Enjoying your free trial? Only 9 days left! Upgrade Now
Brand-New
Dashboard lnterface
ln the Making
We are proud to announce that we are developing a fresh new dashboard interface to improve user experience.
We invite you to preview our new dashboard and have a try. Some features will become unavailable, but they will be added in the future.
Don't hesitate to try it out as it's easy to switch back to the interface you're used to.
No, try later
Go to new dashboard
ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ความหลากหลายทางชีวภาพของผืนป่าหลังสัมปทานป่าไม้ Read More
Home Explore ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ความหลากหลายทางชีวภาพของผืนป่าหลังสัมปทานป่าไม้
Publications:
Followers:
Follow
Publications
Read Text Version
More from ส่วนวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
P:03

คำ�นำ�

นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ

อธิบดีกรมป่าไม้

ความหลากหลายทางชีวภาพมีความส าคัญอย่างยิ่ง เกี่ยวข้องกับการด ารงชีวิตของมนุษย์

โดยเป็นปัจจัยพื้นฐานอันส าคัญไม่ว่าจะเป็นด้านอาหาร ยารักษาโรค ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ท าให้

มนุษย์มีชีวิตอยู่ได้อย่างผาสุกมากขึ้นเป็นล าดับ แต่ปัจจุบันการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์

เป็นผลให้มีความต้องการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพที่อยู่ในระบบ

นิเวศต่างๆ ซึ่งท าให้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้นลดลง และบางชนิดพันธุ์ได้สูญหายไปโดยเฉพาะ

....ระบบนิเวศป่าไม้

การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ไม่เพียงแต่พื้นที่ป่าที่หายไปเท่านั้น ความหลากหลายของพืช

สัตว์ และจุลินทรีย์ก็หายไปด้วยเช่นกัน ท าให้เราสูญเสียปัจจัยส าคัญของการด ารงชีวิต สูญเสีย

แหล่งทรัพยากรพันธุกรรมและโอกาสที่จะน ามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ต่อไป สูญเสียแหล่ง

ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ที่ช่วยลดโลกร้อน แหล่งอากาศบริสุทธิ์(ออกซิเจน) แหล่งดูดซับน้ าและ

แหล่งผลิตน้ า แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต และอื่นๆ

ในปี พ.ศ. 2557 กรมป่าไม้ได้ก าหนดเป้าหมายและด าเนินการในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

ป่าล าน้ าน่านฝั่งขวา อ าเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งอดีตเป็นพื้นที่ป่าที่ได้รับสัมปทานท าไม้

มาก่อน และมีผลการด าเนินงานเป็นที่ชื่นชมและน่าพอใจ ดังนั้นกรมป่าไม้จึงได้จัดท าหนังสือ

“ป่าล้าน ้าน่านฝั่งขวา ความหลากหลายทางชีวภาพของผืนป่าหลังสัมปทานท้าไม้” ขึ้น ที่มีทั้ง

เนื้อหาข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพทั้ง พืช สัตว์ แมลง เห็ดรา ไลเคนและภูมิปัญญาท้องถิ่น

ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของสังคมป่า การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืชและ

สัตว์ป่า การสูญเสียปริมาณการกักเก็บน้ า การสูญเสียปริมาณและมูลค่าการกักเก็บ

คาร์บอนไดออกไซด์ของเนื้อไม้ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ

ภาคเอกชน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้น าไปใช้ประโยชน์ต่อไป

จากความสำคัญดังกล่าว กรมป่าไม้ซึ่งดูแลและรักษาป่าไม้ของประเทศได้มอบหมายให้

กลุ่มงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้สำ นักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้จัดทำฐานข้อมูล

ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าไม้เพื่อใช้เป็นข้อมูลของฐานทรัพยากรป่าไม้ที่มีคุณค่า

และความสำคัญเกี่ยวข้องกับการดำ รงชีวิต เพื่อใช้ในการวิเคราะห์วางแผน วิจัยต่อยอดในเชิงลึก

ในด้านต่างๆ ได้แก่อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การแพทย์และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

P:04

CONTENTSป่

ลำ

น้ำน่

านฝั่งขว

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพของผืนป่

าหลังสัมปท

านทำไม้

บอกกล่

าวเล่

าคว

ป่

าสงวนแห่งช

าติป่

ลำ

น้ำน่

านฝั่งขว

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพของผืนป่

าหลังสัมปท

านทำไม้

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพที่สูญห

ายไปจ

ากอดีต

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพในปัจจุบัน

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพด้

านพืช

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพด้

านสัตว์

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพด้

านแมลง

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพด้

านเห็ดร

คว

ามหล

ากหล

ายท

างชีวภ

าพด้

านไลเคน

ภูมิปัญญ

าท้องถิ่นต้นทุนของแผ่นดิน

เรื่องเล่

ากพื้นที่

เอกส

ารอ้

างอิง

ดัชนีชื่อไทย

ดัชนีชื่อวิทย

าสตร์

คณะทำ

12

10

14

20

25

131

235

337

387

437

463

475

480

484

489

25 131 235

337 387 437

P:05

ดร.สุรางค์ เธียรหิรัญ

หัวหน้ากิจกรรมอนุรักษ์และพัฒนาด้าน

ความหลากหลายทางชีวภาพ

บอกกล่าว เล่าความ

หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือเล่มที่43

ที่ทางทีมงานตั้งใจท�ำเพื่อสื่อให้เห็นคุณค่า

ของความหลากหลายทางชีวภาพ ความรู้

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนอยู ่คู ่กับป ่าและ

ผืนป ่าที่ทุกคนต้องช ่วยกันดูแลและใช้

ประโยชน์ร่วมกัน

...............

ผืนป่าเป็นของทุกคนค่ะ

สวัสดีค่ะ ทุกๆท่าน กลุ่มงานความหลาก

หลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ยังคงเสนอเรื่องราวดีๆ

ข้อมูลดีๆ น ่าสนใจเกี่ยวกับการท�ำงานด้านความ

หลากหลายทางชีวภาพ ภายใต้กิจกรรม อนุรักษ์

และพัฒนาด้านความหลากหลายทางชีวภาพ

ในปีนี้“2557” เราได้ไปท�ำงานที่ป่าสงวนแห่งชาติ

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์

ร ่วมกับชุมชนบ้านห้วยเจริญ ชุมชนบ้านน�้ำต๊ะ

เจ้าหน้าที่ป้องรักษาป่าที่อต.1(ท่าปลา)และโรงเรียน

เจริญราษฎร์อุปถัมภ์

ผืนป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวาเคยได้รับสัมปทาน

ท�ำไม้สัก ก ่อนการประกาศจัดตั้งเป็นป ่าสงวน

แห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา ตั้งแต่ปี2515 และ

หยุดการท�ำไม้ในปี2532 ซึ่งเป็นปีประกาศยกเลิก

การให้สัมปทานท�ำไม้ทั่วประเทศไทย ต้นไม้ใหญ่

ที่ถูกตัดออกไปยังให้เห็นตอไม้อยู่บ้าง เช่น ไม้สัก

ไม้ยาง ไม้มะค่าโมง ซึ่งตอเหล่านี้มีขนาดใหญ่มาก

แสดงให้เห็นว่าในอดีตป่าผืนนี้เป็นป่าที่สมบูรณ์มาก

ดังนั้น จึงเป็นที่มาของหนังสือเล่มนี้“ป่าล�ำน�้ำน่าน

ฝั่งขวา ความหลากหลายทางชีวภาพของผืนป่า

หลังสัมปทานท�ำไม้”

ภายในหนังสือเล่มนี้ มีเนื้อหาเรื่องราวดีๆ

ของพื้นที่ป่าที่ได้รับสัมปทานไปแล้วว่าเป็นอย่างไร

เราสูญเสียอะไรและควรพื้นฟูป่าอย่างไรความหลาก

หลายทางชีวภาพในปัจจุบันเป็นอย่างไร

1

P:06

2 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

P:07

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 3

ความเป็นมา

2515 - 2536 2541 - 2551

2556

ปี 2515 ป่าผืนนี้ องค์การอุตสาหกรรม

ป่าไม้ ได้รับท�ำสัมปทานท�ำไม้สัก ตั้งแต่วันที่

30 มีนาคม 2515 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม

2545 โดยใช้ชื่อป่าผืนนี้ว่า “ป่าโครงการ

ล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา”

ปี 2541 ประกาศพื้นที่ตอนบนบางส่วน

เป็นอุทยานแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่าน

เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2541

ปี 2543 ประกาศให้พื้นที่ตอนบนด้าน

ทิศตะวันตกเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

ล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม

2543

ปี 2551 ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่าน

ฝั่งขวา มีเนื้อที่ 176,169.45 ไร่ แบ่งพื้นที่

ออกเป็น 2 โซน คือโซนที่ 1 เรียกว่าโซน

ป่าผาเลือด (ต�ำบลผาเลือด ต�ำบลร่วมจิต

ต�ำบลท่าปลา ต�ำบลหาดล้า)

มีเนื้อที่ 51,093.66 ไร่ และโซนที่ 2

เรียกว่า โซนป่าน�้ำหมัน (ต�ำบลน�้ำหมัน

ต�ำบลนางพญา ต�ำบลจริม ต�ำบลขุนฝาง)

มีเนื้อที่ 125,075.78 ไร่

ปี 2556 ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา มีเนื้อที่ 122,598.57 ไร่ มีพื้นที่ป่าลดลง

จากปี 2551 จ�ำนวน 53,570.88 ไร่ แบ่งเป็น

โซนป่าผาเลือด มีเนื้อที่ 42,777.68 ไร่ ลดลง 8,315.98 ไร่ คิดเป็น 16.28 %

โซนป่าน�้ำหมัน มีเนื้อที่ 79,820.88 ไร่ ลดลง 45,254.9 ไร่ คิดเป็น 36.18 %

ปี 2522ได้มีการประกาศกฎกระทรวง

ฉบับที่ 862 ออกตามความในพระราชบัญญัติ

ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ประกาศจัดตั้ง

ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา ตั้งอยู่ที่

ต�ำบลบ้านนาขาม ต�ำบลผาจุก อ�ำเภอเมือง

จังหวัดอุตรดิตถ์ และต�ำบลน�้ำหมัน ต�ำบล

ท่าปลา ต�ำบลนางพญา ต�ำบลจริม ต�ำบล

หาดล้า ต�ำบลผาเลือด อ�ำเภอท่าปลา จังหวัด

อุตรดิตถ์ มีเนื้อที่ ประมาณ 361,875 ไร่

ปี 2532ได้มีประกาศยกเลิกสัมปทาน

ท�ำไม้สัก โครงการป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ปี 2536 มอบพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมบางส่วน

ให้กับส�ำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการ

เกษตรกรรม

P:08

4 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

P:09

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 5

ขอบเขตจังหวัดอุตรดิตถ์

ป่าล�ำน�้ำน่าน

ฝั่งขวา

P:10

6 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

โซนที่ 1

แผนที่ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

โซนที่ 2

P:11

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 7

Zone 1

Zone 2

อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์

โซนที่ 1

พื้นที่ที่ไม่มีสภาพเป็นป่าแล้ว

ขอบเขตป่าสงวน ปี 2551

พื้นที่ป่า ปี 2556

P:12

8 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ทีมส�ำรวจโซนป่าผาเลือด

P:13

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 9

ทีมส�ำรวจโซนป่าน�้ำหมัน

P:14

10 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ความหลากหลายทางชีวภาพของผืนป่าหลัง

สัมปทานท�ำไม้

ปี 2557......กรมป่าไม้ ได้ส�ำรวจความหลากหลาย

ทางชีวภาพของพื้นที่ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา จังหวัด

อุตรดิตถ์ ซึ่งในอดีตปี 2515-2532 เป็นพื้นที่สัมปทาน

ท�ำไม้สัก ตั้งแต่นั้นมาป่าผืนนี้มีการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวนพื้นที่ป่าลดลง พื้นที่บางส่วนเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่ง

ของอุทยานแห่งชาติล�ำน�้ำน่าน พื้นที่อยู่อาศัยของ

ชุมชน และพื้นที่เกษตรกรรม

P:15

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 11

โซนป่าน�้ำหมัน ชาวบ้าน

อาสาที่อยู่บ้านน�้ำต๊ะ ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่อยู่

รอบผืนป่านี้ บอกกับพวกเราว่ายังมีป่าดิบ

เขาบนยอดเขาอยู่ แต่เมื่อทางทีมงานเดิน

ไปในพื้นที่นั้น ที่ความสูง 800 เมตร จาก

ระดับน�้ำทะเล เราก็ยังไม่พบป่าดิบเขาเลย

อย่างไรก็ตามในการส�ำรวจครั้งนี้เราพบ

ค้อ ( Livistona speciosa Kurz) 5 ต้น

ขางขาว (Xanthophllum virens

Roxb.) 2 ต้น และจ�ำปีป่า (Magnolia

baillonii Pierre) 3 ต้น ซึ่งเป็นพันธุ์พืชที่

พบได้ในป่าดิบเขา ดังนั้นการพบพืชกลุ่มนี้

จึงน่าจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าพื้นที่ป่าบริเวณนี้

เป็นป่าดิบเขามาก่อน สอดคล้องกับข้อมูล

การแปลตีความภาพถ่ายทางอากาศปี

2543 ของกรมป่าไม้ ที่แสดงให้เห็นว่า

บริเวณนี้เป็นป่าดิบเขา เนื่องจากพื้นที่นี้ได้

ท�ำสัมปทานไม้สัก จึงท�ำให้ต้นไม้ใหญ่

หลายชนิดถูกตัดออกไปด้วย เมื่อต้นไม้

ใหญ่หายไป พื้นที่นี้จึงมีความชื้นน้อยลง

อุณหภูมิสูงขึ้น สภาพป่าจึงมีการ

เปลี่ยนแปลงจากป่าดิบเขา เป็นป่า

เบญจพรรณ ดังนั้นในปี 2557 พื้นที่ป่า

โซนน�้ำหมัน เราจึงพบแต่สังคมพืชป่า

เบญจพรรณ เท่านั้น ประกอบกับชาวบ้าน

เข้าใช้พื้นที่ปลูกกล้วยเป็นจ�ำนวนมาก จึง

เป็นการยากที่ระบบนิเวศป่าเดิมจะคืนมา

สังคมป่าเปลี่ยนไป

ค้อ

จ�ำปีป่า

ขางขาว

P:16

12 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

การฟื้นฟูป่า

หลังจากยกเลิกสัมปทานไม้สัก ในปี

2532 และในปี 2549 ได้เกิดอุทกภัย

ดินถล่มในพื้นที่หมู่บ้านน�้ำต๊ะและหมู่บ้าน

น�้ำลี ต่อมาได้มีการฟื้นฟูป่าจากหลาย

หน่วยงาน มีการปลูกป่าไม้สักเป็นจ�ำนวน

มาก ซึ่งเป็นพืชเชิงเดี่ยว จึงท�ำให้ระบบ

นิเวศป่าเดิมเปลี่ยนไป ประกอบกับชุมชน

เข้าไปท�ำไร่กล้วยและปลูกยางพาราใน

พื้นที่เป็นจ�ำนวนมาก

ดังนั้นในการฟื้นฟูป่าในพื้นที่ป่าหลัง

สัมปทานท�ำไม้ พื้นที่ป่าที่เกิดอุทกภัย

พื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกแผ้วถาง หรือพื้นที่ป่า

เสื่อมโทรม ไม่ควรน�ำพืชเชิงเดี่ยวเข้ามา

ปลูกทดแทน หรือปลูกเป็นสวนป่า โดย

เฉพาะพื้นที่ที่เป็นภูเขาและเป็นแหล่งต้นน�้ำ

ซึ่งจะท�ำให้ความหลากหลายทางชีวภาพ

ของสังคมพืชป่าดั้งเดิมหายไป ควรน�ำ

ชนิดพันธุ์พืชที่มีอยู่เดิมในพื้นที่เข้าไปปลูก

เสริมในป่า เพื่อให้ระบบนิเวศป่าคืนมา

เหมือนเดิม ซึ่งจะเป็นการฟื้นฟูป่าที่แท้จริง

และเป็นการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง

ชีวภาพ ลดการสูญเสีย และเพิ่มโอกาส

ในการน�ำทรัพยากรความหลากหลายของ

พันธุกรรมในพื้นที่มาใช้ประโยชน์ใน

อนาคต

จากข้อมูลนี้ กรมป่าไม้เห็นความส�ำคัญที่

จะต้องฟื้นฟูป่าเดิมให้กลับคืนมาเพื่อเป็น

พื้นที่ต้นน�้ำที่ผลิตน�้ำ เป็นพื้นที่เก็บกักน�้ำเพื่อ

อุปโภค บริโภคของทุกคน โดยให้หน่วยงาน

ในพื้นที่ น�ำข้อมูลชนิดพันธุ์พืชดั้งเดิมเข้าไป

ปลูกทดแทนและเสริมในพื้นที่ นี่เป็น

ตัวอย่างหนึ่งของการน�ำข้อมูลความหลาก

หลายทางชีวภาพมาใช้บริหารจัดการฟื้นฟู

พื้นที่ป่า

เมื่อป่าคืนสภาพกลับมาเหมือนเดิม ความ

หลากหลายของพรรณพืช สัตว์ แมลง

เห็ดรา ไลเคน จุลินทรีย์ในดิน ก็จะมีมากขึ้น

ท�ำให้ในอนาคต เรามีโอกาสเห็นป่าดั้งเดิม

ในอดีต ที่จะใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเหล่า

นี้ต่อการด�ำรงชีวิตของเรา ไม่ว่าจะเป็นแหล่ง

น�้ำ อาหาร ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม เครื่อง

ใช้ไม้สอย อากาศบริสุทธิ์ และอื่นๆ อีก

มากมาย ลดความเสียหายจากภัยพิบัติ

น�้ำท่วม ดินถล่ม เหมือนที่เคยเกิดขึ้น ในพื้นที่

นี้มาก่อน ดังนั้นจึงเป็นการฟื้นฟูป่าอย่าง

แท้จริง และรักษาป่าเดิมได้อย่างยั่งยืน

P:17

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 13

โซนป่าน�้ำหมันปัจจุบันยังคงเป็นแหล่งต้นน�้ำที่ส�ำคัญ โดยยังคงมีตาน�้ำ

ในป่า เรียกว่าน�้ำซับ ซึ่งกว้างประมาณ 2 เมตรไหลซึมขึ้นมาจากพื้นดิน

ตลอดเวลา และไหลลงสู่ล�ำห้วยน�้ำต๊ะ ล�ำห้วยน�้ำรี และลงสู่เขื่อนสิริกิติ์

แหล่งต้นน�้ำ

ดังนั้น...ถ้าผืนป่านี้กลับมา

อุดมสมบูรณ์เป็นป่าดังเดิม

เหมือนในอดีตก่อนสัมปทานท�ำ

ไม้ เราคงมีป่าที่สามารถเก็บกัก

น�้ำที่ส�ำคัญและช่วยแก้ไขปัญหา

น�้ำท่วม น�้ำแล้ง ได้อย่างยั่งยืน

น�้ำซับ

P:18

14 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ความหลากหลายทางชีวภาพ

...ของพรรณพืชที่สูญหายไปจากอดีต

ข้อมูลสภาพป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา อ�ำเภอท่าปลา

จังหวัดอุตรดิตถ์ จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม ปี พ.ศ. 2556 ป่าล�ำน�้ำน่าน

ฝั่งขวามีพื้นที่หายไปจากปี 2551 จ�ำนวน 53,570.88 ไร่ แบ่งเป็นโซน

ป่าผาเลือด เนื้อที่ 8,315.98 ไร่ และโซนป่าน�้ำหมัน เนื้อที่ 45,254.90 ไร่

เราสามารถหาการสูญเสียของพรรณพืชที่หายไปได้ โดยเปรียบเทียบชนิด

ป่าที่หายไปจากข้อมูลการวางแปลงตัวอย่างส�ำรวจสังคมพืช ดังนี้

พรรณพืช

แบ่งตาม

การใช้ประโยชน์

พรรณไม้ที่หายไป

(ต้น)

เต็งรัง เบญจพรรณ

พืชสมุนไพร 313,235 127,943

พืชอาหาร 155,232 381,481

ที่อยู่อาศัย 1,388,769 46,952

เครื่องใช้สอย 651,418 188,980

ไม้ดอกไม้ประดับ 224,531 64,558

พืชอื่นๆ 188,496 230,062

โซนป่าผาเลือด

พรรณพืช

แบ่งตาม

การใช้ประโยชน์

พรรณไม้ที่หายไป

(ต้น)

เบญจพรรณ

พืชสมุนไพร 1,644,261

พืชอาหาร 4,902,614

ที่อยู่อาศัย 603,399

เครื่องใช้สอย 2,428,680

ไม้ดอกไม้ประดับ 829,673

พืชอื่นๆ 2,956,653

โซนป่าน�้ำหมัน

ชนิดป่าที่หายไปในพื้นที่ 8,315.98 ไร่ ชนิดป่าที่หายไปในพื้นที่ 45,254.90 ไร่

P:19

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 15

ชนิดป่าที่หาย

ไปในพื้นที่

8,315.98 ไร่

จ�ำนวน

พรรณไม้

ที่หายไป

(ล้านต้น)

ปริมาณการกัก

เก็บน�้ำ (ล้าน

ลูกบาศก์เมตร)

ปริมาณการกักเก็บ

คาร์บอนไดออกไซด์

ของเนื้อไม้ (ตัน)

มูลค่าของการกักเก็บ

คาร์บอนไดออกไซด์

ของเนื้อไม้

(ล้านบาท)

เต็งรัง 2.92 1.92 48,703.92 38.65

เบญจพรรณ 1.04 3.48 100,484.77 79.73

การสูญเสียความสามารถในการกักเก็บน�้ำ

ชนิดป่าที่หาย

ไปในพื้นที่

45,254.90

ไร่

จ�ำนวน

พรรณไม้

ที่หายไป

(ล้านต้น)

ปริมาณการกัก

เก็บน�้ำ (ล้าน

ลูกบาศก์เมตร)

ปริมาณการกักเก็บ

คาร์บอนไดออกไซด์

ของเนื้อไม้ (ตัน)

มูลค่าของการกักเก็บ

คาร์บอนไดออกไซด์

ของเนื้อไม้

(ล้านบาท)

เบญจพรรณ 13.37 18.91 440,601.69 349.62

จ�ำนวนพรรณพืชที่หายไปโดยใช้ข้อมูลการวางแปลงส�ำรวจพรรณพืชในชนิดป่าต่างๆ

ข้อมูลการกักเก็บน�้ำของพื้นที่ป่าแต่ละชนิดป่า

ที่มา ส่วนวิจัยต้นน�้ำ ส�ำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน�้ำ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์

พืช (http://www.dnp.go.th/watershed/waterholding/waterholding.htm#table)

ในการค�ำนวณมูลค่าของการกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ของเนื้อไม้ ใช้ราคา 793.5 บาท/ตัน

ที่มา : งานวิจัยเรื่อง แบบจ�ำลองเพื่อประเมินมูลค่าป่าต้นน�้ำ ของ ดร.พงษ์ศักดิ์

วิทวัชชุติกุล

และพิณทิพย์ ธิติโรจนวัฒน์ ปี 2552

CO2

มูลค่าและการกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์...ของเนื้อไม้

โซนป่าน�้าหมัน

โซนป่าผาเลือด

P:20

16 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

สัตว์ป่า คือ สิ่งมีชีวิตที่เป็นองค์

ประกอบหนึ่งของความหลากหลายทางชีวภาพ บางชนิด

สามารถใช้เป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่า เช่น นกเงือก

เป็นนกที่ชอบอาศัยและท�ำรังตามต้นไม้ใหญ่ หากต้นไม้ถูกท�ำลายนกเงือก

ก็ไม่มีแหล่งอาศัยจึงต้องอพยพไป เพื่อความอยู่รอดสัตว์ป่ามีบทบาทส�ำคัญในระบบ

นิเวศหากสัตว์ป่าถูกคุกคาม หรือ สูญพันธุ์จะมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ไม่ทางตรง

ก็ทางอ้อม ตัวอย่างเช่น การล่าเก้ง กวาง และสัตว์อื่นๆ เป็นจ�ำนวนมาก เพื่อเป็นอาหาร

ของมนุษย์ส่งผลให้สัตว์กินเนื้อ เช่น เสือโคร่งสูญหายไปจากพื้นที่ป่าได้เช่นกันเนื่องจากไม่มี

เก้งและกวางที่เป็นอาหารของเสือโคร่ง

การสญู

เสียความหลากหลายทางชว

ภาพ

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา ในอดีตเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากแห่งหนึ่งทาง

ภาคเหนือของประเทศไทย แต่เมื่อเวลาผ่านไปช่วงระยะเวลาหนึ่ง ป่าแห่งนี้มีการจัดท�ำ

สัมปทานไม้และมีผู้คนได้เข้ามาอาศัยเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้ต้นไม้ในพื้นที่ป่า

ถูกตัดโค่น และมีการแผ้วถางป่าเพื่อเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ส่งผลให้พื้นที่ป่า

ซึ่งเป็นถิ่นอาศัยและพืชอาหารของสัตว์ป่ามีปริมาณลดลงอย่างรวดเร็ว

จนท�ำให้สัตว์ป่าหลายชนิดที่เคยพบเจอในอดีตกลับพบเจอ

ได้ยากและบางชนิดสูญหายไปจากพื้นที่

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวาแห่งนี้ไปแล้ว

้านสัตว์ปา่

P:21

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 17

ล�ำดับ ชื่อทั่วไป ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 เลียงผา Common Serow Capricornis sumatraensis

Bovidae

2 หมาจิ้งจอก Golden Jackal Canis aureus Canidae

3 หมาใน Dhole Cuon alpinus Canidae

4 ลิงวอก Rhesus

Macaque

Macaca mulatta Cercopithecidae

5 ลิงกัง Pig-tailed

Macaque

Macaca nemestrina Cercopithecidae

6 ลิงอ้ายเงี้ยะ Assamese

Macaque

Macaca assamensis Cercopithecidae

7 ค่างแว่น

ถิ่นเหนือ

Phayre’s Langur Semnopithecu

phayrei

Cercopithecidae

8 กวางป่า Sambar Cervus unicolor Cervidae

9 เก้งหม้อ Fea’s muntjac Muntiacus feae Cervidae

10 เก้งธรรมดา Muntjac Muntiacus muntjak Cervidae

11 เสือไฟ Asian Golden Cat Catopuma temminckii Felidae

12 เสือดาว Leopard Panthera pardus Felidae

13 เสือโคร่ง Tiger Panthera tigris Felidae

14 เสือปลา Fishing Cat Prionailurus

viverrinnus

Felidae

15 แมวดาว Leopard Cat Prionailurus

bengalensis

Felidae

กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

รายชื่อสัตว์ป่าที่เคยพบในอดีต การสญู

เสียความหลากหลายทางชว

ภาพ

P:22

18 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อทั่วไป ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

16 ชะนีธรรมดา White-handed

Gibbon

Hylobates lar Hylobatidae

17 เม่นหางพวง Brush-tailed

Porcupine

Atherurus macrourus Hystricidae

18 ลิงลม Slow Loris Nycticebus coucang Lorisidae

19 ลิ่นชวา Sunda Pangolin Mangolin javanica Manidae

20 หมูหริ่ง Hog Badger Arctonyx collaris Mustelidae

21 หมาหริ่ง Large-toothed

Ferret Badger

Melogale personata Mustelidae

22 กระรอก

ท้องแดง

Pallas’s Squirrel Callosciurus

erythraeus

Sciuridae

23 พญากระรอก

ด�ำใหญ่

Black Giant

Squirrel

Ratufa bicolor Sciuridae

24 หมีควาย Asiatic Black Bear Ursus thibetanus Ursidae

25 หมีหมา Sun Bear Ursus malayanus Ursidae

26 หมีขอ Binturong Arctictis binturong Viverridae

27 ชะมดเช็ด Small lndian

Civet

Viverricula indica Viverridae

28 ชะมดแผง

หางปล้อง

Large Indian

Civet

Viverra zibetha Viverridae

29 อีเห็นข้างลาย Common Palm

Civet

Paraboxurus hermaphroditus

Viverridae

30 อีเห็นหน้าขาว Three-striped

Palm Civet

Arctogalidia trivirgata Viverridae

P:23

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 19

กลุ่มนก

ล�ำดับ ชื่อทั่วไป ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 นกแก๊ก Oriental Pied

Hornbill

Anthracoceros

albirostris

Bucerotidae

2 นกมูม Mountain

Imperial Pigeon

Ducula badia Columbidae

3 นกเขาเปล้า

ธรรมดา

Thick-billed

Green Pigeon

Treron curvirostra Columbidae

4 นกเปล้า

ขาเหลือง

Yellow-footed

Green Pigeon

Treron

phoenicoptera

Columbidae

5 นกตะขาบดง Dollarbird Eurystomus orientalis Coraciidae

6 นกเขียวคราม Asian Fairy

Bluebird

Lrena puella Lrenidae

7 ไก่ฟ้าพญาลอ Siamese Fireback Lophura diardi Phasianidae

8 นกหกเล็ก

ปากแดง

Vernal Hanging

Parrot

Loriculus vernalis Psittacidae

9 นกกะลิง Grey-headed

Parakeet

Psittacula finschii Psittacidae

10 นกแก้วหัวแพร Blossom-headed

Parakeet

Psittacula roseata Psittacidae

ล�ำดับ ชื่อทั่วไป ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 เต่าใบไม้ Asian Leaf Turle Cyclemys dentate

complex

Platysernidae

2 เต่าใบไม้ท้องด�ำ Black-breasted

Leafturle

Geoemyda

spengleri

Platysernidae

กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน

P:24

20 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ในปี พ.ศ. 2557

จากการส�ำรวจความหลากหลาย

ทางชีวภาพในพื้นที่ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ที่ยังคงสภาพเป็นป่าอยู่นั้น พบว่า ป่าใน

พื้นที่แบ่งเป็น 2 โซน คือ โซนป่าผาเลือด

และโซนป่าน�้ำหมัน ป่าผืนนี้ประกอบ

ไปด้วยป่าเบญจพรรณ

ป่าเต็งรัง

P:25

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 21

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ภูมิปัญญาท้องถิ่น 3 สาขา 12 เรื่อง

ที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ

พรรณพืช 108 313 426

สัตว์ป่า 100 167 211

แมลง 50 171 204

เห็ดรา 23 41 83

ไลเคน 19 35 58

วงศ์

วงศ์

วงศ์

วงศ์

วงศ์

สกุล

สกุล

สกุล

สกุล

สกุล

ชนิด

ชนิด

ชนิด

ชนิด

ชนิด

P:26

22 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

พบที่ระดับความสูงประมาณ

200-480 เมตร จากระดับน�้ำทะเล

ลักษณะ ป่าค่อนข้างโปร่ง ความโตของต้น

มีขนาดใหญ่แต่ต้นไม้ขึ้นห่างๆ กัน พบ

ไม้ไผ่ขึ้นปะปน เช่น ไผ่ซาง ไผ่ข้าวหลาม

เป็นต้น มีไม้ผลัดใบหลายชนิด เช่น

ประดู่ป่า มะค่าโมง แดง ชิงชัน กระพี้จั่น

กระพี้เขาควาย เป็นต้น กล้วยไม้ที่พบ

เช่น เข็มขาว เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิด

เอื้องนิ่มดอกเหลือง เอื้องดอกมะขาม

เขาแพะ กะเรกะร่อน เป็นต้น

ค่าดัชนีความส�ำคัญทางนิเวศวิทยา

(Important value index : IVI)

แปลงตัวอย่างขนาด 40×40 เมตร จ�ำนวน 3

แปลง พบไม้ใหญ่ (Tree) จ�ำนวน 449 ต้น

มีพรรณไม้ทั้งหมด 54 ชนิด พรรณไม้เด่น คือ

ประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus Kurz)

สัก (Tectona grandis L.f.) แดง (Xylia

xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib

& Hutch.) I.C.Nielsen) ตะคร้อ (Schleichera

oleosa (Lour.) Oken และ งิ้วป่า (Bombax

anceps Pierre var. anceps) ที่มีค่าดัชนีความ

ส�ำคัญทางนิเวศวิทยาเป็น 43.56, 39.02, 21.52,

17.59 และ 11.66 ตามล�ำดับ

ป่าเบญจพรรณ

(โซนป่าผาเลือด)

ชนิดป่าและพรรณพืช

ป่าเบญจพรรณ (Mixed Dipterocarp Forest)

P:27

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 23

พบที่ระดับความสูงประมาณ

100-550 เมตร จากระดับน�้ำทะเล

ลักษณะ พื้นที่มีความลาดชันสูง มีสังคม

ป่าเบญจพรรณที่มีการฟื้นตัว ท�ำให้ต้นไม้

มีขนาดเล็กและขึ้นหนาแน่น พบไม้ไผ่ขึ้น

ปะปน เช่น ไผ่ซาง ไผ่ไร่ เป็นต้น มีพรรณไม้

หลายชนิด เช่น ชิงชัน เม่าสร้อย มะไฟป่า

ขี้เหล็กฤาษีปอเต่าไห้กาสามปีก กุ๊ก

โมกมัน เป็นต้น กล้วยไม้ที่พบ เช่น

เอื้องมังกร เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิด เป็นต้น

ป่าเบญจพรรณ

(โซนป่าน�้ำหมัน)

ค่าดัชนีความส�ำคัญทางนิเวศวิทยา

(Important value index : IVI)

แปลงตัวอย่างขนาด 40×40 เมตร จ�ำนวน

3 แปลง พบไม้ใหญ่ (Tree) จ�ำนวน 653 ต้น

มีพรรณไม้ทั้งหมด 61 ชนิด พรรณไม้เด่น คือ

เม่าสร้อย (Antidesma acidum Retz.)

ปอแก่นเทา (Grewia eriocarpa Juss)

ติ้วขน (Cratoxylum formosum (Jack)

Dyer subsp. pruniflorum (Kurz) Gogel)

พฤกษ์(Albizia lebbeck (L.) Benth.)

และ กุ๊ก (Lannea coromandelica

(Houtt.) Merr.) ที่มีค่าดัชนีความส�ำคัญทาง

นิเวศวิทยาเป็น 83.71, 18.91, 17.83, 16.03

และ 15.93 ตามล�ำดับ

P:28

24 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ค่าดัชนีความส�ำคัญทางนิเวศวิทยา

(Important value index : IVI)

แปลงตัวอย่างขนาด 40×40 เมตร จ�ำนวน 3

แปลง พบไม้ใหญ่ (Tree) จ�ำนวน 876 ต้น มี

พรรณไม้ทั้งหมด 49 ชนิด พรรณไม้เด่น คือ

เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume)

รัง (Shorea siamensis Miq.) กระทุ่มเนิน

(Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze)

กุ๊ก (Lannea coromandelica (Houtt.)

Merr.) และ ประดู่ป่า (Pterocarpus

macrocarpus Kurz) ที่มีค่าดัชนีความส�ำคัญ

ทางนิเวศวิทยาเป็น 69.49, 45.24, 22.10,

19.19 และ 17.31 ตามล�ำดับ

พบที่ระดับความสูงประมาณ

100-250 เมตร จากระดับน�้ำทะเล ลักษณะ

เป็นป่าโปร่ง การกระจายตัวของสังคมป่า

เต็งรังเริ่มจากตีนเขาไปจนถึงสันเขา ต้นไม้

ขึ้นห่างๆ กันมีลักษณะแคระแกร็น ป่ามี

ความแห้งแล้งมากในฤดูแล้งและมีไฟป่าเกิด

ขึ้นทุกปีดินมีลักษณะเป็นหินและดินทราย

พรรณไม้ที่พบ เช่น เต็ง รัง พลวง รักใหญ่

มะขามป้อม กระทุ่มเนิน กุ๊ก เป็นต้น

กล้วยไม้ที่พบ เช่น ช้างกระ ก้างปลา

เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิด เป็นต้น

ป่าเต็งรัง

(โซนป่าผาเลือด)

ป่าเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest)

P:30

PLANT

26 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาไม่สูงชัน

มีความสูงประมาณ 100-500 เมตร จากระดับ

น�้ำทะเล แนวสันเขาลาดชันไม่มาก มีล�ำห้วย

ขนาดเล็กตามเชิงเขาหลายสาย ไหลรวมกันลงสู่

แม่น�้ำน่าน สภาพพื้นที่เป็นดินทรายมีหินโผล่

บางส่วน สังคมพืชเป็นป่าเบญจพรรณและ

ป่าเต็งรัง พบต้นไม้ขนาดใหญ่เป็นจ�ำนวนมาก

ซึ่งแสดงให้เห็นว่าพื้นท่่ีนี้ยังไม่ได้เข้ามาท�ำไม้

พรรณไม้ที่พบใน ป่าเบญจพรรณ ได้แก่ตะลุมพุก

สัก ประดู่ป่า แดง ขันทองพยาบาท และรกฟ้า

เป็นต้น พรรณพืชที่พบในป่าเต็งรัง ได้แก่ เต็ง รัง

พลวง เหียง และขว้าว เป็นต้น พื้นที่ป่าบริเวณ

นี้ได้มีการจัดตั้ง ป่าชุมชนบ้านห้วยเจริญ

มีเนื้อที่1,800 ไร่ อยู่ในความดูแลของชุมชน

หมู่บ้านห้วยเจริญ ต�ำบลผาเลือด ชุมชนพึ่งพิงการ

ใช้ประโยชน์จากป่า ได้แก่ผักหวานป่า ไม้ไผ่

หนอนรถด่วน และเห็ด เป็นต้น

ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงชันมาก

มีความสูงประมาณ 100-1,000 เมตร จากระดับ

น�้ำทะเล แนวสันเขามีความลาดชันมาก มีล�ำห้วย

ขนาดเล็ก มีเส้นทางเดินสามารถเดินตัดออกได้

หลายเส้นทาง สภาพพื้นที่เป็นดินหินตะกอน

ผุง่าย มีชั้นดินหนาง่ายต่อการเกิดดินถล่ม สังคม

พืชเป็นป่าเบญจพรรณ มีต้นไม้หนุ่มขึ้นหนาแน่น

พบร่องรอยสัมปทานท�ำไม้ในอดีตอย่างชัดเจน

พรรณพืชที่พบต่างจากโซนป่าผาเลือด ได้แก่ค้อ

ขี้เหล็กฤาษีมะไฟป่า โพบาย สะแล่งหอมไก๋

มะฝ่อ และเฟิน เป็นต้น พื้นที่โดยรอบถูกเปลี่ยน

เป็นสภาพพื้นที่เกษตร เช่น ข้าวโพด สวนกล้วย

มะม่วงหิมพานต์และยางพารา เป็นต้น ชุมชน

โดยรอบป่ามีอาชีพเกษตรกรรม มีการพึ่งพิงใช้

ประโยชน์จากของป่า ได้แก่ตองกง ไม้ไผ่ น�้ำผึ้ง

เห็ด บอน ดอกก้าน และสะแล เป็นต้น

โซนป่าผาเลือด

โซนป่าน�้ำหมัน

ความหลากหลายของพืช

P:31

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

27

เช่น หิ่งหนู ถั่วขน โหนดดิน หางหมา สลัด

มูกเตี้ยน้อย กะหน๊าด ตองลาย เป็นต้น

สมุนไพร 128 ชนิด เช่น โสมไทย ดีหมี

ยอป่า สมอไทย มะดูก เนระพูสีไทย รางจืด

ว่านมหาเมฆ ว่านขันหมาก ชิงชี่ เป็นต้น

อาหาร 92 ชนิด เช่น มะหวด ล�ำไยป่า

งิ้ว กลอย บอนเต่า มะเดื่อปล้อง คอแลน

แห้วประดู่ กระเจียวขาว มันเสา เป็นต้น

สร้างที่อยู่อาศัย 27 ชนิด เช่น พะยูง

ส้านหิ่ง กระดูกค่าง กระพี้เขาควาย สักหิน

ซ้อ ขว้าว ส้านใบเล็ก ฉนวน รกฟ้า เป็นต้น

เครื ่องใช้สอย 61 ชนิด เช่น ค�ำแสด ค้อ

คราม ตะขบควาย มะเกลือ ตะคร�้ำ ล�ำพูป่า

ปอกระสา กระแจะ ลิเภาป่า ตองงุม เป็นต้น

ไม้ดอกไม้ประดับ 68 ชนิด เช่น พันจ�ำ

เข็มขาว ปีบ ด้าง แพ่งเครือ ข้าวเหนียวลิง

ทองเดือนห้า ชายผ้าสีดา ช้างกระ เป็นต้น

ไม่มีข้อมูลการใช้ประโยชน์50 ชนิด

ความหลากหลายของพืช

พบ 426 ชนิด แบ่งออกเป็น

พืชหายาก (TRD: Plants (2006)) 2ชนิด คือ เขือง และสีดาบุนทา

TRD : Thailand Red Data

P:32

PLANT

28 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Wallichia siamensis Becc. วงศ์ Arecaceae

ปาล์มขนาดเล็ก แตกกอขึ้นเป็นกลุ่มหนาแน่น มีเส้นใยของกาบใบปกคลุมหนาแน่น ใบประกอบ

แบบขนนกชั้นเดียว ยาว 1.5-2.8 เมตร ขอบใบหยักไม่เป็นระเบียบ มีผงสีน�้ำตาลแดงปกคลุม

กาบใบยาว 30-50 เซนติเมตร ช่อดอกแยกเพศร่วมต้น ช่อดอกเพศเมียอยู่ใกล้ปลายยอด

กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ผลรูปรีถึงมนรีสีแดงหรือม่วง พบเฉพาะในประเทศไทย ตามป่าดิบเขา

เขือง

พืชหายาก

P:33

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

29

Madhuca floribunda (Pierre) H.J.Lam วงศ์ Sapotaceae

ไม้ต้น เปลือกเรียบเกลี้ยง สีน�้ำตาล แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับล�ำต้นและกิ่งเดิม ใบเดี่ยว เรียงเวียน

สลับ คล้ายเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง รูปใบหอกกลับถึงรูปไข่กลับแกมขอบขนาน ด้านบนสีเขียว

ด้านล่างสีอ่อนกว่า ดอกออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก

8 กลีบ ผลสดรูปกลมหรือรูปรีมี1-4 เมล็ด กลีบเลี้ยงติดทน พบตามป่าเบญจพรรณ

สีดาบุนทา

พืชหายาก

P:34

PLANT

30 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

รายชื่อความหลากหลายของพรรณพืช

พืชสมุนไพร

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

1 อังกาบ Barleria cristata L. Acanthaceae รากเป็นยาขับปัสสาวะ

2 สังกรณี Barleria strigosa

Willd.

Acanthaceae รากเป็นยาแก้ร้อนใน

ดับพิษไข้

3 เข็มม่วง Eranthemum album

Nees

Acanthaceae ต้นและรากต้มน�้ำดื่ม

ต้านอนุมูลอิสระ

4 รางจืด Thunbergia laurifolia

Lindl.

Acanthaceae ใบและรากใช้ถอนพิษ

ยาฆ่าแมลง

5 พันงู Achyranthes aspera

L.

Amaranthaceae ต้นใช้ขับประจ�ำเดือน

ขับปัสสาวะ

6 เครือข้าว

ตอก

Aerva sanguinolenta

Blume

Amaranthaceae ทั้งต้นต้มน�้ำดื่มแก้

เบาหวาน บ�ำรุงโลหิต

7 ผักขม

หนาม

Amaranthus

spinosus L.

Amaranthaceae รากแก้อาการช�้ำใน

แก้จุกเสียด

8 หญ้าพันงู

แดง

Cyathula prostrata

Blume

Amaranthaceae ต้นใช้ขับปัสสาวะ

ดอกใช้ขับเสมหะ

9 มะม่วงหัว

แมงวัน

Buchanania lanzan

Spreng.

Anacardiaceae เปลือกต้นต้มน�้ำดื่มแก้

อักเสบจากพืชพิษ

10 ธนนไชย Buchanania

siamensis Miq.

Anacardiaceae ล�ำต้นและรากต้มน�้ำ

ดื่มแก้ผิดส�ำแดง

11 กุ๊ก Lannea

coromandelica

(Houtt.) Merr.

Anacardiaceae เปลือกแก้ปวดฟัน

โซนป่าผาเลือด โซนป่าน�้าหมัน โซนป่าผาเลือดและโซนป่าน�้าหมัน

P:35

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

31

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

12 สะแกแสง Cananga latifolia

(Hook.f. & Thomson)

Finet & Gagnep.

Annonaceae รากแก้พิษไข้เซื่องซึม

13 หางรอก Miliusa velutina

(Dunal) Hook.f. &

Thomson

Annonaceae เปลือกต้มน�้ำ น�ำน�้ำ

มาอมรักษาอาการ

ปากเปื่อย

14 ยางโอน Polyalthia viridis

Craib

Annonaceae เปลือกต้มดื่มเป็น

ยาแก้ปวด

15 ระย่อม Rauvolfia serpentina

(L.) Benth. ex Kurz

Apocynaceae รากต้มดื่มแก้ไข้

และลดความดัน

16 โมกมัน Wrightia arborea

(Dennst.) Mabb.

Apocynaceae ดอกเป็นยาระบายช่วย

ขับลม

17 ว่าน

ขันหมาก

Aglaonema simplex

Blume

Araceae ใช้เป็นยาระงับอาการ

ภูมิแพ้

18 หูหมี Thottea tomentosa

(Blume) Ding Hou

Aristolochiaceae ใช้เป็นยาชูก�ำลัง

19 อบเชย

เถา

Atherolepis pierrei

Costa var. glabra

Kerr

Asclepiadaceae รากใช้ปรุงเป็นยาหอม

แก้อาการหน้ามืด

20 กระเพาะ

ปลา

Finlaysonia maritima

Backer ex K.Heyne

Asclepiadaceae ทั้งต้นกินเป็น

ยาระบายขับเสมหะ

21 สาบแร้ง

สาบกา

Ageratum

conyzoides L.

Asteraceae รากและใบคั้นน�้ำทา

รักษาแผลสด

22 โกฐจุฬา

ลัมพา

Artemisia annua L. Asteraceae ใช้ลดไข้

รักษาโรคมาลาเรีย

พืชสมุนไพร

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน

P:36

PLANT

32 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

23 ผักกาด

โคก

Blumeopsis flava

(DC.) Gagnep.

Asteraceae รากใช้อุดฟัน

แก้ปวดฟัน

24 สาบเสือ Chromolaena

odoratum (L.)

R.M.King & H.Rob.

Asteraceae ใบบดแล้วน�ำมาห้าม

เลือด

25 กะเม็ง Eclipta prostrata

(L.) L.

Asteraceae ใบใช้รักษาแผลสด

ห้ามเลือด

26 ขี้เหล็ก

ย่าน

Mikania cordata

(Burm.f.) B.L.Rob.

Asteraceae ใบใช้พอกแผลบวมและ

รักษาโรคหิด

27 ผักแครด Synedrella nodiflora

(L.) Gaertn.

Asteraceae ทั้งต้นใช้เป็นยาแก้ปวด

ขาหรือปวดหู

28 แคขาว Dolichandrone

serrulata (DC.)

Seem.

Bignoniaceae เปลือกต้มรับประทาน

แก้ท้องร่วง

29 หญ้างวง

ช้าง

Heliotropium

indicum L.

Boraginaceae ทั้งต้นน�ำมาต้มน�้ำดื่ม

เป็นยาแก้ไอ

30 ราชาวดี

ป่า

Buddleja asiatica

Lour.

Buddlejaceae ทั้งต้นใช้รักษาโรค

ผิวหนัง

31 มะกอก

ฟาน

Canarium

bengalense Roxb.

Burseraceae เปลือกและใบต�ำ

ละเอียดทาแก้ปวดบวม

32 ชิงชี่ Capparis

micracantha DC.

Capparaceae รากใช้ขับลมภายใน

แก้ไข้โรคกระเพาะ

33 ผักเสี้ยนผี Cleome viscosa L. Capparaceae ทั้งต้นแก้ขับลม ใบต�ำ

พอกศีรษะแก้ปวดหัว

34 ข้าวสาร

ค่าง

Cardiopteris

quinqueloba

(Hassk.) Hassk.

Cardiopteridaceae ใบรักษาโรคผิวหนังที่

เกิดจากเชื้อรา

พืชสมุนไพร

P:37

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

33

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

35 มะดูก Siphonodon

celastrineus Griff.

Celastraceae รากต้มบ�ำรุงกระดูก

น�้ำเหลือง

36 บุนนาค Mesua ferrea L. Clusiaceae ดอกเป็นยาฝาดสมาน

บ�ำรุงธาตุขับเสมหะ

37 งวงชุ่ม Combretum pilosum

Roxb.

Combretaceae ใบเป็นยาขับพยาธิ

38 สมอพิเภก Terminalia bellirica

(Gaertn.) Roxb.

Combretaceae ผลอ่อนเป็นยาระบาย

39 สมอไทย Terminalia chebula

Retz. var. chebula

Combretaceae ผลเป็นยาระบายอ่อนๆ

แก้พิษร้อนใน

40 ผักปลาบ

ช้าง

Floscopa scandens

Lour.

Commelinaceae น�้ำคั้นจากต้นใช้

หยอดตาแก้เจ็บตา

41 ว่านข้าว

เหนียว

Murdannia edulis

(Stokes) Faden

Commelinaceae รากต้มน�้ำดื่ม

เป็นยาระบาย

42 กินกุ้ง

น้อย

Murdannia nudiflora

(L.) Brenan

Commelinaceae ล�ำต้นแก้โรคบิด แก้ไข้

รักษาอาการปวดบวม

43 โหนดดิน Peliosanthes teta

Andrews subsp.

humilis (Andrews)

Jessop

Convallariaceae รากและล�ำต้นใต้ดิน

ดองสุราแก้ปวดเมื่อย

44 จิงจ้อ

เหลี่ยม

Operculina

turpethum (L.) Silva

Manso

Convolvulaceae น�้ำยางในรากใช้เป็น

ยาระบายอ่อนๆ

45 ต�ำลึงตัวผู้ Solena amplexicaulis

(Lam.) Gandhi

Cucurbitaceae รากต้มน�้ำดื่ม

เป็นยาระบาย

46 พะยอม Shorea roxburghii

G.Don

Dipterocarpaceae เปลือกใช้ต้มดื่ม

แก้อาการท้องเดิน

พืชสมุนไพร

P:38

PLANT

34 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

47 พญา

รากด�ำ

Diospyros variegata

Kurz

Ebenaceae รากต้มเป็นยากษัย

48 ตองแตก Baliospermum

solanifolium (Burm.)

Suresh

Euphorbiaceae รากฝนทาแก้ฟกช�้ำ

ต้มน�้ำดื่มเป็นยา

ระบาย

49 ครามน�้ำ Breynia retusa

(Dennst.) Alston

Euphorbiaceae ล�ำต้นและรากใช้ผสม

สมุนไพรอื่นดื่มแก้ไข้

50 เต็งหนาม Bridelia retusa (L.)

A.Juss.

Euphorbiaceae เปลือกเป็นยาฝาด

สมาน

51 ขางน�้ำผึ้ง Claoxylon indicum

(Reinw. ex Blume)

Endl. ex Hassk.

Euphorbiaceae ล�ำต้นต�ำพอกแก้ปวดหู

แก้หูอื้อ

52 ดีหมี Cleidion spiciflorum

(Burm.f.) Merr.

Euphorbiaceae แก่นเป็นยาขับเหงื่อ

แก้ไข้ปวดศีรษะ

53 เปล้า

น�้ำเงิน

Croton

cascarilloides

Raeusch.

Euphorbiaceae รากต้มน�้ำดื่มแก้ไข้

54 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii

N.P.Balakr.

Euphorbiaceae เปลือกและใบ

แก้ท้องเสีย

55 หญ้ายาง Euphorbia

heterophylla L.

Euphorbiaceae ใบอ่อนเป็นยาถ่ายหรือ

ยาระบาย

56 น�้ำนม

ราชสีห์

Euphorbia hirta L. Euphorbiaceae น�้ำยางน�ำไปรักษาแผล

สดให้แผลแห้งไว

57 สอยดาว Mallotus

paniculatus Müll.Arg.

Euphorbiaceae รากต้มเป็นยาบ�ำรุง

หลังการคลอด

58 ลูกใต้ใบ Phyllanthus amarus

Schumach. & Thonn.

Euphorbiaceae ทั้งต้นแก้ไข้

ปวดท้องบิด

พืชสมุนไพร

P:39

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

35

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

59 มะขาม

ป้อม

Phyllanthus

emblica L.

Euphorbiaceae ผลสดขับเสมหะ

ผลแห้งบ�ำรุงโลหิต

60 ขันทอง

พยาบาท

Suregada

multiflorum (A.Juss.)

Baill.

Euphorbiaceae เปลือกต้นเป็นยา

แก้โรคผิวหนัง

61 มะฝ่อ Trewia nudiflora L. Euphorbiaceae รากและเปลือก

เป็นยาขับลม

62 ขยัน Bauhinia

strychnifolia Craib

FabaceaeCaesalpinioideae

เหง้าต้มดื่ม

แก้ผิดส�ำแดง

63 โผงเผง Senna hirsuta (L.)

Irwin & Barneby

FabaceaeCaesalpinioideae

ใบใช้รักษาโรคผิวหนัง

64 หนามหัน Acacia comosa

Gagnep.

FabaceaeMimosoideae

รากเป็นยาแก้

ริดสีดวงทวาร

65 ส้มป่อย Acacia concinna

(Willd.) DC.

FabaceaeMimosoideae

ผลน�ำไปเข้ายาแก้ไอ

แก้เจ็บคอ

66 ทิ้งถ่อน Albizia procera

(Roxb.) Benth.

FabaceaeMimosoideae

ผลเป็นยาขับลม

แก้ท้องอืด

67 ไมยราบ

ขาว

Mimosa diplotricha

C.Wright ex Sauvalle

FabaceaeMimosoideae

ใบและล�ำต้น

ใช้ขับปัสสาวะ

68 ไมยราบ

ต้น

Mimosa pigra L. FabaceaeMimosoideae

ต้นต้มเป็นยาขับเสมหะ

69 หญ้าปัน

ยอด

Mimosa pudica L. FabaceaeMimosoideae

ทั้งต้นน�ำไปท�ำเป็นชา

ช่วยลดคอเลสเตอรอล

70 ทองเครือ Butea superba

Roxb.

FabaceaePapilionoideae

บ�ำรุงผิวพรรณให้

เปล่งปลั่ง

71 แปบผี Cajanus goensis

Dalzell

FabaceaePapilionoideae

รากหรือล�ำต้นต้มดื่ม

แก้ประจ�ำเดือนผิดปกติ

พืชสมุนไพร

P:40

PLANT

36 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

72 หิ่งเม่น

น้อย

Crotalaria alata

Buch.-Ham. ex

D.Don

FabaceaePapilionoideae

ทั้งต้นต้มอาบ

แก้อาการฟกช�้ำ

73 หิ่งหายใบ

เล็ก

Crotalaria albida

Heyne ex Roth

FabaceaePapilionoideae

รากใช้เป็นยาระบาย

74 หางไหล

แดง

Derris elliptica

(Roxb.) Benth.

FabaceaePapilionoideae

เถาสดต�ำผสมน�้ำมันพืช

รักษาเหาหิด

75 อีเหนียว Desmodium

gangeticum (L.) DC.

FabaceaePapilionoideae

รากใช้เป็นยาขับ

ปัสสาวะ

76 หนาดค�ำ Desmodium

oblongum Wall. ex

Benth.

FabaceaePapilionoideae

รากและล�ำต้นดอง

เป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง

77 หางเสือ Flemingia stricta

Roxb. ex W.T.Aiton

FabaceaePapilionoideae

ใบน�ำไปต้มเป็นยา

บ�ำรุงก�ำลัง

78 หมามุ้ย Mucuna pruriens

(L.) DC.

FabaceaePapilionoideae

เมล็ดเป็นยารักษาโรค

บุรุษ

79 เกล็ดปลา

ช่อน

Phyllodium

pulchellum(L.) Desv.

FabaceaePapilionoideae

ทั้งต้นปรุงเป็นยาแก้

พยาธิใบไม้ในตับ

80 ถั่วเสี้ยน

ป่า

Pueraria

phaseoloides

(Roxb.) Benth.

FabaceaePapilionoideae

ใบหรือรากแห้งผสมใบ

โผงเผงแห้งบดท�ำยาลูก

กลอนกินแก้ไข้

81 หญ้าหาง

อ้น

Uraria

lagopodioides (L.)

Desv. ex DC.

FabaceaePapilionoideae

รากฝนน�้ำปูนใสทา

แก้ฝี

82 กระเบา

ใหญ่

Hydnocarpus

anthelminthicus

Pierre ex Laness.

Flacourtiaceae น�้ำมันสกัดจากเมล็ด

ใช้รักษาโรคเรื้อนและ

อาการปวดบวมตามข้อ

พืชสมุนไพร

P:41

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

37

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

83 เมื่อย Gnetum montanum

Markgr.

Gnetaceae ผสมล�ำต้นเถาเอ็นอ่อน

ต้มน�้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อย

84 หญ้า

ดอกค�ำ

Hypoxis aurea Lour. Hypoxidaceae รากต้มน�้ำดื่ม บ�ำรุง

โลหิต ฝนทาแก้สิวฝ้า

85 กอมก้อ

ห้วย

Anisomeles indica

(L.) Kuntze

Lamiaceae ใช้พอกแผลงูกัด

86 สวอง Vitex limonifolia

Wall.

Lamiaceae ใบใช้พอกแผล แก้ไข้

87 หมีเหม็น Litsea glutinosa

(Lour.) C.B.Rob.

Lauraceae ใบและเมล็ดต�ำพอกฝี

แก้ปวด

88 จิกนา Barringtonia

acutangula (L.)

Gaertn.

Lecythidaceae เปลือกลดไข้

แก้มาลาเรีย

89 กะตังใบ Leea indica (Burm.f.)

Merr.

Leeaceae รากต้มน�้ำดื่ม

แก้ปวดท้อง ท้องเสีย

90 กาฝาก

แก่นเทา

Scurrula

atropurpurea

(Blume) Dans.

Loranthaceae ใบและดอกต้มน�้ำดื่ม

บ�ำรุงโลหิต

91 ชะมดต้น Abelmoschus

moschatus Medik.

subsp. moschatus

Malvaceae ใบรักษากลากเกลื้อน

เมล็ดใช้เข้ายาขับลม

92 หญ้าขัด

ใบป้อม

Sida cordifolia L. Malvaceae รากแก้โรคกระเพาะ

แก้ไข้

93 หญ้าขัด Sida rhombifolia L. Malvaceae ต้นและใบต้มใส่เกลือ

เป็นยาบ้วนปาก

94 ขี้ครอก Urena lobata L. Malvaceae ต้นและใบใช้ต้มดื่ม

รักษาโรคไตพิการ

พืชสมุนไพร

P:42

PLANT

38 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

95 ตาเสือ Aphanamixis

polystachya (Wall.)

R.Parker

Meliaceae เปลือกเป็นยาแก้ช�้ำใน

96 กระท่อม

เลือด

Stephania venosa

(Blume) Spreng.

Menispermaceae ผลเผาไฟทั้งลูกประคบ

แก้ปวด

97 บอระเพ็ด Tinospora crispa (L.)

Miers ex Hook.f. &

Thomson

Menispermaceae รากเป็นยาเจริญอาหาร

แก้ไข้สูง

98 ผักขวง Glinus oppositifolius

(L.) A.DC.

Molluginaceae ทั้งต้นแก้ไข้แก้ร้อนใน

แก้ไอ ทาแก้ฟกช�้ำบวม

99 หาด Artocarpus lacucha

Roxb.

Moraceae รากเป็นยาแก้ไข้

ขับพยาธิ

100 เดื่อหว้า Ficus auriculata

Lour.

Moraceae รากรักษาโรคทางเดิน

ปัสสาวะ

101 มะเดื่อ

หอม

Ficus hirta Vahl Moraceae รากต้มน�้ำดื่มบ�ำรุง

หัวใจ แก้ผิดส�ำแดง

102 มะเดื่อ

อุทุมพร

Ficus racemosa L. Moraceae ต้นเข้ายาแก้ปวดเมื่อย

103 ข่อย Streblus asper Lour. Moraceae รากใช้ขับปัสสาวะ

104 ผักขมหิน Boerhavia diffusa L. Nyctaginaceae ทั้งต้นใช้ขับเสมหะ

105 ตาล

เหลือง

Ochna integerrima

(Lour.) Merr.

Ochnaceae ผลแก้พิษ แก้ไข้

แก้อาหารไม่ย่อย

106 หญ้าหนู

ต้น

Dianella ensifolia

(L.) DC.

Phormiaceae รากต้มน�้ำดื่มแก้อาการ

ท้องผูก ช่วยขับลม

107 เครือสาม

ปีก

Plagiopteron

suaveolens Griff.

Plagiopteraceae ล�ำต้นน�ำไปเข้ายา

รักษาโรคกระดูกพรุน

พืชสมุนไพร

P:43

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

39

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

108 หญ้า

ตีนกา

Eleusine indica (L.)

Gaertn.

Poaceae รากแก้อาการท้องอืด

ลดไข้ขับปัสสาวะ

109 โสมคน Talinum

paniculatum (Jacq.)

Gaertn.

Portulacaceae ใบแก้อาการบวม

อักเสบมีหนอง

110 มะคังแดง Dioecrescis

erythroclada (Kurz)

Tirveng.

Rubiaceae เปลือกต้นต�ำพอกแผล

สดห้ามเลือด

111 ส้มกบ Hymenodictyon

orixense (Roxb.)

Mabb.

Rubiaceae ราก แก่น และเปลือก

แก้ไข้แก้กระหายน�้ำ

112 กระทุ่ม

เนิน

Mitragyna

rotundifolia (Roxb.)

Kuntze

Rubiaceae เปลือกรักษาแผลติด

เชื้อ รักษาโรคผิวหนัง

113 ยอป่า Morinda tomentosa

Heyne ex Roth

Rubiaceae รากแก้เบาหวาน

แก่นใช้บ�ำรุงเลือด

114 หญ้าตด

หมา

Paederia pilifera

Hook.f.

Rubiaceae รากต้มน�้ำ ใช้บ้วนปาก

รักษาอาการปวดฟัน

115 ข้าวสาร Prismatomeris

fragrans E.T.Geddes

Rubiaceae ล�ำต้นหรือราก

ต้มนํ้าดื่มบ�ำรุงกําลัง

116 กระดุมใบ

ใหญ่

Spermacoce

latifolia Aubl.

Rubiaceae รากต้มน�้ำดื่มเป็นยาแก้

ท้องเสีย

117 หญ้าน�้ำ

ดับไฟ

Lindenbergia

philippensis (Cham.)

Benth.

Scrophulariaceae ทั้งต้นแก้พิษฝี

แผลน�้ำร้อนลวก

ไฟไหม้

118 กรดน�้ำ Scoparia dulcis L. Scrophulariaceae ใบชงน�้ำดื่มแก้ไอ

พืชสมุนไพร

P:44

PLANT

40 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

119 คนทา Harrisonia perforata

(Blanco) Merr

Simaroubaceae เปลือกและรากรสขม

รักษาโรคทางเดิน

ล�ำไส้และแก้ไอ

120 โทงเทง Physalis angulata L. Solanaceae ทั้งต้น ต�ำพอกรักษา

แผลหรือฝีที่มีหนอง

121 ปอขี้อ้น Helicteres viscida

Blume

Sterculiaceae ใบใช้แช่น�้ำอาบแก้

อาการผื่นคัน

122 ตูมกาขาว Strychnos

nux–blanda A.W.Hill

Strychnaceae รากต้มน�้ำดื่มเป็นยา

แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ

123 เนระพูสี

ไทย

Tacca chantrieri

Andre

Taccaceae ทั้งต้นต้มน�้ำดื่มเป็นยา

บ�ำรุงร่างกาย รักษา

โรคกระเพาะ

124 สารภีป่า Anneslea fragrans

Wall.

Theaceae เปลือกและดอก

ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ

125 ปอเต่าไห้ Enkleia siamensis

(Kurz) Nevling

Thymelaeaceae รากต้มน�้ำดื่มเป็นยา

ระบาย

126 ข้าวตาก Grewia hirsuta Vahl Tiliaceae ต้นต้มน�้ำดื่มแก้อาการ

ปวดท้องเกร็ง

127 ชุมแสง Xanthophyllum

lanceatum (Miq.)

J.J.Sm.

Xanthophyllaceae ราก เปลือก ล�ำต้น

และใบ แช่น�้ำอาบ แก้

โรคผิวหนังเปื่อยผุพอง

128 ว่าน

มหาเมฆ

Curcuma aeruginosa

Roxb.

Zingiberaceae เหง้าต้มน�้ำดื่มแก้โรค

กระเพาะ แก้ท้องร่วง

แก้หืดหอบหายใจไม่

ปกติแก้ไข้

พืชสมุนไพร

P:45

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

41

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

1 ปรู Alangium

salviifolium (L.f.)

Wangerin subsp.

hexapetalum

Wangerin

Alangiaceae ผลสดรับประทานได้

2 มะม่วงป่า Mangifera

caloneura Kurz

Anacardiaceae ผลสดรับประทานได้

3 กินนิง Mangifera odorata

Griff.

Anacardiaceae ผลรับประทานได้

4 มะกอก Spondias pinnata

(L.f.) Kurz

Anacardiaceae ผลสดรับประทานได้

5 เทียนข้าว

เปลือก

Anethum

graveolens L.

Apiaceae ยอดอ่อนน�ำมา

ประกอบอาหาร

6 บุก Amorphophallus

krausei Engl.

Araceae หัวน�ำมาประกอบ

อาหารคาวหวาน

7 บุกคางคก Amorphophallus

paeoniifolius

(Dennst.) Nicolson

Araceae หัวน�ำมานึ่ง

รับประทานได้

8 บุก Amorphophallus

yunnanensis Engl.

Araceae ก้านใบลวกจิ้มกับ

น�้ำพริกหรือท�ำแกงส้ม

9 เผือก Colocasia esculenta

(L.) Schott

Araceae หัว ใบ และก้านใบ

ใช้ท�ำอาหารคาวหวาน

10 คูน Colocasia gigantea

Hook.f.

Araceae ใบน�ำมาแกง ก้านใบ

ลวกจิ้มกับน�้ำพริก

11 บอนเต่า Hapaline

benthamiana

Schott

Araceae ช่อดอก ยอดอ่อนทั้ง

ก้าน และใบ

รับประทานได้

พืชอาหาร

P:46

PLANT

42 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

12 ผักหนาม Lasia spinosa (L.)

Thwaites

Araceae ยอดอ่อนน�ำมา

รับประทานเป็นผัก

13 ต้างหลวง Trevesia palmata

(Roxb. ex Lindl.) Vis.

Araliaceae ดอกอ่อนน�ำมาลวกจิ้ม

กับน�้ำพริก

14 เต่าร้าง Caryota sp. Arecaceae หัวน�ำมาแกงหน่อไม้

15 กระเช้าผี

มด

Aristolochia tagala

Cham.

Aristolochiaceae ผลสุกและยอดอ่อน

รับประทานได้

16 ผักกาด

ช้าง

Crassocephalum

crepidioides (Benth.)

S.Moore

Asteraceae ใบรับประทานกับลาบ

หรือลวกจิ้มกับน�้ำพริก

17 ผักเผ็ด Spilanthes

paniculata Wall.

ex DC.

Asteraceae ยอดอ่อนน�ำมาลวกจิ้ม

น�้ำพริก

18 ตีนตุ๊กแก Tridax procumbens

L.

Asteraceae เป็นพืชอาหารสัตว์

19 ผักกูดขาว Diplazium

esculentum (Retz.)

Sw.

Athyriaceae ใบน�ำมาประกอบ

อาหารหรือลวกจิ้มกับ

น�้ำพริก

20 แคหาง

ค่าง

Fernandoa

adenophylla (Wall.

ex G.Don) Steenis

Bignoniaceae ดอกน�ำมาประกอบ

อาหาร

21 เพกา Oroxylum indicum

(L.) Kurz

Bignoniaceae ยอดอ่อนและฝักอ่อน

รับประทานได้

22 แคทราย Stereospermum

neuranthum Kurz

Bignoniaceae ดอกและยอดอ่อน

รับประทานได้

23 งิ้วป่า Bombax anceps

Pierre var. anceps

Bombacaceae ฝักอ่อนต้มจิ้มน�้ำพริก

หรือแกงส้ม

พืชอาหาร

P:47

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

43

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

24 งิ้ว Bombax ceiba L. Bombacaceae เกสรตากแห้งท�ำน�้ำยา

ขนมจีนน�้ำเงี้ยว

25 ผักกาด

น�้ำดอก

เหลือง

Rorippa indica (L.)

Hiern

Brassicaceae ยอดอ่อนน�ำมาลวกจิ้ม

น�้ำพริก

26 มะกอก

เกลื้อน

Canarium

subulatum

Guillaumin

Burseraceae ผลสดรับประทานได้

27 มะดะ

หลอด

Garcinia

pedunculata Roxb.

ex Buch.-Ham.

Clusiaceae ผลสดรับประทานได้

28 ผักปลาบ Commelina diffusa

Burm.f.

Commelinaceae ทั้งต้นน�ำมาประกอบ

อาหาร

29 นางแลว Aspidistra

sutepensis K.Larsen

Convallariaceae ดอกน�ำมาประกอบ

อาหาร

30 นางเลว Tupistra albiflora

K.Larsen

Convallariaceae ช่อดอกอ่อนและผลน�ำ

มาประกอบอาหาร

31 จิงจ้อ

เหลือง

Merremia vitifolia

(Burm.f.) Hallier f.

Convolvulaceae ยอดอ่อนและดอก

น�ำมาประกอบอาหาร

32 บวบหอม Luffa cylindrica (L.)

M.Roem

Cucurbitaceae ยอดอ่อนและผลอ่อน

น�ำมาประกอบอาหาร

33 มะระ Momordica

charantia L.

Cucurbitaceae ผลน�ำมาลวก

จิ้มน�้ำพริกได้

34 แตงหนู Mukia

maderaspatana (L.)

M.Roem.

Cucurbitaceae ยอดอ่อนน�ำมา

ประกอบอาหาร

35 มันเสา Dioscorea alata L. Dioscoreaceae หัวใต้ดินรับประทานได้

พืชอาหาร พืชอาหาร

P:48

PLANT

44 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

36 กลอย Dioscorea hispida

Dennst. var. hispida

Dioscoreaceae หัวกลอยใช้เป็นอาหาร

แต่ต้องล้างสารพิษออก

37 ค้อนหมา

ขาว

Dracaena

angustifolia Roxb.

Dracaenaceae ดอกน�ำมาแกง

หรือลวกจิ้มน�้ำพริก

38 เม่าสร้อย Antidesma acidum

Retz.

Euphorbiaceae ผลสดรับประทานได้

39 มะไฟ Baccaurea ramiflora

Lour.

Euphorbiaceae ผลสดรับประทานได้

40 มันปลา Glochidion

sphaerogynum

(Müll.Arg.) Kurz

Euphorbiaceae ยอดอ่อน

รับประทานได้

41 ก้างปลา

เครือ

Phyllanthus

reticulatus Poir.

Euphorbiaceae ใบอ่อนน�ำมาประกอบ

อาหาร

42 ผักยอด

ทอง

Phyllanthus roseus

(Craib & Hutch.)

Beille

Euphorbiaceae ใบและยอดอ่อน

รับประทานได้

43 ช้าเรือด Caesalpinia

mimosoides Lam.

FabaceaeCaesalpinioideae

ยอดอ่อนรับประทาน

ได้

44 เขลง Dialium

cochinchinense

Pierre

FabaceaeCaesalpinioideae

ผลรับประทานได้

45 ชะอม Acacia pennata (L.)

Willd. subsp. insuavis

(Lace) I.C.Nielsen

FabaceaeMimosoideae

ยอดอ่อนและใบอ่อน

น�ำมาประกอบอาหาร

46 ถั่วลาย Centrosema

pubescens Benth.

FabaceaePapilionoideae

เป็นพืชอาหารสัตว์

พืชอาหาร

P:49

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

45

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

47 ขางครั่ง Dunbaria bella Prain FabaceaePapilionoideae

เป็นพืชอาหารสัตว์

48 แห้ว

ประดู่

Eriosema chinense

Vogel

FabaceaePapilionoideae

หัวรับประทานได้

49 มันแกว Pachyrhizus erosus

(L.) Urb.

FabaceaePapilionoideae

หัวรับประทานได้

50 ตะขบป่า Flacourtia indica

(Burm.f.) Merr.

Flacourtiaceae ผลสดรับประทานได้

51 กระบก Irvingia malayana

Oliv. ex A.W.Benn.

Irvingiaceae เมล็ดน�ำมาคั่ว

รับประทานได้

52 หญ้ายาย

เภา

Lygodium

flexuosum (L.) Sw.

Lygodiaceae ใบและยอดอ่อน

น�ำมาประกอบอาหาร

53 กรุงเขมา Cissampelos pareira

L. var. hirsuta (Buch.

ex DC.) Forman

Menispermaceae ใบน�ำมาประกอบ

อาหารลักษณะคล้าย

วุ้น

54 สะแล Broussonetia kurzii

(Hook.f.) Corner

Moraceae ดอก ผล และใบ

น�ำมาประกอบอาหาร

55 มะเดื่อ

ขี้นก

Ficus chartacea

Wall. ex King var.

chartacea

Moraceae ผลแก่และยอดอ่อน

รับประทานได้

56 ชิ้งขาว Ficus fistulosa

Reinw. ex Blume

Moraceae ยอดอ่อนและผล

รับประทานได้

57 มะเดื่อ

ปล้อง

Ficus hispida L.f. Moraceae ผลอ่อนลวกจิ้มน�้ำพริก

58 เลียบ Ficus infectoria Roxb. Moraceae ใบใช้ประกอบอาหาร

59 หม่อน

หลวง

Morus macroura

Miq.

Moraceae ผลสดรับประทานได้

พืชอาหาร

P:50

PLANT

46 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

60 กล้วยป่า Musa acuminata

Colla

Musaceae ผลสุก ผลอ่อนและ

หัวปลีรับประทานได้

61 กล้วยหก Musa itinerans

Cheeseman

Musaceae ผลรับประทานได้

62 หว้าหิน Syzygium

claviflorum (Roxb.)

A.M.Cowan & Cowan

Myrtaceae ผลสดรับประทานได้

63 ผักหวาน

ป่า

Champereia

manillana (Blume)

Merr.

Opiliaceae ยอดและใบอ่อน

รับประทานได้

64 ดอกดิน

แดง

Aeginetia indica L. Orobanchaceae ดอกคั้นน�้ำให้สีม่วง

ใช้เป็นสีผสมอาหาร

65 ผักสาบ Adenia viridiflora

Craib

Passifloraceae ผลรับประทานได้

66 กะทกรก Passiflora foetida L. Passifloraceae ผลสุกรับประทานได้

67 อ้ายเบี้ยว Pentaphragma

begoniifolium

(Roxb. ex Jack) Wall.

ex G.Don

Pentaphragmataceae

ใบรับประทานได้

68 ผักกระสัง Peperomia pellucida

(L.) Humb., Bonpl. &

Kunth

Piperaceae ทั้งต้นน�ำไปประกอบ

อาหารได้

69 ช้าพลู Piper sarmentosum

Roxb.

Piperaceae ใบรับประทานได้

70 หญ้าปาก

ควาย

Dactyloctenium

aegyptium (L.)

P.Beauv.

Poaceae เป็นพืชอาหารสัตว์

พืชอาหาร

P:51

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

47

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

71 ไผ่ไร่ Gigantochloa

albociliata (Munro)

Munro

Poaceae หน่อน�ำมารับประทาน

ได้

72 หญ้าไข่

แมงดา

Oplismenus

compositus (L.)

P.Beauv.

Poaceae เป็นพืชอาหารสัตว์

73 หญ้าไข่

เหา

Panicum incomtum

Trin.

Poaceae เป็นพืชอาหารสัตว์

74 เสือแกลก Panicum maximum

Jacq.

Poaceae เป็นพืชอาหารสัตว์

75 พุทรา Ziziphus mauritiana

Lam.

Rhamnaceae ผลสุกรับประทานได้

76 เล็บ

เหยี่ยว

Ziziphus oenoplia

(L.) Mill. var.

oenoplia

Rhamnaceae ผลสุกรับประทานได้

77 ก�ำจัดต้น Zanthoxylum

limonella (Dennst.)

Alston

Rutaceae เมล็ดตากแห้งใช้เป็น

เครื่องเทศ

78 โคก

กระออม

Cardiospermum

halicacabum L.

Sapindaceae ใบลวกจิ้มน�้ำพริก

79 มะหวด Lepisanthes

rubiginosa (Roxb.)

Leenh.

Sapindaceae ใบอ่อนรับประทานได้

ผลมีรสหวาน

80 คอแลน Nephelium

hypoleucum Kurz

Sapindaceae ผลสดรับประทานได้

81 ล�ำไยป่า Paranephelium

xestophyllum Miq.

Sapindaceae ผลสดรับประทานได้

พืชอาหาร

P:52

PLANT

48 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

82 แดงน�้ำ Pometia pinnata

J.R. & G.Forst.

Sapindaceae ผลรับประทานได้

83 ตะคร้อ Schleichera oleosa

(Lour.) Oken

Sapindaceae ผลสุกมีรสหวานอม

เปรี้ยว รับประทานได้

84 กับแก้ Selaginella argentea

(Wall. ex Hook. &

Grev.) Spring

Selaginellaceae ยอดอ่อนน�ำมาผัดหรือ

ลวกจิ้มน�้ำพริก

85 ลิ้นง่วง Sterculia lanceolata

Cav. var. principis

(Gagnep.) Phengklai

Sterculiaceae เมล็ดน�ำมาเผาไฟ

รับประทานได้

86 เถาวัลย์

ปูน

Cissus repanda Vahl Vitaceae ใบใช้ใส่แกงบอนให้มี

รสเปรี้ยว

87 เครือเขาน�้ำ Tetrastigma

leucostaphyllum

(Dennst.) Mabb.

Vitaceae ตัดล�ำต้นเพื่อรับ

ประทานน�้ำที่อยู่

ภายในได้

88 เครือห้า

ต่อเจ็ด

Tetrastigma

serrulatum (Roxb.)

Planch.

Vitaceae ดอกและยอดอ่อน

รับประทานได้

89 ข่า Alpinia galanga (L.)

Willd.

Zingiberaceae เหง้าน�ำมาประกอบ

อาหาร

90 กระเจียว

ขาวปาก

เหลือง

Curcuma

cochinchinensis

Gagnep.

Zingiberaceae ช่อดอกอ่อน

รับประทานได้

91 กระเจียว

ขาว

Curcuma parviflora

Wall.

Zingiberaceae ช่อดอกอ่อนน�ำมาต้ม

รับประทานเป็นผัก

92 ปุดเมือง

กาน

Etlingera araneosa

(Bak.) R.M. Sm.

Zingiberaceae ช่อดอกอ่อนและผลสุก

รับประทานได้

พืชอาหาร

P:53

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

49

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

1 สักหิน Cordia globifera

W.W.Sm.

Boraginaceae เนื้อไม้ทนทานสวยงาม

ท�ำพื้น เสา

2 ติ้วขน Cratoxylum

formosum (Jack)

Dyer subsp.

pruniflorum (Kurz)

Gogel

Clusiaceae เนื้อไม้ใช้ท�ำกระดาน

ฝาบ้าน

3 รกฟ้า Terminalia alata

Heyne ex Roth

Combretaceae เนื้อไม้ทนทานสวยงาม

ท�ำพื้น เสา

4 มะเกลือ

เลือด

Terminalia

mucronata

Craib & Hutch.

Combretaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

ท�ำเสา

5 ส้านใบ

เล็ก

Dillenia ovata

Wall. ex Hook.f. &

Thomson

Dilleniaceae เนื้อไม้ใช้ท�ำกระดาน

และเครื่องตกแต่งบ้าน

6 ส้านหิ่ง Dillenia parviflora

Griff.

Dilleniaceae เนื้อไม้ใช้ท�ำกระดาน

และเครื่องตกแต่งบ้าน

7 เหียง Dipterocarpus

obtusifolius Teijsm.

ex Miq.

Dipterocarpaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

8 พลวง Dipterocarpus

tuberculatus Roxb.

Dipterocarpaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

9 ยางแดง Dipterocarpus

turbinatus C.F.Gaertn.

Dipterocarpaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

10 เต็ง Shorea obtusa Wall.

ex Blume

Dipterocarpaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

พืชที่ใช้สร้างที่อยู่อาศัย

P:54

PLANT

50 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

11 รัง Shorea siamensis

Miq.

Dipterocarpaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

12 ค�ำดีควาย Diospyros undulata

Wall. ex G.Don var.

cratericalyx (Craib)

Bakh.

Ebenaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างทั่วไป

และท�ำเครื่องตกแต่ง

13 แดง Xylia xylocarpa

(Roxb.) Taub. var.

kerrii (Craib & Hutch.)

I.C.Nielsen

Fabaceae–

Mimosoideae

เนื้อไม้แข็ง มีสีแดง

ใช้ในงานก่อสร้าง

ท�ำเฟอร์นิเจอร์

14 พะยูง Dalbergia

cochinchinensis

Pierre

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

15 กระพี้เขา

ควาย

Dalbergia cultrata

Graham ex Benth.

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้แข็ง มีสีด�ำ

ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน

16 ฉนวน Dalbergia nigrescens

Kurz

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

17 ชิงชัน Dalbergia oliveri

Gamble

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้เหนียว

ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน

18 ขามเครือ Dalbergia stipulacea

Roxb.

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

19 ประดู่ป่า Pterocarpus

macrocarpus Kurz

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้แข็งสีขาวปน

เหลือง ท�ำเสา พื้น

20 ซ้อ Gmelina arborea

Roxb.

Lamiaceae เนื้อไม้แข็งปานกลาง

ใช้ท�ำผนัง

21 สัก Tectona grandis L.f. Lamiaceae เนื้อไม้ทนทานสวยงาม

ท�ำพื้น เสา

พืชที่ใช้สร้างที่อยู่อาศัย

P:55

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

51

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

22 กะทัง Litsea monopetala

(Roxb.) Pers.

Lauraceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

23 กระโดน Careya sphaerica

Roxb.

Lecythidaceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

24 ตะแบก

เปลือก

บาง

Lagerstroemia

duperreana Pierre

ex Gagnep.

Lythraceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

ท�ำเสา

25 เสลาขาว Lagerstroemia

tomentosa C.Presl

Lythraceae เนื้อไม้ใช้ในงาน

ก่อสร้างบ้านเรือน

26 ขว้าว Haldina cordifolia

(Roxb.) Ridsdale

Rubiaceae เนื้อไม้อ่อน สีเหลือง

ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน

27 เลียง Berrya mollis Wall.

ex Kurz

Tiliaceae เนื้อไม้เหนียว

ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน

พืชที่ใช้สร้างที่อยู่อาศัย

P:56

PLANT

52 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

1 รักใหญ่ Gluta usitata (Wall.)

Ding Hou

Anacardiaceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

2 รักขาว Semecarpus

cochinchinensis

Engl.

Anacardiaceae ยางใช้ลงรัก

3 ขางน�้ำ

ข้าว

Kibatalia

macrophylla (Pierre

ex Hua) Woodson

Apocynaceae เนื้อไม้ท�ำเฟอร์นิเจอร์

4 ตองงุม Pothos chinensis

(Raf.) Merr.

Araceae ล�ำต้นฉีกเป็นเส้นๆ

ใช้มัดสิ่งของแทนเชือก

5 ค้อ Livistona speciosa

Kurz

Arecaceae ใบน�ำมาพับแล้วมัด

เรียงเป็นตับใช้มุง

หลังคา

6 ง้าว Bombax anceps

Pierre var.

cambodiense

(Pierre) Robyns

Bombacaceae ใยเปลือกใช้ท�ำเชือก

ปุยนุ่นใช้ยัดที่นอน

7 ตะคร�้ำ Garuga pinnata

Roxb.

Burseraceae ผลใช้ย้อมตอกให้สีด�ำ

8 กระทง

ลอย

Crypteronia

paniculata Blume

Crypteroniaceae เนื้อไม้ละเอียด แข็งพอ

ประมาณ ท�ำลังใส่ของ

9 มะเกลือ Diospyros mollis

Griff.

Ebenaceae เนื้อไม้น�้ำหนักมาก

ท�ำไม้ถือกบไส้ไม้

10 เหมือด

วอน

Aporosa wallichii

Hook.f.

Euphorbiaceae เนื้อไม้ใช้ท�ำรั้วบ้าน

ท�ำเสา

11 โพบาย Balakata baccata

(Roxb.) Esser

Euphorbiaceae เนื้อไม้ใช้ท�ำฟืน

พืชที่ใช้ท�าเครื่องใช้สอย

P:57

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

53

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

12 ตองเต๊า Mallotus barbatus

Müll.Arg.

Euphorbiaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

13 ค�ำแสด Mallotus

philippensis

Müll.Arg.

Euphorbiaceae ผลเป็นสีย้อมให้สีแดง

14 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa

(Kurz) Craib

Fabaceae–

Caesalpinioideae

เนื้อไม้มีลายสวยงาม

นิยมท�ำเครื่องเรือน

15 พฤกษ์ Albizia lebbeck (L.)

Benth.

FabaceaeMimosoideae

เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

16 ปันแถ Albizia lucidior

(Steud.) I.C.Nielsen

FabaceaeMimosoideae

เปลือกน�ำมาทุบ

แช่น�้ำใช้แทนสบู่

17 หิ่งเม่น

หลวง

Crotalaria incana L. FabaceaePapilionoideae

ใช้ท�ำปุ๋ย

18 ค�ำบูชา Crotalaria juncea L. FabaceaePapilionoideae

ปลูกเป็นปุ๋ยพืชสดได้ดี

19 กระพี้

นางนวล

Dalbergia cana

Graham ex Kurz

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

20 คราม Indigofera tinctoria

L.

FabaceaePapilionoideae

ต้นใช้ท�ำสีย้อมผ้า

21 กระพี้จั่น Millettia

brandisiana Kurz

FabaceaePapilionoideae

เนื้อไม้ใช้ท�ำเครื่องมือ

ใช้สอย

22 ตะขบ

ควาย

Flacourtia jangomas

(Lour.) Rausch

Flacourtiaceae ใบต้มท�ำสีย้อมผ้าให้สี

น�้ำตาลเขียวหรือเขียว

ขี้ม้า

23 ดันหมี Gonocaryum

lobbianum (Miers)

Kurz

Icacinaceae เมล็ดให้น�้ำมัน ใช้ผสม

ท�ำสบู่

พืชที่ใช้ท�าเครื่องใช้สอย

P:58

PLANT

54 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

24 ผ่าเสี้ยน Vitex canescens

Kurz

Lamiaceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

25 ลิเภาป่า Lygodium

polystachyum Wall.

ex Moore

Lygodiaceae ต้นใช้ท�ำเชือก

สานท�ำกระเป๋า

ตะกร้า

26 ปอต่อม Hibiscus

glanduliferus Craib

Malvaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

27 ปอหู Hibiscus

macrophyllus Roxb.

ex Hornem.

Malvaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

28 ปอลมปม Thespesia lampas

(Cav.) Dalzell &

A.Gibson

Malvaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

29 ว่าน

กีบแรด

Angiopteris evecta

(G.Forst.) Hoffm.

Marattiaceae หัวใช้ท�ำยาฆ่าแมลง

30 เหมือด

จี้ดง

Memecylon

plebejum Kurz var.

ellipsoideum Craib

Melastomataceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

31 ยมหิน Chukrasia tabularis

A.Juss.

Meliaceae เนื้อไม้มีลายสวยงาม

ใช้ท�ำเครื่องเรือน

32 ปอกระสา Broussonetia

papyrifera (L.) Vent.

Moraceae เปลือกใช้ท�ำกระดาษ

สา

33 ข้าวสาร

หลวง

Maesa ramentacea

(Roxb.) A.DC.

Myrsinaceae ล�ำต้นใช้ท�ำฟืน

34 ก่อแซะ Anacolosa ilicoides

Mast.

Olacaceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

พืชที่ใช้ท�าเครื่องใช้สอย

P:59

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

55

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

35 ไผ่

ข้าวหลาม

Cephalostachyum

pergracile Munro

Poaceae ล�ำใช้ท�ำข้าวหลาม

ท�ำเครื่องจักสาน

36 ไผ่บงใหญ่ Dendrocalamus

brandisii (Munro) Kurz

Poaceae ล�ำใช้ในงานก่อสร้าง

37 ไผ่ซาง

นวล

Dendrocalamus

membranaceus

Munro C.M.A.

Stapleton

Poaceae ใช้ท�ำเครื่องจักสาน

หรือกระดาษ

38 ตองกง Thysanolaena

latifolia (Roxb. ex

Hornem.) Honda

Poaceae ช่อดอกใช้ท�ำไม้กวาด

39 มะเค็ด Catunaregam

tomentosa (Blume

ex DC.) Tirveng.

Rubiaceae ผลแก่ตีกับน�้ำ

เป็นยาสระผม

40 ยอดิน Morinda angustifolia

Roxb. var.

angustifolia

Rubiaceae รากใช้ย้อมผ้า

ให้สีส้มแดง

41 แข้งกวาง

ดง

Wendlandia

paniculata (Roxb.)

DC.

Rubiaceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

42 แข้งกวาง Wendlandia

tinctoria (Roxb.) DC.

Rubiaceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้ฟืน

43 กระแจะ Naringi crenulata

(Roxb.) Nicolson

Rutaceae เนื้อไม้ใช้ในงานแกะ

สลัก ท�ำเฟอร์นิเจอร์

44 มะเฟือง

ช้าง

Lepisanthes

tetraphylla (Vahl)

Radlk.

Sapindaceae ล�ำต้นใช้สร้างโต๊ะ

เครื่องเรือน

พืชที่ใช้ท�าเครื่องใช้สอย

P:60

PLANT

56 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

45 ตะคร้อ

หนาม

Sisyrolepis muricata

(Pierre) Leenh.

Sapindaceae เนื้อไม้ใช้ท�ำเครื่องมือ

เกษตร

46 ล�ำพูป่า Duabanga

grandiflora

(Roxb. ex DC.) Walp.

Sonneratiaceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

47 ปอเลียง

ฝ้าย

Eriolaena candollei

Wall.

Sterculiaceae เปลือกใช้จักสานท�ำ

เครื่องใช้สอย

48 ปอฝ้าย Firmiana colorata

(Roxb.) R.Br.

Sterculiaceae เนื้อไม้ท�ำเครื่องเรือน

ในร่ม

49 ปออีเก้ง Pterocymbium

tinctorium (Blanco)

Merr.

Sterculiaceae เนื้อไม้อ่อน

ใช้ท�ำกล่องก้านไม้ขีด

กล่องลัง

50 ปอขนุน Sterculia balanghas

L.

Sterculiaceae เปลือกใช้จักสานท�ำ

เครื่องใช้สอย

51 ปอมืน Colona floribunda

(Kurz) Craib

Tiliaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

52 ปองวง Colona javanica

(Blume) Burret

Tiliaceae ผลใช้ท�ำไม้ประดับ

แห้ง

53 กระเจา

นา

Corchorus aestuans

L.

Tiliaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

54 หญ้าบิด Grewia abutilifolia

Vent. & Jass.

Tiliaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

55 ปอแก่น

เทา

Grewia eriocarpa

Juss.

Tiliaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

56 เสี้ยนสะ

คอน

Grewia sessilifolia

Gagnep.

Tiliaceae เนื้อไม้ใช้ท�ำเชือก

พืชที่ใช้ท�าเครื่องใช้สอย

P:61

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

57

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

57 ลาย Microcos

paniculata L.

Tiliaceae เนื้อไม้ท�ำเฟอร์นิเจอร์

และเครื่องเรือน

58 เส้ง Triumfetta

bartramia L.

Tiliaceae เปลือกใช้ท�ำเชือก

59 พังแหร

ใหญ่

Trema orientalis (L.)

Blume

Ulmaceae เนื้อไม้อ่อนใช้ก่อสร้าง

ชั่วคราว

60 Vitex peduncularis

Wall. ex Schauer

Lamiaceae เนื้อไม้ท�ำด้าม

เครื่องมือเครื่องใช้

61 หนาม

กระสุน

Tribulus terrestris L. Zygophyllaceae เป็นพืชคลุมดิน

พืชที่ใช้ท�าเครื่องใช้สอย

P:62

PLANT

58 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

1 เฒ่าหลัง

ลาย

Pseuderanthemum

graciliflorum (Nees)

Ridl.

Acanthaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาว

2 หงอนไก่

ไทย

Celosia argentea L. Amaranthaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีม่วงแกมขาว

3 หยั่ง

สมุทร

Amalocalyx

microlobus Pierre ex

Spire

Apocynaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีชมพูอ่อน

4 ปาล์มสิบ

สองปันนา

Phoenix loureiri

Kunth

Arecaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

5 กระเช้าถุง

ทอง

Aristolochia pothieri

Pierre ex Lecomte

Aristolochiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

6 แตงแพะ Gymnema griffithii

Craib

Asclepiadaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ไม้ประดับ

7 ด้าง Hoya kerrii Craib Asclepiadaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาว

8 ดาว

กระจาย

น้อย

Pentanema indicum

(L.) Ling

Asteraceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลือง

9 กระดุม

ทองเลื้อย

Wedelia trilobata

(L.) Hitchc.

Asteraceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลือง

10 Diplazium donianum

(Mett.) Tard.

Athyriaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

11 ปีบ Millingtonia

hortensis L.f.

Bignoniaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาว

12 กาสะ

ลองค�ำ

Radermachera

ignea (Kurz) Steenis

Bignoniaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลืองอมส้ม

ไม้ดอกไม้ประดับ

P:63

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

59

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

13 มันฤาษี Argyreia splendens

(Hornem.) Sweet

Convolvulaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีม่วงชมพู

14 ว่านผักบุ้ง Ipomoea nil (L.)

Roth

Convolvulaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

15 เอื้อง

หมายนา

Costus speciosus

(Koen.) Sm.

Costaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ช่อดอกสวยงาม

16 พันจ�ำ Vatica odorata

(Griff.) Symington

Dipterocarpaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาว

17 กูดกวาง Tectaria impressa

(Fée) Holttum

Dryopteridaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

18 ขี้เหล็ก

ฤาษี

Phyllanthus

mirabilis Müll.Arg.

Euphorbiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

ให้ร่มเงา

19 เสี้ยวป่า Bauhinia saccocalyx

Pierre

Fabaceae–

Caesalpinioideae

ปลูกเป็นไม้ประดับ

ดอกสีขาว

20 กระไดลิง Bauhinia scandens

L. var. horsfieldii

(Miq.) K. & S.S.Larsen

FabaceaeCaesalpinioideae

ปลูกเป็นไม้ประดับ

21 ราชพฤกษ์ Cassia fistula L. Fabaceae–

Caesalpinioideae

ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลืองเป็นช่อ

22 ทองกวาว Butea monosperma

(Lam.) Taub.

FabaceaePapilionoideae

ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีแดงส้ม

23 ทองเดือน

ห้า

Erythrina stricta

Roxb. var. stricta

FabaceaePapilionoideae

ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีส้มแดงเป็นช่อ

24 ทองหลาง

ป่า

Erythrina

subumbrans (Hassk.)

Merr.

FabaceaePapilionoideae

ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีแดงออกเป็นช่อ

ไม้ดอกไม้ประดับ

P:64

PLANT

60 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

25 นมสวรรค์ Clerodendrum

paniculatum L. var.

paniculatum

Lamiaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีแดง

26 นางแย้ม

ป่า

Clerodendrum

viscosum Vent.

Lamiaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาวแกมชมพู

27 คางแมว Gmelina asiatica L. Lamiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

28 สามร้อย

ยอด

Lycopodium

cernuum L.

Lycopodiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

29 กูดงอแง Lygodium japonicum

(Thunb.) Sw.

Lygodiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

30 ตะแบก

เกรียบ

Lagerstroemia

balansae Koehne

Lythraceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

ให้ร่มเงา ดอกสีม่วงสด

31 อินทนิล

บก

Lagerstroemia

macrocarpa Wall.

Lythraceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีชมพูถึงม่วงแดง

32 จ�ำปีป่า Magnolia baillonii

Pierre

Magnoliaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาวนวล

33 โสมชบา Abelmoschus

moschatus Medik.

subsp. tuberosus

(Span.) Borss.Waalk.

Malvaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีชมพู

34 โพศรี

มหาโพ

Ficus religiosa L. Moraceae ปลูกเป็นไม้ประดับให้

ร่มเงา ทรงพุ่มสวยงาม

35 โพขี้นก Ficus rumphii Blume Moraceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

36 พิลังกาสา Ardisia polycephala

Wall. ex A.DC.

Myrsinaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

ดอกสีชมพู

ไม้ดอกไม้ประดับ

P:65

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

61

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

37 เอื้อง

กุหลาบ

กระเป๋า

เปิด

Aerides falcata

Lindl.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีครีมแกมม่วง

มีกลิ่นหอม

38 เอื้องพวง

มาลัย

Aerides multiflora

Roxb. var. multiflora

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีม่วงแดง

39 แข้งกว่าง Cleisomeria

pilosulum (Gagnep.)

Seidenf. & Garay

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเขียวอ่อน

มีแถบสีชมพูอ่อน

40 เขาแพะ Cleisostoma

arietinum (Rchb.f.)

Garay

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีชมพูแกมม่วง

41 ก้างปลา Cleisostoma

fuerstenbergianum

F.Kranzl.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีน�้ำตาลคล�้ำ

กลีบปากสีขาว

42 เอื้อง

มังกร

Cryptopylos clausus

(J.J.Sm.) Garay

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลือง

43 กะเร

กะร่อน

Cymbidium

aloifolium (L.) Sw.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลืองอมเขียว

แถบน�้ำตาลแดง

44 เอื้องดอก

มะขาม

Dendrobium

delacourii

Guillaumin

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเขียวแกมเหลือง

กลีบปากสีเหลือง

45 เอื้องค�ำ

ตาควาย

Dendrobium

pulchellum Roxb.

ex Lindl.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีครีมชมพู

ปากกลีบดอกสีแดง

ไม้ดอกไม้ประดับ

P:66

PLANT

62 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

46 ข้าว

เหนียวลิง

Dendrobium

venustum

Teijsm. & Binn.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาวแกมเขียว

47 เอื้อง

ขี้หมา

Eria bractescens

Lindl.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลืองมีกลิ่น

หอม

48 หัวข้าวต้ม Eulophia graminea

Lindl.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีม่วงแกมขาว

49 ว่านนาง

ตาม

Geodorum recurvum

(Roxb.) Alston

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาว

50 แผ่นดิน

เย็น

Nervilia aragoana

Gaudich.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเขียวอ่อน

51 ช้างกระ Rhynchostylis

gigantea (Lindl.)

Ridl. var. gigantea

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาวจุดชมพู

มีกลิ่นหอม

52 เข็มขาว Vanda lilacina

Teijsm. & Binn.

Orchidaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีม่วงอ่อน

53 หางนาค

บก

Adiantum

caudatum L.

Parkeriaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

54 หญ้า

ขวาก

Adiantum

philippense L.

Parkeriaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

55 ชายผ้า

สีดา

Platycerium

wallichii Hook.

Polypodiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

56 Pteris venusta Kunze Pteridaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

57 กูดหมาก Pteris vittata L. Pteridaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

ไม้ดอกไม้ประดับ

P:67

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

63

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ประโยชน์ พื้นที่

58 ค�ำมอก

หลวง

Gardenia

sootepensis Hutch.

Rubiaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีเหลืองเข้ม

59 เข็มพวง Ixora butterwickii

Hole var. butterwickii

Rubiaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาวแกมชมพู

60 สะแล่ง

หอมไก๋

Rothmannia

sootepensis (Craib)

Bremek.

Rubiaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาว

61 ก�ำเบ้อต้น Schizomussaenda

dehiscens (Craib)

H.L.Li

Rubiaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกมีสีเหลืองอ่อน

แกมสีส้ม

62 ตะลุมพุก Tamilnadia

uliginosa (Retz.)

Tirveng. & Sastre

Rubiaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาวมีกลิ่นหอม

63 กะหนาน

ปลิง

Pterospermum

acerifolium (L.) Willd.

Sterculiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

ให้ร่มเงา

64 ลิ้นงั่ว Sterculia laevis Wall.

ex Hook var.

lanceolata Phengklai

Sterculiaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

65 ปีก

แมลงสาบ

Pellionia repens

(Lour.) Merr.

Urticaceae ปลูกเป็นไม้ประดับ

66 แพ่งเครือ Sphenodesme

mollis Craib

Verbenaceae ปลูกเป็นไม้เถาเลื้อย

พัน

67 ดาดตะกั่ว

เถา

Cissus javana DC. Vitaceae ปลูกเป็นไม้เถาเลื้อย

พัน

68 มหาอุดม Curcuma glans

K. Larsen & J. Mood

Zingiberaceae ปลูกเป็นไม้ดอก

ดอกสีขาว ฐานสีม่วง

ปลายสีเหลืองอ่อน

ไม้ดอกไม้ประดับ

P:68

PLANT

64 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ พื้นที่

1 Eranthemum pulchellum

Andrews

Acanthaceae

2 กระดูกไก่น้อย Justicia diffusa Willd. Acanthaceae

3 Phaulopsis imbricata (Forssk.) Sweet. Acanthaceae

4 Pseuderanthemum parishii

(T. And.) Lindau

Acanthaceae

5 เขือง Wallichia siamensis Becc. Arecaceae

6 Acilepis attenuata (DC.) H.Rob. &

Skvarla

Asteraceae

7 กะหน๊าด Blumea clarkei Hook.f. Asteraceae

8 ยาแก้เครือ Decaneuropsis eberhardtii

(Gagnep.) H.Rob. & Skvarla

Asteraceae

9 ผักบึ้ง Emilia prenanthoides DC. Asteraceae

10 ขางหางเล็ก Vernonia parishii Hook.f. Asteraceae

11 หญ้างวงช้างหลวง Tournefortia intonsa Kerr Boraginaceae

12 Poikilospermum lanceolatum

(Trecul) Merr.

Cecropiaceae

13 เถาหมากวาง Argyreia osyrensis (Roth) Choisy Convolvulaceae

14 จิงจ้อผี Jacquemontia paniculata (Burm.f.)

Hallier f.

Convolvulaceae

15 ฟัก Benincasa pruriens (Parkinson) W.J.

de Wilde & Duyfjes

Cucurbitaceae

16 ขี้กาแดง Trichosanthes pubera Blume subsp.

rubriflos (Cayla) Duyfjes & Pruesapan

Cucurbitaceae

พืชที่ไม่มีข้อมูลการใช้ประโยชน์

P:69

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

65

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ พื้นที่

17 หญ้าตีนกา Cyperus laxus Lam. var. laxus Cyperaceae

18 หญ้าคมบาง Rhynchospora corymbosa (L.) Britton Cyperaceae

19 สลัด Mallotus peltatus Müll.Arg. Euphorbiaceae

20 Mallotus pierrei (Gagnep.) Airy Shaw Euphorbiaceae

21 ข้าวสาร Phyllanthus columnaris Müll.Arg. Euphorbiaceae

22 หิ่งหนู Crotalaria neriifolia Wall. ex Benth. FabaceaePapilionoideae

23 Flemingia ferruginea Grah. ex Benth. FabaceaePapilionoideae

24 เถาแปบหนู Galactia tenuiflora Wight & Arn. FabaceaePapilionoideae

25 สะบ้าลาย Mucuna revoluta Wilmot–Dear FabaceaePapilionoideae

26 เกล็ดปลา Phyllodium vestitum Benth. FabaceaePapilionoideae

27 Shuteria hirsuta Baker FabaceaePapilionoideae

28 ถั่วขน Sinodolichos lagopus (Dunn) Verdc. FabaceaePapilionoideae

29 Uraria campanulata (Wall. ex Benth.)

Gagnep.

FabaceaePapilionoideae

30 หางหมา Uraria cordifolia Wall. FabaceaePapilionoideae

31 สีเสื้อ Casearia calva Craib Flacourtiaceae

32 ว่านพร้าว Curculigo orchidoides Gaertn. Hypoxidaceae

พืชที่ไม่มีข้อมูลการใช้ประโยชน์

P:70

PLANT

66 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

พืชที่ไม่มีข้อมูลการใช้ประโยชน์

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ พื้นที่

33 ขมิ้นต้น Alseodaphne birmanica Kosterm. Lauraceae

34 มูกเตี้ย Munronia humilis (Blanco) Harms Meliaceae

35 เหล็กเหลี่ยม Myxopyrum smilacifolium Blume

subsp. confertum (Kerr) Kiew

Oleaceae

36 เตยหนู Pandanus humilis Lour. Pandanaceae

37 หญ้าพริก

พราน

Apluda mutica L. Poaceae

38 หญ้าขจรจบ Pennisetum polystachyon (L.) Schult. Poaceae

39 หญ้าหางหมา Sorghum nitidum Pers. Poaceae

40 พวงเพชร Hedyotis hedyotidea Merr. Rubiaceae

41 ตองลาย Knoxia sumatrensis (Retzius) Candolle Rubiaceae

42 ขมิ้นต้น Metadina trichotoma (Zoll. ex Merr.)

Bakh.f.

Rubiaceae

43 Mouretia larsenii Tange Rubiaceae

44 สีดาบุนทา Madhuca floribunda (Pierre) H.J.Lam Sapotaceae

45 หญ้าเกล็ด

หอย

Lindenbergia indica (L.) Vatke Scrophulariaceae

46 ขางขาว Xanthophyllum virens Roxb. Xanthophyllaceae

47 กากุ๊ก Alpinia blepharocalyx K.Schum. Zingiberaceae

48 เปราะทอง

ลาร์เซน

Cornukaempferia larsenii P.Saensouk Zingiberaceae

49 ว่านกระหัง Gagnepainia thoreliana (Baill.) K.Schum. Zingiberaceae

50 เข้าพรรษา

ทางเงิน

Globba substrigosa King ex Bak. Zingiberaceae

P:71

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

67

Barleria cristata L. วงศ์ Acanthaceae

ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีถึงรูปใบหอก ดอกสีม่วง สีชมพู

หรือสีขาว เมล็ดแบนกลม พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา

รากปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ และฟอกโลหิตประจ�ำเดือน

อังกาบ

P:72

PLANT

68 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เข็มม่วง

Eranthemum album Nees

วงศ์ Acanthaceae

ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว สูง 25-60 เซนติเมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีรูปขอบขนานหรือรูปไข่

กลับ โคนใบมน ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อแบบกระจุก ออกที่ซอกใบ

กลีบดอกสีม่วงอ่อน ผลแห้งแตก พบตามป่าเบญจพรรณ ทั้งต้นต้มน�้ำดื่มต้านอนุมูลอิสระ

P:73

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

69

ปรู

Alangium salviifolium (L.f.) Wangerin subsp. hexapetalum Wangerin

วงศ์ Alangiaceae

ไม้พุ่มรอเลื้อยหรือไม้ต้น ผลัดใบ ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรีดอกสีขาวนวล

ช่อดอกสั้น กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ผลสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นสีด�ำสนิท

พบตามป่าเบญจพรรณ ผลสดรับประทานได้ดอกบ�ำรุงก�ำลัง เปลือกแก้หืดหอบ

P:74

PLANT

70 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ผักขมหนาม

Amaranthus spinosus L. วงศ์ Amaranthaceae

ไม้ล้มลุก ตั้งตรง สูง 0.5-1 เมตร มีหนามยาว 0.3-0.1 เซนติเมตร ออกคู่ตรงข้าม ใบเดี่ยว

รูปไข่หรือรูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อแบบกึ่งเชิงลดหรือช่อกระจุก เมล็ดค่อนข้างกลม

พบตามพื้นที่เปิดโล่งและตามริมล�ำห้วย รากแก้อาการช�้ำใน แก้จุกเสียด

P:75

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

71

รักใหญ่

Gluta usitata (Wall.) Ding Hou วงศ์ Anacardiaceae

ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างกลม ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ

รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ ดอกออกเป็นช่อแบบแยกแขนง สีเหลืองนวล ผลแห้ง

มีปีกสีแดงสด พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบเขา เนื้อไม้ท�ำด้ามเครื่องมือเครื่องใช้

เปลือกรักษาโรคเรื้อน โรคผิวหนัง ยางเป็นยาถ่ายอย่างแรง

P:76

PLANT

72 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

รักขาว

Semecarpus cochinchinensis Engl. วงศ์ Anacardiaceae

ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่กลับแคบหรือรูปใบหอกกลับ

ดอกออกเป็นช่อแบบแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ผลสดเมล็ด

เดียวแข็ง กลม ขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร ฐานผลมีเยื่อสีเหลืองหุ้ม ประมาณ 1/3

ของผล เมล็ดกลม พบตามป่าเบญจพรรณ ยางใช้ลงรัก เนื้อไม้ใช้ท�ำลังใส่ของ ยางมีพิษ

P:77

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

73

ระย่อม

Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz วงศ์ Apocynaceae

ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงถึง 60 เซนติเมตร มีนํ้ายางสีขาว ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกออกเป็น

ช่อแบบกระจุกที่ปลายยอด ดอกย่อยจ�ำนวนมาก สีขาว สีชมพูหรือสีแดง ผลสดสีด�ำเมื่อสุก

พบตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง รากต้มดื่มแก้ไข้ลดความดัน ระงับอาการปวด

P:78

PLANT

74 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

โมกมัน

Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. วงศ์ Apocynaceae

ไม้ต้นขนาดเล็กถึงกลาง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีรูปใบหอก หรือรูปไข่แกมรี

กลีบเลี้ยงสีเขียว 5 กลีบ กลีบดอกสีขาวอมเขียว สีเหลืองอ่อนหรือสีชมพูโคนติดกัน

เป็นหลอด ปลายแยก 5 กลีบ มีกลิ่นหอม ผลเป็นฝักคู่ มีร่องตามยาวทั้ง 2 ข้าง

เปลือกของฝักมีสีน�้ำตาลแดง พบตามป่าเบญจพรรณ ดอกเป็นยาระบายช่วยขับลม

P:79

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

75

บอนเต่า

Hapaline benthamiana Schott วงศ์ Araceae

ไม้ล้มลุก สูง 15-30 เซนติเมตร มีล�ำต้นเป็นหัวใต้ดิน รูปทรงกลม ใบเดี่ยว

ออกจากหัวใต้ดิน รูปหัวใจ ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก เกสรเพศผู้และเพศเมียสีขาว

พบตามป่าเบญจพรรณ ช่อดอก ยอดอ่อนทั้งก้าน และใบ รับประทานได้

P:80

PLANT

76 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ด้าง

Hoya kerrii Craib วงศ์ Asclepiadaceae

ไม้เถาอิงอาศัย มีน�้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่กลับ อวบหนา

โคนใบสอบหรือมน ปลายใบเว้า ดอกสีขาวครีมแกมม่วง ออกเป็นช่อ

รูปครึ่งวงกลม มี10-15 ดอก ก้านดอกย่อยยาว

เรียงเป็นซี่ร่ม พบตามป่าเต็งรัง ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:81

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

77

แคหางค่าง

Fernandoa adenophylla (Wall. ex G.Don) Steenis วงศ์ Bignoniaceae

ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เปลือกสีเทา ตามกิ่งอ่อนมีขนสีน�้ำตาล ใบประกอบ

ใบย่อยมี1-4 คู่ ที่ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว ดอกสีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง

ช่อจะตั้งชี้ขึ้น ฝักรูปทรงกระบอกมีขนสีน�้ำตาลแดง เมล็ดแบน มีเยื่อบางๆ ตามขอบคล้ายปีก

พบตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง เป็นพืชเบิกน�ำ ดอกใช้เป็นอาหารได้

P:82

PLANT

78 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กาสะลองค�า

Radermachera ignea (Kurz) Steenis วงศ์ Bignoniaceae

ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 6-20 เมตร ล�ำต้นเปลาตรง ใบประกอบแบบขนนก ออกตรงข้าม

ดอกสีเหลืองทองหรือสีเหลืองอมส้ม ออกเป็นกระจุกที่กิ่งและล�ำต้น

กระจุกละ 5-15 ดอก ผลเป็นฝักยาว เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีปีก

พบในป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:83

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

79

งิ้ว

Bombax ceiba L. วงศ์ Bombacaceae

ไม้ต้น ผลัดใบ เปลือกสีเทาอ่อนหรือครีม ในต้นอ่อนมีหนามแข็งทั่วไป ใบประกอบแบบนิ้วมือ

เรียงสลับ ดอกเดี่ยว ออกดอกขณะที่ใบแก่หลุดร่วงไป ออกที่ปลายกิ่ง สีส้มหรือสีแดง

ผลแห้งแตก รูปไข่หรือรูปใบหอก ผิวนอกแข็ง เมล็ดสีด�ำจ�ำนวนมาก พบตามป่าเบญจพรรณ

ดอกสดต้มจิ้มน�้ำพริกหรือแกงส้ม เกสรตากแห้งท�ำน�้ำยาขนมจีนน�้ำเงี้ยว

P:84

PLANT

80 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

หญ้างวงช้าง

Heliotropium indicum L. วงศ์ Boraginaceae

ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว แตกกิ่งแบบเวียนสลับ ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบเป็นคลื่น

ปลายใบแหลม ดอกสีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายยอด แบบช่อกระจะแคบ

เป็นดอกสมบูรณ์เพศ เรียงเวียนบนแกนช่อดอกทางด้านเดียว ผลขนาดเล็ก

เนื้อแข็งมี2 พูเชื่อมติดกัน แต่ละพูมี2 เมล็ด พบตามชายป่าเบญจพรรณ

P:85

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

81

ตะคร�้า

Garuga pinnata Roxb. วงศ์ Burseraceae

ไม้ต้น ผลัดใบ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 8-10 คู่ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก

ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายยอด

สีครีมแกมชมพูหรือสีเหลือง มีขน ผลกลมมน ภายในฉ�่ำน�้ำ

พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ผลใช้ย้อมตอกให้สีด�ำ

P:86

PLANT

82 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ชิงชี่

Capparis micracantha DC. วงศ์ Capparaceae

ไม้พุ่มหรือไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 2-6 เมตร ล�ำต้นสีเทา มีหนามยาว 2-4 มิลลิเมตร ใบเดี่ยว เรียงสลับ

รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ดอกออกเป็นช่อแบบกระจุกสั้นๆ ตามซอกใบด้านบน

มี2-7 ดอก กลีบดอก 4 กลีบ สีขาว กลีบคู่บนแซมด้วยสีเหลืองหรือสีม่วง ผลรูปรีรูปกลม หรือ

ทรงกระบอก สีส้มแดง พบตามชายป่าทั่วไป รากใช้ขับลมภายใน แก้ไข้และโรคกระเพาะ

P:87

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

83

ว่านข้าวเหนียว

Murdannia edulis (Stokes) Faden วงศ์ Commelinaceae

ไม้ล้มลุก อายุหลายปีล�ำต้นเป็นกอสั้น มีรากใต้ดินรูปกระสวยยาว ออกเป็นกลุ่ม

ใบเดี่ยวรูปขอบขนาน ถึงรูปแถบ ดอกจ�ำนวนมาก กลีบดอกสีม่วงอ่อนหรือม่วง

ผลแบบแคปซูล รูปไข่ เมล็ดรูปสามเหลี่ยม ผิวเป็นปุ่ม

พบตามป่าเต็งรัง รากต้มน�้ำดื่มเป็นยาระบาย

P:88

PLANT

84 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

มันเสา

Dioscorea alata L. วงศ์ Dioscoreaceae

ไม้เลื้อย มีล�ำต้นใต้ดิน ใบเดี่ยว แผ่นใบและก้านใบสีเขียวอ่อน มีเส้นใบ 5 เส้น

นูนเห็นชัดทั้งด้านบนและด้านล่าง ก้านใบมีครีบ ดอกแบบแยกเพศ

ช่อดอกแบบเชิงลด ช่อดอกเพศเมียมีลักษณะห้อยลง ช่อสั้นกว่าดอกเพศผู้

ผลแห้งแตก มีปีก 3 ปีก พบตามป่าเบญจพรรณ หัวใต้ดินรับประทานได้

P:89

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

85

เหียง

Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. วงศ์ Dipterocarpaceae

ไม้ต้น ผลัดใบ กิ่งและหูใบมีขนปกคลุมหรือเรียบเกลี้ยง ใบรูปไข่กลมหรือรูปรี

ขอบใบหยักเป็นคลื่นหรือมีขนปกคลุม ใบของต้นที่อายุน้อยจะมีขนาดใหญ่

พบตามป่าเต็งรัง เนื้อไม้ใช้ในงานก่อสร้างบ้านเรือน เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย

น�้ำมันจากล�ำต้นใช้ยาไม้ยาแนวเรือ

P:90

PLANT

86 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

มะไฟ

Baccaurea ramiflora Lour. วงศ์ Euphorbiaceae

ไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปรีแกมใบหอก โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ

หรือหยักตื้นๆ ปลายใบเรียว ดอกออกเป็นช่อ ผลค่อนข้างกลมหรือรีสีผิวเหลืองถึงแดง

ผิวเกลี้ยง มี1-3 เมล็ด เนื้อหุ้มเมล็ดสีขาวขุ่น รสเปรี้ยวอมหวาน พบตามป่าเบญจพรรณ

ผลสดรับประทานได้ต้นและเปลือกท�ำเป็นยาทาภายนอก แก้บวมอักเสบ

P:91

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

87

ครามน�้า

Breynia retusa (Dennst.) Alston วงศ์ Euphorbiaceae

ไม้พุ่ม รอเลื้อยหรือตั้งตรง สูงได้ถึง 5 เมตร ใบเดี่ยว ดอกออกเป็นช่อเดี่ยวหรือเป็นกระจุก

ไม่มีกลีบดอก ผลสุกสีแดง เมล็ดรูปสามเหลี่ยม มีเยื่อหุ้มสีเหลืองหรือสีแดง พบตามป่าเต็งรัง

ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ล�ำต้นและรากใช้ผสมสมุนไพรอื่นต้มดื่มแก้ไข้

P:92

PLANT

88 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ขันทองพยาบาท

Suregada multiflorum (A.Juss.) Baill. วงศ์ Euphorbiaceae

ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 เมตร ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก

เนื้อใบหนาเป็นมัน ดอกสีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆ ตรงซอกใบ กลิ่นหอม

ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ผลค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง

แตกตามพูพบตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง เปลือกต้นเป็นยาแก้โรคผิวหนัง

P:93

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

89

หนามหัน

Acacia comosa Gagnep. วงศ์ Fabaceae-Mimosoideae

ไม้เถารอเลื้อย เปลือกต้นมีหนามแหลมปลายโค้งลง ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น

เรียงสลับ ใบย่อยเรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายแหลมหรือมน โคนเบี้ยว ขอบเรียบ

ดอกออกเป็นช่อแบบกระจุกแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ไม่มีก้านดอกย่อย

ผลเป็นฝักแบน พบตามชายป่าทั่วไป รากเป็นยาแก้ริดสีดวงทวาร

P:94

PLANT

90 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ถั่วลาย

Centrosema pubescens Benth. วงศ์ Fabaceae-Papilionoideae

ไม้ล้มลุก มีขนยาว หูใบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ปลายแหลม

โคนมนหรือกลม แผ่นใบบาง มีขนยาวกระจายทั้งสองด้าน ช่อดอกมี2-4 ดอก ใบประดับ

คล้ายหูใบ ใบประดับย่อยรูปรีหรือรูปไข่กว้าง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกสีขาว ชมพู

หรืออมม่วง ฝักรูปแถบ พบตามชายป่าเต็งรัง ปลูกเป็นพืชอาหารสัตว์

P:95

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

91

ค�าบูชา

Crotalaria juncea L. วงศ์ Fabaceae-Papilionoideae

ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว ล�ำต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขามาก ใบเดี่ยว เรียงสลับ

รูปขอบขนานถึงรูปแถบแกมรูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ สีเหลือง รูปดอกถั่ว

ผลเป็นฝัก รูปทรงกระบอก พบตามชายป่าทั่วไป ปลูกเป็นปุ๋ยพืชสดได้ดี

P:96

PLANT

92 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

หิ่งหนู

Crotalaria neriifolia Wall. ex Benth. วงศ์ Fabaceae-Papilionoideae

ไม้ล้มลุก สูงถึง 1.7 เมตร ใบเดี่ยว รูปไข่แกมขอบขนานถึงรูปใบหอก ดอกสีเหลือง

ด้านนอกมีเส้นสีน�้ำตาลแดงพาดตลอด ออกเป็นช่อ ดอกย่อยรูปดอกถั่ว ผลเป็นฝัก

รูปกระบอง เมล็ดมีขนาดเล็กจ�ำนวนมาก พบตามชายป่าเบญจพรรณ

P:97

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

93

หนาดค�า

Desmodium oblongum Wall. ex Benth. วงศ์ Fabaceae-Papilionoideae

ไม้ล้มลุก อายุหลายปีสูง 40-120 เซนติเมตร ใบประกอบมีหนึ่งใบย่อย รูปขอบขนาน

แกมรูปไข่ดอกออกเป็นช่อแบบแยกแขนง กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีม่วง สีชมพู

หรือสีนํ้าเงินอมม่วง พบตามริมล�ำห้วยและชายป่าทั่วไป รากและล�ำต้นดองเป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง

P:98

PLANT

94 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เถาแปบหนู

Galactia tenuiflora Wight & Arn. วงศ์ Fabaceae-Papilionoideae

ไม้ล้มลุก อายุหลายปีล�ำต้นเลื้อยพัน ใบประกอบมี3 ใบย่อย ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก

ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีขาวแกมชมพูสีม่วงอ่อน

หรือสีชมพูอ่อน ผลรูปแถบแกมขอบขนาน พบตามป่าเชิงเขา

P:99

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

95

คราม

Indigofera tinctoria L. วงศ์ Fabaceae-Papilionoideae

ไม้พุ่ม สูง 0.5-1 เมตร ใบประกอบแบบขนนก มี9-13 ใบย่อย มีหูใบรูปสามเหลี่ยมแคบ

ใบย่อยเรียงตรงข้าม รูปไข่กลับแกมขอบขนานถึงรูปไข่กลับ ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ

กลีบดอกรูปถั่ว สีชมพูฝักแบบถั่ว มี5-12 เมล็ด พบตามป่าเบญจพรรณ ต้นใช้ท�ำสีย้อมผ้า

P:100

PLANT

96 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

หญ้าหางอ้น

Uraria lagopodioides (L.) Desv. ex DC.

วงศ์ Fabaceae-Papilionoideae

ไม้พุ่มขนาดเล็ก ล�ำต้นกึ่งตั้งตรง สูง 16.7-40.9 เซนติเมตร ใบประกอบมีใบย่อย 1-3 ใบ

เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ สีชมพูแกมม่วง ผลเป็นฝักรูปขอบขนานสีด�ำมัน

ไม่มีขน เมล็ดมีสีน�้ำตาลถึงสีน�้ำตาลออกเหลือง พบตามป่าเต็งรัง รากฝนน�้ำปูนใสทาแก้ฝี

P:101

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

97

เมื่อย

Gnetum montanum Markgr.

วงศ์ Gnetaceae

ไม้เถาเนื้อแข็ง สูง 5-10 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปไข่ถึงรูปขอบขนานแกม

รูปไข่ดอกออกเป็นช่อแบบเชิงลด สีเขียวปนเหลือง เมล็ดรูปกระสวย เมื่อยังอ่อนสีเขียว

เมื่อแก่สีชมพูแดง พบตามป่าเบญจพรรณ เถาอ่อนต้มน�้ำดื่มแก้ปวดเมื่อย

P:102

PLANT

98 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

หญ้าดอกค�า

Hypoxis aurea Lour. วงศ์ Hypoxidaceae

ไม้ล้มลุก มีเหง้ากลมๆ หรือรียาว มีขนยาวสีขาวตามแผ่นใบ ล�ำต้นสูงประมาณ

2.5-10 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ ออกที่ยอดโคนใบ มี1-4 ช่อ เมล็ดจ�ำนวนมาก

ผิวเป็นตุ่มเล็กๆ กระจาย พบตามป่าเบญจพรรณ รากต้มน�้ำดื่ม บ�ำรุงโลหิต

P:103

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

99

นางแย้มป่า

Clerodendrum viscosum Vent. วงศ์ Lamiaceae

ไม้พุ่มขนาดกลาง สูงได้ถึง 2 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรีแกมรูปไข่

หรือรูปเกือบกลม ดอกสีขาวแกมชมพูมีกลิ่นหอม ผลเมล็ดเดียว แข็ง รูปร่างกลม

เมื่อแก่จัดมีสีด�ำ พบตามชายป่าทั่วไป ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:104

PLANT

100 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

อินทนิลบก

Lagerstroemia macrocarpa Wall.

วงศ์ Lythraceae

ไม้ต้นขนาดเล็ก เปลือกต้นสีเทาอ่อนหรือน�้ำตาล ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย

รูปไข่แกมขอบขนาน ไม่มีขน ดอกสีม่วงสดแล้วซีดออกสีชมพูผลรูปไข่หรือป้อมรี

เมื่อแก่แตกเป็น 5-6 แฉก พบตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ประดับให้ร่มเงา

P:105

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

101

โสมชบา

ไม้ล้มลุก อายุปีเดียวหรือหลายปีสูงได้ประมาณ 2 เมตร มีรากสะสมอาหารขนาดใหญ่

ใบที่โคนรูปไข่ ใบช่วงกลางและปลายล�ำต้นรูปลูกศร ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลืองนวล สีขาว

สีชมพูหรือสีชมพูอมแดง พบตามที่โล่งและป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

Abelmoschus moschatus Medik. subsp. tuberosus (Span.) Borss.Waalk.

วงศ์ Malvaceae

P:106

PLANT

102 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ปอลมปม

Thespesia lampas (Cav.) Dalzell & A.Gibson

วงศ์ Malvaceae

ไม้พุ่ม สูง 0.5-2.5 เมตร ล�ำต้นและกิ่งก้านมีขน ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกสีเหลืองสด

ดอกเดี่ยวออกที่ซอกใบใกล้ปลายยอด ผลแห้งแตกรูปไข่ป้อม มีสัน 5 สัน

แตกตามรอยสัน เมล็ดขนาดเล็กจ�ำนวนมาก พบตามชายป่าทั่วไป เปลือกใช้ท�ำเชือก

P:107

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

103

เหมือดจี้ดง

Memecylon plebejum Kurz var. ellipsoideum Craib

วงศ์ Melastomataceae

ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดเล็ก เปลือกต้นสีน�้ำตาล ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามในระนาบ ดอกมีขนาดเล็ก

สีม่วงอมน�้ำเงิน ก้านสั้น ออกตามกิ่งก้านเรียงเป็นแถว ผลสีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีม่วงอมน�้ำเงิน

มีเนื้อบางและเมล็ดขนาดใหญ่ พบตามป่าเบญจพรรณ เนื้อไม้ท�ำด้ามเครื่องมือเครื่องใช้

P:108

PLANT

104 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

สะแล

Broussonetia kurzii (Hook.f.) Corner วงศ์ Moraceae

ไม้เถาเลื้อย ใบเดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานถึงรูปไข่ดอกแยกเพศต่างต้น

ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ออกเป็นกลุ่ม ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจุกแน่น

พบตามป่าเบญจพรรณ ดอก ผล และใบ น�ำมาประกอบอาหาร

P:109

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

105

มะเดื่ออุทุมพร

Ficus racemosa L. วงศ์ Moraceae

ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เปลือกเรียบสีน�้ำตาลปนเทา ใบเดี่ยว เรียงสลับ

ใบรูปไข่หรือรูปใบหอก ดอกสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีแดงอมส้ม มีกลิ่นหอม

ผลรูปทรงคล้ายกรวยหรือค่อนข้างกลม สีเหลืองหรือสีแดง เมล็ดแข็ง

พบตามป่าเบญจพรรณและบริเวณริมล�ำห้วย ต้นเข้ายาแก้ปวดเมื่อย

P:110

PLANT

106 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

พิลังกาสา

Ardisia polycephala Wall. ex A.DC. วงศ์ Myrsinaceae

ไม้ต้นขนาดเล็ก ใบเดี่ยว ออกสลับกันเป็นคู่ๆ ตามข้อต้น ใบรูปไข่ หนา ใหญ่

มีสีเขียวเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกมีสีชมพูอมขาว

ผลโตเท่าขนาดเม็ดนุ่น เมื่อยังอ่อนเป็นสีแดง ผลแก่จะเป็นสีม่วงด�ำ

พบตามป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:111

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

107

ตาลเหลือง

Ochna integerrima (Lour.) Merr. วงศ์ Ochnaceae

ไม้ต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ ล�ำต้นสีน�้ำตาลเทา ใบเดี่ยว แผ่นใบรูปรีขอบใบหยักเป็นคลื่น

ดอกออกเป็นช่อใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลือง มีฐานรองดอก ผลสีเขียว

เมื่อสุกมีสีด�ำ พบตามป่าเต็งรัง หรือบนลานหินที่โล่ง ผลแก้พิษ แก้ไข้และแก้อาหารไม่ย่อย

P:112

PLANT

108 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ก่อแซะ

Anacolosa ilicoides Mast. วงศ์ Olacaceae

ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก เปลือกสีเทา ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรีแกมขอบขนาน

ดอกสีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นหรือเป็นกระจุกตามง่ามใบ ผลรูปไข่ เมื่อสุกสีแดง

พบตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง เนื้อไม้ท�ำด้ามเครื่องมือเครื่องใช้

P:113

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

109

เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิด

Aerides falcata Lindl. วงศ์ Orchidaceae

กล้วยไม้อิงอาศัย เจริญทางยอด ใบเดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนาน แผ่นใบแบน

พับเข้าหากัน ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ ห้อยลง ออกบริเวณซอกใบ ดอกสีขาวและสีชมพู

กลีบดอกรูปช้อน กลีบปากกลางชมพูเข้ม แผ่ออกเป็นรูปไข่ ปลายเว้า

พบตามป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:114

PLANT

110 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กะเรกะร่อน

Cymbidium aloifolium (L.) Sw. วงศ์ Orchidaceae

กล้วยไม้อิงอาศัย ล�ำลูกกล้วยสั้น รูปไข่ค่อนข้างแบน ใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรูปแถบ

ขอบเรียบ แผ่นใบหนาแข็ง ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ดอกย่อยจ�ำนวนมาก ใบประดับ

ย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน กลีบดอกรูปใบหอกกลับแกมรูปไข่กลับ สีเหลืองอม

เขียว กลางกลีบดอกมีแถบสีน�้ำตาลแดง พบตามป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:115

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

111

เอื้องดอกมะขาม

Dendrobium delacourii Guillaumin วงศ์ Orchidaceae

กล้วยไม้อิงอาศัย ล�ำต้นรูปทรงกระบอก ขึ้นเป็นกอแน่น ใบเดี่ยว 5-6 ใบ เรียงเวียน

ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะปลายล�ำต้น กลีบดอกสีเขียวหรือสีเหลือง ดอกย่อย 10-25 ดอก

ผลแห้งแตก พบตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:116

PLANT

112 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ช้างกระ

Rhynchostylis gigantea (Lindl.) Ridl. var. gigantea วงศ์ Orchidaceae

กล้วยไม้อิงอาศัย ล�ำต้นเจริญทางปลายยอด ใบขนาดใหญ่ รูปขอบขนาน เรียงสลับ

ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะ ออกข้างล�ำต้น กลีบดอกสีขาวและมีจุดสีม่วงแดงจ�ำนวนมาก

ดอกมีกลิ่นหอม พบตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:117

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

113

เข็มขาว

Vanda lilacina Teijsm. & Binn. วงศ์ Orchidaceae

กล้วยไม้อิงอาศัย ล�ำต้นสูง 10-15 เซนติเมตร รากอวบหนา ใบเดี่ยว รูปแถบ

ยาว 10-12 เซนติเมตร เนื้อใบหนา ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะตั้งขึ้น มี10-15 ดอก

กลีบดอกสีขาว กลีบปากเป็นถุง ปลายกลีบพับออกมีแต้มสีชมพูม่วง

พบตามป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:118

PLANT

114 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ผักสาบ

Adenia viridiflora Craib วงศ์ Passifloraceae

ไม้เถาเนื้อแข็ง ล�ำต้นและกิ่งเกือบกลม มีมือจับ ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปรีแกมรูปไข่

ดอกออกเป็นช่อแบบกระจุก ออกเป็นคู่ตามซอกใบ ดอกสีเขียว ผลแห้งแตก

รูปกลมหรือรูปรีผลห้อยลง พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง

ยอดอ่อน ใบอ่อน และผลอ่อน รับประทานได้

P:119

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

115

ชายผ้าสีดา

Platycerium wallichii Hook. วงศ์ Polypodiaceae

เฟินอิงอาศัย มีเหง้าทอดเลื้อยสั้นๆ ใบมีสองแบบ คือ ใบกาบ ใบที่ไม่สร้างสปอร์ลักษณะ

ใบตั้งขึ้นและปลายขอบเป็นแฉกลึก และใบชายผ้า ใบที่สร้างสปอร์ลักษณะใบห้อยลง

อับสปอร์เกิดทางด้านล่างบริเวณปลายหรือขอบของใบชายผ้าอยู่รวมกันหนาแน่น

สปอร์มีสีน�้ำตาล พบตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ปลูกเป็นไม้ประดับ

P:120

PLANT

116 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ส้มกบ

Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. วงศ์ Rubiaceae

ไม้ต้น ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก เป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง รูปไข่หรือรูปโล่

ดอกออกเป็นช่อแบบแยกแขนง ออกที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดเล็ก

กลีบดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ผลแห้ง รูปรีสีน�้ำตาลแดง ที่ปลายเมล็ดมีปีกเป็นครีบบาง

พบตามป่าเต็งรัง ราก แก่น และเปลือก แก้ไข้แก้กระหายน�้ำ

P:121

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

117

เข็มพวง

Ixora butterwickii Hole var. butterwickii วงศ์ Rubiaceae

ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 4 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูปขอบขนาน

แกมรูปไข่ ปลายแหลมหรือป้าน โคนป้านหรือรูปลิ่ม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง

ดอกออกเป็นช่อแบบซี่ร่มเชิงประกอบ กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพูรูปดอกเข็ม

พบตามป่าเบญจพรรณ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ

P:122

PLANT

118 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ยอดิน

Morinda angustifolia Roxb. var. angustifolia วงศ์ Rubiaceae

ไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุกขนาดเล็ก สูง 6 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม

ดอกออกเป็นช่อแบบกระจุก ดอกย่อยจ�ำนวนมาก กลีบดอกสีขาว

รูปดอกเข็ม ปลายแยกเป็น 5 แฉก ผลรูปไข่กลับถึงรูปเกือบกลม

พบตามป่าเบญจพรรณ รากใช้ย้อมผ้า ให้สีส้มแดง

P:123

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

119

สะแล่งหอมไก๋

Rothmannia sootepensis (Craib) Bremek. วงศ์ Rubiaceae

ไม้ต้น สูงถึง 10 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีถึงขอบขนาน

ปลายแหลม ดอกสีขาวออกเป็นช่อ 1-3 ดอก ผลเดี่ยว สีเขียว รูปกลมรีผิวมัน

ขนาด 2.5-3.3 เซนติเมตร ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เมล็ดกลมแบนจ�ำนวนมาก

พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกมีกลิ่นหอม

P:124

PLANT

120 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

แข้งกวางดง

Wendlandia paniculata (Roxb.) DC. วงศ์ Rubiaceae

ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรีแกมหอก ดอกสีขาว

ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกเป็นหลอดปลายแยกเป็น 5 กลีบ ม้วนออกด้านนอก

ผลรูปกลมขนาด 1-1.2 มิลลิเมตร ผิวเกลี้ยง เมื่อแห้งแตกเป็น 2 ซีก

พบตามป่าเบญจพรรณ เนื้อไม้ใช้ท�ำด้ามเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในร่มได้ดี

P:125

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

121

โคกกระออม

Cardiospermum halicacabum L. วงศ์ Sapindaceae

ไม้เถาล้มลุก แตกกิ่งจ�ำนวนมาก ล�ำต้นเป็นริ้ว ดอกออกเป็นช่อ ยาว 5-14 เซนติเมตร

ดอกสีขาว รูปไข่กลับหรือเกือบกลม ยาว 2-3 มิลลิเมตร เมล็ดกลม ผิวเรียบ

สีน�้ำตาลด�ำ พบตามชายป่าทั่วไป ใบลวกจิ้มกับน�้ำพริก

P:126

PLANT

122 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

มะหวด

Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. วงศ์ Sapindaceae

ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 เมตร ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมี3-6 คู่

ดอกสีขาวถึงสีเหลืองอ่อน ผลอ่อนสีเขียว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแดง เมื่อแก่จัดสีม่วงด�ำ

พบตามป่าเบญจพรรณ ใบอ่อนรับประทานแทนผัก ผลมีรสหวาน รับประทานได้

P:127

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

123

คอแลน

Nephelium hypoleucum Kurz วงศ์ Sapindaceae

ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงเวียน ใบย่อยรูปขอบ

ขนานหรือรูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อแบบแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว

ผลสุกสีแดง เปลือกผลแยกจากเนื้อเมล็ด พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง

ผลแก่รับประทานได้เนื้อไม้ใช้ท�ำเครื่องมือทางการเกษตร

P:128

PLANT

124 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ตูมกาขาว

Strychnos nux–blanda A.W.Hill วงศ์ Strychnaceae

ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่กว้างถึงกลม

ดอกออกเป็นช่อกระจุกแบบแยกแขนง สีเขียวหรือสีเขียวอ่อน ผลกลม เปลือกหนา

เมื่อสุกสีส้ม มีเนื้ออุ้มน�้ำ เมล็ดแบน พบตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ

รากต้มน�้ำดื่มเป็นยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใบแก้โรคผิวหนัง แก้แผลเรื้อรัง

P:129

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

125

เครือห้าต่อเจ็ด

Tetrastigma serrulatum (Roxb.) Planch. วงศ์ Vitaceae

ไม้เถาเนื้อแข็ง ใบประกอบแบบนิ้วมือ มี5 ใบย่อย ก้านใบย่อยสั้น ใบย่อยรูปไข่ถึงรูปใบหอก

ปลายเรียวแหลม โคนแหลมหรือเบี้ยว ขอบหยักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อแบบซี่ร่มแยกแขนง

ออกที่ซอกใบ ดอกตูมรูปไข่ถึงรูปรีดอกแยกเพศ กลีบดอกรูปไข่ถึงรูปรีเกลี้ยง ผลแก่มีสีม่วงด�ำ

พบตามป่าเบญจพรรณและชายป่าทั่วไป ดอกและยอดอ่อนรับประทานได้

P:130

PLANT

126 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เปราะทองลาร์เซน

Cornukaempferia larsenii P.Saensouk วงศ์ Zingiberaceae

ไม้ล้มลุก อายุหลายปีมีเหง้าสั้น ใบเดี่ยว แผ่นใบด้านบนสีเขียว อาจมีแต้มสีเงินเล็กน้อย

ระหว่างเส้นใบ แผ่นใบด้านล่างสีเขียว มีขนกระจายทั่ว ดอกออกเป็นช่อ เกิดกลางกลุ่มใบ

มี3-5 ดอก สีแดงส้ม ผลกลมสีแดง พบตามป่าเบญจพรรณ

P:131

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

127

กระเจียวขาวปากเหลือง

Curcuma cochinchinensis Gagnep. วงศ์ Zingiberaceae

ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน ใบรูปไข่แกมรูปใบหอก ดอกออกเป็นช่อ เกิดกลางกลุ่มใบ

แผ่นใบด้านล่างมีขนคลุมหนาแน่น ใบประดับสีเหลืองอ่อนหรือสีชมพู

กลีบดอกและกลีบปากมีสีขาว มีแถบสีเหลืองตามแนวเส้นกลางแผ่นกลีบปาก

พบตามป่าเบญจพรรณ ช่อดอกอ่อนรับประทานได้

P:132

PLANT

128 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กระเจียวขาว

Curcuma parviflora Wall. วงศ์ Zingiberaceae

ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดินรูปไข่ขนาดประมาณ 2 เซนติเมตร ใบเดี่ยว รูปรีดอกสีขาว

มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน รูปไข่กลับ สีขาวหรือแต้มสีม่วงหรือน�้ำเงิน

พบตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ช่อดอกอ่อนน�ำมาต้มรับประทานได้

P:133

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

PLANT

129

ปุดเมืองกาน

Etlingera araneosa (Bak.) R.M. Sm. วงศ์ Zingiberaceae

ไม้ล้มลุก มีเหง้าสูง 2-3 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ดอกสีแดงสด

ออกเป็นช่อจากเหง้า ก้านช่อดอกสั้น โคนช่อมีกาบหุ้มซ้อนกันเป็นเกล็ด ใบประดับสีเขียว

พบตามริมล�ำห้วยและที่มีความชื้นสูง ช่อดอกอ่อนและผลสุกรับประทานได้

P:134

PLANT

130 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ว่านกระหัง

Gagnepainia thoreliana (Baill.) K.Schum. วงศ์ Zingiberaceae

ไม้ล้มลุก อายุหลายปีมี2-4 ใบ ใบเดี่ยว รูปรีถึงรูปไข่ดอกออกเป็นช่อแบบเชิงลด

ใบประดับย่อยสีเขียว ดอกย่อยสีขาว มีได้ถึง 50 ดอก กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปไข่โค้ง

ผลแห้งแตก รูปไข่ มีขน พบตามป่าเบญจพรรณและป่าไผ่

P:136

ANIMAL

132 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrates)

เป็นกลุ่มสัตว์ที่ภายในล�ำตัวไม่มีโครงกระดูกเป็นแกนกลางของร่างกาย

แบ่งออก เป็นกลุ่มย่อย คือ กลุ่มฟองน�้ำ กลุ่มหนอนปล้อง กลุ่มมีล�ำตัวอ่อนนุ่ม

กลุ่มมีขาเป็นข้อปล้อง กลุ่มมีโพรงล�ำตัว กลุ่มหนอนตัวกลม กลุ่มมีหนามตามผิวหนัง

และกลุ่มหนอนตัวแบน

สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรสัตว์(Kingdom Animalia) แบ่งออก

เป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ

กลุ่มล�ำตัวอ่อนนุ่ม

กลุ่มขาเป็นข้อปล้อง

P:137

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

133

กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrates)

ภายในล�ำตัวมีโครงกระดูกเป็นแกนกลางของร่างกาย

มีสมมาตรแบบซีกซ้ายซีกขวาเหมือนกัน สัตว์กลุ่มนี้แบ่งเป็น

กลุ่มย่อย คือ กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม กลุ่มนก กลุ่มสัตว์

เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบก และกลุ่มปลา

กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบก

กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน

กลุ่มนก

P:138

ANIMAL

134 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

การส�ำรวจ

บันทึกข้อมูล

ถ่ายภาพ

พบรังไข่ไก่ป่า

ส่องดูสัตว์

การสำรวจสัตว์ป่ามี 2 วิธี 1. การสำรวจทางตรง (Direct count)

สำรวจสัตว์ป่าโดยพบเห็นตัว ซึ่งได้จากการเดินสำรวจ

ตามเส้นทางเดินธรรมชาติ เช่น รอยเท้า กองมูล เสียงร้อง รัง

ซาก เป็นต้น รวมถึงการดักจับโดยใช้กับดัก

2. การสำรวจทางอ้อม (Indirect count)

โดยการสอบถามจากชาวบ้าน ซึ่งอาศัยหรือปฏิบัติงาน

อยู่ในพื้นที่นั้น สามารถใช้เป็นข้อมูลเพิ่มเติมด้านการใช้ประโยชน์

จากสัตว์ป่าของผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยรอบ

P:139

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

135

การใช้กับดัก

กับดักข่ายเวหา ส�ำรวจชนิดสัตว์ที่บินได้ได้แก่ นกและค้างคาว

กับดักกรง ส�ำรวจ กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ที่หากินตามต้นไม้และพื้น

ดิน เช่น กระรอก หนูพังพอน โดยการเอาผลไม้ใส่ในกับดักกรงวางไว้ตามต้นไม้หรือ

พื้นดิน

P:140

ANIMAL

136 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กับดักหลุม ส�ำรวจสัตว์กลุ่มสะเทินน�้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์

เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิด เช่น หนูผีและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ใช้กับสัตว์ที่หากิน

ตามพื้นดิน

ตาข่ายดักปลาใช้จับปลาตามเส้นทางน�้ำแต่ละสายของป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา คือ

ห้วยน�้ำต๊ะ ห้วยน�้ำรีห้วยทรายงาม และวังน�้ำต๊ะ

ความหลากหลายของสัตว์ป่า

ปลาดุกด้าน Clarias batrachus

เต่าเหลือง Indotestudo elongata

พบ 211 ชนิด แบ่งเป็น

กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

กลุ่มนก

กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน

กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำาสะเทินบก

กลุ่มปลา

และกลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

23 ชนิด

97 ชนิด

23 ชนิด

13 ชนิด

25 ชนิด

30 ชนิด

จ�ำนวนสัตว์ที่พบ 211 ชนิด

* 113 ชนิด เป็นสัตว์ป่ำคุ้มครอง

ตำมพระรำชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่ำ พ.ศ. 2535

*36 ชนิด แยกตำมสถำนภำพของ

THAILAND RED DATA

ดังนี้

กลุ่มสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ 1 ชนิด คือ

เต่ำเหลือง กลุ่มสัตว์มีแนวโน้มใกล้

สูญพันธุ์ 1 ชนิด คือ ปลำดุกด้ำน

กลุ่มสัตว์ใกล้ถูกคุกคำม 8 ชนิด

กลุ่มสัตว์ที่เป็นกังวลน้อยที่สุด 25

ชนิด กลุ่มสัตว์ข้อมูลไม่เพียงพอ

1 ชนิด

P:141

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

137 ป่าล�าน�้าน่านฝั่งขวา

ANIMAL

137

ความหลากหลายของสัตว์ป่า

ปลาดุกด้าน Clarias batrachus

เต่าเหลือง Indotestudo elongata

พบ 211 ชนิด แบ่งเป็น

กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

กลุ่มนก

กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน

กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำาสะเทินบก

กลุ่มปลา

กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

23 ชนิด

97 ชนิด

23 ชนิด

13 ชนิด

25 ชนิด

30 ชนิด

จ�ำนวนสัตว์ที่พบ 211 ชนิด

* 113 ชนิด เป็นสัตว์ป่ำคุ้มครอง

ตำมพระรำชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่ำ พ.ศ. 2535

*36 ชนิด แยกตำมสถำนภำพของ

THAILAND RED DATA

ดังนี้

กลุ่มสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ 1 ชนิด คือ

เต่ำเหลือง กลุ่มสัตว์มีแนวโน้มใกล้

สูญพันธุ์ 1 ชนิด คือ ปลำดุกด้ำน

กลุ่มสัตว์ใกล้ถูกคุกคำม 8 ชนิด

กลุ่มสัตว์ที่เป็นกังวลน้อยที่สุด 25

ชนิด กลุ่มสัตว์ข้อมูลไม่เพียงพอ

1 ชนิด

P:142

ANIMAL

138 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

สัตว์

ที่น่าสนใจ

นก เป็นสัตว์ป่าธรรมชาติสามารถพบเห็นได้ทั่วไป มีพฤติกรรมในการด�ำรง

ชีวิตแตกต่างกันไปตามชนิดและสายพันธุ์เสียงร้องของนกคือสื่ออย่างหนึ่งที่นก

แสดงออกเพื่อบ่งบอกถึงอารมณ์ความทุกข์หรือความสุขในช่วงเวลานั้นๆ พื้นที่ป่า

สงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา สามารถพบนกบริเวณป่าเบญจพรรณ

และป่าเต็งรัง มีนกหลากหลายชนิดล้วนเป็นนกที่มีความสวยงามและมีเสียงที่

ไพเราะ บางชนิดพบเห็นได้ทั่วไปแต่บางชนิดอาจพบเห็นได้ยาก เช่น นกเขาเขียว

นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ นกสาลิกาเขียว นกปีกลายสก๊อต นกกะรางหัวหงอก

นกกางเขนดง และนกขมิ้นท้ายทอยด�ำ เป็นต้น นกมีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งใน

ระบบนิเวศ ช่วยแพร่กระจายพันธุ์พืช ควบคุมแมลงศัตรูพืช และเป็นตัวบ่งบอกถึง

ความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่า นกเหล่านี้ต้องการป่าที่เป็นบ้านในการด�ำรงชีวิต

เช่นเดียวกับมนุษย์และสัตว์อื่นๆ ดังนั้นเราจึงต้องช่วยกันดูแลรักษาป่าเพื่อเป็น

แหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยให้กับนกเหล่านี้เพื่อให้สัตว์น้อยใหญ่และมนุษย์มี

เสียงเพลงธรรมชาติได้ฟังทุกวัน

นกปีกลายสก๊อต นกกะรางหัวหงอก นกกางเขนดง

P:143

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

139

รายชื่อความหลากหลายของสัตว์ป่า

กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

1 แมวดาว Prionailurus bengalensis Felidae * -

2 พังพอนธรรมดา Herpestes javanicus Herpestidae * -

3 เม่นใหญ่ Hystrix brachyura Hystricidae * LC

4 กระต่ายป่า Lepus peguensis Leporidae * -

5 หนูพุกเล็ก Bandicota savilei Muridae - -

6 หนูผี Crocidura sp. Muridae - -

7 หนูหวาย Leopoldamys sabanus Muridae - -

8 หนูท้องขาว Rattus rattus Muridae - -

9 ลิ่น Manis sp. Manidae * -

10 ค้างคาว

ขอบหูขาวกลาง

Cynopterus sphinx Rhinolophidae - -

11 ค้างคาวเล็บกุด Eonycteris spelaea Rhinolophidae * -

12 ค้างคาวบัวฟันรี Rousettus leschenaulti Rhinolophidae - -

13 ค้างคาว

หน้ายาวเล็ก

Macroglossus minimus Rhinolophidae * -

14 ค้างคาว

หน้ายาวใหญ่

Macroglossus sobrinus Rhinolophidae * -

P:144

ANIMAL

140 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

15 ค้างคาวแวมไพร์

แปลงเล็ก

Megaderma spasma Rhinolophidae * -

16 ค้างคาวไผ่หัว

แบนใหญ่

Tylonycteris robustula Rhinolophidae * -

17 อ้นเล็ก Cannomys badius Spalacidae - -

18 กระจ้อน Menetes berdmorei Sciuridae - -

19 กระรอกหลากสี Callosciurus finlaysoni Sciuridae - -

20 กระรอกบินเล็ก

แก้มขาว

Hylopetes phayrei Sciuridae * -

21 กระเล็นขน

ปลายหูสั้น

Tamiops mcclellandi Sciuridae - -

22 หมูป่า Sus scrofa Suidae - -

23 กระแตเหนือ Tupaia belangeri Tupaiidae -

กลุ่มนก

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

1 เหยี่ยวนกเขา

ชิครา

Accipiter badius Accipitridae * -

2 เหยี่ยวกิ้งก่าสีด�ำ Aviceda leuphotes Accipitridae * -

3 เหยี่ยวปีกแดง Butastur liventer Accipitridae * NT

4 เหยี่ยวขาว Elanus caeruleus Accipitridae * -

5 เหยี่ยวรุ้ง Spilornis cheela Accipitridae * -

6 นกขมิ้นน้อย

ธรรมดา

Aegithina tiphia Aegithinidae * -

P:145

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

141

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

7 นกกะเต็นน้อย

ธรรมดา

Alcedo atthis Alcedinidae * -

8 นกกะเต็นอก

ขาว

Halcyon smyrnensis Alcedinidae * -

9 นกเป็ดแดง Dendrocygna javanica Anatidae * -

10 นกยางกรอก

พันธุ์จีน

Ardeola bacchus Ardeidae * -

11 นกยางควาย Bubulcus coromandus Ardeidae * -

12 นกแอ่นพง Artamus fuscus Artamidae * -

13 นกกระปูดเล็ก Centropus bengalensis Centropodidae * -

14 นกกระปูดใหญ่ Centropus sinensis Centropodidae * -

15 นกกระแตแต้

แว้ด

Vanellus indicus Charadriidae * -

16 นกเขียวก้าน

ตองหน้าผากสี

ทอง

Chloropsis aurifrons Chloropseidae * -

17 นกปากห่าง Anastomus oscitans Ciconiidae * -

18 นกเขาเขียว Chalcophaps indica Columbidae * -

19 นกพิราบป่า** Columba livia Columbidae * -

20 นกเขาชวา Geopelia striata Columbidae - -

21 นกเขาใหญ่ Streptopelia chinensis Columbidae - -

22 นกเขาไฟ Streptopelia

tranquebarica

Columbidae * -

23 นกตะขาบทุ่ง Coracias benghalensis Coraciidae * -

P:146

ANIMAL

142 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

24 นกสาลิกาเขียว Cissa chinensis Corvidae * -

25 นกกาแวน Crypsirina temia Corvidae * -

26 นกปีกลายสก๊อต Garrulus glandarius Corvidae * -

27 นกขุนแผน Urocissa erythrorhyncha Corvidae * -

28 นกคัคคูหงอน Clamator coromandus Cuculidae * -

29 นกบั้งรอกใหญ่ Phaenicophaeus tristis Cuculidae * -

30 นกสีชมพูสวน Dicaeum cruentatum Dicaeidae * -

31 นกแซงแซวหงอน

ขน

Dicrurus hottentottus Dicruridae * -

32 นกแซงแซวสีเทา Dicrurus leucophaeus Dicruridae * -

33 นกแซงแซวหาง

บ่วงใหญ่

Dicrurus paradiseus Dicruridae * -

34 นกแซงแซว

หางปลา

Dicrurus macrocercus Dicruridae * -

35 นกกระติ๊ดขี้หมู Lonchura punctulata Estrildidae * -

36 นกกระติ๊ดตะโพก

ขาว

Lonchura striata Estrildidae * -

37 นกตบยุงหางยาว Caprimulgus macrurus Eurostopodidae

* -

38 นกแอ่นฟ้าหงอน Hemiprocne coronata Hemiprocnidae * -

39 นกนางแอ่นบ้าน Hirundo rustica Hirundinidae * -

40 นกอีเสือสีน�้ำตาล Lanius cristatus Laniidae * -

41 นกโพระดกคอ

สีฟ้า

Megalaima asiatica Megalaimidae * -

P:147

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

143

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

42 นกตีทอง Megalaima

haemacephala

Megalaimidae * -

43 นกโพระดก

ธรรมดา

Megalaima lineata Megalaimidae * -

44 นกจาบคาหัว

สีส้ม

Merops leschenaulti Meropidae * -

45 นกจาบคาเล็ก Merops orientalis Meropidae * -

46 นกเด้าดินทุ่งเล็ก Anthus rufulus Motacillidae * -

47 นกอุ้มบาตร Motacilla alba Motacillidae * -

48 นกเด้าลมหลัง

เทา

Motacilla cinerea Motacillidae * -

49 นกจับแมลงจุกด�ำ Hypothymis azurea Monarchidae * -

50 นกกางเขนดง Copsychus

malabaricus

Muscicapinae * -

51 นกกางเขนบ้าน Copsychus saularis Muscicapinae * -

52 นกจับแมลงอก

ส้มท้องขาว

Cyornis tickelliae Muscicapinae * -

53 นกจับแมลงสีฟ้า Eumyias thalassinus Muscicapinae * -

54 นกจับแมลง

คอแดง

Ficedula albicilla Muscicapinae * -

55 นกจับแมลง Ficedula sp. Muscicapinae * -

56 นกจับแมลงสี

น�้ำตาล

Muscicapa dauurica Muscicapinae * -

57 นกยอดหญ้าสีด�ำ Saxicola caprata Muscicapinae * -

P:148

ANIMAL

144 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

58 นกยอดหญ้าสีเทา Saxicola ferrea Muscicapinae * -

59 นกยอดหญ้าหัวด�ำ Saxicola stejnegeri Muscicapinae * -

60 นกปลีกล้วยเล็ก Arachnothera

longirostra

Nectariniidae * -

61 นกปลีกล้วยลาย Arachnothera magna Nectariniidae * -

62 นกกินปลีคอสี

น�้ำตาล

Anthreptes malacensis Nectariniidae * -

63 นกกินปลีแก้มสี

ทับทิม

Anthreptes singalensis Nectariniidae * -

64 นกกินปลีคอแดง Aethopyga siparaja Nectariniidae * -

65 นกกินปลีอก

เหลือง

Cinnyris jugularis Nectariniidae * -

66 นกขมิ้นท้ายทอย

ด�ำ

Oriolus chinensis Oriolidae * -

67 นกกระจอกบ้าน Passer montanus Passeridae - -

68 ไก่ป่า Gallus gallus Phasianidae * -

69 นกกระจิ๊ด

ธรรมดา

Phylloscopus inornatus Phylloscopidae * -

70 นกกระจิ๊ด

ปากหนา

Phylloscopus schwarzi Phylloscopidae * -

71 นกแต้วแล้ว

ธรรมดา

Pitta moluccensis Pittidae * -

72 นกกระจาบ

ธรรมดา

Ploceus philippinus Ploceidae * NT

73 นกเป็ดผีเล็ก Tachybaptus ruficollis Podicipedidae * -

P:149

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

145

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

74 นกแขกเต้า Psittacula alexandri Psittacidae * -

75 นกปรอดโอ่ง

เมืองเหนือ

Alophoixus pallidus Pycnonotidae * -

76 นกปรอดเทา

หัวขาว

Hypsipetes thompsoni Pycnonotidae * -

77 นกปรอดทอง Pycnonotus atriceps Pycnonotidae * -

78 นกปรอดหัวสี

เขม่า

Pycnonotus aurigaster Pycnonotidae * -

79 นกปรอดสวน Pycnonotus blanfordi Pycnonotidae * -

80 นกปรอดหัวโขน Pycnonotus jocosus Pycnonotidae * NT

81 นกปรอดเหลือง

หัวจุก

Pycnonotus

flaviventris

Pycnonotidae * -

82 นกกวัก Amaurornis

phoenicurus

Rallidae * -

83 นกอีแพรดแถบ

อกด�ำ

Rhipidura javanica Rhipiduridae * -

84 นกเค้าโมง Glaucidium cuculoides Strigidae * -

85 นกเค้ากู่ Otus lettia Strigidae * -

86 นกเอี้ยงหงอน Acridotheres grandis Sturnidae * -

87 นกเอี้ยงสาริกา Acridotheres tristis Sturnidae * -

88 นกขุนทอง Gracula religiosa Sturnidae * NT

89 นกเอี้ยงด่าง Sturnus contra Sturnidae * -

90 นกกิ้งโครงคอด�ำ Sturnus nigricollis Sturnidae * -

91 นกกระจิบคอด�ำ Orthotomus atrogularis Sylviidae * -

P:150

ANIMAL

146 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

92 นกกระจิบ

ธรรมดา

Orthotomus sutorius Sylviidae * -

93 นกกะรางสร้อย

คอเล็ก

Garrulax monileger Timaliidae * -

94 นกกะรางหัว

หงอก

Garrulax leucolophus Timaliidae * -

95 นกจาบดินอกลาย Pellorneum ruficeps Timaliidae * -

96 นกกระเบื้องผา Monticola solitarius Turdinae * -

97 นกแสก Tyto alba Tytonidae * NT

กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

1 กิ้งก่าแก้วเหนือ Calotes emma

alticristata

Agamidae * LC

2 กิ้งก่าหัวฟ้า Calotes mystaceus Agamidae * LC

3 กิ้งก่าหัวแดง Calotes versicolor Agamidae * LC

4 กิ้งก่าบินปีกส้ม Draco maculatus Agamidae * LC

5 แย้เหนือ Leiolepis belliana

ocellata

Agamidae - NT

P:151

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

147

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

6 งูเขียวพระอินทร์ Chrysopelea ornata Colubridae - -

7 งูทางมะพร้าวลาย

ขีด

Elaphe radiata Colubridae * -

8 งูงอดไทย Oligodon taeniatus Colubridae - LC

9 งูสิงบ้าน Ptyas korros Colubridae * LC

10 งูลายสาบคอแดง Rhabdophis subminiatus Colubridae - LC

11 งูลายสอใหญ่ Xenochrophis piscator Colubridae - LC

12 งูเห่าหม้อ Naja kaouthia Elapidae - LC

13 งูเห่าสยาม Naja siamensis Elapidae - LC

14 ตุ๊กแกบ้าน Gekko gecko Gekkonidae - LC

15 จิ้งจกหางหนาม Hemidactylus frenatus Gekkonidae - LC

16 จิ้งจกหางแบนเล็ก Hemidactylus platyurus Gekkonidae - -

17 จิ้งเหลนลาย

อินโดจีน

Lipinia vittigera Scincidae - LC

18 จิ้งเหลนหลากลาย Mabuya macularia Scincidae - -

19 จิ้งเหลนบ้าน Mabuya multifasciata Scincidae - LC

20 จิ้งเหลนเรียวท้อง

เหลือง

Riopa bowringii Scincidae - LC

21 จิ้งเหลนภูเขาเกล็ด

เรียบ

Sphenomorphus

maculatus

Scincidae - LC

22 เต่าเหลือง Indotestudo elongata Testudinidae * EN

23 ตะกวด Varanus bengalensis Varanidae * -

P:152

ANIMAL

148 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กลุ่มสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบก

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

1 คางคกหัวราบ Bufo macrotis Bufonidae * LC

2 คางคกบ้าน Bufo melanostictus Bufonidae - LC

3 อึ่งลาย Calluella guttulata Microhylidae - LC

4 อึ่งเพ้า Glyphoglossus molossus Microhylidae - NT

5 อึ่งอ่างบ้าน Kaloula pulchra Microhylidae - LC

6 อึ่งน�้ำเต้า Microhyla ornata Microhylidae - LC

7 อึ่งข้างด�ำ Microhyla heymonsi Microhylidae - LC

8 กบหนอง Fejervarya limnocharis Ranidae - DD

9 กบนา Hoplobatrachus rugulosus Ranidae - -

10 กบหงอน Limnonectes gyldenstolpei Ranidae - LC

11 กบหลังไพล Rana lateralis Ranidae - LC

12 กบอ่องเล็ก Rana nigrovittata Ranidae - NT

13 ปาดบ้าน Polypedates

megacephalus

Rhacophoridae - -

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

1 ปลาแป้นแก้ว Parambassis siamensis Ambassidae - -

2 ปลาหมอไทย Anabas testudineus Anabantidae - -

3 ปลากดเหลือง Hemibagrus nemurus Bagridae - -

4 ปลาเข็มแม่น�้ำ Xenentodon cancila Belonidae - -

กลุ่มปลา

P:153

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

149

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

5 ปลาก้าง Chana gachua Channidae - -

6 ปลาช่อน Channa striata Channidae - -

7 ปลานิล Oreochromis niloticus Cichlidae - -

8 ปลาดุกด้าน Clarias batrachus Clariidae - VU

9 ปลาซิวใบไผ่เล็ก Danio albolineatus Cyprinidae - -

10 ปลาซิวหนวดยาว Esomus metallicus Cyprinidae - -

11 ปลาเลียหิน Garra cambodgiensis Cyprinidae - -

12 ปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota Cyprinidae

13 ปลาขี้ยอกหาง

เหลือง

Mystacoleucus

marginatus

Cyprinidae - -

14 ปลาน�้ำหมึก Barilius koratensis Cyprinidae - -

15 ปลาตะเพียน

น�้ำตก

Puntius binotatus Cyprinidae - -

16 ปลาตะเพียนทราย Puntius brevis Cyprinidae - -

17 ปลาแก้มช�้ำ Systomus orphoides Cyprinidae - -

18 ปลาซิวควาย

แถบด�ำ

Rasbora paviena Cyprinidae - -

19 ปลากระทิงลาย Mastacembelus favus Mastacembelidae - -

20 ปลาค้อแม่น�้ำน่าน Schistura menanensis Nemacheilidae - -

21 ปลาสลาด Notopterus notopterus Notopteridae - -

22 ปลากระดี่หม้อ Trichogaster trichopterus Osphronemidae - -

23 ปลาหมอช้าง

เหยียบ

Pristolepis fasciata Pristolepididae - -

24 ปลาไหลนา Monopterus albus Synbranchidae - -

25 ปลาเข็ม Dermogenys pusilla Zenarchopteridae - -

P:154

ANIMAL

150 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

1 หอยเชอรี่ Pomacea canaliculata Ampullaridae - -

2 หอยโข่ง Pila ampullacea Ampullariidae - -

3 แมงนุ่งซิ่นใหญ่ Argiope pulchella Araneidae - -

4 แมงนุ่นซิ่นแถบถี่ Argiope aemulae Araneidae - -

5 แมงมุมหลัง

หนามฮาสเซลล์

Gasteracantha hasseltii Araneidae - -

6 แมงมุมใยกลม

แรมฟี

Neoscona cf. ramfi Araneidae - -

7 แมงมุมใยกลม

นอติกา

Neoscona cf. nautica Araneidae - -

8 หอยทากสยาม Cryptozona siamensis Ariophantidae - -

9 แมงป่องเล็ก Isometrus maculatus Buthidae - -

10 หอยหอมมลายู Cyclophorus malayanus Cyclophoridae - -

11 กิ้งกือกระบอก Thyropygus allevatus Harpagophoridae

- -

12 กิ้งกือกระบอก

เงิน

Thyropygus peninsularis Harpagophoridae

- -

13 หอยห่อเปลือก

ใหญ่สยาม

Megaustenia siamensis Helicarionidae - -

14 แมงมุมสองหาง Hersilia sp. Hersilidae - -

15 แมงมุมใยทอง

ท้องด�ำ

Nephila kuhlii Nephilidae - -

16 แมงมุมใยทอง

ท้องขนาน

Nephila maculata Nephilidae - -

P:155

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

151

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สถานภาพ

พ.ร.บ. TRD

17 กิ้งกือตะเข็บ

เหลือง

Orthomorpha

communis

Paradoxosomatidae - -

18 กิ้งกือตะเข็บ

ชมพู

Orthomorpha

picturata

Paradoxosomatidae - -

19 ปู Siamthelphusa sp. Parathelphusidae - -

20 ปูน�้ำตก Beccumon

alcockianum

Potamidae - -

21 ปูเจ้าพ่อหลวง Potamon bhumibol Potamidae - -

22 ปูป่า Thaipotamon sp.1 Potamidae - -

23 ปูป่า Thaipotamon sp.2 Potamidae - -

24 ตะขาบ Scolopendra sp. Scolopendridae - -

25 แมงป่องช้าง Heterometrus spinifer Scorpionidae - -

26 แมงมุมพเนจร Heteropoda sp. Sparassidae - -

27 กระสุน

พระอินทร์

Glomeris marginata Sphaerotheriidae - -

28 บึ้งด�ำเล็ก Haplopelma minax Theraphosidae - -

29 หอยขม Filopaludina martensi Viviparidae - -

30 แมงมุมแตงไทย Storenomorpha sp. Zodariidae - -

ใกล้สูญพันธุ์

มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์

ใกล้ถูกคุกคาม

กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

ข้อมูลไม่เพียงพอ

เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

EN

VU

NT

LC

DD

*

**

พ.ร.บ. พระราชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

TRD THAILAND RED DATA

P:156

ANIMAL

152 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

หนูพุกเล็ก

Bandicota savilei

วงศ์ Muridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดจากปลายจมูกจรดปลาย

หางประมาณ 23-28 เซนติเมตร คล้ายกับหนูทั่วไป

แต่มีรูปร่างที่ใหญ่กว่า จุดเด่นมีขนสีน�้ำตาลแดงหรือ

น�้ำตาลด�ำที่รุงรังไม่เป็นระเบียบ ขนบริเวณหลังเป็น

แผงแข็ง หลังตีนเป็นสีด�ำ หางยาวมีเกล็ดสีเดียว

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:157

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

153

ค้างคาวขอบหูขาวกลาง

Cynopterus sphinx

วงศ์ Rhinolophidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 64-79 มิลลิเมตร ค้างคาว

ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง พังผืดปีกสีน�้ำตาลเข้มออกจากสีข้าง บริเวณ

นิ้วสีจะจางกว่า ตรงกลางของพังผืดขามีขนทั้งด้านบนและด้านล่าง

จมูกสั้น กว้าง และคลุมด้วยขน ใบหูเรียบ สีน�้ำตาล ไม่มีขน ขอบใบหูสี

อ่อนหรือสีขาว ขนคลุมตัวทั่วๆ ไปอ่อนนุ่มและเป็นมันวาว ตัวผู้บริเวณ

คาง ด้านหน้าของช่วงไหล่ด้านข้าง อก ท้อง และต้นขามีลายแต้มสีส้ม

หน้าผากและคอด้านบนสีเข้มกว่าโดยเป็นสีน�้ำตาลแดง หลังตอนท้ายๆ

เป็นสีเทาน�้ำตาล ตัวเมียรอบคอสีน�้ำตาลอ่อน ตะโพกสีเทาน�้ำตาล

ท้องสีเทาอ่อนโดยปลายขนแต่ละเส้นสีจะจางกว่าบริเวณอื่นๆ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ

สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

P:158

ANIMAL

154 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ค้างคาวบัวฟันรี

Rousettus leschenaulti

วงศ์ Rhinolophidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 75-86 มิลลิเมตร

เป็นค้างคาวขนาดกลาง คล้ายคลึงกับค้างคาวบัวฟันกลม โดยที่

จมูกค่อนข้างสั้นแต่เรียว สีสันค่อนข้างจะแตกต่างกันมากกว่า

ค้างคาวบัวฟันกลม โดยทั่วไปจะเป็นสีน�้ำตาลอ่อน มีบางตัวที่เป็น

สีน�้ำตาลเข้ม บริเวณหลัง คอ และช่วงไหล่จะมีขนคลุมห่างๆ หรือ

บางครั้งก็ไม่มีขนคลุม อาจจะเป็นสีเทา โดยเฉพาะในช่วงผลัดขน

ใบหูมีรอยบากบริเวณขอบล่าง และมักจะกว้างกว่าใบหูของ

ค้างคาวบัวฟันกลมเล็กน้อย หน้าตัดของฟันกรามด้านล่างซี่

สุดท้ายมีลักษณะเป็นวงรี

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:159

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

155

ค้างคาวแวมไพร์แปลงเล็ก

Megaderma spasma

วงศ์ Rhinolophidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 54.0-62.0

มิลลิเมตร เป็นค้างคาวที่มีขนาดเล็ก โดยขนาดเล็กกว่า

ค้างคาวแวมไพร์แปลงใหญ่ พังผืดขาขนาดใหญ่กว่า ใบหน้า

แตกต่างกัน แผ่นจมูกใหญ่กว่า ใบหูทั้ง 2 ข้างเชื่อมต่อกันใกล้

กับบริเวณหน้าผาก ติ่งใบหูด้านท้ายแคบและสูงกว่าค้างคาว

แวมไพร์แปลงใหญ่ด้านบนล�ำตัวสีเทาเข้ม ด้านล่างล�ำตัว

สีเทาอ่อน

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:160

ANIMAL

156 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

อ้นเล็ก

Cannomys badius

วงศ์ Spalacidae

รูปร่างลักษณะ มีความยาวตั้งแต่หัวถึงโคนหาง

14.5-26.5 เซนติเมตร หางยาว 6-7 เซนติเมตร เป็นสัตว์

ฟันแทะที่มีรูปร่างอ้วนป้อม มีขนาดเล็กกว่าอ้นอีก 2 ชนิด

มีขนหนานุ่มสีน�้ำตาลแดงปกคลุมทั่วหัว ล�ำตัว และขา

บางตัวมีแถบสีขาวคาดจากปลายจมูกถึงหน้าผาก แก้มสี

น�้ำตาลอ่อน หางสั้นและไม่มีขน ฝ่าตีนเรียบ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:161

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

157

กระจ้อน

Menetes berdmorei

วงศ์ Sciuridae

รูปร่างลักษณะ มีความยาวตั้งแต่หัวถึงโคนหาง

18 เซนติเมตร ความยาวหาง 14 เซนติเมตร เป็นกระรอก

ดินขนาดกลาง มีขนาดใหญ่กว่ากระเล็นในสกุล Tamiops

ซึ่งคล้ายกันจนอาจสับสนได้จมูกยาว ล�ำตัวด้านข้างมีแถบ

สีเข้มสลับจาง ล�ำตัวด้านบนสีน�้ำตาลแกมแดง ล�ำตัวด้าน

ล่างมีสีเนื้อจาง หางสั้นกว่าล�ำตัว

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:162

ANIMAL

158 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กระรอกบินเล็กแก้มขาว

Hylopetes phayrei

วงศ์ Sciuridae

รูปร่างลักษณะ มีความยาวตั้งแต่หัวถึงโคนหาง

17-19 เซนติเมตร หางยาว 13-17 เซนติเมตร

ขนปกคลุมล�ำตัวด้านบนสีน�้ำตาลปนเทา และท้อง

สีขาวครีม ขนหางแบนเรียบ ขนแก้มและเหนือตา

สีขาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:163

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

159

กระเล็นขนปลายหูสั้น

Tamiops mcclellandi

วงศ์ Sciuridae รูปร่างลักษณะ มีความยาวตั้งแต่หัวถึงโคนหาง

11-12 เซนติเมตร หางยาว 11 เซนติเมตร เป็นกระรอก

ที่อาศัยอยู่บนต้นไม้ที่มีขนาดเล็กมาก แตกต่างจากกระเล็น

ขนปลายหูยาว ตรงที่มีแถบสีจางด้านนอกกว้างกว่าแถบด้านใน

ส่วนกระเล็นขนปลายหูยาวแถบสีจางกว้างเท่าๆ กัน หน้าผาก

และกระหม่อมมีสีเขียว ล�ำตัวด้านข้างและขาเป็นสีเทา

ท้องสีออกส้ม หางเรียว มีจุดประสีเทา น�้ำตาล และด�ำ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:164

ANIMAL

160 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เหยี่ยวนกเขาชิครา

Accipiter badius

วงศ์ Accipitridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 30-36 เซนติเมตร

ตัวผู้ตาแดง หัวและล�ำตัวด้านบนเทาแกมฟ้า คอขาวมีเส้น

กลางคอสีเข้ม ล�ำตัวด้านล่างขาว อกและท้องมีลายขวางถี่

สีส้มแกมน�้ำตาลแดง หางเทามีลายขวางสีเข้ม ใต้ปีกมีลายส้ม

แกมน�้ำตาล ปลายปีกด�ำ ตัวเมีย ตาเหลืองล�ำตัวด้านบนแกม

น�้ำตาล ลายขวางที่อกหนาแกมน�้ำตาล ขนหางคู่กลางเป็น

ลายจางๆ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:165

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

161

เหยี่ยวกิ้งก่าสีด�ำ

Aviceda leuphotes

วงศ์ Accipitridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 46-48

เซนติเมตร หงอนยาว หัวและล�ำตัวด�ำ อกและท้อง

สีขาวมีลายขวางสีด�ำและน�้ำตาลแกมแดง ปีกมีแถบ

ขาวและน�้ำตาลแดง ใต้ปีกด�ำ ขนกลางปีกเทาเกือบด�ำ

ปลายปีกด�ำ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:166

ANIMAL

162 ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เหยี่ยวปีกแดง

Butastur liventer

วงศ์ Accipitridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 38-43

เซนติเมตร ตัวผู้คล้ายเหยี่ยวหน้าเทา ตาเหลือง หนังคลุม

จมูกเหลืองส้มสด หัวและล�

ำตัวเทา ล�

ำตัวด้านบนน�้ำตาลแดง

สดใส แข้งยาวเหลืองส้ม ขณะบินขนปีกบินและหางน�้ำตาล

แดงชัดเจนขนคลุมใต้ปีกขาว นกวัยอ่อน คิ้วขาวแคบๆ หัว

และล�

ำตัวด้านล่างน�้ำตาล ล�

ำตัวด้านบนแกมน�้ำตาลแดง

แถบกลางปีกน�้ำตาลแดง

สถานภาพ

: เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ

สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

NT กลุ่มสัตว์ใกล้ถูกคุกคาม

P:167

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

163

เหยี่ยวขาว

Elanus caeruleus

วงศ์ Accipitridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 31-35 เซนติเมตร

หัวและล�ำตัวด้านล่างขาว ตาแดง แถบตาด�ำ ล�ำตัวด้านบนเทา

อ่อน เห็นแถบปีกด�ำตรงจากหัวไหล่ชัดเจน แข้งและตีนเหลือง

ขณะบินปีกยาวปลายแหลม หัวไหล่ด�ำ ขนปลายปีกด้านล่างด�ำ

ปลายขนกลางปีกอาจด�ำหรือเทาเข้ม มักพบกระพือปีกอยู่กับที่

เพื่อมองหาเหยื่อ นกวัยอ่อน ขนล�ำตัวแกมน�้ำตาล หัวมีลายขีด

สีคล�้ำ ล�ำตัวด้านบนมีลายเกล็ดจากขอบปลายขนสีน�้ำตาลอ่อน

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:168

ANIMAL

164 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกขมิ้นน้อยธรรมดา

Aegithina tiphia

วงศ์ Aegithinidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 12-14.5

เซนติเมตร ปากสีเทา ตัวผู้หัวและล�ำตัวด้านบน

เขียวแกมเหลือง ล�ำตัวด้านล่างเหลืองสดกว่า

หางด�ำ ปีกมีแถบขาว 2 แถบ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:169

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

165

นกกะเต็นน้อยธรรมดา

Alcedo atthis

วงศ์ Alcedinidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 17 เซนติเมตร

ล�ำตัวด้านบนสีน�้ำเงินเหลือบเขียว หลังและตะโพกฟ้า

วาว ขนคลุมหูน�้ำตาลแดงต่อกับแถบขาว คอขาว ล�ำตัว

ด้านล่างสีส้มแกมน�้ำตาล แข้งและตีนแดง ตัวเมียปาก

ล่างสีน�้ำตาลแดง

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:170

ANIMAL

166 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกยางควาย

Bubulcus coromandus

วงศ์ Ardeidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 48-53

เซนติเมตร ขนาดเล็ก หนังหน้าสีเหลืองคล�้ำ ปากเหลือง

หนาและสั้น หัวโตคอหนาและสั้น ขาค่อนข้างสั้นสีเทาคล�้ำ

ชุดขนผสมพันธุ์ปากเหลืองหรือชมพูสด หัว คอ อก และ

หลังสีน�้ำตาลแกมส้มสดใส ขนบริเวณท้ายทอย ขนเจ้าชู้ที่

อกและหลังยาวมากขึ้น

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:171

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

167

นกแอ่นพง

Artamus fuscus

วงศ์ Artamidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 16-18

เซนติเมตร ปากหนาสีเทาแกมฟ้า หน้าด�ำหรือเทาเข้ม

หัวและล�ำตัวด้านบนเทา อกและล�ำตัวด้านล่างน�้ำตาล

แกมเหลือง ก้นขาว ขณะบินปีกเป็นรูปสามเหลี่ยม

ใต้ปีกขาวแกมน�้ำตาลอ่อน หางสั้น นกวัยอ่อน ขนล�ำตัว

แกมน�้ำตาล มีลายเกล็ดบนหลังและปีก ปากสีน�้ำตาล

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:172

ANIMAL

168 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกกระแตแต้แว้ด

Vanellus indicus

วงศ์ Charadriidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 31.5-35

เซนติเมตร หัวถึงอกด�ำ หนังรอบตาและเหนียงที่หัวตา

แดงเข้ม ปากแดงเข้มปลายด�ำ ขนคลุมหูเป็นแถบ

ขาวใหญ่ล�ำตัวด้านบนน�้ำตาล ล�ำตัวด้านล่างขาว

แข้งและตีนเหลือง หรือเหลืองแกมเขียว ขณะบินปีก

คล้ายนกกระแตหาด

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:173

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

169

นกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง

Chloropsis aurifrons

วงศ์ Chloropseidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 18-19

เซนติเมตร ขนล�ำตัวเขียว หน้าผากเหลืองแกมส้มสด

หน้าและคอด�ำ ใต้คางฟ้าแกมม่วง นกวัยอ่อน คาง

และ คอเขียว หน้าผากแซมเหลืองจางๆ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:174

ANIMAL

170 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกเขาเขียว

Chalcophaps indica

วงศ์ Columbidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 23-27

เซนติเมตร ปากแดงสด หัว คอ และล�ำตัวด้านล่างสีน�้ำตาล

แกมม่วง หลังและปีกเขียวเหลือบเป็นมัน หลังตอนล่างมี

แถบขาวด�ำ ขนปีกบินและหางด�ำ แข้งและตีนแดงสด ตัวผู้

หน้าผาก กระหม่อม และคิ้วขาว ท้ายทอยและหลังตอนบน

เทาแกมฟ้า ตัวเมีย หน้าผากและคิ้วขาวเล็กน้อย ส่วนอื่น

สีซีดกว่า

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:175

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

171

นกตะขาบทุ่ง

Coracias benghalensis

วงศ์ Coraciidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดล�ำตัวประมาณ 33

เซนติเมตร ขณะบินเห็นแถบปีกสีน�้ำเงินกับสีฟ้าสดใส

ตะโพกและขนคลุมโคนหางด้านล่างสีฟ้าสด ขนหาง

คู่นอก เป็นแถบปีกสีฟ้ากับสีน�้ำเงิน ใบหน้า คอ อกและ

ท้องสีน�้ำตาลอมม่วง คาง คอ และอกมีลายขีดสีฟ้า

หน้าผาก กระหม่อม ท้ายทอย หลัง และขนบริเวณ

หัวไหล่สีเขียวอมฟ้า หางคู่กลางสีเขียว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:176

ANIMAL

172 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกสาลิกาเขียว

Cissa chinensis

วงศ์ Corvidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 37-40.5

เซนติเมตร แถบตาด�ำ ปาก หนังรอบตา แข้ง และตีนแดง

สด ขนล�ำตัวสีเขียวสด ปีกน�้ำตาลแดง ปลายขนโคนปีก

ขนกลางปีกตอนในและนอกสีด�ำสลับขาว ขนหางคู่กลาง

ปลายขาว นกบางตัวขนอาจเป็นสีฟ้าหรือแซมด้วยสีฟ้า

ปีกน�้ำตาล

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:177

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

173

นกกาแวน

Crypsirina temia

วงศ์ Corvidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 30-32.5

เซนติเมตร ล�ำตัวเพรียว หางยาวปลายแผ่กว้าง

ขนล�ำตัวด�ำเหลือบเขียว หน้าด�ำ กระหม่อมมีขน

อัดแน่นคล้ายก�ำมะหยี่สีด�ำ ตาสีฟ้าเข้ม ปากเทา

แกมฟ้า

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:178

ANIMAL

174 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกปีกลายสก๊อต

Garrulus glandarius

วงศ์ Corvidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 31-34

เซนติเมตร กระหม่อมด�ำ หน้าผากด�ำแซมสีขาว แก้ม

ข้างคอ และคอขาว แถบหนวดกว้างสีด�ำ ล�ำตัวด้านบน

และล่างน�้ำตาลแกมเหลือง ตะโพกขาวเห็นชัดเจนขณะ

บิน ปีกมีลายฟ้า ด�ำ และขาวเรียงเป็นแถบสลับกัน

สถานภาพ: เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:179

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

175

นกสีชมพูสวน

Dicaeum cruentatum

วงศ์ Dicaeidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 8.5-9 เซนติเมตร

ตัวผู้ข้างหัว อกตอนบน หลัง และหางด�ำ หน้าผากถึง

ตะโพกเป็นแถบยาวสีแดงสด คอ กลางอก และล�ำตัว

ด้านล่างขาว สีข้างเทาแกมด�ำ ตัวเมีย หัวและล�ำตัวด้านบน

น�้ำตาล ปีกและหางด�ำ ตะโพกและขนคลุมหางแดงสด

ล�ำตัวด้านล่างขาวแกมเทา

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:180

ANIMAL

176 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกแซงแซวหงอนขน

Dicrurus hottentottus

วงศ์ Dicruridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 29-33

เซนติเมตร ปากยาวโค้งกว่านกแซงแซวชนิดอื่น หางตัด

ขอบหางคู่นอกแผ่กว้างและงอนขึ้นด้านบน หน้าผาก

มีขนยาวคล้ายเส้นผม ขน ล�ำตัวด�ำเป็นมัน ปีกและหาง

เหลือบเขียว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:181

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

177

นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่

Dicrurus paradiseus

วงศ์ Dicruridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 33-35.5 เซนติเมตร

หางคู่นอกมีก้านขนยื่นยาวเหมือนนกแซงแซวหางบ่วงเล็ก

แต่ปลายแผ่ออกด้านเดียวและบิด ก้านขนอาจยาวได้ถึง 30

เซนติเมตร ขนาดตัวใหญ่กว่า หน้าผากมีหงอนตั้งเป็นกระจุก

ขนล�ำตัวด�ำเหลือบน�้ำเงินเล็กน้อย หางแฉกตื้นๆ นกวัยอ่อน

หงอนสั้น ก้านขนหางคู่นอกไม่ยาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ

สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

P:182

ANIMAL

178 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกตบยุงหางยาว

Caprimulgus macrurus

วงศ์ Eurostopodidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 31.5-33 เซนติเมตร

หางยาว ปลายหางยาวเลยปลายปีกมากกว่าชนิดอื่นๆ ตัวผู้

หัวน�้ำตาลเหลือง กลางกระหม่อมน�้ำตาลคล�้ำ แถบหนวดและ

แถบข้างคอขาว ใหญ่และเห็นชัดเจน ขณะบินปลายขน

ปีกบินมีจุดขาวชัดเจน ปลายหางคู่นอกขาว ตัวเมีย จุดขาว

ที่ปีกเป็นสีน�้ำตาลเหลือง ปลายหางขาวแกมเหลือง

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:183

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

179

นกแอ่นฟ้าหงอน

Hemiprocne coronata

วงศ์ Hemiprocnidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 23 เซนติเมตร

หน้าผากมีหงอนยาวตั้ง รูปร่างผอมเพรียว ปีกยาวมาก

ขณะเกาะปลายปีกสองข้างจะไขว้กัน ล�ำตัวด้านบนสีเทา

แกมฟ้า ปีกสีเทาเข้ม ท้องและก้นขาวแกมเทา เวลาบิน

หางแหลมกางเต็มที่ หางแฉกลึก ตัวผู้แก้มสีน�้ำตาลแดง

เข้ม ตัวเมีย หน้าเทา

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:184

ANIMAL

180 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกโพระดกธรรมดา

Megalaima lineata

วงศ์ Megalaimidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 27-28

เซนติเมตร หัว อก และท้องสีน�้ำตาลแกมเหลือง

มีลายขีดสีน�้ำตาลเข้ม ปากสีเหลืองส้ม หนังรอบตา

สีเหลือง ขนล�ำตัวสีเขียว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:185

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

181

นกจาบคาหัวสีส้ม

Merops leschenaulti

วงศ์ Meropidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 23 เซนติเมตร

หัวถึงหลังสีส้ม แถบตาด�ำ คอและอกเหลืองสด

อกมีแถบเล็กๆ สีด�ำและส้ม ล�ำตัวเขียวตะโพกสีฟ้า

วาว ไม่มีหางคู่กลางแหลมยาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:186

ANIMAL

182 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกจาบคาเล็ก

Merops orientalis

วงศ์ Meropidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 20

เซนติเมตร ล�ำตัวเขียวสด หัวและท้ายทอยสีส้ม

แกมน�้ำตาล แถบตาด�ำ ใต้แถบตาสีฟ้า อกมีแถบด�ำ

โค้งครึ่งวงกลม หางคู่กลางแหลมยาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:187

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

183

นกเด้าดินทุ่งเล็ก

Anthus rufulus

วงศ์ Motacillidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 15-16 เซนติเมตร

คล้ายนกเด้าดินทุ่งใหญ่แต่ขนาดเล็กกว่าชัดเจนเมื่อยืน

เปรียบเทียบกัน ปากและหางสั้นกว่าเล็กน้อย โคนปากล่าง

มีสีเหลืองมากกว่านกเด้าดินทุ่งใหญ่และนกเด้าดินทุ่งพันธุ์

รัสเซีย คอมักเป็นสีน้

ำตาลอ่อนใกล้เคียงกับอก ล�ำตัวด้าน

ล่างมักมีลายหนาแน่นเฉพาะที่อก

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:188

ANIMAL

184 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกเด้าลมหลังเทา

Motacilla cinerea

วงศ์ Motacillidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 19 เซนติเมตร

คิ้วยาวแคบๆ สีขาว หัวและล�ำตัวด้านบนเทา ปีกด�ำ มีลาย

จากขอบขน โคนปีกขาว คอขาว ท้องแกมเหลืองและเข้มขึ้น

ที่ก้น ตะโพกเหลืองเห็นได้ชัดขณะบิน หางเรียบยาวสีด�ำ

ขอบหางคู่นอกขาว ขณะบินเห็นแถบขาวที่ปีก ตัวผู้ขนชุดผสม

พันธุ์คิ้วและแถบหนวดขาวชัดเจน คอ และอกตอนบนด�ำ

ล�ำตัวด้านล่างเหลืองสดขึ้น

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:189

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

185

นกจับแมลงจุกด�ำ

Hypothymis azurea

วงศ์ Monarchidae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 16-17.5

เซนติเมตร ตัวผู้ปากกว้างสีฟ้าเข้ม ท้ายทอยมีหงอน

ด�ำสั้น หัว อก ล�ำตัวด้านบน และหางฟ้าเข้มอกตอนล่างถึง

ก้นขาว หงอน หัวตา และแถบคาดอกด�ำ ตัวเมีย สีหม่น

กว่าตัวผู้ล�ำตัวด้านบนเทาแกมน�้ำตาล อกเทาไม่มีแถบ

ด�ำคาดอก

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:190

ANIMAL

186 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกกางเขนดง

Copsychus malabaricus

วงศ์ Muscicapinae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 21.5-28

เซนติเมตร ตัวผู้หัว อก และล�ำตัวด้านบนด�ำเป็นมัน ตัดกับ

ล�ำตัวด้านล่างน�้ำตาลแดงแกมส้มเข้ม ตะโพกขาว หางยาว

ขอบหางคู่นอก ขาว ตัวเมียคล้ายตัวผู้แต่หางสั้นกว่า หัว อก

และล�ำตัวด้านบนแกมน�้ำตาล ล�ำตัวด้านล่างส้มแกม

น�้ำตาลมากกว่า

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:191

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

187

นกกางเขนบ้าน

Copsychus saularis

วงศ์ Muscicapinae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 19-21

เซนติเมตร ตัวผู้หัว อก และล�ำตัวด้านบนด�ำเป็น

มันเล็กน้อย ปีกมีแถบขาว ขอบหางคู่นอกๆ ขาว

ล�ำตัวด้านล่างขาว ตัวเมียคล้ายตัวผู้แต่หัวและอก

เทาเข้ม ล�ำตัวด้านบนด�ำไม่เหลือบเป็นมัน

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:192

ANIMAL

188 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกจับแมลงอกส้มท้องขาว

Cyornis tickelliae

วงศ์ Muscicapinae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 14-16

เซนติเมตร ตัวผู้คล้ายนกจับแมลงสีน�้ำตาลแดง จ�ำแนก

จากคอและอกส้มเหลือง รอยต่อระหว่างอกกับท้องสีขาว

ตัดกันอย่างชัดเจน ตัวเมีย ที่หัว ล�ำตัวด้านบนและ

หางเทาแกมฟ้า คอและอกส้ม ท้องขาวคล้ายตัวผู้

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:193

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

189

นกจับแมลงสีฟ้า

Eumyias thalassinus

วงศ์ Muscicapinae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 15-17

เซนติเมตร ตัวผู้ปากสั้น หัวตาและแถบตาสั้น สีด�ำ

หัวและล�ำตัวฟ้าแกมเขียวเข้ม ตัวเมีย สีฟ้าอ่อนแกมเทา

หัวตาและแถบตาไม่ชัดเจนเหมือนตัวผู้แตกต่างจาก

นกจับแมลงสีฟ้าอ่อนที่ปากสั้นกว่า ก้นฟ้ามีลายขาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:194

ANIMAL

190 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกจับแมลงคอแดง

Ficedula albicilla

วงศ์ Muscicapinae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 13-13.5

เซนติเมตร ปากด�ำ หัวและล�ำตัวด้านบนน�้ำตาล

แกมเทา หางด�ำ โคนหางคู่นอกขาว ล�ำตัวด้านล่าง

ขาวแกมเทา

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:195

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

191

นกยอดหญ้าหัวด�ำ

Saxicola stejnegeri

วงศ์ Muscicapinae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 14 เซนติเมตร

ตัวผู้หัวและล�ำตัวน�้ำตาลอ่อน ส่วนหัวแกมสีด�ำที่หัวตา

ขนคลุมหูคาง และอกตอนบนหลังแกมน�้ำตาลเข้มแกมเทา

มีลายสีคล�้ำ อกสีน�้ำตาลแดง ตัวผู้ขนชุดผสมพันธุ์หัวและ

คอด�ำ ล�ำตัวด้านบนด�ำมีลายน�้ำตาลจางๆ ข้างคอและแถบ

ปีกขาว ตะโพกขาว ปลายขนคลุมตะโพกน�้ำตาลแดง ล�ำตัว

ด้านล่างน�้ำตาลแกมส้ม อกน�้ำตาลแดงเข้ม หางด�ำ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:196

ANIMAL

192 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกปลีกล้วยเล็ก

Arachnothera longirostra

วงศ์ Nectariniidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 14-16.5

เซนติเมตร หัวเทา เหนือตาและใต้ตาขาวเป็น

แถบคล้ายวงตา แบ่งด้วยแถบตาด�ำจางๆ มีแถบ

หนวดเห็นชัดเจน คอขาว อกถึงก้นเหลือง ล�ำตัว

ด้านบนเหลืองแกมเขียว หางสีเข้มกว่า ปลายหาง

มีแต้มขาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:197

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

193

นกปลีกล้วยลาย

Arachnothera magna

วงศ์ Nectariniidae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 17-20.5

เซนติเมตร ล�ำตัวด้านบน ปีก และหางมีสีเหลืองแกม

เขียวไพล คอและล�ำตัวด้านล่างเทาแกมขาว ทั้งด้าน

บนและด้านล่างมีลายขีดตามยาวหนาแน่น แข้งและ

ตีนสีส้มสด

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:198

ANIMAL

194 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกกินปลีอกเหลือง

Cinnyris jugularis

วงศ์ Nectariniidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 11.5

เซนติเมตร ตัวผู้ล�ำตัวด้านบนสีเขียวแกมน�้ำตาล

หน้าผาก คอถึงอกน�้ำเงินเข้มเหลือบเป็นมัน ตอนล่าง

มีแถบน�้ำตาลแดง ล�ำตัวด้านล่างเหลืองสด ขอบหางคู่

นอกและใต้หางขาว ตัวเมีย ล�ำตัวด้านบนเขียวคล�้ำแกม

เหลือง คิ้วเหลือง ล�ำตัวด้านล่างเหลืองหม่นกว่าตัวผู้

ขอบหางคู่นอกและใต้หางขาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:199

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

195

นกขมิ้นท้ายทอยด�ำ

Oriolus chinensis

วงศ์ Oriolidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 24.5-27.5

เซนติเมตร ตัวผู้ขนล�ำตัวเหลืองสด ปากสีชมพูแกมส้ม

ตาแดง แถบตากว้างสีด�ำขยายใหญ่และเชื่อมกันที่ท้ายทอย

ปีกและหางสีด�ำและเหลือง ตัวเมีย หลังและปีกเหลืองแกมเขียว

คล�้ำ นกไม่เต็มวัย คล้ายนกตัวเมีย แต่ขนเขียวคล�้ำกว่า แถบตา

ไม่ชัดเจน มีลายขีดด�ำที่อกและท้อง นกวัยอ่อน ท้องขาวหรือ

เหลืองแกมขาวมีขีดด�ำ ปากด�ำ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:200

ANIMAL

196 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกกระจิ๊ดธรรมดา

Phylloscopus inornatus

วงศ์ Phylloscopidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 11-11.5

เซนติเมตร ไม่มีแถบกระหม่อมและแถบตะโพก

ปากล่างเหลืองส้ม คิ้วยาวสีเหลืองแกมขาว แถบตา

สีคล�้ำ ปีกมี2 แถบ ปลายขนโคนปีกสีขาวกว้าง

เห็นเป็นลายชัดเจน ขนล�ำตัวด้านบนเขียวคล�้ำ ล�ำตัว

ด้านล่างขาวหรือแกมเหลืองอ่อน

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:201

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

197

นกเเต้วแล้วธรรมดา

Pitta moluccensis

วงศ์ Pittidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 18-20.5

เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียเหมือนกัน หัวด�ำ คิ้วกว้าง

สีน�้ำตาลแกมส้ม คอขาว ล�ำตัวด้านบนเขียว หัวไหล่

และตะโพกฟ้าสด ขนปีกบินด�ำมีแถบขาวเป็นวงใหญ่

เห็นชัดขณะบิน ล�ำตัวด้านล่างน�้ำตาลเหลือง กลางท้อง

ถึงก้นแดง

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:202

ANIMAL

198 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกกระจาบธรรมดา

Ploceus philippinus

วงศ์ Ploceidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 14.5-15

เซนติเมตร ตัวผู้ปากด�ำค่อนข้างยาว หน้าผากถึงท้ายทอย

เหลืองสด หน้าสีคล�้ำ หลังปีกและล�ำตัวด้านบนน�้ำตาลด�ำ

มีลายจากขอบขนสีน�้ำตาลอ่อน ล�ำตัวด้านล่างน�้ำตาลอ่อน

แกมเหลือง ตัวเมีย ปากสีเนื้อ ล�ำตัวสีน�้ำตาลอ่อนแกม

เหลือง ข้างแก้มเรียบไม่มีลาย หัวมีลายคล�้ำ ล�ำตัวด้านบน

มีลายจากขอบขนสีอ่อน

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

NT กลุ่มสัตว์ใกล้ถูกคุกคาม

P:203

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

199

นกปรอดทอง

Pycnonotus atriceps

วงศ์ Pycnonotidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 17.5-19

เซนติเมตร หัวและคอด�ำเป็นมัน ไม่มีหงอน ตาฟ้า

ล�ำตัวด้านบนและอกเขียวแกมเหลือง ล�ำตัวด้านล่างและ

ตะโพกเหลืองสด ปีกเหลือง ขนปลายปีกด�ำ หางเหลือง

ครึ่งล่างด�ำ ปลายขลิบเหลืองสด นกบางตัวอกเทาท้อง

เทา (หายาก) หรือล�ำตัวด้านล่างเขียวแกมเหลืองทั้งหมด

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:204

ANIMAL

200 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกปรอดหัวสีเขม่า

Pycnonotus aurigaster

วงศ์ Pycnonotidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 19-21

เซนติเมตร หัวด้านบนด�ำมีหงอนสั้นเป็นสัน แก้มและ

คางเทาแกมขาว ล�ำตัวด้านบนน�้ำตาลแกมเทา ล�ำตัว

ด้านล่างเทา ตะโพกขาว หางด�ำ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:205

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

201

นกปรอดเหลืองหัวจุก

Pycnonotus flaviventris

วงศ์ Pycnonotidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 18.5-19.5

เซนติเมตร หัวด�ำมีหงอนยาว ตาขาว ขนล�ำตัวด้านบน

เหลืองแกมน�้ำตาล ล�ำตัวด้านล่างเหลือง ปลายแกมด�ำ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:206

ANIMAL

202 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกกวัก

Amaurornis phoenicurus

วงศ์ Rallidae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 28.5-36

เซนติเมตร ปากเหลือง โคนสันปากบนแดง หน้า คอ

ตอนหน้า อก และท้องขาว กระหม่อมถึงหลังด�ำแกม

เทา ท้องตอนล่างถึงก้นน�้ำตาลแดง แข้งและตีนเหลือง

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:207

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

203

นกอีแพรดแถบอกด�ำ

Rhipidura javanica

วงศ์ Rhipiduridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 17-19.5

เซนติเมตร ล�ำตัวด้านบนด�ำ หลังแกมน�้ำตาล คิ้วบาง

และสั้นสีขาว คอและล�ำตัวด้านล่างขาว มีแถบกว้าง

สีด�ำพาดอก หางสีด�ำปลายขาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:208

ANIMAL

204 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกเค้าโมง

Glaucidium cuculoides

วงศ์ Strigidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 20.5-23

เซนติเมตร ตาเหลือง คล้ายนกเค้าแคระ แต่ขนาด

ใหญ่กว่า หัวและล�ำตัวด้านบนมีลายขวางสีน�้ำตาล

อ่อนชัดเจนกว่า ไม่มีลายคล้ายตาปลอมที่ท้ายทอย

อกและสีข้างมีลายสีน�้ำตาลแดงคล�้ำ ท้องขาว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:209

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

205

นกเค้ากู่

Otus lettia

วงศ์ Strigidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 23

เซนติเมตร ตาน�้ำตาลแดงเข้ม ขนล�ำตัวน�้ำตาล

รอบคอสีน�้ำตาลแกมเหลือง หน้าผากและคิ้ว

น�้ำตาลอ่อน ล�ำตัวด้านล่างมีลายขีดด�ำเป็น

เส้นบางๆ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:210

ANIMAL

206 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกกระจิ๊ดปากหนา

Phylloscopus schwarzi

วงศ์ Phylloscopidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 13.5-14

เซนติเมตร มีขนาดใหญ่กว่านกกระจิ๊ดสีน�้ำตาลชนิดอื่น คิ้ว

ยาวสีขาว หัวคิ้วแกมน�้ำตาลเหลือง ปากหนา แข้งและตีน

หนากว่านกกระจิ๊ดสีคล�้ำและนกกระจิ๊ดอกลายเหลือง ต่าง

จากนกกระจิ๊ดสีคล�้ำที่ก้นสีน�้ำตาลแกมส้มเข้มแตกต่างจาก

ท้อง แข้งและตีนสีชมพูเข้ม หรือส้มแกมเหลืองคล�้ำ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:211

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

207

นกกะรางหัวหงอก

Garrulax leucolophus

วงศ์ Timaliidae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 26-31

เซนติเมตร หัวมีหงอนตั้งเป็นสันสูง แถบตาด�ำ หัว อก

และล�ำตัวด้านล่างขาว ท้ายทอยและหลังตอนบนเทา

ล�ำตัวด้านบน สีข้างและก้นน�้ำตาลแดง หางน�้ำตาลคล�้ำ

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:212

ANIMAL

208 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกจาบดินอกลาย

Pellorneum ruficeps

วงศ์ Timaliidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 16-18

เซนติเมตร หน้าผากถึงท้ายทอยน�้ำตาลแดงเข้ม

คิ้วขาวหรือน�้ำตาลแกมเหลือง หน้าน�้ำตาล ล�ำตัว

ด้านล่างขาว มีลายขีดใหญ่สีน�้ำตาลแกมเขียว ล�ำตัว

ด้านบนน�้ำตาลแกมเขียว

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:213

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

209

นกกระเบื้องผา

Monticola solitarius

วงศ์ Turdinae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 21-23

เซนติเมตร ตัวผู้ล�ำตัวฟ้าแกมเทา มีลายเกล็ดขาว

กระจาย ช่วงผสมพันธุ์สีเข้มขึ้น ตัวเมีย ขนล�ำตัวเทา

แกมน�้ำตาล มีลายเกล็ดหนาแน่นสีเนื้อสลับด�ำกระจาย

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:214

ANIMAL

210 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กิ้งก่าบินปีกส้ม

Draco maculatus

วงศ์ Agamidae รูปร่างลักษณะ มีความยาวจากหัวจรดโคนหาง

60-65 มิลลิเมตร ส่วนหางมีความยาว 93-110 มิลลิเมตร

เป็นกิ้งก่าขนาดเล็ก ใต้คางมีเหนียง 1 คู่ รูปร่างกลมมน

กึ่งกลางเหนียงยกขึ้นลงได้เห็นชัดเจนในตัวผู้ข้างล�ำตัวระหว่างขา

คู่หน้าและคู่หลังมีแผ่นหนังขนาดใหญ่ใช้ในการร่อน ล�ำตัวมี

สีน�้ำตาลแดง มีลายประสีเหมือนลายไม้แผ่นหนังด้านข้างออก

สีส้ม มีลายพาดตามยาวสีจาง ใต้ท้องมีสีน�้ำตาลอ่อนกว่าใต้

แผ่นหลังข้างล�ำตัวจะมีจุดสีด�ำ 2-3 จุด

สถานภาพ : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:215

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

211

งูเขียวพระอินทร์

Chrysopelea ornata

วงศ์ Colubridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 130

เซนติเมตร เป็นงูบก หัวกลม ว่องไวปราดเปรียว

เลื้อยเร็ว ล�ำตัวสีเขียวอ่อน มีลายด�ำตลอดตัว หัวมี

ลายมากจนดูคล้ายกับมีหัวสีด�ำ ใต้คางสีขาว ใต้ท้อง

สีเขียวอ่อนหรือเหลืองอ่อนๆ ใต้หางมีลายด�ำเป็นจุดๆ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

พิษอ่อน

P:216

ANIMAL

212 ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา

งูงอดไทย

Oligodon taeniatus

วงศ์ Colubridae รูปร่างลักษณะ มีขนาดความยาว 44 เซนติเมตร

เป็นงูบกขนาดเล็ก หัวกลมเรียว มีแถบน�้ำตาลเข้ม ลากจาก

บนหัวไปถึงแก้ม คอเล็กกว่าหัวและล�

ำตัวเล็กน้อย ที่ตาจะมี

แถบสีน�้ำตาลจากตาซ้ายลากผ่านเหนือจมูกมายังตาขวา และ

ใต้คอมีสีขาว พื้นตัวสีน�้ำตาลอ่อน กลางสันหลังมีแถบสีน�้ำตาล

เข้มสองแถว ส่วนมากบริเวณท้องเป็นสีชมพูหรืออาจเป็นสีขาว

และมีจุดรูปสามเหลี่ยมเล็กสีด�

ำกระจายใต้ท้อง หางสีชมพู

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

ไม่มีพิษ

P:217

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

213

ANIMAL

งูลายสาบคอแดง

Rhabdophis subminiatus

วงศ์ Colubridae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดความยาวถึง 130

เซนติเมตร ล�ำตัวสีเขียวมะกอก บริเวณคอ

สีแดงส้ม ตาโต ใต้ตามีแถบสีด�ำ ตัวไม่เต็มวัย

คอสีเหลืองสด ใต้ท้ายทอยสีด�ำ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

พิษอ่อน

P:218

ANIMAL

214 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

งูลายสอใหญ่

Xenochrophis piscator

วงศ์ Colubridae

รูปร่างลักษณะ เป็นงูที่มีรูปร่างเพรียว ปลายหัวมน

ช่วงคอคอดเล็กน้อย หางตาและใต้ตามีลายเส้นสีด�ำ

รูม่านตากลม เกล็ดแบนสันหัวและล�ำตัวสีน�้ำตาลเข้มหรือ

สีเหลือง ส่วนใหญ่ล�ำตัวมีลายหมากรุกสีด�ำ ท้องสีด�ำสลับ

ขาว ตัวไม่เต็มวัยลายขีดสีด�ำ บริเวณหางตายาวขึ้นไปถึง

บริเวณท้ายทอยข้างคอสีเหลือง ล�ำตัวสีน�้ำตาลออกเหลือง

ท้องขาวไม่มีลาย

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

พิษอ่อน

P:219

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

215

งูเห่าหม้อ

Naja kaouthia

วงศ์ Elapidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดความยาวถึง 200

เซนติเมตร ล�ำตัวสีน�้ำตาล เกล็ดขนาดใหญ่สีคอขาว

หรือด่างเล็กน้อย หนังบริเวณคอสามารถขยายให้

กว้างได้และมีลายคาดขาวหรือเป็นวง

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

พิษร้ายแรง

P:220

ANIMAL

216 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

จิ้งจกหางหนาม

Hemidactylus frenatus

วงศ์ Gekkonidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดความยาวของล�ำตัวรวม

ความยาวหาง 13 เซนติเมตร ล�ำตัวสีเทาอมน�้ำตาล

หางมีหนามสั้นๆ มีตุ่มเล็ก และเกล็ดอยู่ด้านหลังและ

ด้านในของนิ้ว เล็บขนาดใหญ่ น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ

ความยาวนิ้วที่สอง

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราช

บัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:221

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

217

จิ้งเหลนบ้าน

Mabuya multifasciata

วงศ์ Scincidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดความยาว

ประมาณ 35 เซนติเมตร รูปร่างอ้วนกลางตัว

ปลายล�ำตัวเรียว ล�ำตัวด้านบนสีน�้ำตาล

ข้างล�ำตัวมีแถบสีน�้ำตาลเข้ม ท้องสีครีม

ริมฝีปากล่างมีเกล็ดสีส้มกระจาย

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง

ตามพระราชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:222

ANIMAL

218 ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา

จิ้งเหลนภูเขาเกล็ดเรียบ

Sphenomorphus maculatus

วงศ์ Scincidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดความยาวล�

ำตัวถึงหาง

ประมาณ 16 เซนติเมตร เกล็ดเล็กและเรียบมันสีเขียว

มะกอกหรือน�้ำตาลอ่อน ด้านบนล�

ำตัวมีจุดสีด�

ำกระจาย

ข้างล�

ำตัวมีแถบสีด�

ำทึบหรือสีด�

ำและมีจุดเล็กๆ

สีน�้ำตาลอ่อนกระจาย ท้องสีเหลืองอ่อนอมน�้ำตาล

มีจุดสีด�

ำกระจาย หางสีอ่อนและสดกว่าล�

ำตัว

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง

ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:223

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

219

อึ่งลาย

Calluella guttulata

วงศ์ Microhylidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 43-50

มิลลิเมตร ล�ำตัวสีน�้ำตาล แผ่นหลังและตอนบนของ

สีข้างมีลวดลายสีแดงเข้มหักไปมาคล้ายตาข่ายคลุม

ท้องสีขาว ผิวหนังมีรอยพับคาดขวางหน้าอก

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

ล LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:224

ANIMAL

220 ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา

อึ่งน�้ำเต้า

Microhyla ornata

วงศ์ Microhylidae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 28

มิลลิเมตร ล�

ำตัวสีแดงหรือสีเขียวมะกอกอมเทา

หลังมีแต้มสีเข้มรูปคล้ายน�้ำเต้า ข้างหัวและล�

ำตัวมี

แถบสีด�

ำด้าน ขาอาจมีหรือไม่มีลายพาดสีเข้ม คอ

และอกสีเทาหรือน�้ำตาล ประจุดสีขาว

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:225

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

221

อึ่งข้างด�ำ

Microhyla heymonsi

วงศ์ Microhylidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 2 เซนติเมตร

ล�ำตัวสีน�้ำตาล บริเวณขอบหลังเข้ามาถึงกลางหลังมี

แถบสีน�้ำตาลเข้มหรือน�้ำตาลอมม่วง และสีจางพาดเฉียง

คล้ายหัวลูกศร ก้นมีจุดกลมสีด�ำข้างละ 1 จุด กลางหลัง

มีเส้น พาดผ่านตลอดล�ำตัว

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:226

ANIMAL

222 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กบหลังไพล

Rana lateralis

วงศ์ Ranidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 55 มิลลิเมตร

ล�ำตัวสีเขียวไพล มะกอก เหลือง หรือสีน�้ำตาลอมเหลือง

ข้างล�ำตัวมีสีเข้ม หลังสันต่อมนูนหลังแผ่นหูมีเส้นสีด�ำเฉียง

แผ่นหูสีน�้ำตาลเข้ม ขอบปากบนมีเส้นสีขาว คางและอกมี

ลายจางๆ ตามแนวกลาง ท้องสีเหลือง

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

LC กลุ่มที่เป็นกังวลน้อยที่สุด

P:227

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

223

กบอ่องเล็ก

Rana nigrovittata

วงศ์ Ranidae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 57-70

มิลลิเมตร ล�ำตัวสีน�้ำตาลอมเขียวมะกอก ข้างล�ำตัว

มีสีด�ำ ด้านในของต้นขามีลายร่างแหสีด�ำถึงเขียว ขามี

ลายพาดสีเข้ม ท้องสีขาวและแต้มสีด�ำ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

NT ใกล้ถูกคุกคาม

P:228

ANIMAL

224 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

รูปร่างลักษณะ ล�ำตัวยาวและแบนข้าง มีหนวด 2 คู่

หนวดที่จะงอยปาก 1 คู่และหนวดที่ขากรรไกร 1 คู่ หนวด

ที่จะงอยปากยาวไม่เกินขอบด้านท้ายตา หนวดที่ขากรรไกรบน

ยาวถึงส่วนฐานของครีบท้อง ปากมีขนาดเล็กและเปิดใน

ต�ำแหน่งเฉียงขึ้นด้านบน บริเวณด้านบนของหัวและล�ำตัวมี

สีน�้ำตาลเขียว ล�ำตัวด้านข้างมีสีขาวเงิน มีแถบสีด�ำพาดจากตา

ถึงฐานครีบหาง ครีบหลัง ครีบก้น และครีบหางมีสีเหลือง

ส่วนครีบอกและครีบท้องมีสีเหลืองอ่อนหรือไม่มี

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

ปลาซิวหนวดยาว

Esomus metallicus

วงศ์ Cyprinidae

P:229

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

225

รูปร่างลักษณะ ปลาเกล็ดขนาดเล็ก มีเส้นสีด�ำพาด

ล�ำตัวยาวตั้งแต่ บริเวณเหงือกหลังตาจนถึงโคนครีบหาง

บริเวณท้องของปลาชนิดนี้มีสีขาวเงินพาดยาวตามล�ำตัว

ครีบอกมีสีส้มแดง ครีบหลังมีสีด�ำสลับกับสีเหลืองบริเวณ

กระดูกแข็งของครีบหลังมีสีแดง ครีบท้องอยู่ค่อนไปด้าน

หลังเล็กน้อย ครีบท้อง และครีบก้นมีสีเหลือง

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

ปลาเลียหิน

Garra cambodgiensis

วงศ์ Cyprinidae

P:230

ANIMAL

226 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ปลาขี้ยอกหางเหลือง

Mystacoleucus marginatus

วงศ์ Cyprinidae รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 10-20 เซนติเมตร

ล�ำตัวแบนข้าง หัวมีขนาดเล็ก มีหนวด 2 คู่ เส้นข้างล�ำตัว

สมบูรณ์ที่ฐานของเกล็ดทั้งบริเวณด้านข้างและด้านบนของ

ล�ำตัวมีลักษณะโค้งคล้ายรูปพระจันทร์เสี้ยวสีด�ำ ครีบหางเว้า

ลึกแบบส้อม ครีบหลังและครีบหางมีสีเหลืองปนด�ำ และมีสีด�ำ

ที่ขอบของครีบ ครีบท้อง ครีบอก และครีบก้นมีสีเหลือง

ขอบของครีบไม่เป็นสีด�ำ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:231

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

227

ปลาน�้าหมึก

Barilius koratensis

วงศ์ Cyprinidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 7-9

เซนติเมตร สีเงินเหลือบเขียวหรือฟ้า ตัวแบนยาว

ปากกว้างเชิดขึ้น และหนวดคู่หน้ายาว ขากรรไกรล่าง

มีตุ่มสิวขนาดเล็ก และใต้ปากมักมีจุดสีน�้ำเงินหรือด�ำ

รวมตัวเป็นแต้ม ครีบหางแฉกบนและล่าง

มีแต้มสะท้อนแสงสีขาวหรือฟ้า

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:232

ANIMAL

228 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ปลาแก้มช�้า

Systomus orphoides

วงศ์ Cyprinidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 15 เซนติเมตร

ลักษณะคล้ายปลาตะเพียนแต่จะมีล�ำตัวเพรียวกว่า ล�ำตัวแบนข้าง

เล็กน้อย ส่วนหัวเล็ก มีหนวด 2 คู่ที่มุมปาก และที่จะงอยปาก

ครีบหลังค่อนข้างเล็ก ครีบหางเว้า เกล็ดใหญ่ ล�ำตัวสีเงินวาว แก้มจะมี

สีส้มหรือแดงเรื่อ แผ่นกระดูกปิดเหงือกที่อยู่ถัดจากแก้มจะสีคล�้ำ และ

โคนหางมีจุดกลมสีด�ำคล�้ำ ครีบท้องและครีบก้นมีสีแดงเรื่อ ครีบหาง

สีแดงสดจะมีแถบสีด�ำพาดตามยาวทั้งขอบบนและขอบล่าง

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:233

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

229

ปลาซิวควายแถบด�ำ

Rasbora paviena

วงศ์ Cyprinidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 3-12 เซนติเมตร

หัวและปากมีขนาดเล็ก ตาโต ไม่มีหนวด รูจมูก 1 คู่

ริมฝีปากอยู่บริเวณหน้าสุดในแนวเฉียง เส้นข้างตัวสมบูรณ์

อยู่ค่อนมาทางด้านล่าง หัวและล�ำตัวสีน�้ำตาลอ่อนอมสีทอง

มีแถบสีด�ำทอดไปตามความยาวของล�ำตัว ตั้งแต่หลังช่องเปิด

เหงือกไปจนถึงบริเวณโคนครีบหาง และแถบสีขยายใหญ่

เป็นวงกว้างที่บริเวณคอดหาง ครีบสีเหลืองใส

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:234

ANIMAL

230 ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ปลากระทิงลาย

Mastacembelus favus

วงศ์ Mastacembelidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาด 70 เซนติเมตร

ปลาชนิดนี้มีรูปร่างเหมือนปลากระทิงด�ำ ซึ่งเป็นปลา

ในสกุลเดียวกัน แต่ปลากระทิงลายมีจุดเหลืองขนาด

ใหญ่ตามล�

ำตัว และหลังเป็นลายเหลืองเช่นกัน ครีบหลัง

มีก้านครีบแข็ง จะงอยปากยื่นยาว ครีบหลังและครีบก้น

เชื่อมติดกับครีบหาง มีลวดลายเชื่อมต่อกันเป็นโครง

ข่ายตั้งแต่ส่วนหัวตลอดความยาวของล�

ำตัวไปจนถึง

ครีบหลัง

สถานภาพ

: ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:235

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

231

ปลาหมอช้างเหยียบ

Pristolepis fasciata

วงศ์ Pristolepididae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 10-15 เซมติเมตร ล�ำตัวเป็นรูปไข่

ค่อนข้างกลม ส่วนหัวและหลังลาดโค้ง หัวและล�ำตัวแบนข้าง ตาเล็กอยู่

ค่อนไปด้านบนของหัว ปากเล็ก ริมฝีปากยืดหดได้ดีครีบหลังยาวมีก้าน

แข็งหลายอัน ครีบอกยาว ครีบท้องตั้งอยู่แนวเดียวกับครีบอก ครีบก้นสั้น

มีก้านครีบแข็ง 3 อัน ครีบหางค่อนข้างยาวปลายมน เกล็ดเล็ก ตัวมีสีคล�้ำ

ด้านบนและด้านข้างล�ำตัวมีสีเขียวมะกอก มีแถบตามขวางล�ำตัวสีคล�้ำ

8-9 แถบ ด้านท้องสีจางหรือสีเหลืองอ่อน ครีบสีจางหรือเหลืองอ่อน

มีขอบสีคล�้ำ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:236

ANIMAL

232 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

แมงป่องเล็ก

Isometrus maculatus

วงศ์ Buthidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ 4-5

เซนติเมตร ล�ำตัวสีน�้ำตาล ส่วนหัวและอกขนาดเล็ก

ท้องขนาดใหญ่ส่วนปลายมีขนาดเล็กและเรียวยาว

คล้ายหาง ส่วนปลายมีต่อมพิษ

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง

สัตว์ป่า พ.ศ. 2535

P:237

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ANIMAL

233

แมงป่องช้าง

Heterometrus spinifer

วงศ์ Scorpionidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดความยาวถึง 10

เซนติเมตร ล�ำตัวสีด�ำเป็นมันเงาส่วนท้องใหญ่

และค่อยๆ ยาวเรียวเล็กลงคล้ายหาง

สถานภาพ : ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง

ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง

สัตว์ป่า พ.ศ. 2535

P:238

ANIMAL

234 ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา

บึ้งด�

ำเล็ก

Haplopelma minax

วงศ์ Theraphosidae

รูปร่างลักษณะ มีขนาดประมาณ

6

เซนติเมตร ล�

ำตัวสีน�้ำตาลเทาด�ำ โคนขาสีด�ำ

ส่วนปลายสีเทา ล�

ำตัวและขาปกคลุมด้วยขน

สีเทาด�ำ

สถานภาพ

: ไม่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:239

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

235

P:240

INSECT

236 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ความหลากหลายของแมลง

แมลงเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความงดงามและมีความส�ำคัญมากในระบบนิเวศ

ป่าไม้ชนิดของแมลงที่พบมักขึ้นอยู่กับแหล่งอาหารของตัวอ่อน และแหล่งอาหาร

ก็มักเป็นพืชที่ขึ้นอยู่ในป่านั่นเอง บทบาทหลักของแมลงคือเป็นตัวช่วยผสมเกสรให้กับพืช

ในป่า นอกจากนี้แมลงยังมีความส�ำคัญในการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ในดิน

เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์เป็นทั้งศัตรูพืช

ตัวห�้ำ ตัวเบียน และให้ความสวยงามแก่ผืนป่าด้วย

P:241

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

237

ความหลากหลายของแมลง

แมลง เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrates)

ประเภทโครงกระดูกอยู่ภายนอก (Exoskeleton) ท�ำให้แมลงมีความ

ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดีกว่าสัตว์อื่น เนื่องจากแมลงมีลักษณะ

พิเศษหลายประการ เช่น มีขนาดเล็กท�ำให้ไม่ต้องการอาหารมาก ใช้พื้นที่ในการด�ำรงชีวิตแคบ

จึงไม่เกิดการแก่งแย่งในการหาอาหารและที่อยู่อาศัย บินได้ไกล หลบภัยได้ง่าย

หาแหล่งอาหารได้มาก หาแหล่งที่อยู่อาศัยและผสมพันธุ์ได้เป็นจ�ำนวนมาก

มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี

P:242

INSECT

238 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

วิธีการส�ารวจ

ใช้การเดินส�ำรวจตามเส้นทาง

ในพื้นที่ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวาโดยส�ำรวจ

ผีเสื้อกลางวันในเวลา 10.00-12.00 น.

เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่ผีเสื้อออกหากิน

และบินอยู่ในระดับต�่ำ จึงสามารถใช้สวิง

จับได้ง่าย จากนั้นท�ำให้ผีเสื้อสลบ โดยใช้

มือบีบบริเวณหน้าอก แล้วน�ำบรรจุใส่ซอง

พับเป็นรูปสามเหลี่ยม และบันทึกข้อมูล

รายละเอียด

กลุ่มผีเสื้อกลางวัน

อุปกรณ์ สวิงจับแมลง ซองเก็บผีเสื้อ สมุดบันทึก ดินสอ ปากกา หนังสือคู่มือ

P:243

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

239

กลุ่มผีเสื้อกลางคืน

กับดักโดม

ตั้งกับดักล่อแมลงกลางคืนมีกับดักแสง

ไฟ (Light trap) โดยใช้แสงจากหลอดไฟสีม่วง

และกับดักโดมจากหลอดไฟแสงจันทร์เพื่อเป็น

ตัวดึงดูดผีเสื้อกลางคืน ด้วง และแมลงอื่นๆ

ให้มาเกาะที่ผ้าฉากสีขาว โดยเปิดไฟตั้งแต่ตอน

เย็นเวลา 18.00 น. จนถึง 06.00 น. ตอนเช้า

ของวันถัดไป เก็บตัวอย่างในช่วงเวลา 20.00 น.-

22.00 น. และ 6.00 น. พร้อมทั้งถ่ายรูปและ

เก็บตัวอย่างใส่ขวดน๊อคแมลง ทิ้งไว้จนกว่าแมลง

ตาย ผีเสื้อกลางคืนเก็บใส่ซองสามเหลี่ยม ด้วง

และแมลงอื่นๆ เก็บใส่กระดาษไขห่อแบบท๊อฟฟี่

และบันทึกข้อมูลรายละเอียด

อุปกรณ์ หลอดไฟสีม่วง (Black light) หลอดแสงจันทร์(Mercury vapor lamp)

กระดาษไข ผ้าฉากสีขาว ขวดน๊อคแมลง ซองเก็บผีเสื้อ สมุดบันทึก ดินสอ ปากกา

กับดักแสงไฟ

P:244

INSECT

240 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เดินตามเส้นทางส�ำรวจ โดยสังเกต

บริเวณจอมปลวก บนพื้นดิน ใต้ดิน

ใต้ใบไม้ผุและบนต้นไม้บันทึกข้อมูลปลวก

ที่พบ เลือกเก็บตัวอย่างปลวกวรรณะทหาร

ประมาณ 20 ตัว ต่อการพบปลวก 1 ครั้ง

เก็บปลวกลงในขวดบรรจุแอลกอฮอล์ความ

เข้มข้น 75 เปอร์เซ็นต์

กลุ่มปลวก

อุปกรณ์ถาดสีขาว เสียมขุดปลวก ปากคีบ ขวดดองปลวก แอลกอฮอล์

P:245

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

241

กลุ่มแมลงอื่นๆ

เดินตามเส้นทางการส�ำรวจ เก็บ

ตัวอย่างแมลงอื่นๆ ซึ่งสามารถพบได้ตาม

พื้นดิน ด้วงที่มีขนาดใหญ่เก็บด้วยวิธีห่อ

กระดาษเหมือนท๊อฟฟี่และการเก็บ

ตัวอย่างแมลงอื่นๆ จับใส่ขวดน๊อคแมลง

บันทึกข้อมูลรายละเอียด

อุปกรณ์ ขวดน๊อคแมลง ขวดแก้วใส กระดาษไข (เก็บแมลงขนาดใหญ่)

P:246

INSECT

242 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กลุ่มแมลงช่วยผสมเกสร 103 ชนิด

ความหลากหลายของแมลง

พบจ�านวน 204 ชนิด แบ่งออกเป็น

ผีเสื้อ

ผึ้งรู ด้วง

ผึ้งกัดใบ

ชันโรง มวน

P:247

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

243

กลุ่มแมลงที่เป็นอาหาร 5 ชนิด

ตั๊กแตน

ผึ้ง (น�้าผึ้ง)

แมลงกระชอน

หนอนรถด่วน

มดแดง (ไข่มดแดง)

P:248

INSECT

244 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กลุ่มแมลงศัตรูพืชป่าไม้ 49 ชนิด

ด้วงหนวดยาว

หนอนกินใบพืช

จักจั่นงวง

เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยกระโดดด�า

ด้วงน�้ามัน

P:249

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

245

กลุ่มแมลงเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน 24 ชนิด

มด ด้วง

ปลวก

แมลงสาบป่า

P:250

INSECT

246 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กลุ่มแมลงตัวห�้ำ ตัวเบียน 21 ชนิด

มดแดง แมลงช้างปีกใส

แตนกระดาษ แมลงหางหนีบ

ด้วงเต่า แมลงปอบ้าน

P:251

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

247

กลุ่มแมลงหายากและใกล้สูญพันธ์ุ 1 ชนิด

ด้วงคีมยีราฟ

แมลงคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

พ.ศ. 2535

P:252

INSECT

248 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ผีเสื้อถุงทองธรรมดา

แมลงคุ้มครองในบัญชีที่ 2 แห่งอนุสัญญาว่าด้วย

การค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธ์ุ

(CITES)

กลุ่มแมลงคุ้มครองและห้ามน�ำเข้าห้ามส่งออก 1 ชนิด

P:253

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

249

กลุ่มแมลงช่วยผสมเกสร

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 แมลงภู่ Xylocopa rufescens Smith Anthophoridae

2 ผึ้งโพรง Apis cerana F. Apidae

3 ผึ้งหลวง Apis dorsata Fabricius Apidae

4 ผึ้งมิ้ม Apis florea Fabracius Apidae

5 ผีเสื้อลายเสือ Creatonotos transiens (Walker) Arctiidae

6 ผีเสื้อลายเสือ Nyctemera adversata Schaller Arctiidae

7 ผีเสื้อลายเสือ Tatargina picta (Walker) Arctiidae

8 ผีเสื้อหนอนคืบ Cusiala boarmoides Moore Geometridae

9 ผีเสื้อหนอนคืบชะอม Godonela nora (Walker) Geometridae

10 ผีเสื้อหนอนคืบ Ornithospila lineata Moore Geometridae

11 ผีเสื้อหนอนคืบ Semiothica eloenora Geometridae

12 ผีเสื้อแต้มขาวธรรมดา Iton semamora (Moore) Hesperiidae

13 ผีเสื้อลายด่างตาลแดง Pseudocoladenia dan (F.) Hesperiidae

14 ผีเสื้อจิ๋วดงอินเดีย Scobura cephala (Hewitson) Hesperiidae

15 ผีเสื้อป้ายขาวตรง Tagiades parra Frushstorfer Hesperiidae

16 ผีเสื้อหนอนชักใย Micropacha krocha Zolotuhin Lasiocampidae

17 ผีเสื้อหนอนหอย บุ้งร่าน Miresa albipuncta Herrich-Schaffer Limacodidae

18 ผีเสื้อหนอนร่าน Parasa lepida Cramer Limacodidae

รายชื่อความหลากหลายของแมลง

P:254

INSECT

250 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

19 ผีเสื้อหนอนหอย บุ้งร่าน Phocoderma velutinum Kollar Limacodidae

20 ผีเสื้อหนอนพุทราธรรมดา Castalius rosimon rosimon (F.) Lycaenidae

21 ผีเสื้อหมากรุกมลายู Curetis santana (Moore) Lycaenidae

22 ผีเสื้อหนอนพุทราแถบฟ้า Discolampa ethion (Westwood) Lycaenidae

23 ผีเสื้อพุ่มไม้ธรรมดา Hypolycaena erylus (Godart) Lycaenidae

24 ผีเสื้อฟ้าวาวสีต่างฤดู Jamides celeno (Cramer) Lycaenidae

25 ผีเสื้อแสดหางยาว Loxura atymnus (Stoll) Lycaenidae

26 ผีเสื้อหางริ้วขาวใหญ่ Neomyrina nivea hiemalis (Godm.) Lycaenidae

27 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Asota caricae F. Noctuidae

28 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Bamra mundata Walker Noctuidae

29 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Chalciope mygdon Cramer Noctuidae

30 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Daddala quadrisignata Walker Noctuidae

31 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Dierna strigata (Moor) Noctuidae

32 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Entomogramma fautrix Guenee Noctuidae

33 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Ercheia cyllaria (Cramer) Noctuidae

34 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Erebus caprimulgus (F.) Noctuidae

35 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Erebus macrops (L.) Noctuidae

36 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Hamodes lutea (Walker) Noctuidae

37 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Hamodes propitia (Boisduval) Noctuidae

38 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Mocris undata (F.) Noctuidae

39 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Neochera dominia Cramer Noctuidae

40 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Oxyodes scrobiculata (F.) Noctuidae

41 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Pandesma anysa Guenee Noctuidae

42 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Parallelia stuposa (F.) Noctuidae

43 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Peridrome orbicularis Walker Noctuidae

P:255

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

251

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

44 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Peridrome subfascia Walker Noctuidae

45 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Rema costimacula (Guenée) Noctuidae

46 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Spirama helicina (Hubner) Noctuidae

47 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Spirama retorta (Clerk) Noctuidae

48 ผีเสื้อหนอนกระทู้ Tiruvaca subcostalis Walker Noctuidae

49 ผีเสื้อปีกปม หนอนมังกร Phalera torpida Walker Noctuidae

50 ผีเสื้อหนอนมังกรล�ำไย Tarsolepis elephantorum Banziger Noctuidae

51 ผีเสื้อหนอนหนาม

กะทกรก

Acraea violae (F.) Nymphalidae

52 ผีเสื้อหนอนละหุ่งลายหยัก Ariadne ariadne pallidior

(Fruhstorfer)

Nymphalidae

53 ผีเสื้อจ่าเมียสีส้ม Athyma nefte (Cramer) Nymphalidae

54 ผีเสื้อกะทกรกธรรมดา Cethosia cyane euanthe Fruhstorfer Nymphalidae

55 ผีเสื้อลายขี้เมี่ยง Cupha erymanthis erymanthis

(Drury)

Nymphalidae

56 ผีเสื้อเคาท์เทา Cynitia lepidea (Butler) Nymphalidae

57 ผีเสื้อไผ่ลายธรรมดา Discophora sondaica Boisduval Nymphalidae

58 ผีเสื้อหนอนมะพร้าวลาย

จุด

Elymnias malelas malelas

(Hewitson)

Nymphalidae

59 ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ Euploea core godartii Lucas Nymphalidae

60 ผีเสื้อจรกาเมียเลียน Euploea mulciber mulciber (Cramer) Nymphalidae

61 ผีเสื้อบารอนมาลายู Euthalia monina (F.) Nymphalidae

62 ผีเสื้อปีกไข่ใหญ่ Hypolimnas bolina bolina (L.) Nymphalidae

63 ผีเสื้อแพนซีเหลือง Junonia hierta hierta (F.) Nymphalidae

64 ผีเสื้อแพนซีสีตาล Junonia lemonias lemonias (L.) Nymphalidae

65 ผีเสื้อแพนซีมยุรา Junonia almana (Linnaeus) Nymphalidae

P:256

INSECT

252 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

66 ผีเสื้อใบไม้ใหญ่อินเดีย Kallima inachus (Doyere) Nymphalidae

67 ผีเสื้อเลอะเทอะป่าไผ่ Lethe europa niladana Fruhstorfer Nymphalidae

68 ผีเสื้อเลอะเทอะแดงแถบ

เพศ

Lethe minerva (F.) Nymphalidae

69 ผีเสื้ออ๊าชดุ๊คธรรมดา Lexias pardalis jadeitina

(Frushtorfer)

Nymphalidae

70 ผีเสื้อสายัณห์สีตาล

ธรรมดา

Melanitis leda leda (L.) Nymphalidae

71 ผีเสื้อตาลพุ่มเหลือบม่วง Mycalesis francisca Stoll Nymphalidae

72 ผีเสื้อตาลพุ่มคั่นกลาง Mycalesis intermedia (Moore) Nymphalidae

73 ผีเสื้อกะลาสีลายจุด Neptis magadha C. & R. Felder Nymphalidae

74 ผีเสื้อนิโกร Orsotriaena medus medus (F.) Nymphalidae

75 ผีเสื้อกะลาสีแดงแถบกว้าง Pantoporia sandaka (Butler) Nymphalidae

76 ผีเสื้อลายเสือขีดยาว Parantica aglea melanoides Moor Nymphalidae

77 ผีเสื้อเสือดาวน้อย Phalanta alcippe (Stoll) Nymphalidae

78 ผีเสื้อเหลืองหนามธรรมดา Polyura athamas athamas (Drury) Nymphalidae

79 ผีเสื้อลายตลกธรรมดา Symbrenthia lilaea luciana

Fruhstorfer

Nymphalidae

80 ผีเสื้อไวส์เคาท์ขอบฟ้า Tanaecia julii (Lesson) Nymphalidae

81 ผีเสื้อสีตาลจุดตาห้า

ธรรมดา

Ypthima baldus (F.) Nymphalidae

82 ผีเสื้อหนอนจ�ำปีจุดแยก Graphium doson evemonides

(Honrath)

Papilionidae

83 ผีเสื้อหางดาบลายจุด Graphium nomius swinhoei (Moore) Papilionidae

84 ผีเสื้อหางตุ้มจุดชมพู Pachliopta aristolochiae (F.) Papilionidae

85 ผีเสื้อเชิงลายธรรมดา Papilio clytia clytia (L.) Papilionidae

86 ผีเสื้อหนอนมะนาว Papilio demoleus malayanus Wallace Papilionidae

P:257

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

253

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

87 ผีเสื้อหางติ่งเฮเลน Papilio helenus L. Papilionidae

88 ผีเสื้อหางติ่งนางละเวง Papilio memnon agenor Linnaeus Papilionidae

89 ผีเสื้อหางติ่งธรรมดา Papilio polytes romulus Cramer Papilionidae

90 ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเส้นด�ำ Appias olferna olferna Swinhoe Pieridae

91 ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา Catopsilia pomona pomona (F.) Pieridae

92 ผีเสื้อหนอนคูนลายกระ Catopsilia pyranthe pyranthe (L.) Pieridae

93 ผีเสื้อหนอนกาฝากจุดแดง Delias descombesi descombesi

(Boisduval)

Pieridae

94 ผีเสื้อเณรสามจุด Eurema blanda (Boisduval) Pieridae

95 ผีเสื้อเณรธรรมดา Eurema hecabe hecabe (L.) Pieridae

96 ผีเสื้อเณรสีจางไทย Eurema novapallida Yata Pieridae

97 ผีเสื้อปลายปีกส้มเล็ก Ixias pyrene verna H. Druce Pieridae

98 ผีเสื้อขาวแคระ Leptosia nina (F.) Pieridae

99 ผีเสื้อฟ้าเมียเลียนธรรมดา Pareronia anais anais (Lesson) Pieridae

100 แมลงวันดอกไม้ Ischiodon seutellare F. Syrphidae

101 เหลือบ Tabanus fulvilinearis Philip Tabanidae

102 ผีเสื้อหนอนมะไฟ

ลายเลียน

Cyclosia papilionaris Drury Zygaenidae

103 ผีเสื้อรมควัน Gynautocera papilionaria Guerin Zygaenidae

P:258

INSECT

254 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

กลุ่มแมลงที่เป็นอาหาร

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 หนอนรถด่วน Omphisa fuscidentalis (Hampson) Crambidae

2 มดแดง Oecophylla smaragdina F. Formicidae

3 แมลงกระชอน Gryllotalpa africana Beauvois Gryllotalpidae

4 แมลงนูน Apogonia expeditionis Ritsema Scarabaeidae

5 ตั๊กแตนพุงพลุ้ย Mecopoda elongata (Linnaeus) Tettigoniidae

P:259

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

255

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 มวนถั่วฝักยาว Riptortus pedestris F. Alydidae

2 ด้วงเต่ากินใบ Lycaria westermanni Stal Calopterygidae

3 ด้วงกินใบ Monolepta nigripes Baly Calopterygidae

4 ด้วงเต่ากินใบ Oides bipunctata F. Calopterygidae

5 ผีเสื้อหนอนเจาะสัก Xyleutes ceramica Walker Cossidae

6 ผีเสื้อหนอนเจาะล�ำต้น Dausara amethysta (Butter) Crambidae

7 ผีเสื้อหนอนเจาะล�ำต้น Haritalodes derogata F. Crambidae

8 ด้วงก้นตัด Schistoceros anobioides

Waterhouse

Bostrichidae

9 แมลงทับขาเขียว Sternocera aequisignata

E. Saunders

Bostrichidae

10 แมลงทับขาแดง Sternocera ruficornis E. Saunders Bostrichidae

11 ด้วงหนวดยาวเงาหลังย่น Aeolesthes aurifaber (White) Cerambycidae

12 ด้วงหนวดปมจุดด�ำเหลือง Aristobia approxmator (Thomson) Cerambycidae

13 ด้วงหนวดยาว Cacia cretifera luteofasciata (Pic) Cerambycidae

14 ด้วงหนวดยาวอ้อย Dorysthenes buqueti (Guerin) Cerambycidae

15 ด้วงหนวดยาว Epipedocera laticollis Gahan Cerambycidae

16 ด้วงหนวดยาว Epipedocera subatra

Gressitt & Rondon

Cerambycidae

17 ด้วงหนวดยาว Eutaenia albomaculata Breuning Cerambycidae

18 ด้วงหนวดยาวหลังขนแถบ Moechotypa suffusa (Pascoe) Cerambycidae

กลุ่มแมลงศัตรูพืชป่าไม้

P:260

INSECT

256 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

19 ด้วงหนวดยาว Niphona malaccensis Breuning Cerambycidae

20 ด้วงหนวดยาวจุดสยาม Olenecamptus siamensis Breuning Cerambycidae

21 ด้วงหนวดยาวเกาะคู่ Paraleprodera inidiosa (Pascoe) Cerambycidae

22 ด้วงหนวดยาว Stibara humeralis Thompson Cerambycidae

23 เพลี้ยกระโดดด�ำ Callitetrix versicolor F. Cercopidae

24 ด้วงเสือ Calochroa bramani (Dokhtouroff) Cicindellidae

25 ด้วงเสือเหลืองจุดไหล่เชื่อม Calochroa shozoi Naviaux & Sawada Cicindellidae

26 ด้วงเต่าลายสมอ Coccinella transversalis F. Coccinellidae

27 ด้วงเสือเล็กลายพลุเหลือง Lophyra striolata striolata (Illiger) Cicindellidae

28 มวนถั่วแระ Clavigralla gibbosa Spinola Coreidae

29 มวนนักกล้าม Petillia calcar Dall. Coreidae

30 ด้วงม้วนใบมะม่วง Apoderus notatus (F.) Curculionidae

31 แมลงค่อมทอง Hypomeces squamosus F. Curculionidae

32 มวนจู้จี้ Adrisa magna Unler Cydnidae

33 ด้วงดีด Oxynopterus audouini Cand Elateridae

34 จักจั่นงวง Pyrops candelaria (Linnaeus) Fulgoridae

35 ครั่ง Laccifer lacca (Kerr) Kerridae

36 ด้วงคีมสองแถบ Prosopocoilus inquinatus

Westwood

Lucanidae

37 ด้วงน�้ำมัน Epicauta hirticornis H. Rutenbers Meloidae

38 ผีเสื้อหนอนเจาะล�ำต้น Arthroschista hilaralis (Walker) Pyralidae

39 ผีเสื้อหนอนเจาะล�ำต้น Pygospila tyres Cramer Pyralidae

40 มวนแดง Antilochus coquebertii (F.) Pyrrhocoridae

41 มวนแดงนุ่น Odontopus nigricornis Stal Pyrrhocoridae

42 เพลี้ย Ricania speculum Walker Ricanidae

P:261

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

257

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

43 ผีเสื้อจรวด Clanis bilineata (Walker) Sphingidae

44 ผีเสื้อจรวด Marumba decoratus (Moore) Sphingidae

45 ผีเสื้อจรวด Parum colligata Walker Sphingidae

46 ผีเสื้อจรวด Sataspes tagalica Boisduval Sphingidae

47 ด้วงหลินจือ Platydema waterhousei Gelbien Tenebrionidae

48 มวนแดงห�้ำ Antilochus nigripes Brum. Pyrrhocoridae

49 มวนแดงฝ้าย Dysdercus cingulatus F. Pyrrhocoridae

P:262

INSECT

258 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 แมลงสาบป่า Pycnoscelus indicus (F.) Blaberidae

2 แมลงวันหัวเขียว Chrysomya megacephala (Fabricius) Calliphoridae

3 มด Camponotus leonardi Emeri Formicidae

4 มด Camponotus rufoglaucus (Jerdan) Formicidae

5 มด Cataulacus granulatus Latreille Formicidae

6 มด Diacamma vagans Smith Formicidae

7 มด Dolichoderus tuberifera (Emery) Formicidae

8 เสี้ยนดิน Dorylus orientalis Westwood Formicidae

9 มด Odontoponera denticulata Smith Formicidae

10 มด Pachycondyla rufipes Jerdan Formicidae

11 มด Pheidole nodifera-group Formicidae

12 มด Pheidologeton diversus (Jerdan) Formicidae

13 มดหนามกระทิงด�ำ Polyrhachis armata Le Guillou Formicidae

14 มด Polyrhachis hippomanes Smith Formicidae

15 มดหนามหีบทองแหลม Polyrhachis illaudata Walker Formicidae

16 ด้วงแรด Trichogomphus martabani

Guérin-Méneville

Scarabaeidae

17 ปลวก Coptotermes gestroi Wasmann Termitidae

18 ปลวกท้องเหลือง Globitermes sulphureus Haviland Termitidae

19 ปลวก Havilanditermes proatripennis

Ahmad

Termitidae

กลุ่มแมลงเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน

P:263

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

259

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

20 ปลวก Hospitalitermes ataramensis

Prashad & Sen-Sarma

Termitidae

21 ปลวก Hypotermes makhamensis Ahmad Termitidae

22 ปลวก Microcerotermes crassus Snyder Termitidae

23 ปลวก Odontotermes feae (Wasmann) Termitidae

24 ปลวก Odontotermes proformosanus

Ahmad

Termitidae

P:264

INSECT

260 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 แมลงปอเข็มน�้ำตกปีกเขียว Neurobasis chinensis (L.) Calopterygidae

2 แมลงด�ำหนามข้าว Dicladispa armigera (Olivier) Calopterygidae

3 ด้วงเต่ากินใบ Aulacophora lewisii Baly Chrysomelidae

4 แมลงปอเข็มน�้ำตกสีพายัพ Euphaea pahyapi Hämäläinen Euphaeidae

5 มดน�้ำผึ้ง Anoplolepis gracilipes F. Smith Formicidae

6 มดตะนอย Dolichoderus thoracicus Smith Formicidae

7 มดตะนอย Tetraponera attenuata Smith Formicidae

8 มดตะนอย Tetraponera nigra (Jerdan) Formicidae

9 มดตะนอยอกส้ม Tetraponera rufonigra Jerdan Formicidae

10 แตนเบียน Leucospis petiolata F. Leucospidae

11 แมลงปอบ้านสองสีเขียวฟ้า Diplacodes trivialis (Rambur) Libellulidae

12 แมลงปอบ้านสีหม่น

ทองแดง

Orthetrum pruinosum neglectum

Rambur

Libellulidae

13 แมลงปอบ้านเสือวงลาย Orthetrum testaceum (Burmeister) Libellulidae

14 แมลงปอบ้านเสือ

สามเหลี่ยม

Orthetrum triangulare (Selys) Libellulidae

15 แมลงปอบ้านไร่ปีกทอง Rhyothemis phyllis (Sulzer) Libellulidae

16 มวนเพชฌฆาตคาดเหลือง Sycanus croceovittatus Dohrn Reduviidae

17 มวนเพชฌฆาต Vilius macrops Walker Reduviidae

18 ต่อหมาร่า Chalybion bengalense Dahlbum Sphecidae

19 ด้วงก้นกระดก Paederus fuscipes Curtis Staphylinidae

กลุ่มแมลงตัวห�้ำ ตัวเบียน

P:265

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

261

กลุ่มแมลงหายากและใกล้สูญพันธ์ุ

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 ด้วงคีมยีราฟ Prosopocoilus giraffa Olivier Lucanidae

ล�ำดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

1 ผีเสื้อถุงทองธรรมดา Troides aeacus aeacus (C. & R. Felder) Papilionidae

กลุ่มแมลงคุ้มครองและห้ามน�ำเข้าห้ามส่งออก

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์

20 แตนกระดาษ Delta arcuata (F.) Vespidae

21 ต่อกระดาษ Polistes stigma F. Vespidae

P:266

INSECT

262 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

(Order lepidoptera: lepido = scale, pteron = wing)

ผีเสื้อ ความงดงามของผีเสื้อนั้นมีมากมาย พบได้ตลอดทั้งปี

ทุกฤดูกาล แต่หมุนเวียนเปลี่ยนชนิดไปตามแหล่งพืชอาหาร ในช่วง

ที่พบมากคือช่วงผสมพันธุ์ในช่วงฤดูฝนระหว่างมิถุนายนถึงสิงหาคม

ผีเสื้อแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ผีเสื้อกลางวัน (butterflies)

และผีเสื้อกลางคืน (moths) หรือที่เราเรียกว่า มอธ ผีเสื้อกลางวัน

มีแค่10% ของผีเสื้อทั้งหมด แต่ด้วยสีสันของปีกอันสวยงามสะดุดตา

และพบเห็นได้ง่ายในเวลากลางวันจึงเป็นที่รู้จักมากกว่าผีเสื้อกลางคืน

ที่มีมากถึง 90% ของผีเสื้อทั้งหมด

Order Lepidoptera

P:267

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

263

ผีเสื้อ สามารถขยายพันธุ์และเพิ่มจ�ำนวนได้มากหรือน้อย

ขึ้นอยู่กับชนิด ในการเจริญเติบโตมีการลอกคราบและการเปลี่ยนแปลง

รูปร่างในแต่ละช่วงวัยที่แตกต่าง มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์

(complete metamorphosis) คือมีระยะไข่ ระยะตัวหนอน ระยะดักแด้และระยะตัวเต็มวัย

วงจรชีวิตผีเสื้อหางตุ้มจุดชมพู

P:268

INSECT

264 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ผีเสื้อกลางวัน

(Butterflies)

ผีเสื้อกลางวันจะออกหากินในเวลากลางวันและเวลาพลบค�่ำ

ลักษณะที่แตกต่างจากผีเสื้อกลางคืน คือ หนวดจะมีลักษณะคล้าย

กระบอง (ปลายหนวดพองโตออกคล้ายกระบอง) บางพวกมีปลาย

หนวดโค้งงอเป็นตะขอ เวลาเกาะจะชูหนวดขึ้นเป็นรูปตัววี(V)

จะมีเกล็ด (scale) ปกคลุมเนื้อปีกที่บางใสและเกล็ดนี้จะมีสีสัน

ต่างๆ กัน ล�ำตัว ปีก และขาปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็กมากคล้ายฝุ่น

ปากเป็นงวงยาวม้วนเข้าอยู่ใต้หัวได้ปากเป็นชนิดดูดกิน (siphoning

type) บางชนิดไม่มีปาก และไม่กินอาหารเมื่อเจริญวัยเต็มที่แล้ว

P:269

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

265

Family Lycaenidae

วงศ์ผีเสื้อสีน�้ำเงิน เป็นผีเสื้อขนาดเล็ก บอบบาง สีสด

น�้ำเงินทองแดง น�้ำตาลแก่หรือส้ม ตัวผู้กับตัวเมียอาจมีสีต่างกัน

หนวดมักจะมีวงสีขาว และมีเกล็ดขาวล้อมรอบขอบตา บางตัว

มีหางยื่นยาวออกไป เส้นปีกเรเดียส (R) ของปีกหน้าแตกเป็น 3-4

แขนง ตัวหนอนค่อนข้างแบนมีลักษณะคล้ายหอย ล�ำตัวสั้นและ

กว้าง ขาจริงและขาเทียมเล็ก ส่วนหัวหดเข้าไปในล�ำตัวได้

ผีเสื้อวงศ์นี้2-3 ชนิด มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่

พวกตัวหนอนกินพืชตระกูลถั่ว เจาะผลทับทิม มะปราง ชมพู่ หว้า

มะม่วง และล�ำไย เป็นต้น แต่มีบางชนิดให้ประโยชน์โดยเป็นตัวห�้ำ

กัดกินเพลี้ยอ่อนและกินครั่ง

P:270

INSECT

266 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ด้านหน้าประดับด้วยแถบสีขาวขนาดใหญ่

พาดกลางปีกคู่บนและปีกคู่ล่าง ด้านข้างของแถบ

สีขาวประกบด้วยแถบสีน�้ำเงินม่วงวาว ขอบปีกมีสีด�ำ

ด้านท้องปกคลุมด้วยเกล็ดสีขาว ประดับด้วยจุดสีเทา

กระจายบริเวณขอบปีก และแถบสีเทาใกล้กับล�ำตัว

ข้างละ 4 แถบ

Discolampa ethion (Westwood) แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 25 มม.

ผีเสื้อหนอนพุทราแถบฟ้า The Banded Blue Pierrot

ด้านท้อง

ด้านหน้า

พบในป่าทึบ

พบในที่โล่งแจ้ง

P:271

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

267

ด้านหน้า

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผีเสื้อพุ่มไม้ธรรมดา

ด้านหน้าปกคลุมด้วยเกล็ดสีน�้ำเงินอมม่วง

มันวาว ขอบปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีด�ำ กลางปีกคู่บน

ประดับด้วยแต้มกลมสีด�ำ ด้านท้องขอบปีกคู่บนและปีกคู่

ล่างปกคลุมด้วยเกล็ดสีเทาประดับด้วยแถบขวางสีน�้ำตาล

มุมด้านล่างของปีกคู่ล่างประดับด้วยจุดสีส้ม ขอบปีกมีริ้ว

ขนาดเล็ก 2 ริ้ว

Hypolycaena erylus (Godart)

The Common Tit

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 25 มม.

ผีเสื้อพุ่มไม้ธรรมดา

ด้านท้อง

P:272

INSECT

268 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 30 มม.

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ด้านหน้าเนื้อปีกสีส้ม ปลายปีกหลังยื่นยาว

คล้ายหาง มุมปลายปีกประดับด้วยสีขาว ขอบปีกคู่บน

สีด�ำ ด้านท้องสีส้มอมเหลือง มุมด้านล่างของปีกคู่ล่าง

ยื่นยาวออกเป็นติ่ง ติ่งประดับด้วยจุดสีด�ำข้างละ 1 จุด

ในเพศผู้ด้านท้องมีสีเหลืองลวดลายสีน�้ำตาลจางๆ

และสีจะเข้มขึ้นในเพศเมีย

Loxura atymnus (Stoll)

ผีเสื้อแสดหางยาว The Yamfly

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:273

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

269

Family Nymphalidae

วงศ์ผีเสื้อวงศ์ขาหน้าพู่ เป็นผีเสื้อขนาดกลางถึงขนาดใหญ่

มีอยู่ไม่กี่ชนิดที่มีขนาดเล็ก มีลักษณะพิเศษคือขาคู่หน้าเล็กมาก

เล็กกว่าคู่อื่นๆ ไม่ใช้ในการเดินหรือเกาะใช้แต่ขาคู่กลางหรือหลัง

เวลาเกาะจะพับขาคู่หน้าไว้กับอก เส้นเรเดียส (R) แบ่งเป็น 5 แขนง

ในปีกคู่หน้า ดิสคอลเซลล์อาจจะเปิดหรือปิดโดยมีเส้นบางๆ เส้นปีก

อานัลเวนที่ 3 ในปีกคู่หน้าไม่มีหนวดปกคลุมด้วยเกล็ด ดักแด้มักจะ

ห้อยหัวลง

เป็นแมลงที่ไม่ค่อยส�ำคัญนัก ถึงแม้ว่าบางชนิดจะกินข้าว

กล้วย ละหุ่ง มะม่วง และไม้ดอกต่างๆ แต่ไม่มากมายจนก่อให้เกิด

ความเสียหายขึ้นได้

P:274

INSECT

270 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ด้านหน้าปกคลุมด้วยเกล็ดปีกสีส้ม ประดับ

ด้วยจุดแต้มสีด�ำ ขอบปีกด้านนอกของปีกคู่ล่างมีแถบ

สีด�ำประดับด้วยจุดสีเหลืองตลอดแนว ส่วนหัวและ

อกปกคลุมด้วยเกล็ดสีด�ำ ประดับด้วยจุดสีเหลือง

ด้านท้องปกคลุมด้วยเกล็ดสีส้มอมเหลือง ประดับด้วย

แต้มสีด�ำ ขอบปีกคู่ล่างด้านติดกับล�ำตัวและด้านนอก

มีแถบสีด�ำประดับด้วยจุดแต้มสีครีมอมเหลืองขนาดใหญ่

ลักษณะเด่น ความที่เป็นผีเสื้อที่มีพิษอยู่ในตัว

จึงปลอดภัยจากผู้ล่า

Acraea violae แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 39 มม. (F.)

ผีเสื้อหนอนหนามกะทกรก The Tawny Coster

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:275

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

271

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผีเสื้อกะทกรกธรรมดา

ด้านท้อง

ด้านหน้า

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 58 มม.

The Leopard Lacewing

ด้านหน้าปีกมีลวดลายสีส้มแดง ขอบปีกนอก

เป็นรอยหยักตลอดแนว ปีกคู่บนขอบปีกสีด�ำ มีแถบ

สีขาวข้างละ 1 แถบ ด้านท้องสีเหลืองมีจุดสีด�ำคล้าย

ลวดลายของเสือดาว ขอบปีกสีน�้ำตาลเข้มมีลวดลาย

ซิกแซกสีขาวคล้ายลายผ้าลูกไม้โคนปีกสีเหลืองอมส้ม

มีลวดลายเป็นริ้วสีด�ำ ในผีเสื้อเพศผู้มีสีเข้มกว่าเพศเมีย

Cethosia cyane euanthe Fruhstorfer

P:276

INSECT

272 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 77 มม.

ปีกสีน�้ำตาลแดงเข้ม โคนปีกสีเข้ม

เกือบด�ำ มุมปลายปีกคู่บนสีเทาเคลือบด้วยเกล็ด

สีขาว ขอบปีกคู่ล่างประดับด้วยจุดสีขาวเรียงต่อกัน

2 แถว ล�ำตัวสีน�้ำตาลด�ำ มีหนวดแบบกระบอง

ผีเสื้อชนิดนี้มีลักษณะการบินร่อนช้าๆ

บางครั้งพบเป็นกลุ่มใหญ่ในที่ร่มร�ำไรในเวลา

กลางวัน ชอบตอมดอกไม้พบเห็นได้ง่าย

ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ The Common Indian Crow

Euploea core godartii Lucas

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:277

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

273

เพศเมีย

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Lexias pardalis jadeitina (Frushtorfer)

ผีเสื้ออ๊าชดุ๊คธรรมดา

เพศผู้

เพศผู้ปีกกว้าง 68 มิลลิเมตร ปีกคู่บนสีด�ำอม

น�้ำเงินประดับด้วยจุดสีส้มอมน�้ำตาล ขอบปีกประดับด้วย

แถบสีฟ้าวาวอมเทา ขอบปีกคู่ล่างประดับด้วยแถบสีฟ้า

วาวอมม่วง ด้านท้องปีกสีส้มอมน�้ำตาล เพศเมียปีกกว้าง

77 มิลลิเมตร ด้านหน้าปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีน�้ำตาลเข้ม

ประดับด้วยจุดแต้มสีครีมอมเหลืองกระจายทั่วปีก

ด้านท้องปีกคู่บนสีน�้ำตาลอมเทา ปีกคู่บนและปีกคู่ล่าง

ประดับด้วยจุดแต้มสีครีมอมเหลืองกระจายอยู่ทั่วปีก

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 68-77 มม.

The Common Archduke

P:278

INSECT

274 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

แหล่งที่พบ

ด้านหน้าปกคลุมด้วยเกล็ดสีน�้ำตาลเข้ม

ปลายปีกคู่บนมีสีน�้ำตาลเข้มเกือบด�ำ ปลายปีกประดับ

ด้วยจุดแต้มสีด�ำขนาดใหญ่ขอบด้านนอกมีสีส้ม

ประดับด้วยจุดสีขาว 2 จุด ขอบปีกคู่ล่างประดับด้วย

จุดสีขาวขนาดเล็ก 4 จุด ด้านท้องปีกสีน�้ำตาลอมส้ม

ปีกคู่บนประดับด้วยจุดขนาดเล็กบริเวณค่อนไปทาง

มุมของปีก 4 จุด ปีกคู่ล่างประดับด้วยแต้มสีด�ำกลาง

ปีกข้างละ 1 จุด ประดับด้วยจุดสีขาวขนาดเล็กเรียง

จากบนลงล่างจ�ำนวน 5 จุด

ผีเสื้อสายัณห์สีตาลธรรมดา The Common Evening Brown

Melanitis leda leda (L.) ปีกกว้าง 77 มม.

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:279

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

275

ด้านท้อง

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผีเสื้อกะลาสีลายจุด

ด้านหน้า

ด้านหน้าปีกสีด�ำ ปีกคู่บนประดับด้วย

แถบขวางสีขาวข้างละ 1 แถบ และจุดแต้มขนาด

ปานกลาง ปีกคู่ล่างประดับด้วยแถบขวางขนาดใหญ่

ข้างละ 1 แถบ และแถบของจุดสีขาว 1 แถว

ขอบปีกประดับด้วยเส้นประสีขาว ด้านท้องมีสีส้ม

อมน�้ำตาล ปีกคู่บนประดับด้วยแถบขวางสีขาว

ข้างละ 1 แถบ และจุดแต้มขนาดปานกลาง ปีกคู่

ล่างประดับด้วยแถบขวางขนาดใหญ่ข้างละ 1 แถบ

และแถบของจุดสีขาว 1 แถว ขอบปีกประดับด้วย

เส้นประสีขาวเด่นชัดกว่าด้านหน้า

Neptis magadha C. & R. Felder แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 62 มม.

The Spotted Sailor

P:280

INSECT

276 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 55 มม.

ด้านหน้าสีน�้ำตาลไหม้มีลวดลายสีด�ำ

มุมปีกคู่บนแต้มจุดสีขาวขนาดใหญ่ข้างละ 1 จุด

ด้านท้องปีกคู่บนสีน�้ำตาลอมส้มมีแต้มจุดสีขาว

ขนาดใหญ่ข้างละ 1 จุด ปีกคู่ล่างสีน�้ำตาล จุดกระ

สีน�้ำตาลอมเขียวกระจายทั่วปีก

Tanaecia julii (Lesson)

ผีเสื้อไวส์เคาท์ขอบฟ้า The Common Earl

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:281

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

277

Family Papilionidae

วงศ์ผีเสื้อหางแฉก เป็นผีเสื้อขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่มีจุดสังเกต

ได้ง่าย ที่ปีกคู่หลังขยายเป็นหางยาวออกไป จึงได้ชื่อว่า “หางแฉก”

เส้นคิวบิตัส (Cu) ในปีกคู่หน้ามีลักษณะคล้ายกับว่าเป็น 4 เส้น และ

มีอานัลเวน 2-3 เส้นในปีกคู่หน้า ในปีกคู่หลังมี1 เส้น โดยมากปีก

มีพื้นสีด�ำ และมีรอยแต้ม รอยจุด หรือลายสีเหลือง แดง เขียว ขาว

หรือน�้ำเงิน

หนอนของผีเสื้อในวงศ์นี้บางชนิดเป็นศัตรูของพืชส�ำคัญๆ

เช่น พืชตระกูลส้ม ได้แก่ส้มเขียวหวาน ส้มโอ ส้มจุก ส้มแป้น

ส้มเกลี้ยง มะนาว บางชนิดก็เป็นศัตรูของผัก

P:282

INSECT

278 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำตัวส่วนท้องสีด�ำสลับสีเหลือง เพศผู้ปีก

คู่บนเรียวยาวสีด�ำ มีเกล็ดสีเทารอบเส้นปีก ปีกคู่บนสีด�ำ

ปีกคู่ล่างสีเหลืองทองที่ขอบปีกมีรอยหยักสีด�ำ เหนือ

รอยหยัก 3 รอยที่มุมด้านในของปีกจะมีเกล็ดสีเทา

ลักษณะเหมือนฝุ่นครอบอยู่ เพศเมียปีกคู่หน้าสีด�ำ

ปีกคู่ล่างมีรอยหยักที่ขอบปีก มีจุดขนาดใหญ่กระจาย

อยู่ในช่องระหว่างเส้นปีก ช่องละ 1 จุด ล�ำตัวสีด�ำ

* ผีเสื้อถุงทองธรรมดา เป็นแมลงคุ้มครองในบัญชีที่ 2

แห่งอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่า

และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธ์ุ (CITES)

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

เพศผู้

เพศเมีย

ผีเสื้อถุงทองธรรมดา The Golden Birdwing

Troides aeacus aeacus (C. & R. Felder) แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 113 มม.

P:283

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

279

ด้านท้อง

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผีเสื้อหนอนจ�ำปีจุดแยก

ปีกกว้าง 62 มม.

ด้านหน้า

ด้านหน้าปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีด�ำ

ประดับด้วยแต้มสีฟ้าขนาดใหญ่เรียงขวางบริเวณกลาง

ปีกจุดแต้มสีฟ้าเรียงตามแนวขอบปีกคู่บนลงปีกคู่ล่าง

ขอบด้านในติดล�ำตัวของปีกคู่ล่างประดับด้วยเกล็ด

ขนยาวสีน�้ำตาลจ�ำนวนมาก ด้านท้องของปีกคู่บน

ประดับด้วยจุดแต้มสีแดงอมชมพูใกล้ล�ำตัวข้างละ 1 จุด

ปีกคู่ล่างประดับด้วยแถบสีแดงอมชมพูตรงขอบปีกใกล้

ล�ำตัวข้างละ 1 แถบ และแต้มสีแดงอมชมพูใกล้มุมด้าน

ล่างของปีกข้างละ 3 จุด

The Common Jay

Graphium doson evemonides (Honrath) แหล่งที่พบ

P:284

INSECT

280 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เพศเมีย

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 120 มม.

เพศผู้มีเกล็ดปีกสีน�้ำเงิน ปีกคู่บนสีด�ำ

อมน�้ำเงิน ปีกคู่ล่างมีแถบสีน�้ำเงินทั่วทั้งปีก เวลาบิน

เกล็ดปีกของผีเสื้อจะสะท้อนแสงเป็นสีเงิน เพศผู้เป็น

ผีเสื้อที่บินได้ว่องไว เพศเมียมีล�ำตัว ปีก และหนวด

สีด�ำ มีแถบสีแดงประดับบนปีกคู่บนส่วนติดกับล�ำตัว

ปลายปีกคู่ล่างประดับด้วยแถบสีแดง

เพศเมียมีรูปร่างต่างๆ 5 รูปร่างด้วยกัน

เช่น f. agenor, f. distantianus, f. rhetenorina

เป็นต้น

f.agenor

Papilio memnon agenor Linnaeus

ผีเสื้อหางติ่งนางละเวง The Great Mormon

เพศผู้

P:285

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

281

ด้านท้อง

ผีเสื้อหางตุ้มจุดชมพู

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ด้านหน้า

ล�ำตัวมีขนาดกลาง ด้านหน้าปีกคู่บนสีด�ำ

อมเทา ปีกยาวเป็นวงรีปีกคู่ล่างสีด�ำสนิท ที่กลางปีก

ประดับด้วยแถบสีขาว 5 แถบ แต้มจุดสีชมพูที่ขอบปีก

มีปลายหางยาวยื่นออกมาจากปลายปีก ด้านท้องสีปีก

คู่บนจางกว่าด้านหน้า ปีกคู่ล่างที่กลางปีกประดับด้วย

แถบสีขาว 5 แถบ ขอบปีกมีจุดสีชมพู6 จุด มีปลาย

หางยาวยื่นออกมาจากปลายปีก

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 63 มม.

The Common Rose

Pachliopta aristolochiae (F.)

P:286

INSECT

282 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Family Pieridae

วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล�่ำ เป็นผีเสื้อขนาดกลาง มักจะมี

สีขาว เหลือง หรือส้ม และมีลายจุดสีด�ำที่ปีกคู่หน้าชิดกับเส้นเรเดียส

ขาสามคู่เจริญเท่ากัน และเล็บแต่ละซี่ มีฟันเป็น 2 ง่าม ตัวหนอน

ยาวมีล�ำตัวเป็นปล้องเห็นได้ชัดเจน

หนอนของผีเสื้อในวงศ์นี้หลายชนิดเป็นศัตรูส�ำคัญของ

พืชที่เพาะปลูก โดยเฉพาะหนอนกะหล�่ำปลีนอกจากนี้ยังมีพวก

ที่กินพืชตระกูลถั่ว

P:287

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

283

ด้านท้อง

Eurema blanda (Boisduval)

ผีเสื้อเณรสามจุด The Three-spot Grass Yellow

เนื้อปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีเหลือง

ก�ำมะถัน ด้านหน้ามุมปีกคู่บนมีสีด�ำขนาดใหญ่

ด้านท้องปีกคู่บนประดับด้วยแต้มสีน�้ำตาล

ที่สันขอบด้านบน ด้านในติดกับล�ำตัวประดับ

ด้วยจุดสีน�้ำตาล 3 จุด ปีกคู่ล่าง ประดับด้วย

จุดสีน�้ำตาลเล็กๆ กระจายทั่วปีก

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ปีกกว้าง 29-47 มม.

ด้านหน้า

แหล่งที่พบ

P:288

INSECT

284 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ด้านหน้าปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีขาว ขอบปีก

คู่บนมีสีด�ำ ด้านท้องปีกคู่บนพื้นสีด�ำ ประดับด้วยแต้ม

สีขาว ปีกคู่ล่างสีเหลืองอมส้มขอบปีกด้านบนติดล�ำตัว

ประดับด้วยจุดแต้มสีแดงส้มข้างละ 1 จุด ขอบปีกด้าน

นอกประดับด้วยแต้มรูปสามเหลี่ยมสีด�ำ

Delias descombesi descombesi (Boisduval) ปีกกว้าง 68 มม.

ผีเสื้อหนอนกาฝากจุดแดง The Red-spot Jezebel

ด้านหน้า

ด้านหลัง

แหล่งที่พบ

P:289

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

285

ด้านหลัง

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

เนื้อปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีครีมอมเหลือง

ด้านหน้าขอบปีกติดกับล�ำตัวสีเหลืองก�ำมะถัน

มีจุดสีด�ำที่ปลายปีก ด้านท้องปีกคู่บนประดับด้วยจุด

แต้มขอบสีชมพูกลางปีก 1 จุด และกลางปีกคู่ล่าง 2 จุด

เป็นผีเสื้อที่มีความชุกชุมมากที่สุด ผีเสื้อ

หนอนคูนธรรมดายังมีความหลากหลายของลวดลาย

สีสัน ซึ่งสามารถแบ่งรูปร่างต่างๆ ได้ถึง 6 รูปร่าง

โดย f. hilaria และ f. alcmeone เป็นรูปร่างของ

เพศผู้ส่วน f. pomona, f. jugurtha, f. crocale

และ f. catilla เป็นรูปร่างของเพศเมีย

ด้านหน้า

ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา The Lemon Emigrant

Catopsilia pomona pomona (F.) แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 79 มม.

P:290

INSECT

286 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ผีเสื้อกลางคืน

(Moths)

ผีเสื้อกลางคืน ส ่วนใหญ ่ออกหากินกลางคืน มีอยู ่ไม ่กี่ชนิด

ที่ออกหากินกลางวันเหมือนกับผีเสื้อกลางวัน แต่จะมีลักษณะต่างกัน

ก็คือ หนวดของผีเสื้อกลางคืนมีหนวดรูปร่างต่างกันหลายแบบ เช่น

รูปเรียวคล้ายเส้นด้าย รูปฟันหวีหรือแบบพู่ขนนก ยกเว้น ลักษณะ

คล้ายกระบอง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของผีเสื้อกลางวัน ล�ำตัวของ

ผีเสื้อกลางคืนมักจะอ้วนและปกคลุมไปด้วยขนปุกปุย ล�ำตัว ปีก และ

ขาปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็กมากคล้ายฝุ ่น เมื่อมองด้วยตาเปล ่า

เกล็ดเหล่านี้ท�ำให้เกิดสีต่าง ๆ กัน ปากเป็นงวงยาวม้วนเข้าอยู่ใต้หัวได้

ปากเป็นชนิดดูดกิน (siphoning type) บางชนิดไม่มีปาก และไม่กิน

อาหารเมื่อเจริญวัยเต็มที่แล้ว เนื้อปีกบางใส (membrane) ปกคลุม

ด้วยเกล็ดปีก ตารวมโต ส่วนใหญ่มีตาเดี่ยว 2 ตา อยู่ใกล้ๆ กับ

ขอบตารวม มีขาแบบเดิน (walking leg)

P:291

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

287

Family Arctiidae

วงศ์ผีเสื้อลายเสือ (tiger moths) เป็นผีเสื้อขนาดเล็ก

ถึงขนาดกลาง ซึ่งส่วนใหญ่มีสีสดฉูดฉาดมีลายพาดตามขวางสีและ

จุดสีต่างๆ กัน ส่วนใหญ่สีเหลืองปนด�ำคล้ายลายเสือ เมื่อพักอยู่กับ

ที่ก็จะพับปีกหุ้มตัวคล้ายรูปหลังคาตัวหนอนมีขนมากมีลักษณะเป็น

ตัวบุ้ง ดักแด้มีปลอกซึ่งตัวหนอนใช้ใยถักกับขนหุ้มล�ำตัว

ตัวหนอนของแมลงวงศ์นี้ส ่วนใหญ ่กินใบของต้นไม้ใหญ ่

โดยเฉพาะไม้ป่าเป็นอาหาร บางครั้งกลายเป็นแมลงศัตรูทางป่าไม้

ตัวเต็มวัยออกหากินเวลากลางคืน และมักจะชอบเล่นแสงไฟ

P:292

INSECT

288 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ด้านหน้า

ผีเสื้อลายเสือ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Tatargina picta (Walker) ปีกกว้าง 46-55 มม.

ด้านหน้าปีกคู่บนปกคลุมด้วยเกล็ดสีแดง

อมชมพูเข้ม ประดับด้วยแถบสีด�ำขอบเหลืองอ่อน

เรียงเป็นแถวแนวตั้งทั้งหมดข้างละ 6 แถว ปีกคู่ล่าง

สีส้มอ่อนอมชมพูหัวและอกสีแดงอมชมพูเข้มประดับ

ด้วยจุดสีด�ำ ล�ำตัวมีสีเหลืองอมส้ม ประดับด้วยจุดสีด�ำ

เรียงตามความยาว ด้านท้องสีจางกว่าด้านหน้า

แหล่งที่พบ

Tiger Moths

P:293

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

289

Family Cossidae

วงศ์ผีเสื้อหนอนเจาะไม้(carpenter moths) เป็นผีเสื้อ

ที่มีขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ล�ำตัวอ้วน ก้นแหลม ปีกค่อนไปทางยาว

มากกว่ากว้าง หนา และแข็งแรง มักจะมีรอยด่างหรือจุดทั่วไปตามปีก

หนวดเป็นแบบฟันหวีเป็นสองแถว (bipectinate) ทั้งตัวเมียและตัวผู้

หรือบางครั้งตัวผู้มีโคนหนวดแบบฟันหวีเป็นสองแถว แต่ตอนปลาย

เป็นแบบเส้นด้าย (filiform)

แมลงในวงศ์นี้ออกหากินในเวลากลางคืน ชอบวางไข่ตามเปลือก

ไม้หรือในรูตัวหนอนเจาะกินเป็นรูขนาดใหญ่เข้าไปในเนื้อไม้ท�ำให้กิ่ง

หักแห้งตาย เป็นศัตรูส�ำคัญของไม้สัก และศัตรูของต้นไม้หลายชนิด

ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก

P:294

INSECT

290 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผีเสื้อหนอนเจาะสัก Teak Borer

Xyleutes ceramica Walker

ด้านหน้าล�ำตัวและเนื้อปีกปกคลุมด้วย

เกล็ด สีน�้ำตาลปนสีด�ำเรียงกัน ลักษณะคล้าย

เปลือกไม้ด้านท้องลักษณะคล้ายด้านหน้า ล�ำตัว

ส่วนท้องสีน�้ำตาลเกือบด�ำ ลักษณะหนวด หนวดตัวผู้

มีลักษณะผสม คือ โคนหนวดจะเป็นแบบฟันหวี

ปลายหนวดเป็นแบบเส้นด้าย ผีเสื้อชนิดนี้เป็นศัตรู

ที่ร้ายแรงของไม้สัก

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 95 มม.

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:295

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

291

Family Noctuidae

วงศ์ผีเสื้อหนอนกระทู้เป็นผีเสื้อที่วงศ์ใหญ่ที่สุดในบรรดา

ผีเสื้อทั้งหมด ส่วนใหญ่หากินในเวลากลางคืนและมักชอบเล่นไฟ

มีขนาดและสีสันที่หลากหลาย แต่ส่วนใหญ่มีขนาดกลางและสีทึบ

ล�ำตัวอ้วนป้อม ปีกคู่บนค่อนข้างแคบและปีกคู่ล่างกว้าง เมื่อพับปีก

จะมีลักษณะหุ้มตัวคล้ายหลังคา

แมลงในวงศ์นี้เป็นศัตรูพืชทางการเกษตร ตัวหนอนกัดกิน

ใบและผล และบางครั้งก็เจาะเข้าไปในล�ำต้น มีหลายชนิดที่เป็นศัตรู

ของพืช รวมทั้งธัญพืชต่างๆ เช่น หนอนกอข้าวสีชมพูหนอนกระทู้

กล้าข้าว เป็นต้น บางชนิดมีลักษณะเป็นหนอนคืบ เช่น หนอนคืบ

กะหล�่ำปลีหนอนคืบละหุ่ง เป็นต้น บางชนิดท�ำลายรากพืชและ

หน่อพืชต่างๆ หนอนกระทู้เหล่านี้มีนิสัยออกหากินในเวลากลางคืน

และจะหลบซ่อนตัวอยู่ตามใต้ก้อนหิน ดิน หรือใต้ดินตามโคนต้นพืช

ในเวลากลางวัน

P:296

INSECT

292 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผีเสื้อหนอนกระทู้

ด้านหน้าปีกคู่บนปกคลุมด้วยเกล็ดสีเทา

เหลือบฟ้าอ่อนๆ สีขาวตามแนวเส้นปีก โคนปีก

สีเหลือง ปีกคู่ล่างสีขาว ขอบปีกประดับด้วยจุดแต้ม

สีด�ำเรียงตามแนวขอบปีก แต้มสีด�ำด้านบน

แต้มสีเหลืองอ่อนกลางปีกข้างละ 1 แต้ม อก และ

ท้องสีเหลืองก�ำมะถัน สีขาวอยู่กลางระหว่างอกกับ

ท้อง ด้านท้องเนื้อปีกสีขาว ขอบปีกคู่บนสีเทา

กลางปีกมีแถบสีด�ำเหลือบน�้ำเงินเข้ม ขอบปีกคู่ล่าง

ประดับด้วยจุดสีเทาเรียงตามแนวขอบปีกด้านล่าง

อก และท้องสีขาวมีจุดแต้มสีด�ำ

Neochera dominia Cramer

Owlet Moths

แหล่งที่พบ

ด้านหน้า

ด้านท้อง

ปีกกว้าง 70 มม.

P:297

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

293

วงศ์ผีเสื้อปีกปม (prominents) เป็นผีเสื้อขนาดกลาง

ถึงขนาดใหญ่ ล�ำตัวอ้วน ป้อม ปกคลุมด้วยขนและเกล็ด ปีกไม่กว้าง

มากแต่แข็งแรง มุมด้านปีกล่างยื่นไม่ถึงปลายของส่วนท้อง บางชนิด

ด้านล่างตรงกลางปีกมุมแหลมยื่นออกมา จึงได้ชื่อว่า prominents

แมลงเหล่านี้ออกหากินในเวลากลางคืน และมักจะชอบเล่น

แสงไฟ ตัวหนอนกินใบพืชชนิดต่างๆ ซึ่งไม่ค่อยมีความส�ำคัญทาง

เศรษฐกิจเท่าไรนัก มี2-3 ชนิด ที่เป็นศัตรูของผลไม้ที่ปลูก เช่น

ชนิดที่กัดดอกเงาะ มะม่วง ล�ำไย เป็นต้น

Family Notodontidae

P:298

INSECT

294 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ด้านหน้าปีกคู่บนสีน�้ำตาลเข้มอมส้ม

ประดับด้วยแต้มสามเหลี่ยมสีเงินข้างละ 2 แต้ม

ปีกคู่ล่างสีครีมเหลือบสีเงิน ล�ำตัวเรียวยาวปลาย

ท้องมีเกล็ดยาวเป็นพู่สีน�้ำตาลอ่อน ด้านท้องปีก

คู่บนสีเหลืองอมน�้ำตาล ปีกคู่ล่างมีจุดสีด�ำกลางปีก

ล�ำตัวเรียวยาวปลายท้องมีเกล็ดยาวเป็นพู่สีน�้ำตาล

อ่อน กลางล�ำตัวมีพู่ขนสีส้มแดง เป็นผีเสื้อกลางคืน

ที่มีนิสัยชอบดูดกินน�้ำตาจากสัตว์ป่า เช่นกินน�้ำตา

จากช้าง

Tarsolepis elephantorum Banziger แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 59 มม.

ผีเสื้อหนอนมังกรล�ำไย Longan Dragon-tailed Caterpillar

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:299

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

295

วงศ์ผีเสื้อหนอนเจาะล�ำต้น ผีเสื้อหนอนกอ (snout moths)

เป็นวงศ์ที่ใหญ่เป็นที่สามของอันดับผีเสื้อ ล�ำตัวค่อนข้างบอบบาง

หัวเห็นได้ชัด มักมีตาเดี่ยว ปีกหน้ายาวเป็นรูปค่อนไปทางสามเหลี่ยม

แมลงในวงศ์นี้มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจอย่างสูง มีหลาย

ชนิดที่ตัวหนอนเจาะเข้าไปอาศัยอยู่ในล�ำต้นธัญพืชต่างๆ เช่น ข้าว

ข้าวโพด ข้าวฟ่าง เป็นต้น

Family Pyralidae

P:300

INSECT

296 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Arthroschista hilaralis (Walker)

ล�ำตัว และปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีเขียวใบไม้

ขอบปีกสีน�้ำตาลอมเหลือง ปลายท้องปล้องสุดท้าย

ประดับด้วยเกล็ดขนยาวสีด�ำเป็นกระจุก หนวดแบบ

เส้นด้าย (filiform) ขาแบบเดิน (walking legs) ปาก

แบบดูดกิน (siphoning) ปีกแบบบางใสจะมีเกล็ด

(scale) ปกคลุมเนื้อปีกที่บางใส (membrane) และ

เกล็ดนี้จะมีสีสันต่างๆ กัน ตารวมมี2 ตา

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 35 มม.

ผีเสื้อกลางคืน Snout Moths

ด้านหน้า

P:301

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

297

Family Zygaenidae

วงศ์ผีเสื้อหนอนมะไฟ (Zygaenidae) ผีเสื้อกลางคืนที่ออกหา

กินในเวลากลางวัน สีสดใส บอกความเป็นพิษในตัว จึงมีผีเสื้อชนิดอื่นๆ

มาเลียนแบบ ในประเทศไทยพบว่า เป็นศัตรูของไม้ผล กินใบมะไฟเป็น

อาหาร

P:302

INSECT

298 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Cyclolosia papilionaris Drury

ผีเสื้อหนอนมะไฟลายเลียน Drury’s Jewel

ปีกคู่บนปกคลุมด้วยเกล็ดสีครีมอมเหลือง

วาวประดับด้วยแถบสีน�้ำตาลตลอดแนวเส้นปีก

ขอบปีกสีด�ำเหลือบน�้ำตาล ปีกคู่ล่างสีครีมอมเหลือง

ขอบปีกสีน�้ำตาลอมด�ำ หัวและอกสีด�ำเหลือบฟ้า

ท้องแถบสีด�ำสลับครีมอมเหลือง หนวดแบบฟันหวี

(pectinate)

แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 65 มม.

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:303

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

299

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผีเสื้อรมควัน

ล�ำตัวและปีกปกคลุมด้วยเกล็ดสีด�ำ

สนิท ปีกคู่ล่างประดับด้วยแต้มสีขาวขนาด

ใหญ่บริเวณกลางปีกข้างละ 1 แต้ม หัวและอก

ประดับด้วยแถบสีแดง ด้านล่างของปีกบริเวณ

ใกล้ล�ำตัวประดับด้วยแถบสีแดง ด้านล่างของ

อกและท้องประดับด้วยแถบสีแดงสลับด�ำ

หนวดแบบฟันหวี(pectinate)

Smoky Moth

Gynautocera papilionaria Guerin แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 88 มม.

ด้านหน้า

ด้านท้อง

P:304

INSECT

300 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ด้วง (Beetles,Weevils) เป็นแมลงปีกแข็งลักษณะหนวด

มีหลายแบบด้วยกัน เช่น หนวดแบบลูกตุ้ม (capitate) หนวดแบบ

หักข้อศอก (geniculate) ขาแบบเดิน (walking leg) ปากแบบ

กัดกิน (chewing type) ปีกคู่หน้าเป็นแบบแข็งทั้งปีก (elytra)

ปีกคู่หลังบางใส(membrane)ด้วงมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบ

สมบูรณ์(complete metamorphosis) คือมีระยะไข่ตัวหนอน

ดักแด้และตัวเต็มวัย

Order Coleoptera

P:305

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

301

Family Buprestidae

วงศ์Buprestidae ได้แก่ แมลงทับ ด้วงเจาะไม้(buprestids, metallic wood borers) มีลักษณะคล้ายกับด้วงดีดมาก คือ

ล�ำตัวยาวและแคบทางด้านท้าย แต่มักจะแวววาว มีสีสดใสมากกว่า

ด้วงดีด โดยจะเป็นสีเขียว ทองแดง น�้ำเงิน และสีอื่นๆ ล�ำตัว

แข็งมาก หนวดเป็นแบบฟันเลื่อย ลักษณะที่ต่างจากด้วงดีดก็คือส่วน

อกปล้องแรกกับปล้องที่สองรวมกันเป็นปล้องเดียว ทางด้านบริเวณ

ท้องของแมลง (ventral) และแมลงเหล่านี้ไม่มีอวัยวะใช้ดีดขอบด้าน

ท้ายของ pronotumไม่เป็นมุมแหลม ส�ำหรับตัวหนอนนั้นต่างจากด้วง

ปีกแข็งอื่นๆ ที่มีอกปล้องแรก (prothorax) ขยายใหญ่มาก และใหญ่

กว่าปล้องอื่นๆล�ำตัวเรียวเล็ก หัวเล็กมากและหดเข้าไปอยู่ในส่วนอก

หนวดสั้นมาก

แมลงในวงศ์นี้มีมากในเขตร้อน ตัวเต็มวัยมักพบได้ตามดอกไม้

และเปลือกไม้ต่างๆ บางชนิดเมื่อถูกรบกวนจะท�ำเป็นแกล้งตายหล่น

จากกิ่งไม้ตัวหนอนส่วนใหญ่ท�ำลายต้นไม้และป่าไม้โดยการกัดกิน

เข้าไปในเปลือกและเนื้อไม้ท�ำให้เกิดเป็นรู บางชนิดกัดกินเข้าไปใน

รากท�ำให้ต้นไม้และไม้ผลตายได้จัดว่ามีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ

ด้านป่าไม้มาก มี2-3ชนิดเจาะกินเข้าไปในไม้ล้มลุก บางชนิดจะชอน

ผิวใบหรือท�ำให้เกิดปม

P:306

INSECT

302 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

แมลงทับขาแดง Jewel Beetle

Sternocera ruficornis E. Saunders ล�ำตัวยาว 44 มม.

ล�ำตัวอ้วนป้อม สีเขียวเป็นมันเหลือบทองหรือทองแดง ส่วนของอกปล้องแรก

มีจุดหลุมขนาดใหญ่กระจายทั่วไป บริเวณฐานของปีกประดับด้วยจุดสีเหลืองข้างละ

1 จุด ปีกประดับด้วยจุดหลุมประปราย ปลายปีกมีหนามแหลม ขาสีน�้ำตาลแดง

หนวดแบบฟันเลื่อย (serrate)

แหล่งที่พบ

P:307

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

303

Family Cerambycidae

วงศ์ Cerambycidae ได้แก่ ด้วงหนวดยาว (long-horned

beetles, cerambycids) เป็นวงศ์ใหญ ่วงศ์หนึ่งของด้วงปีกแข็ง

มีขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีสีสันต่างๆ สวยงาม ล�ำตัวยาว รูปร่าง

ค่อนไปทางทรงกระบอก หนวดยาวมากและมักจะยาวกว ่าล�ำตัว

ขายาว มีtarsi 5 ปล้อง แต่มักจะเห็น 4 ปล้อง เพราะปล้องที่3 ใหญ่

เป็นง่ามและหุ้มปล้องที่ 4 ซึ่งมีขนาดเล็กมาก ที่ tibia (กระดูกหน้า

แข้ง) มีหนาม (spur)2ซี่ตัวหนอนมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกยาว

หัวกลม บางครั้งจึงนิยมเรียกกันว่า หนอนเจาะไม้หัวกลม (roundheaded borers)

แมลงในวงศ์นี้มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจด้านป ่าไม้มาก

มีแพร่หลายทั่วโลกตัวหนอนเจาะท�ำลายไม้ต่างๆโดยเข้าไปกินอยู่ใน

เยื่อcambiumหรือเนื้อไม้ใหญ่ท�ำให้ต้นตายในประเทศไทยที่ส�ำคัญๆ

คือ พวกที่เจาะมะม่วงส้ม ขนุน นุ่น ไม้สักก่อให้เกิดความเสียหายมาก

P:308

INSECT

304 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ล�ำตัวยาว 18 มม.

ด้วงหนวดยาวจุดสยาม Longhorn Beetles

ล�ำตัวและขามีสีน�้ำตาลเข้ม หนวดมีสีน�้ำตาลอ่อน ปลายปล้องหนวดแต่ละ

ปล้องมีสีด�ำ ปีกประดับด้วยแต้มสีเหลืองขอบด�ำจ�ำนวน 8 จุด scutellum สีเหลือง

ด้านหลังของอกปล้องแรกประดับด้วยแต้มสีขาว 4 แต้ม ด้านหลังของตารวมประดับ

ด้วยแต้มสีเหลือง 2 แต้ม ท้องด้านใต้สีขาว

* scutellum คือ แผ่นแข็งทรงสามเหลี่ยมที่อยู่ระหว่างฐานปีกของแมลง

Olenecamptus siamensis Breuning แหล่งที่พบ

P:309

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

305

Family Cicindelidae

วงศ์ Cicindelidae ได้แก่ด้วงเสือ (tiger beetles) เป็น

แมลงที่คล่องแคล่วว่องไว วิ่งและบินได้เร็ว ตาโตโปน เห็นได้ชัดเจน

ความกว้างของส่วนหัวซึ่งรวมทั้งตารวมนั้นกว้างกว่าอกปล้องแรก

กรามใหญ่และเรียวแหลมยื่นออกมา ขายาว ล�ำตัวมักมีสีสดแตกต่างกัน

มากมาย และมักมีรอยแต้มเป็นจุดหรือแถบ เป็นสีตัดกับสีพื้นของล�ำตัว

ปีกคู่หน้ามักไม่มีร่องหลุมเรียงกัน

แมลงในวงศ์เหล่านี้ทุกชนิดอาศัยอยู่บนบก และพบได้ทั่วไป

ตามแหล่งที่เป็นทราย ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเป็นตัวห�้ำ จับแมลงและ

สัตว์เล็กอื่นๆ กินเป็นอาหาร ด้วงเสือเป็นแมลงที่ดุร้าย กินจุ และ

กินไม่เลือก

P:310

INSECT

306 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ด้วงเสือ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ล�ำตัวทรงกระบอกยาว สีน�้ำเงินเหลือบเขียว ขายาว ปีกประดับด้วยแถบสีเหลือง

ยาวจากฐานปีกถึง 2/3 ของปีก ข้างละ 1 แถบ ปลายปีกประดับด้วยจุดสีเหลือง ข้างละ

1 จุด กรามเรียวยาว ด้านล่างของล�ำตัวปกคลุมไปด้วยขนสีเทา อกกว้างกว่ายาว

Calochroa bramani (Dokhtouroff) แหล่งที่พบ ล�ำตัวยาว 15 มม.

Tiger Beetles

P:311

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

307

Family Lucanidae

ด้วงในวงศ์นี้มีลักษณะเด่นคือ ในตัวผู้จะมีขากรรไกรล่างที่มี

ขนาดใหญ่และกางเข้าออกได้เหมือนคีมหรือกรรไกรอันเป็นที่มาของ

ชื่อเรียก ซึ่งใช้ส�ำหรับเป็นอาวุธในการต่อสู้กันและแย่งตัวเมีย ด้วงพบ

ได้ทั่วโลก ปกติเป็นแมลงที่ไม่ก้าวร้าวต่อมนุษย์ในประเทศไทยสามารถ

พบได้หลายชนิด อาทิด้วงคีมยีราฟ (Prosopocoilus giraffa)

ซึ่งเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่พอๆ กับนิ้วมือมนุษย์

P:312

INSECT

308 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ด้วงคีมยีราฟ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ล�ำตัวด�ำเป็นมัน ประดับด้วยจุดหลุมละเอียด ตัวผู้จะมีกรามยาวมากใช้ใน

การต่อสู้กับตัวผู้ตัวอื่นๆ ในการครอบครองตัวเมียและที่อยู่อาศัย

*เป็นแมลงคุ้มครองที่หายากใกล้สูญพันธุ์ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

Prosopocoilus giraffa (Olivier) แหล่งที่พบ ล�ำตัวยาว 95 มม.

Giraffe Stag Beetle

P:313

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

309

Family Scarabaeidae

ด้วงกว่างมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากแมลงปีกแข็งจ�ำพวก

อื่นๆอย่างเห็นได้ชัดคือตัวผู้มีขนาดที่ใหญ่แลดูบึกบึน มีปีกที่พัฒนา

เป็นเปลือกแข็ง 1 คู่ หุ้มล�ำตัวด้านบนที่นูนอยู่เหมือนสวมชุดเกราะ

มีสีด�ำคล�้ำหรือน�้ำตาลเข้มที่เงางาม ขณะที่บางชนิดอาจมีสีอ่อนกว่า

หรือแม้กระทั่งสีทองก็มีมีจุดเด่นที่เห็นได้ชัด คือ มีอวัยวะบริเวณ

ส่วนหัวที่งอกยาวออกมาคล้ายเขาจ�ำนวนอย่างน้อย 1 คู่ อยู่ด้านบน

และด้านล่างของส่วนหัวซึ่งจะมีจ�ำนวนและลักษณะสั้น-ยาวแตกต่าง

กันออกไปตามสกุลและชนิดซึ่งพบมากที่สุดได้ถึง5เขาขณะที่ตัวเมีย

จะมีขนาดเล็กกว่าและไม่มีเขา หรือมีแต่สั้นกว่ามาก มีผิวล�ำตัวที่

ขรุขระหยาบและมีขีดร่อง ที่ส่วนปีกแข็งมาก ตามล�ำตัวในบางชนิด

มีขนอ่อนคล้ายก�ำมะหยี่สีเหลืองหรือสีน�้ำตาลปกคลุมอยู่บริเวณใต้ท้อง

ทั้งตัวผู้และตัวเมียขาคู่หน้ามีช่องที่อยู่ในแนวขวางสามารถบิดขยับได้

มีหนวดเป็นรูปใบไม้

P:314

INSECT

310 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ด้วงแรดป่า

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

เพศผู้ขนาดล�ำตัวยาว 51 มิลลิเมตร

ล�ำตัวสีด�ำเป็นเงาส่วนของปีกประดับด้วยจุดหลุมเรียง

เป็นแถบตลอดทั้งปีก ด้านบนของอกปล้องแรกยื่นยาว

ออกไปเป็นโหนกสันคล้ายเขาขนาดใหญ่1 อัน

สันกะโหลกงอกยื่นเป็นเขายาว 1 เขา ซึ่งเป็นเอกลักษณ์

ของเพศผู้เพศเมียขนาดล�ำตัวยาว 49 มิลลิเมตร ล�ำตัว

สีด�ำเป็นเงา ส่วนของปีกประดับด้วยจุดหลุมเรียงเป็น

แถบตลอดทั้งปีก ด้านบนของอกปล้องแรกลักษณะครึ่ง

วงกลม ส�ำหรับตัวเมียไม่มีเขา

แหล่งที่พบ

Rhino Beetle

Trichogomphus martabani (Guérin-Méneville)

เพศผู้

เพศเมีย

ล�ำตัวยาว 51-49 มม.

P:315

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

311

Family Staphylinidae

เป็นด้วงขนาดเล็กประมาณ 7 มิลลิเมตร มีความสามารถในการ

เคลื่อนไหวได้รวดเร็วจัดอยู่ในอันดับ Coleopteraวงศ์Staphylinidae

พบกระจายทั่วโลก กว่า 20 ชนิด ส�ำหรับชนิดที่พบได้ในประเทศไทย

คือ ด้วงก้นกระดก ด้วงชนิดนี้อาศัยบริเวณพงหญ้าที่มีความชื้น

ชอบออกมาเล่นไฟ จะมีมากโดยเฉพาะในฤดูฝน ด้วงวงศ์นี้มีประโยชน์

ในการควบคุมการระบาดของแมลงศัตรูพืชโดยจะช่วยก�ำจัดไข่หนอน

ผีเสื้อ ท�ำลายไข่และหนอนของแมลงวัน

P:316

INSECT

312 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

โคนหนวดสีน�้ำตาลแดง ส ่วนปลายสีน�้ำตาลด�ำ มีขนตามปล้องหนวด

หัวแบนสีด�ำ อกส่วนหน้าแบนยาวสีน�้ำตาลไหม้ปีกสีด�ำและมีขนสั้นๆ ขาทั้งสาม

คู่สีน�้ำตาลแดง ส่วนท้องมี6 ปล้อง 4 ปล้องแรกมีสีน�้ำตาล ส่วนที่เหลือมีสีด�ำ

หนวดแบบเส้นด้าย (filiform)

ด้วงชนิดนี้สามารถปล ่อยสารที่เรียกว ่า เพเดริน (Pederin) ออกมา

สารชนิดนี้มีความเป็นพิษท�ำลายเนื้อเยื่อ ผู้ที่สัมผัสล�ำตัวด้วงชนิดนี้จะมีอาการปวด

แสบปวดร้อน คัน ในรายที่เป็นมากอาจมีไข้ปวดศีรษะ หากเข้าตาอาจท�ำให้ตาบอด

ได้แผลจะมีลักษณะเป็นทางยาวอาจจะพบเป็นตุ่มใส(vesicle)อาการเหล่านี้จะหาย

เองได้ภายใน 7-10 วัน ควรท�ำความสะอาดแผลและปิดปากแผลเพื่อป้องกันการติด

เชื้อ อาจใช้ยาสมานแผลพวกยาแก้แพ้ได้เบื้องต้นหลังจากทราบว่าสัมผัสด้วงชนิดนี้

ควรล้างด้วยน�้ำสะอาดทันทีหากอาการไม่ดีขึ้นให้พบแพทย์

ล�ำตัวยาว 9 มม.

ด้วงก้นกระดก

Paederus fuscipes Curtis

Rove Beetle

แหล่งที่พบ

P:317

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

313

ได้แก่ มวน ซึ่งประกอบด้วยแมลงขนาดต ่างๆ กัน ทั้งเล็ก

และใหญ่ ส่วนใหญ่มีปีก 2 คู่ ปีกคู่หน้ามีลักษณะยาวแคบและไม่มี

เส้นปีกเหมือนแมลงอันดับอื่นๆ แต่จะมีลักษณะแข็งบริเวณส่วนโคน

เรียก corium และส่วนปลายปีกมีลักษณะเป็นแผ่นบางอ่อน เรียกว่า

membrane มีปากแบบเจาะดูดและมักจะพับเก็บไว้ทางด้านล่างของ

ล�ำตัว หนวดยาว4-5 ปล้องตารวมเห็นได้ชัดตาเดี่ยวอาจจะมีหรือไม่มี

ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบง่าย(Paurometabolous)คือแมลง

ที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเล็กน้อยในระหว่างการเจริญเติบโตมี3 ขั้น

ตอนคือไข่ตัวอ่อน ตัวเต็มวัยโดยที่ระยะตัวอ่อนเรียกว่า นิ้ม (Nymph)

ซึ่งมีลักษณะรูปร่างความเป็นอยู่ตลอดจนการกินอาหารเหมือนตัวเต็ม

วัย ยกเว้นลักษณะเล็กๆ น้อยๆ บางอย่างซึ่งจะค่อยๆ พัฒนาในที่สุด

Order Hemiptera

P:318

INSECT

314 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Family Kerridae

คือแมลงจ�ำพวกเพลี้ย ถือว ่าเป็นแมลงศัตรูพืชตามธรรมชาติ

ที่จะใช้งวงปากเจาะเพื่อดูดน�้ำเลี้ยงของต้นไม้ประเภทไม้เนื้อแข็ง แต่ว่า

กลับเป็นแมลงที่มีประโยชน์ต่อมนุษย์เป็นอย่างมากนับจากอดีตจนถึง

ปัจจุบัน มนุษย์ได้น�ำมาใช้เป็นสมุนไพรเป็นยารักษาโรคโลหิตจาง โรคลม

ขัดข้อเป็นต้น นอกจากนี้ยังน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมการท�ำเชลแล็กแลก

เกอร์เครื่องใช้เครื่องประดับต่างๆย้อมสีผ้าสีโลหะ หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ

ตลอดจนใช้ประทับในการไปรษณีย์ขนส่งหรือตราประทับเอกสารทางราช

การใดๆ ปัจจุบันครั่งเป็นสินค้าส่งออกที่ส�ำคัญของหลายๆ ประเทศอาทิ

อินเดีย ไทย ซึ่งมีการเลี้ยงในเชิงเกษตร มีราคาขายที่แพงมาก

ครั่งตัวเมียมีรูปร่างเป็นถุงไม่มีขา รังมีลักษณะกลม ส่วนตัวผู้จะมี

ทั้งมีปีกและไม่มีปีกรังมีลักษณะยาวตัวผู้จะคลานจากรังมาผสมพันธุ์กับ

ตัวเมียเมื่อได้รับการผสมพันธุ์จะวางไข่ภายในรัง

P:319

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

315

ครั่ง (ตัวผู้)

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ครั่งตัวผู้ปีกสีด�ำ โคนปีกสีแดงเลือดหมูล�ำตัวสีด�ำ มีขนาด

ปานกลางถึงขนาดเล็ก หนวดแบบขน (setaceous) หนวดเล็กมาก

มองดูคล้ายขน ขนาดของปล้องค่อยๆ เรียวเล็กลงไปทางปลายหนวด

ปากแบบเจาะดูด (Piercing-sucking type) ท�ำหน้าที่ในการเจาะดูด

อาหารที่เป็นของเหลว ครั่งตัวผู้มี2 ชนิด คือตัวผู้ที่มีปีกสามารถบินไป

ผสมกับครั่งบนกิ่งต้นไม้ต้นอื่นได้กับตัวผู้ที่ไม่มีปีกจะคลานไปผสมกับ

ครั่งตัวเมียที่เกาะกิ่งต้นเดียวกัน

ครั่งจะขับสารชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นเหมือนยางหรือ

ชันออกมาไว้ป้องกันตัวเองจากศัตรูแมลงครั่งจะดูดกินน�้ำเลี้ยงจาก

พืชอาหารแล้วปล่อยยางหรือชัน (resin) ออกมาห่อหุ้มตัวเองไว้จนมิด

ซึ่งสารที่ขับถ่ายออกมานี้เรียกว่า “ครั่งดิบ” ตามชื่อเรียก สารนี้มี

สีแดงม่วง ลักษณะคล้ายขี้ผึ้งสีเหลืองเข้ม หรือยางสีส้ม ซึ่งมนุษย์ได้

น�ำมาใช้ประโยชน์

Laccifer lacca (Kerr) แหล่งที่พบ ปีกกว้าง 10 มม.

Lac

ครั่งดิบ

P:320

INSECT

316 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Order Hymenoptera

ได้แก่ พวกผึ้ง ต่อ แตน มด อันดับนี้ประกอบด้วยกลุ่มแมลง

ซึ่งมักจะมีปีก 2 คู ่ เนื้อปีกเป็นแผ ่นบาง เส้นปีกมีการรวมตัวหรือ

เสื่อมหายไปท�ำให้มีลักษณะเส้นปีกแตกต่างกัน บางชนิดมีมากและ

บางชนิดแทบไม่มีเส้นปีกเลย ปีกคู่หลังมีขนาดเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากใช้

กัดกิน และปากดูด การก�ำหนดเพศในอันดับ Hymenoptera ขึ้นกับ

การปฏิสนธิของไข่ (fertilization) ไข่ที่มีการปฏิสนธิแล้วจะเจริญไปเป็น

เพศเมีย และไข่ที่ไม่มีการปฏิสนธิจะเจริญไปเป็นเพศผู้

P:321

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

317

Family Apidae

ผึ้งจัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยส่วนใหญ่จะ

ออกหาอาหารเป็นน�้ำหวานจากเกสรของดอกไม้ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพืช

ในการผสมพันธุ์ผึ้งท�ำงานกันเป็นระบบ มีผึ้งนางพญาเป็นหัวหน้าใหญ่

ลักษณะทั่วไปของผึ้ง แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ประกอบด้วย

อวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ที่ส�ำคัญ คือ ตารวม มีอยู่ 2 ตา ประกอบด้วย

ดวงตาเล็กๆ ท�ำให้ผึ้งสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆได้รอบทิศตาเดี่ยวอยู่ด้าน

บนส่วนหัวระหว่างตารวมสองข้าง เป็นจุดเล็กๆ3จุดซึ่งตาเดี่ยวนี้จะเป็น

ส่วนที่รับรู้ในเรื่องของความเข้มของแสง ท�ำให้ผึ้งสามารถแยกสีต่างๆของ

สิ่งที่มองที่เห็นได้ส่วนอก ประกอบด้วยปล้อง 4 ปล้อง ส่วนด้านล่างของ

อกปล้องแรกมีขาคู่หน้า ส่วนล่างอกปล้องที่ 3 มีขาคู่ที่สามซึ่งขาหลังของ

ผึ้งงานนี้จะมีตระกร้อเก็บละอองเกสรดอกไม้และด้านบนจะมีปีกคู่หลังอยู่

หนึ่งคู่ที่เล็กกว่าปีกคู่หน้าส่วนท้องผึ้งงานและผึ้งนางพญาจะเห็นภายนอก

เพียง6 ปล้องส่วนปล้องที่8-10จะหุบเข้าไปแทรกตัวรวมกันอยู่ในปล้อง

ที่ 7 ส่วนผึ้งตัวผู้จะเห็น 7 ปล้อง

P:322

INSECT

318 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ผึ้งหลวง

แหล่งที่พบ

หัว ขา อก และปลายท้อง มีสีด�ำ บางส่วนของท้องและอกสีน�้ำตาล

หนวดแบบหักข้อศอก (geniculate) ลักษณะขา ขาคู่ที่ 1 และ 2 ขาเดิน

(walking leg) ขาคู่ที่ 3 ขาเก็บเกสร (carrying legs) ปากแบบกัดเลีย

(chewing lapping)

ประชากรส่วนใหญ่จะอยู่ปกคลุมรังเพื่อท�ำหน้าที่ป้องกันรัง รวงผึ้งมีขนาด

ใหญ่ มีประชากรประมาณ 10,000-80,000 ตัวต่อรัง เป็นรวงชั้นเดียว หรือรวงเดียว

บางครั้งอาจมีความกว้างถึง 2 เมตร ลักษณะรวงทั่วไปจะโค้งรีเป็นรูปครึ่งวงกลม

ติดอยู่ใต้กิ่งไม้บางครั้งในที่เดียวกันอาจพบเห็นมีผึ้งเกาะรวมกันมากกว่า 50 รัง

ผึ้งหลวงจะดุร้ายเมื่อถูกรบกวนหรือท�ำลายและจะรุมต่อยศัตรูของมัน

นับเป็นสิบถึงร้อยตัว เนื่องจากผึ้งหลวงเป็นผึ้งตัวใหญ่จึงมีพิษมากในเหล็กใน จึงท�ำให้

ศัตรูของมันได้รับบาดเจ็บสาหัสได้

ล�ำตัวยาว 31 มม.

The Giant Honey Bee

Apis dorsata Fabricius

P:323

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

319

Family Formicidae

มดเป็นแมลงในวงศ์ Formicidae อันดับ Hymenoptera

มีจ�ำนวนชนิดมากกว่า 12,000 ชนิด โดยพบมากในเขตร้อนของโลก

มดมีการสร้างรังเป็นอาณาจักรขนาดใหญ่ บางรังมีจ�ำนวนประชากร

มากถึงล้านตัว มีการแบ ่งวรรณะกันท�ำหน้าที่คือ วรรณะมดงาน

เป็นมดเพศเมีย เป็นหมัน ท�ำหน้าที่หาอาหาร สร้างและซ่อมแซมรัง

ปกป้องรังจากศัตรูดูแลตัวอ่อน และงานอื่นๆ ทั่วไป เป็นวรรณะที่พบ

ได้มากที่สุด วรรณะสืบพันธุ์เป็นมดเพศผู้และราชินีเพศเมีย มีหน้าที่

สืบพันธุ์เนื่องจากมดเป็นแมลงในวงศ์Formicidaeจึงสามารถผลิตกรด

มดหรือกรดฟอร์มิกได้เป็นลักษณะเฉพาะของแมลงในวงศ์นี้

P:324

INSECT

320 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เสี้ยนดิน

แหล่งที่พบ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Dorylus orientalis Westwood

Oriental Army Ant

ล�ำตัวสีส้มอมน�้ำตาล รูปร่างยาวทรงกระบอก หัวมีขนาดใหญ่กรามมีขนาด

ใหญ่ หนวดแบบหักข้อศอก (geniculate) ขาเดิน (walking leg) ปากแบบกัดกิน

(chewing type) ตารวมมี2 ตา

ขนาดล�ำตัวยาว 3 มม.

P:325

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

321

แหล่งที่พบ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ล�ำตัวสีส้มแดง รูปร่างยาวเรียว เอวคอดกิ่ว หนวดแบบหักข้อศอก

(geniculate) ขาเดิน (walking leg) ปากแบบกัดกิน (chewing type)

ตารวม มี2 ตา

มดแดงมีความส�ำคัญต่อระบบนิเวศ เป็นตัวควบคุมแมลงศัตรูพืชโดย

เป็นแมลงตัวห�้ำ และตัวอ่อนกับไข่มดแดงยังน�ำไปเป็นอาหารที่ให้โปรตีนสูงแก่มนุษย์

อีกด้วย

ขนาดล�ำตัว 12 มม.

Red Ant

Oecophylla smaragdina F.

มดแดง

P:326

INSECT

322 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

แหล่งที่พบ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

ล�ำตัวสีด�ำ ปกคลุมด้วยขนละเอียด

สีน�้ำตาลอมเทา ด้านบนของอกปล้องแรก

มีหนาม 2 อัน ยื่นไปด้านหน้า ด้านบนของ

petiole มีหนาม 2 อัน ยื่นไปด้านหลังของ

ล�ำตัว หนวดแบบหักข้อศอก (geniculate)

ขาแบบเดิน (walking leg) ปากแบบกัดกิน

(chewing type) ตารวมมี2 ตา

Polyrhachis illaudata Walker ขนาดล�ำตัวยาว 13 มม.

มดหนามหีบทองแหลม Spiny Ant

*petiole คือ ลักษณะพิเศษที่พบเฉพาะในแมลงชนิดนี้ เป็นส่วนที่คอดกิ่วอยู่บริเวณตรงกลางตัวแมลง

P:327

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

323

เป็นแมลงที่มีพิษ เพศเมีย (หมายถึงนางพญา Queens และ

ต่องาน Workers) เพราะมีเหล็กในอยู่ที่ปลายท้องซึ่งเป็นอวัยวะ

ในการวางไข ่หรือใช้ต ่อยเหยื่อและป้องกันรัง มีปีกบางใสสองคู ่

ปีกคู่หลังมีขนาดเล็กกว่าปีกคู่หน้ามาก มีปากแบบแมลงโบราณซึ่งมี

เขี้ยวที่กางออกด้านข้างสองข้าง ท�ำให้ต่อสามารถสร้างรังจากดินได้

ในรูปแบบต่างๆ จัดอยู่ในวงศ์Vespidae อันดับ Hymenoptera

รังที่สร้างใหม่ๆ จะมีลักษณะทรงกลม ขนาดเล็ก เมื่อนานวันเข้า

ก็ขยายใหญ่ขึ้นจนอาจจะมีขนาดใหญ่ รังกว้าง 30-50 เซนติเมตร

หรือใหญ่กว่า ส่วนใหญ่ต่อจะสร้างรังรูปทรงกลม ในขณะที่แตน

สร้างรังได้หลายรูปแบบทั้งรูปทรงคล้ายฝักบัว เป็นแผ่นบางหรือ

เป็นเส้นยาว

Family Vespidae

P:328

INSECT

324 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ต่อกระดาษ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Polistes stigma F. แหล่งที่พบ

Paper Wasp

ล�ำตัวยาว 27 มม.

ล�ำตัวเรียวยาว สีน�้ำตาลอมแดง หนวด

ขา และท้องสีน�้ำตาลเข้มเกือบด�ำ ท้องประดับด้วย

แถบสีเหลือง ปีกบางใสประดับด้วยจุดสีด�ำปลายปีก

ข้างละ 1 จุด ด้านหลังของอกปล้องกลางประดับ

ด้วยแต้มสีด�ำ 2 แต้ม ท้องปล้องแรกประดับด้วย

แต้มสีเหลือง 2 แต้ม เอวคอดไม่มีpetiole ด้านข้าง

ของท้องปล้องที่ 2 ประดับด้วยแถบสีเหลืองขนาด

ใหญ่

P:329

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

325

Order Odonata

อันดับ Odonata(odous = tooth) ได้แก่แมลงปอ(dragonflies)

และแมลงปอเข็ม (damselflies) เป็นแมลงที่มีขนาดใหญ่ มีปากกัดกิน

หนวดสั้นเล็กแบบเส้นขน (setaceous) ตารวมใหญ่ มีปีกสองคู่บางใส

และมักมีสีสวยงามรองลงมาจากปีกผีเสื้อ ปีกคู ่หลังมีขนาดเท ่าหรือ

โตกว ่าปีกคู ่หน้า ประมาณตรงกลางของขอบปีกด้านหน้าทั้งสองปีก

มีลักษณะคล้ายรอยต่อเรียกnodusและมักมีจุดสีตรงขอบใกล้ๆ ปลายปีก

เรียกว่าstigmaขามีtarsi3 ปล้องส่วนท้องยาวและเล็กกว่าอกมาก ที่ปลาย

มีcerci สั้น มีปล้องเดียว ในตัวผู้ใช้เป็นอวัยวะยึดจับเพื่อท�ำการสืบพันธุ์

มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบไม่สมบูรณ์(Incompletemetamorphosis)

แมลงปอบินจับแมลงเล็กๆ ที่เคลี่อนไหวเป็นเหยื่อด้วยขาที่ท�ำงาน

ประสานกัน เหยื่อได้แก่ ริ้น ยุง และผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก ในพวก

แมลงปอยักษ์อาจจะกินพวกผึ้ง หรือแมลงปอที่มีขนาดเล็กกว่าได้ตัวอ่อน

อาศัยอยู่ในน�้ำ มีริมฝีปากล่าง (labium)รูปร่างคล้ายช้อนสามารถยืดออก

มาจับสัตว์กินได้อย่างรวดเร็ว เมื่อไม่ได้ใช้ก็หดมาคลุมไว้ใต้คาง พวกกลุ่ม

แมลงปอบ้าน มักจะชอบคลาน แต่พวกแมลงปอเข็มมักจะว่ายน�้ำด้วยการ

โบกล�ำตัวพร้อมทั้งใช้caudal gill ซึ่งมีลักษณะคล้ายใบไม้อยู่ส่วนปลาย

ของท้อง ท�ำหน้าที่คล้ายส่วนหางของปลา

P:330

INSECT

326 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Family Libellulidae

แมลงชนิดนี้เป็นแมลงที่ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน�้ำ ตัวเต็มวัยมีชีวิต

อยู่บนบก ปีกบินได้ มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ คือ มีระยะไข่

ตัวอ่อน และตัวเต็มวัย ไม่มีระยะดักแด้ โดยระยะไข่และตัวอ่อนมีชีวิต

อยู่ในน�้ำ ตัวอ่อนที่อยู่ในน�้ำมีรูปร่างแตกต่างจากตัวเต็มวัยมาก เมื่อ

ตัวอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะลอกคราบครั้งสุดท้าย กลายเป็น

ตัวเต็มวัยที่มีปีกและจะใช้ชีวิตบนบกได้ต่อไป

แมลงชนิดนี้ มีจุดเด่น คือ มีส่วนหัวที่กลมโต มีดวงตาขนาดใหญ่

2 ดวงอยู่ด้านข้าง ซึ่งประกอบไปด้วยดวงตาขนาดเล็กรูปร่างคล้ายรังผึ้ง

ถึง 30,000 ดวง ท�ำให้แมลงปอสามารถมองเห็นภาพได้กว้างถึง 360

องศา ถือเป็นแมลงที่มีประสาทการมองเห็นดีที่สุด

แมลงในวงศ์นี้ทุกชนิดเป็นตัวห�้ำทั้งระยะตัวอ่อนและ

ตัวเต็มวัย โดยตัวอ่อนกินแมลงในน�้ำ ตัวเต็มวัยบินโฉบกินแมลงขนาดเล็ก

P:331

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

327

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

แหล่งที่พบ

บนส่วนอกมีสีน�้ำตาลเข้มอมแดง ล�ำตัวสีแดง ตาสีน�้ำตาลเข้ม หนวดแบบ

เส้นขน (setaceous) ขาเดิน (walking leg) ปากแบบกัดกิน (chewing type)

ปีกบางใส (membrane) ตารวมมี2 ตา

แมลงปอบ้านเสือวงลาย Crimson Dropwing

Orthetrum testaceum (Burmeister) ล�ำตัวยาว 42 มม.

P:332

INSECT

328 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

แหล่งที่พบ

ล�ำตัวสีขาว ส่วนปลายของล�ำตัวมีสีด�ำอมน�้ำเงิน ปีกบางใสไม่มีสีหนวดแบบ

เส้นขน (setaceous) ขาเดิน (walking leg) ปากแบบกัดกิน (chewing type)

ปีกบางใส (membrane) ตารวมมี2 ตา

Orthetrum triangulare (Selys) ล�ำตัวยาว 42 มม.

แมลงปอบ้านเสือสามเหลี่ยม Blue-tailed Forest Hawk

P:333

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

329

Order Diptera

Order Diptera (di=two, pteron=wing) หมายถึงกลุ่มแมลง

ที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า แมลงวันหรือแมลงสองปีก (flies) ส่วนใหญ่เป็น

แมลงที่มีปีกเพียงหนึ่งคู่เท่านั้น โดยจะพบที่อกปล้องกลาง (mesorax)

มีลักษณะเป็นแผ ่นบาง ส ่วนที่อกปล้องที่สามซึ่งในแมลงโดยทั่วไป

จะพบปีกคู่ที่สองปรากฏอยู่นั้น ในแมลงอันดับนี้จะพบอวัยวะพิเศษ

มีลักษณะเป็นปุ่มยื่นออกมาแทนปีกเรียกว่าhalters มีหน้าที่รักษาสมดุล

ของแมลงขณะบิน อาจพบแมลงในอับดับอื่นที่มีสองปีกได้แต่มักจะไม่มี

halters แมลงวันบางชนิดอาจไม่มีปีกเลย ได้แก่ แมลงวันตัวเบียน

แมลงในอันดับนี้จะมีปากได้หลายแบบ เช่นปากแบบเจาะดูด(piercingsucking) เช่น ปากเหลือบ ปากแบบซับดูด(sponging)ซึ่งได้แก่ปากของ

แมลงวันทั่วๆไป และพบว่ามีแมลงวันหลายชนิดปากลดรูปจนไม่สามารถ

ท�ำงานได้อกปล้องแรกและปล้องที่สามมีขนาดเล็กติดเป็นปล้องเดียวกับ

ปล้องที่สองซึ่งมีขนาดใหญ่โดยทั่วไป มีtarsi5 ปล้อง มีการเจริญเติบโต

แบบ (holometabolous) คือ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์

อันดับ Diptera แบ่งออกได้เป็น 3 suborder โดยใช้ลักษณะ

ของหนวด เส้นปีก และเซลล์บนปีกเป็นลักษณะแยกความแตกต่าง

P:334

INSECT

330 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Family Tabanidae

แมลงดูดเลือดอันดับ Diptera วงศ์Tabanidae ที่กัดและสร้าง

ความเจ็บปวดมาก มีลักษณะคล้ายแมลงวันที่มีขนาดใหญ่ บินเสียงดัง

และยังเป็นแมลงผสมเกสรที่มีความส�ำคัญต่อดอกไม้อีกด้วยเหลือบม้า

ส่วนใหญ่ลิ้น (proboscis)สั้น ใช้กรามที่เหมือนมีดฉีกตัดเนื้อออกจากกัน

แมลงกัดที่มีลิ้นยาว ปากของมันจะเจาะผิวหนังเหมือนเข็ม ตัวเต็มวัยของ

เหลือบกินน�้ำหวานและบางครั้งกินเกสรดอกไม้

เหลือบตัวเมียต้องกินเลือดในการขยายพันธุ์ตัวเมียส่วนมาก

กินเลือดสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนม แต่บางชนิดกินเลือดนก สัตว์สะเทิน

น�้ำสะเทินบก หรือสัตว์เลื้อยคลาน เหลือบเป็นแมลงตัวห�้ำของสัตว์ไม่มี

กระดูกสันหลัง

P:335

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

331

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

เหลือบ

แหล่งที่พบ

ตาขนาดใหญ่เกือบกินพื้นที่ของส่วนหัวทั้งหมด อกประดับด้วยแถบสีน�้ำตาล

ด�ำสลับเทา ท้องสีน�้ำตาลเกือบด�ำ ประดับด้วยแถบสีน�้ำตาลอ่อน 3 แถบ หนวดแบบ

เคียว (stylate) ขาเดิน (walking leg) ปากแบบกัดซับดูด (cutting sponging type)

ปีกบางใส (membrane) ตารวม มี2 ตา

Horse-flies

Tabanus fulvilinearis Philip ขนาดล�ำตัว 25 มม.

P:336

INSECT

332 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Order Isoptera

ปลวก มีชีวิตความเป็นอยู่แบบสังคม มักอยู่กันเป็นกลุ่มใหญ่

ภายในรัง แบ่งออกเป็น 3 วรรณะ มีรูปร่างและหน้าที่ต่างกันชัดเจนคือ

วรรณะปลวกงาน ท�ำหน้าที่หาอาหารและสร้างรังวรรณะทหาร ป้องกัน

ศัตรูที่เข้ามารบกวนประชากรในรังและวรรณสืบพันธุ์ท�ำหน้าที่สืบพันธุ์

วางไข่ วงจรชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบง่าย (Paurometabolous) คือมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเล็กน้อยในระหว่างการเจริญเติบโต

มี3 ขั้นตอน คือ ไข่ ตัวอ่อน ตัวเต็มวัย โดยที่ระยะตัวอ่อนเรียกว่า

นิ้ม (Nymph) ซึ่งมีลักษณะรูปร่างความเป็นอยู่ตลอดจนการกินอาหาร

เหมือนตัวเต็มวัย ยกเว้นลักษณะเล็กๆ น้อยๆ บางอย่างซึ่งจะค่อยๆ

พัฒนาในที่สุด

P:337

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

333

ปลวก

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Termite

Havilanditermes proatripennis Ahmad แหล่งที่พบ ล�ำตัวยาว 4 มม.

ล�ำตัวสั้น ส่วนอกแคบที่สุด หัวมีขนาดใหญ่สีน�้ำตาลอมเหลือง สันกะโหลก

ยื่นยาวออกไปด้านหน้า ตรงปลายมีรูกรามมีขนาดเล็ก อกสีน�้ำตาลอมเหลือง

ท้องด้านบนมีสีน�้ำตาลเข้มเกือบด�ำ ด้านล่างมีสีน�้ำตาลอ่อนอมเหลือง มีส่วนของ

palp ยาว ขายาวสีน�้ำตาลอ่อนอมเหลือง ประโยชน์ช่วยย่อยเศษซากพืช ท�ำให้ดิน

มีความอุดมสมบูรณ์ปลวกชนิดนี้สร้างรังขนาดเล็กอยู่บนดิน กิ่งไม้ต้นไม้

ปลวก

P:338

INSECT

334 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Coptotermes gestroi Wasmann Havilanditermes proatripennis Ahmad

Odontotermes feae (Wasmann)

Globitermes sulphureus Haviland

Microcerotermes crassus Snyder

Hospitalitermes ataramensis

Prashad & Sen-Sarma

Odontotermes proformosanus Ahmad Hypotermes makhamensis Ahmad

P:339

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

INSECT

335

Order Orthoptera

Order Orthoptera(Ortho = straight: ptera = wing)ลักษณะ

ส�ำคัญของแมลงอันดับนี้คือ มีปากเป็นแบบปากกัดกิน ตารวมเจริญ

ตาเดี่ยวอาจไม่มีหรือมี2-3 ตา โดยทั่วไปมีหนวดเป็นแบบเส้นด้าย

filiform ซึ่งมีทั้งสั้นและยาวกว่าล�ำตัว ปีกคู่หน้าเป็นแบบ tegmina ส่วน

ปีกคู่หลังเป็นแบบmembraneซึ่งพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้าขามีหลายแบบด้วย

กันคือ อาจเป็นขาเดิน ขากระโดด ขาขุด และขาจับ tarsi มี3-5 ปล้อง

ส่วนอวัยวะวางไข่เจริญดีมีรูปร่างต่างกัน บางชนิดเห็นได้ชัด บางชนิดซ่อน

อยู่ใต้ปล้องท้องที่ 7 หรือ 8 cerci มีทั้งสั้นและยาว มีอวัยวะรับฟังเสียง

และท�ำเสียงต่างกันไปตามชนิดของแมลง

ถิ่นที่อยู ่อาศัย พบได้ทั่วไปทั้งบนดิน ในดิน ตามต้นไม้ หรือ

พืชเพาะปลูก เคหะสถาน และภายในถ�้ำ มีนิสัยการกินอาหารแตกต่าง

กันมีทั้งชนิดกินพืชเป็นตัวห�้ำ หรือบางชนิดกินเศษซากเน่าเปื่อยเป็นต้น

มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างน้อย (gradual metamorphosis) คือ

เมื่อฟักออกจากไข่จะมีลักษณะคล้ายพ่อแม่ มีความแตกต่างอยู่บ้างเช่น

ปีกยังไม่เจริญออกมายังคงเห็นเป็นติ่งอยู่เท่านั้น เรียกตัวอ่อนของแมลง

ประเภทนี้ว่า นิ้ม (nymph)

แมลงในอันดับนี้มีทั้งที่เป็นประโยชน์ในแง่ของการช่วยป้องกัน

ก�ำจัดศัตรูพืช เช่น ตั๊กแตนต�ำข้าว และที่เป็นโทษทางด้านเกษตรกรรม

ท�ำลายผัก เช่น ตั๊กแตนหนวดสั้นบางชนิด แมลงกระชอน จิ้งหรีด และ

ทางด้านการแพทย์โดยเป็นพาหะน�ำโรค เช่น แมลงสาบ

P:340

INSECT

336 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

P:342

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

338

เห็ดรา คือ สิ่งมีชีวิตจ�ำพวกราที่มีการเจริญเติบโตเป็น

เส้นใย เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมจะพัฒนาไปเป็นโครงสร้าง

ขนาดใหญ่ที่เราเรียกว่า “ดอกเห็ด” (Mushroom)

เพื่อใช้ในการสร้างสปอร์ส�ำหรับขยายพันธุ์ ส�ำหรับราที่ไม่มี

โครงสร้างขนาดใหญ่และสร้างสปอร์บนเส้นใย เราเรียกว่า

“เชื้อรา” (Fungi) เห็ดราจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ใน

อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)

เห็ดรา

ไม่สามารถสร้างอาหาร

เองได้ จึงต้องการอาหาร

จากแหล่งต่างๆ ได้แก่ พืช

และสัตว์ ทั้งที่มีชีวิตและ

ไม่มีชีวิต รวมทั้งอินทรีย์

วัตถุ นอกจากนี้ยังต้องการ

ความชื้นและแสงเพื่อใช้ใน

การเจริญเติบโตอีกด้วย

P:343

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

339

เห็ดแอสโคไมซิติส (Ascomycetes)

สปอร์เกิดภายใน

โครงสร้างที่มีรูปร่างคล้ายถุง

(Ascus) เรียกว่า แอสโคสปอร์

(Ascospore) ซึ่งมีสปอร์จ�ำนวน

8 สปอร์อยู่ภายในถุง เช่น

เห็ดหูหนูเห็ดเผาะ เห็ดถ้วย

และเห็ดดันหมีม่วงด�ำ เป็นต้น

เห็ดสามารถจ�ำแนกตามลักษณะต่างๆ ได้หลายแบบ เช่น

Ascus

Ascospore

สปอร์เกิดอยู่ภายนอก

โครงสร้างที่มีรูปร่างคล้าย

กระบอง (Basidium) เรียกว่า

เบสิดิโอสปอร์(Basidiospore)

ซึ่งมีสปอร์จ�ำนวน 4 สปอร์อยู่

ติดกับก้าน สปอร์บนเบซิเดียม

เช่น เห็ดโคน เห็ดหอม

เห็ดนางฟ้า และเห็ดตับเต่า

เป็นต้น

Basidiospore

Basidium

เห็ดเบสิดิโอไมซิติส (Basidiomycetes)

1. จ�ำแนกกลุ่มเห็ดโดยใช้ลักษณะการเกิดสปอร์

แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ

P:344

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

340

2. จ�ำแนกตามลักษณะการน�ำมาใช้ประโยชน์

แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

เห็ดกินได้เห็ดที่มีรสชาติ

อร่อย มีคุณค่าทางอาหาร มีคนน�ำมา

กินเป็นอาหารและยารักษาโรค เช่น

เห็ดระโงก เห็ดโคน เห็ดขมิ้นใหญ่

เห็ดขิง เห็ดน�้ำหมาก เห็ดหลินจือ

และเห็ดถั่งเช่า เป็นต้น

เห็ดกินไม่ได้

เห็ดที่ไม่มีคนน�ำมารับประทานเป็น

อาหาร และยังไม่มีรายงานว่ามีพิษ

เช่น เห็ดร่ม เห็ดกรวยทองตะกู เห็ด

ก้อนฝุ่นเหลืองทอง และเห็ดกรวย

จีบ เป็นต้น

เห็ดพิษ เห็ดที่มีพิษต่อ

ระบบทางเดินอาหาร ระบบหายใจ

และระบบประสาท เมื่อกินเข้าไป

ท�ำให้ตายได้ เช่น เห็ดยวงขนุน

และเห็ดระโงกหิน เป็นต้น

เห็ดระโงกหิน

เห็ดกรวยทองตะกู

เห็ดระโงกเหลือง

P:345

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

341

3. จ�ำแนกตามลักษณะความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่น

แหล่งอาหาร และที่อยู่อาศัย แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ

เห็ดซาโปรไฟต์ (Saprophyte)

เห็ดที่ย่อยสลายซากพืช

ซากสัตว์ที่ตายแล้วและอินทรีย์วัตถุ

เป็นอาหาร เช่น เห็ดน�้ำหมึก

เห็ดขอนขาว เห็ดปะการัง เห็ดแครง

และเห็ดลม เป็นต้น

นอกจากเห็ดจะมีความส�ำคัญในการเป็ น

แหล่งอาหารให้แก่มนุษย์แล้ว เห็ดยังมีความส�ำคัญต่อ

ระบบนิเวศ โดยท�ำหน้าที่ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุท�ำให้

เกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหาร (nutrient cycle) ที่

เอื ้อประโยชน์แก่ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ในระบบนิเวศ

ให้สามารถด�ำรงชีวิตได้

เห็ดพาราไซต์ (Parasite)

เห็ดที่ท�ำให้เกิดโรคโดยเข้า

ท�ำลายพืชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่ให้ตาย

เช่น เห็ดถั่งเช่าเข้าท�ำลายหนอน

แมลง เป็นต้น

เห็ดซิมไบโอซิส (Symbiosis)

เห็ดที่อยู่ร่วมกับสิ่งมีชีวิต

อื่นแบบพึ่งพาอาศัยกัน เช่น

เห็ดโคนที่ต้องอยู่ร่วมกับปลวกโดย

เส้นใยของเห็ดโคนจะเป็นอาหารของ

ปลวก ส่วนปลวกสร้างอาหารเลี้ยง

เห็ดโคน

เห็ดไมคอร์ไรซา (Mycorrhiza)

เห็ดที่อาศัยอยู่กับรากฝอยของ

ไม้ต้นขนาดใหญ่ เห็ดดึงธาตุอาหารและ

น�้ำให้กับพืช และป้องกันรากพืชไม่ให้

เชื้อราและแบคทีเรียอื่นเข้าท�ำลาย เห็ด

ได้รับอาหารจากพืชเพื่อใช้ในการเจริญ

เติบโต เช่น เห็ดตับเต่า เห็ดผึ้ง เห็ดน�้ำ

หมาก เห็ดขิง และเห็ดข่า เป็นต้น

P:346

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

342

เห็ด 83 ชนิด

จากการ

ส�ำรวจ

พบ

ความหลากหลายของเห็ด

กลุ่มเห็ดกินไม่ได้61 ชนิด

กลุ่มเห็ดพิษ 1 ชนิด

กลุ่มเห็ดกินได้ 21 ชนิด

P:347

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

343

รายชื่อความหลากหลายของเห็ด

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

1 เห็ดระโงกเหลือง Amanita hemibapha

(Berk. & Br.) Sacc. subsp.

javanica Cor. & Bas.

Amanitaceae ไมคอร์ไรซา

2 เห็ดระโงกขาว Amanita princeps

Corner & Bas.

Amanitaceae ไมคอร์ไรซา

3 เห็ดเผาะหนัง Astraeus odoratus

C. Phosri, R. Watling, M.P.

Martin & A.J.S. Whalley

Astraeaceae ไมคอร์ไรซา

4 เห็ดหูหนู Auricularia auricularjudae (Bull.) Wettstein

Auriculariaceae ซาโปรไฟต์

5 เห็ดมันปู Cantharellus cibarius Fr. Cantharellaceae

ไมคอร์ไรซา

6 เห็ดขมิ้นน้อย Craterellus aureus Berk.

& Curt.

Cantharellaceae

ไมคอร์ไรซา

7 เห็ดขมิ้นใหญ่ Craterellus odoratus (Schwein.) Fr.

Cantharellaceae

ไมคอร์ไรซา

8 เห็ดปะการังหนามส้ม

แครอท

Clavaria miyabeana S. Ito

in S. Imai

Clavariaceae ไมคอร์ไรซา

9 เห็ดปะการังยอดเขา

กวาง

Scytinopogon angulisporus (Pat.) Corner

Clavariaceae ไมคอร์ไรซา

10 เห็ดหูช้าง Ganoderma applanatum

(Pers.) Pat.

Ganodermataceae

พาราไซต์

ซาโปรไฟต์

11 เห็ดหลินจือ Ganoderma lucidum

P. Karst.

Ganodermataceae

พาราไซต์

ซาโปรไฟต์

กลุ่มเห็ดกินได้

P:348

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

344

กลุ่มเห็ดกินได้

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

12 เห็ดโคน Termitomyces globulus

R. Heim & Gooss.-Font.

Lyophyllaceae ซิมไบโอซิส

13 เห็ดโคน Termitomyces sp.1 Lyophyllaceae ซิมไบโอซิส

14 เห็ดลม Lentinus polychrous Lév. Polyporaceae ซาโปร์ไฟต์

15 เห็ดข่า Lactarius flavidulus Imai. Russulaceae ไมคอร์ไรซา

16 เห็ดขิง Lactarius piperatus (L.)

Pers.

Russulaceae ไมคอร์ไรซา

17 เห็ดฟานน�้ำตาลแดง Lactarius volemus (Fr.) Fr. Russulaceae ไมคอร์ไรซา

18 เห็ดแดงน�้ำหมาก Russula emetica (Schaeff.)

Pers.

Russulaceae ไมคอร์ไรซา

19 เห็ดตะไคลเขียว Russula virescens

(Schaeff.) Fr.

Russulaceae ไมคอร์ไรซา

20 เห็ดแครง Schizophyllum commune

Fr.

Schizophyllaceae

ซาโปรไฟต์

21 เห็ดประทัดจีน Hygrocybe coccineocrenata (P.D. Orton) M.M.

Moser.

Tricholomataceae

ซาโปรไฟต์

P:349

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

345

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

1 เห็ดตับเต่า1 Boletus sp.1 Boletaceae ไมคอร์ไรซา

2 เห็ดตับเต่า2 Boletus sp.2 Boletaceae ไมคอร์ไรซา

3 เห็ดตับเต่า3 Boletus sp.3 Boletaceae ไมคอร์ไรซา

4 เห็ดตับเต่า4 Boletus sp.4 Boletaceae ไมคอร์ไรซา

5 เห็ดปะการังหนาม

เหลือง

Clavulinopsis laeticolor

(Berk. & Curtis) Peterson

Clavariaceae ไมคอร์ไรซา

6 เห็ดพายทอง Dacryopinax spathularia

(Schwein.) G.W. Martin

Dacrymycetaceae

ซาโปรไฟต์

7 เห็ดจวักงู Amauroderma rugosum

(Blume & T. Nees) Torrend

Ganodermataceae

ซาโปรไฟต์

8 เห็ดก้อนกะละแมด�ำ Ganoderma dahlii (Henn.)

Aoshima

Ganodermataceae

ซาโปรไฟต์

9 เห็ดดาวดินกลม Geastrum saccatum Fr. Geastraceae ซาโปรไฟต์

10 เห็ดลิ้นพสุธา Trichoglossum hirsutum

(Pers.) Boud.

Geoglossaceae ซาโปรไฟต์

11 - Hymenochaete rubiginosa

(Dicks.) Lév.

Hymenochaetaceae

ซาโปรไฟต์

12 - Hymenochaete sp.1 Hymenochaetaceae

ซาโปรไฟต์

กลุ่มเห็ดกินไม่ได้

P:350

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

346

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

13 เห็ดหิ้งอันดามัน Phellinus adamantinus

(Berk.) Ryvarden

Hymenochaetaceae

ซาโปรไฟต์

14 - Phellinus sp.1 Hymenochaetaceae

ซาโปรไฟต์

15 - Phellinus sp.2 Hymenochaetaceae

ซาโปรไฟต์

16 - Campanella junghuhnii

(Mont.) Singer

Marasmiaceae ซาโปรไฟต์

17 เห็ดขนหางม้า Marasmius androsaceus

(L. ex Fr.) Fr.

Marasmiaceae ซาโปรไฟต์

18 - Irpex flavus (Jungh.)

Kalchbr.

Meruliaceae ซาโปรไฟต์

19 - Favolaschia tonkinensis

(Pat.) Singer

Mycenaceae ซาโปรไฟต์

20 เห็ดรังนก Cyathus striatus (Huds.)

Willd.

Nidulariaceae ซาโปรไฟต์

21 - Podoscypha sp.1 Podoscyphaceae

ซาโปรไฟต์

22 เห็ดรังมิ้ม Hexagonia apiaria (Pers.)

Fr.

Polyporaceae ซาโปรไฟต์

23 - Hexagonia cingulata Lév. Polyporaceae ซาโปรไฟต์

24 เห็ดรังแตน Hexagonia tenuis (Hook.)

Fr.

Polyporaceae ซาโปรไฟต์

25 - Hexagonia sp.1 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

กลุ่มเห็ดกินไม่ได้

P:351

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

347

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

26 - Hexagonia sp.2 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

27 - Hexagonia sp.3 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

28 - Lentinus sp.1 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

29 - Lentinus sp.2 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

30 - Lentinus sp.3 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

31 เห็ดกาบหอยขาว Lenzites elegans (Spreng.) Polyporaceae ซาโปรไฟต์

32 เห็ดกรวยทองตะกู Microporus xanthopus

(Fr.) Ktz.

Polyporaceae ซาโปรไฟต์

33 เห็ดพัดใบลาน Polyporus grammocephalus Berk.

Polyporaceae ซาโปรไฟต์

34 - Polyporus sp.1 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

35 - Polyporus sp.2 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

36 - Polyporus sp.3 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

37 - Polyporus sp.4 Polyporaceae ซาโปรไฟต์

38 เห็ดขอนแดง Pycnoporus sanguineus

(Fr.) Murr.

Polyporaceae ซาโปรไฟต์

39 เห็ดกระด้างรูน�้ำตาล

อ่อนอมเหลือง

Trametes cingulata Berk. Polyporaceae ซาโปรไฟต์

40 - Ramaria cyanocephala

(Berk. & M.A. Curtis.)

Corner

Ramariaceae ไมคอร์ไรซา

กลุ่มเห็ดกินไม่ได้

P:352

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

348

กลุ่มเห็ดกินไม่ได้

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

41 เห็ดก้อนกรวดยางสี

เหลือง

Arcangeliella beccarii

(Pet.) Dodge. & Zell.

Russulaceae ซาโปรไฟต์

42 - Camillea tinctor (Berk.)

Læssøe, J.D. Rogers &

Whalley

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

43 เห็ดดันหมีม่วงด�ำ Daldinia eschscholtzii

(Ehrenb.) Rehm

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

44 - Hypoxylon cf. anthochroum Berk. & Broome

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

45 - Hypoxylon crocopeplum

Berk. & M.A. Curtis

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

46 - Hypoxylon duranii J.D.

Rogers

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

47 - Hypoxylon fendleri Berk.

ex Cooke

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

48 - Hypoxylon haematostroma Mont.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

49 - Hypoxylon investeins

(Schwein.) M.A. Curtis

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

50 - Hypoxylon lividicolor Y.M.

Ju & J.D. Roger

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

51 - Hypoxylon monticulosum

Mont.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

52 - Hypoxylon moriforme

Henn.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

P:353

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

349

กลุ่มเห็ดพิษ

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

1 เห็ดกระดิ่งหยก Rhodophyllus virescens

(Berk. & Curt.) Hongo

Entolomataceae

ไมคอร์ไรซา

ล�ำดับ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ กลุ่มเห็ด

53 - Hypoxylon nitens (Ces.)

Y.-M. Ju & J.D. Rogers.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

54 - Hypoxylon pilgerianum

Henn.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

55 - Hypoxylon rubiginosum

(Pers. ex Fr.) Fr.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

56 - Hypoxylon stygium (Lév.)

Sacc.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

57 เห็ดนิ้วทองค�ำ Xylaria allantoidea (Berk.)

Fr.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

58 - Xylaria badia Pat. Xylariaceae ซาโปรไฟต์

59 - Xylaria culleniae Berk. &

Broome

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

60 - Xylaria grammica (Mont.)

Fr.

Xylariaceae ซาโปรไฟต์

61 - Xylaria sp.1 Xylariaceae ซาโปรไฟต์

กลุ่มเห็ดกินไม่ได้

P:354

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

350

Amanita hemibapha

(Berk. & Br.) Sacc. subsp. javanica Cor. & Bas.

เห็ดระโงกเหลือง

วงศ์ Amanitaceae

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

กินได้

ชนิดป่า เต็งรัง

ลักษณะ ดอกอ่อนมี

เปลือกหุ้มรูปไข่สีขาว เมื่อเจริญจะดัน

ผิวเปลือกออกมา หลุดห้อยเป็นวงแหวน

เมื่อบานเป็นรูปกระทะคว�่ำ ผิวเรียบ ขอบมีริ้ว

ขนาด 5-12 เซนติเมตร ครีบ ถี่ สีเหลืองอ่อนไม่

ติดก้าน ก้าน ทรงกระบอกสีเหลือง กลวง มีวง

แหวนบาง สีเหลืองติดก้าน ขนาด 8-15 × 0.8-2

เซนติเมตร เปลือกหุ้มดอกเป็นรูปถ้วยสีขาว

ที่โคนดอก สปอร์ ทรงรี กว้าง ใส ผิวเรียบ

ขนาด 7-9 x 5-7 µm

P:355

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

351

Amanita princeps Corner & Bas.

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

กินได้

ชนิดป่า เต็งรัง

วงศ์ Amanitaceae

เห็ดระโงกขาว ลักษณะ ดอกอ่อนคล้าย

ไข่สีขาวรูปกลมหรือไข่ สีขาวนวลหรือ

เหลืองอ่อน เปลือกหุ้มดอกอ่อนทรงกระบอก

สีขาว เมื่อบานกางออกเป็นรูปกระทะคว�่ำ แบนราบ

ผิวเรียบ เป็นมัน เมื่อชื้นจับแล้วหนืดมือเล็กน้อย ขอบ

เป็นริ้ว ขนาด 6-20 เซนติเมตร ครีบ สีขาวถึงครีม ไม่

ติดก้าน เรียงถี่ก้าน ทรงกระบอก โคนใหญ่กว่าเล็ก

น้อย ภายในกลวง มีวงแหวนขาวนวล ตอนบนสี

เดียวกับหมวก ขนาด 10-20 x 1-2.5 เซนติเมตร

สปอร์รูปร่างกลมหรือเกือบกลม ใส ผิว

เรียบ ขนาด 10-11.25 x 10 µm

P:356

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

352

Cantharellus cibarius Fr.

เห็ดมันปู

วงศ์ Cantharellaceae

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

กินได้

ชนิดป่า เต็งรัง

ลักษณะ ดอกสีเหลือง

กลางหมวกเป็นแอ่ง ขอบเป็นคลื่น

ริมขอบม้วนเข้าด้านใน ขนาด 2-7

เซนติเมตร ครีบ ทอดตัวยาวจากริมขอบจรด

ก้าน ก้าน ทรงกระบอก ผิวเรียบ สีเหลืองอ่อน

ยาว 2-4 × 0.4-1 เซนติเมตร สปอร์ ทรงรี ใส

ผิวเรียบ ผนังบาง ขนาด 8-10 × 4-6 µm

P:357

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

353

ลักษณะ ดอกรูป

ปากแตร เรียบ ขอบเป็นคลื่น

สีเหลืองส้มถึงส้มสด ใต้ดอกเรียบถึงย่น

เล็กน้อย สีเหลืองอ่อนถึงเหลืองอมส้ม ขนาด

กว้าง 0.5-3 เซนติเมตร ก้าน ทรงกระบอก

กลวง อยู่กึ่งกลางดอก บางครั้งค่อนไปข้างหนึ่ง

สีเหลืองอมส้มถึงเหลืองสด ยาว 2-4 เซนติเมตร

เนื้อบาง สปอร์ รูปร่างรี เรียบ สีขาวบน

กระดาษพิมพ์ ขนาด 7-9 x 5-6 µm

Craterellus aureus Berk. & Curt.

เห็ดขมิ้นน้อย

วงศ์ Cantharellaceae

กินได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เต็งรัง

P:358

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

354

ลักษณะ ดอกรูปกรวย

บางและเรียบ ขอบเป็นคลื่นและพู

สีเหลืองอมส้มหรือส้ม ด้านล่างเรียบ

ถึงย่นเล็กน้อย สีเหลืองอ่อนอมส้ม ขนาด

กว้าง 5-10 เซนติเมตร ก้าน กลวง สีเหลือง

อมส้ม เนื้อบาง สปอร์ รูปร่างรียาว ถึงรูปไข่

ผิวเรียบ ผนังบาง สีส้มอมชมพูบน

กระดาษพิมพ์ ขนาด 8-12 x 4.5-6 µm

Craterellus odoratus (Schwein.) Fr.

เห็ดขมิ้นใหญ่

วงศ์ Cantharellaceae

กินได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เต็งรัง

P:359

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

355

ลักษณะ ดอกคล้าย

ปะการังมีแขนงแบนและแตกแขนง

ไปทางเดียวกัน สีขาว ขนาด กว้าง 2-6

เซนติเมตร สูง 3-6 เซนติเมตร ก้าน เรียว

ยาว แตกแขนงคล้ายเขากวาง เนื้อหยุ่น

กว้าง 0.2-0.3 เซนติเมตร สปอร์ รูปเหลี่ยม

ถึงรูปคล้ายหัวมันฝรั่ง สีขาว ขนาด

4-5.6 × 2.7-3.4 µm

Scytinopogon angulisporus (Pat.) Corner

เห็ดปะการังยอดเขากวาง

วงศ์ Clavariaceae

กินได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เบญจพรรณ

P:360

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

356

ลักษณะ นูนไปจน

ถึงรูปเกือกม้า มีปุ่มขรุขระ แถบ

วงกลมมีร่องและแตกเมื่อแก่ สีน�้ำตาล

อมเหลืองถึงน�้ำตาล ขอบขาว แล้วเป็น

สีน�้ำตาลเมื่อแก่ ขนาด กว้าง 6-30 เซนติเมตร

ยาว 5-20 เซนติเมตร หนา 1-3 เซนติเมตร

ใต้ดอกสีขาว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาล รู ยาว

4-12 มิลลิเมตร ปากรูกลม มี 4-6 รูต่อมิลลิเมตร

สปอร์ รูปร่างรี ปลายข้างหนึ่งตัดเป็นเส้นตรง

ผนังชั้นนอกเรียบ ชั้นในหยาบ หนามสี

น�้ำตาลอ่อน ขนาด 6.5-9 x 5-7 µm

Ganoderma applanatum (Pers.) Pat.

เห็ดหูช้าง

วงศ์ Ganodermataceae

กินได้

กลุ่มเห็ด พาราไซต์ ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เต็งรัง

P:361

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

357

ลักษณะ ดอกรูปครึ่ง

วงกลมถึงรูปไต ผิวเรียบเป็นมัน

มีแถบวงน�้ำตาลแดง ขนาด 2.5-25

เซนติเมตร หนา 1.5-3 เซนติเมตร รู มี

4-6 รูต่อมิลลิเมตร ปากรูกลมถึงเหลี่ยม

ก้าน ด้านข้างขอบหมวกเป็นมันเงาเนื้อแข็ง

สีน�้ำตาลอ่อนถึงน�้ำตาลเข้ม ขนาด 4-10

x 1-2 เซนติเมตร สปอร์ รูปร่างยาวรี

ผนังสองชั้นปลายข้างหนึ่งตัดตรง

ขนาด 7-12 x 6-8 µm

Ganoderma lucidum (Curtis) P. Karst.

เห็ดหลินจือ

วงศ์ Ganodermataceae

กินได้

กลุ่มเห็ด พาราไซต์ ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

P:362

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

358

ลักษณะ ดอกรูปกรวย

กลางเว้าลึกคล้ายปากแตร ดอกอ่อนสี

ขาวอมเทา เมื่อแก่มีสีน�้ำตาล ผิวดอกมีขนสี

น�้ำตาลคล้ายเกล็ดงอขึ้น เนื้อแน่นและเหนียว ขอบ

ดอกโค้งงอเล็กน้อย มีรอยฉีกตามขอบ ขนาด 5-10

เซนติเมตร ครีบ ถี่ เกยก้าน สีน�้ำตาลเทาถึงน�้ำตาล

แดงอมม่วง ก้าน ทรงกระบอกโค้งมีสีเทา เมื่อแก่

เปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาลและมีขนเล็กๆ ภายในตัน ก้าน

อยู่ตรงกลางดอกหรือเยื้องไปด้านใดด้านหนึ่ง

ขนาด 0.5-2.5 x 0.4-1.5 เซนติเมตร สปอร์

ทรงรีโค้งงอเล็กน้อย ผิวเรียบ ผนังบาง

ขนาด 6-9 x 2.7-3.3 µm

Lentinus polychrous Lév.

เห็ดลม

วงศ์ Polyporaceae

กินได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

P:363

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

359

Lactarius flavidulus Imai.

ลักษณะ ดอกรูปร่มสีขาว

นวลหรือสีเนื้อ กลางหมวกเว้าตื้น

เมื่อบานเต็มที่หมวกจะกางออก ขอบงอลง

เล็กน้อย ผิวเรียบ ขนาด 5-10 เซนติเมตร

เมื่อกรีดหรือตัดทิ้งไว้ น�้ำยางจะเปลี่ยนจากสีขาว

เป็นสีเทาอมฟ้า ครีบ แผ่แคบสีขาว ยาวเท่ากัน

เรียงชิด ก้าน ทรงกระบอก สีเดียวกับหมวก

โคนสอบ เรียวเล็กกว่าด้านบน สปอร์ รูปร่าง

กลม สีขาว ผิวขรุขระมีหนามเล็กน้อย

ขนาด 7.5-8.75 x 7.5-8.75 µm

เห็ดข่า

วงศ์ Russulaceae

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

กินได้

ชนิดป่า เต็งรัง

P:364

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

360

ลักษณะ ดอกรูปกระทะ

คว�่ำ สีขาวนวลหรือครีมอ่อน เมื่อบาน

เต็มที่จะแผ่แบนคล้ายรูปกรวยปากกว้าง ตรง

กลางเว้าตื้น ขอบโค้งลงเล็กน้อย ผิวเรียบมันเป็น

เงาและเปียกชื้น เมื่อกรีดหรือตัดจะมีน�้ำยางสีขาว

ไหลออกมา รอยแผลจะเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาลเล็กน้อย

ขนาด 4-10 เซนติเมตร ครีบ สีขาว ถี่ หนา และมี

จ�ำนวนมาก ก้าน รูปทรงกระบอก สีขาวนวล ผิว

เรียบ ขนาด 2-5 × 1-2.5 เซนติเมตร สปอร์ รูป

ร่างกลมหรือเกือบกลม มีหนามเล็กน้อย

ขนาด 5-7.5 x 5-7.5 µm

เห็ดขิง

วงศ์ Russulaceae

Lactarius piperatus (L.) Pers.

กินได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เต็งรัง

P:365

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

361

Lactarius volemus (Fr.) Fr.

กินได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เต็งรัง

วงศ์ Russulaceae

เห็ดฟานน�้ำตาลแดง ลักษณะ ดอกนูน กลาง

ดอกเป็นแอ่งเล็กน้อย มีขนอ่อนไปถึง

เรียบ น�้ำตาลแดงถึงน�้ำตาลอมส้ม ขนาด

5-10 เซนติเมตร ครีบ เรียวลงไปติดก้านเล็กน้อย

แคบ เรียงถี่ สีเหลืองอ่อน ก้าน มีขนอ่อน สีเดียว

กับหมวกหรืออ่อนกว่า เนื้อแน่น สีขาว น�้ำยางขาว

ขนาด 4-10 x 1-2 เซนติเมตร สปอร์ รูปร่างกลม

มีปุ่มและสันหนาติดกันเป็นตาข่าย สีขาวบน

กระดาษพิมพ์ ขนาด 8-9 µm

P:366

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

362

ลักษณะ ดอกเมื่ออ่อนมี

รูปทรงคล้ายกระทะคว�่ำ ริมขอบโค้ง

ลง ตรงกลางเว้าตื้น ผิวเรียบ สีแดงอมชมพู

เมื่อแก่ดอกจะยกตัวขึ้น ขนาด 3-10 เซนติเมตร

ครีบ ติดก้าน เรียงถี่ สีขาว ก้าน รูปทรงกระบอก

ไม่สม�่ำเสมอ ผิวเรียบสีขาว ขนาด 5-10 x 1-2.5

เซนติเมตร สปอร์รูปร่างกลม ใส ผนังบาง มี

หนามเล็กน้อย มีสันนูนเป็นตาข่ายรอบสปอร์

ขนาด 6.25-8.75 x 6.25-8.75 µm

Russula emetica (Schaeff.) Pers.

เห็ดแดงน�้ำหมาก

วงศ์ Russulaceae

กินได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

P:367

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

363

Schizophyllum commune Fr.

ลักษณะ ดอกรูปพัด แห้ง

ขนคลุมสีขาว ฉีกแยก เนื้อเหนียว

ขาวหม่น ครีบ สีครีม เรียงเป็นรัศมีออกจาก

ฐานดอกแยกเป็นแฉกตามยาวและม้วนงอลง

ขนาด 1-4 x 1-3 เซนติเมตร ก้าน อยู่ด้านข้าง

หรือเกือบไม่มีก้าน สปอร์ รูปทรงกระบอก

ผิวเรียบ ใส ขนาด 4-5 x 1.5-2 µm

เห็ดแครง

วงศ์ Schizophyllaceae

กินได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่ า เบญจพรรณ

P:368

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

364

ลักษณะ ก้านเดี่ยว

ทรงกระบอก กลวง ปลายแหลม

ไม่แตกแขนง โคนอาจบิดเป็นเกลียว

โคนมีสีเหลืองอ่อน ส่วนเหนือขึ้นไปมีสีเหลือง

ส่วนปลายมีสีเหลืองหรือน�้ำตาล ทึบแสง

ผิวเรียบ เหนียวเล็กน้อย สปอร์ รูปร่างค่อนข้าง

กลมหรือกลมรีรูปไข่ ผิวเรียบ ขนาด

5.5-8 x 3.5-5 µm

Clavulinopsis laeticolor (Berk. & Curtis) Petersen

เห็ดปะการังหนามเหลือง

วงศ์ Clavariaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เบญจพรรณ

P:369

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

365

ลักษณะ ดอกรูป

กรวยหรือบานเป็นช้อนแบน

ปลายแยกเป็นหยักสีเหลืองตลอดทั้งดอก

เนื้อเป็นวุ้น ก้าน ทรงแบนหนาหรือทรง

กระบอก ขนาด 1-2 × 0.3-0.5 เซนติเมตร

สปอร์รูปร่างกลมถึงรี ผิวเรียบ ใส ขนาด

7.5-10 × 3.5-7.5 µm

Dacryopinax spathularia

(Schwein.) G.W. Martin

วงศ์ Dacrymycetaceae

เห็ดพายทอง

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

กินไม่ได้

P:370

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

366

ลักษณะ ดอกเกือบกลม

สีน�้ำตาลอมเหลืองถึงน�้ำตาลอม

ชมพู ผนังชั้นนอกแยกออกเป็น 5-7 แฉก

ซึ่งงอลงเมื่อแก่ ขนาด กว้าง 2.3-3.5

เซนติเมตร อับสปอร์ 2 เซนติเมตร ตั้งอยู่

กลางแฉก สีน�้ำตาลอ่อน เรียบ ผนังบาง ด้าน

บนมีแอ่งวงกลมขนาดเล็กสีขาวรอบๆ รูเปิด

คล้ายปาก สปอร์ รูปร่างกลมเป็นปุ่ม

สีน�้ำตาล ขนาด 3.5-4.5 µm

Geastrum saccatum Fr.

วงศ์ Geastraceae

เห็ดดาวดินกลม

ชนิดป่า เบญจพรรณ

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

กินไม่ได้

P:371

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

367

Irpex flavus (Jungh.) Kalchbr.

วงศ์ Meruliaceae

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

กินไม่ได้

ชนิดป่า เบญจพรรณ

ลักษณะ ดอกแผ่ออกเป็น

รูปทรงกลม เคลือบไปตามผิวไม้

ผิวปกคลุมด้วยขนคล้ายก�ำมะหยี่ มีแนว

สันเป็นลูกคลื่น สีเหลืองสด ผิวด้านล่างมี

ลักษณะคล้ายรูที่ประสานกันเป็นร่องคล้ายเขา

วงกต มักมีส่วนที่เป็นสันยื่นออกมาคล้ายฟัน

ขนาด 3-5 เซนติเมตร สปอร์รูปร่างรี กว้าง

ผนังบาง สีขาว ขนาด 5.5-6.5 x 3-4.5 µm

P:372

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

368

ลักษณะ ดอกรูปทรง

กรวยกว้าง 7-8 มิลลิเมตร สูง 9-12

มิลลิเมตร ดอกอ่อนรูปร่างกลม ด้านนอก

มีขนสีน�้ำตาลปกคลุม ด้านบนมีเยื่อสีขาวปิด

เมื่อแก่เยื่อสีขาวจะฉีกขาดออกเปิดถ้วยให้เห็น

เป็นรูปทรงกรวย ผนังภายในสีตะกั่ว ภายใน

บรรจุอับสปอร์ทรงกลมคล้ายไข่นก สปอร์ รูป

ร่างค่อนข้างรี ผิวเรียบ ผนังหนา ใส ขนาด

13.7-20 x 10-12.5 µm

Cyathus striatus (Huds.) Willd.

เห็ดรังนก

วงศ์ Nidulariaceae

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

P:373

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

369

ลักษณะ ดอกรูปครึ่งวงกลม

สีน�้ำตาลแดงหรือน�้ำตาลเข้ม แล้ว

เปลี่ยนเป็นน�้ำตาลด�ำ ผิวมีขนเป็นเส้นหยาบ

ปลายแตกแขนงและตั้งตรง สีด�ำหรือสีน�้ำตาลด�ำ

ยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร ขนาด 6-10 x 3.5-6

เซนติเมตร หนา 1-2.5 เซนติเมตร รูรูปหก

เหลี่ยมสีน�้ำตาล ขนาดใหญ่เห็นชัดเจน มี 3-4

รูต่อเซนติเมตร สปอร์รูปทรงกระบอก ใส

ผิวเรียบ ขนาด 10-15 x 4-6 µm

Hexagonia apiaria (Pers.) Fr.

เห็ดรังมิ้ม

วงศ์ Polyporaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

P:374

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

370

ลักษณะ ดอกรูปครึ่ง

วงกลมหรือรูปพัด ผิวด้านบนเรียบ

สีขาวหม่นแล้วเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาลอ่อน

มีแถบวงกลมและร่องหยัก ขนาด 7-10 x 5

เซนติเมตร หนา 0.2-1 เซนติเมตร รูรูปหกเหลี่ยม

มี 4-6 รูต่อมิลลิเมตร สีน�้ำตาลอมเหลือง เมื่อ

กระทบแสงเป็นมันเงา สปอร์ รูปร่างรีกว้าง

ผิวเรียบ ใส ขนาด 5-6 × 3-4 µm

Hexagonia cingulata Lév.

วงศ์ Polyporaceae

ชนิดป่า เบญจพรรณ

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

กินไม่ได้

P:375

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

371

ลักษณะ ดอกรูปครึ่ง

วงกลมรูปไตหรือรูปพัด ผิวมีรอยย่น

เรียงเป็นรัศมี ขอบบางและคม เป็นคลื่น

มีแถบวงกลมสีน�้ำตาลเทา น�้ำตาลอ่อน น�้ำตาล

อมเหลืองและน�้ำตาลหม่นปนด�ำ เนื้อเหนียว บาง

สีน�้ำตาลอ่อน ถึงน�้ำตาลแก่ ขนาด 4-10 x 3-6

เซนติเมตร รูรูปเหลี่ยมหรือหกเหลี่ยม ยาวถึง 2

มิลลิเมตร สีน�้ำตาลเทา มี 1-2 รู ต่อมิลลิเมตร

สปอร์รูปทรงกระบอก เรียบ ผนังหนาเล็กน้อย

ขนาด 9-15 x 4-6 µm

Hexagonia tenuis (Hook.) Fr.

เห็ดรังแตน

วงศ์ Polyporaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

P:376

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

372

ลักษณะ ดอกรูปกรวย

ปากกว้าง บาง มีริ้วเรียงเป็นรัศมี

ย่นเล็กน้อย มันวาว เป็นแถบวงกลม

ขอบน�้ำตาลอมเหลือง น�้ำตาลแดงไปถึงน�้ำตาล

เข้ม ขนาด 3.5-10 เซนติเมตร รู ใต้หมวกจ�ำนวน

5-8 รูต่อมิลลิเมตร ก้าน อยู่กึ่งกลางหมวก รูปทรง

กระบอก เนื้อแข็ง ผิวเรียบ โคนแผ่ออกเป็นวง

กลมเล็กๆ เนื้อเหนียว ขนาด 1.5-4.5 x 0.3-0.4

เซนติเมตร สปอร์ รูปร่างยาวรี ใส ผิวเรียบ

ผนังบาง ขนาด 5.5-7 x 2-2.5 µm

Microporus xanthopus (Fr.) Ktz.

เห็ดกรวยทองตะกู

วงศ์ Polyporaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

P:377

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

373

ลักษณะ ดอกรูปพัดถึง

รูปไต ผิวด้านบนสีแดงอมส้มหรือมี

แถบสีแดงสลับเหลือง แผ่แบน เรียบหรือมี

รอยย่น ผิวมันวาวเล็กน้อย ขนาด 5-7 x 1-4

เซนติเมตร รู ขนาดเล็ก สีแดงอมส้ม มีจ�ำนวน

5-7 รูต่อมิลลิเมตร สปอร์ รูปทรงกระบอก ใส

ขนาด 3-5.5 x 2-2.5 µm

Pycnoporus sanguineus (Fr.) Murr.

เห็ดขอนแดง

วงศ์ Polyporaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เต็งรัง

P:378

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

374

ลักษณะ ดอกรูปครึ่ง

วงกลมถึงรูปพัด ผิวด้านบนหมวก

เป็นสีขาว หรือขาวหม่น มักมีแถบ

วงกลมและร่องหยัก ขนาด กว้าง 6.5-8

เซนติเมตร หนา 1-3 มิลลิเมตร รู กลม

สีน�้ำตาลอ่อนอมเหลือง จ�ำนวน 4-6 รูต่อ

มิลลิเมตร สปอร์ รูปร่างยาวรี ใส

ผิวเรียบ ขนาด 5-6 x 3-4 µm

Trametes cingulata Berk.

เห็ดกระด้างรูน�้ำตาลอ่อนอมเหลือง

วงศ์ Polyporaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

P:379

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

375

ลักษณะ เกือบกลม

เรียบ สีเหลืองอ่อน ส้มไปถึงอบเชย

ภายในแบ่งออกเป็นช่องยาวเล็กๆ เต็ม

ไป ด้วยสปอร์ เมื่อผ่าออกให้น�้ำยางสีขาว

แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอย่างรวดเร็ว ขนาด

กว้าง 1.5-2 เซนติเมตร สปอร์ รูปร่างกลม

มีสันนูนไม่เป็นระเบียบ ใส อยู่เป็นกลุ่ม

มีสีน�้ำตาลอมเหลือง ขนาด 11-13 µm

Arcangeliella beccarii (Pet.) Dodge. & Zell.

เห็ดก้อนกรวดยางสีเหลือง

วงศ์ Russulaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เบญจพรรณ

P:380

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

376

Camillea tinctor (Berk.) Læssøe, J.D. Rogers & Whalley

วงศ์ Xylariaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

ลักษณะ เป็นแผ่นแข็ง

นูนขึ้นมาบนเปลือกไม้และบนเนื้อไม้

สีด�ำ ผิวเรียบ ขนาด 1-7 x 0.8-3

เซนติเมตร หนา 0.5-1.5 มิลลิเมตร สปอร์

รูปร่างยาวรี หัวท้ายมน ใส ผิวเป็นลายตาข่าย

ร่างแห (ภายใต้กล้อง SEM) ขนาด 13.8-21.3

x 6.3-8.8 µm

P:381

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

377

ลักษณะ เป็นก้อนค่อน

ข้างกลม นูนขึ้นบนผิวไม้และเปลือกไม้

เนื้อแข็ง สีน�้ำตาลม่วง เมื่อแก่เป็นสีม่วงด�ำหรือ

น�้ำตาลด�ำ ผิวเรียบ เนื้อในเป็นวงแหวนเรียงซ้อน

กัน ท�ำปฏิกิริยากับ KOH 10% ให้สีม่วง ขนาดสูง

1-4 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-5 เซนติเมตร

สปอร์ รูปร่างคล้ายตัว D สีน�้ำตาล ผิวไม่เรียบ

ขนาด 11.3-12.5 x 5.0-6.3 µm germ slits

เป็นเส้นตรงยาวเกือบเต็มสปอร์

Daldinia eschscholtzii (Ehrenb.) Rehm

วงศ์ Xylariaceae

เห็ดดันหมีม่วงด�ำ

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

P:382

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

378

Hypoxylon fendleri Berk. ex Cooke

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

วงศ์ Xylariaceae ลักษณะ เป็นแผ่น

นูนขึ้นมาบนเปลือกไม้และเนื้อไม้

เนื้อค่อนข้างแข็ง ผิวหน้าไม่เรียบ สีน�้ำตาล-

ม่วงถึงน�้ำตาลแดง ท�ำปฏิกิริยากับ KOH 10%

ให้สีส้ม ขนาดไม่แน่นอน หนา 0.6-0.8 มิลลิเมตร

สปอร์ รูปร่างยาวรี หัวท้ายแหลม ผิวไม่เรียบ

สีน�้ำตาล ขนาด 8.8-9.4 x 3.8-4.4 µm

germ slits เป็นรูปตัว S

P:383

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

379

ลักษณะ เป็นแผ่นหรือ

ก้อนค่อนข้างกลม นูนขึ้นมาบนผิวไม้

และเปลือกไม้ เนื้อค่อนข้างแข็ง ผิวไม่เรียบ

สีส้มแดง ท�ำปฏิกิริยากับ KOH 10% ให้สีส้ม

หรือสีส้มแดงขนาดไม่แน่นอน หนา 3-5 มิลลิเมตร

สปอร์รูปร่างคล้ายตัว D สีน�้ำตาลถึงน�้ำตาลเข้ม

ผิวไม่เรียบ ขนาด 12.5-13.8 X 6.3-7.5 µm

germ slits เป็นเส้นตรงยาวเต็มสปอร์

Hypoxylon haematostroma Mont.

วงศ์ Xylariaceae

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ เต็งรัง

P:384

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

380

Hypoxylon investeins (Schwein.) M.A. Curtis

ลักษณะ เป็นแผ่นนูนขึ้น

มาบนเปลือกไม้และเนื้อไม้ สีด�ำ ผิวหน้า

เรียบ ท�ำปฏิกิริยากับ KOH 10% ให้สีเขียว

มะกอก ขนาดไม่แน่นอน หนา 0.3-0.4 มิลลิเมตร

สปอร์รูปร่างยาวรี หัวท้ายมน ผิวเรียบ สีน�้ำตาล

ขนาด 6.3-7.5 x 3-3.8 µm germ slits

เป็นเส้นตรงยาวเกือบเต็มสปอร์

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

วงศ์ Xylariaceae

P:385

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

381

Hypoxylon lividicolor Y.M. Ju & J.D. Roger

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

ลักษณะ เป็นแผ่น

นูนขึ้นมาบนเปลือกไม้และเนื้อไม้

ผิวหน้าไม่เรียบ เนื้อค่อนข้างแข็ง สีน�้ำ-

ตาลแดง ท�ำปฏิกิริยากับ KOH 10% ให้

สีม่วงแดง ขนาดไม่แน่นอน หนา 1 มิลลิเมตร

สปอร์รูปร่างยาวรี หัวท้ายแหลม ผิวไม่เรียบ

สีน�้ำตาล ขนาด 9.4-11.3 x 4.4-5 µm germ

slits เป็นรูปตัว S

วงศ์ Xylariaceae

P:386

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

382

Hypoxylon nitens (Ces.) Y.-M. Ju & J.D. Rogers.

ลักษณะ เป็นแผ่น

หรือก้อนค่อนข้างกลมนูนขึ้นมา

บนผิวไม้และเปลือกไม้ คล้ายไม้ไหม้ไฟ

เนื้อค่อนข้างแข็ง สีน�้ำตาลด�ำอมม่วง เมื่อแก่

มีสีด�ำมัน ผิวหน้าไม่เรียบ มีลักษณะบุ๋มลงคล้าย

จาน ขนาดจานเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.3-0.5

มิลลิเมตร ท�ำปฏิกิริยากับ KOH 10% ให้สีเขียว

มะกอก ขนาดไม่แน่นอน หนา 0.8-3 มิลลิเมตร

สปอร์ รูปร่างยาวรี หัวท้ายมน ผิวเรียบ สีน�้ำ-

ตาล ขนาด 8.8-10 X 3.8-4.4 µm germ

slits เป็นเส้นตรงยาวเต็มสปอร์

วงศ์ Xylariaceae

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

กินไม่ได้

ชนิดป่า เต็งรัง

P:387

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

383

Xylaria badia Pat.

ลักษณะ เป็นแท่ง

คล้ายกระบอง ปลายมน ไม่แตก

กิ่งก้าน สีน�้ำตาลทองถึงน�้ำตาลเข้ม

ผิวไม่เรียบ เนื้อแข็งขึ้นบนผิวไม้และเนื้อไม้ไผ่

ขนาดสูง 0.4-1.2 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง

2-6 เซนติเมตร ก้าน สั้น มีขนสีน�้ำตาล สปอร์

รูปร่างยาวรีหัวท้ายแหลมกึ่งมน ผิวเรียบ

สีน�้ำตาล ขนาด 7.5-8.8 x 3.8-4.4 µm

germ slits เป็นเส้นตรงยาวเกือบเต็มสปอร์

วงศ์ Xylariaceae

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

กินไม่ได้

P:388

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

384

Xylaria culleniae Berk. & Broome

ลักษณะ เป็นก้าน

สีด�ำชูขึ้นมาบนฝักพฤกษ์ (Albizia

lebbeck) ปลายแหลม แตกกิ่งก้าน ผิวไม่

เรียบ เนื้อค่อนข้างนิ่ม ขนาดสูง 1-8 เซนติเมตร

เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 มิลลิเมตร ก้าน สีด�ำ มีขน

ละเอียด กว้าง 1-2 มิลลิเมตร ยาว 0.5-5 เซนติเมตร

สปอร์ รูปร่างยาวรี หัวท้ายมน ผิวเรียบ สีน�้ำตาล

ขนาด 7.5-8.8 x 3-3.8 µm germ slits เป็นเส้น

ตรงยาวเกือบเต็มสปอร์

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

วงศ์ Xylariaceae

P:389

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

385

Xylaria grammica (Mont.) Fr.

ลักษณะ เป็นแท่ง

คล้ายกระบอง ปลายมน ไม่แตก

กิ่งก้าน ขึ้นบนเปลือกไม้และเนื้อไม้ สีเทา

ถึงสีเทาด�ำ ผิวมีลายแตกสีด�ำ เนื้อค่อนข้าง

แข็ง ขนาดสูง 4-8 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง

0.5-1.0 เซนติเมตร ก้าน สีเทาด�ำ ผิวเรียบ ยาว

1-3 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-0.1

มิลลิเมตร สปอร์ รูปร่างยาวรี หัวท้ายมน ผิวเรียบ

สีน�้ำตาล ขนาด 10-11.3 x 4-4.5 µm germ

slits เป็นเส้นตรงยาวเกือบเต็มสปอร์

กินไม่ได้

กลุ่มเห็ด ซาโปรไฟต์

ชนิดป่า เบญจพรรณ

วงศ์ Xylariaceae

P:390

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

MUSHROOM

386

Rhodophyllus virescens (Berk. & Curt.) Hongo

ลักษณะ ดอกรูป

กรวย มียอดแหลม ขอบเป็นคลื่น

และริ้วเล็กน้อย สีฟ้าอ่อนอมเขียว มีเหลือง

ปนเปื้อน เมื่อช�้ำเปลี่ยนเป็นสีเขียวหรือเขียวอม

เหลือง ขนาด 2-4 เซนติเมตร ครีบ ติดก้าน กว้าง

เรียงถี่ สีฟ้าอมม่วงแดงเมื่อช�้ำ ก้าน ทรงกระบอก

กลวง เรียบ สีเดียวกับหมวก ขนาด 4-5 x 0.3-0.4

เซนติเมตร เนื้อบาง สีเขียวอ่อน สปอร์ รูปลูกบาศก์

ผนังหนาเล็กน้อย สีน�้ำตาลอมเหลืองบน

กระดาษพิมพ์ ขนาด 9-12 x 8-10 µm

เห็ดกระดิ่งหยก

เป็ นพิษ

กลุ่มเห็ด ไมคอร์ไรซา

ชนิดป่า เบญจพรรณ

วงศ์ Entolomataceae

P:392

LICHEN

388 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

สาหร่าย

รา

แหล่งอาศัยของไลเคน

เราสามารถพบไลเคนได้ทั่วไปตามต้นไม้ โดยเฉพาะ

บริเวณเปลือกต้นไม้ ที่เห็นเป็นด่างๆ ดวงๆ ใบไม้ ดิน ก้อนหิน

แก้ว พลาสติก สายไฟ คอนกรีต เหล็ก วัตถุหรือสถานที่ต่างๆ

ที่อยู่ในสภาพอากาศเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของไลเคน

ไลเคน คือ อะไร ?

สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่มาอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่าง

รา (fungi) กับสาหร่าย (algae) ซึ่งมีสาหร่ายสองกลุ่ม

คือ สาหร่ายสีเขียว (green algae) และสาหร่ายสีเขียวแกมน�้

(blue-green

ำเงิน

algae) โดยรามีหน้าที่เก็บความชื้น และป้องกันอันตราย

ให้กับสาหร่าย ส่วนสาหร่ายจะสร้างอาหาร และแบ่งปันให้กับรา

P:393

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

389

พบ ไลเคน ที่ไหนบ้างนะ...

ใบไม้

เปลือกไม้

บนดิน

บนหิน

บนรั้วบ้าน

บนเสาเหล็ก

P:394

LICHEN

390 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

วงจรชีวิตของไลเคน

โครงสร้างแทลลัสของไลเคน

P:395

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

391

โลบ (lobe)

โครงสร้างหลักของแทลลัส

กลุ่มแผ่นใบและกลุ่มต้นไม้เล็ก

ลักษณะเป็นแผ่นแบนคล้ายใบไม้

แทลลัส (thallus)

โครงสร้างร่างกายของไลเคน

โครงสร้างภายนอกของไลเคน

ขนเซลล์ (cilia)

โครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายขนตา

พบที่ขอบของแทลลัส

กลุ่มแผ่นใบ

P:396

LICHEN

392 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เพอริทีเซีย (Perithecia)

โครงสร้างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

ลักษณะภายนอกเป็นรูปตุ่ม

พบบนแทลลัสกลุ่มฝุ่นผง

ไลเรลเลทแอโพทีเซีย

(Lirellate apothecia)

โครงสร้างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

ลักษณะภายนอกเป็นรูปเส้น

พบบนแทลลัสกลุ่มฝุ่นผง

แอโพทีเซียแบบคล้ายจาน

(Disc-like apothecia)

โครงสร้างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

ลักษณะภายนอกเป็นรูปถ้วยหรือ

จาน พบบนแทลลัสกลุ่มฝุ่นผงและ

กลุ่มแผ่นใบ

P:397

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

393

ฟิลลิเดีย (Phyllidia)

โครงสร้างสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

ลักษณะคล้ายใบเกล็ด เป็นแผ่นแบนขนาดเล็ก

เจริญบนแทลลัสกลุ่มแผ่นใบ

ซอรีเดีย (Soredia)

โครงสร้างสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

ลักษณะคล้ายขนมถ้วยฟูขนาดเล็ก

เจริญบนแทลลัสกลุ่มแผ่นใบ

ไอซิเดีย (Isidia)

โครงสร้างสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

ลักษณะคล้ายแท่งหรือเป็นตุ่มนูนกลม

เจริญบนแทลลัสกลุ่มแผ่นใบ

P:398

LICHEN

394 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

แบบเซลล์เดียว (simple) ไม่มีผนังกั้น

แบบมีผนังกั้นตามขวาง (transeptate)

แบบมูริฟอร์ม (muriform)

มีผนังกั้นตามขวางและตามยาว

โครงสร้างภายในแอสโคมาตา (โครงสร้างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ)

แอสโคสปอร์

P:399

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

395

กลุ่มแผ่นใบ (foliose)

ลักษณะแทลลัสเป็นแผ่นใบ

เกาะติดกับวัตถุที่อาศัยอย่าง

หลวมๆ

กลุ่มฝุ่นผง (crustose)

ลักษณะแทลลัสเป็นฝุ่นผงหรือดวง

เกาะติดแน่นกับวัตถุที่อาศัย

ประเภทของไลเคน

กลุ่มเส้นสาย (fruticose)

ลักษณะแทลลัสเป็นทรงพุ่ม

แตกเป็นเส้นสาย

ส่วนฐานยึดเกาะกับวัตถุที่อาศัย

P:400

LICHEN

396 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ไลเคนเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ที่มีประโยชน์ในด้านต่างๆ มากมาย

ทั้งด้านการแพทย์ เป็นส่วนประกอบของยาและยาสมุนไพร ด้านอุตสาหกรรม

น�ำมาใช้เป็นสีย้อมผ้า เครื่องส�ำอาง น�้ำหอม และกระดาษลิตมัส (กระดาษที่ใช้

วัดความเป็นกรดเป็นด่าง) ใช้บอกอายุของโบราณวัตถุจากการเจริญเติบโต

ของไลเคน และที่ส�ำคัญใช้เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพของอากาศ

กลุ่มต้นไม้เล็ก (squamulose)

ลักษณะแทลลัสเป็นต้นหรือใบเกล็ด

คล้ายต้นไม้เล็ก พบตามพื้นดินหรือ

บนมอสส์

กลุ่มพลาคอยด์ (placoid)

ลักษณะแทลลัสเป็นโลบเรียวเล็ก

อยู่ติดกับวัตถุที่อาศัยแน่นมาก

ประโยชน์ของไลเคน

P:401

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

397

กลุ่มฝุ่นผง (Crustose) 50 ชนิด

กลุ่มแผ่นใบ (Foliose) 8 ชนิด

ไลเคนชนิดเด่น (Dominant species) ที่พบมาก ได้แก่

- Arthonia cinnabarina (DC.) Wallr.

- Chrysothrix candelaris (L.) J.R. Laundon

- Dyplolabia afzelii (Ach.) A. Massal.

- Graphis longispora D.D. Awasthi & S.R. Singh

- Letrouitia domingensis (Pers.) Hafellner & Bellem.

- Parmotrema praesorediosum (Nyl.) Hale

- Parmotrema tinctorum (Despr. ex Nyl.) Hale

- Laurera benguelensis (Müll. Arg.) Zahlbr.

- Laurera madreporiformis (Eschw.) Riddle

พบ 58 ชนิด แบ่งเป็น

ความหลากหลายของไลเคน

P:402

LICHEN

398 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

“ไลเคน” ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

จากการส�ำรวจความหลากหลายทางชีวภาพด้านไลเคนในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวาจังหวัดอุตรดิตถ์ ไลเคนส่วนใหญ่พบเกาะบนเปลือกไม้มากที่สุดรองลงมา

คือ บนหิน และพบบนใบไม้บ้างเล็กน้อย ต้นไม้ที่พบไลเคนเกาะอาศัย เช่น กุ๊ก กระพี้จั่น แดง

เต็งรัง คอแลน ขี้หนอน ชิงชัน ตะคร้อ ประดู่ป่า มะกอกเกลื้อน และมะม่วงหัวแมงวัน เป็นต้น

บนเปลือกไม้ บนหิน บนใบไม้

ตัวอย่าง “ต้นไม้ที่พบไลเคนเกาะอาศัย”

กระพี้จั่น

แดง

เต็ง

รัง

“....แม้ว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยมีความรู้

เกี่ยวกับไลเคน อาจเห็นเป็นเพียงแค่ขี้กลากต้นไม้หรือเชื้อราบน

ต้นไม้เท่านั้น จึงเป็นโอกาสดีของการท�ำงานร่วมกันในการเก็บตัวอย่าง

ไลเคน ท�ำให้มีการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ท�ำให้ชาวบ้าน

เจ้าหน้าที่หน่วยป้องกันรักษาป่ามีความรู้ในเรื่อง “ไลเคน” มากขึ้น

และสามารถเล่าเรื่องราวให้กับคนอื่นๆ ในชุมชนได้”

P:403

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

399

รายชื่อความหลากหลายของไลเคน

รายชื่อความหลากหลายของไลเคน

ล�ำดับ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ที่เกาะอาศัย

1. Arthonia cinnabarina (DC.) Wallr. Arthoniaceae บนเปลือกไม้

2. Arthonia sp.1 Arthoniaceae บนเปลือกไม้

3. Arthonia sp.2 Arthoniaceae บนเปลือกไม้

4. Cryptothecia sp. Arthoniaceae บนเปลือกไม้

5. Arthopyrenia sp. Arthopyreniaceae บนเปลือกไม้

6. Chrysothrix candelaris (L.) J.R. Laundon Chrysothricaceae บนเปลือกไม้

7. Dimerella lutea (Dicks.) Trevis. Coenogoniaceae บนเปลือกไม้

8. Acanthothecis clavulifera (Vain.)

Staiger & Kalb

Graphidaceae บนเปลือกไม้

9. Chapsa leprocarpoides (Hale) M.

Cáceres & Lücking

Graphidaceae บนเปลือกไม้

10. Diorygma hieroglyphicum (Pers.)

Staiger & Kalb

Graphidaceae บนเปลือกไม้

11. Diorygma junghuhnii (Mont. & Bosch)

Kalb, Staiger & Elix

Graphidaceae บนเปลือกไม้

12. Dyplolabia afzelii (Ach.) A. Massal. Graphidaceae บนเปลือกไม้

13. Glyphis cicatricosa Ach. Graphidaceae บนเปลือกไม้

14. Glyphis scyphulifera (Ach.) Staiger Graphidaceae บนเปลือกไม้

กลุ่มฝุ่นผง (Crustose)

“....แม้ว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยมีความรู้

เกี่ยวกับไลเคน อาจเห็นเป็นเพียงแค่ขี้กลากต้นไม้หรือเชื้อราบน

ต้นไม้เท่านั้น จึงเป็นโอกาสดีของการท�ำงานร่วมกันในการเก็บตัวอย่าง

ไลเคน ท�ำให้มีการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ท�ำให้ชาวบ้าน

เจ้าหน้าที่หน่วยป้องกันรักษาป่ามีความรู้ในเรื่อง “ไลเคน” มากขึ้น

และสามารถเล่าเรื่องราวให้กับคนอื่นๆ ในชุมชนได้”

P:404

LICHEN

400 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ที่เกาะอาศัย

15. Graphis longispora D.D. Awasthi &

S.R. Singh

Graphidaceae บนเปลือกไม้

16. Graphis rhizicola (Fée) Lücking & Chaves Graphidaceae บนเปลือกไม้

17. Graphis sp. Graphidaceae บนเปลือกไม้

18. Hemithecium implicatum (Fée) Staiger Graphidaceae บนเปลือกไม้

19. Ocellularia terebrata (Ach.) Müll. Arg. Graphidaceae บนเปลือกไม้

20. Pallidogramme sp. Graphidaceae บนเปลือกไม้

21. Phaeographis sp. Graphidaceae บนเปลือกไม้

22. Thelotrema pachysporum Nyl. Graphidaceae บนเปลือกไม้

23. Haematomma puniceum (Sw.) A. Massal. Haematommataceae บนเปลือกไม้

24. Lecanora achroa Nyl. Lecanoraceae บนเปลือกไม้

25. Lecanora phaeocardia Vain. Lecanoraceae บนเปลือกไม้

26. Lecanora tropica Zahlbr. Lecanoraceae บนเปลือกไม้

27. Letrouitia domingensis (Pers.)

Hafellner & Bellem.

Letrouitiaceae บนเปลือกไม้

28. Letrouitia leprolyta (Nyl.) Hafellner Letrouitiaceae บนเปลือกไม้

29. Letrouitia transgressa (Malme)

Hafellner & Bellem.

Letrouitiaceae บนเปลือกไม้

30. Phoeopeccania sp. Lichinaceae บนหิน

กลุ่มฝุ่นผง (Crustose)

P:405

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

401

ล�ำดับ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ที่เกาะอาศัย

31. Malmidea aurigera (Fée) Kalb, Rivas

Plata & Lumbsch

Malmideaceae บนเปลือกไม้

32. Malmidea bakeri (Vain.) Kalb, Rivas

Plata & Lumbsch

Malmideaceae บนเปลือกไม้

33. Malmidea inflata Kalb Malmideaceae บนเปลือกไม้

34. Malmidea piae (Kalb) Kalb Malmideaceae บนเปลือกไม้

35. Protoparmelia corallifera (Kantvilas &

Papong) Kantvilas, Papong & Lumbsch

Parmeliaceae บนเปลือกไม้

36. Protoparmelia orientalis (Kantvilas &

Papong) Kantvilas, Papong & Lumbsch

Parmeliaceae บนเปลือกไม้

37. Protoparmelia pulchra Diederich,

Aptroot & Sérus.

Parmeliaceae บนเปลือกไม้

38. Pertusaria cicatricosa Müll. Arg. Petusariaceae บนเปลือกไม้

39. Pertusaria sp. Petusariaceae บนเปลือกไม้

40. Porina eminentior (Nyl.) P.M. McCarthy Porinaceae บนเปลือกไม้

41. Porina glabra (A. Massal.) Zahlbr. Porinaceae บนเปลือกไม้

42. Anthracothecium cristatellum

Nagarkar & Patw.

Pyrenulaceae บนเปลือกไม้

43. Pyrenula anomala (Ach.) Vain. Pyrenulaceae บนเปลือกไม้

44. Pyrenula kurzii Ajay Singh & Upreti Pyrenulaceae บนเปลือกไม้

45. Bacidia convexula (Müll. Arg.) Zahlbr. Ramalinaceae บนเปลือกไม้

กลุ่มฝุ่นผง (Crustose)

P:406

LICHEN

402 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ล�ำดับ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ที่เกาะอาศัย

1. Bulbothrix isidiza (Nyl.) Hale Parmeliaceae บนเปลือกไม้

2. Parmotrema praesorediosum (Nyl.) Hale Parmeliaceae บนเปลือกไม้

3. Parmotrema saccatilobum (Taylor) Hale Parmeliaceae บนเปลือกไม้

4. Parmotrema tinctorum (Despr. ex Nyl.) Hale Parmeliaceae บนเปลือกไม้

5. Relicinopsis rahengensis (Vain.) Elix & Verdon Parmeliaceae บนเปลือกไม้

6. Dirinaria aegialita (Afzel. ex Ach.) B.J. Moore Physciaceae บนเปลือกไม้

7. Dirinaria applanata (Fée) D.D. Awasthi Physciaceae บนเปลือกไม้

8. Pyxine meissneriana Nyl. Physciaceae บนเปลือกไม้

กลุ่มแผ่นใบ (Foliose)

กลุ่มฝุ่นผง (Crustose)

ล�ำดับ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ ที่เกาะอาศัย

46. Laurera benguelensis (Müll. Arg.) Zahlbr. Trypetheliaceae บนเปลือกไม้

47. Laurera madreporiformis (Eschw.) Riddle Trypetheliaceae บนเปลือกไม้

48. Trypethelium eluteriae Spreng. Trypetheliaceae บนเปลือกไม้

49. Trypethelium nigroporum Makhija & Patw. Trypetheliaceae บนเปลือกไม้

50. Staurothele verruculosa J.W. Thomson Verrucariaceae บนหิน

P:407

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

403

Arthonia cinnabarina (DC.) Wallr.

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวอมเขียวถึงสีน�้ำตาลอ่อน

ผิวขรุขระ

แอสโคมาตาแบบแอโพทีเซียรูปทรงกลมถึงกึ่งรูปเส้น

สีขาวอมแดงถึงแดง ขนาด 0.2-0.5 มิลลิเมตร ยกตัว

เหนือผิวแทลลัสเล็กน้อย

เอกซิเปิล ไม่พบ

แอสคัส รูปทรงกลม (globose)

แอสโคสปอร์ ทรงรีใส แบบมีผนังกั้นตามขวาง 2-3

ผนังกั้น จ�ำนวน 4-6 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Arthoniaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:408

LICHEN

404 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Chrysothrix candelaris (L.) J.R. Laundon

ลักษณะทั่วไป วงศ์ Chrysothricaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีเหลืองอมเขียวถึงเขียวอ่อน

เป็นฝุ่นผง ชั้นคอร์เท็กซ์ไม่ชัดเจน ชั้นสาหร่ายรวมตัว

ปะปนกับเส้นใยราในชั้นเมดัลลา

ซอรีเดีย เป็นฝุ่นผงสีเหลือง กระจายทั่วแทลลัส

แอโพทีเซียและพิคนิเดีย ไม่พบ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:409

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

405

Acanthothecis clavulifera (Vain.) Staiger & Kalb

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตสสีขาวอมเทา ผิวเรียบถึงเป็นขุย

แตกร่วน ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปลายเส้น แบบเส้น

เดี่ยว ปากเปิดเล็กน้อยถึงปิด ยกตัวเหนือแทลลัส

ชัดเจน

เอกซิเปิล สีน�้ำตาลแดง ลาเบียเรียบไม่แยกเป็นริ้ว

ไฮมีเนียมไม่สร้างหยดน�้ำมัน

แอสคัส รูปทรงกระบอง

แอสโคสปอร์ รูปทรงกระสวย ยาวรีใส มีผนังกั้น

ตามขวาง 20-38 ผนังกั้น ขนาด 75-115 x 9-18

ไมโครเมตร จ�ำนวน 4-8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Graphidaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเต็งรัง

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:410

LICHEN

406 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Chapsa leprocarpoides (Hale) M. Cáceres & Lücking

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวถึงสีขาวอมเทา ผิวหน้า

ขรุขระ หลุดล่อน

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปกลมถึงรูปเส้น

หรือรูปร่างไม่แน่นอน เรียงตัวเป็นแนวเส้น ฝังตัวใน

แทลลัส หน้าจานสีเทา มีฝุ่นผงสีขาวปกคลุม

แอสคัส รูปกระบอง ใส

แอสโคสปอร์ แบบมูริฟอร์ม รูปทรงรีใส

ขนาด 30-50 x 9-12 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 4-8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Graphidaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:411

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

407

Diorygma hieroglyphicum (Pers.) Staiger & Kalb

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวถึงสีเทาอมเขียว ผิวหน้า

ไม่เรียบ หลุดล่อนเล็กน้อย ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปเส้น สีขาวถึงสีขาว

อมน�้ำตาลเล็กน้อย กึ่งฝังจมหน้าจานเปิด มีฝุ่นผง

สีขาวปกคลุม

เอกซิเปิล ไม่มีสีถึงมีสีด�ำเล็กน้อยบริเวณฐาน

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงรีใส ขนาดใหญ่แบบมูริฟอร์ม

ขนาด 115.0-225.0 x 25.0-50.0 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 1 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Graphidaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:412

LICHEN

408 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Dyplolabia afzelii (Ach.) Massal.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

วงศ์ Graphidaceae แทลลัส แบบครัสโตส สีเหลืองอมน�้ำตาลถึงเขียว

อมเทา ผิวหน้าเรียบ ไม่เป็นมันเงา ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปเส้นสั้นไม่แตกกิ่ง

สีขาว ยกตัวเหนือผิวแทลลัสอย่างชัดเจน มีฝุ่นผง

สีขาวปกคลุม ปากปิด

เอกซิเปิล ด้านข้างเป็นสีด�ำ ไม่สมบูรณ์

แอสคัส รูปทรงกระบอก ใส

แอสโคสปอร์ ใส แบบผนังกั้นแบ่งตามขวาง 3 ผนังกั้น

ขนาด 14-23 x 6-10 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:413

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

409

Glyphis cicatricosa Ach.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีน�้ำตาลอมเขียว ไม่สะท้อนแสง

ผิวเรียบถึงแตกร้าวเล็กน้อย

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปไข่ถึงรูปเส้นยาว

รวมกันเป็นกลุ่มฝังอยู่ในเนื้อเยื่อสโตรมา หน้าจานเปิด

สร้างฝุ่นผงสีน�้ำตาลปกคลุม

เอกซิเปิล สีน�้ำตาลล้อมรอบแอโพทีเซียอย่างสมบูรณ์

แอสคัส รูปกระบอง ใส

แอสโคสปอร์ใส แบบผนังกั้นแบ่งตามขวาง 6-11

ผนังกั้น ขนาด 30-50 x 9-12 ไมโครเมตร

วงศ์ Graphidaceae

ลักษณะทั่วไป

P:414

LICHEN

410 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Glyphis scyphulifera (Ach.) Staiger

ลักษณะทั่วไป

วงศ์ Graphidaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวอมเทาถึงน�้ำตาลอมเขียว

ผิวเรียบถึงแตกร้าวเล็กน้อย ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปไข่กลมถึงรูปเส้นยาว

แบบเดี่ยว ยกตัวเหนือแทลลัสชัดเจน กระจายทั่วไป

หน้าจานเปิด สร้างฝุ่นผงสีน�้ำตาลปกคลุม

เอกซิเปิล สีน�้ำตาล สมบูรณ์

แอสคัส รูปกระบอง ใส

แอสโคสปอร์ ทรงรีใส แบบมูริฟอร์ม

ขนาด 30-50 x 9-12 ไมโครเมตร ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:415

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

411

Graphis longispora D.D. Awasthi & S.R. Singh

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวอมเทาถึงเทาอมเขียว

ผิวเรียบถึงขรุขระเล็กน้อย ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย สีขาว รูปเส้น เรียวยาว

แบบเส้นเดี่ยวถึงแตกแขนง ยกตัวเหนือผิวแทลลัส

หน้าจานปิด มีฝุ่นผงสีขาวปกคลุม

เอกซิเปิล สีด�ำด้านข้าง ไม่สมบูรณ์

แอสคัส รูปกระบอง ใส

แอสโคสปอร์ ใส มีผนังกั้นตามขวาง 10-16 ผนังกั้น

ขนาด 40-75 x 8-12 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Graphidaceae

ลักษณะทั่วไป

P:416

LICHEN

412 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Graphis rhizicola (Fée) Lücking & Chaves

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

วงศ์ Graphidaceae แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวอมเทาหรือสีขาวครีม

ผิวเรียบ ไม่แตกร้าว กึ่งสะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปเส้น สีด�ำ แบบเส้น

เดี่ยวถึงแตกกิ่งเล็กน้อย ยกตัวเหนือผิวแทลลัส

หน้าจานปิด พบฝุ่นผงสีขาวเล็กน้อย

เอกซิเปิล ไม่เป็นริ้ว สีด�ำ

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ไม่พบ

ลักษณะทั่วไป

P:417

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

413

Ocellularia terebrata (Ach.) Müll. Arg.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวอมเทาถึงสีเทาอมเขียว

ผิวเรียบ แตกร้าว ไม่เป็นมันเงา

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปกลมถึงรูปถ้วย

ช่องเปิดขนาด 0.4 มิลลิเมตร ฝังจมในแทลลัส

และชั้นของเนื้อไม้มีฝุ่นผงสีขาวปกคลุมหน้าจาน

แอสคัส รูปกระบอง ใส

แอสโคสปอร์ รูปทรงรีแบบผนังกั้นตามขวาง 7-12

ผนังกั้น ขนาด 17-32 x 7-10 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Graphidaceae

ลักษณะทั่วไป

P:418

LICHEN

414 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Thelotrema pachysporum Nyl.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเต็งรัง

วงศ์ Graphidaceae แทลลัส แบบครัสโตส สีขาวอมเทาถึงสีขาวอมเหลือง

ผิวเรียบ ไม่แตกร้าว สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปถ้วย ฝังในแทลลัส

ช่องเปิดขนาด 0.7 มิลลิเมตร หน้าจานมีฝุ่นผงสีเทา

ปกคลุม

เอกซิเปิล 2 ชั้น แยกกันอย่างชัดเจน

แอสคัส รูปทรงกระบอง

แอสโคสปอร์ รูปทรงยาวรีสีน�้ำตาลหรือสีเทา

มีผนังกั้นตามขวาง จ�ำนวน 8-18 ผนังกั้น

ขนาด 30-75 x 10-15 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:419

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

415

Lecanora achroa Nyl.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเหลืองถึงสีเขียวเข้ม

ผิวขรุขระ หลุดล่อนเป็นผง ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย หน้าจานสีเหลืองอม

ส้มถึงเหลืองอมน�้ำตาลอ่อน รูปกลม หน้าจานแบน

ราบถึงโค้งนูน

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ รูปทรงรีหรือคล้ายเมล็ดถั่ว ใส

ไม่มีผนังกั้น ขนาด 12-15 x 6-8 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในแอสคัส

วงศ์ Lecanoraceae

ลักษณะทั่วไป

P:420

LICHEN

416 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Letrouitia domingensis (Pers.) Hafellner & Bellem.

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเหลืองถึงสีเขียวอม

เทา ผิวเป็นปุ่มนูนเล็กน้อย ไม่แตกร้าว

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปจาน สีแดงถึงแดง

อมน�้ำตาล ขอบสีเหลืองอมส้ม ผิวหน้าจานแบนราบ

ถึงโค้งนูนเล็กน้อย แบบเดี่ยวหรือกลุ่ม 1-2 อัน ยกตัว

เหนือแทลลัสชัดเจน

เอกซิเปิล สีเหลืองอ่อน ไม่มีชั้นสาหร่าย

แอสคัส รูปทรงกระบอง

แอสโคสปอร์ รูปทรงรีใส แบบมีผนังกั้นตามขวาง

6-10 ผนังกั้น ขนาด 60-90 x 16-22 ไมโครเมตร

วงศ์ Letrouitiaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:421

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

417

Letrouitia leprolyta (Nyl.) Hafellner

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเหลือง ส่วนใหญ่ผิว

เรียบถึงขรุขระเล็กน้อย แตกร้าว และแตกตามรอยผิว

เปลือกไม้

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปถ้วย หน้าจานสีส้ม

แก่ถึงน�้ำตาลเข้ม ขอบสีส้ม ขนาด 0.5-0.8 มิลลิเมตร

ส่วนใหญ่เกิดเดี่ยวๆ โดยยกตัวเหนือผิวแทลลัส

เอกซิเปิล สีเหลืองอ่อน

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก ใส แบบมีผนังกั้นตาม

ขวาง 3-5 ผนังกั้น ขนาด 20.0-46.0 x 7.0-14.0

ไมโครเมตร จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Letrouitiaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:422

LICHEN

418 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Letrouitia transgressa (Malme) Hafellner & Bellem.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

วงศ์ Letrouitiaceae แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเหลืองถึงสีเขียวเข้ม

ส่วนใหญ่ผิวเรียบถึงขรุขระ แตกร้าว และแตกตามรอย

ผิวเปลือกไม้

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย หน้าจานสีส้มแก่ถึง

น�้ำตาลเข้ม ขอบสีเหลืองอมส้ม ไม่สมมาตร ส่วนใหญ่

เกิดเดี่ยวๆ ยกตัวเหนือผิวแทลลัส

เอกซิเปิล สีเหลืองอ่อน ไม่มีชั้นสาหร่าย

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ แบบมีผนังกั้นตามขวางถึงกึ่งมูริฟอร์ม

ใส ขนาด 25-60 x 11-20 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:423

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

419

Malmidea aurigera (Fée) Kalb, Rivas Plata & Lumbsch

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอ่อนถึงสีเขียวเข้มอมเทา

เป็นปุ่มปม เปิดออกเห็นเส้นใยเมดัลลา ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปถ้วยกลมมน

หน้าจานสีน�้ำตาลอ่อนถึงน�้ำตาลเข้ม ขอบสีขาวอม

น�้ำตาล หน้าจานแบนราบถึงโค้งนูน

เอกซิเปิล ใส ไม่พบชั้นของสาหร่าย

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงรีใส ไม่พบผนังกั้นตามขวาง

ขนาด 9-13 x 6-9 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในแอสคัส

วงศ์ Malmideaceae

ลักษณะทั่วไป

P:424

LICHEN

420 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Malmidea bakeri (Vain.) Kalb, Rivas Plata & Lumbsch

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

วงศ์ Malmideaceae แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเทาถึงสีเขียวอม

น�้ำตาลอ่อน เป็นปุ่มปม ปลายปุ่มมักเปิดออกเห็นชั้น

เมดัลลา ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปถ้วยกลมมน

สีน�้ำตาลถึงน�้ำตาลเข้ม ขอบหยักสูงสีขาวอมน�้ำตาล

โผล่ขึ้นเหนือแทลลัส

เอกซิเปิล ใส ไม่พบชั้นของสาหร่าย มีชั้นเมดัลลา

สีขาวแทรกอยู่ภายใน

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงรีใส ไม่พบผนังกั้นตามขวาง

ขนาด 11-16 x 5-10 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:425

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

421

Malmidea inflata Kalb

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเทาถึงสีเขียวเข้ม

ผิวเป็นปุ่มปม ไม่สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปถ้วย สีน�้ำตาลอม

แดงถึงสีน�้ำตาลเข้มอมด�ำ ขอบสีเดียวกับแทลลัส

หน้าจานแบนราบหรือโค้งนูนเมื่อแก่ลักษณะยกตัว

เหนือแทลลัส เกิดแบบเดี่ยวถึงชิดติดกัน

เอกซิเปิล สีด�ำ ไม่พบสาหร่ายที่ขอบ มีเส้นใยเมดัลลา

แทรกตัวเป็นจุดๆ

แอสคัส ใส รูปทรงกระบอง

แอสโคสปอร์ รูปทรงรีใส ไม่มีผนังกั้นตามขวาง

ขนาด 10-17 x 6-8 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Malmideaceae

ลักษณะทั่วไป

P:426

LICHEN

422 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Malmidea piae (Kalb) Kalb

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

วงศ์ Malmideaceae แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอ่อนอมเหลืองถึงสีเขียว

อมเทา ผิวขรุขระ เป็นปุ่มปม ปลายปุ่มมักเปิดออก

เห็นชั้นเมดัลลา

แอสโคมาตา แบบแอโพทีเซีย รูปถ้วยกลมมน

สีน�้ำตาลถึงน�้ำตาลอมแดง ขอบสีขาวถึงสีครีม

เกิดแบบเดี่ยวหรือชิดกัน

เอกซิเปิล ใส ไม่พบสาหร่ายที่ขอบ มีเส้นใยเมดัลลา

สีขาวแทรกอยู่เป็นจุดๆ

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงรีใส ไม่พบผนังกั้นตามขวาง

ขนาด 16-22 x 9-12 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:427

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

423

Parmotrema praesorediosum (Nyl.) Hale

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบโฟลิโอส สีเขียวอ่อนถึงสีเขียวอมเทา

โลบ ขนาดใหญ่ผิวเรียบจนถึงยับย่น แผ่กว้าง

ตอนปลาย ขนาด 0.5-1.0 เซนติเมตร

ซอรีเดีย สีขาว หนาแน่นบริเวณขอบโลบ ไม่พบหรือ

พบได้น้อยบริเวณกลางแทลลัส

ไรซีน สีด�ำ เป็นเส้นเดี่ยว

แอสโคมาตา ไม่พบ

วงศ์ Parmeliaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเต็งรัง

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:428

LICHEN

424 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Parmotrema tinctorum (Despr. ex Nyl.) Hale

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบโฟลิโอส สีเขียวจนถึงสีเขียวอมเทา

เรียบจนถึงยับย่น ไม่เป็นเงามัน เจริญแผ่เป็นแนวรัศมี

เกาะกับแหล่งอาศัยแบบหลวมๆ โคโลนีกว้าง 3.2-

23.0 เซนติเมตร หนา 76.0-190.0 ไมโครเมตร

โลบ ขอบซ้อนกัน แผ่กว้างตอนปลาย ขนาด 0.02-1.5

เซนติเมตร

ไอซิเดีย ทรงกระบอก หนาแน่นตอนกลางแทลลัส

ไม่พบหรือพบได้น้อยบริเวณปลายโลบ

ไรซีน เป็นเส้นเดี่ยว สีด�ำ

แอสโคมาตา ไม่พบ

วงศ์ Parmeliaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:429

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

425

Relicinopsis rahengensis (Vain.) Elix & Verdon

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบโฟลิโอส สีเขียวอมเหลือง ขนาดเล็ก

ผิวแทลลัสเรียบ จนถึงเป็นรอยแตกตามขวางโลบ

โลบ แบนราบจนถึงโค้งนูน เป็นมันวาว เกาะติดแน่น

กับที่อาศัย โลบเรียวเล็ก แคบ เติบโตอิสระ หรือใน

แนวรัศมีขนาด 1-2 มิลลิเมตร ปลายตัด ขอบเรียบ

ไอซิเดีย ทรงกระบอก กระจายทั่วแทลลัส

ไรซีน เป็นเส้นเดี่ยว สีด�ำ เป็นมันวาว พบกระจายหรือ

เป็นกลุ่ม

แอสโคมาตา ไม่พบ

วงศ์ Parmeliaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:430

LICHEN

426 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Dirinaria applanata (Fée) D.D. Awasthi

ลักษณะทั่วไป

วงศ์ Physciaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบโฟลิโอส สีเทาถึงเทาอมเหลือง และ

เทาอมเขียว ผิวแทลลัสปกคลุมด้วยผงเกล็ดสีขาวของ

แคลเซียมออกซาเลท สะท้อนแสง ยึดเกาะแน่นกับ

พื้นที่อาศัย

โลบ ขนาดเล็ก ยกตัวโค้งนูนซ้อนกันแน่น ปลายโลบ

แผ่ออกคล้ายพัด

ซอรีเดีย สีขาว หนาแน่นบริเวณกลางแทลลัส ไม่พบ

หรือพบได้น้อยบริเวณขอบโลบ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:431

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

427

Pyxine meissneriana Nyl.

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบโฟลิโอส สีขาวอมเทา เกาะติดกับที่

อาศัยด้วยไรซีนแบบไม่แนบแน่น

โลบ กว้าง 0.5-1.2 มิลลิเมตร เจริญเป็นเส้นตรง

แตกกิ่งก้าน ปกคลุมด้วยฝุ่นผงสีขาวของแคลเซียมออกซาเลท

ซอรีเดีย สีขาวถึงสีเหลือง แบบตุ่มนูนบริเวณขอบโลบ

วงศ์ Physciaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:432

LICHEN

428 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Porina eminentior (Nyl.) P.M. McCarthy

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเทา เป็นเงามัน

ผิวเรียบจนถึงยับย่นเล็กน้อย

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย สีด�ำ ขนาด 0.43-0.55

มิลลิเมตร ยกตัวหรือกึ่งฝังตัวใต้ผิวแทลลัส ส่วนใหญ่

เจริญแบบเดี่ยว บางครั้งอาจอยู่เป็นกลุ่ม ผนังสีน�้ำตาล

แดง บริเวณรอบช่องเปิดสีด�ำ

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ รูปทรงรีใส แบบมูริฟอร์ม

ขนาด 50.0-90.0 x 13.0-30 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในแอสคัส

วงศ์ Porinaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:433

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

429

Porina glabra (A. Massal.) Zahlbr.

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเทา ผิวเรียบจนถึง

ยับย่นเล็กน้อย เป็นเงามัน

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย สีด�ำ ขนาด 0.43-0.55

มิลลิเมตร ยกตัวหรือฝังตัวใต้แทลลัส เจริญแบบเดี่ยว

บางครั้งอยู่เป็นกลุ่ม ผนังสีน�้ำตาลแดง บริเวณรอบ

ช่องเปิดสีด�ำ

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระสวย ใส แบบมีผนังกั้นตาม

ขวาง 5-6 ผนังกั้น ขนาด 34.0-46.0 x 4.0-7.0

ไมโครเมตร จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Porinaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:434

LICHEN

430 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Anthracothecium cristatellum Nagarkar & Patw.

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวปนเหลือง ส่วนใหญ่

ผิวเรียบ

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย ขนาดใหญ่สีด�ำ

ฐานกว้าง ขนาด 10.0-20.0 มิลลิเมตร ยกตัวเหนือผิว

แทลลัสชัดเจน ส่วนใหญ่เจริญแบบเดี่ยว

เอกซิเปิล สีด�ำ ชั้นไฮมีเนียม ใส ไม่สร้างหยดน�้ำมัน

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก สีน�้ำตาลถึงน�้ำตาลเข้ม

แบบมูริฟอร์ม ขนาด 40-50 x 15-20 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Pyrenulaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:435

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

431

Pyrenula anomala (Ach.) Vain.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเหลือง ส่วนใหญ่ วงศ์ Pyrenulaceae

ผิวเรียบ สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย สีด�ำ ฝังตัวใต้ผิวแทลลัส

ส่วนใหญ่เจริญรวมกันเป็นกลุ่มในเนื้อเยื่อสโตรมา

แผ่กระจาย ขนาด 0.5-3.5 x 0.5-2.5 มิลลิเมตร

ยกตัวเหนือแทลลัสเล็กน้อย

เอกซิเปิล สีด�ำ

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก สีน�้ำตาล แบบผนังกั้น

ตามขวาง 2-3 ผนังกั้น ขนาด 14.0-20.0 x 6.0-8.5

ไมโครเมตร จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:436

LICHEN

432 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Pyrenula kurzii Ajay Singh & Upreti

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวถึงนํ้าตาลอมเหลือง

ส่วนใหญ่ผิวเรียบ สะท้อนแสง

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย ทรงครึ่งวงกลม สีด�ำ

ขนาด 0.6-1.0 มิลลิเมตร ยกตัวเหนือแทลลัส

ส่วนใหญ่เจริญรวมกันเป็นกลุ่ม

เอกซิเปิล สีด�ำ

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก สีนํ้าตาล แบบผนังกั้น

ตามขวาง 2-3 ผนังกั้น ขนาด 30.0-50.0 x 13.0-18.0

ไมโครเมตร จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

ปลายแอสโคสปอร์นูนเล็กน้อย เซลล์รูปหกเหลี่ยม

วงศ์ Pyrenulaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:437

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

433

Laurera benguelensis (Müll. Arg.) Zahlbr.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวอมเหลือง ผิวเรียบถึง วงศ์ Trypetheliaceae

ขรุขระ

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย ทรงครึ่งวงกลม สีด�ำ

ขนาด 0.3-0.6 มิลลิเมตร ฝังตัวอยู่ในเนื้อเยื่อสโตรมา

สีเหลืองส้ม โดยยกตัวโดดเด่นเหนือผิวแทลลัส เจริญ

เป็นระเบียบเรียงเป็นแถวยาวหรือกระจายเดี่ยวๆ อาจ

พบฝุ่นผงสีเหลืองส้มกระจายบนผิวแทลลัสจ�ำนวนมาก

เอกซิเปิล สีด�ำ สมบูรณ์

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก ใส แบบมูริฟอร์ม

ขนาด 55.0-75.0 x 15.0-17.0 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:438

LICHEN

434 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Laurera madreporiformis (Eschw.) Riddle

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเหลืองอมเขียว ผิวเรียบถึง

ขรุขระ

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย ทรงครึ่งวงกลม สีด�ำ

ขนาด 0.3-0.7 มิลลิเมตร ฝังตัวอยู่ในเนื้อเยื่อสโตรมา

สีด�ำ ขนาด 0.5-1.0 มิลลิเมตร โดยยกตัวโดดเด่น

เหนือผิวแทลลัส เจริญเป็นกลุ่ม

เอกซิเปิล สีด�ำ สมบูรณ์

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก ใส แบบมูริฟอร์ม

ขนาด 55.0-75.0 x 15.0-17.0 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Trypetheliaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:439

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

LICHEN

435

Trypethelium eluteriae Spreng.

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวมะกอกถึงเทาด�ำอมเขียว วงศ์ Trypetheliaceae

ผิวเรียบถึงขรุขระ

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย ทรงครึ่งวงกลม สีด�ำ

ขนาด 0.3-0.6 มิลลิเมตร ฝังตัวในเนื้อเยื่อสโตรมา

สีเหลือง ขนาด 0.5-1.0 มิลลิเมตร โดยยกตัวโดดเด่น

เหนือผิวแทลลัส เจริญเป็นระเบียบเรียงเป็นแถวยาว

อาจพบฝุ่นสีเหลืองเข้มกระจายบนผิวแทลลัส

เอกซิเปิล สีด�ำ สมบูรณ์

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก ใส มีผนังกั้นตามขวาง

11-15 ผนังกั้น ขนาด 45.0-75.0 x 15.0-17.0

ไมโครเมตร จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

ลักษณะทั่วไป

P:440

LICHEN

436 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Trypethelium nigroporum Makhija & Patw.

ลักษณะทั่วไป

แทลลัส แบบครัสโตส สีเขียวมะกอกถึงเขียวอมเหลือง

ส่วนใหญ่ผิวเรียบ

แอสโคมาตา แบบเพอริทีเซีย ทรงครึ่งวงกลม สี

ด�ำ ขนาด 0.3-0.5 มิลลิเมตร ฝังตัวอยู่ในเนื้อเยื่อสโต

รมาสีด�ำ ขนาด 0.5-0.7 มิลลิเมตร โดยยกตัวโดดเด่น

เหนือผิวแทลลัส เจริญเป็นกลุ่มหรืออยู่เดี่ยวๆ

เอกซิเปิล สีด�ำ สมบูรณ์

แอสคัส รูปกระบอง

แอสโคสปอร์ ทรงกระบอก ใส แบบมูริฟอร์ม

ขนาด 32.0-40.0 x 8.0-10.0 ไมโครเมตร

จ�ำนวน 8 แอสโคสปอร์ในหนึ่งแอสคัส

วงศ์ Trypetheliaceae

สภาพแวดล้อม ป่าเบญจพรรณ

ที่อยู่อาศัย บนเปลือกไม้

P:442

WISDOM

438 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความส�ำคัญ และมีคุณค่าต่อวิถีการด�ำรงชีวิต

และความอยู่รอดของบุคคลในท้องถิ่นนั้นๆ มีความส�ำคัญในฐานะที่เป็นฐาน

วัฒนธรรม หมายความว่า ชนใดที่ด�ำรงความเป็นกลุ่มหรือความเป็นชนชาติ

หรือประเทศมาเป็นเวลานานต้องมีภูมิปัญญาของกลุ่มหรือของชนชาติของ

ประเทศนั้นๆ ที่รวมเรียกว่าภูมิปัญญาท้องถิ่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่นจึงเป็นความรู้สะสมมาจากประสบการณ์ชีวิต

สังคม และในสภาพสิ่งแวดล้อมที่ต่างกันโดยมีการถ่ายทอดสืบต่อกันมา

เป็นวัฒนธรรม และมีความส�ำคัญในการเชื่อมโยงหรือบูรณาการระหว่าง

สิ่งแวดล้อม สังคม และชีวิต

ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom)

ความรู้ ความคิด ความเชื่อ

ทักษะ หรือพื้นเพรากฐานความรู้

ของชาวบ้าน ที่ได้สั่งสมสืบทอด

และปฏิบัติมาตั้งแต่อดีตจนถึง

ปัจจุบัน มีความสัมพันธ์ระหว่าง

คนกับคน คนกับธรรมชาติและ

คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ

โดยผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์และการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ

ตลอดจนสถาบันต่างๆ ในสังคม สามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างสมสมัย

ดังนั้นภูมิปัญญาท้องถิ่นจึงเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่าง

เข้าด้วยกัน ทั้งคนกับธรรมชาติวิถีชีวิต สังคม หรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว

ความส�ำคัญ

P:443

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

439

ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 6 สาขา

1. สาขาคติความเชื่อหลักปฏิบัติ

2. สาขาประเพณีพิธีกรรม

3. สาขาการด�ำรงชีพ

และโภชนาการพื้นบ้าน

4. สาขาการดูแลสุขภาพพื้นบ้าน

5. สาขาเทคโนโลยีพื้นบ้าน

6. สาขาบริหารจัดการความหลากหลาย

ทางชีวภาพ

1. สอบถามภูมิปัญญาท้องถิ่นจากผู้น�ำชุมชน

เพื่อเข้าไปสัมภาษณ์ผู้รู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ละสาขา

2. ใช้วิธีสัมภาษณ์และสอบถาม พร้อมทั้งจดบันทึก ถ่ายภาพนิ่งและถ่าย

วีดีโอ เพื่อช่วยเก็บข้อมูล

3. น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และจัดเก็บในระบบฐานข้อมูล เพื่อใช้เป็น

แนวทางในการพัฒนาและใช้ประโยชน์ต่อไป

การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น

P:444

WISDOM

440 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ต้นทุนของแผ่นดิน

ดิน...น�้ำ...พืช...สัตว์...จุลินทรีย์เป็นองค์ประกอบหลักของป่าที่เราเรียกว่า

ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสมบัติที่มีอยู่กับแผ่นดินที่ธรรมชาติสร้างให้โดยที่เราไม่

ต้องสร้างหรือท�ำขึ้นใหม่แต่อย่างใด เราต่างได้รับและใช้ประโยชน์จากทรัพยากร

เหล่านี้ทั้งทางตรงและทางอ้อม

ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวาจังหวัดอุตรดิตถ์เป็นป่าที่

อุดมสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพแม้ว่าในอดีตเคยถูกสัมปทาน

ท�ำไม้ก็ตาม บ้านห้วยเจริญและบ้านน�้ำต๊ะเป็นชุมชนที่อาศัยอยู่รอบป่าชาวบ้าน

ต่างเข้าไปใช้ประโยชน์จากป่าเพื่อเป็นปัจจัยสี่ในการด�ำรงชีวิต และพัฒนาเป็น

ผลิตภัณฑ์ต่างๆ สร้างเป็นรายได้เสริมให้กับครัวเรือนได้อีกทางหนึ่ง องค์ความรู้

หรือทักษะเหล่านี้ต่างได้รับการถ่ายทอดจากปราชญ์หรือผู้รู้ของชุมชนจากรุ่นสู่

รุ่น จนเป็นภูมิปัญญาที่เหมาะสมกับท้องถิ่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากความหลาก

หลายทางชีวภาพของทรัพยากรในพื้นที่ ได้แก่การจักสานเครื่องมือเครื่องใช้

จากไม้ไผ่ยารักษาโรคจากสมุนไพรในป่า แสดงเห็นถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน

ระหว่างชุมชนกับป่า

ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือองค์ความรู้เหล่านี้มีคุณค่าในเชิงสังคมและ

วัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่งสามารถน�ำมาพัฒนาต่อยอดให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ

ทั้งนี้เราต้องค�ำนึงถึงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ให้เกิดความยั่งยืน เพื่อความ

คงอยู่ของทรัพยากร ที่เป็นต้นทุนของแผ่นดินไม่ให้หมดไป

P:445

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

441

ท�ำเนียบผู้รู้

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชื่อ - นามสกุล อายุ (ปี) ที่อยู่

สาขาประเพณีพิธีกรรม

หมอส่งเคราะห์ นายเถิง ขันรินทร์ 61 บ้านน�้ำต๊ะ 24 ม.8

สาขาการดูแลสุขภาพพื้นบ้าน

ผู้รู้ด้านสมุนไพร นายมา น้อยขัน 76 บ้านน�้ำต๊ะ ม.8

หมอเป่า นายปทุม เป็นแก้ว 60 บ้านน�้ำต๊ะ 147 ม.8

สาขาเทคโนโลยีพื้นบ้าน

หวดนึ่งข้าว นางทองวรรณ ใจพิยะ 78 บ้านห้วยเจริญ 35 ม.8

สานทางมะพร้าว นางวิจิตรา ล�ำใย 51 บ้านห้วยเจริญ ม.8

ข้อง นางพิน จันทร์ฤทธิ์ 60 บ้านห้วยเจริญ 122 ม.8

เข่งปลา นางชวนชม ใจพิยะ 70 บ้านห้วยเจริญ 57 ม.8

จักสานสุ่มไก่ นายบุญ บัวเข็ม 76 บ้านห้วยเจริญ 81/1 ม.8

ไม้กวาดดอกหญ้า

เสื่อล�ำแพน

นางสังวาลย์วงศ์ปัน 44 บ้านน�้ำต๊ะ 172 ม.8

กระติบข้าวเหนียว นายสุข ขันเชียง 72 บ้านน�้ำต๊ะ 17 ม.8

ผู้รู้จักสาน นายเหรียญ ขันรินทร์ 67 บ้านน�้ำต๊ะ 19 ม.8

P:446

WISDOM

442 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

การส่งเคราะห์ เป็นพิธีกรรมที่สืบทอดจากอดีต ผู้ที่ได้รับสืบทอด

จะต้องเป็นบุรุษเพศ อาจจะสืบทอดจากปู่ พ่อ หรือพ่อตา

การส่งเคราะห์เป็นการท�ำพิธีเพื่อส่งสิ่งไม่ดีออกไปจากตัวเป็นความเชื่อ

ของคนในชุมชนตั้งแต่อดีต การท�ำสะเดาะเคราะห์จะนับจากอายุรวมกับ

ราศีเดือนเกิดของแต่ละคน หรือบางคนที่มีลางบอกเหตุที่ไม่เป็นมงคล จึงได้มาหา

หมอส่งเคราะห์ให้ช่วยท�ำพิธี

เครื่องเซ่น

ดอกไม้ ธูป เทียน แกงส้มแกงหวาน หมาก ข้าวสาร

แต่ละพิธีอาจเตรียมเครื่องเซ่นที่แตกต่างกันไป บางพิธีนอกจากเครื่องเซ่นหลัก จะเพิ่ม

ไก่หรือหมูรวมไปด้วย

หมอส่งเคราะห์

P:447

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

443

การท�ำพิธีแต่ละครั้ง

จะต้องเตรียมน�้ำมนต์เพื่อใช้ในการประกอบพิธี

น�้ำมนต์ต้องใส่ฝักส้มป่อยและมะกรูด รวมทั้งมี

การท่องคาถาตามบทที่จดบันทึกไว้เป็นภาษาล้านนา

ซึ่งน้อยคนจะสามารถอ่านได้หมอส่งเคราะห์ได้จดบันทึกไว้

เพื่อใช้ในการท�ำพิธีในการท�ำพิธีส่งเคราะห์จะท�ำในตอนเช้า

ก่อนเที่ยงวัน เมื่อเตรียมของเสร็จมีการท่องคาถาแล้วจึงน�ำ

น�้ำมนต์ที่ท�ำพิธีมาอาบผู้ที่ต้องการส่งเคราะห์เป็นอันเสร็จสิ้น

หมอส่งเคราะห์เป็นผู้ที่สามารถช่วยยึดเหนี่ยวจิตใจ

ให้กับคนในชุมชนให้เกิดความสบายใจ การส่งเคราะห์จึงเป็น

พิธีกรรมที่เป็นความเชื่อในชุมชนหากไม่มีผู้สืบทอดพิธีกรรมนี้

อาจสูญหายไปจากชุมชน

รวมถึงผู้ที่สามารถอ่าน

ภาษาล้านนาได้ก็จะลด

น้อยลงอีกด้วย

ลักษณะเด่น พิธีกรรมที่ได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษ

รวมทั้งสืบทอดภาษาล้านนาที่ใช้ในการประกอบพิธีเป็นการอนุรักษ์

พิธีกรรมจากอดีต เพื่อส่งต่อให้แก่รุ่นลูกรุ่นหลาน

เกี่ยวข้องกับความหลากหลาย

ทางชีวภาพ คือ ส้มป่อย และมะกรูด

ปราชญ์ชุมชน

นายเถิง ขันรินทร์

P:448

WISDOM

444 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

อุปกรณ์ในการท�ำครัวนั้น

มีหลากหลายอย่างแล้วแต่

หน้าที่ไม่ว่าจะเป็นอุ่น

หุง ต้ม นึ่ง ล้วนมีอุปกรณ์

ที่ใช้แตกต่างกันไป สิ่งที่

เกือบทุกครัวเรือนต้องมี

คือ หวดนึ่งข้าว

หวดนึ่งข้าว

P:449

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

445

หวดนึ่งข้าวเป็นอุปกรณ์

ที่มีทุกครัวเรือนในชุมชน เพราะเมื่อชาวบ้านเข้าไป

ท�ำสวนท�ำไร่มักจะนึ่งข้าวเหนียวและต�ำน�้ำพริกน�ำไปกินเป็น

มื้อกลางวัน ท�ำให้อิ่มท้องได้ดี

หวดนึ่งข้าวเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบอาหารส�ำหรับนึ่งข้าวเหนียว

ผู้รู้เริ่มเรียนรู้การสานจากการดูตัวอย่างของหวดนึ่งข้าวที่ซื้อมาใช้ในครัวเรือน

ปัจจุบันสานหวดนึ่งข้าวเป็นเวลา 3 ปีโดยใน 1 วัน สามารถสานได้มากที่สุด

จ�ำนวน 5 หวด แต่เนื่องจากผู้รู้มีอายุมากขึ้นจึงสามารถสานได้เพียง 2-3 หวดต่อ 1

วัน โดยจะมีพ่อค้ามารับซื้อที่บ้าน สานขายอาทิตย์ละประมาณ 20 หวด ไผ่ที่น�ำมา

ใช้คือ ไผ่ข้าวหลาม สามารถตัดได้จากป่า และตามพื้นที่ท�ำการเกษตรกรรม ในการ

คัดเลือกไผ่ที่น�ำมาสาน จะเลือกไผ่ที่มีอายุ1-2 ปีเป็นไผ่ที่เหมาะต่อการน�ำมาตอก

เพื่อใช้สานหวดนึ่งข้าว

หวดนึ่งข้าวเป็นเครื่องจักสานอย่างหนึ่งที่ท�ำจากวัสดุธรรมชาติที่ไม่ก่อ

ผลเสียให้กับสภาพแวดล้อมและมนุษย์ควรมีการสืบทอดให้คนในชุมชน

ได้รู้จักวิธีการสาน เพื่อใช้ในชุมชนและสามารถสร้างรายได้เสริม

ให้แก่ครัวเรือนและชุมชน

ลักษณะเด่น

การใช้วัสดุธรรมชาติสร้าง

ผลิตภัณฑ์ใช้เองในครัวเรือน

และสามารถสร้างรายได้ให้

แก่ครัวเรือน รวมทั้งสอนให้

กับผู้ที่สนใจในการสานหวดนึ่งข้าว

เกี่ยวข้องกับความหลากหลาย

ทางชีวภาพ คือ ไผ่ข้าวหลาม

ปราชญ์ชุมชน

นางทองวรรณ ใจพิยะ

P:450

WISDOM

446 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

สานทางมะพร้าว

P:451

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

447

งานบุญต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น

งานแต่งงาน งานท�ำบุญบ้าน งานขึ้นบ้านใหม่

ล้วนเป็นงานที่ต้องมีการตกแต่งสถานที่ให้สวยงาม การใช้วัสดุ

ธรรมชาติมาตกแต่งงานอาจเป็นดอกไม้ ใบไม้ แต่หลายคนอาจคิดไม่ถึง

ว่าทางมะพร้าวก็เป็นอีกวัสดุหนึ่งที่น่าสนใจในการน�ำมาตกแต่งงานบุญต่างๆ

ทางมะพร้าวในอดีตมีการใช้ตกแต่งในงานบุญต่างๆ โดยไม่มีการสานที่เป็น

ลวดลายมากนัก อาจท�ำเป็นซุ้มหลายๆ ชั้นก็สามารถสร้างความสวยงามได้แล้ว

แต่มีผู้รู้ท่านหนึ่งได้ดูตัวอย่างจากงานบุญต่างๆ แล้วน�ำมาทดลองสานเอง

เป็นลวดลายที่สวยงาม จนสามารถสานเป็นกระเปราะที่คล้ายแจกันส�ำหรับใส่

ดอกไม้ผู้รู้เรียกว่า แจกัน และการน�ำทางมะพร้าวมาสานเป็น

ตาข่ายสลับกันจากโคนจนถึงปลายยอดของทางมะพร้าว

ผู้รู้เรียกว่า เกล็ดมังกร ใช้เพื่อตกแต่งงานเทศกาล

และงานบุญต่างๆ ท�ำให้บุคคลภายนอกชุมชนเห็นและ

เป็นที่ชื่นชอบ การสานทางมะพร้าวจึงสร้างรายได้ให้อีก

ทางหนึ่ง นอกจากนั้นผู้รู้ยังได้ชักชวนคนในชุมชนมา

ร่วมกันจักสานจนเป็นที่รู้จักของคนในชุมชนและ

นอกชุมชนอีกด้วย

ลักษณะเด่น

การใช้วัสดุธรรมชาติสร้างสิ่งประดิษฐ์เพื่อใช้ในงานบุญของหมู่บ้าน

พร้อมทั้งสร้างรายได้เสริมให้แก่ครัวเรือนและชุมชน

เกี่ยวข้องกับความหลากหลาย

ทางชีวภาพ คือ มะพร้าว

ปราชญ์ชุมชน

นางวิจิตรา ล�ำใย

สานทางมะพร้าว

P:452

WISDOM

448 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ข้อง

การหาอาหารจากบึง บ่อ หรือล�ำห้วย สัตว์ที่ได้

คงไม่พ้นต้องเป็นปลา ปูหอย อึ่ง เขียดอย่าง

แน่นอน เมื่อจับแล้วจะต้องมีอุปกรณ์ใส่

P:453

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

449

ข้อง เป็นอุปกรณ์

ที่ใช้ใส่ปลา อึ่ง เขียด รูปร่างคล้ายหม้อดินและมีฝาปิด

เรียกว่า งาแซง ข้องจะมีหลายขนาดขึ้นอยู่กับสัตว์ที่จับมาบริโภค

การสานข้องผู้รู้ได้รับสืบทอดจากคุณยาย และยังคงสานมาจนถึงปัจจุบัน

ไผ่ที่ใช้สาน คือ ไผ่ไร่ และไผ่สีสุก

สาเหตุที่ใช้ไผ่ทั้งสองชนิดนี้เนื่องจากไผ่ไร่มีความเหนียวและหาได้ง่ายบริเวณ

ป่ารอบชุมชน ไผ่สีสุกหายากในพื้นที่ป่าจึงมีการน�ำมาปลูกในสวนท�ำให้สามารถตัด

มาสานได้ง่าย ใน 1 วัน สามารถสานได้1 อัน การสานข้องเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น

ในด้านการจักสานและเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาในการด�ำรงชีวิตอีกด้วย

ผู้รู้มีการเก็บตัวอย่างการสานข้อง

เพื่อถ่ายทอดต่อไปยังลูกหลาน

ท�ำให้ภูมิปัญญานี้ยังคงอยู่ในปัจจุบัน

ลักษณะเด่น

ภูมิปัญญาที่สืบทอดจากอดีต และยังคงใช้จนถึง

ปัจจุบัน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการด�ำเนินชีวิต

เกี่ยวข้องกับความ

หลากหลายทางชีวภาพ

คือ ไผ่ไร่ ไผ่สีสุก

ปราชญ์ชุมชน

นางพิน จันทร์ฤทธิ์

P:454

WISDOM

450 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เข่งปลา

P:455

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

451

เข่งปลาเป็นสิ่งที่เราเจอ

ได้ทั่วไปตามตลาดสด ที่เราเห็นคือ เข่งใส่ปลาทู

เป็นทรงกลมสามารถใช้นึ่งได้มีหลายขนาดขึ้นอยู่กับการน�ำ

ไปใช้ผู้รู้มีการศึกษาการสานโดยดูตัวอย่างเข่งปลาทูแล้วจึงทดลอง

สานจนสามารถสานได้จึงมีการสานขายสร้างรายได้เสริมนอกจากการ

ท�ำสวนท�ำไร่ ในอดีตมีการสานเข่งในชุมชนหลายครัวเรือน แต่ปัจจุบันมีเพียง

ไม่กี่ครัวเรือนที่ยังคงสานเข่งอยู่ ไผ่ที่ใช้สาน คือ ไผ่สีสุก

เนื่องจากในป่ามีไผ่สีสุกจ�ำนวนน้อย ท�ำให้ผู้รู้น�ำไผ่มาปลูกในสวนของตนเอง

เพื่อสะดวกในการน�ำมาใช้ประโยชน์ไม่กระทบต่อไผ่สีสุกที่มีในพื้นที่ป่า การสานเข่ง

ใช้ตอก 2 ขนาด คือ ขนาดกลาง ใช้สานฐาน และขนาดใหญ่ ใช้งอและมัดเป็นระยะ

ให้เข่งมีขนาดกลมเป็นขอบ การเลือกใช้ไผ่ต้องเป็นไผ่ที่มีอายุ2 ปีการสานเข่งจะ

ต้องใช้ข้อนิ้วมือในการดันตอก ตอกไม้ไผ่ค่อนข้างมีความคมท�ำให้เกิดแผลที่

นิ้วมือ ท�ำให้หลายๆ ครัวเรือนเลิกสานเข่ง ในหมู่บ้านจึงมีแต่บ้านของ

ผู้รู้ที่ยังคงสานเข่งอยู่และผู้รู้ได้ถ่ายทอดให้กับคนใน

ครอบครัวของตนเองอีกด้วย

ลักษณะเด่น

การสานที่สร้างรายได้เสริมให้ครัวเรือน

และใช้วัสดุธรรมชาติที่สามารถน�ำมา

ปลูกในพื้นที่เกษตรกรรมของตนเองได้

เกี่ยวข้องกับ

ความหลากหลายทางชีวภาพ

คือ ไผ่สีสุก

ปราชญ์ชุมชน

นางชวนชม ใจพิยะ

P:456

WISDOM

452 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

จักสานสุ่มไก

สุ่มไก่เป็นเครื่องจักสานประเภทหนึ่งที่อยู่คู่สังคมไทยมานาน ใช้ส�ำหรับ

ครอบหรือขังไก่ เป็นที่นิยมในกลุ่มผู้เลี้ยงไก่ชน เนื่องจากผู้เลี้ยงจะต้องดูแลไก่

อย่างใกล้ชิด สุ่มไก่จึงไม่เคยหายไปจากวิถีชีวิตของคนไทย แม้ว่าปัจจุบันการ

สานสุ่มไก่จะลดน้อยลง เนื่องจากผู้รู้หรือบุคคลที่สานสุ่มไก่ขายมีจ�ำนวนลด

น้อยลงเรื่อยๆ

P:457

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

453

ผู้รู้ได้ศึกษาจากตัวอย่างสุ่มไก่

แล้วทดลองจักสานด้วยตนเองจนส�ำเร็จ โดยจักสาน

มานานกว่า 40 ปีจึงมีความช�ำนาญสูง สามารถสร้างรายได้

เสริมให้กับครัวเรือนได้อย่างดีแต่ปัจจุบันเหลือผู้รู้

การจักสานสุ่มไก่เพียงคนเดียวในหมู่บ้าน หากไม่มีผู้

สืบทอดภูมิปัญญานี้อาจหายไปจากชุมชน

ไผ่ที่ใช้สานสุ่มไก่ คือ ไผ่ข้าวหลาม

เนื่องจากเป็นไผ่ที่มอดไม่กิน มีความทนทาน

มีปล้องที่ยาว และสามารถหาได้จากพื้นที่ป่าใกล้

ชุมชน ใน 1 วัน สามารถสานสุ่มไก่ได้2 สุ่ม

ใช้ไผ่ประมาณ 1 ล�ำ หากมีการดูแลที่ดีสามารถ

ใช้งานได้นาน 4-5 ปี

ลักษณะเด่น

การใช้วัสดุจากธรรมชาติ

ภายในชุมชน และสร้าง

รายได้เสริมแก่ครัวเรือน

เกี่ยวข้องกับ

ความหลากหลายทางชีวภาพ

คือ ไผ่ข้าวหลาม

ปราชญ์ชุมชน

นายบุญ บัวเข็ม

P:458

WISDOM

454 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ไม้กวาด

ดอกหญ้า

การสานไม้กวาดเป็นการใช้วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ที่ใกล้บ้านและบริเวณชายป่า

อุปกรณ์ที่ใช้ 1.ตองกง 2.ไผ่ข้าวหลาม 3.หวายหรือริบบิ้น 4.มีด

ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์

1. การเตรียมตองกง ตัดตองกงที่ก้านมีสีเขียวเข้ม เมื่อตัดแล้วน�ำไปตากแดดเป็นเวลา 3

วัน แล้วจึงเอาดอกย่อยเล็กๆ ผู้รู้จะเรียกว่า ขี้ดอก โดยการฟาดกับพื้นท�ำให้ดอกหลุดได้ง่าย

จากนั้นลิดก้านย่อยของตองกงออก เพื่อเตรียมน�ำไปจักสาน ในการลิดก้านย่อยจะต้องเก็บ

ตีนของก้านย่อยไว้

2. การเตรียมไผ่ข้าวหลาม ตัดไม้ดิบที่มีสีเขียว น�ำมาตากแดด 3 วัน เอาไม้แช่น�้ำไว้1 ด้าน

แช่น�้ำเพื่อให้ไม้นิ่ม หลังจากแช่น�้ำน�ำมาผ่าบริเวณปลายด้ามเพื่อรอส�ำหรับจักสาน เวลาตัด

ไม้ไผ่ต้องตัดตอนไผ่ยังนิ่มๆ ถ้าไผ่แก่เวลาตัดจะมีเสียงเพี๊ยงๆ ใช้ไม่ได้

3. หวาย และริบบิ้น ในอดีตใช้หวาย แต่เนื่องจากในป่ามีหวายลดลงผู้รู้จึงเปลี่ยนมาใช้

ริบบิ้นแทน ซึ่งมีความเหนียวเทียบเท่าหวาย

P:459

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

455

ขั้นตอนการจักสาน

1. น�ำไผ่ข้าวหลามมาผ่าที่ปลายด้าน

ที่แช่น�้ำ ท�ำให้ไผ่สามารถงอตัวได้เมื่อสาน

2. ตัดริบบิ้นยาวประมาณ 3 เมตร

3. เริ่มจักสานจากปลายไม้ก่อน ก�ำแรกใช้ตองกงที่สั้น ก�ำเล็กๆ พอดีมือ

ก่อนว่างบนไม้ไผ่แล้วใช้ริบบิ้นผูกทีละก�ำ เวลาดึงริบบิ้นจะต้องดึงไปข้างหน้า

ถ้าดึงข้างหลังตองกงจะหลุด ท�ำซ�้ำๆ โดยไม้กวาด 1 ด้าม จะใช้ประมาณ 24-26 ก�ำ

ถ้ามากไปหรือน้อยไปจะไม่สวยช่วงปลายด้ามจะใช้ตองกงที่ยาวมากกว่าตอนช่วงต้น

4. เมื่อสานครบตามจ�ำนวนก�ำ จะสานริบบิ้นต่อไปอีกเล็กน้อยแล้วตัดริบบิ้นออก

ตัดบริเวณโคนของตองกงที่เหลือทิ้ง แล้วตกแต่งปลายของตองกงให้เรียบร้อยเป็น

อันเสร็จ

การจักสานจะท�ำในช่วง

เดือนมกราคม-เมษายน ของทุกปี

เนื่องจากเป็นช่วงที่ตองกงมีดอก

ซึ่งเป็นช่วงที่คนในชุมชนจะ

หารายได้เสริมจากตองกง

ได้อย่างมาก

ลักษณะเด่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ใช้วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ป่าให้เกิด

ประโยชน์สูงสุด รวมทั้งสร้างรายได้เสริมให้แก่ผู้รู้และชุมชน

เกี่ยวข้องกับความหลากหลาย

ทางชีวภาพ

คือ ตองกง ไผ่ข้าวหลาม

ปราชญ์ชุมชน

นางสังวาลย์วงศ์ปัน

P:460

WISDOM

456 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เสื่อล�ำแพน

เสื่อล�ำแพน หรือเสื่อกะลา เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีมาแต่โบราณ ในอดีตมีการใช้

เสื่อล�ำแพนเป็นที่นิยมท�ำเป็นฝาบ้าน และในฤดูเกี่ยวข้าวก็ใช้เสื่อล�ำแพนรองพื้นใน

บริเวณที่ฟาดข้าวอีกด้วย การสานเสื่อล�ำแพนเป็นภูมิปัญญาเก่าแก่ที่มีมาแต่โบราณ

P:461

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

457

ลักษณะเด่น

มีมาแต่โบราณใช้ท�ำฝาบ้านมาตั้งแต่อดีตและยังมีใช้อยู่ถึงปัจจุบัน

เกี่ยวข้องกับความหลาย

ทางชีวภาพ

คือ ไผ่ข้าวหลาม และไผ่เฮี๊ยะ

ปราชญ์ชุมชน

นางสังวาลย์วงศ์ปัน

วัสดุธรรมชาติที่ใช้

คือไผ่ข้าวหลาม และไผ่เฮี๊ยะ

เป็นไผ่ที่มีปล้องยาว น�ำไผ่มาตอกเป็นเส้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าบางๆ

แล้วจึงน�ำมาสาน ลายที่สานผู้รู้จะเรียกว่า ลายสอง คือ ยกสองเส้น

ข้ามสองเส้นเวลาท�ำมุมจะเรียก ลายสาม คือ ยกสามเส้น ข้ามสามเส้น

เสื่อล�ำแพนขนาดยาว 3 เมตร กว้าง 1 เมตร จะขายในราคา 45 บาท ถ้าท�ำ

ตอกเส้นเล็กราคาจะแพงกว่าและใช้เวลาสานนานกว่า การสานเสื่อล�ำแพนเป็น

ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรอนุรักษ์เนื่องจากเป็นสิ่งที่อยู่กับคนไทยมานานหลายปี

จนกลายเป็นสิ่งที่สร้างรายได้ให้กับหลายๆ ชุมชน

P:462

WISDOM

458 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ภาชนะที่ใช้ใส่ข้าวเหนียวสุก และสามารถเก็บความร้อนได้ดี ไม่ท�ำให้

ข้าวเหนียวแฉะหรือแข็งเกินไป รูปทรงกระบอกกลม มีฝาปิดสานด้วยไม้ไผ่ หลายๆ คน

รู้จักกันดีที่เรียกว่า กระติบข้าว ในครัวเรือนทุกบ้านย่อมมีกระติบข้าวเป็นภูมิปัญญา

ท้องถิ่นที่สานเพื่อใช้ในการด�ำรงชีวิต ชาวบ้านใช้ใส่ข้าวเหนียวเวลาออกไปท�ำไร่ท�ำนา

ผู้รู้ได้รับสืบทอดจากบรรพบุรุษซึ่งเป็นบิดาของผู้รู้และมีประสบการณ์สานเป็นเวลา

ประมาณ 10 ปี

กระติบ

ข้าวเหนียว

P:463

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

459

วัสดุธรรมชาติที่ใช้

คือ ไผ่บง เนื่องจากเป็นไผ่ที่มีเนื้อเหนียวจึง

นิยมน�ำมาใช้โดยจะเลือกใช้ไผ่แก่

ขั้นตอนการสาน

1. ตอกไม้ไผ่เป็นเส้นเล็กและบาง จากนั้นน�ำตอกมา เข้าอุปกรณ์ที่เรียกว่า

มีดขูดตอก หรือ มีดรูดตอก เพื่อให้ตอกมีความเรียบไม่มีเสี้ยน

2. น�ำตอกที่ได้มาแช่น�้ำแล้วจึงน�ำไปสาน

3. การสานจะเรียกลายที่สานว่า ลายสอง(สาม) คือ ยกสอง(สาม)เส้น ข้ามสอง(สาม)

จะสานเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความยาวแล้วแต่ก�ำหนด

4. สานเชื่อมต่อเป็นวงกลม แล้วพับครึ่งตามความยาว จะได้กระติบ 1 วง จากนั้นสาน

แบบเดียวกันแต่มีขนาดที่ใหญ่กว่าเล็กน้อยเพื่อเป็นที่ครอบ

5. สานฝาปิดทั้งสองข้าง น�ำเชือกไนลอนเย็บฝากับกระติบทั้งสองด้าน เป็นอันเสร็จ

สมบูรณ์

การสานกระติบข้าวมีหลายขนาดโดยจะวัดขนาด

จากจ�ำนวนเส้นตอกที่ใช้สาน ท�ำให้กระติบมีหลายราคา

ตั้งแต่60-100 บาท โดยมีบุคคลจากหมู่บ้านอื่นๆ

มารับซื้อและสั่งท�ำ นอกจากจะสานใช้ใน

ครัวเรือนยังสามารถสร้างรายได้เสริม

อีกด้วย ลักษณะเด่น

การใช้วัสดุธรรมชาติในชุมชนและสืบทอดต่อจาก

บรรพบุรุษ มีการประยุกต์ใช้อุปกรณ์เพื่อให้สะดวกใน

การสานกระติบข้าวเหนียว

เกี่ยวข้องกับความ

หลากหลายทางชีวภาพ

คือ ไผ่บง

ปราชญ์ชุมชน

นายสุข ขันเชียง

P:464

WISDOM

460 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

การจักสานเป็นการคิดค้นสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ของคนในชุมชนนั้นๆ โดยใช้

วัสดุธรรมชาติที่สามารถหาได้ในพื้นที่ใกล้ชุมชน หรือในพื้นที่ป่าใกล้ชุมชน ข้องเป็น

เครื่องมือจักสานชนิดหนึ่งที่มีความส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตของคนในชุมชน มีรูปทรง

คล้ายหวดหรือหม้อดิน มีงาแซงเป็นฝาปิดด้านบน ชาวบ้านใช้ส�ำหรับใส่สัตว์

ขนาดเล็ก เช่น อึ่ง กบ ปลา

ผู้รู้การจักสาน

P:465

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

WISDOM

461

วัสดุที่ใช้สานข้อง

คือ ไผ่บงหรือไผ่ไร่ นิยมใช้ไผ่บงเนื่องจาก

มีเนื้อเหนียว เหมาะแก่การสาน เลือกไผ่ที่มีอายุ2-3 ปีตัดไผ่

เป็นท่อนเพื่อน�ำมาตอกเป็นเส้นเล็กๆ รูดตอกให้เรียบจึงน�ำมาสาน

การสานเริ่มจากฐานของข้องแล้วดัดตอกขึ้นให้เป็นรูปทรงในการสานผู้รู้จะใช้

ตอกขนาดเล็กจ�ำนวน 3 เส้น ซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของผู้รู้ที่ได้จากการ

เรียนรู้และทดลองในการสาน ท�ำให้ข้องมีอายุการใช้งานนานขึ้นและมีความแข็งแรง

นอกจากนี้ผู้รู้ยังสามารถสานกระด้ง ซึ่งเป็นภาชนะสานที่มีรูปกลม แบน สานตอกให้

ชิดกันและมีขอบแน่นหนา ปากขอบกว้างประมาณ 1 เมตร เพื่อให้จับได้ถนัด กระด้ง

ใช้ส�ำหรับฝัดข้าว คือ ใส่ข้าว จ�ำนวนหนึ่งเป็นข้าวที่สีหรือต�ำแล้ว

แต่ยังมีแกลบและร�ำปนอยู่มาก

แล้วกระดกกระด้งขึ้นๆ ลงๆ เร็วๆ

เพื่อสะบัดให้แกลบ ร�ำ หรือ ผง

ซึ่งเบาแยกตัวออกจาก

เมล็ดข้าว

ปราชญ์ชุมชน

นายเหรียญ ขันรินทร์

ลักษณะเด่น

การใช้วัสดุธรรมชาติในชุมชนที่มีเอกลักษณ์

เฉพาะและสามารถประยุกต์การสานเป็น

เครื่องใช้อื่นๆ

เกี่ยวข้องกับความหลากหลาย

ทางชีวภาพ

คือ ไผ่บง และไผ่ไร่

P:466

WISDOM

462 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ยาสมุนไพร

เป็นสิ่งที่ใช้กันมายาวนาน ถึงแม้ในปัจจุบัน

จะมียาแผนปัจจุบันแต่ในพื้นที่ซึ่งห่างไกลจากโรงพยาบาล

ก็ยังคงใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการเบื้องต้นได้ผู้รู้สมุนไพรเป็น

ผู้ที่เรียนรู้สูตรยา แล้วน�ำมาประยุกต์ใช้ในครอบครัวจนเป็นที่รู้จักทั้ง

คนในและนอกชุมชน สูตรยาที่เป็นที่รู้จักกันในชุมชน คือยาแก้ริดสีดวง

ส่วนประกอบมีว่านกีบแรด หญ้าสาบเสือ หัวข้าวเย็น โด่ไม่รู้ล้ม เครือเถา

เฒ่าหนังหุ้ม ผู้รู้ยังมีสูตรยาสมุนไพรอีกหลายสูตรที่ใช้รักษาโรคต่างๆ อีกมาก

เช่น ยาแก้ไข้ยาแก้ปวดหลัง ยาถ่ายพยาธิเป็นต้น การใช้ยาสมุนไพรต้องมี

สัดส่วนและระยะเวลาในการรับประทานยาแต่ละตัวที่แตกต่างกัน ผู้ที่

รับประทานจะต้องปฏิบัติตัวในการรับประทานให้ตรงตามที่ผู้รู้ได้บอก

สมุนไพรที่ผู้รู้น�ำมาปรุงยา ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพรที่สามารถหาได้บริเวณป่า

ผู้รู้ด้านสมุนไพร

ปราชญ์ชุมชน

นายมา น้อยขัน

ลักษณะเด่น

การเรียนรู้ด้านสมุนไพรเพื่อประยุกต์ใช้ในครัวเรือน

และชุมชน ท�ำให้ชุมชนได้รับความรู้เกี่ยวกับ

สมุนไพรภายในชุมชนและบริเวณป่า

P:467

เรื่องเล่าจากพื้นที่...

บนเส้นทางความหลากหลาย

ทางชีวภาพด้านป่าไม้

P:468

464 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

P:469

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 465

P:470

466 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เมล็ดมะค่าโมง ส่วนผสมหมากพล

ลุงหน�ำ สว่างทิตย์(อาสาสมัครชุมชน) ได้เก็บเมล็ดมะค่าโมงที่ร่วงหล่นบน

พื้นดินให้เราดูและบอกกับเราว่า “เมล็ดมะค่าโมงสีด�ำสามารถกินผสมเคี้ยวกับหมาก

จะเผาไฟหรือไม่เผาไฟก็ได้วิธีกินคือจะตัดเอาเปลือกออกแล้วใช้กรรไกรตัดหมาก

ตัดเป็นชิ้นบางๆ ซึ่งถ้าหากเผาไฟก่อนเปลือกจะร่อน และจะมีกลิ่นหอมกว่า”

ด้วยความสงสัยเราจึงถามลุงหน�ำว่า กินแบบเผาไฟกับไม่เผาไฟรสชาติแตกต่างกันไหม

ลุงหน�ำตอบว่า “มันก็เหมือนกับการกินเม็ดมะขาม ถ้ากินสดๆ รสชาติจะอีกอย่าง

หนึ่ง แต่ถ้าเม็ดมะขามคั่วก็จะมีกลิ่นหอมกว่า” ลุงหน�ำยังเล่าต่อไปอีกว่า คนเก่า

คนแก่ในหมู่บ้านบอกกับลุงว่าการเคี้ยวกินเม็ดมะค่าโมงกับหมากจะเพิ่มรสชาติมันๆ

ท�ำให้น�้ำหมากเหนียวและเข้มข้น บางคนก็บอกว่ากินแล้วฟันทนดีบางคนถ้าไม่ได้กิน

เม็ดมะค่าโมงกับหมากก็รู้สึกเหมือนขาดอะไรไป

นอกจากนี้วัยรุ่นยังเผาเมล็ดมะค่าโมงสีด�ำไว้กินเล่นเหมือนมะขามคั่ว

ส่วนเมล็ดสีเขียวเปลือกจะนิ่มและบาง เมื่อเอาเปลือกออก

แล้วกินจะมีรสชาติหวาน มัน

ลุงหน�ำ สว่างทิตย์

ท ่ามกลางแสงแดดปลายเดือนมีนาคมที่ร้อนระอุ

ในปาเบญจพรรณ พื้นที่ปาล�ำน�้ำน ่านฝั่งขวา

จังหวัดอุตรดิตถ์ บริเวณป ่าชุมชนบ้านห้วยเจริญ

มีต้นมะค่าโมงขนาดใหญ่

่ ่

P:471

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 467

บอนเต่า กับข้าวพื้นบ้านจากป่า

เมื่อย่างเข้าสู่เดือนพฤษภาคม สายฝนเริ่มโปรยปราย

ท�ำให้ป่าเริ่มกลับมามีความชุ่มชื้นอีกครั้ง คณะส�ำรวจออกเดินไป

ตามเส้นทางส�ำรวจในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

(บ้านห้วยเจริญ) อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์เราพบต้นไม้

หน้าตาคล้ายดอกหน้าวัวสีขาวขึ้นอยู่ตามพื้นดิน และเห็น

พี่ดอกรัก สารถ้อย จากหน่วยป้องกันรักษาป่าที่อต. 1 (ท่าปลา)

ก�ำลังเก็บอย่างขะมักเขม้น แบ่งเป็นก�ำๆ แล้วใส่ลงในถุงย่าม

เมื่อสอบถามได้ความว่ามันคือ ต้นบอนเต่า

พี่ดอกรักบอกว่าเป็นอาหารชั้นดีจากป่า เก็บหาเอาได้

ไม่ต้องเสียเงินซื้อ ต้นบอนเต่าสามารถน�ำไปประกอบเป็นอาหาร

ได้หลายอย่าง เช่น แกงส้ม คั่วกลิ้งกับหมูหมอบ (คล้ายห่อหมก)

กินสดหรือต้มกินกับน�้ำพริก รสชาติเด็ดทีเดียว

การน�ำไปประกอบอาหารก็ง่ายๆ แค่ลอกเปลือกออก

ล้างน�้ำ ก็น�ำไปใช้ได้แล้ว พืชชนิดนี้มักขึ้นอยู่ตามที่ราบเชิงเขาใกล้

ล�ำห้วย หรือบริเวณล�ำห้วย เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อน ความชื้นสูง

นายดอกรัก สารถ้อย

P:472

468 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ภูมิปัญญาการด�ำรงชีพ ของชาวบ้านสมัยก่อนมีหลากหลายรูปแบบ

อาชีพหลักของชาวบ้าน คือ การท�ำไร่ ท�ำนา ชาวบ้านจะ

เตรียมตัวและเตรียมอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้คือ อาหารและน�้ำดื่ม ที่บ้าน

ห้วยเจริญ นางพิน จันทร์ฤทธิ์เป็นผู้รู้ที่สืบทอดภูมิปัญญานี้ได้เล่าให้เรา

ฟังว่าสมัยก่อนการน�ำน�้ำเข้าไปเพื่อดื่มดับกระหาย ชาวบ้านมักใช้ผลน�้ำเต้าใส่น�้ำ

ผลน�้ำเต้าสามารถเก็บความเย็นได้ดีการน�ำไปใช้คือ น�ำผลน�้ำเต้าที่แก่แล้วมาเขย่าให้

เมล็ดหลุดออก แล้วตัดบริเวณขั้วของผล เทเมล็ดออกให้หมด ก็สามารถใส่น�้ำลงในผล

น�้ำเต้าได้เลย นอกจากผลแก่จะสามารถน�ำมาใส่น�้ำได้แล้ว ผลอ่อนยังสามารถรับประทาน

เป็นผักต้มกินกับน�้ำพริกก็อร่อย ป้าพินจึงได้น�ำน�้ำพริกพร้อมผักต้มนานาชนิดรวมทั้งผล

น�้ำเต้าอ่อนที่ต้มแล้วมาให้เราชิม ป้าพินยังได้บอกถึงสรรพคุณของน�้ำเต้าอย่างหนึ่ง คือ

สามารถรักษาโรคเบาหวานได้

ปัจจุบันชาวบ้านไม่นิยมใช้ผลน�้ำเต้าแล้ว เพราะมี

วัสดุพลาสติกหลากหลายรูปแบบที่สามารถใส่น�้ำ

และกักเก็บความเย็นได้แต่ป้าพินยังคงเก็บรูป

แบบการใช้น�้ำเต้าไว้เพื่อให้ลูกหลานได้

เรียนรู้วิธีการด�ำรงชีวิตของบรรพบุรุษ

ในอดีต

รูปทรงมหัศจรรย์“น�้ำเต้า”

นางพิน จันทร์ฤทธิ์

P:473

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 469

สะค้าน พืชรสเผ็ดในฤดูร้อน

นอกจากสะค้านจะเป็นพืช

อีกชนิดหนึ่งที่ใช้ประกอบอาหาร

แกงเผ็ดแล้ว ยังช่วยให้อาหารมี

รสชาติกลมกล่อมมากขึ้น รวมทั้ง

เป็นยาขับลมได้อีกด้วย สะค้านจึง

เป็นพืชที่น่าสนใจและควรมีการ

ต่อยอดในการน�ำมาใช้ประโยชน์

มากยิ่งขึ้น

เดือนมีนาคมเป็นช่วงเข้าสู่ฤดูร้อน ต้นไม้น้อยใหญ่ผลัดใบกันมากมาย ส่วนต้นไม้ที่ไม่

ผลัดใบกลับดูเป็นจุดเด่นในป่า ป่าที่เริ่มร้อนระอุเพราะสภาพอากาศและต้นไม้ที่เหลือเพียงกิ่ง

ก้านท�ำให้พบไม้เถาที่เกาะเกี่ยวตามต้นไม้มากมาย แต่หากเดินเลียบไปตามล�ำห้วย กลับท�ำให้

รู้สึกสดชื่น เราอาจได้พบไม้เถาชนิดหนึ่งที่มองไกลๆ คล้ายต้นดีปลีลักษณะใบก็คล้ายใบชะพลู

เมื่อดูใกล้ๆ จะเห็นล�ำต้นมีข้อปล้อง เปลือกค่อนข้างอ่อน ใบเดี่ยว

รูปใบหอกกว้างคล้ายใบพริกไทย ใบสีเขียวเข้ม ลักษณะดังกล่าว

คือ พืชที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “จะค้าน” ชื่อไทยเรียกว่า สะค้าน

การลงส�ำรวจเส้นทางห้วยน�้ำตกที่บ้านน�้ำต๊ะ เราเดินเลียบ

ไปตามล�ำห้วยซึ่งมีน�้ำไหลตลอดเวลา พี่ยง จากหน่วยป้องกัน

รักษาป่าที่อต. ๑ (ท่าปลา) ได้ตัดล�ำต้นมาให้เราได้ดูและให้เอา

ลิ้นลองแตะที่ล�ำต้นของต้นสะค้านจะรู้สึกว่าเนื้อของสะค้านมีรส

เผ็ดที่ปลายลิ้น เราจึงถามว่าพี่ยงเอาล�ำต้นไปท�ำอะไร พี่ยงได้บอกว่าเถาของสะค้านใช้ปรุง

อาหารประเภทแกงเผ็ด โดยหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ น�ำไปล้างให้สะอาดและต้มแกงได้เลยไม่ต้องลอก

เปลือกไม้ออก หากใช้ไม่หมดให้น�ำไปตากแห้งเก็บไว้ใช้ต่อไปได้

สรรพคุณของสะค้าน

ล�ำต้น ใช้เป็นเครื่องเทศปรุงอาหารเพิ่มรสเผ็ดใช้ใส่แกง ช่วยให้มีกลิ่นหอม หรือเป็นส่วน

ประกอบในอาหารช่วยดับกลิ่นคาว

นายยง ชิกลิ้ง

P:474

470 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

บอนหอมต้นไม้เสน่ห์กลางไพร

เมื่อเดินไปตามเส้นทางส�ำรวจตามแนวล�ำห้วย จะได้กลิ่นหอมอ่อนๆ โชยมา

แตะจมูก ด้วยความสงสัยใคร่รู้จึงสอบถามนายอนันต์ ปันหวน ชาวบ้านบ้านน�้ำ

ต๊ะ ต�ำบลน�้ำหมัน อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นผู้อาวุโสของหมู่บ้าน

ที่มีความรู้เกี่ยวกับพืชและสมุนไพรในป่า พ่อใหญ่จึงชี้ไปที่ต้นไม้ต้นหนึ่ง เมื่อ

สอบถามจึงได้ความว่ากลิ่นหอมมาจากต้นไม้ชนิดนี้เอง ชาวบ้านในพื้นที่เรียก

ว่า ต้นบอนหอม ลักษณะใบคล้ายใบบอนแต่มีขนาดเล็กกว่า ต้นมีกลิ่นหอมคล้าย

ดอกจ�ำปี

นายอนันต์ ปันหวน

ชาวบ้านน�ำไปใช้ประโยชน์ได้โดยน�ำไปประกอบอาหาร

วิธีการ คือ น�ำต้นไปล้างน�้ำ แล้วเอาไปเผาย่างกับไฟให้พอได้กลิ่น

หอมโชย ตัดเอาเฉพาะก้านไม่เอาใบ น�ำไปแกงเป็นกับข้าว ได้แก่

แกงใส่หัวมะพร้าว แกงแค และแกงเนื้อควาย ได้รับค�ำรับรองว่าใคร

ได้รับประทานแกงเหล่านี้ที่ใส่บอนหอมจะต้องติดใจในรสชาติ และ

ชาวบ้านยังมีความเชื่อว่าต้นบอนหอมเป็นว่านเมตตามหานิยมอีกด้วย

P:475

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 471

นายหลุ่น อินแจ้ซึ่งเป็นอาสาสมัคร

ชุมชนบอกกับเราว่า “เป็น สมุนไพร ถ้ากินจิบกับน�้ำจะ

แก้ไอ แต่ถ้าหากกินมากจะเป็นยาระบาย เมื่อดื่มน�้ำตามหลัง

จากกินได้สักพักรสชาติจะเปลี่ยนเป็นหวานชุ่มคอ” ก็ท�ำให้อยากจะ

กินต่อให้หมดลูก หลังจากกินลูกแรกหมด สักพักก็รู้สึก หวานๆ ในปากเรา

จึงลองดื่มน�้ำตาม ก็รู้สึกหวานชุ่มคอเหมือนที่ชาวบ้านบอกจริงๆ เมื่อเวลา

ผ่านไปไม่นาน ลูกที่ 2 3 4 ... ก็ตามมา ซึ่งผลนั้น คือผลของ

“สมอไทย”หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “สมอ” นั่นเอง

สมอไทย สมุนไพรไทย

เปลือกล�ำต้น ต้มน�้ำดื่มเป็นยาบ�ำรุงหัวใจ ขับน�้ำ

เหลืองเสีย ขับปัสสาวะ

แก่นล�ำต้น ใช้แก้ตาอักเสบและแก้ไข้

ใบ ใช้เป็นยาแก้กระหายน�้ำ แก้พิษร้อนใน แก้ไข้

แก้ลมจุกเสียด และเป็นยาระบายอ่อนๆ

ดอก ต้มน�้ำดื่มแก้บิด

ผลอ่อน ใช้เป็นยาถ่าย แก้เสมหะ

ผลแก่ บดเป็นผงโรยแก้แผลเรื้อรัง กินหรือต้ม

น�้ำดื่มยาบ�ำรุงร่างกาย แก้ไอเจ็บคอ แก้อาเจียน

เนื้อผล กินแก้ท้องผูก ท้องอืด ท้องเฟ้อ

แก้บิด แก้ท้องร่วงเรื้อรัง

นายหลุ่น อินแจ้

ระหว่างเส้นทางส�ำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในป่า

ล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์บริเวณป่าชุมชนบ้านห้วย

เจริญ ของเจ้าหน้าที่กลุ่มงานความหลากหลายทางชีวภาพด้าน

ป่าไม้กรมป่าไม้ร่วมกับอาสาสมัครชุมชนบ้านห้วยเจริญอาสา

สมัครชุมชนหลายท่านได้น�ำผลของพืชชนิดหนึ่งมาให้เราได้ลองชิม

มีลักษณะค่อนข้างกลม สีเขียว ขนาดเล็ก รสชาติแรกที่ได้สัมผัสคือ

ฝาดๆ ขมๆ เปรี้ยวๆ เป็นรสชาติสามรสที่ไม่คุ้นลิ้นเลยทีเดียว

สมอไทย เป็นสมุนไพรจากป่า

ที่มีสรรพคุณหลากหลาย แต่

“สรรพคุณที่ชาวบ้านห้วย

เจริญรู้จักกันดี คือแก้ไอ

และเป็นยาระบาย”

ซึ่งถ้าหากกินผลของสมอไทย

ระหว่างเดินป่าก็จะท�ำให้สดชื่น

และชุ่มคออีกด้วย

“ประโยชน์ในด้านการใช้เป็นยาพื้นบ้าน ของสมอไทย”

P:476

472 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

จากการส�ำรวจในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา (โซนป่าน�้ำหมัน) อ�ำเภอ

ท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่ามีพรรณพืชที่เลื้อยไปตามไม้ใหญ่และเป็นอาหารป่าที่มีความ

นิยมกันมากของคนในพื้นที่ นั้นคือ สะแล (Broussonetia Kerzii (Hook. f.) Corner วงศ์

Moraceae) มีลักษณะเป็นไม้เลื้อย พบได้ทั่วไปในป่าเบญจพรรณตั้งแต่ภาคเหนือจรดภาคใต้

ดอกสะแลเป็นที่รู้จักและนิยมในภาคเหนือ มีประโยชน์ในด้านอาหาร

ใช้เป็นผัก มีรสมัน ออกดอกในฤดูร้อนราวเดือนมีนาคม-เมษายน ในท้องตลาด

มักพบดอกสะแลจ�ำหน่ายในฤดูกาลดังกล่าว โดยน�ำดอกและผลมาปรุงเป็น

อาหารไม่ว่าจะเป็น แกงส้ม แกงป่า แกงแค โดยน�ำเนื้อสัตว์ปลา ปลาแห้งใส่

เข้าไปด้วยเพื่อเพิ่มรสชาตินอกจากนี้ดอกและผลของสะแลมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระอีกด้วยจึง

นับได้ว่าสะแลนอกจากอร่อยแล้วยังมีประโยชน์อีกด้วย

นายเพชร ปันหวน อาสาสมัครชุมชนพื้นที่น�้ำหมัน เล่าให้ฟังว่า เมื่อก่อน

มีการน�ำเก็บไปขายในตลาดได้กิโลกรัมละ 300 บาท แต่ปัจจุบันแต่ละครัวเรือน

ได้มีการน�ำสะแลไปปลูกไว้ที่บ้าน ซึ่งท�ำได้โดยวิธีการปักช�ำกิ่ง ให้เลื้อยไปตามไม้

ต้นขนาดใหญ่จึงมีการเก็บขายน้อยลงและราคาก็ไม่สูงดังเช่นเมื่อก่อน

ปัจจุบันอาหารพื้นบ้านบางอย่างเริ่มลบเลือนไปจากเมนูอาหารในบ้านเรา ซึ่งก็เป็นเรื่อง

ธรรมดาของสังคมที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตามอาหารพื้นบ้านยังคงเล่าเรื่อง

ราวของวิถีชีวิตคนสมัยก่อนได้เป็นอย่างดี และหากมองในมุมกลับ เราอาจพัฒนาอาหารพื้น

บ้านเหล่านี้เป็นเมนูเด็ดได้อย่างไม่ยากเย็น

สะแล

อาหารป่าสู่ครัวเรือน

P:477

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 473

ป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวามีพืชหลากหลายชนิดพันธุ์ที่สามารถน�ำไปใช้

ประโยชน์ได้แต่มีประโยชน์อย่างหนึ่งที่น่าสนใจที่หลายๆ คนคงยังไม่รู้ว่าต้นไม้ที่พบได้ทั่วไปใน

พื้นที่นี้สามารถน�ำมาท�ำเป็นเชือกได้อย่างง่ายดาย

ลุงหน�ำ (นายหน�ำ สว่างทิตย์) เล่าว่า คนสมัยก่อนมีวิธีท�ำเชือกที่มี

ความแข็งแรงได้จากต้นไม้ซึ่งต้นไม้ที่ว่านี้คือ ต้นปอตาน หรือที่ชาวบ้านแถบนี้

เรียกว่า ปอขาว (Sterculia urena Roxb. var. thorelii (Pierre) Phengklai

วงศ์Sterculiaceae) โดยมีวิธีการดังนี้

จะเห็นได้ว่ามีหลายสิ่งหลายอย่างในป่าที่ใช้ประโยชน์ได้เพียงแต่เรายังไม่รู้เราจึงควร

ฝึกตนเองให้เป็นคนช่างคิด ช่างสังเกต เพื่อจะได้น�ำสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเรามาประยุกต์ใช้และสิ่ง

หนึ่งที่เป็นแนวทางให้เราน�ำไปต่อยอดสร้างสิ่งใหม่ๆ ได้เป็นอย่างดีนั่นก็คือ ความรู้ของคนสมัย

ก่อนที่ได้ถ่ายทอด และพัฒนามารุ่นสู่รุ่น อย่างเช่น เปลือกต้นปอตานที่สามารถน�ำมาท�ำเชือกได้

หากเราไม่ได้ท�ำการศึกษาและจดบันทึกไว้ เมื่อวันเวลาผ่านไปสิ่งต่างๆ เหล่านี้ต้องจางหายไป

อย่างแน่นอน

ลอกเปลือกด้าน ลอกเปลือกสีขาวด้าน น�ำมาบิด พันซ�้ำให้หนา

ปอตาน สลิงแห่งพงไพร

นอกทิ้ง ในให้เป็นแผ่นยาว เป็นเกลียว ตามที่ต้องการ

บิดกับต้น

ไม้ให้แห้ง

P:478

474 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

เมื่อเราพูดถึงป่าสิ่งที่เรามักจินตนาการได้คือเห็นพรรณไม้มีสีเขียวสดใส แต่สิ่งที่ทีมส�ำรวจกลุ่ม

งานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ได้พบในป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา โซนป่าน�้ำ

หมัน อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์คือได้เห็นป่าที่ปกคลุมไปด้วยพรรณไม้ที่

ออกดอกเป็นสีชมพูดูสวยงามทั่วป่า พรรณไม้ชนิดนั้นคือ ต้นเครือออน หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ พวง

ประดิษฐ์(Congea tomentosa Roxb. วงศ์Verbenaceae) เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ แผ่กิ่งก้านสาขา

ได้มาก พบได้ตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง หรือพบได้ในป่าโปร่งทั่วไปถึงป่าดิบเขา

ต้นเครือออนมักนิยมน�ำมาปลูกเป็นไม้ประดับตามรั้วบ้าน และตกแต่งบ้านเรือนให้สวยงาม

แต่คุณสมบัติต้นเครือออนอีกด้านที่คนทั่วไปไม่รู้คือ เป็นพืชสมุนไพร โดยน�ำใบมาบดให้ละเอียดแล้ว

อังไฟให้ร้อน พอกในขณะร้อนบริเวณที่ถูกสัตว์มีพิษกัดต่อย เช่น บุ้งร่าน ผึ้ง ต่อ แตน มด ช่วยบรรเทา

อาการบวม อักเสบ คัน แสบร้อนได้เป็นอย่างดีหรือน�ำใบหรือทั้งต้นมาต�ำพอกแผลสดเป็นยาสมาน

แผล นอกจากนี้น�ำใบหรือทั้งต้นต้มน�้ำดื่มแก้ไอ แก้ปวดเมื่อย ขับปัสสาวะ รักษาโรคทางเดินปัสสาวะ

นิ่วในไต ได้อีกด้วย

ดังนั้น เราอย่ามองแค่ว่าพรรณไม้ข้างทางมีเพียงความสวยงามอย่างเดียว แต่แท้ที่จริงแล้ว

พรรณไม้เหล่านั้นมีประโยชน์มากมาย หากเรารู้และน�ำกลับไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกวิธี

ว น า ล สีชมพู

P:479

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 475

เอกสารอ้างอิง

กัณฑรีย์บุญประกอบ และ กวินนาถ บัวเรือง. 2550. ไลเคนแห่งเกาะแสมสารจากยอดเขาถึง

ชายทะเล. ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง, กรุงเทพฯ.

เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์และ จารุจินต์นภีตะภัฏ. 2551. คู่มือแมลง. ส�ำนักพิมพ์สารคดี,

กรุงเทพฯ.

โกศล เจริญสม, สาวิตรีมาลัยพันธุ์, สุขสวัสดิ์พลพินิจ และกัลยา กลั่นสอน. 2549. ผีเสื้อ.

อักษรสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ

ขวัญ เรือน พาป้อง, กัณฑรีย์บุญประกอบ และ H. Thorsten Lumbsch. 2554. ไลเคน

วงศ์ Lecanoraceae (Lecanorales: Ascomycota) ในประเทศไทย.

อภิชาตการพิมพ์, มหาสารคาม.

คณะกรรมการจัดท�ำหนังสือพรรณไม้พระต�ำหนักสวนปทุม. 2550. พรรณไม้พระต�ำหนัก

สวนปทุม. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

จอร์นพาร์และคณะ. 2546. คู่มือธรรมชาติสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทย.

ส�ำนักพิมพ์สารคดีก�ำจัด, กรุงเทพฯ.

จารุจินต์นภีตะภัฏ, กานต์เลขะกุล, วัชระ สงวนสมบัติ. คู่มือศึกษาธรรมชาติหมอบุญส่ง

เลขะกุล “นกเมืองไทย”. บริษัทด่านสุทธา การพิมพ์จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.

จิรศักดิ์ สุจริต และคณะ. 2551. หอยทากบกในอุทยานแห่งชาติเขานัน. โรงพิมพ์กรุงเทพฯ

จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.

ฉวีวรรณ หุตะเจริญ. 2526. แมลงป่าไม้ของไทย. โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, กรุงเทพฯ.

เต็ม สมิตินันทน์. 2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม.

บริษัทประชาชน จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.

ธวัชชัย สันติสุข. 2547. พืชถิ่นเดียวและพืชหายากของประเทศไทย. โรงพิมพ์ชุมชน

สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.

ธัญญา จั่นอาจ. 2546. คู่มือสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบกในประเทศไทย.

บริษัทด่านสุทธา การพิมพ์จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.

นิดดา หงส์วิวัฒน์. 2548. ผีเสื้อแสนสวย. บริษัท ส�ำนักพิมพ์แสงแดดเพื่อนเด็ก จ�ำกัด,

กรุงเทพฯ.

นิวัฒ เสนาะเมือง. 2553. เห็ดป่าเมืองไทย: ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์.

ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ยูนิเวอร์แซล กราฟฟิคแอนด์เทรดดิ้ง, กรุงเทพฯ.

P:480

476 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ประสิทธิ์จันเสถียร. 2551. ภาพถ่ายนกเมืองไทย. โรงพิมพ์ตะวันออก (มหาชน) จ�ำกัด,

กรุงเทพฯ.

ประทีป ด้วงแค. 2550. ค้างคาวเมืองไทย : ส�ำหรับการจ�ำแนกชนิดในภาคสนาม.

โรงพิมพ์และท�ำปกเจริญผล, กรุงเทพฯ.

ปิยะ เฉลิมกลิ่น. 2544. พรรณไม้วงศ์กระดังงา. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนท์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด

(มหาชน), กรุงเทพฯ.

พชร มงคลสุข และ วสันต์เพิงสูงเนิน. 2555. ไลเคนวงศ์กราฟิดาซิอิ, ศิลปกรรมตาม

ธรรมชาติ (The Lichen Family Graphidaceae, Natural Art). โรงพิมพ์

โนเบิ้ลพริ้นส์, กรุงเทพฯ.

พร้อมจิต ศรลัมพ์และคณะ. 2543. สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 1. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนท์

พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

ภราดร สามสูงเนิน. 2549. อนุกรมวิธานของไม้เถาเนื้อแข็ง ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อม

สะแกราชจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

พฤกษศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ภาควิชากีฏวิทยา. 2542. บทปฏิบัติการกีฏวิทยาเบื้องต้น.ส�ำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ

ภานุมาศ จันทร์สุวรรณ, วัชระ สงวนสมบัติและพรนรินทร์คุ้มทอง. มะเดื่อ-ไทร ในป่า

ตะวันออก. องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ. โรงพิมพ์ดอกเบี้ย, กรุงเทพฯ.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2547. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม. ห้างหุ้นส่วน

จ�ำกัด. อรุณการพิมพ์, กรุงเทพฯ.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. ศัพท์พฤกษศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ ฉบับ

ราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2, อรุณการพิมพ์, กรุงเทพฯ.

วงศ์สถิตย์ฉั่วกุล. 2543. สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 4 กกยาอีสาน. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนท์

พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

สมโภชน์อัคคะทวีวัฒน์. 2545. ภาพปลาและสัตว์ของไทย. องค์การค้าของคุรุสภา,

กรุงเทพฯ.

สมโภชน์อัคคะทวีวัฒน์. 2547. สาระน่ารู้ปลาน�้ำจืดไทย เล่ม2. องค์การค้าของคุรุสภา,

กรุงเทพฯ.

สมศักดิ์ปัญหา และคณะ. 2552. กิ้งกือกระบอกในประเทศไทย. ส�ำนักพิมพ์NSN การพิมพ์,

กรุงเทพฯ.

ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้กรมป่าไม้. 2540. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์.

โรงพิมพ์ประชาชน จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.

P:481

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 477

ส้า มีสิม และพชร มงคลสุข. 2553. โฟลิโอสไลเคนวงศ์ฟิสเซียซิอิในเขตรักษาพันธุ์

สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย. วารสารพฤกษศาสตร์ไทย. 2 (ฉบับพิเศษ): 55-64.

สุรินทร์มัจฉาชีพ. 2531. อาณาจักรสิ่งมีชีวิต เล่ม2. ส�ำนักพิมพ์แพร่พิทยา วังบูรพา,

กรุงเทพฯ.

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2554. คู่มือทะเบียนชนิด

พันธุ์ต่างถิ่นที่ควรป้องกัน ควบคุม และก�ำจัดของประเทศไทย: สัตว์สะเทินน�้ำ

สะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ.

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. 2544. เห็ดและราในประเทศไทย.

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กรุงเทพฯ.

หน่วยวิจัยไลเคน ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. 2547.

ความหลากหลายชนิดของไลเคน ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่. ส�ำนักงาน

นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ.

อนงค์จันทร์ศรีกุล และคณะ. 2551. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ใน

ประเทศไทย. ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อบฉันท์ไทยทอง. 2543. กล้วยไม้ป่าเมืองไทย. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนท์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด

(มหาชน), กรุงเทพฯ.

เอื้อมพร วีสมหมาย และปณิธาน แก้วดวงเทียน. 2547. ไม้ป่ายืนต้นของไทย 1. เอ็น วาย ฟิมล์

จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.

Awasthi, D. D. 1991. A key to the Microlichen of India, Napal and Sri Lanka.

BiliothecaLichenologica, 40: 1-360.

Cox, M.J., Dijk, P.P. van, Nabhitabhata, J. and K. Thirakupt. 2008. Snakes and

other reptiles of Thailand and South-east Asia. Asia Books Co.,Ltd.

Bangkok, Thailand.

Makhija, U. and P. G. Patwardhan. 1988. The lichen genus Laurera (family

Trypetheliaceae) in India. Mycotaxon. 31: 565-590.

McCarthy, P.M., 2001. Flora of Australia Volume 58A, Lichens 3. Melbourne :

BRS/CSIRO, Australia.

Nabhitabhata J. and T. Chan-ard. 2005. Thailand Red Data : Mammals, Reptiles

and Amphibians. Office of Natural Resources and Environmental

Policy and Planning, Bangkok, Thailand. 234 p.

P:482

478 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Nanakorn, W. 1985. The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand.

Thai For. Bull. (Bot.) 15: 59-107.

Noicharoen, K. 2002. Biodiversity of foliose and fruticose lichen at Khaoyai

National Park. M.S. Thesis, Ramkhamhaeng University, Thailand.

Papong, K. and Lumbsch, H. T. 2011. A taxonomic survey of Lecanorasensus

tricto in Thailand (Lecanoraceae, Ascomycota). Lichenologist 43

(4): 299-320.

Paul S. and Barry H. 2009. Mushroom & Toadstools. Harper Collin, London.

Phaibul Naiyanetr. 2007. CRUSTACEAN FAUNA IN THAILAND. Integrated

Promotion Technology Co., Ltd. Bangkok, Thailand.

Puff, C., K. Chayamerit and V. Chamchumroon. 2005. Rubiaceae of Thailand.

Prachachon Co. Ltd., Bangkok.

Rogers, R.W. 1992. Key to Australian Lichen Genera in Flora of Australia

Vol. 54: 65-94.

Roger, R.W. 2004. Lichen Flora of the Greater Sonoran Desert Region, Lichen

Unlimited Arizona State University Tempe, Arizona Vol III

Sanguansombat W., 2005. Thailand Red Data : Birds. Office of Natural Resources

and Environmental Policy and Planning, Bangkok, Thailand. 158 p.

Santisuk T. et al., 2006. Thailand Red Data : Plants. office of Natural Resourecs

and Environmental Policy and Planning, Bangkok, Thailand. 256 p.

Santisuk, T. and Larsen, K. 2001. Flora of Thailand 7 (3). Prachachon Co. Ltd.,

Bangkok.

Santisuk, T. and Larsen, K. 2002. Flora of Thailand 7 (4). Prachachon Co. Ltd.,

Bangkok.

Santisuk, T. and Larsen, K. 2007. Flora of Thailand 8 (2). Prachachon Co. Ltd.,

Bangkok.

Santisuk, T. and Larsen, K. 2011. Flora of Thailand 10 (4). Prachachon Co. Ltd.,

Bangkok.

Smitinand, T. and Larsen, K. 1987. Flora of Thailand 5 (1). Chutima Press,

Bangkok.

P:483

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 479

Smitinand, T. and Larsen, K. 1990. Flora of Thailand 5 (2). Chutima Press,

Bangkok.

Smitinand, T. and Larsen, K. 1993. Flora of Thailand 6 (1). Rumthai Press

Co. Ltd., Bangkok.

Staiger, B. 2002. Die Flechten familie Graphidaceae. Studien in Richtungeiner

Naturlichen Gliederung. Bibliotheca Lichenologica 85:1–526.

Stuart, B. L., van Dijk, P. P. and Hendrie, D. B. 2001. Photographic Guide to

Turtles of Thailand, Laos, Vietnam and Cambodia. DESIGN GROUP.

Phnom Penh, Cambodia.

Swinscow, T. D. V. and H. Krog. 1988. Macrolichens of East Africa. British

Museum, London.

Tagawa, M. and K. Iwatsuki. 1979. Flora of Thailand 3 (1) (Pteridophytes).

TISTR, Bangkok.

Tagawa, M. and K. Iwatsuki. 1985. Flora of Thailand 3 (2) (Pteridophytes).

Phonphan Printing Co. Ltd., Bangkok.

Tagawa, M. and K. Iwatsuki. 1988. Flora of Thailand 3 (3) (Pteridophytes).

Chutima Press, Bangkok.

Tagawa, M. and K. Iwatsuki. 1989. Flora of Thailand 3 (4) (Pteridophytes).

Chutima Press, Bangkok.

Thienhirun, S. 1997. A Preliminary Account of the Xylariaceae of Thailand.

Ph.D.Thesis, Liverpool Jhon Moores University, Liverpool, UK.

Thrower, S. L. 1998. Hong Kong Lichens. Department of Biology, The Chinese

University of Hong Kong.

Upreti, D. K. and A. Singh. 1987. Lichen genus Laurerafrom the Indiansub

continent. Bulletin de JardinBotanique National de Belgique 57:

367-383.

Vidthayanon C., 2005. Thailand Red Data : Fishes. Office of Natural Resources

and Environmental Policy and Planning, Bangkok, Thailand. 108 p.

Vongshewarat, K. 2000. Study in taxonomy and ecology of the lichens

family Trypetheliaceae in Thailand. M.S. thesis, Ramkhamhaeng

University. Thailand.

P:484

480 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ดัชนีชื่อไทย

ด้านพืช

กระเจียวขาว

กระเจียวขาวปากเหลือง

ก่อแซะ

กะเรกะร่อน

กาสะลองค�ำ

ขันทองพยาบาท

เข็มขาว

เข็มพวง

เข็มม่วง

แข้งกวางดง

คราม

ครามน�้ำ

คอแลน

ค�ำบูชา

เครือห้าต่อเจ็ด

แคหางค่าง

โคกกระออม

งิ้ว

ช้างกระ

ชายผ้าสีดา

ชิงชี่

ด้าง

ตะคร�้ำ

ตาลเหลือง

ตูมกาขาว

ถั่วลาย

เถาแปบหนู

นางแย้มป่า

128

127

108

110

78

88

113

117

68

120

95

87

123

91

125

77

121

79

112

115

82

76

81

107

124

90

94

99

75

69

102

129

126

70

114

106

105

86

122

84

97

74

118

73

72

71

130

83

116

104

119

101

80

98

96

93

89

92

บอนเต่า

ปรู

ปอลมปม

ปุดเมืองกาน

เปราะทองลาร์เซน

ผักขมหนาม

ผักสาบ

พิลังกาสา

มะเดื่ออุทุมพร

มะไฟ

มะหวด

มันเสา

เมื่อย

โมกมัน

ยอดิน

ระย่อม

รักขาว

รักใหญ่

ว่านกระหัง

ว่านข้าวเหนียว

ส้มกบ

สะแล

สะแล่งหอมไก๋

โสมชบา

หญ้างวงช้าง

หญ้าดอกค�ำ

หญ้าหางอ้น

หนาดค�ำ

หนามหัน

หิ่งหนู

P:485

ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา 481

กบหลังไพล

กบอ่องเล็ก

กระจ้อน

กระรอกบินเล็กแก้มขาว

กระเล็นขนปลายหูสั้น

กิ้งก่าบินปีกส้ม

ค้างคาวขอบหูขาวกลาง

ค้างคาวบัวฟันรี

ค้างคาวแวมไพร์แปลงเล็ก

งูเขียวพระอินทร์

งูงอดไทย

งูลายสอใหญ่

งูลายสาบคอแดง

งูเห่าหม้อ

จิ้งจกหางหนาม

จิ้งเหลนบ้าน

จิ้งเหลนภูเขาเกล็ดเรียบ

นกกระจ้อยหัวลาย

นกกระจาบธรรมดา

นกกระจิ๊ดธรรมดา

นกกระแตแต้แว้ด

นกกระเบื้องผา

นกกวัก

นกกะเต็นน้อยธรรมดา

นกกะรางหัวหงอก

นกกางเขนดง

นกกางเขนบ้าน

นกกาแวน

นกกินปลีอกเหลือง

นกขมิ้นท้ายทอยด�

นกขมิ้นน้อยธรรมดา

นกเขาเขียว

นกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง

นกเค้ากู่

นกเค้าโมง

นกจับแมลงคอแดง

นกจับแมลงจุกด�

นกจับแมลงสีฟ้า

นกจับแมลงอกส้มท้องขาว

นกจาบคาเล็ก

นกจาบคาหัวสีส้ม

นกจาบดินอกลาย

นกแซงแซวหงอนขน

นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่

นกเด้าดินทุ่งเล็ก

นกเด้าลมหลังเทา

นกตบยุงหางยาว

นกตะขาบทุ่ง

นกแต้วแล้วธรรมดา

นกปรอดทอง

นกปรอดหัวสีเขม่า

นกปรอดเหลืองหัวจุก

นกปลีกล้วยลาย

ด้านสัตว์

เหมือดจี้ดง

เหียง

อังกาบ

อินทนิลบก

เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิด

เอื้องดอกมะขาม

222

223

157

158

159

210

153

154

155

211

212

214

213

215

216

217

218

206

198

196

168

209

202

165

207

186

187

173

194

195

164

170

169

205

204

190

185

189

188

182

181

208

176

177

183

184

178

171

197

199

200

201

193

103

85

67

100

109

111

P:486

482 ป่าล�

ำน�้ำน่านฝั่งขวา

นกปลีกล้วยเล็ก

นกปีกลายสก๊อต

นกโพระดกธรรมดา

นกยอดหญ้าหัวด�

นกยางควาย

นกสาลิกาเขียว

นกสีชมพูสวน

นกอีแพรดแถบอกด�

นกแอ่นพง

นกแอ่นฟ้าหงอน

บึ้งด�

ำเล็ก

ปลากระทิงลาย

ปลาแก้มช�้ำ

ปลาขี้ยอกหางเหลือง

ปลาซิวควายแถบด�

ปลาซิวหนวดยาว

ปลาน�้ำหมึก

ปลาเลียหิน

ปลาหมอช้างเหยียบ

แมงป่องช้าง

แมงป่องเล็ก

หนูพุกเล็ก

เหยี่ยวกิ้งก่าสีด�

เหยี่ยวขาว

เหยี่ยวนกเขาชิครา

เหยี่ยวปีกแดง

อ้นเล็ก

อึ่งข้างด�

อึ่งน�้ำเต้า

อึ่งลาย

ครั่ง (ตัวผู้)

ด้วงก้นกระดก

ด้วงคีมยีราฟ

ด้วงแรดป่า

ด้วงเสือ

ด้วงหนวดยาวจุดสยาม

ต่อกระดาษ

ปลวก

ผีเสื้อกลางคืน

ผีเสื้อกะทกรกธรรมดา

ผีเสื้อกะลาสีลายจุด

ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ

ผีเสื้อเณรสามจุด

ผีเสื้อถุงทองธรรมดา

ผีเสื้อพุ่มไม้ธรรมดา

ผีเสื้อรมควัน

ผีเสื้อลายเสือ

ผีเสื้อไวส์เคาท์ขอบฟ้า

ผีเสื้อสายัณห์สีตาลธรรมดา

ผีเสื้อแสดหางยาว

ผีเสื้อหนอนกระทู้

ผีเสื้อหนอนกาฝากจุดแดง

ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา

ผีเสื้อหนอนจ�

ำปีจุดแยก

ผีเสื้อหนอนเจาะสัก

ผีเสื้อหนอนพุทราแถบฟ้า

ผีเสื้อหนอนมะไฟลายเลียน

ผีเสื้อหนอนมังกรล�

ำไย

ผีเสื้อหนอนหนามกะทกรก

ด้านแมลง 192

174

180

191

166

172

175

203

167

179

234

230

228

226

229

224

227

225

231

233

232

152

161

163

160

162

156

221

220

219

315

312

308

310

306

304

324

333

296

271

275

272

283

278

267

299

288

276

274

268

292

284

285

279

290

266

298

294

270

P:487

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 483

เห็ดกรวยทองตะกู

เห็ดกระด้างรูน�้ำตาลอ่อนอมเหลือง

เห็ดกระดิ่งหยก

เห็ดก้อนกรวดยางสีเหลือง

เห็ดขมิ้นน้อย

เห็ดขมิ้นใหญ่

เห็ดขอนแดง

เห็ดข่า

เห็ดขิง

เห็ดแครง

เห็ดดันหมีม่วงด�ำ

เห็ดดาวดินกลม

เห็ดแดงน�้ำหมาก

เห็ดปะการังยอดเขากวาง

เห็ดปะการังหนามเหลือง

เห็ดพายทอง

ด้านเห็ดรา ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น

กระติบข้าวเหนียว

ข้อง

เข่งปลา

จักสานสุ่มไก่

ผู้รู้การจักสาน

ผู้รู้ด้านสมุนไพร

ไม้กวาดดอกหญ้า

สานทางมะพร้าว

เสื่อล�ำแพน

หมอส่งเคราะห์

หวดนึ่งข้าว

ผีเสื้อหางติ่งนางละเวง

ผีเสื้อหางตุ้มจุดชมพู

ผีเสื้ออ๊าชดุ๊คธรรมดา

ผึ้งหลวง

มดแดง

มดหนามหีบทองแหลม

แมลงทับขาแดง

แมลงปอบ้านเสือวงลาย

แมลงปอบ้านเสือสามเหลี่ยม

เสี้ยนดิน

เหลือบ

เห็ดฟานน�้ำตาลแดง

เห็ดมันปู

เห็ดระโงกขาว

เห็ดระโงกเหลือง

เห็ดรังแตน

เห็ดรังนก

เห็ดรังมิ้ม

เห็ดลม

เห็ดหลินจือ

เห็ดหูช้าง

280

281

273

318

321

322

302

327

328

320

331

361

352

351

350

371

368

369

358

357

356

458

448

450

452

460

462

454

446

456

442

444

372

374

386

375

353

354

373

359

360

363

377

366

362

355

364

365

P:488

484 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Index

Plant

Abelmoschus moschatus

Acacia comosa

Adenia viridiflora

Aerides falcata

Alangium salviifolium

Amaranthus spinosus

Anacolosa ilicoides

Ardisia polycephala

Baccaurea ramiflora

Barleria cristata

Bombax ceiba

Breynia retusa

Broussonetia kurzii

Capparis micracantha

Cardiospermum halicacabum

Centrosema pubescens

Clerodendrum viscosum

Cornukaempferia larsenii

Crotalaria juncea

Crotalaria neriifolia

Curcuma cochinchinensis

Curcuma parviflora

Cymbidium aloifolium

Dendrobium delacourii

Desmodium oblongum

Dioscorea alata

Dipterocarpus obtusifolius

Eranthemum album

Etlingera araneosa

Fernandoa adenophylla

Ficus racemosa

Gagnepainia thoreliana

Galactia tenuiflora

Garuga pinnata

Gluta usitata

Gnetum montanum

Hapaline benthamiana

Heliotropium indicum

Hoya kerrii

Hymenodictyon orixense

Hypoxis aurea

Indigofera tinctoria

Ixora butterwickii

Lagerstroemia macrocarpa

Lepisanthes rubiginosa

Memecylon plebejum

Morinda angustifolia

Murdannia edulis

Nephelium hypoleucum

Ochna integerrima

Platycerium wallichii

Radermachera ignea

Rauvolfia serpentina

Rhynchostylis gigantea

Rothmannia sootepensis

Semecarpus cochinchinensis

Strychnos nux–blanda

Suregada multiflorum

101

89

114

109

69

70

108

106

86

67

79

87

104

82

121

90

99

126

91

92

127

128

110

111

93

84

85

68

129

77

105

130

94

81

71

97

75

80

76

116

98

95

117

100

122

103

118

83

123

107

115

78

73

112

119

72

124

88

P:489

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 485

Animal

Tetrastigma serrulatum

Thespesia lampas

Uraria lagopodioides

Vanda lilacina

Wendlandia paniculata

Wrightia arborea

Accipiter badius

Aegithina tiphia

Alcedo atthis

Amaurornis phoenicurus

Anthus rufulus

Arachnothera longirostra

Arachnothera magna

Artamus fuscus

Aviceda leuphotes

Bandicota savilei

Bubulcus coromandus

Butastur liventer

Calluella guttulata

Cannomys badius

Caprimulgus macrurus

Chalcophaps indica

Chloropsis aurifrons

Chrysopelea ornata

Cinnyris jugularis

Cissa chinensis

Copsychus malabaricus

Copsychus saularis

Coracias benghalensis

Crypsirina temia

Cynopterus sphinx

Cyornis tickelliae

Dicaeum cruentatum

Dicrurus hottentottus

Dicrurus paradiseus

Draco maculatus

Elanus caeruleus

Esomus metallicus

Eumyias thalassinus

Ficedula albicilla

Garra fasciacauda

Garrulax leucolophus

Garrulus glandarius

Glaucidium cuculoides

Haplopelma minax

Hemidactylus frenatus

Hemiprocne coronata

Heterometrus spinifer

Hylopetes phayrei

Hypothymis azurea

Isometrus maculatus

Mabuya multifasciata

Mastacembelus favus

Megaderma spasma

Magalaima lineata

Menetes berdmorei

Merops leschenaulti

Merops orientalis

Microhyla heymonsi

Microhyla ornata

125

102

96

113

120

74

160

164

165

202

183

192

193

167

161

152

166

162

219

156

178

170

169

211

194

172

186

187

171

173

153

188

175

176

177

210

163

224

189

190

225

207

174

204

234

216

179

233

158

185

232

217

230

155

180

157

181

182

221

220

P:490

486 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Insect

Acraea violae

Apis dorsata

Arthroschista hilaralis

Calochroa bramani

Catopsilia pomona pomona

Cethosia cyane euanthe

Cyclolosia papilionaris

Delias descombesi descombesi

Discolampa ethion

Dorylus orientalis

Euploea core godartii

Eurema blanda

Graphium doson evemonides

Gyneutocera papilionaria

Havilanditermes proatripennis

Hypolycaena erylus

Laccifer lacca

Lexias pardalis jadeitina

Loxura atymnus

Melanitis leda leda

Neochera dominia

Neptis magadha

Oecophylla smaragdina

Olenecamptus siamensis

Orthetrum testaceum

Orthetrum triangulare

Pachliopta aristolochiae

Paederus fuscipes

Papilio memnon agenor

Polistes stigma

Monticola solitarius

Motacilla cinerea

Mystacoleucus marginatus

Nectarinia jugularis

Oligodon taeniatus

Opsarius koratensis

Oriolus chinensis

Otus lettia

Pellorneum ruficeps

Phylloscopus inornatus

Pitta moluccensis

Ploceus philippinus

Pristolepis fasciata

Puntius orphoides

Pycnonotus atriceps

Pycnonotus aurigaster

Pycnonotus flaviventris

Rana lateralis

Rana nigrovittata

Rasbora paviei

Rhabdophis subminiatus

Rhipidura javanica

Rousettus leschenaulti

Saxicola stejnegri

Sphenomorphus maculatus

Tamiops mcclellandi

Urosphena squameiceps

Vanellus indicus

Xenochrophis piscator

209

184

226

215

212

227

195

205

208

196

197

198

231

228

199

200

201

222

223

229

213

203

154

191

218

159

206

168

214

270

318

296

306

285

271

298

284

266

320

272

283

279

299

333

267

315

273

268

274

292

275

321

304

327

328

281

312

280

324

P:491

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 487

Amanita hemibapha

Amanita princeps

Arcangeliella beccarii

Camillea tinctor

Cantharellus cibarius

Clavulinopsis laeticolor

Craterellus aureus

Craterellus odoratus

Cyathus striatus

Dacryopinax spathularia

Daldinia eschscholtzii

Ganoderma applanatum

Ganoderma lucidum

Geastrum saccatum

Hexagonia apiaria

Hexagonia cingulata

Hexagonia tenuis

Hypoxylon fendleri

Mushroom

Lichen

Acanthothecis clavulifera

Anthracothecium cristatellum

Arthonia cinnabarina

Chapsa leprocarpoides

Chrysothrix candelaris

Diorygma hieroglyphicum

Dirinaria applanata

Dyplolabia afzelii

Glyphis cicatricosa

Polyrhachis illaudata

Prosopocoilus giraffa

Sternocera ruficornis

Tabanus fulvilinearis

Tanaecia julii

Tarsolepis elephatorum

Tatargina picta

Trichogomphus martabani

Troides aeacus aeacus

Xyleutes ceramica

Hypoxylon haematostroma

Hypoxylon investeins

Hypoxylon lividicolor

Hypoxylon nitens

Irpex flavus

Lactarius flavidulus

Lactarius piperatus

Lactarius volemus

Lentinus polychrous

Microporus xanthopus

Pycnoporus sanguineus

Rhodophyllus virescens

Russula emetica

Schizophyllum commune

Scytinopogon angulisporus

Trametes cingulata

Xylaria badia

Xylaria culleniae

Xylaria grammica

322

308

302

331

276

294

288

310

278

290

350

351

375

376

352

364

353

354

368

365

377

356

357

366

369

370

371

378

379

380

381

382

367

359

360

361

358

372

373

386

362

363

355

374

383

384

385

405

430

403

406

404

407

426

408

409

P:492

488 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

Glyphis scyphulifera

Graphis longispora

Graphis rhizicola

Laurera benguelensis

Laurera madreporiformis

Lecanora achroa

Letrouitia domingensis

Letrouitia leprolyta

Letrouitia transgressa

Malmidea aurigera

Malmidea bakeri

Malmidea inflata

Malmidea piae

Ocellularia terebrata

Parmotrema praesorediosum

Parmotrema tinctorum

Porina eminentior

Porina glabra

Pyrenula anomala

Pyrenula kurzii

Pyxine meissneriana

Relicinopsis rahengensis

Thelotrema pachysporum

Trypethelium eluteriae

Trypethelium nigroporum

410

411

412

433

434

415

416

417

418

419

420

421

422

413

423

424

428

429

431

432

427

425

414

435

436

P:493

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 489

คณะท�ำงาน

ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานความหลากหลายทางชีวภาพ

ด้านป่าไม้

นักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการ

นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ

นักวิทยาศาสตร์

นักวิทยาศาสตร์

นักวิทยาศาสตร์

ผู้ช่วยนักวิจัย

ผู้ช่วยนักวิจัย

เจ้าพนักงานการเกษตร

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นักวิทยาศาสตร์(จ้างเหมา)

นางสุรางค์ เธียรหิรัญ

นางสาววีรณา สมพีร์วงศ์

นายอภิวัฒน์ เอื้ออารีเลิศ

นางสาวนิรดา แป้นนางรอง

นายอานุภาพ โตสุวรรณ

นางสาวเกศรา แก้วก้อน

นางสาวสุทธิลักษณ์ โรจนานุกูล

นายกิติวุฒิ ช่างเจริญ

นายสนั่น หมัดส๊ะ

นางสาวจารินี บ�ำรุงถิ่น

นางสุวรรณี สร้างค�ำ

นางสาวชลดา พรจ่าย

นางสาวณัฐนันท์ ทะแดง

นางสาวนงค์ลักษณ์ อาญาเมือง

นางสาวดาริกา เศษบุบผา

นางสาวนรินรัตน์ นิ่มประเสริฐ

นางสาวเปมิกา ค่ายกนกวงศ์

นางสาวพรสุดา กุหลาบเทียม

นางสาวเพ็ญแข ซ้ายวัด

นายณัฐพงศ์ จันทร์หอม

นายนันทวุฒิ สุนทรวิทย์

นางสาวจิดาภา แสงสุริยา

นางสาวพรรษกร เนียมสวัสดิ์

P:494

490 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ขอขอบคุณ

ผู้เชี่ยวชาญด้านพืช นางสาววิสาขา เพียรสุภาพ

ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตว์ ดร.ไสว วังหงษา อาจารย์ประทีป ด้วงแค

นายอรรถพล รุจิราวรรณ นายมานพ เหล็มปาน

ผู้เชี่ยวชาญด้านแมลง รศ.โกศล เจริญสม ดร.สุขสวัสดิ์ พลพินิจ

ผู้เชี่ยวชาญด้านไลเคน ผศ.ดร.กัณฑรีย์ บุญประกอบ ดร.ขจรศักดิ์ วงค์ชีวรัตน์

นางสาวนาถวิดา ดวงผุย

ที่ปรึกษา

นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ

นายรัชฎา สุริยกุล ณ อยุธยา

นางเปรมพิมล พิมพ์พันธุ์

นายสมชัย มาเสถียร

นายธิติ วิสารัตน์

อธิบดีกรมป่าไม้

รองอธิบดีกรมป่าไม้

รองอธิบดีกรมป่าไม้

รองอธิบดีกรมป่าไม้

รักษาการในต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการ

ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้

P:495

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 491

นายหน�ำ สว่างทิตย์ นายอภิชาติบุญสี

นายหมอ ตาใส นายหิน จ้าวแก่ง

นายนวล ด�ำหลุ่ย นายสงวน น�ำแจ้

นายหลุ่น อินแจ้ นายสุนัน ผุลผล

นางวิจิตรา ล�ำใย

อาสาสมัครชุมชน

นายชาญณรงค์สังข์เงิน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลผาเลือด

นายเงิน เพ็งจู ผู้ใหญ่บ้านห้วยเจริญ

นางสุพิน เกียรติศิริถาวร ศูนย์ประสานงานป่าไม้อุตรดิตถ์

ขอขอบคุณภาคีเครือข่าย

นายสุทัศน์กาวิชัย หัวหน้าหน่วยป้องกันรักษาป่าที่อต.1(ท่าปลา)

นายสุพัน ค�ำมูล พนักงานพิทักษ์ป่า ส2

นายจันทร์เพ็ชรเสา พนักงานพิทักษ์ป่า ส2

นายประสิทธิ์กุลพรม พนักงานขับรถยนต์ส2

นายมนัส ทองจันทร์ เจ้าหน้าที่ตรวจป่า

นายไทย ลือทอง เจ้าหน้าที่ตรวจป่า

นายดอกรัก สารถ้อย เจ้าหน้าที่ตรวจป่า

นายอภัย เงินพรวน เจ้าหน้าที่ตรวจป่า

นายบุญปลูก เงินวัน เจ้าหน้าที่ตรวจป่า

นายสุธีภักดี เจ้าหน้าที่ศูนย์ฟื้นฟูสภาพป่าสงวนแห่งชาติป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

ขอขอบคุณหน่วยป้องกันรักษาป่าที่ อต. 1 (ท่าปลา)

นายเพชร ปันนวน นายอนันต์ปันนวน นายค�ำสน ทาแก้ว

นายจ�ำนงค์เสนใจ นายสุรศักดิ์วงษ์ดอน นายสมชาย หนูเสีย

นายสมคิด วงษ์ดอน นายเอกพันธ์ค�ำน้อย นายไพรสิทธิ์แสนหลวง

บ้านน�้ำต๊ะ

บ้านห้วยเจริญ

P:496

492 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

คืนพรรณพืช สร้างความตระหนัก

อนุรักษ์ความหลากหลายฯ

P:497

ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา 493

กว่าจะได้ข้อมูล........

P:498

494 ป่าล�ำน�้ำน่านฝั่งขวา

http://biodiversity.forest.go.th

ฐานข้อมูล : ระบบจัดการฐานความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่ าไม้

Create a Flipbook Now
Explore more