Enjoying your free trial? Only 9 days left! Upgrade Now
Home Explore E-book เรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (1)
Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes! Create your own flipbook
View in Fullscreen

E-book เรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (1)

Published by Ananchana Manopeaw, 2023-01-22 07:10:59

Read the Text Version

No Text Content!

การเพาะ เลี้ยงเนื้อ นื้ เยื่อ ยื่ จัดจัทำ โดย นางสาวอริยริาลักษณ์ ธรรมกิติ เลขที่ 24 ชั้นชั้ม.6/14 นางสาวอนัญนัจนา มะโนเพียพีว เลขที่ 29 ชั้นชั้ม.6/14 SUANBOONYOPATHAM LAMPHUN SCHOOL เสนอ คุณคุครูกรูายทิพย์ แจ่มจ่จันจัทร์


คำ นำ คณะผู้จัผู้ ดจัทำ 10/01/2566 รายงานเล่มล่นี้จั นี้ ดจัทำ ขึ้น ขึ้ เพื่อ พื่ เป็นป็ ส่วส่นหนึ่ง นึ่ ของรายวิชวิา ง33102 การดำ รงชีวิชีตวิและครอบครัวรัเพื่อ พื่ ให้ไห้ด้ศึด้กศึษาหาความรู้ใรู้น เรื่อ รื่ ง การเพาะเลี้ย ลี้ งเนื้อ นื้ เยื่อ ยื่ และได้ศึด้กศึษาอย่าย่งเข้าข้ใจเพื่อ พื่ เป็นป็ ประโยชน์ กับกัการเรียรีน ผู้จัดทำ หวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือ นักเรียน นักศึกษา ที่กำ ลังหาชัอมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีขัอแนะนำ หรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


สารบัญ CONTENTS คํานํา สารบัญ ความหมายและพืชพืที่นิยมนำ มา เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ขั้นขั้ตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเพสะเลี้ยงเนื้อเยื่อในงานด้านป่า ไม้ ข 1 2 4 5 ก 8 เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 11 อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง 13 เนื้อเยื่อ วิธีการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง 14 เนื่อเยื่อ 16 วิธีการเพาะเลี้ยงเนื่อเยื่อ 18 บรรณานุกรม


ความหมายของการเพาะ เลี้ยลี้งเนื้อเยื่อ ยื่ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หมายถึง การนำ เอาส่วนใดส่วนหนึ่งของ พืช ไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเนื้อเยื่อเซลล์ หรือเซลล์ไม่มีผนัง มาเลี้ยง ในอาหารเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อจุลิทรีย์และอยู่ในสภาพ ควบคุมอุณหภูมิ แสงและความชื้นเพื่อให้เซลล์พืชที่นำ มาเพาะ เลี้ยงนั้น ปราศจากเชื้อที่มารบกวนและทำ ลายการเจริญเติบโต ของพืช พืชพืที่นิ ที่ นิยมนำ มาเพาะเลี้ยลี้ง เนื้อเยื่อ ยื่ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ นิยมใช้กับพืชที่มีปัญหาในเรื่องของการ ขยายพันธุ์ หรือพืชที่มีปัญหาเรื่องโรคเช่น ขิง กล้วยไม้ หรือพืช เศรษฐกิจ เช่น กุหลาบ ดาวเรือง ข้าวแครอท คาร์เนชั่น เยอร์บีร่า เป็นต้น


การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีวิธีการทำ 5ขั้นตอน ดังนี้ 1. การเตรียมอาหารคือ การเตรียมอาหารคือ การนำ ธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการในการเจริญเติบโตและธาตุอาหาร รองมาผสมกับวุ้น ฮอร์โมนพืช วิตามินและน้ำ ตาลในอัตราส่วน ที่เหมาะสม แล้วนำ ไปฆ่าเชื้อใส่ลงในขวดอาหารเลี้ยง บางครั้ง อาจหยดสีลงไป เพื่อให้สวยงามและสังเกตได้ชัดเจน ธาตุอาหารที่พืชต้องการ • ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรตัสเซียม แคลเซียม แมกนีเซี่ยมและกำ มะถัน • ธาตุอาหารรอง ได้แก่ ธาตุอาหารที่จำ เป็นน้อย เช่น เหล็ก แมงกานีสสังกะสี ทองแดง 2. การฟอกฆ่าเชื้อส่วนเนื้อเยื่อคือเป็นวิธีการใช้สารเคมี หรือวิธีการต่าง ๆ ที่ทำ ให้ชิ้นส่วนของพืชที่นำ มาเลี้ยงในอาหาร เลี้ยง ปราศจากเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ 3. การนำ เนื้อเยื่อลงขวดเลี้ยง เป็นการนำ เอาชิ้นส่วนของ พืชที่ฟอกฆ่าเชื้อแล้ว วางลงบนอาหารเลี้ยงที่ปลอดเชื้อโดยใช้ เครื่องมือและปฏิบัติการในห้องหรือตู้ย้ายเนื้อเยื่อโดยเฉพาะ ขั้นขั้ตอนการเพาะเลี้ยลี้งเนื้อเยื่อ ยื่


4. การนำ ขวดเลี้ยงเนื้อเยื่อไปเลี้ยง เป็นการนำ เอาขวดอาหาร เลี้ยงที่มีชิ้นส่วนของเนื้อเยื่อไปเลี้ยงไว้บนเครื่องเขย่า เพื่อให้ อากาศได้คลุกเคล้าลงไปในอาหาร ทำ ให้แร่ธาตุ,ฮอร์โมนและสาร อาหารต่าง ๆ ช่วยกระตุ้นให้เนื้อเยื่อที่นำ มาเลี้ยงบนอาหารนั้น เกิดต้นอ่อนของพืชจำ นวนมาก 5. การย้ายเนื้อเยื่อออกจากขวดเมื่อกลุ่มของต้นอ่อนเกิดขึ้น ให้ แยกต้นอ่อนออกจากกัน เพื่อนำ ไปเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงใหม่ จน ต้นอ่อนแข็งแรงดีแล้ว จึงนำ ต้นอ่อนที่สมบูรณ์ออกจากขวด ปลูก ในแปลงเลี้ยงต่อไป


1. เพื่อการผลิตต้นพันธุ์พืชปริมาณมากในเวลาอันรวดเร็ว 2. เพื่อการผลิตพืชที่ปราศจากโรค 3. เพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช 4. เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ต้านทาน 5. เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ทนทาน 6. เพื่อการผลิตยาหรือสารเคมีจากพืช 7. เพื่อการเก็บรักษาพันธุ์พืชมิให้สูญพันธุ์ พืชใกล้สูญพันธุ์ คือขนุนไพศาลทักษิณ ซึ่งมีเหลืออยู่เพียงต้นเดียวใน พระราชวังไพศาลทักษิรตามโครงการพระราชดำ ริของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เพื่อเก็บพันธุ์ไว้เผยแพร่ต่อไปโดยมองให้ Central LAB ที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน กองทัพบกและสวนจิตรลดา เป็นผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกัน เป็นต้น ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยลี้ง เนื้อเยื่อ ยื่


งานด้านป่าไม้ไม่ได้นำ เอาวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาประยุกต์ ใช้กับงานการปรับปรุงพันธุ์และงานการปลูกสร้างสวนป่า สำ หรับงานการปรับปรุงพันธุ์ไม้ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจัดว่า เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพอย่างมาก ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และลดระยะเวลาในการดำ เนินงาน ทั้งนี้เนื่องจากการขยาย พันธุ์โดยวิธีนี้นอกจากขยายพันธุ์พืชได้ในปริมาณมากแล้วยังให้ ความสม่ำ เสมอทั้งคุณภาพและ การเจริญเติบโตอีกด้วยและเมื่อ เปรียบเทียบกับขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เมล็ดที่ต้องใช้ เวลายาวนาน กว่าที่จะดำ เนินการจนสามารถจัดสร้างสวนผลิต เมล็ดพันธุ์ได้โดยเฉพาะสำ หรับพันธุ์ไม้ป่ากว่าที่แม่ไม้ สามารถ ให้ผลผลิตเมล็ดได้ต้องไม่ต่ากว่า 15 ปี สำ หรับไม้โตช้าและ 3 ปี สำ หรับไมโ้ตเร็ว นอกจากนี้วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อยังใช้ในการ สร้างสายพันธุ์ใหม่คัดเลือกพันธุ์และอนุรักษ์พันธุ์ การเพาะเลี้ยลี้งเนื้อเยื่อ ยื่ ใน งานด้าด้นป่าป่ ไม้


การปลูกสร้างสวนป่า การผลิตกล้าไม้สำ หรับการปลูกสร้างสวน ป่าโดยวิธีการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือใน ปัจจุบัน เป็นที่นิยมกันมาก ขึ้น โดยเฉพาะในไม้ยูคาลิปตัสและไม้สัก ทั้งนี้เนื่องจากการผลิต กล้าไม้จาก วิธีการขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศไม่ว่าเป็นการ ปักชาติดตาต่อกิ่ง รวมทั้งการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสามารถผลิต กล้าไม้ที่มีลักษณะเหมือนกันซึ่งทำ ให้ง่ายต่อการจัดการแต่วิธี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีข้อได้เปรียบกว่าวิธีการขยายพันธุ์โดยไม่ อาศัยเพศวิธีอื่นในแง่ที่ว่าสามารถผลิตกล้าได้ในปริมาณมาก ภายในระยะเวลาสั้น รวมทั้งยังประหยัดค่าใช้จ่าย พื้นที่ และ แรงงานอีกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถผลิตกล้าได้ตลอดทุก ฤดูกาลในขณะที่การปลูกป่าโดยอาศัยเมล็ดจะทำ ได้เพียงช่วง ระยะหนึ่งเท่านั้น และในบางปีอาจจะประสบกับปัญหา การ ขาดแคลนเมล็ดอีกด้วย การผลิตกล้าโดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจึง ถูกนามาประยุกต์ใช้สำ หรับงานการปลูกสร้างสวนป่าแทนกล้าที่ เพาะจากเมล็ด วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ป่าที่นำ มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการ ปรับปรุงพันธุ์และงานด้านการปลูกสร้างสวนป่า หลังจาก ที่ทำ การคัดเลือกแม่ไม้ได้แล้ว จะนำ ชิ้นส่วนของแม่ไม้ที่ผ่านการ คัดเลือกแล้ว มา ขยายพันธุ์ได้3วิธีดังต่อไปนี้คือ


1. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการผลิตกล้าไม้จากชิ้นส่วนของพืช ซึ่งได้แก่ เมล็ดตายอด ตาข้าง หรือจากเนื้อเยื่ออื่น โดยชักนำ ให้เกิดเป็นต้น โดยตรง หรือชักนำ ให้เกิดเป็นแคลลัสหรือเซลล์เดี่ยว ก่อนแล้ว จึงชักนำ ให้เกิดต้นใหม่โดยผ่านขบวนการorganogenesisหรือ ขบวนการembryogenesis กล้าที่ได้สามารถนำ ไปใช้ในการปลูก ป่าหรือใช้ในการจัดสร้างสวนผลิตเมล็ดพันธุ์เพื่อทำ การปรับปรุง ในขั้นตอนต่อไป 2. การเลี้ยงเซลล์(cell suspension culture) การเพาะเลี้ยง เซลล์นั้น นอกจากสามารถย่น ระยะเวลา ประหยัดแรงงานและ พื้นที่ในการดำ เนินการแล้วยังสามารถผลิตต้นได้ในปริมาณ มากมายอีก จึงเหมาะในการผลิตพืชในเชิงการค้า (Biondi and Thorpe, 1981)และในขณะเดียวกัน ยังใช้สำ หรับการคัดสาย พันธุ์ 3. การเลี้ยงโปรโตพลาสต์(Protoplast culture) วิธีนี้เหมาะ สำ หรับการสร้างสายพันธุ์ใหม่ (Evans andBravo, 1983) งาน ด้าน protoplast fusionสามารถเว้นขั้นตอนการผสมพันธุ์ ทำ ให้ ย่าระยะเวลาและยังสามารถหลอมรวมเอาลักษณะทาง พันธุกรรมซึ่งไม่สามารถทำ โดยการผสมพันธุ์แบบดั้งเดิม


เทคนิคการเพาะเลี้ยลี้งเนื้อเยื่อ ยื่ (Tissue Culture Technique) การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพันธุ์ไม้ป้ามีหลักการเช่นเดียวกับการเพาะ เลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วไป โดยดำ เนินการเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนพืชในอาหาร สังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อซึ่งมีการเตรียมพื้นที่ในการ ดำ เนินการและวิธีการดังนี้ ห้อห้งปฎิบัติบักติารเพาะเลี้ยลี้งเนื้อเยื่อยื่ (Tissue Culture Laboratory) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชต้องดำ เนินงานภายใต้ ภาวะปลอดเชื้อ และควบคุมสภาวะแวดล้อมให้ เหมาะสมสาหรับพืชดังนั้นสถานที่ และเครื่องมือที่ใช้จึงแตกต่างไปจากห้องปฏิบัติการทั่วไป การดำ เนิน งานต้องต่อเนื่องกันตามลำ ดับขั้นตอน การจัดสถานที่และเครื่องมือ จึงต้องวางแผนให้สอดคล้องและสะดวกในการปฏิบัติงาน


ห้อห้งย้ายเนื้อเยื่อยื่ (TransferredRoom) ห้องย้ายเนื้อเยื่อเป็นบริเวณที่จะเอาไว้สำ หรับการย้ายเนื้อเยื่อพืชซึ่งการ ปฎิบัติงานอยู่ภายใต้สภาวะปลอดเชื้อห้องนี้จึงต้องระมัดระวังเรื่องความ สะอาดเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรคลักษณะของห้องควรเป็น ห้องที่ปิดมิดชิดมีแสงสว่างเพียงพอ ภายในห้องโล่ง ห้องควรเรียบและ ทำ ความสะอาดได้ง่ายอากาศภายในต้องควรสะอาด ภายในห้องควรมี เครื่องมือดังต่อไปนี้ • ตู้ย้ายเนื้อเยื่อ(Transferred hood/CleanBench) มี 2ลักษณะ มีที่กรองอากาศและไม่มีที่กรองอากาศ • เครื่องปรับอากาศ(AirCondition) ห้อห้งเตรียรีมอาหาร (Medium Prepared Room) 1.1 การจัดบริเวณห้องปฏิบัติการ ห้องเตรียมอาหารเป็นบริเวณที่จะเอาไว้เพื่อใช้ในการเตรียมอาหารสำ หรับ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและทำ ความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ภายในห้องนี้ควร จัดบริเวณให้เป็นสองส่วนโดยแบ่งส่วนให้เหมาะสมและสะดวกในการทำ งาน 1.2อุปกรณ์และสารเคมี 1.สารเคมี การเตรียมอาหารต้องใช้สารเคมีหลายอย่าง เช่น •สารเคมีที่เป็นองคป์ระกอบของสูตรอาหาร • ฮอร์โมน 2. เครื่องแก้ว เช่น • Pipet ขนาดต่าง ๆ เช่น 1,2,3,5,10,และ 20 ml • Cylinder ขนาด10,50,100,250,และ 1,000 ml 3.อุปกรณ์อื่นๆ เช่น • สาลี • Aluminum foil


ห้องเพาะเลี้ยงเป็นบริเวณที่ต้องควบคุมสภาวะแวดล้อมให้ เหมาะสมต่อการเจริญและการพัฒนาของเนื้อเยื่อซึ่งได้แก่ อุณหภูมิแสงสว่างและความชื้นภายในห้องนี้ควรระมัดระวังการ ปนเปื้อนจากเชื้อโรคเช่นเดียวกับห้องย้ายเนื้อเยื่อเครื่องมือที่ใช้ สำ หรับห้องนี้ ประกอบด้วย 3.1 เครื่องปรับอากาศ :ควบคุมอุณหภูมิภายในห้อง โดยทั่วไปควบคุมอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส 3.2 ระบบแสงสว่าง :ควบคุมแสงสว่างในห้องเพราะเลี้ยง โดยจัดให้มีการเข้มของแสง 100-200 กำ ลังเทียน ซึ่งโดย ปกติพืชสามารถเจริญได้ที่มีมีความ เข้มแสงน้อยกว่า 1 K Luxesแต่พืชบางชนิดต้องการแสงปริมาณ มากถึง5-10 K Luxes 3.3 ชั้นวางขวด : ใช้สำ หรับเลี้ยงเนื้อเยื่อบนอาหารแข็งฉันอาจทำ ด้วยกระจกไม้ หรือตะแกรงลวด 3.4 เครื่องเขย่า : ใช้สำ หรับการเลี้ยงเนื้อเยื่อในอาหารเหลว 3.5เครื่องควบคุมความชื้น :ควรจัดให้มีความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 60% เพื่อช่วยป้องกันไม่ ให้อาหารแห้งเร็วเกินไป ห้อห้งย้ายเนื้อเยื่อยื่ (TransferredRoom)


1.สารอนินทรีย์(Inorganic nutrient) สารอนินทรีย์เป็นธาตุอาหารที่มีความจำ เป็นมากสำ หรับการทำ งานและ การเจริญเติบโตของพืช เช่น แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ ไนโตรเจน เป็นส่วนสำ คัญของกรดอะมิโน เหล็ก สังกะสีและโมลิพดินัม เป็นส่วนประกอบของเอ็มไซม์ 2.สารอินทรีย์(Organic nutrient) สารอินทรีย์ได้แก่สารที่มีองค์ประกอบของคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O)แบ่งเป็นกลุ่มดังนี้ 2.1 วิตามิน : เนื้อเยื่อพืชต้องการวิตามินในปริมาณที่เพียงพอต่อการเสริมสร้างการเจริญ เติบโต 2.2 กรดอมิโน : กรดอะมิโน ที่นิยมใช้คือ L-glycine กรดอะมิโนอื่นใช้บ้างในบางกรณี เช่น Glutamic acidและ Aspartic acid เป็นต้น 2.4สารอินทรีย์อื่นๆ :สารอินทรีย์อื่นๆเป็นสารซึ่งได้จากผลิตภัณฑ์ของพืชซึ่งไม่รู้องค์ประกอบที่ แน่นอนเป็นสารที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตเช่น น้ำ มะพร้าว น้ำ มะเขือเทศ อาหารเพาะเลี้ยลี้งเนื้อเยื่อ ยื่ (Tissue Culture Media) เนื้อเยื่อของพืชมีความต้องการปริมาณธาตุอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญ เติบโตตามชนิด หรือแม้แต่เนื้อเยื่อพืชที่มาจากส่วนที่ต่างกัน เช่น เมล็ดใบ ลำ ต้น ก็มีความต้องการปริมาณธาตุอาหารที่แตกต่างกันไป ดังนั้นจึงมีการ ศึกษาสูตรอาหารสำ หรับเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกันมากมายเพื่อให้เหมาะกับพืช แต่ละชนิด


3.สารควบคุมการเจริญเติบโต(Growth hormones) สารควบคุมการเจริญเติบโตเป็นสารอินทรีย์ที่มีผลต่อการกระตุ้น หรือยับยั้งหรือเปลี่ยนแปลงขบวนการทางสรีระบางอย่างของพืชซึ่งมี ผลต่อการเจริญเติบโตของพืชแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม -Auxinสารในกลุ่มนี้มีผลต่อการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ -Cytokininsสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มนี้มีผลต่อการแบ่ง เซลล์และขยายตัวของเซลล์ -Gibberellinsสารนี้มีผลต่อการขยายตัวของเซลล์การพัฒนาของ เมล็ดการงอกของเมล็ดกระตุ้น การออกดอกและติดผล 4. วุ้น วุ้นไม่ได้ให้สารอาหารที่สำ คัญในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแต่เป็นเพียง ส่วนที่ทำ ให้อาหารแข็งหรือกึ่งแข็งพอที่จะพยุงเนื้อเยื่อพืชไม่ให้จมอยู่ ในอาหารเท่านั้น วุ้นเป็น Polysaccharideชนิดหนึ่งที่ผลิตได้จาก สาหร่ายทะเลการใช้วุ้นในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อประมาณ 0.8 ถึง 1% ที่ใช้สำ หรับการเพาะเลี้ยงเนี่ยแย่มีหลายระดับคือวุ้นบริสุทธิ์ วุ้น สำ หรับการค้า อาหารเพาะเลี้ยลี้งเนื้อเยื่อยื่ (Tissue Culture Media)


อาหารสำ หรับเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชจะแตกต่างกันไปตาม ชนิดของเนื้อเยื่อและชนิดพืชสูตรอาหารสำ หรับเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อจะมีอยู่หลายชนิดการเลือกสูตรอาหารมาใช้อาจจะต้อง คำ นึงถึงความเหมาะสมกับพืชและวัตถุประสงค์ในการศึกษา เป็นต้นว่าสูตรของ Murashigeและ Skoog(MS) เหมาะสาหรับ ใชเ้พาะเลี้ยงและขยายเพิ่มจานวนพืชหลายชนิดสูตรอาหาร ของSchenkและHildebrandt เหมาะสาหรับเลี้ยงแคลลัสของพืช ทั้งเลี้ยงเดียวและใบเลี้ยงคู่สูตรอาหารของ Whiteเป็นสูตร อาหารที่ ใช้สาหรับเลี้ยงราก และสูตรอาหารของ Gamborและ B5เหมาะสาหรับเพาะเลี้ยงพืชท่ีสำ คัญทาง เศรษฐกิจหลายชนิด สูตรอาหารแต่ละสูตรมีองค์ประกอบของสารอินทรีย์สารอนินท รีย์และวิตามิน ในรูปของสารประกอบที่แตกต่างกันไปทั้งชนิด และปริมาณ การเตรียมอาหารสาหรับการผลิตกล้าไม้ซึ่ง มีสูตรที่ เหมาะสมแล้วสามารถใช้อาหารพื้นฐานสาเร็จรูปซึ่งมีขายในท้อง ตลาดมาใช้จะช่วยประหยัดเวลาและเงินได้มากสำ หรับงานการ ทดลองซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารประกอบในสูตรอาหาร อยู่ควรเตรียมเอง วิธีที่สะดวกที่สุดคือการทา Stock solution ของ อาหารในแต่ละสูตรไว้ การเตรียรีมอาหารเพาะเลี้ยลี้งเนื้อเยื่อ ยื่ (Media Preparation) สูตรของ Murashige และ Skoog (MS)


วิธีวิกธีารเตรียรีมอาหารเพาะเลี้ยลี้งเนื่อเยื่อ ยื่ (Media Preparation) การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อประกอบด้วยอาหารพื้นฐาน คือ ธาตุอาหาร หลักธาตุอาหารรอง เหล็ก วิตามินตามสูตรต่างๆ นอกจากนี้ ในอาหารยังมีสารควบคุมการเจริญเติบโต น้ำ ตาลวุ้นและสารอื่นที่เพิ่ม เติมเข้าไป เช่น ผงถ่าน 1.1 การคำ นวณปริมาณ Stock Solution การคำ นวณปริมาณ stock solution ของอาหารพื้นฐานและสารเร่ง การเจริญเติบโตตามความ เข้มข้นต้องการ โดยใช้สูตร N1V1 = N2V2 N1 = ความเข้มข้ข้นข้ของ Stock Solution V1 = ปริมริาตรของ Stock Solution N2 = ความเข้มข้ข้นข้ที่ต้ที่ ต้อง V2 = การปริมริาตรที่ต้ที่ ต้องการ 1.2. ผสม Stock solutionและสารควบคุมการเจริญเติบโต นำ stock solutionตามปริมาณที่คำ นวณไว้ผสมเข้าด้วยกันเติม น้ำ ตาลแล้วคนให้เป็นเนื้อเดียวกัน วิตามินและ Auxin บางชนิด คุณสมบัติเปลี่ยนไปเมื่อได้รับความร้อนสูงดังนั้น การเตรียมอาหาร จึงต้องเติมวิตามิน และ Auxin หลังจากการนึ่งฆ่าเชื้อ


1.3 ปรับ pHของอาหาร : นำ อาหารท่ีผสมแล้วไปปรับpHให้ได้ตามต้องการการโดยใช้ 0.1 N NaOHเมื่อต้องการเพิ่ม pH0.1 N HCl เมื่อต้องการลดpH 1.4 เติมน้ำ กลั่นในอาหาร : นำ อาหารท่ีปรับ pHเรียบร้อยแลว้ มาเติมน้ำ กลั่นให้ครบตาม ปริมาณท่ีต้องการ 1.5 การเติมวุ้น : ในกรณีที่เตรียมอาหารแข็ง ให้เติมวุ้นลงไป แล้วนาไปต้มจน วุ้นละลายหมดจากน้ันจึงเทใส่ ภาชนะตามปริมาณท่ีต้องการ ปิดฝาให้พอตึงมือและเมื่อหลังจากน่ึงฆ่าเชื้อแล้ว จึงปิดฝาให้ แน่นอีกครั้งแต่ถ้าอาหารเหลวเทใส่ภาชนะได้ทันที 1.6 การฆ่าเชื้อ : นำ อาหารไปฆ่าเชื้อโดยการน่ึงในหม้อ นึ่งความดันสูง (autoclave) ท่ีอุณหภูมิ120องศาเซลเซียสความดัน 1.06 kg/cm2 ประมาณ 15 - 40 นาที ข้ึนอยู่กับ ปริมาณอาหารและขนาดภาชนะ 1.7 การเก็บอาหาร :อาหารท่ีฆ่าเชื้อเรียบร้อยควรจะเก็บไว้ในห้องที่สะอาด อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ ประมาณ 4องศาเซลเซียส ก่อนนำ ไปใช้ ควรทิ้งไว้2-3 วันให้แน่ใจว่าไม่มีการปนเปื้นของเชื้อรา หรือแบคทีเรีย


การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีแนวทางในการปฏิบัติได้หลายทางด้วยกัน เป็นต้นว่าการขยายพันธุ์โดยจุลวิธี วิธีนี้ใช้ตาหยอดหรือตาพืชมาเพาะ เลี้ยงให้เกิดเป็นกล้าใหม่ การเพาะเลี้ยงแคลลัสเป็นการนำ ชิ้นส่วนพืช มาเพาะเลี้ยงให้เกิดเป็นแคลลัลจากนั้นจึงชักนำ ให้เกิดขบวนการ Organogenesis หรือEmbryogenesisแล้วได้กล้าใหม่ขึ้นมา การ เพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์ก็เป็นการนำ โปรโตพลาสต์ของพืชมาเพาะ เลี้ยงให้เกิดเป็นต้นใหม่ ขั้นตอนการปฎิบัติงานมีลำ ดับขั้นตอนดังนี้ 1.คัดเลือกชิ้นส่วนพืช 2. ทำ ความสะอาดบริเวณผิวของชิ้นส่วนพืช 3. เพาะเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ให้กิดกล้าใหม่ 4.ย้ายปลูกในเรือนเพาะชำ วิธีวิกธีารเพาะเลี้ยลี้งเนื่อเยื่อ ยื่ (Tissue Culture Method)


วิธีวิกธีารเพาะเลี้ยลี้งเนื่อเยื่อ ยื่ (Tissue Culture Method)


บรรณานุกรม ณัฏณัฐากร เสมสันสัทัดทั.//(2552).//การเพาะเลี้ยลี้งเนื้อนื้ เยื่อ.//สืบค้นค้เมื่อ 10 มกราคม 2566,/จาก http://forprod.forest.go.th/forprod/techtransfer/document/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9% 88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8 %AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0% B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0 %B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E 0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80% E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89 %E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%A D%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD.pdf ทีมงานทรูปลูกปัญญา.//(2564).//การเพาะเลี้ยลี้งเนื้อนื้ เยื่อ.//สืบค้นค้เมื่อ 10 มกราคม 2566,/จาก https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/917