินแดน ประวัติศาสตร์ อันเป็นยุทธภูมิสู้รบกันระหว่างกองทัพไทยและกองทัพญี่ปุ่น ในสงครามมหาเอเชียบูรพา เมื่อปี พ.ศ. 2484

รั้งนั้น ญี่ปุ่นได้ส่งกองทัพเข้าประเทศไทย 8 แห่ง คือ ทางบกที่อรัญประเทศ ส่วนทางทะเลได้ยกพล ขึ้นบกที่บางปู สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา และ ปัตตานี เพือ่ ใช้เป็นเส้นทางตีดา้ นหลังของแนวป้องกันมลายู (ประเทศมาเลเซียในปัจจุบนั ) ของกองทัพ สหราชอาณาจักร ดังนั้น การสู้รบระหว่างทหารไทยและญี่ปุ่นจึงอุบัติขึ้น โดยสงขลา นับเป็นจุดที่ญี่ปุ่นส่งกำลัง เข้ามามากเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นสถานที่ที่ขึ้นบกได้สะดวก มีหาดทรายกว้าง และยาวกว่า 9 กิโลเมตร ทั้งยัง สามารถเดินทางไปสูร่ ฐั ไทรบุรี และปีนงั ได้ใกล้ทส่ี ดุ แต่ฝา่ ยไทยก็ได้วางแผนไว้ลว่ งหน้า มีทต่ี ง้ั ของกองกำลังทหาร และแนวต่อต้าน อยู่ในยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม โดยมีกองพันทหารราบอยู่ด้านหน้า และกองพันทหารปืนใหญ่ อยู่ด้านหลัง ซึ่งบริเวณที่ตั้ง คือ สวนตูล มีภูเขาล้อมเกือบรอบ มีสวนมะพร้าวหนาแน่น ช่วยกำบังทั้งสายตา นักบิน และลูกระเบิด ปากทางเข้าค่ายทหารสวนตูล ก็เป็นช่องเขาระหว่างเขารูปช้างกับเขาสำโรง ทำให้แคบ เหมือนคอขวด ญีป่ นุ่ แม้มกี ำลังมาก ก็เหมือนน้อย ไม่สามารถหักหาญเข้ามาได้โดยง่าย ปืนใหญ่กม็ จี ดุ ตรวจการณ์ ทีเ่ หมาะทีส่ ดุ (บริเวณทีต่ ง้ั สวนสัตว์สงขลาในปัจจุบนั ) มองเห็นได้ตลอดแนวความยาวของชายหาดและท้องทะเล หน้าเมืองสงขลา ทำให้แจ้งตำแหน่งยิงให้แก่ปืนใหญ่ได้อย่างแม่นยำ การรบที่สงขลา จึงเป็นไปตามยุทธวิธี และ แบบแผนมากที่สุด สามารถทำความเสียหายให้แก่ชีวิต และทรัพย์สินของกองทัพญี่ปุ่นได้หลายเท่าตัว โดยฝ่าย ไทยได้รับความเสียหายเพียงเล็กน้อย และทำให้กองทัพญี่ปุ่นต้องหยุดการเคลื่อนที่นานถึง 7 ชั่วโมง นับเป็นการ สูญเสียทางยุทธวิธีอย่างมากมาย

Asian Forest Tortoise (Manouria emys emys) เต่าหกเหลือง

กระทั่ง เมื่อวันเวลาล่วงเลย พื้นที่บ้านสวนตูลบนเขารูปช้าง อันเป็นสมรภูมิรบเมื่อครั้งอดีต ก็ได้รับการพัฒนาให้ เป็น “สวนสัตว์สงขลา” ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 และได้เปิดให้บริการ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2541 เป็นสวนสัตว์แห่งที่ 5 ขององค์การสวนสัตว์ฯ ซึ่งปัจจุบัน มีสัตว์ต่างๆ ให้นักท่องเที่ยวได้ชมกว่า 173 ชนิด จำนวนมากถึง 1,084 ตัว ทั้งที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศ และ ต่างประเทศ โดยแบ่งเป็น “ส่วนจัดแสดงสัตว์เท้ากีบ” ได้แก่ กวางชนิดต่างๆ เช่น กวางดาว ละมั่ง (ละอง) กวางป่า เก้งแดง เก้งหม้อ กระจง เลียงผา วัวแดง กระทิง และในโซนนี้ยังจัดแสดงสัตว์ที่มีน้ำหนักตัวมากๆ ไว้ด้วย คือ ช้าง แรด และฮิปโปโปเตมัส อีกส่วน คือ “ส่วนจัดแสดงสัตว์ปีก” ทั้งในและต่างประเทศ ตระกูล

83


นกแก้ว นกมาคอว์ นกน้ำ นกเงือก ไก่ฟา้ และนกสวยงามหลากหลายชนิดทีห่ าดูยาก สำหรับส่วนจัดแสดงนกเงือกนัน้ นับว่ามีขนาดใหญ่ มีความยาว 100 เมตร ผู้เที่ยวชมสามารถขับรถชมนกเงือก และป้อนอาหารให้แก่นกเงือกได้ อย่างใกล้ชิด ซึ่งในเมืองไทยมีนกเงือกสายพันธุ์ต่างๆ อยู่ 13 ชนิด ที่สวนสัตว์สงขลามีจัดแสดงอยู่ 6 ชนิด อีกทั้ง ยังมี “ศูนย์เสือ” จัดแสดงเสือชนิดต่างๆ เช่น เสือโคร่งพันธุ์เบงกอล เสือโคร่งพันธุ์อินโดจีน เสือโคร่งขาว สิงโต เสือจากัวร์ดำ เสือดาว เสือดำ และสัตว์ตระกูลเสืออีกหลายชนิด ทีห่ าดูได้ยาก และห่างจากศูนย์เสือขึน้ ไปประมาณ 100 เมตร จะเป็นสถานที่จัดแสดงหมีหมา และหมีควาย รวมทั้งยังมี “ส่วนจัดแสดงสัตว์ประเภทลิง” เช่น ลิงชิมแพนซี ลิงอุรังอุตัง ลิงไทยชนิดต่างๆ ค่าง ชะนีฯลฯ ตลอดจน “ส่วนจัดแสดงและขยายพันธุ์สมเสร็จ” ที่จัดขึ้นตามนโยบายขององค์การสวนสัตว์ฯ ให้สวนสัตว์สงขลา เป็นสถานที่อนุรักษ์ และขยายพันธุ์สัตว์ป่า ที่มี ถิน่ กำเนิดในภาคใต้ โดยเฉพาะสัตว์ปา่ สงวนของไทย ซึง่ มีทง้ั หมด 15 ชนิด ขณะนี้ สวนสัตว์สงขลามีสตั ว์ปา่ สงวน ของไทย จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ ละมัง่ เก้งหม้อ และสมเสร็จ นอกจากนี้ ทีน่ ย่ี งั มีจดุ เด่นทีน่ กั ท่องเทีย่ วไม่ควรพลาด คือ จุดชมวิว ประกอบด้วย หอชมวิว ซึ่งสร้างเป็นลักษณะหอคอยบนต้นไม้ และศาลาชมวิว ที่สามารถมองเห็น ทัศนียภาพอันสวยงาม บริเวณสะพานติณสูลานนท์ ตัวเมืองสงขลา และทะเลอ่าวไทย ได้อย่างกว้างไกล โดย บริเวณนี้ ยังมีร้านอาหารไว้คอยบริการนักท่องเที่ยว รวมทั้งมีรูปปั้นไดโนเสาร์ มนุษย์ดึกดำบรรพ์ และสัตว์ป่าที่ หายาก จัดแสดงไว้ให้ชมด้วย ที่สำคัญ สำหรับผู้สนใจจัดกิจกรรมค่ายพักแรม ทางสวนสัตว์สงขลาก็มีสถานที่ไว้ คอยให้บริการด้วย โดยผู้มาใช้บริการจะได้รับความรู้เกี่ยวกับสัตว์ป่า และพรรณพืช รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ที่ทาง สวนสัตว์จัดไว้รองรับ เช่น กิจกรรมเข้าฐานละลายพฤติกรรม กิจกรรมส่องสัตว์ยามค่ำคืน กิจกรรมเดินป่า และ การนำชมสัตว์ โดยมีวิทยากรของสวนสัตว์บรรยายให้ความรู้ไปพร้อมกัน

84

อกจากสวนสัตว์สงขลาจะมีสัตว์ต่างๆ มากมายให้ชมแล้ว ยังมีมิติใหม่แห่งการท่องเที่ยว และการ พักผ่อนหย่อนใจของชาวสงขลากับ “สวนน้ำ” เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และการท่องเที่ยว เป็น แห่งแรก และแห่งเดียวในภาคใต้ โดยเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ เมือ่ วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา ซึ่งภายในสวนน้ำ ได้จัดให้มีส่วนบริการสระน้ำ สำหรับเด็กเล็ก เด็กโต และผู้ใหญ่ ในลักษณะของน้ำ หมุนวน ที่เลี้ยวลดไปมาตามพื้นที่ ท่ามกลางธรรมชาติที่แวดล้อมไปด้วยทัศนียภาพโดยรอบของเมืองสงขลา สะพานติณสูลานนท์ เกาะยอ เกาะหนู และเกาะแมว โดยมองเห็นพืน้ ทีท่ อดยาวต่อเนือ่ งเป็นพืน้ เดียวกับทะเลสาบ สงขลา จรดหัวเขาแดง เขาเขียว อำเภอสิงหนคร นักท่องเทีย่ วจะสามารถสัมผัสกับความอลังการของสระน้ำขนาดใหญ่ พร้อมโลดแล่นไปบนสไลเดอร์รางคู่ที่สูงกว่า 7 เมตร เย็นฉ่ำกับน้ำพุ น้ำตก และมีมุมพักผ่อนหย่อนใจสบายๆ พร้อมจุดให้บริการต่างๆ ภายในสวนน้ำ

Malayan Tapir (Tapirus indicus) สมเสร็จ (ลูก)

85


86

87

The location of Songkhla Zoo is in the former tropical rain forest, where Suan Toon Waterfall is located. Visitors take pleasure in the sound of stream, cool breeze, and the fantastic scenery of the wetland. ที่ตั้งของสวนสัตว์สงขลา มีลักษณะเป็นป่าดิบชื้น โดยมีสภาพธรรมชาติดั้งเดิมอย่างน้ำตกสวนตูล มีบรรยากาศค่อนข้าง เย็นสบาย ที่เป็นลำห้วย แอ่งน้ำ และดินพื้นล่างที่ชุ่มชื้น

Fishing Cat (Prionailurus viverrinus) เสือปลา


88

89

Today and the Future of Thai zoos สวนสัตว์ในวันนี้และอนาคต

Lion (Panthera leo) สิงโต


2553 90

91

Upper Isan Wildlife Park Khon Kaen - Udonthani อุทยานสัตว์ป่าอีสานตอนบน ขอนแก่น - อุดรธานี

Deer sculptures at the entrance of Khao Suan Kwang Zoo, in relevant to the name of the area literally meaning Deer Park รูปปั้นกวางหน้าประตูทางเข้าสวนสัตว์เขาสวนกวาง เป็นประติมากรรมตกแต่ง ที่บอกถึงที่มาของป่าที่ครั้งหนึ่งเคยชุกชุมไปด้วยกวาง


Upper Isan Wildlife Park Khon Kaen-Udonthani

92

D

ating back 4 years, “Upper Isan Wildlife Park Khon Kaen-Udonthani” or more commonly known as “Suan Kwang Zoo”, a member of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King (ZPO), was established in the Isan area on 27th April, 2009 on Suan Kwang mountain, Khao Suan Kwang National Park, Khao Suan Kwang district, Khon Kaen province on a total area of 4,696 rai. The local elders always tell stories of how rich and dense the mountain originally was with all the necessary natural resources such as wood, soil and water present. There was always a variety of plants both hardwood and softwood such as the dipterocarpaceae, the Indian rosewood, Takian trees, rubber trees, and bamboos to name a few. Furthermore, there were various herbs and fungi as well as a high number of wild animals, namely wild boars, deer, mouse deer, tigers, small Asian mongooses, palm civets, Bengal monitors, moles, wild rabbits, and especially herds of deer, which were the highlight of this mountain. It has been told that, before, when the hunters roamed about the forest, they could see hundreds of thousands of deer, thus the name “Khao Saen Kwang” (Mountain of a hundred thousand deer) started, which eventually became Khao Suan Kwang. Within the time, due to the area’s richness, people from all over started to settle and made the foothills their homes and source of livelihood. Then, the private concession of lumbar began. This area was able to provide a very high number of such resources. As a result, the forest was destroyed. Additionally, the locals also began to invade the forest, some for farming, and others for gathering lumbar to build homes. As the community continued to expand, the natural environment was seriously affected. Then, in 2009, with the drive from Mr. Suwit Kunkitti, the Minister of Natural Resources and Environment, together with the Royal Forest Department, the Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation, ZPO, and Khon Kaen province, Suan Kwang Zoo was established and opened on 9th January, 2010.

Dry Dipterocarp forest is the special feature of Khao Suan Kwang area. The forest changes its colors in different seasons. ป่าเต็งรัง เป็นสังคมป่าเด่นในพื้นที่ เขาสวนกวาง ซึ่งสีสันของป่าจะเปลี่ยน ผันไปตามฤดูกาล

Within this wildlife sanctuary, the area is divided into 2 sections: the zoo and the education area. The education area consists of a learning park, a conservation center of rare wildlife, a research center, a breeding center, and an adventure park (Jungle Park) with the key concept of being the community forest following the ideas of sustainability where humans and forest can live harmoniously. This is also a means to encourage tourism, investors and local labor as well as expanding the opportunity to educate more people on natural resources and wildlife, especially to students, and the upper Isan public, which is a priority of Khon Kaen and Udonthani province’s tourism. The zoo is managed in the form of an open zoo like an Adventure Park that includes forest hiking, youth camps, accommodations, seminar centers and places promoting natural resources and environment. This will be a key tourist attraction for Khon Kaen, Udonthani and nearby provinces. Additionally, in the future, there is a plan to connect tourism between nations from Upper Isan Wildlife Park Khon Kaen-Udonthani to Vientiane, Luang Pra bang, in Laos, and Vietnam. The zoo is ready to become a landmark for the upper Isan. It is similar to Nakhon Ratchasima, with the difference that in addition to having a zoo, there will also be an aquarium, where sharks and jellyfish will be brought into this area. The zoo will also have rides and a small water park, thus it will be one of Thailand’s all-inclusive zoos that is modern and worth the visit.

93


94

อุทยานสัตว์ป่าอีสานตอนบน ขอนแก่น - อุดรธานี ย้อนกลับไปเกือบสี่ปีก่อน “อุทยานสัตว์ป่าอีสานตอนบน ขอนแก่น - อุดรธานี” หรือที่นิยมเรียกขานกันในนาม “สวนสัตว์เขาสวนกวาง” ซึ่งอยู่ในสังกัดองค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ถือกำเนิดขึ้นในแดนดินถิ่น อีสาน โดยได้จดั ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2552 บนภูเขาสวนกวาง ในพืน้ ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น คาบเกี่ยวกับพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ อำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี รวมพื้นที่ 4,696 ไร่ ซึ่งคนเฒ่าคนแก่ในพื้นที่ได้เล่าสืบต่อกันมาว่า แต่เดิมภูเขาสวนกวางมีความอุดมสมบูรณ์ เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่จำเป็น เช่น ป่าไม้ ดิน และน้ำ มีพันธุ์ไม้น้อยใหญ่นานาชนิด ทั้งไม้เนื้อแข็ง และ ไม้เนือ้ อ่อน เช่น เต็ง รัง ประดู่ แดง ตะเคียน ยาง พวง ไผ่ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีสมุนไพรและเห็ดต่างๆ มากมาย หลายชนิด เช่นเดียวกับสัตว์ป่าที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นหมูป่า กวาง กระจง เสือ พังพอน อีเห็น ตะกวด ตุ่น กระต่ายป่า โดยเฉพาะฝูงเก้งกวาง ซึ่งถือว่าเป็นจุดเด่นของภูเขาลูกนี้ ว่ากันว่า เมื่อนายพรานเดินป่า ล่าสัตว์มักจะพบเห็นเก้งกวางได้ไม่ยาก ประมาณกันว่า น่าจะมีอยู่เป็นแสนๆ ตัวเลยทีเดียว จึงมักพูดติดปาก เรียกขานภูเขานี้ว่า “ภูเขาแสนกวาง” กระทั่งต่อมา ได้เพี้ยนเป็น “ภูเขาสวนกวาง” ในที่สุด และด้วยความ อุดมสมบูรณ์ของพื้นที่นี่เอง จึงมีผู้คนจากหลายท้องที่อพยพย้ายถิ่นฐาน มาตั้งบ้านเรือน ทำมาหากินอยู่บริเวณ พืน้ ราบใกล้ภเู ขา จากนัน้ การสัมปทานป่าไม้ของนายทุนก็เกิดขึน้ ซึง่ ถือเป็นแหล่งสัมปทานใหญ่แห่งหนึง่ ของประเทศ ทำให้ผืนป่าถูกทำลายไปมาก อีกทั้งผู้คนในท้องถิ่นก็เริ่มบุกรุกแผ้วถางป่าอย่างต่อเนื่อง บ้างเพื่อทำไร่ บ้างเพื่อ หาไม้มาใช้ประโยชน์และสร้างบ้านเรือน ป่าไม้บนภูเขาสวนกวางจึงลดจำนวนลงเรือ่ ยๆ เมือ่ ชุมชนขยายตัวมากขึน้ ก็ยิ่งส่งผลกระทบต่อผืนป่ามากขึน้ ตามลำดับ กระทัง่ ปี พ.ศ. 2552 ด้วยการผลักดันของ นายสุวทิ ย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในขณะนั้น ร่วมกับกรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ และจังหวัดขอนแก่น จึงได้รว่ มลงนามจัดตัง้ สวนสัตว์ บนภูเขาสวนกวางขึ้น และได้ทำการเปิดอย่างไม่เป็นทางการแล้ว เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2553

ายในพื้นที่อุทยานสัตว์ป่าแห่งนี้ ได้แบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่เป็นสวนสัตว์ และส่วนที่เป็น การศึกษา โดยเป็นอุทยานการเรียนรู้ อนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าหายาก เป็นศูนย์วิจัย เพาะเลี้ยง เป็นได้ ทั้งแหล่งการศึกษา ท่องเที่ยวในรูปการผจญภัย (จังเกิล ปาร์ค) ด้วยการยึดหลักการป่าชุมชน Lion (Panthera leo) with the concept of a modern zoo, tourists ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ให้คนอยู่กับป่าได้ และมีส่วนร่วม เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยว ลงทุน will get closer encounters with การจ้างงานในท้องถิ่น ขยายโอกาสการเรียนรู้ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสัตว์ป่า ไปสู่นักเรียน นักศึกษา และ fascinating wildlife. ประชาชนในภูมิภาคอีสานตอนบน ซึ่งนับเป็นภารกิจสำคัญในการจัดการการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่นและ สิงโตขาว ในส่วนแสดงตามแนวคิด อุดรธานี โดยการบริหารจัดการในรูปแบบสวนสัตว์เปิด ในลักษณะอุทยานสัตว์ป่า (Adventure Park) รวมทั้ง modern zoo ทำให้นักท่องเที่ยวมี กิจกรรมเสริมอื่นๆ ได้แก่ การเดินป่าศึกษาธรรมชาติ ค่ายเรียนรู้เยาวชน บริการเรือนพักอาศัย ศูนย์สัมมนาและ ความรู้สึกหมือนได้ไปสัมผัสกับสัตว์ ส่งเสริมด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ผลักดันให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำคัญอีกแห่งหนึง่ ในธรรมชาติจริง

95


96

ทัง้ ในจังหวัดขอนแก่น อุดรธานี และจังหวัดใกล้เคียงอืน่ ๆ อีกทัง้ ในอนาคต จะมีการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างประเทศจากอุทยานสัตว์ป่าอีสาน ตอนบน ขอนแก่น - อุดรธานี ไปยังนครเวียงจันทน์ หลวงพระบาง ประเทศลาว และประเทศเวียดนาม พร้อมทำให้เป็น Landmark แห่งภาคอีสาน ซึ่งรูปแบบของอุทยานสัตว์ป่าแห่งนี้จะคล้ายๆ กับสวนสัตว์นครราชสีมา แต่จะมีสง่ิ ทีแ่ ตกต่างอยูบ่ า้ ง คือ นอกจากจะเป็นสวนสัตว์แล้ว สิง่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ มาคืออควาเรียม ซึง่ จะนำฉลาม แมงกะพรุน มาอยูใ่ นเขตภาคอีสานตอนบน รวมถึงเครือ่ งเล่น และสวนน้ำเล็กๆ นับว่าเป็นสวนสัตว์ทค่ี รบวงจรแห่งหนึง่ ในประเทศไทย ที่มีความทันสมัย และน่าเดินทางไปเที่ยวชม

Eld’s Deer (Rucervus eldii) during antler shedding season, males of deer species having growing antlers live in a herd without hurting each other ฝูงละองละมั่งสายพันธุ์พม่า ในช่วงที่เพศผู้ผลัดเขาและยังมีเขาอ่อน สัตว์ตระกูล กวางกลุ่มนี้ยังสามารถอยู่รวมกันเป็นฝูงโดยไม่สร้างอันตรายให้แก่กัน

97


98

99

Siamese Crocodile (Crocodylus siamensis) one of the exhibits located in the original forest area จระเข้น้ำจืด เป็นส่วนแสดงหนึ่งที่ใช้สภาพแวดล้อมเดิมทำเป็นส่วนแสดง และให้สัตว์อาศัย Southern Ground Hornbill (Bucorvus leadbeateri) นกเงือกปฐพี


100

101

Red Kangaroo (Macropus rufus) จิงโจ้แดง

Dromedary Camel (Camelus dromedarius) อูฐโหนกเดียว


2556 102

103

Ubon Ratchathani Zoo สวนสัตว์อุบลราชธานี

A herd of deer in harmony with nature ฝูงกวาง ที่อาศัยกลมกลืนอยู่ในป่ายาง


Ubon Ratchathani Zoo

104

U

bon Ratchathani Zoo is the first and only standardized, large zoo in the lower Isan region that has been formed by the Zoological Park Organization Under the Royal Patronage of H.M. the King (ZPO). It is located in Dong Fa Huan National Park, 5 km. away from the city center, in Bahn Nong Ma kua community, Kham Yai sub-district, Muang district, Ubon Ratchathani province. The zoo comprises 1,217 rai in a sparse forest, where Yang plant, the provincial flower, is also presented. The construction began in 2007 after ZPO was handed the property from the Royal Forest Department on the 21st August, 1997. The vision was to create the most complete zoo in the region especially taking into consideration the unique biodiversity and environment. Therefore, the landscape architecture was designed to blend in with the natural environment. The basic infrastructure of the zoo was laid out to harmonize with the pioneer forest as much as possible. The move to maintain the natural environment was done with the aim to conserve the forest for botanical studies, proliferation of flora and fauna as well as to become the center of education in the form of a natural classroom. The zoo also aims to increase tourism and cultural studies for the province as well as become a place of recreation for both present and future visitors. Once construction was completed, animals were brought into the zoo to adapt to the area, such as deers and predators to start. By September 2011, 35 animals, muntjacs, eld’s deer,and hog deer to name a few, from Khao Kheow Open Zoo and Nakhon Ratchasima Zoo were transferred to Ubon Ratchathani Zoo. The zoo was first opened to the public on the 25th December 2011. Visitors were able to observe the animals in their natural habitat, which at the time consisted of four groups: Thai hoofed animals, foreign hoofed animals, African animals, and predators. However, the plan is to have 8 exhibition areas which are , the Siberian tigers, Indochinese tigers, white tigers, lions, white lions, Thai hoofed animals, Foreign hoofed animals, and African animals, all designed to resemble a jungle park as well as maintaining visitor safety. These exhibitions are planned to be completed in mid 2013.

Dong Fa Huan was declared a natural conservation area, but before that it had long been a natural resource that nurtured villagers living around. The trace of human-forest interaction can be seen from resin tapping activity. แม้วา่ ดงฟ้าห่วนจะถูกประกาศป่าอนุรกั ษ์ แต่ความเป็นมาที่ยาวนานกว่านั้น คือ ป่ายางแห่งนี้ได้หล่อเลี้ยงผู้คนโดยรอบ พื้น และร่องรอยที่เห็นได้ชัดของการร่วม อาศัยอยู่กับป่า คือชาวบ้านที่ออกมาหา เก็บยางเพื่อเอาไปใช้ประโยชน์และขาย

One important fact is that Ubon Ratchathani Zoo is involved with the Plant Genetic Conservation Project under the Royal Initiative of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn. Today, the zoo has a nature education trail and surveys of flora and fauna species in this protected area has been conducted. Furthermore, the zoo is also the place for conservation of the yang plant and houses more than 1,000 specimens of which local communities have benefited for generations. All in all, the Ubon Ratchathani Zoo aims to be a key center for education on both fauna and flora and plans to host more than 30,000 students in 2013. As the largest zoo in the lower Isan region, the zoo has the capacity to not only host local visitors but also visitors from neighboring countries, especially those who are members from the 10 countries under the ASEAN Economic Community (AEC).

105


สวนสัตว์อุบลราชธานี

106

วนสัตว์ขนาดใหญ่ได้มาตรฐานแห่งแรกและแห่งเดียว ในภูมภิ าคอีสานตอนล่าง ขององค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ คือ “สวนสัตว์อุบลราชธานี” ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติดงฟ้าห่วน ห่างจากตัวจังหวัด 5 กิโลเมตร ในท้องที่บ้านหนองมะเขือ ตำบลขามใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 1,217 ไร่ มีสภาพเป็นป่าโปร่ง มีต้นยางนา ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดอุบลฯ ขึ้นอยู่ ดาษดื่นทั่วไป โดยภายหลังจากองค์การสวนสัตว์ฯ ได้รับมอบพื้นที่แห่งนี้จากกรมป่าไม้ ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2540 ก็ได้เริม่ ดำเนินการก่อสร้างสวนสัตว์แห่งใหม่ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา โดยมีแนวคิด จะทำให้เป็น สวนสัตว์ที่สมบูรณ์ที่สุดในภูมภิ าคนี้ และด้วยศักยภาพของพืน้ ที่ ทีม่ คี วามหลากหลายทางธรรมชาติ มีเอกลักษณ์ เฉพาะถิ่น การออกแบบด้านภูมิสถาปัตย์จึงเน้นการออกแบบให้ผสมกลมกลืนไปกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำการจัดสร้างสิ่งสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของสวนสัตว์ต่างๆ โดยรอบ ให้สอดคล้องกับสภาพเดิม ของผืนป่า อันสมบูรณ์ได้มากที่สุด ทั้งนี้ เพื่ออนุรักษ์พื้นที่ป่าให้คงไว้ เพื่อการศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ การขยายพันธุพ์ ชื และสัตว์ปา่ เป็นศูนย์วจิ ยั และแหล่งให้ความรูใ้ นลักษณะห้องเรียนธรรมชาติ รวมทัง้ เป็นการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวของจังหวัด ตลอดจนการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น และเป็นสถานที่สำหรับการพักผ่อนหย่อนใจของ ประชาชนทั่วไป เพื่อรองรับการท่องเที่ยว ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต ครั้นการก่อสร้างต่างๆ เริ่มแล้วเสร็จ ก็ได้มี การนำสัตว์บางชนิดเข้ามา เพื่อให้เคยชินกับสภาพพื้นที่ เช่น สัตว์ตระกูลกวาง และสัตว์นักล่า เป็นต้น กระทั่ง ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2555 ได้มีการนำสัตว์จากสวนสัตว์เปิดเขาเขียว สวนสัตว์นครราชสีมา มาปล่อยเข้าสู่ สวนสัตว์อุบลฯ เพิ่มอีกจำนวน 35 ตัว ประกอบด้วย กวางป่า เก้ง ละมั่ง และเนื้อทราย เป็นต้น จนสามารถ ทดลองให้บริการให้นกั ท่องเทีย่ วเข้าเทีย่ วชมเป็นครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ซึง่ นักท่องเทีย่ วได้ชม การใช้ชวี ติ ของสัตว์ในธรรมชาติอย่างแท้จริง โดยจำแนกสัตว์เป็น 4 ประเภท ได้แก่ สัตว์กบี ไทย สัตว์กบี ต่างประเทศ สัตว์แอฟริกา และสัตว์นักล่า ซึ่งขณะนี้ สวนสัตว์อุบลฯ ได้จัดสร้างส่วนแสดงสัตว์แล้วเสร็จจำนวน 8 ส่วนแสดง คือ ส่วนแสดงเสือโคร่งไซบีเรีย เสือโคร่งอินโดจีน เสือโคร่งขาว สิงโต สิงโตขาว สัตว์กีบไทย สัตว์กีบต่างประเทศ และสัตว์แอฟริกา โดยมีการปรับปรุงพืน้ ทีภ่ ายในเป็นรูปแบบอนุรกั ษ์ธรรมชาติ เพือ่ ให้เป็นสวนสัตว์แนวจังเกิล้ ปาร์ค (Jungle Park) และคำนึงถึงความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวเป็นสำคัญ คาดว่าจะสามารถเปิดอย่างเป็นทางการ ได้ในราวกลางปี พ.ศ. 2556 ซึ่งจะมีสัตว์ให้ชมอย่างครบครัน Getting ready for the opening, the members are moving to the new house. ในเตรียมการเพื่อเปิดให้บริการ สัตว์ หลายชนิดถูกขนมาสู่บ้านหลังใหม่

สิ่งสำคัญประการหนึ่งคือ ทางสวนสัตว์อุบลราชธานี ได้เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึง่ ปัจจุบนั มีการกำหนดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ภายในสวนสัตว์ และทำการสำรวจพื้นที่ พืชพรรณ และสัตว์ป่าในพื้นที่ปกปัก และที่นี่ยังเป็นแหล่งอนุรักษ์ต้น ยางนาขนาดใหญ่ มีความสมบูรณ์ มากกว่า 1,000 ต้น ซึ่งชาวบ้านในท้องถิ่นร่วมกันดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ จากผืนป่าอย่างเกือ้ กูลต่อกันมาช้านาน ทัง้ นี้ สวนสัตว์อบุ ลฯ มีจดุ มุง่ หมาย เพือ่ ให้สวนสัตว์แห่งนีเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้

107


108

ที่สำคัญ ทั้งในเรื่องสัตว์ป่า และพันธุ์พืช มีโครงการนำนักเรียนเข้าเรียนรู้ ในสวนสัตว์ ซึ่งรองรับนักเรียนได้มากกว่า 30,000 คน ในปี พ.ศ. 2556 โดยนับเป็นสวนสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอีสานตอนล่าง ทั้งมี ศักยภาพรองรับนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน โดย เฉพาะประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ทัง้ 10 ประเทศ

A concept of Jungle Park is incorporated into the park area of dense Dipterocarp trees. Villagers can make careful use of the forest that will not destroy or bring change to the forest area. พื้นที่ป่าที่แน่นทึบด้วยไม้ยางขนาดใหญ่ ถูกวางแนวคิดการจัดการในรูปแบบ Jungle Park คือการนำสวนสัตว์เข้ามาผสมผสานกับความสมบูรณ์ของป่าภายในพืน้ ที่ โดยการ อนุรักษ์ในขณะที่ยังสามารถหาประโยชน์จากผืนป่าได้ และในท้ายที่สุดต้องทำ อย่างระมัดระวังรอบคอบ ไม่ให้มีการทำลายและเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่

109


110

111

A new exhibition zone providing a natural environment for the newcomers to Ubonratchathani Zoo ส่วนแสดงสัตว์ที่เตรียมไว้อย่างกลมกลืนเพื่อเป็นบ้านหลังใหม่สำหรับสัตว์ หลายตัวที่กำลังเดินทางมาเป็นสมาชิกใหม่ของสวนสัตว์อุบลราชธานี

Deer were of the very first newcomer animals moving to the zoo. Tourists have a chance to meet animals in close-up in the area of the conserved forest. กวาง เป็นสัตว์กลุ่มแรกๆ ที่ถูกขนย้ายเพื่อมาจัดแสดงให้นักท่องเที่ยวได้ชมและสัมผัส ในขณะที่สภาพ พื้นที่เดิมก็เอื้ออย่างกลมกลืนอยู่ในส่วนแสดง


112

113

The Surin Elephant Kingdom Project โครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร์

In the cold season after harvest time, domestic elephants are raised in the field – reflecting a close bond between human and elephants in the rice cultivation society ในฤดูหนาวหลังช่วงเก็บเกี่ยวข้าว ช้างเลี้ยงจะถูกนำไปปล่อยให้หากินในท้องทุ่ง เป็นภาพวิถีคนเลี้ยงช้างกับความผูกพันธ์ในอาชีพปลูกข้าวที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัว


The Surin Elephant Kingdom Project

114

E

lephants have been regarded as the national emblem of Thailand since ancient times. When it comes to a close bond between elephants and human beings, the first to mention must be southern part of the Northeast, specifically Ban Tha-klang and nearby villages, Kra Pho sub-district, Tha Toom district, Surin province, where Elephant studies originated and habitation of human beings and elephant is supportively and delightedly harmonized. This has resulted in a number of elephant related cultures, traditions, lifestyles, and beliefs. There is a story legendarily told that local people known as Gui or Guai are descended from the great historical warrior combating on elephants’ backs and the knowledge of elephant studies has been passed on from generation to generation. However, at the end of the last battle on elephants’ backs in 1826, Mahouts (Elephant driver or keeper) who were in charge of war elephants at the forefront of Somdet Phra Bawornrajchao Maha Sakdi Balaseb’s army brought discharged war elephants to settle down in the areas presently known as Ban Ta-Klang and nearby villages due to their richness of natural and water resources which are suitable to be elephants’ habitat. Then, wild elephants were caught and trained to do chores. They have also become family’s pets that were sold when needed. This had continued until 1961 when the law against capturing wild elephants was enacted. However, locals have blissfully continued keeping elephants as their pets. When they finish farming, they would take their elephants to go on trip to Lao (rural areas of the Northeast). Once the wet season, which is the timing for rice farming, arrives they would come back to the village. Elephants are also popularly included in a procession of ordination. A series of these activities had continued every year until 1977 when elephant nurturing areas were invaded by locals and investor. This has resulted in a devastation of elephants’ natural habitat and a shortage of elephants’ food. Consequently, locals started earning a living by taking their elephants to stray and sell food on the streets in the cities. Therefore, stray elephant and other related problems have continued to persist.

Feeding elephants is a hard burden since the lands have not been used for elephant vegetations anymore, but cash crops. การหาอาหารเลี้ยงช้างเป็นภาระหนัก ในขณะที่ปัจจุบันพื้นที่ปลู​ูกพืชอาหาร ต้องแปรสภาพเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ

In response to the issue, the Surin Elephant Kingdom Project, an agency of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of His Majesty the King, was initiated in order to tackle and solve these problems. The project was evolved from Surin province’s project called “Bring Elephants Home to Surin Motherland” which was founded in 2006. By making an announcement about admission of elephants, the project encourages a return of elephants roaming outside Surin, a gathering of elephants at the Elephant Study Center, and a cultural tourism. To support this, the Zoological Park Organization asked for permission to utilize 3,000 square meters of Suan pa Dong Phu Din, national conserved forest areas in Tha Toom district Surin province, as a destination for ecotourism and cultural tourism which focuses on simple way of living in a sustainable elephants’ village as well as an encouragement of plentiful natural habitats and elephants’ food security in an attempt to achieve an objective of sustainable selfreliance under the concept of “Into the world of Gui and elephant” portraying impressive lifestyle of Gui, the elephant keeper, and their elephants through the method called “Learning at your leisure” which gives us knowledge in combination with hands-on experience in mahout village. This way of learning can be divided into 3 styles. The first one is known as “Widen perspective, Learn about Thai elephants” providing us with all aspects of information about elephant from the past to the present, which are given in various forms including indoor and outdoor museum exhibition, multimedia, elephant study center, Gui cultural heritage village, elephant show areas, and elephant training field. The second style is “Sustainable living of Mahout village” which portrays hands-on experience under the project “Mahout village” following King Bhumibol’s Philosophy of Sufficiency Economy. The last style is an additional support to the project and it includes tourist accommodation, elephant hospital, elephants’ excrement recycled products factory, etc. If the tourists or travelers make this place, the biggest mahout village in the world, a destination of their choice, they will be provided with both knowledgeable and enjoyable experience.

115


116

117

Elephant keeper bathing his elephant represents the close bond between them. ควาญกับช้างเล่นน้ำเป็นสิ่งหนึ่งที่บ่งบอก ความผูกพันอันเหนียวแน่นระหว่าง คนกับช้าง


โครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร์

118

Surin Elephant Kingdom Project aims to bring elephants home and prevent them from becoming street-begging elephants. Apart from providing a sanctuary for elephants, the project helps preserve the local lifestyle, culture, traditions through a tourist education centre. ช้างคืนถิน่ คือ ความหวังสำคัญของโครงการ คชอาณาจักร โดยการดำเนินการจัดทำ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวรูปแบบอนุรักษ์ ธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่น เน้น ความเป็นอยู่บนพื้นฐานหมู่บ้านช้าง เศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มความสมบรูณ์ ของพื้นที่ ความมั่งคั่งของอาหารช้าง เพื่อการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน

ช้าง คือสัตว์คู่บ้านคู่เมืองของไทยมาแต่โบราณ และหากจะกล่าวถึงความผูกพันอันลึกซึ้ง ระหว่างคนกับช้างแล้ว คงต้องยกให้กับแดนดินถิ่นอีสานใต้ ที่บ้านตากลาง และหมู่บ้านใกล้เคียง ในตำบลกระโพ อำเภอท่าตูม จังหวัด สุรนิ ทร์ ซึง่ ถือเป็นแหล่งกำเนิดตำนานคชศาสตร์ ทีค่ นกับช้างใช้ชวี ติ อยูร่ ว่ มกันอย่างเกือ้ กูลและมีความสุข กระทัง่ ก่อให้เกิดวัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ และความเชือ่ ทีเ่ กีย่ วพันกับช้างอยูม่ ากมาย โดยเล่าสืบต่อกันมาว่า ชาวกูย หรือชาวกวย ในท้องถิ่นนี้สืบสกุลมาจากนักรบบนหลังช้างที่ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ และได้รับการสืบทอดวิชา คชศาสตร์มาหลายชัว่ อายุคน ทว่าหลังสงครามในปี พ.ศ. 2369 ซึง่ เป็นการต่อสูบ้ นหลังช้างครัง้ สุดท้ายได้สน้ิ สุดลง บรรดาควาญช้าง ซึง่ ทำหน้าทีพ่ ลช้างทัพหน้าในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ต่างนำช้างทีป่ ลดระวาง มาตัง้ ถิน่ ฐานอยูบ่ ริเวณบ้านตากลาง และหมูบ่ า้ นใกล้เคียง เนือ่ งจากเป็นพืน้ ทีซ่ ง่ึ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยอาหารช้าง แหล่งน้ำ รวมทัง้ ของป่าหายาก และมีการจับช้างป่านำมาฝึกใช้งาน ตลอดจนเป็นสัตว์เลีย้ งในครอบครัว และขายไป เมือ่ มีความจำเป็น กระทัง่ หลังปี พ.ศ. 2504 เป็นต้นมา ได้มกี ารออกกฎหมายห้ามจับช้างป่า แต่ชาวบ้านก็ยงั คง เลี้ยงช้างเรื่อยมาอย่างมีความสุข เมื่อเสร็จสิ้นจากการทำไร่ทำนาก็จะนำช้างไปเที่ยวลาว (ชนบทในภาคอีสาน) ครั้นถึงเดือนห้าย่างเข้าเดือนหก เข้าสู่ฤดูทำนาก็จะกลับมาหมู่บ้าน และนิยมบวชลูกหลานโดยใช้ช้างในขบวน แห่นาค เป็นประจำแบบนี้ทุกปี จนถึงปี พ.ศ. 2520 พื้นที่เลี้ยงช้างได้ถูกบุกรุกจากชาวบ้าน และนายทุนทำให้ ป่าเลี้ยงช้างลดลง อาหารช้างเริ่มขาดแคลน ชาวบ้านจึงเริ่มนำช้างเข้ามาเร่ขายอาหารช้างในเมืองใหญ่ เพื่อ การดำรงชีพ ปัญหาช้างเร่ร่อนจึงเกิดขึ้น พร้อมกับปัญหาอื่นๆ อีกมากมายที่มีความเกี่ยวข้องกัน ด้วยเหตุนี้ โครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร์ หน่วยงานในสังกัดองค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงถือกำเนิดขึน้ เพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยพัฒนาต่อยอดมาจากโครงการ “นำช้างคืนถิน่ เพือ่ สุรนิ ทร์บา้ นเกิด” ของจังหวัดสุรินทร์ ที่มีขึ้นในปี พ.ศ. 2549 โดยการรับสมัครช้างที่เร่ร่อนออกไปนอกพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ให้กลับ มารวมกันที่ศูนย์คชศึกษา และจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมขึ้น ซึ่งในการนี้ ทางองค์การสวนสัตว์ฯ ได้ขอใช้ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ สวนป่าดงภูดิน อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ประมาณ 3,000 ไร่ เป็นพื้นที่ดำเนินการ จัดทำเป็นสถานที่ท่องเที่ยว รูปแบบอนุรักษ์ธรรมชาติ และวัฒนธรรมท้องถิ่น เน้นความเป็นอยู่อันเรียบง่าย บนพื้นฐานหมู่บ้านช้างเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มความสมบูรณ์ของพื้นที่และความมั่นคงของอาหารช้าง เพื่อการ พึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ภายใต้แนวคิด “สู่โลกของกูยและช้าง” นำเสนอวิถีชีวิตที่น่าประทับใจของชาวกูยเลี้ยง ช้าง และช้างของพวกเขาผ่านทางวิธีการ “เรียนรู้ตามอัธยาศัย” นำเสนอเนื้อหาความรู้ ไปพร้อมกับการสัมผัส ประสบการณ์จริงภายในหมู่บ้านคนเลี้ยงช้าง ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 รูปแบบ ด้วยกัน แบบแรก คือ “เปิดมุมมอง ส่อง ช้างไทย” นำเสนอเนื้อหาข้อมูลที่น่าสนใจในทุกๆ เรื่องของช้าง ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ผ่านรูปแบบการจัด นิทรรศการในพิพิธภัณฑ์ ทั้งภายใน และภายนอกอาคาร การนำเสนอแบบ Multimedias จัดให้มีศูนย์ข้อมูล เรื่องช้าง หมู่บ้านวัฒนธรรมชาวกูย พื้นที่จัดแสดงความสามารถของช้าง และลานฝึกช้าง ส่วนอีกแบบ คือ

119


120

“วิถีแห่งความพอเพียง แห่งหมู่บ้านคนเลี้ยงช้าง” นำเสนอเรื่องราวผ่าน ประสบการณ์จริง ภายใต้โครงการ “หมู่บ้านคนเลี้ยงช้าง” ที่ดำเนินวิถี ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั และแบบสุดท้ายนัน้ ถือเป็นส่วนสนับสนุนโครงการ ประกอบไปด้วย ที่พักนักท่องเที่ยว โรงพยาบาลช้าง โรงงานแปรรูป และผลิตภัณฑ์จาก มูลช้าง เป็นต้น ดังนั้นการเดินทางมาท่องเที่ยวยังสถานที่แห่งนี้ ซึ่งถือว่า เป็นหมู่บ้านคนเลี้ยงช้างที่ใหญ่ที่สุดในโลก จะให้ทั้งความรู้ และความ สนุกสนานแก่นักท่องเที่ยว ไปพร้อมๆ กัน

A senior elephant trainer, now a leader in elephant-related ceremonies and a great master of elephantology บรรดาหมอคล้องช้างในยุคเก่า เป็นหมอช้างอาวุโสที่สุดคนหนึ่ง ปัจจุบันคือศูนย์รวม แห่งศรัทธาของกลุ่มผู้เลี้ยงช้างเป็นผู้นำการสวดและจัดพิธีกรรม เป็นครูผู้สืบทอด วิชาคชศาสตร์แก่คนรุ่นใหม่ต่อไป

121


122

123

The making of sacred trapping Pakam rope for catching elephants การทำเชือกปะกำ

Kuay’s ritual dance to make predictions รำเสี่ยงทายตามความเชื่อของชาวกูย


124

125

A reservoir on Khao Suan Kwang Mountain แหล่งกักเก็บน้ำบนเขาสวนกวาง

Moving towards a World Standard สู่ความเป็นมาตรฐานสวนสัตว์ระดับโลก


126

127

Zoos - Lifelong Recreational Source สวนสัตว์ แหล่งนันทนาการตลอดชีวิต

Tiger (Panthera tigris) in the tiger exhibit. A tiger family in Khao Din or Dusit Zoo ส่วนแสดงเสือโคร่งขาว ครอบครัวเสือที่อยู่ร่วมกันในเขาดิน


128

Zoo Development and Services

Z

oos today are different from before. Moreover one zoo might differ from another based on the number of animals and the services that combine sciences and arts to offer. People then can benefit from these developments.

The zoos under the management of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King (ZPO) are the places to promote quality of life, and they are regarded as the models of lifelong learning sources. The zoos always need to develop in order to be able to compete at international levels, and a great zoo is a great source of joy for visitors and income to support the country. The integrated development of the zoos based on zoo users’ needs includes landscaping, the variety of animal species, the clever presentation of wildlife and nature. Most importantly, the development has to be undertaken under the well-being of the animals. However, it might take a life time and great amount of money to reach those goals. Nowadays, there are more than 1,000 new zoos in Asia, Europe, America and Australia. On average, a visitor visit zoos more than once a year. We could say that the zoo is becoming more important to humans, and a zoo now is moving towards being the “Modern Zoo”, where animals can live in the areas resembling their natural habitats. Moreover, the modern zoo has to be the center of research and rare species reproduction and reintroduction. The services administration of the zoos under the management of ZPO is moving towards another phase of modern zoo development, by following 4 principles: wildlife conservation, education transfer, research, and recreation center.

งานบริการและพัฒนาสวนสัตว์

วนสัตว์ต่างๆ เป็นสถานที่ที่มีความผูกพันกับคนไทยมาช้านาน หากแต่สวนสัตว์แต่ละแห่งอาจจะ แตกต่างกันไปบ้าง ตามแต่จำนวนของสวนสัตว์ที่มีเพิ่มขึ้นในภูมิภาคของประเทศ และการนำเสนอ งานบริการ ที่มีการผสมผสานความรู้ หลักวิชาการและศาสตร์ต่างๆ จนทำให้สวนสัตว์นั้นๆ มีขีด ความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสังคมมากกว่าแต่ก่อน สำหรับสวนสัตว์ ในสังกัดองค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นสถานทีแ่ ห่งหนึง่ ในการเสริมสร้างคุณภาพ ชีวติ และจิตใจของประชาชน ในด้านการนันทนาการ และการเป็นแหล่งเรียนรูต้ น้ แบบตลอดชีวติ ซึง่ ในความเป็น มืออาชีพนั้น จะต้องมีการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันกับนานาประเทศตลอดมา เพราะจะเป็นส่วนหนึ่งที่ นำมาซึง่ รายได้จากนักท่องเทีย่ วในการพัฒนาประเทศ และเป็นทีช่ น่ื ชมของคนทัว่ ไป ซึง่ การพัฒนาสวนสัตว์อย่าง บูรณาการโดยยึดผูใ้ ช้บริการเป็นสำคัญ การปรับแต่งภูมทิ ศั น์ของสวนสัตว์ให้สวยงาม ร่มรืน่ มีสตั ว์หลากหลายชนิด รวมทั้งสามารถสื่อความหมายของธรรมชาติและชีวิตสัตว์ป่าต่อผู้มาเยี่ยมชม โดยมีพื้นฐานสำคัญ จากความเป็น อยู่ที่สุขสบายของสัตว์เอง ทั้งหมดนี้ ต้องใช้ระยะเวลาและงบประมาณมหาศาล บางครั้งอาจถึงชั่วอายุคนเรา ก็ว่าได้ ซึ่งปัจจุบัน ทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับสวนสัตว์ และมีการสร้างสวนสัตว์ใหม่ๆ ขึ้นมามากกว่า 1,000 แห่ง ในเอเชีย ยุโรป อเมริกา และออสเตรีย โดยในปีหนึ่งๆ มีคนมาเที่ยวสวนสัตว์มากกว่า 1 ครั้ง จนกล่าวได้ว่า สวนสัตว์กำลังจะเป็นปัจจัยสำคัญในชีวิตของคนเราไปแล้ว โดยสวนสัตว์ในยุคปัจจุบันได้เปลี่ยนรูปแบบไป เรียกว่า Modern Zoo ที่ไม่ได้เป็นเพียงที่เก็บ หรือกักขังสัตว์ป่า หากแต่ภายในอาณาบริเวณของสวนสัตว์ ยังมี การศึกษาวิจัย การขยายพันธุ์สัตว์ป่าที่หายาก และใกล้สูญพันธุ์ เพื่อให้คงไว้ และสามารถนำคืนกลับสู่ถิ่นอาศัย ดั้งเดิมได้ ดังนั้น การดำเนินงานให้บริการสังคมของสวนสัตว์ในความดูแลขององค์การสวนสัตว์ฯ จึงกำลังผ่าน เข้าสูร่ อยต่อวิวฒ ั นาการของสวนสัตว์สมัยใหม่อกี ช่วงหนึง่ โดยยังคงมุง่ มัน่ ดำเนินการตามนโยบายหลัก 4 ประการ คือ การอนุรักษ์สัตว์ป่า การให้การศึกษา การค้นคว้าวิจัย และการเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ซึ่งปัจจุบัน งานทุกด้านเป็นกลไกสำคัญสนับสนุนซึ่งกันและกัน กล่าวได้ว่า มีการพัฒนาเป็นรูปธรรม และชัดเจนมากยิ่งขึ้น สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางสังคม และทำให้สวนสัตว์มีคุณค่า จนเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ วิสยั ทัศน์ของสวนสัตว์ จึงเป็นการบูรณาการภารกิจ 4 ประการของสวนสัตว์ให้เป็นหนึง่ เดียว คือ การจัดสวนสัตว์ ให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ โดยอาศัยพื้นฐานของความรู้ ความเข้าใจในการอนุรักษ์สัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ประชาชนเป็นสำคัญ

129


130

131

Zoo-goers can observe nocturnal wildlife in After Dark activity. After Dark กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสชีวิตสัตว์กลางคืน

The bridge built for visitors to enjoy experiencing the wildlife and spectacular views of Khao Suan Kwang area สะพานขนาดใหญ่ที่ถูกออกแบบให้นักท่องเที่ยวสามารถเดินชมสัตว์ และทิวทัศน์ที่สวยงามของพื้นที่เขาสวนกวางไปพร้อมๆ กัน


132

133

Snow Dome, Chiangmai Zoo โดมหิมะภายในสวนสัตว์เชียงใหม่

Elephant Fountain Square ลานน้ำพุช้าง สวนสัตว์ดุสิต

The administration of the zoos under the supervision of ZPO is divided into 3 parts including exhibition, research, and services. “Exhibition” refers to the areas with a variety of wildlife species in spacious cage or captive areas that are well designed and suitable for their behavior. In these areas, visitors can closely observe animals while they still can maintain their safety. “Research” refers to the actual animal habitats used for conducting research on conservation and the breeding of endangered wildlife species. This is a restricted area, outsiders are not allowed. “Services” refers to the areas for relaxation and fascinating animal presentations. In addition, visitors can enjoy the night activity or “night safari”an activity for those who are interested in learning about animal behavior at night. With the same administration standards, the zoos under the supervision of the Zoological Organization under the Royal Patronage of H.M. the King are regarded as a rare animal bank, research institute, as well as a natural laboratory, and definitely worth a visit.


134

135

A family portrait with hornbills ครอบครัวนักท่องเที่ยวถ่ายภาพกับนกเงือก

Tourists excited by spacious and spectacular Chiangmai Zoo Aquarium นักท่องเที่ยวตื่นเต้นกับอาคารแสดงสัตว์น้ำ ในสวนสัตว์เชียงใหม่


136

137

Rhinoceros Hornbill (Buceros rhinoceros) / นกเงือกหัวแรด Living in a jungle, hornbills are omnivorous big birds, eating fruits and small animals. Therefore, ecological and behavioral factors are considered to create the proper environment in the exhibit area. เนื่องจากนกเงือกเป็นนกขนาดใหญ่ถึงใหญ่มาก กินผลไม้และสัตว์เป็นอาหาร ในธรรมชาติการหาอาหารของนกเงือกจะต้องอาศัยพื้นที่ป่าที่กว้าง การจัดสภาพ แวดล้อมจึงต้องคำนึงถึงทั้งด้านนิเวศวิทยาและพฤติกรรมของสัตว์เป็นสำคัญ

Siamese crocodiles (Crocodylus siamensis) in their near-natural habitat in the zoo ความกลมกลืนของบ่อน้ำและการอยู่ อาศัยของจระเข้น้ำจืด

ปัจจุบัน สวนสัตว์ต่างๆ ในสังกัดองค์การสวนสัตว์ฯ จะแบ่งลักษณะการดำเนินงานออกเป็น 3 ส่วนหลัก คือ ส่วนแสดง ส่วนศึกษาวิจัย และส่วนบริการ โดย “ส่วนแสดง” เป็นพืน้ ทีท่ ใ่ี ช้เลีย้ งสัตว์ปา่ นานาชนิด ลักษณะคอกสัตว์ตา่ งๆ จะถูกออกแบบมาอย่างประณีต กว้างขวาง ไม่แออัด และคำนึงถึงความ เหมาะสมกับพฤติกรรม และการดำรงชีวติ ของสัตว์แต่ละประเภท โดยพยายามจัดภูมทิ ศั น์ ให้มสี ภาพใกล้เคียงกับธรรมชาติทส่ี ตั ว์นน้ั ๆ อาศัยอยูม่ ากทีส่ ดุ และเป็นส่วนที่เปิดให้นักท่องเที่ยวสามารถเข้าเดินชมสัตว์ต่างๆ ได้อย่างใกล้ชิด ในขณะที่ “ส่วนศึกษาวิจัย” คือที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าตามธรรมชาติ และดำเนินงานด้านการวิจัย ซึ่งเป็นพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและขยายพันธุ์สัตว์ป่าหายาก และสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ต่างๆ โดยพื้นที่ส่วนนี้จะไม่อนุญาตให้ บุคคลทั่วไปเข้าชม สำหรับส่วนสุดท้าย คือ “ส่วนบริการ” เป็นพืน้ ทีส่ ำหรับการพักผ่อน และการแสดงความสามารถของสัตว์ (Animal Presentations) ซึง่ เป็นความบันเทิงเต็มรูปแบบทีส่ ามารถสัมผัสได้อย่างเต็มความรูส้ กึ ผูเ้ ข้าชมจะประทับใจไปกับความชาญฉลาดแสนรูข้ องสัตว์ตา่ งๆ ทีส่ ามารถสือ่ สาร กับมนุษย์ได้อย่างน่าอัศจรรย์ นอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมชมสัตว์ตอนกลางคืน หรือ “ไนท์ซาฟารี” ซึง่ เป็นกิจกรรมหนึง่ ทีท่ างสวนสัตว์สร้างทางเลือกใหม่ๆ ให้กบั ผูส้ นใจศึกษาพฤติกรรม สัตว์ป่าในเวลากลางคืน ผู้เข้าชมจะรู้สึกตื่นตา ตื่นใจ ไปกับสัตว์ป่านานาชนิด ที่ออกหากินตามธรรมชาติ อีกทั้งนักล่ายามราตรีอย่างเสือชนิดต่างๆ ตลอดจนพฤติกรรมของสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน เช่น ละอง ละมั่งฝูงใหญ่ วัวแดง กระทิง หมีขอ นกแสก รวมถึงสัตว์ป่าอื่นๆ อีกมากมาย และด้วย มาตรฐานการบริหารจัดการรูปแบบเดียวกัน สวนสัตว์ต่างๆ ในสังกัดองค์การสวนสัตว์ฯ จึงเป็นทั้ง ธนาคารสัตว์ป่าหายาก เป็นสถาบันการศึกษาวิจัย อีกทั้งเป็นส่วนจำลอง และเป็นห้องปฏิบัติการทางธรรมชาติ ซึ่งควรค่าแก่การมาศึกษา เที่ยวชม และพักผ่อน อย่างยิ่ง


138

139

The seal show where visitors enjoy watching their natural abilities การแสดงของแมวน้ำ เป็นกิจกรรม เพื่อความเพลิดเพลินในความน่ารัก และความสามารถของสัตว์


140

141

Asian small-clawed otter (Aonyx cinerea) / นากเล็กเล็บสั้น Live feeding of otters to stimulate their natural hunting behavior การให้อาหารโดยเลียนแบบธรรมชาติ แก่นากเพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมการหากิน ตามธรรมชาติ


142

143

Their Lives are in Our Hands สัตว์ทุกชีวิต อยู่ในความดูแลของเรา

Captive bred tiger cubs ลูกเสือโคร่งที่เกิดจากการเลี้ยงและจับคู่ เป็นการเพาะขยายพันธุ์สัตว์ ใกล้สูญพันธุ์ควบคู่กันไป


144

Animal Health Care

งานบำรุงและรักษาพยาบาลสัตว์

he joy from visiting a zoo not only comes from seeing rare wildlife species, nice cages, or a variety of activities the zoo offers, but also from learning that the animals are healthy and well-cared for. No one wants to see skinny and depressed animals. Therefore, taking good care of the animals is one of the most important missions the zoos need to carry out in order for animals to be able to maintain their good health condition. As a result, the animals are able to behave naturally and have complete reproductive process.

เป็นความจริงที่ว่า ความประทับใจอย่างหนึ่งของผู้เดินทางมาเที่ยวชมสวนสัตว์ คงไม่ใช่เพียง การได้พบเห็น สัตว์ปา่ หายาก มีคอกสัตว์ทส่ี วยงาม หรือมีกจิ กรรมหลากหลายทีน่ า่ ดูนา่ ชมเท่านัน้ หากแต่ความสมบูรณ์แข็งแรง ความร่าเริงของสัตว์ต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในสวนสัตว์ ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะทำให้ผู้มาเที่ยวชมรู้สึกประทับใจ เพราะ คงไม่มีใครอยากเห็นสัตว์ผอมโซเซื่องซึมอยู่ในกรงเป็นแน่ ดังนั้น การดูแลเอาใจใส่สัตว์เป็นอย่างดี จึงเป็น ภารกิจทีม่ คี วามสำคัญยิง่ ของสวนสัตว์ตา่ งๆ ซึง่ การบำรุงรักษาสัตว์ให้มสี ขุ ภาพพลานามัยทีด่ ยี งั ส่งผลถึงพฤติกรรม ที่สัตว์จะแสดงออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ หรือมีวงจรชีวิตที่ครบสมบูรณ์ออกลูกออกหลานแพร่พันธุ์ต่อไป

T

The zoos under the management of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King (ZPO) have taken this as seriously as other missions. The zoos’ Animal Health Care unit is responsible for looking after the animals’ health including disease prevent and control, giving medical advice, and proving emergency help to animals in nearby areas. Each zoo provides its hospital with standard inspection and treatment system, modern tools, veterinarians, and well-trained wildlife medical staff. In addition, relevant research have been conducted to improve animal care and sanitation management which consists of attentive care of the animals, cages and feeding system.

านด้านการบำรุง และรักษาพยาบาลสัตว์ จึงเป็นสิง่ ทีส่ วนสัตว์ตา่ งๆ ในความดูแลขององค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ให้ความสำคัญ ไม่แพ้การปฏิบัติงานในด้านอื่นๆ โดยงานสุขภาพสัตว์มี หน้าที่ดูแลสุขภาพอนามัยของสัตว์ทั้งหมดภายในสวนสัตว์ รวมถึงการกักโรคสัตว์ที่เข้าออกด้วย อีกทั้งการให้คำปรึกษา ตลอดจนการออกให้บริการ ในกรณีฉุกเฉิน เกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ในพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งแต่ละสวนสัตว์จะมีโรงพยาบาลสัตว์ มีการวางระบบการชันสูตรและรักษาโรคอย่างมีมาตรฐาน ด้วยอุปกรณ์ที่ ทันสมัย มีสัตวแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษา รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ทำงานด้านนี้ ซึ่งล้วนได้รับการฝึกอบรม เพื่องานด้านสัตว์ป่าโดยเฉพาะ ทั้งมีการจัดหาครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพิ่มเติม เพื่อการวินิจฉัยโรคที่ ถูกต้องมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ งานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคสัตว์โดยสัตวแพทย์ของสวนสัตว์ต่างๆ เอง ก็ยังส่งเสริมองค์ความรู้ ในการดูแลสุขภาพสัตว์อีกด้วย และการจัดการดูแลการสุขาภิบาลสัตว์ของแต่ละสวนสัตว์ได้ให้ความสำคัญและ เข้มงวดใน 3 เรื่องด้วยกัน คือ การดูแลสัตว์ การดูแลโรงเรือน และการให้อาหารและน้ำ

145


146

147

Raising mealworm as high protein sources for animal. การเลี้ยงหนอนเพื่อเสริมโปรตีนให้แก่สัตว์

To take care of the animals, the staff is well trained to be responsible and observe their daily behaviors. The number of the animals has to be checked daily in order to prevent possible losses. The inspection of buildings, cages, and tools is essential and needs to be done regularly. And the areas both inside and outside the cages have to be cleaned daily. It’s crucial to provide the animals with nutritious and safe foods and water. The zoo’s nutritionists are in charge of analyzing and determining the quality and quantity of nutrition that is appropriate for each of the animals. Cleanliness is also the main key for food and water preparation. In addition, the staff has to be highly skillful with feeding methods for each individual animal. The Zoological Park Organization is well aware of the importance of animal welfare and behavior promotion. Suitable and hygienic environment that is similar to their natural habitats has been provided in order that the animals are able to live happily and behave naturally.

Hygiene is a key to animal health and welfare. การสุขาภิบาลเป็นหัวใจสำคัญของสุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์


ในการดูแลสัตว์ พนักงานของสวนสัตว์ต่างๆ จะถูกปลูกฝังให้รับผิดชอบ และรู้จักสังเกตพฤติกรรมของสัตว์ที่เลี้ยง ทั้งเรื่องลักษณะทางกายภาพที่ เห็นได้จากภายนอก การกินอาหาร การขับถ่าย และการตั้งท้องว่ามีความ ผิดปกติหรือไม่ อย่างไร แม้กระทั่งการนับจำนวนสัตว์ที่เลี้ยงอยู่ทุกวันว่า ครบหรือไม่ สิ่งเหล่านี้ ล้วนทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ก่อนที่ ปัญหาจะขยายผลรุนแรงขึ้น จนก่อให้เกิดความสูญเสียในที่สุด

148

สำหรับการดูแลโรงเรือน คอกสัตว์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้เลี้ยงสัตว์ การ สำรวจตรวจสอบสภาพความแข็งแรงของโรงเรือนและคอกสัตว์อยู่เสมอ เป็นสิ่งที่มีความสำคัญมาก เนื่องจากจุดบกพร่องต่างๆ เช่น การผุกร่อน รั่ว ขาด หรือความไม่แข็งแรงของโรงเรือน และคอกสัตว์ อาจก่อให้เกิด อันตรายต่อสัตว์ทเ่ี ลีย้ งได้ ซึง่ การใส่ใจดูแลในเรือ่ งนีเ้ ป็นอย่างดี ยังเป็นการ ป้องกันสัตว์หลุดหายไปจากกรง หรือมีสัตว์อันตรายอื่นๆ เข้าไปคุกคาม สัตว์ที่เลี้ยงได้อีกด้วย นอกจากนี้ การเอาใจใส่ต่อความสะอาดทั้งภายใน และภายนอกโดยรอบก็มสี ว่ นสำคัญต่อสุขภาพของสัตว์เป็นอย่างยิง่ ดังนัน้ การทำความสะอาดคอกสัตว์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้เลี้ยงสัตว์จึงต้องทำ ทุกวัน ไม่ปล่อยให้มูลสัตว์ หรือเศษอาหารที่สัตว์กินเหลือหมักหมมนาน เกินไปจนกลายเป็นการสะสมเชื้อโรค

Stimulating natural feeding behavior of Orangutan (Pongo pygmaeus) การฝึกหาอาหารแบบธรรมชาติของลิงอุรังอุตัง

ส่วนเรื่องอาหารและน้ำ นับเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการเลี้ยงดูสัตว์ อาหาร และน้ำที่ไม่มีคุณภาพ อาจก่อให้เกิดการสูญเสียสัตว์ป่าที่ประเมินมูลค่า ไม่ได้ พนักงานของสวนสัตว์ จึงต้องให้ความสำคัญต่ออาหารที่สัตว์กิน มากทีส่ ดุ โดยเฉพาะในเรือ่ งคุณภาพ พนักงานของสวนสัตว์ฝา่ ยโภชนาการ อาหารสัตว์จึงทำการวิเคราะห์คุณภาพ และปริมาณสารอาหารที่ใช้เลี้ยง สัตว์เสมอ ซึ่งอาจมีการเสริมวิตามิน หรือเกลือแร่บ้าง เพื่อให้สัตว์ได้รับ อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอ และสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ปริมาณการให้ ต้องไม่น้อยเกินไปจนสัตว์อดอยาก แต่ก็ไม่มากเกินไปจน เหลือกินบูดเน่า ส่วนความสะอาดเป็นสิง่ ทีล่ ะเลยไม่ได้ ทัง้ วัสดุแปลกปลอม สารพิษ และเชื้อโรค ที่อาจปนเปื้อนมา นอกจากนี้ วิธีการให้และชนิดของ อาหารที่จะนำไปเลี้ยงสัตว์แต่ละประเภทนั้น ก็ต้องอาศัยทักษะในการ เรียนรู้ชีวิตสัตว์มาอย่างยาวนาน ทั้งต้องแปรผันไปตามสถานการณ์ด้วย เช่น อาหารของสัตว์เวลาป่วย ตั้งท้อง หรือเป็นลูกสัตว์แรกเกิด

149


150

151

Leopard Cat (Prionailurus bengalensis) / แมวดาว Animal welfare is resulted from concerns for their behaviors, habitats, feeding, which help reduce their stress. สวัสดิภาพเกิดได้จากการคำนึงถึงลักษณะ พฤติกรรมสัตว์ การหลบอาศัย อาหาร ทำให้สัตว์ไม่เกิดความเครียด กดดัน

ไม่เพียงแค่การจัดการที่ดี สภาพโรงเรือน คอกสัตว์ และอาหารที่เหมาะสม แต่ทางสวนสัตว์ในสังกัดองค์การ สวนสัตว์ฯ ยังได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตสัตว์อีกด้วย เพื่อให้สัตว์รู้สึกเหมือนอยู่ในธรรมชาติ มากทีส่ ดุ โดยงานสวัสดิการและส่งเสริมพฤติกรรมสัตว์ เป็นงานทีต่ อ้ งประสานงาน และเก็บข้อมูลเพือ่ ประเมินผล การจัดการด้านสัตว์ปา่ อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ สัตว์ทอ่ี ยูอ่ าศัยในกรงเลีย้ งได้อยูใ่ นสถานทีท่ ถ่ี กู สุขลักษณะ เหมาะสมกับชนิดพันธุ์สัตว์ และมีสภาพสิ่งแวดล้อมคล้ายคลึงกับพื้นที่ถิ่นอาศัยดั้งเดิมตามธรรมชาติ อีกทั้งยัง ค้นคว้าข้อมูลเพิม่ เติมในเรือ่ งของการส่งเสริมพฤติกรรม เพือ่ ให้สตั ว์ได้แสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ และได้ออก กำลังกาย ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้สัตว์มีสุขภาพแข็งแรงมากขึ้น สามารถแสดงความหลากหลายทางพฤติกรรม ออกมา ตามสัญชาตญาณ ลดความหวาดกลัว ความเบื่อหน่าย และการทำร้ายตัวเอง ดังนั้น งานสวัสดิการและ ส่งเสริมพฤติกรรมสัตว์ จึงแสดงให้เห็นถึงความเป็นมาตรฐานอย่างหนึ่งของสวนสัตว์ระดับโลก

Rhinoceros Hornbill (Buceros rhinoceros) / นกเงือกหัวแรด Stimulating Hornbill’s feeding behavior, Nakhon Ratchasima Zoo การส่งเสริมพฤติกรรมการหาลูกไม้ของนกเงือก ที่สวนสัตว์โคราช


152

153

Chiangmai Zoo staff supplying eucalyptus for koalas เจ้าหน้าที่สวนสัตว์เชียงใหม่ลำเลียงต้นยูคาลิปตัส สำหรับโคอาล่า

In nutritional analysis of animal feed, nutrient values and contamination are major concerns. การวิเคราะห์อาหารจะคำนึงถึงทั้งด้านสารอาหารและความปลอดภัยจากสารพิษ


154

155

The vet is diagnosing a gibbon in an examination room. There is a veterinary hospital located in all zoological parks in Thailand. การทำงานของสัตวแพทย์ในห้องตรวจ ในโรงพยาบาลสัตว์ ซึ่งมีประจำในทุกสวนสัตว์ Animal research is conducted along with development of veterinary medical technology. การพัฒนาเทคโนโลยีทางการรักษา จะทำควบคู่กับงานวิจัยไปด้วย


156

157

Expand Knowledge – Extend Future ต่อยอดความคิดเพื่อชีวิตในอนาคต

Success in Red-shanked Douc (Pygathrix nemaeus) breeding, Dusit Zoo ความสำเร็จของการเพาะขยายพันธุ์ค่างห้าสี ในสวนสัตว์ดุสิต


158

Wildlife Research and Conservation

งานวิจัยและการอนุรักษ์สัตว์ป่า

ildlife is essential for humans to survive; however, nowadays, the population of wildlife in Thailand has drastically decreased. There are concerns over the extinction of animal species, and it eventually has a great impact on the balance of nature. Government sectors and organizations have been determined to conserve wild animals by conducting research and launching new technologies as tools for promoting rare species breeding and reintroduction.

สัตว์ป่ามีความสำคัญ และเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม แต่ปัจจุบัน ผืนป่าของไทยหลายแห่ง มีปริมาณสัตว์ประจำถิ่นลดจำนวนลง จนเป็นที่น่าวิตกว่า อาจสูญพันธุ์ไปในที่สุด และส่งผลให้ ความสมดุลตาม ธรรมชาติต้องเสียไป หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายๆ หน่วยงาน จึงได้มีการค้นคว้าวิจัย ตลอดจนนำเทคโนโลยี สมัยใหม่ เข้ามาช่วยในการเพาะขยายพันธุ์สัตว์ป่านานาชนิด โดยเฉพาะสัตว์ป่าหายาก เพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ ต่อไป

W

There are many research projects undertaken by the zoos under the management of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King in order to promote sustainable wildlife preservation. The followings projects are regarded as outstanding and world-renowned success: • The world’s first success of the breeding via in vitro fertilization and reintroduction project of Eld’s deer which had disappeared from Thailand for more than 50 years by Khao Kheow Open Zoo. • The breeding and reintroduction of clouded leopards and lesser adjutants by Khao Kheow Open Zoo • The breeding and reintroduction of Eastern sarus cranes which had been extinct from Thailand’s wetland for over 50 years by Nakhon Ratchasima Zoo • The artificial insemination of giant pandas by Chiangmai Zoo • The breeding of five-coloured langur by Dusit Zoo • The breeding of tortoises by Songklhla Zoo and by Chiangmai Zoo

The Douc langur Breeding Success Douc langur is the world’s most colorful langur species. Their habitats include the central part of Vietnam, the central part of the East of Laos, and the North of Cambodia. They are listed in the IUCN red list of endangered species, and considered to be difficult to breed. However, Dusit Zoo has succeeded in breeding the species, and there are more than 30 doc langurs now. This success has been highly accepted worldwide. One doc langur is believed to be worth at least 10 million baht.

ลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา สวนสัตว์ต่างๆ ภายใต้การดูแลขององค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้มงุ่ มัน่ เดินหน้าปฏิบตั งิ านด้านการวิจยั และการอนุรกั ษ์สตั ว์ปา่ คืนสูธ่ รรมชาติอย่างยัง่ ยืน มาโดยตลอด กระทั่ง ปรากฏเป็นผลงานการวิจัยที่โดดเด่น สร้างชื่อเสียงให้แก่วงการสวนสัตว์ไทย จนเป็นที่รู้จักในเวทีระดับโลก ซึ่งผลงาน ที่ได้รับการชื่นชมและกล่าวขานถึงเป็นอย่างมาก เช่น ความสำเร็จ ในการเพาะขยายพันธุ์ละมั่งหลอดแก้วได้เป็นครั้งแรกของโลก ซึ่งเป็นสายพันธุ์พม่า ที่สูญพันธุ์ไปจากผืนป่าของ ไทย มานานกว่า 50 ปี ให้กลับคืนสู่ธรรมชาติอีกครั้ง รวมทั้งการเพาะขยายพันธุ์เสือลายเมฆ และนกตะกรุม ให้สามารถปล่อยคืนสู่ธรรมชาติได้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งทั้ง 3 ผลงานนี้ เป็นโครงการที่ดำเนินการโดยสวนสัตว์เปิด เขาเขียว นอกจากนี้ ยังมีความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์นกกระเรียนพันธุ์ไทยที่ได้สูญพันธุ์ไปจากป่าชุ่มน้ำ ธรรมชาติมานานกว่า 50 ปี ให้สามารถปล่อยคืนสู่ธรรมชาติได้ นับเป็นผลงานโดดเด่นอย่างหนึ่งของสวนสัตว์ นครราชสีมา และองค์การสวนสัตว์ฯ ที่นำมาซึ่งความภาคภูมิใจ เช่นเดียวกับความสำเร็จในการผสมเทียมหมี แพนด้ายักษ์ ของสวนสัตว์เชียงใหม่ รวมทั้งความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์ค่างห้าสี ของสวนสัตว์ดุสิต ตลอดจนการเพาะขยายพันธุ์เต่าบกได้เป็นผลสำเร็จ ของสวนสัตว์สงขลา และสวนสัตว์เชียงใหม่ เป็นต้น ความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์ค่างห้าสี “ค่างห้าสี” ได้ชื่อว่าเป็นค่างที่มีสีสันสวยงามที่สุดในโลก โดยมีถิ่นที่อยู่ทางภาคกลางของเวียดนาม ตอนกลาง ของภาคตะวันออกของลาว และทางตอนเหนือของกัมพูชา ซึง่ เป็นสัตว์ทจ่ี ดั อยูใ่ นบัญชีแดงของสหภาพนานาชาติ เพือ่ การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) ห้ามซือ้ ขาย และห้ามล่าเพราะเป็นสัตว์ทใ่ี กล้สญ ู พันธุ์ และยังเป็นสัตว์ที่เพาะขยายพันธุ์ได้ยากมากอีกชนิดหนึ่ง แต่ปัจจุบันนี้ สวนสัตว์ดุสิตสามารถเพาะขยายพันธุ์ ค่างห้าสีได้มากกว่า 30 ตัว จากเดิมที่มีอยู่เพียง 8 ตัว เมื่อปี พ.ศ.2546 แต่ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ ความพยายาม ของคณะทำงาน ในการศึกษาวิจัย การเพาะขยายพันธุ์ค่างห้าสีจึงประสบผลสำเร็จในที่สุด กลายเป็นผลงานที่ ได้รบั การชืน่ ชมจากนานาประเทศ ทัว่ โลก ทัง้ ยังถือว่าสวนสัตว์ดสุ ติ เป็นแหล่งเพาะขยายพันธุค์ า่ งห้าสีได้มากทีส่ ดุ ในโลกอีกด้วย โดยกล่าวกันว่า ค่างห้าสีตัวหนึ่งๆ มีมูลค่าตัวละไม่ต่ำกว่า 10 ล้านบาทเลยทีเดียว

159


160

161

Lesser Adjutant (Leptoptilos javanicus) / นกตะกรุม Another project to reintroduce a rare species of Lesser Adjutant to the wild สัตว์ป่าหายาก เป็นอีกความคาดหวังในการปล่อยให้ได้กลับคืนสู่ธรรมชาติ

Geographical landscape of Koh Phra Thong, the research site of the Project on Lesser Adjutant Reintroduction สภาพภูมิประเทศเกาะพระทอง พื้นที่ทำโครงการปล่อยนกตะกรุมคืนถิ่น Lesser Adjutant Breeding Success

ความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์นกตะกรุม

Khao Kheow Open Zoo has undertaken research studies under the goal of breeding and reintroducing lesser adjutants. On 22nd January 2013, Khao Kheow Open Zoo successfully released the first group of lesser adjutants into their natural habitats in Koh Ra-Koh Phra Thong Non-hunting Area, Phang-nga Province and followed up their status. The project is supported by the Office of the National Research Council of Thailand (NRCT), the Department of National Parks, Wildlife and Plants Conservation. Now, the project is moving towards building cooperation with local people – the most important factor for the survival of the animals, and knowledge-transfer-based projects to the community for sustainable conservation are required.

ผลงานแห่งความสำเร็จ และความก้าวหน้าอีกอย่างหนึ่ง ของสวนสัตว์ เปิดเขาเขียว คือ การศึกษาวิจัย เพื่อเพาะขยายพันธุ์นกตะกรุม กระทั่ง สามารถปล่อยคืนสู่ธรรมชาติได้ โดยเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556 สวนสัตว์เปิดเขาเขียว ได้มีการปล่อยนกตระกรุมคืนสู่ธรรมชาติ ซึ่งเป็น ความสำเร็จของโครงการวิจัย “การนำนกตะกรุมคืนสู่ธรรมชาติ และการ ติดตามผลหลังการปล่อยในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเกาะระ - เกาะพระทอง จังหวัดพังงา” โดยได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) และความร่วมมือจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช ทั้งนี้โครงการได้รับงบประมาณดำเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 - 2558 และในปี พ.ศ. 2556 ได้ดำเนินการปล่อยนกตะกรุมคืนสูธ่ รรมชาติ ชุดแรก และสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการต่อไปของโครงการฯ คือ การ สร้างความร่วมมือกับประชาชนในพื้นที่ซึ่งมีผลต่อความอยู่รอดของสัตว์ หลังการปล่อยอย่างยิ่ง ดังนั้น คณะทำงานจึงได้วางแผนดำเนินโครงการ นำความรู้สู่ชุมชน เพื่อการอนุรักษ์นกตะกรุมและสัตว์ป่าอย่างยั่งยืนต่อไป


162

163

The Success of the Breeding of Eastern sarus cranes

ความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์นกกระเรียนพันธุ์ไทย

Eastern sarus cranes had disappeared from Thailand for over 50 years until Nakhon Ratchasima Zoo successfully bred them naturally and by artificial insemination. For the past years, nineteen Eastern sarus cranes have been released into their natural habitats-the wetland in Buriram. The zoo has been determined to continue the project as planned in order for them to be able to live naturally. The International Crane Foundation (ICF) also confirmed the success as the world’s first success of the natural breeding, artificial insemination, and reintroduction of Eastern sarus cranes. Nakhon Ratchasima Zoo is the biggest breeding center of Eastern sarus cranes in Thailand. It has also been regarded by the South East Asian Zoo Association (SEAZA) and the World Association of Zoo and Aquariums (WAZA) as a model of research, conservation, and reintroduction of endangered species. In addition, the zoo has been responsible for the cranes in Chitralada Royal Villa, Dusit Palace since 2004.

นกกระเรียนพันธุ์ไทยจัดเป็นสัตว์ป่าสงวน 1 ใน 15 ชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์ และสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติในเมืองไทย มานานกว่า 50 ปี แต่ปัจจุบัน สวนสัตว์นครราชสีมาสามารถเพาะพันธุ์นกกระเรียนพันธุ์ไทย ทั้งโดยวิธี ธรรมชาติ และการผสมเทียม เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนมาก และปล่อยคืนสูพ่ น้ื ที่ ชุ่มน้ำตามธรรมชาติในจังหวัดบุรีรัมย์ไปแล้ว 2 ปี จำนวน 19 ตัว ถือเป็น การช่วยให้ธรรมชาติมีความหลากหลายและมีระบบนิเวศที่สมบูรณ์ ทัง้ มี นโยบายปล่อยให้ได้ตามเป้าหมายอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้นกกระเรียนพันธุไ์ ทย สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ตามธรรมชาติอย่างแท้จริง จากความสำเร็จดังกล่าว มูลนิธินกกระเรียนสากล (ICF: International Crane Foundation) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้คำยืนยันเกีย่ วกับการดำเนินงานในการอนุรกั ษ์ และวิจยั นกกระเรียนพันธุไ์ ทยของสวนสัตว์นครราชสีมาว่า สามารถทำการ เพาะขยายพันธุ์ ทั้งวิธีธรรมชาติและผสมเทียมในกรงเลี้ยงได้เป็นแห่งแรก ของโลก ประสบความสำเร็จในการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติเป็นแห่งแรก ของโลก เป็นศูนย์เพาะขยายพันธุ์และมีนกกระเรียนพันธุ์ไทยมากที่สุดใน ประเทศไทย ทั้งได้รับการยอมรับและยกย่องจากสมาคมสวนสัตว์อาเซียน (South East Asian Zoo Association, SEAZA) สมาคมสวนสัตว์โลก (World Association of Zoos and Aquariums, WAZA) ด้านการวิจยั และอนุรักษ์สัตว์ป่ามาอย่างต่อเนื่อง ให้ถือการดำเนินงาน“นกกระเรียน พันธุ์ไทย” เป็นต้นแบบการอนุรักษ์ วิจัย และนำคืนสู่ธรรมชาติ สำหรับ สัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์ ที่สำคัญ คือ นอกจากการดำเนินงานในสวนสัตว์ นครราชสีมาแล้ว คณะทำงานยังได้รบั พระบรมราชโองการ ในการรับผิดชอบ ดูแลนกกระเรียนภายในพระตำหนักสวนจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต โดยทางคณะทำงานสวนสัตว์นครราชสีมา ได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา ซึ่งมีการดำเนินการปรับปรุงกรงเลี้ยง รวมถึงการดูแลใน ด้านการเพาะขยายพันธุ์ มาจนถึงปัจจุบัน

Eastern sarus crane (Grus antigone) / นกกระเรียนไทย The Project has returned Eastern sarus cranes to the wild. โครงการวิจัยได้ส่งนกกระเรียนไทย กลับไปออกหากินในท้องทุ่งที่เคยมีอยู่ในอดีต

ภาพโดย: องค์การสวนสัตว์ฯ

The first flock of Eastern sarus cranes reintroduced into nature นกกระเรียนไทยฝูงแรกที่ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ


164

The Success of the Artificial insemination of Giant Pandas

ความสำเร็จในการผสมเทียมหมีแพนด้ายักษ์

Giant Pandas (Ailuropoda melanoleuca), one of the endangered species, are the only carnivores that eat bamboo leaves as their main food. Therefore, it’s crucial to provide people with educational resources on conservation. Giant pandas became the world’s conservation ambassadors.

“แพนด้ายักษ์” (Ailuropoda melanoleuca) นับเป็นสัตว์ตระกูลหมี ในกลุ่มสัตว์กินเนื้อเพียงชนิดเดียวที่กินไผ่เป็นอาหารหลัก ถือเป็นสัตว์ป่า หายากใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่ง ที่ทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญในการอนุรักษ์ เนื่องจากประชากรในธรรมชาติกำลังการถูกคุกคามถิ่นที่อยู่อาศัย และมี การล่าอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ในการให้การศึกษาด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า หมีแพนด้ายักษ์ จึงกลายเป็นทูตในการแสดงถึงความจำเป็นในการอนุรกั ษ์ สัตว์ป่า พื้นที่ป่า และความหลากหลายทางชีวภาพไปโดยปริยาย โดย “หลินปิง” เป็นแพนด้ายักษ์เพศเมีย ในสวนสัตว์เชียงใหม่ ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 จากการผสมเทียมระหว่างช่วงช่วงและหลินฮุย่ นับเป็นแพนด้ายักษ์ตวั แรกของโลก ทีเ่ กิดในประเทศเขตศูนย์สตู ร ในเดือน นอกฤดูผสมพันธุ์ของหมีแพนด้า โดยหลังจากที่ประเทศไทยได้รับช่วงช่วง และหลินฮุ่ย ในฐานะทูตสันถวไมตรีระหว่างไทยและจีน มาอยู่ที่สวนสัตว์ เชียงใหม่ ในปีพ.ศ. 2546 ได้มีการดูแลคู่หมีแพนด้าให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นเวลา 3 ปี จากนั้นทางสวนสัตว์เริ่มพยายามให้คู่แพนด้าได้มีโอกาส ผสมพันธุเ์ องตามธรรมชาติ ด้วยกลยุทธ์ที่หลากหลาย แต่ผลก็ไม่เป็นที่ น่าพอใจ กระทั่ง ปีพ.ศ. 2552 ด้วยความพยายามของคณะทำงาน เฉพาะกิจที่มีทีมงานจากหลายฝ่าย ทั้งทีมงานของสวนสัตว์เชียงใหม่ ทีมงานจากส่วนวิชาการ องค์การสวนสัตว์ฯ ทีมงานวิจัยของโครงการวิจัย และจัดแสดงหมีแพนด้า และทีมงานคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ในที่สุดหลินฮุ่ยจึงตั้งท้องด้วยวิธีการผสมเทียม และให้ กำเนิดลูกหมีแพนด้าทีส่ มบูรณ์แข็งแรง ด้วยน้ำหนักแรกเกิด 235 กรัม เมือ่ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 หลังจากอุ้มท้องมานาน 97 วัน สร้าง ความตื่นเต้นดีใจให้แก่คณะทำงาน รวมทั้งประชาชนชาวไทยและชาวจีน เป็นอย่างมาก

Lin Ping, a female giant panda, was born in Chiangmai Zoo on 27 May 2009 with an artificial insemination of Chuang-Chuang and Lin Hui-goodwill ambassadors from China. Lin Ping is regarded as the first giant panda born in an equatorial country and out of breeding season. Thailand received the Chinese panda ambassadors in 2003, and they were taken care of by Chiangmai Zoo. Three years later, the zoo researchers encouraged them to breed naturally, but it resulted in dissatisfaction. The working group including specialists from Chiangmai Zoo, the Zoological Park Organization, and the Faculty of Veterinary Science, Kasetsart University applied the artificial insemination technique; as a result, Lin Hui was successfully pregnant for 97 days and gave birth to a healthy female baby panda with the weight of 235 grams on 27 May 2009. The success has brought both Thai people and Chinese people such excitement and happiness.

Success in breeding Giant Pandas (Ailuropoda melanoleuca), one of the most endangered species in the world กับความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์แพนด้ายักษ์สัตว์ใกล้สูญพันธุ์ของโลก

165


166

167

The Reproduction and Conservation Success of Tortoises

ความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์และอนุรักษ์เต่าบก

Even though Songkhla Zoo houses several kinds of tortoises including elongated tortoise, yellow - headed temple turtle, Asian box turtle, giant Asian pond turtle, Asian brown tortoise, Burmese black tortoise, Painted terrapin, and mangrove terrapin, it’s not that easy to breed the species successfully. Close observations and more research studies had to be conducted by a team of researchers and care takers in order to gain more insightful information on their ways of living. As a result, the zoo has recently been able to breed 5 species: elongated tortoise, Asian box turtle, giant Asian pond turtle, Asian brown tortoise, and Burmese black tortoise. In the future, the zoo will release them into their natural habitats.

สวนสัตว์สงขลาได้เลี้ยงเต่าบกหลายชนิดด้วยกัน ได้แก่ เต่าเหลือง เต่าบัว เต่าหับ เต่าหวาย เต่าหกเหลือง เต่าหกดำ เต่าลายตีนเป็ด เต่ากระอาน ส่วนใหญ่เต่าชนิดต่างๆ เหล่านีม้ ปี ระชาชนนำมาบริจาคให้กบั ทางสวนสัตว์ แต่ถึงแม้ว่าทางสวนสัตว์จะมีเต่าหลายชนิด และหลายตัว ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย ทีจ่ ะทำให้ประสบความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์ แต่เนือ่ งจากพนักงาน ที่เลี้ยงเต่าร่วมกับเจ้าหน้าที่โครงการวิจัยสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและ สัตว์เลือ้ ยคลานในสวนสัตว์สงขลา ได้ทำการศึกษาเรือ่ งเต่าเพิม่ เติม ทัง้ ด้าน อาหาร ทีอ่ ยูอ่ าศัย สถานทีใ่ นการวางไข่ และอุณหภูมิ ในปีทผ่ี า่ นมาสวนสัตว์ จึงสามารถเพาะขยายพันธุเ์ ต่าบกได้ 5 ชนิด ได้แก่ เต่าดำ เต่าเหลือง เต่าบัว เต่าหับ และเต่าหวาย โดยแม่เต่าต่างทยอยวางไข่เป็นระยะๆ และมีลกู เต่า ทยอยฟักแล้วหลายตัว ซึง่ ในอนาคตทางสวนสัตว์จะนำลูกเต่าทีเ่ พาะขยาย พันธุ์ได้ ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติต่อไป

In 2011, Chiangmai Zoo’s Thai Turtle Conservation Project was also highly successful. The zoo has been breeding 4 species of turtles- elongated tortoise, impressed tortoise, Asian brown tortoise, and Burmese black. These 4 species are listed as protected species according to the Wildlife Conservation and Protection Act, B.E.2535. For international levels, the animals are classified in to list no.2 of the Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora and listed in IUCN Red List of Threatened Species (2006). Now, the 4 species of tortoises together with some other species can be found in the area of Chiangmai Zoo. The area is used as the study area of reintroduction and also for learning and eco- tourism.

เช่นเดียวกับสวนสัตว์เชียงใหม่ ในปีพ.ศ. 2554 โครงการอนุรักษ์เต่าบก ของประเทศไทย ประสบความสำเร็จ ในการเพาะขยายพันธุเ์ ต่าบกของไทย ครบทั้ง 4 ชนิด ได้แก่ เต่าเหลือง เต่าเดือย เต่าหกดำ และเต่าหกเหลือง ซึ่งเต่าทั้ง 4 ชนิด จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและ คุม้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535 และในระดับสากลเต่าบกทัง้ 4 ชนิด ถูกจัดอยู่ ในบัญชีหมายเลข 2 ตามอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ชนิด สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ และจัดอยู่ในบัญชีสัตว์ป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ตามบัญชีของ IUCN Red List of Threatened Species (2006) ปัจจุบนั สวนสัตว์เชียงใหม่มีเต่าบกของประเทศไทยในสภาพเพาะเลี้ยงครบทั้ง 4 ชนิด และสามารถเพิม่ จำนวนเต่าบกบางชนิดได้ จึงได้ทำการทดลองปล่อย เต่าบกบางชนิดที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้คืนสู่ธรรมชาติ ในพื้นที่ของ สวนสัตว์เชียงใหม่ ซึ่งมีสภาพพื้นที่เป็นป่าไม่มีสิ่งก่อสร้าง และยังสามารถ ใช้พื้นที่นี้เป็นแหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้ Asian Forest Tortoise (Manouria emys) / เต่าหกเหลือง Researchers studying Elongated Tortoise and Asian forest tortoise, Songkhla Zoo ทีมนักวิจัยที่กำลังศึกษาเต่าเหลืองและเต่าหกเหลืองในสวนสัตว์สงขลา


168

169

The Successful Reproduction of Clouded Tigers Clouded tigers are listed as one of the protected wildlife species according to Wildlife Preservation and Protection Act, B.E.2535 (1992). Khao Kheow Open Zoo’s researchers have successfully bred clouded tigers, and there are more than 50 of them now. The zoo is regarded as the World’s best and biggest breeding center of clouded tigers, as well as one of the most important sources of research and management of ex situ conservation. The International Union for Conservation and Natural Resources (IUCN) has classified clouded tiger’s status as DD (Data Deficient) which means that there is insufficient data to evaluate the risk of extinction because of their mysterious behavior. The MOU between the Zoological Park Organization, Smithsonian National Zoological Park, Nashville Zoo, and Point Defiance Zoo, USA, meant to promote the breeding of clouded tigers at Khao Kheow Open Zoo emphasizing breeding management, research studies, and breeding process in order to increase the population of clouded tigers.

ความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์เสือลายเมฆ

เสือลายเมฆแม่ลูก A mother Clouded Leopard (Pardofelis nebulosa) and her cubs

การศึกษาวิจัย เพื่อเพาะเลี้ยง และขยายพันธุ์เสือลายเมฆ ซึ่งเป็นสัตว์ป่า คุม้ ครองตามพระราชบัญญัตสิ งวนและคุม้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535 นับเป็น หนึ่งในผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่สวนสัตว์เปิดเขาเขียว โดยนับตั้งแต่ ริเริม่ โครงการ ได้มลี กู เสือลายเมฆเกิดใหม่ และรอดชีวติ อยูม่ ากกว่า 50 ตัว ทำให้สวนสัตว์เปิดเขาเขียวกลายเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงเสือลายเมฆที่ใหญ่ ทีส่ ดุ ในโลก ได้รบั การยอมรับจากทัว่ โลกว่า เป็นสถานทีอ่ นุรกั ษ์เสือลายเมฆ ไว้ได้ดีที่สุด ทั้งยังได้ชื่อว่า เป็นศูนย์รวมการศึกษาวิจัย การจัดการ แหล่ง รวมพันธุกรรมนอกถิน่ อาศัยทีส่ ำคัญมากทีส่ ดุ อีกด้วย เนือ่ งจากเสือลายเมฆ เป็นสัตว์ที่มีความลี้ลับ และมีข้อมูลเกี่ยวกับชีววิทยาน้อยที่สุด ในบรรดา แมวป่าสวยงามของทวีปเอเชีย โดยสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ ธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) ได้จัดให้เสือลายเมฆอยู่ใน สถานะ DD (Data Defficient) ซึ่งหมายถึง ข้อมูลไม่เพียงพอในการ ประเมินความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ จึงมีการศึกษาข้อมูล เพื่อนำไปสู่การ อนุรักษ์ในระยะยาว โดยมีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU)

ภาพโดย: องค์การสวนสัตว์ฯ

Dr. Jogale Howard who initiated Clouded leopard research ดร. โจเกล ฮาเวิร์ด นักวิจัยผู้ริเริ่มโครงการเพาะขยายพันธุ์เสือลายเมฆ

ระหว่างองค์การสวนสัตว์ฯ สวนสัตว์แห่งชาติของสถาบันสมิธโซเนียน สวนสัตว์แนชวิลล์ และสวนสัตว์ Point Defiance ของสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยเหลือในการเพาะเลี้ยงเสือลายเมฆที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียว โดยมุ่งเน้นในด้านการจัดการ การศึกษาวิจัย และการเพาะขยายพันธุ์ เพื่อจุดมุ่งหมายในการเพิ่มประชากรเสือลายเมฆให้มีจำนวนมากกว่า ในปัจจุบัน


170

171

The World’s First Success of the Breeding of Eld’s Deer from In-Vitro Fertilization. The breeding of the Eld’s deer project was an extended research from the successful artificial insemination, and, in 2009, a female Eld’s deer named Ang Pao was the result of it. It’s considered the world’s second Eld’s deer after the first one that was born under the responsibility of Smithsonian Conservation Biology Institute. A year later, under the cooperation of a team of researchers of the Zoological Park Organization, Khao Kheow Open Zoo, and academic alliances, the technology of in-vitro fertilization (IVF) was applied to study the development of embryos of Burmese Eld’s deer. On 30 March 2010, when the embryos developed to the blastocyst stage, they were transferred to three Eld’s deer at Khao Kheow Zoo. Two of the deer (66.7%) were successfully pregnant but suffered from early delivery. They lost the fawns. In the following year, the researchers developed the procedure and reduced the risks of the reproduction. The embryos were transferred to eight surrogate mothers. One of them was found pregnant and delivered a healthy female fawn on 17 October 2011. His Majesty the King named the fawn “Rohisarat” which means “crystal Eld’s deer”.

ภาพโดย: องค์การสวนสัตว์ฯ

ความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์ละมั่งหลอดแก้ว ครั้งแรกของโลก การเพาะขยายพันธุล์ ะมัง่ หลอดแก้ว สายพันธุพ์ ม่า ได้เป็นครัง้ แรกของโลก เป็นโครงการต่อยอดจากการผลิตลูกละมั่งด้วยการผสมเทียมได้สำเร็จ เมื่อปี พ.ศ. 2552 โดยเป็นละมั่งเพศเมีย 1 ตัว ชื่อ “อั่งเปา” ซึ่งถือเป็น ตัวที่ 2 ของโลก (ตัวแรกเกิดที่ สถาบันสมิธโซเนียน สหรัฐอเมริกา) กระทัง่ ในปี พ.ศ. 2553 ได้มกี ารต่อยอด พัฒนาเทคโนโลยีขน้ึ มาอีกขัน้ ด้วยความ ร่วมมือของ ทีมงานวิจัยองค์การสวนสัตว์ฯ ทีมงานสวนสัตว์เปิดเขาเขียว และพันธมิตรทางวิชาการ ทำการผลิตตัวอ่อนของละมั่ง สายพันธุ์พม่า ด้วยวิธกี ารปฏิสนธิภายนอกร่างกาย (ผลิตตัวอ่อนหลอดแก้ว หรือ ไอวีเอฟ, in vitro fertilization; IVF) เพื่อศึกษาการพัฒนาของตัวอ่อนละมั่งและ ประสบความสำเร็จในการผลิตตัวอ่อนละมัง่ ระยะบลาสโตซีสได้เป็นครัง้ แรก ของโลกเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2553 และได้ย้ายฝากตัวอ่อนเข้าสู่ท่อ นำไข่ของแม่ละมั่ง อุ้มบุญจำนวน 3 ตัว ที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียว ผลการ วิจยั พบว่า แม่ละมัง่ อุม้ บุญ จำนวน 2 ใน 3 ตัว (66.7%) ตัง้ ท้อง แต่คลอด ลูกตายก่อนกำหนด ในปี พ.ศ. 2554 คณะวิจยั จึงพัฒนากระบวนการต่างๆ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงในการผลิตลูกละมั่งหลอดแก้ว และได้ย้ายฝากตัวอ่อน สูแ่ ม่ตวั รับทัง้ หมด 8 ตัว พบว่าแม่ตวั รับ 1 ตัวตัง้ ท้อง และสามารถคลอดลูก ละมัง่ หลอดแก้วเพศเมียทีม่ คี วามสมบูรณ์ได้สำเร็จเป็นครัง้ แรกของโลกเมือ่ วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2554 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อลูกละมั่งว่า “โรหิสรัตน์” มีความหมายว่า “ละมั่งแก้ว” นำมาซึ่งความปิติยินดีแก่คณะวิจัยทั้งหลาย รวมทั้งผู้ที่ได้ ทราบข่าวในพระมหากรุณาธิคุณครั้งนี้อย่างหาที่สุดมิได้

Reintroduced Thamin Eld’s deer at Huay Kha Khaeng Wildlife Sanctuary. ละมั่งคืนสู่ป่า ณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

ภาพโดย: องค์การสวนสัตว์ฯ

Eld’s Deer (Rucervus eldii thamin) Rohisarat- the first fawn born from In Vitro Fertilization โรหิสรัตน์ ละองสายพันธุ์พม่า จากความสำเร็จในการเพาะขยายพันธุ์ละมั่งหลอดแก้ว ครั้งแรกของโลก


the project to establish the new ‘Endangered Species Conservation and Research Institute-ESCRI’ started in 2011. At the moment, the 2 story building including office and laboratory space are under construction at Khao Kheow Open Zoo (KKOZ) ground, in addition to the well-equipped modern veterinary hospital at KKOZ. ESCRI will host several research and conservation programs such as 1) Population management, Reintroduction and Species Recovery; 2) Zoo and Wildlife Health, Pathology and One Health; 3) Conservation Genetics; and 4) Reproductive science. ESCRI team compose of 40 staff scientists who has wide range of expertise to serve as researchers and coordinator for various projects working closely with all ZPO zoos, academic institutions, NGOs, and international partners. We do hope that ESCRI will serve as national focal point for ex situ conservation and integrated conservation for endangered species research and conservation in Thailand and Asia region. ESCRI will be officially open this year (2013) and hope to be fully finctioning in 2014.

172

โครงการจัดตั้งสถาบันอนุรักษ์วิจัยสัตว์ป่าหายาก

ป Endangered Species Conservation and Research Institute (ESCRI)

T

he Zoological Park Organization is a governmental enterprise that oversees the management of all government zoos in Thailand. Five ZPO zoos has been accredited as proud members of the World Association for Zoos and Aquariums (WAZA) and the 2 new zoological parks are under development and will open to public soon. Modern Zoos are committted not only to provide public service on recreation and nature studies using wild animals as ambassadors to educate public about the importance and values of biological diversity, but the extended missions also include research and conservation of andangered species, as well as education. ZPO is committed to research, conservation and education components and think seriously about the sustainability fo these important roles. Therefore,

ระเทศไทยมีศักยภาพและความพร้อม ในการก้าวไปสู่การเป็นสวนสัตว์สมัยใหม่ ที่มีพันธกิจในการวิจัย และอนุรักษ์สัตว์ป่าอย่างจริงจังแห่งหนึ่งของโลก ทว่าการดำเนินงานอนุรักษ์และวิจัยสัตว์ป่า เป็นสิ่งที่ ต้องใช้องค์ความรู้หลายสาขาในลักษณะของสหวิทยาการ อันเกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ ประกอบกัน เพือ่ ให้สามารถประยุกต์ หรือพัฒนาไปสูค่ วามเป็นเลิศในงานสายอาชีพสวนสัตว์ และสาขาวิชาอืน่ ๆ รวมทัง้ การพัฒนาให้เกิดเป็นศาสตร์แขนงใหม่ เพือ่ การพัฒนาองค์กร และสามารถขยายผลไปสูง่ านด้านการบริการ สังคม ตลอดจนการเพิม่ ศักยภาพของประเทศไทยในเวทีสากล ดังนัน้ “โครงการจัดตัง้ สถาบันอนุรกั ษ์วจิ ยั สัตว์ปา่ หายาก” จึงถือกำเนิดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา และยกระดับองค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้เป็นสถาบันวิจัยระดับชาติ ด้วยการเป็นศูนย์กลางการวิจัยที่สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมด้านการอนุรักษ์ สัตว์ป่านอกถิ่นอาศัย ที่สำคัญของประเทศ โดยจะมีการเก็บรวบรวมทรัพยากรสัตว์ป่าหายากที่จะเป็นต้นทุนใน การพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นต่างๆ ผ่านการศึกษาวิจยั อย่างมีระบบและคุณภาพ พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการปฏิบตั ิ งานวิจัยและเป็นแหล่งฝึกอบรมบุคลากรสวนสัตว์ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนางานด้านการ อนุรักษ์สัตว์ป่าหายากนอกถิ่นอาศัยของประเทศไม่ให้สูญพันธุ์ โดยการเพาะขยายพันธุ์เพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ อีกทั้งพัฒนาให้เป็นศูนย์การฝึกอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับศูนย์วิจัยและอนุรักษ์สัตว์ป่าหายากให้แก่ ผูส้ นใจทัว่ ไป เพือ่ สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นการอนุรกั ษ์สตั ว์ปา่ หายากอย่างยัง่ ยืน โดยจะมีสร้างพันธมิตร และความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาและยกระดับคุณภาพสวนสัตว์ไทยสู่ ระดับสากล อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้องค์การสวนสัตว์ฯ ดำเนินงานตามนโยบายของประเทศในการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ โดยสถาบันแห่งนี้จะดำเนินงานครอบคลุมสหวิทยาการสาขา ต่างๆ เช่น เทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุ์ การตรวจวิเคราะห์ฮอร์โมนในสัตว์ป่า พันธุศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ ระดับเซลล์ และโมเลกุล การปล่อยสัตว์คนื สูธ่ รรมชาติ และการติดตามประชากรสัตว์ปา่ การชันสูตรและเฝ้าระวัง โรคสัตว์ป่าภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว และการจัดการโภชนาการสัตว์ป่า เป็นต้น และคาดว่าสถาบันแห่งนี้ จะสามารถเปิดดำเนินการได้ภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556

173


174

175

Black water monitor (Varanus salvator) เหี้ยดำ

(Right to left - upper to lower) Dumnui’s Bent-toed Gecko (Cyrtodactylus dumnuii Bauer, Kunya), Large-tubercled Bent-toed Gecko (Cyrtodactylus macrotuberculatus Grismer and Ahmad, 2008), Burmese horned toad (Brachytarsophrys carinensis) and Masked spiny Lizard (Acanthosaura crucigera Boulenger, 1885) (จากซ้ายไปขวา - บนลงล่าง) ตุ๊กกายดำนุ้ย ตุ๊กกายท้าวแสนปม อึ่งกรายข้างแถบ และกิ้งก่าเขาหนามสั้น


176

177

Knowledge Transfer ถ่ายทอดความรู้สู่สาธารณะ

Zoo youth volunteers sharing information and knowledge among young children อาสาสมัครสวนสัตว์ที่เป็นผู้นำข้อมูลความรู้สู่กลุ่มเยาวชนด้วยกัน


178

The Zoo as an Educational Resources Center We are currently moving from formal education towards learning society. Everyone can learn not only by sitting in a classroom under a teacher’s supervision, but also outside of the classrooms. The learning process occurs continuously along daily activities and throughout our life. Therefore, learner-centeredness is the key to education management in order for learners to be able to learn naturally, develop their full potential, and apply what they have learned into their daily life practice. Besides

B

esides the activities that encourage people to learn actively, learning support resources and facilities are crucial. According to National Education Act B.E.2542 (1999) and Amendments (Second National Education Act .B.E. 2545 (2002), zoos are determined to be important part of learning society development in Thailand, and need great support from the government. In addition, Thailand has been seriously affected by environmental problems especially ecological decline and the extinction of animal and plant species due to the rush of economic development. Human resources development, as a result, is clearly the foundation of environment conservation and development. People should be encouraged to learn and provided with a variety of activities and channels from the very beginning of age, so they appreciate the natural resources and are aware of environmental issues. And ultimately, they take actions to solve the problem together. The zoos under the supervision of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King, Ministry of Natural Resources and Environment play the major role as the center of environmental education, researches, and recreation with the hope of better environment for our future generations.

การให้การศึกษาและแสดงองค์ความรู้ของสวนสัตว์ ารศึกษาในปัจจุบัน เป็นยุคแห่งสังคมการเรียนรู้ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เวลาใด ทุกคนก็สามารถเรียนรู้ได้ ตลอดเวลา วัฒนธรรมการเรียนรู้จึงเกิดขึ้นได้ในทุกๆ สถานที่ และทุกๆ เวลา ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้ จากตำรา หรือเพียงในกรอบสี่เหลี่ยมของห้องเรียนที่มีครูมาคอยกำกับดูแลเสมอไป หากแต่สามารถ ค้นคว้า ขวนขวาย ใฝ่หาความรู้ ให้แก่ตนเองได้ จากแหล่งเรียนรูต้ า่ งๆ ทัง้ ใน และนอกสถานศึกษา เพือ่ ก่อให้เกิด ความรู้ใหม่ๆ ทันผู้อื่น ทันโลก ทันเหตุการณ์ ที่สำคัญ เป็นการฝึกให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ตลอดชีวิตของ ผูเ้ รียน ซึง่ การจัดการศึกษาทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ โดยให้ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลางของการจัดการเรียนรู้ มุง่ ให้ผเู้ รียน แต่ละคนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มีความรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และเรียนรู้ ต่อในระดับที่สูงขึ้นนั้น นอกจากกิจกรรมทีส่ นับสนุนให้ผเู้ รียนมีคณ ุ ลักษณะ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนแล้ว ยังจำเป็นต้องมีการจัดแหล่งและสิง่ อำนวย ความสะดวกเพือ่ สนับสนุนการเรียนรูด้ ว้ ย โดยตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กำหนดให้สวนสัตว์เป็นสถานที่แห่งหนึ่ง ที่รัฐจะส่งเสริม และพัฒนา ให้เป็นส่วนของกลไกในการสร้างสังคมไทย ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรูข้ องเยาวชน และประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ประกอบกับความสำคัญ และความจำเป็น ที่จะต้องเร่งปลูกฝังความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมศึกษาอย่างเร่งด่วน เพราะที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมากมาย ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง ความคิดในการพัฒนาประเทศ ที่เน้นการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ จึงทำให้เกิดความเสื่อมโทรมทางด้านนิเวศ วิทยา รวมทั้งการสูญสิ้นสัตว์ป่า และพรรณพืชต่างๆ ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเน้นการพัฒนาคน ให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนา ทำให้กระแสการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน โดยเน้นการปลูกฝังจิตสำนึกแก่เด็ก และเยาวชนที่กำลังศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับ ตลอดจน ประชาชนทั่วไป ดังนั้น สวนสัตว์ต่างๆ ในสังกัดองค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีภารกิจสำคัญ คือ ให้การศึกษา อนุรักษ์สัตว์ป่า ศึกษาวิจัยพันธุ์สัตว์ และเป็น แหล่งท่องเที่ยว เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ จึงดำเนินการสนองนโยบายของรัฐ และแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ดังกล่าว โดยหวังว่าประโยชน์จะตกอยู่กับประเทศไทยนั่นเอง

179


180

181

A zoological park as a learning resource and a place for recreational activities for kids สวนสัตว์เป็นสถานที่จัดการเรียนรู้ของ เด็ก รวมทั้งจัดกิจกรรมในโอกาสต่างๆ

Nowadays, the zoos under the supervision of the Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King are designated as “Original Lifelong Learning Center” by the Office of Education Council, Ministry of Education. Every zoo aims to be the center that promotes maximum learning for visitors. The zoos provide integrated learning environment - formal, non-formal and in-formal learning activities under the supervision of a group of experts including researchers, veterinarians, environmentalists, architects, and educators. The zoos are also responsible for presenting their constant studies and findings to public. Moreover, there has been an additional group of wildlife education promotion staff in order to organize a variety of programs such as the Zoo Youth Volunteer Project, and Mobile Zoo Project. The projects aim to promote wildlife studies, natural resources and environment conservation through activities that enhance the participants to learn, think, and act in the real environment. In addition, the zoos offer more activities, for example, youth camp, and wildlife exhibitions, to strengthen the cooperation


182

183

A zoological park as one of learning sources in accordance with school’s educational programs นักเรียนกับหลักสูตรที่สวนสัตว์วางระบบ ให้รองรับกับหลักสูตรการศึกษา between the zoos and local environmental studies organizations. Thai zoos have been proved by SEAZA and WAZA to be internationally standardized organizations in the areas of administration, environmental awareness, pragmatic curricula, and actual learning resources. So we can say that the role of a zoo nowadays is totally different than before.

Buddhist novices learning about wildlife in Chiangmai Zoo เณรศึกษาสัตว์ป่าที่สวนสัตว์เชียงใหม่


184

185

An exhibition in Nakhon Ratchasima Zoo นิทรรศการในสวนสัตว์โคราช

Learning activities in the zoo to create a more active learning environment การศึกษาในรูปแบบกิจกรรมพิเศษ ที่เป็นแรงเสริมให้เกิดการเรียนรู้และสนุกตื่นเต้น


ปัจจุบนั สวนสัตว์ตา่ งๆ ในความดูแลขององค์การสวนสัตว์ฯ ได้รบั การ ยกย่องให้เป็น “แหล่งเรียนรูต้ น้ แบบตลอดชีวิต” ของสำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยสวนสัตว์ทกุ แห่ง ได้ให้ความสำคัญ แก่ผู้เรียนรู้เป็นหลัก ด้วยมุ่งมั่นให้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบตลอดชีวิตที่มี คุณค่าและได้มาตรฐาน ทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในทุกตารางพืน้ ทีข่ อง สวนสัตว์ ให้เต็มเปีย่ มครบถ้วนไปด้วยความรู้ ควบคูไ่ ปกับความเพลิดเพลิน สนุกสนาน มีความโดดเด่น น่าสนใจ ทันสมัย สามารถสัมผัสจับต้องได้ทั้ง การดู การสัมผัส เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้งในระบบ (Formal) นอกระบบ (Non - Formal) และตามอัธยาศัย (In - Formal) ถือเป็นการผสมผสาน ความรู้แบบองค์รวม ทั้งยังเป็นแหล่งรวมของนักศึกษา นักสิ่งแวดล้อม นักวิจยั สัตวแพทย์ สถาปนิก และอืน่ ๆ อีกมากมาย จึงกล่าวได้วา่ สวนสัตว์ เหมาะอย่างยิง่ ทีจ่ ะเป็นแหล่งเรียนรูต้ ลอดชีวติ ซึง่ ในทุกๆ สวนสัตว์มี การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นตลอดมา การเผยแพร่ความรู้นั้นจึง เป็นอีกหนึ่งนโยบายที่จะช่วยตอบแทนสังคม ขณะที่การจัดทำกิจกรรม และการมีวิทยากรทางด้านการส่งเสริมการศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ป่า ได้ถูก เพิ่มขึ้นมา เพื่อรองรับการให้ความรู้ในรูปแบบของโครงการต่างๆ เช่น โครงการเยาวชนอาสาสมัครสวนสัตว์ และโครงการสวนสัตว์สญ ั จร ทีม่ งุ่ เน้น การเรียนรู้เรื่องสัตว์ป่า การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างแท้จริง โดยจะมีการฝึกทักษะ และศึกษาเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง เพื่อพัฒนาตนเอง ฝึกปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น เกิดการใฝ่รู้อย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้ แต่ละ สวนสัตว์ยังมีการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมอีกมากมาย ตามแต่โอกาสจะอำนวย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการเพิ่มพูนความรู้ และส่งเสริมการศึกษาทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นค่ายเยาวชนนิทรรศการเกี่ยวกับสัตว์ป่าหรือโครงการอื่นๆ อันจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เครือข่ายความร่วมมือขององค์กร สิง่ แวดล้อมศึกษาทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ ด้วยเหตุน้ี สวนสัตว์ตา่ งๆ จึงถูกยกระดับ ให้เป็นมากกว่าสวนสัตว์ โดยได้รบั การขนานนามว่าเป็นแหล่งเรียนรูต้ ลอด ชีวิต และปัจจุบันการเป็นสวนสัตว์นั้นในระดับสากลมีตัวชี้วัด เช่น มาตรฐานเรือ่ งการบริหาร การใส่ใจสภาพแวดล้อม หลักสูตรทีเ่ ป็นรูปธรรม และเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยเวทีที่สวนสัตว์ไทยได้ก้าวไปถึงแล้ว เช่น SEAZA และ WAZA เป็นต้น

186

Students going wildlife watching in Songkhla Zoo กิจกรรมส่องสัตว์ของนักเรียนที่สวนสัตว์สงขลา

187


2556 188

189

Orangutan (Pongo pygmaeus) ลิงอุรังอุตัง

Animals’ Stories Told เรื่องเล่ากล่าวขานตำนานสัตว์


190

Mae Mali - the Star of Khao Din Zoo

Phet - the White Barking Deer

n 21 September every year, Khao Din Zoo holds a birthday party for Mae Mali, a female hippopotamus which has been a symbol of Dusit Zoo. She is 46 years old now whereas the average age of hippopotamus is around 40-45 years. Mae Mali is regarded as the oldest hippopotamus that lives in Thailand.

n absolute-white male barking deer with pink eyes was found in the area of Mae Sod, Tak in 2002. It was presented to Her Majesty Queen Sirikit, and named “Phet”. Phet, regarded as the world’s first white barking deer, was brought to Dusit Zoo. This deer is world-renowned for its perfect and astonishingly white body. Later, the zoo started the breeding of such species, and Phet has bred more white breeding deer. Some now live in Songkhla Zoo and Chiangmai Zoo. In addition, the white barking deer can be seen only in the zoos in Thailand.

O

A

Mae Mali, with such a round and chubby body, is very popular among visitors, especially children. She is definitely a magnet to attract children to Khao Din Zoo. Mae Mali was given by Tilburg Zoo in the Naterlands on 8 June 1967. She has given birth to 14 young hippos. The oldest one is now 40 years old, called “Torpido”. He was born the first year Mae Mali moved to the zoo, now is in Chiangmai Zoo. The youngest one is 12 years old, named “Mayom”and lives in Khao Kheow Open Zoo. 27-year old Malai and 24-old year Kao, the 8th and 10th child, now live in a zoo in Malaysia and Laos, respectively.

แม่มะลิ ขวัญใจมหาชน ทุกวันที่ 21 กันยายน สวนสัตว์เขาดินจะจัดงานคล้ายวันเกิดให้กับแม่มะลิ ฮิปโปโปเตมัสเพศเมียที่เป็นเสมือนหนึ่งสัญลักษณ์ของสวนสัตว์ดุสิต ทุกวันนี้ แม่มะลิอายุ 46 ปีแล้ว ครองแชมป์ฮิปโปโปเตมัสที่อายุยืนที่สุดในไทย เนื่องจากอายุเฉลี่ยของฮิปโปโปเตมัสคือ 40-45 ปี ปฏิเสธไม่ได้ว่าแม่มะลิเป็น ดาวเด่นดวงหนึ่งของสวนสัตว์ ในอดีตเด็กๆ มักตื่นเต้นกับการได้เห็นสัตว์รูปร่างอ้วนอุ้ยอ้ายแปลกตา แม่มะลิจึงเป็นที่กล่าวขวัญถึงและชักชวนให้เด็กๆ ตามมาดูทเ่ี ขาดิน จนกระทัง่ ปัจจุบนั รุน่ ลูกรุน่ หลานของเด็กยุคนัน้ ก็ยงั ได้ชน่ื ชมแม่มะลิกนั อยู่ แม่มะลิเป็นฮิปโปโปเตมัสทีไ่ ด้รบั มาจากสวนสัตว์ทลี เบิรก์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 8 มิ.ย. 2510 แม่มะลิมีลูกมาแล้ว 14 ตัว แต่ตายไปแล้ว 1 ตัว โดยตัวที่อายุมากที่สุดยังมีชีวิตอยู่ ชื่อ ตอร์ปิโด เพศผู้ อายุ 40 ปี เกิดในปีแรกทีแ่ ม่มะลิเข้ามาอยูใ่ นสวนสัตว์ ปัจจุบนั อยูท่ ส่ี วนสัตว์เชียงใหม่ ตัวทีอ่ ายุนอ้ ยทีส่ ดุ ชือ่ มะยม เพศผู้ อายุ 12 ปี อยูท่ ส่ี วนสัตว์เปิด เขาเขียว และมีอยู่ 2 ตัว ที่แลกเปลี่ยนกับสวนสัตว์อื่นๆ คือลูกตัวที่ 8 ชื่อ มาลัย เพศเมีย อายุ 27 ปี ปัจจุบันอยู่ที่ประเทศมาเลเซียและลูกตัวที่ 10 ชื่อ เก้า เพศผู้อายุ 24 ปี อยู่ที่ประเทศลาว

เพชร เก้งเผือก นามพระราชทาน ปี พ.ศ. 2545 มีการพบเก้งเผือกที่มีสีขาวตลอดทั้งตัว แม้กระทั่งดวงตาก็เป็นสีชมพูแสดงให้เห็นว่าเป็น “เผือกแท้” โดยพบเจอที่อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก และต่อมานำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งพระองค์ได้พระราชทานชื่อ ว่า “เพชร” และได้นำมาเลี้ยงไว้ ยังสวนสัตว์ดสุ ติ เก้งเผือกเพชรนีเ้ ป็นตัวผู้ ซึง่ ถือว่าเป็นเก้งเผือกตัวแรกของโลกด้วย มีลกั ษณะรูปร่างสมบูรณ์ สีขาวปลอดสวยงามสร้างความตืน่ ตะลึงให้กบั ผู้พบเห็นเป็นอย่างมาก โดยเพชรถูกนำมาเลี้ยงยังสวนสัตว์ดุสิต และมีโครงการขยายพันธุ์เก้งเผือกให้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นสัตว์เผือกที่หาได้ยากยิ่ง โดยเฉพาะเก้งเผือกที่เกิดเองในธรรมชาติ เพราะการมีสีขาวในธรรมชาติทำให้ถูกล่าได้ง่าย ดังนั้นจึงถือเป็นเรื่องมหัศจรรย์อย่างหนึ่งที่ควรรักษาไว้ ซึ่งต่อมาเพชรผสมพันธุ์กับเก้งธรรมดาและให้ลูกออกมาเป็นเผือก ชื่อว่า “พุด” และพุดก็ได้ให้ลูกเป็นเก้งเผือกตัวที่ 3 ของโลก ชื่อ “เทียน” ซึ่ง ปัจจุบันเลี้ยงอยู่ที่สวนสัตว์สงขลา จนถึงปัจจุบันนี้ก็มีเก้งเผือกเกิดขึ้นมาใหม่อีกแล้วหลายตัว โดยตัวที่ 5 นั้นชื่อว่า “หมอก” เป็นเก้งเผือกตัวที่ 2 ที่เกิด จากพ่อเพชร ซึ่งปัจจุบันมีการแยกไปไว้ที่สวนสัตว์สงขลาและสวนสัตว์เชียงใหม่เพื่อให้ประชาชนได้ชมกันอย่างทั่วถึง เพราะเป็นสัตว์เผือกชนิดที่มี อยู่เฉพาะในสวนสัตว์ประเทศไทยเท่านั้น

191


192

Job - Khao Din Star Dating back more than 10 years, an orangutan, Job, was the most popular orangutan. He could be seen on TV and had a lot of fans to see his shows on public holidays at Khao Din Zoo.

J

ob is the first orangutan born in Thailand from the father and mother, named Suma and Sempaka, respectively. Dusit Zoo exchanged four Pileated gibbons for Suma and Sempaka with Basel Zoo in Switzerland. Job gained his popularity from the first day he was born, 12 May 1985. He was first called “Mai”; unfortunately, his mother refused to take care of him, Vet. Alongkorn Mahannop decided to bring him home and take care of him there. He and his wife then called the baby orangutan, Job, to rhyme with their children’s names-Joy and Joke. Today, Job is a mature orangutan. Even though, he doesn’t look as cute as he was before; he is still one of the most loved animals of Khao Din Zoo.

Chuang Chuang and Lin Hui, the Goodwill Ambassadors

G

iant panda is one of the world’s endangered species. They can be found naturally only in China, and very few zoos that exhibit giant pandas. Since October 2003, China has allowed Thailand to exhibit Chuang Chuang and Lin Hui, a couple of giant pandas at Chiangmai Zoo as the goodwill ambassadors. Both of them were born at the Chengdu Panda Research and Breeding Center, Wu Long Preservative Area, Chengdu, Sichuan. According to Thailand and China’s agreement on Research and Exhibition Project of Panda, Chiangmai Zoo as an administrator are assigned to study the pandas’ behavior for 10 years. Then Thailand has to return the pandas along with the baby that may be born. Both pandas are provided with a 46-million baht-worth building specially built with temperature controlled room and 30 kilograms of Chinese bamboo leaves grown in Thailand a day. Chuang Chuang and Lin Hui have attracted both local and international tourists to Chiangmai Zoo. They were welcome to the zoo with a lot of activities and celebration. Moreover, on 9 November 2005, Chiangmai Mai Zoo held their wedding ceremony for 5 days and 5 nights.

จ๊อบ ดาราเขาดิน ย้อนหลังกลับไปเมือ่ สิบกว่าปีกอ่ น ผูค้ นยุคนัน้ ไม่มใี ครไม่รจู้ กั “จ๊อบ” ลิงอุรงั อุตงั ทีด่ งั ทีส่ ดุ ในยุคนัน้ ดังขนาดทีว่ า่ ได้ออกทีวี เป็นพิธกี รรับเชิญในรายการ พยากรณ์อากาศ และมีคิวโชว์ตัวตามวันสำคัญต่างๆ ของสวนสัตว์ไม่ขาดสาย ไปไหนก็มีเด็กๆ ออกมาต้อนรับราวกับดาราใหญ่ในยุคปัจจุบัน “จ๊อบ” เป็นลูกลิงอุรังอุตังตัวแรกที่เกิดในเมืองไทย จากพ่อชื่อซูม่า และแม่ชื่อเซมปาก้า ซึ่งเป็นอุรังอุตังที่ได้จากการแลกด้วยชะนีมงกุฏสี่ตัวกับสวนสัตว์บาเซิล สวิสเซอแลนด์ จ๊อบดังและมีคนรูจ้ กั ตัง้ แต่แรกเกิด เมือ่ วันที่ 21 พฤษภาคม 2528 สื่อมวลชลประโคมข่าวการตกลูกลิงอุรังอุตังตัวแรกในเมืองไทยด้วย ความตื่นเต้น มีการประกวดตั้งชื่อ ซึ่งลิงน้อยนี้ได้ชื่อว่า “ใหม่” แต่เพราะ แม่เซมปาก้า ไม่ยอมเลี้ยงลูกจน คุณหมออลงกรณ์ มหรรณพ สัตว์แพทย์ ประจำเขาดินในขณะนั้น ต้องวางยาสลบและเอาลูกลิงอาภัพมาเลี้ยงเอง ที่บ้าน ซึ่งขณะนั้นลูกของคุณหมอมีชื่อว่า จอยและโจ๊ก ภรรยาคุณหมอจึง เรียกลิงน้อยตัวนี้ว่า “จ๊อบ” ให้คล้องกับลูกคุณหมอ และมันก็ถูกเรียกด้วย ชื่อนี้ตลอดมา ปัจจุบันจ๊อบเป็นหนุ่มใหญ่แล้ว หน้าตาแสดงความเป็นอุรังอุตังที่โตเต็มที่ แม้ไม่นา่ รักน่าเอ็นดูเหมือนลิงเด็ก แต่จอ๊ บก็ยงั คงเป็นดาวดวงหนึง่ ทีส่ วนสัตว์ เขาดินภาคภูมิใจและต้องกล่าวถึงตลอดไป

Chuang Chuang has his Thai name as “Dhe-wan” and “Kham Ai” in Lanna, and Lin Hui is called “Dhe-vi” in Thai and “Kham Euang” in Lanna.

ช่วง-ช่วง หลินฮุ่ย ทูตสันถวไมตรี พนด้ายักษ์เป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่งของโลก มีอยู่เฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น และมีสวนสัตว์เพียงไม่กี่แห่งเท่านั้นที่มีแพนด้ายักษ์ จัดแสดงให้ดู ซึ่งไทยนั้นก็มีช่วงช่วงและหลินฮุ่นเป็นแพนด้ายักษ์เพศผู้และเพศเมีย ที่สาธารณรัฐประชาชนจีนให้ประเทศไทยยืมจัดแสดงที่ สวนสัตว์เชียงใหม่ ในฐานะทูตสันถวไมตรีไทย-จีน ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 ทั้งคู่เกิดที่ศูนย์วิจัยและอนุรักษ์แพนด้ายักษ์ เขตอนุรักษ์ วู่หลง เมืองเฉินตู มณฑลเสฉวน โดยประเทศไทยมีสัญญากับจีนว่าจะทำการทดลองศึกษาวิจัยชีวิตหมีแพนด้าคู่นี้เป็นระยะเวลา 10 ปี ภายใต้โครงการ วิจัยและจัดแสดงหมีแพนด้า โดยสวนสัตว์เชียงใหม่เป็นผู้ดำเนินการ หลังจากนั้นจะต้องส่งกลับ รวมถึงลูกที่เกิดจากทั้งคู่ด้วย ทั้งสองตัวถูกเลี้ยงไว้ใน อาคารทีส่ ร้างขึน้ มาเฉพาะ มีหอ้ งกระจกควบคุมอุณหภูมใิ ห้เย็นฉ่ำ ซึง่ ใช้งบประมาณก่อสร้างราว 46 ล้านบาท และยังได้กนิ ใบไผ่พนั ธุจ์ นี ซึง่ สามารถ ปลูกได้ในเมืองไทย วันละ 30 กิโลกรัม แพนด้าช่วงช่วงและหลินฮุ่ยนั้นถือเป็นดาราสำคัญที่ดึงดูดให้คนไทยทั้งประเทศเดินทางไปยังสวนสัตว์เชียงใหม่ เพื่อดูหมีแพนด้าตัวจริงคู่แรกของไทย มีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อต้อนรับแพนด้าทั้งคู่ นอกจากนี้เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 สวนสัตว์เชียงใหม่ได้ จัดงานแต่งงานอย่างยิ่งใหญ่ 5 วัน 5 คืนให้อีกด้วย ช่วงช่วง มีชื่อไทยว่า “เทวัญ” และมีชื่อล้านนาว่า “คำอ้าย” ส่วน หลินฮุ่ย มีชื่อไทยว่า“เทวี” และมีชื่อล้านนาว่า “คำเอื้อง”

193


194

The Little Panda, Lin Ping

Jum and Jim - the first twin elephant in the world

in Ping is Chuang Chuang and Lin Hui’s first baby after such several attempts of their reproduction in Thailand. The baby panda became a celebrity of the zoo within the second she was born. Lin Ping was on every TV channel, and, most of all, there is a “Lin Ping” channel to broadcast her daily life to the public. The little panda’s popularity has improved Chiangmai tourism and also increased tremendous income to Chiangmai Zoo from entrance fees and related program activities.

“The mascots of the year 1997-1998” was the nickname given to the twin female elephants, Jum and Jim. They are regarded as the world’s first twin elephant. Their birth brought such excitement to the world because elephants normally are pregnant with only one baby at a time. Jum and Jim are babies of Pang Lamduan which originally is from Surin and now lives in Khao Kheow Open Zoo. They have been very popular among visitors, especially children. The twins have such lovely behavior, and also are very intelligent. Jum, the elder sister, is trained to play the harmonica, and Jim can dance whenever she hears the music. Unfortunately, Jum, the elder sister, suffered from food poisoning and died at a very young age. Jim, the younger, was left behind and sad for a long time. Now Jim is a fully grown elephant and visitors can still see her at Khao Kheow Open Zoo.

L

Lin Ping was born on 27 May 2009, with the weight of only 235 grams, after Lin Hui’s pregnancy of 97 days. Lin Ping means “the cold forest” and also “the forest of the Ping River”. The name was chosen from the contest held by the Zoological Park Organization’s Committee. There were four names in the final round, and the fans voted for their favorite one via post cards. Finally, Lin Ping was the most voted name-about 13 million votes.

แพนด้าน้อย หลินปิง”

จุ๋ม-จิ๋ม ช้างแฝดคู่แรกของโลก

ลินปิง เป็นทายาทของช่วงช่วงและหลินฮุย่ หลังจากทีอ่ งค์การ สวนสัตว์ได้พยายามมานานเพื่อผสมพันธุ์แพนด้าคู่แรกของ เมืองไทย นับได้ว่าเป็นดาราสวนสัตว์ที่ดังที่สุดตัวหนึ่ง เพราะ ตั้งแต่แพนด้าน้อยเกิดมา สื่อต่างๆ ให้ความสนใจอย่างมาก หนังสือพิมพ์ ทุกฉบับต่างลงหน้าหนึ่ง และติดตามชีวิตอย่างต่อเนื่อง หลินปิงได้ออก รายการโทรทัศน์ทุกช่อง ที่สำคัญยังเป็นสัตว์ตัวแรกมีช่องรายการโทรทัศน์ ของตัวเองถ่ายทอดสดในลักษณะเรียลลิตต้ี ลอด 24 ชัว่ โมง ให้กบั ประชาชน ทั่วไปได้ชื่นชมการเจริญเติบโต ทำให้แพนด้าน้อยมีแฟนคลับจำนวนมาก ความโด่งดังของหลินปิงยังส่งผลให้การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่กลับมา คึกคักอีกครั้งรวมถึงสร้างรายได้ให้กับสวนสัตว์เชียงใหม่จากค่าเข้าชมและ กิจกรรมต่างๆเป็นจำนวนมาก “หลินปิง” เกิดเมือ่ วันที่ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 หลังจากหลินฮุย่ อุม้ ท้อง 97 วัน น้ำหนักแรกเกิดเพียง 235 กรัม ชื่อหลินปิงนั้นมีความหมายว่า ป่าเมืองหนาว หรือป่าแห่งสายน้ำปิง ได้มา จากการจัดประกวดตั้งชื่อ โดยคณะกรรมการองค์การสวนสัตว์ฯ รวบรวม ชื่อที่มีผู้ส่งมาทั้งหมด และคัดเลือกเหลือ เพียง 4 ชื่อ จากนั้นเปิดโอกาส ให้ประชาชนลงคะแนนผ่านทางไปรษณียบัตร โดยหลินปิง เป็นชือ่ ทีไ่ ด้รบั การลงคะแนนเป็นอันดับ 1 ผ่านทางจดหมายและไปรษณียบัตร ถึง 13 ล้านฉบับ

“Thai Mascot of the year 1997-1998” เป็นฉายาที่ขนานนามให้กับ ช้างพัง จุ๋มและจิ๋ม ช้างแฝดคู่แรกที่เคยพบในโลกนี้ ตามปกติช้างจะตกลูก ครัง้ ละตัว การเกิดช้างแฝดในขณะนัน้ จึงถือว่าเป็นเรือ่ งน่าตืน่ เต้นเป็นอย่างยิง่ จุ๋มจิ๋มเป็นลูกของพังลำดวน แม่ช้างจากจังหวัดสุรินทร์ และได้เข้ามาอยู่ใน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว หลังคลอดลูกช้างทั้งคู่ได้รับความสนใจจากคนไทย ทั้งประเทศ โดยเฉพาะเด็กๆ ซึ่งจุ๋มและจิ๋มเมื่อเติบโตมากขึ้นก็ยิ่งทวีความ น่ารักน่าเอ็นดู มีความฉลาดสามารถฝึกให้ทำท่าทางต่างๆ จุม๋ แฝดพีม่ คี วาม สามารถพิเศษคือเป่าออร์แกนปากเป็นเพลง ส่วนจิ๋มเมื่อได้ยินเสียงที่จุ๋ม เป่าก็จะเต้นโยกตัวไปมาอย่างเข้าขากัน จนกลายเป็นขวัญใจในเวลาไม่นาน แต่นา่ เสียดายและเศร้าใจเมือ่ พังจุม๋ ผูพ้ ป่ี ว่ ยหนักจากอาหารเป็นพิษและจาก โลกนี้ไปในเวลาอันรวดเร็ว ทำให้พังจิ๋มแฝดผู้น้องต้องเหงาหงอยอยู่เป็น เวลานาน ปัจจุบันจิ๋มโตเป็นช้างพังเต็มวัยและยังอยู่ที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียว

195


196

197

Eastern sarus crane (Grus antigone) now live in Buriram’s wetlands. นกกระเรียนไทยหากินในธรรมชาติ พื้นที่ชุ่มน้ำจังหวัดบุรีรัมย์


198

199

Flat-headed Cat (Prionailurus planiceps) แมวป่าหัวแบน


200

201

Orangutan (Pongo pygmaeus) อุรังอุตัง


Animal Photo Index

202

ชื่อสามัญ ก กวางดาว 111 กวางป่า 102 กิ้งก่าเขาหนามสั้น 175 เก้งธรรมดา 191 ค ค่างห้าสี 156 โคอาล่า 36 จ จระเข้น้ำจืด 56, 98 จิงโจ้แดง 100 ช ช้างเอเชีย 57, 114, 117, 118, 195 ช้างแอฟริกา 67 ต ตะกอง 6 ตุ๊กกายดำนุ้ย 175 ตุ๊กกายท้าวแสนปม 175 เต่าหกเหลือง 82 น นกกก 2, 77 นกกระเรียนไทย 163, 172, 196 นกกาบบัว 50, 53, 58 นกเงือกปฐพี 99 นกเงือกหัวแรด 77, 136, 151 นกตะกรุม 160 นกพิราบหงอนวิคตอเรีย 42 นากเล็กเล็บสั้น 140 นิลกาย 81 พ แพนด้ายักษ์ 30, 164, 193, 194

203

Common Name ม ม้าลาย 63 แมวดาว 150 แมวน้ำเคปเฟอร์ 70, 138 แมวป่าหัวแบน 74, 198 ย ยีราฟ 44, 51, 63 ร แรดขาว 44, 68 แรดอินเดีย 32 ล ละอง ละมั่ง 97, 171 ลีเมอร์หางแหวน 48 ว วัวแดง 80 ส สมเสร็จ 85 สิงโต 60, 88, 94 เสือโคร่ง 43, 54, 126, 142 เสือดาว 64 เสือปลา 87 เสือลายเมฆ 47, 168 ห หมีขาว 23 เหี้ยดำ 174 อ อึ่งกรายข้างแถบ 175 อุรังอุตัง 148, 188, 192, 200 อูฐโหนกเดียว 101 ฮ ฮิปโปโปเตมัส 190

A African Elephant 67 Asian Elephant 57, 114, 117, 118, 195 Asian Forest Tortoise 82 B Banteng 80 Black water monitor 174 Burmese horned Toad 175 C Cape Fur Seal 70, 138 Clouded Leopard 47, 168 Common Muntjac 191 Common Zebra 63 D Dromedary Camel 101 Dumnui’s Bent-toed Gecko 175 E Eastern sarus crane 163, 172, 196 Eld’s Deer 97, 171 F Fishing Cat 87 Flat-headed Cat 74, 198 G Giant Panda 30, 164, 193, 194 Giraffe 44, 51, 63 Great Hornbill 2, 77 H Hippopotamus 190 I Indian Rhinoceros 32 Indochinese Water Dragon 6 K Koala 36

Scientific Name L Large-tubercled Bent-toed Gecko 175 Leopard 64 Leopard Cat 150 Lesser Adjutant 160 Lion 60, 88, 94

A Acanthosaura crucigera 175 Ailuropoda melanoleuca 30, 164, 193, 194 Aonyx cinerea 140 Arctocephalus pusillus 70, 138 Axis axis 111

M Malayan Tapir 85 Masked spiny Lizard 175

B Bos javanicus 80 Boselaphus tragocamelus 81 Brachytarsophrys carinensis 175 Buceros bicornis 2, 77 Buceros rhinoceros 77, 136, 151 Bucorvus leadbeateri 99

N Nilgai 81 O Orangutan 148, 188, 192, 200 Oriental small-clawed Otter 140 P Painted Stork 50, 53, 58 Polar Bear 23 R Red Kangaroo 100 Red-shanked douc 156 Rhinoceros Hornbill 77, 136, 151 Ring-tailed Lemur 48 S Sambar Deer 102 Siamese Crocodile 56, 98 Southern Ground Hornbill 99 Spotted Deer 111 T Tiger 43, 54, 126, 142 V Victoria-crowned Pigeon 42 W White Rhinoceros 44, 68

C Camelus dromedarius 101 Ceratotherium simum 44, 68 Crocodylus siamensis 56, 98 Cyrtodactylus dumnuii 175 Cyrtodactylus macrotuberculatus 175 E Elephas maximus 57, 114, 117, 118, 195 Equus burchellii 63 G Giraffa camelopardalis 44, 51, 63 Goura victoria 42 Grus antigone 163, 172, 196 H Hippopotamus amphibious 190 L Lemur catta 48 Leptoptilos javanicus 160 Loxodonta Africana 67

M Macropus rufus 100 Manouria emys 82 Muntiacus muntjak 191 Mycteria leucocephala 50, 53, 58 P Panthera leo 60, 88, 94 Panthera pardus 64 Panthera tigris 43, 54, 126, 142 Pardofelis nebulosa 47, 168 Phascolarctos cinereus 36 Physignathus cocincinus 6 Pongo pygmaeus 148, 188, 192, 200 Prionailurus bengalensis 150 Prionailurus planiceps 74, 198 Prionailurus viverrinus 87 Pygathrix nemaeus 156 R Rhinoceros unicornis 32 Rucervus eldii 97, 171 Rusa unicolor 102 T Tapirus indicus 85 U Ursus maritimus 23 V Varanus salvator 174


204

Publishing Committee / คณะผู้จัดทำ • Consultants / คณะที่ปรึกษา Mr.Sanchai Jullamon / สัญชัย จุลมนต์, Mr.Prayud Navacharoen / ประยุทธ นาวาเจริญ, Mr.Wisid Wichasilpa / วิศิษฏ์ วิชาศิลป์, Mr.Sumate Kamolnorranart / น.สพ.สุเมธ กมลนรนาถ • Story Editors / บรรณาธิการเรื่อง Mr.Wachara Sanguansombut / วัชระ สงวนสมบัติ, Ms.Jiraporn Chouethai / จิราภรณ์ เชื้อไทย • Photo Editor / บรรณาธิการภาพ Mr.Arun Roisri / อรุณ ร้อยศรี • Photographers / ถ่ายภาพ Mr.Arun Roisri / อรุณ ร้อยศรี, Mr.Roengrit Kongmuang / เริงฤทธิ์ คงเมือง, Mr.Roengchai Kongmuang / เริงชัย คงเมือง, Mr.Sittichai Jittatad / สิทธิชัย จิตตะทัต, Mr.Hinpha Pranprai / หินผา ปราณไพร • Translators / แปลภาษา Ms.Chorlada Suppaso / ช่อลดา สัพโส, Ms.May Singtoroj / เมย์ สิงโตโรจน์, Mr.Bhirawit Satthamnuwong / พีรวิชณ์ สัทธรรมนุวงศ์ • Proofreader / พิสูจน์อักษร Ms.Aunyarat Siammai / อัญรัตน์ เสียมไหม • Graphic Designer / ออกแบบกราฟิก Ms.Siriporn Pornsiritived / ศิริพร พรศิริธิเวช • Publishing Consultant / ประสานงานพิมพ์ Ms.Anassawee Pimpisarn / อนาสวี พิมพิสาร • Coordinator / ผู้ประสานงาน Mr.Attapon Srihayrun / อรรถพร ศรีเหรัญ • With the cooperation and support from / ขอขอบคุณผู้สนับสนุนข้อมูลจัดทำ Dr.Boripat Siriaroonrat / น.สพ.บริพัตร ศิริอรุณรัตน์, Dr.Ampika Thongphakdee / สพ.ญ.อัมพิกา ทองภักดี, Mr.Karn Lekagul / น.สพ.กานต์ เลขะกุล, Ms.Nuntanit Kulcharoen / นันทนิจ กุลเจริญ, Mr.Arnuparb Yhamdee / อานุภาพ แย้มดี, Ms.Ularika Kongprom / อุฬาริกา กองพรหม, Ms.Darada Tongtainunt / สพ.ญ.ดารกา ทองไทยนันท์, The Zoological Park Organization staff / เจ้าหน้าที่องค์การสวนสัตว์ • Special Thanks / ขอขอบคุณ Thephasadin Na Ayudhya’ s family / ครอบครัวเทพหัสดิน ณ อยุธยา ทีใ่ ห้ความอนุเคราะห์ภาพถ่ายในอดีต • Color, Plate / แยกสี เพลท System Four Graphic Co., Ltd. / บริษัท ซิสเต็ม โฟร์ กราฟฟิกส์ จำกัด • Printing / พิมพ์ที่ T.K. Printing Co., Ltd. / บริษัท ที.เค. พริ้นติ้ง จำกัด • Published by / จัดพิมพ์โดย The Zoological Park Organization under the Royal Patronage of His Majesty the King 71, Rama 5 Road, Dusit District, Bangkok 10300 / องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 71 ถ.พระราม 5 เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ISBN 978-616-316-056-0


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.