The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by happypomelo_, 2021-08-10 11:20:27

ดนตรีไทย 4 ภาค

ดนตรีไทย 4 ภาค

• เครือ่ งดนตรี ภาคกลาง

ประกอบด้วยเครือ่ งดนตรีประเภท ดีด สี ตี เป่า โดยเครื่องดีด ได้แก่
จะเข้และจ้องหน่อง เครื่องสี ได้แก่ ซอด้วงและซออู้ เครือ่ งตี ได้แก่
ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดทอง ระนาดทุ้มเล็ก ฆ้อง โหม่ง ฉ่งิ
ฉาบและกรับ เครื่องเป่า ได้แก่ ขลุ่ยและปี่

ซอด้วง ระนาดเอก
จะเข้ ปี่

• ลกั ษณะเด่นของเครื่องดนตรภี าคกลาง คือ วงปี่พาทย์ของภาค
กลางจะมกี ารพฒั นาในลักษณะผสมผสานกับดนตรีหลวง โดยมี
การพฒั นาจากดนตรีปี่และกลองเปน็ หลักมาเปน็ ระนาดและ
ฆ้องวงพร้อมทั้งเพิม่ เครื่องดนตรี มากขนึ้ จนเปน็ วงดนตรีทมี่ ี
ขนาดใหญ่ รวมท้ังยังมกี ารขบั ร้องที่คล้ายคลึงกับปี่พาทย์ของ
หลวง ซึ่งเป็นผลมาจากการถ่ายโยงทางวัฒนธรรมระหว่าง
วัฒนธรรมราษฎรแ์ ละหลวง

วงดนตรีพื้นบา้ นภาคกลาง

• เครือ่ งดนตรีภาคเหนือ

ในยคุ แรกจะเป็นเครื่องดนตรีประเภทตี ได้แก่ ท่อนไมก้ ลวง ที่ใช้
ประกอบพิธีกรรม ในเรื่องภูตผีปีศาจและเจ้าป่า เจ้าเขา จากน้ัน ได้
มกี ารพัฒนาโดยนาหนังสตั ว์มาขึงทปี่ ากท่อนไม้กลวงไว้กลายเปน็
เครื่องดนตรีทีเ่ รียกวา่ กลอง ต่อมามกี ารพฒั นารูปแบบของกลองให้
แตกต่างออกไป เช่น กลองที่ขึงปิดด้วยหนังสตั ว์เพยี งหนา้ เดยี ว
ได้แก่ กลองรามะนา กลองยาว กลองแอว และกลองทีข่ ึงด้วยหนงั
สตั ว์ทั้งสองหนา้ ได้แก่ กลองมองเซงิ กลองสองหน้า และตะโพน
มอญ นอกจากนยี้ งั มเี ครือ่ งตีที่ทาด้วยโลหะ เช่น ฆ้อง ฉิ่ง ฉาบ ส่วน
เครือ่ งดนตรีประเภทเปา่ ได้แก่ ขลุ่ย ย่ะเอ้ ปี่แน ปี่มอญ ปีสรไน และ
เครือ่ งสี ได้แก่ สะล้อลกู 5 สะล้อลูก 4 และ สะล้อ 3 สาย และ
เครื่องดีด ได้แก่ พิณเปีย๊ ะ และซึง 3 ขนาด คือ ซึงนอ้ ย ซงึ กลาง
และซึงใหญ่

ซึง

พิณเปี๊ยะ

สาหรับลักษณะเดน่ ของเครือ่ งดนตรีภาคเหนือ คือ มกี ารนาเครือ่ ง
ดนตรีประเภท ดีด สี ตี เป่า มาผสมวงกนั ให้มคี วามสมบูรณ์และ
ไพเราะ โดยเฉพาะในด้านสาเนยี งและทานองที่พลวิ้ ไหวตาม
บรรยากาศ ความนุ่มนวลอ่อนละมนุ ของธรรมชาติ นอกจากนยี้ ังมี
การผสมทางวัฒนธรรมของชนเผา่ ตา่ ง ๆ และยงั เชือ่ มโยงกบั
วัฒนธรรมในราชสานกั ทาให้เกดิ การถา่ ยโยง และการบรรเลงดนตรี
ได้ทั้งในแบบราชสานักของคมุ้ และวัง และแบบพื้นบ้านมเี อกลักษณ์
เฉพาะถิ่น

วงดนตรีพื้นบา้ นภาคเหนอื

• เครื่องดนตรีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
(อีสาน)

มวี ิวัฒนาการมายาวนานนบั พนั ปี เริ่มจากในระยะต้น มกี ารใช้วสั ดุ
ท้องถ่นิ มาทาเลียนสียงจากธรรมชาติ ป่าเขา เสียงลมพดั ใบไม้ไหว
เสียงน้าตก เสียงฝนตก ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นเสยี งสนั้ ไม่กอ้ ง ในระยะ
ต่อมาได้ใช้วสั ดพุ ื้นเมืองจากธรรมชาติมาเปา่ เช่น ใบไม้ ผวิ ไม้
ต้นหญ้าปล้องไม้ไผ่ ทาให้เสียงมคี วามพลิว้ ยาวขึ้น จนในระยะที่ 3
ได้นาหนงั สัตว์และเครือ่ งหนงั มาใช้เปน็ วัสดสุ ร้างเครื่องดนตรีทีม่ ี
ความไพเราะและรูปร่างสวยงามขนึ้ เช่น กรับ เกราะ ระนาด ฆ้อง
กลอง โปง โหวด ปี พิณ โปงลาง แคน เปน็ ต้น

โหวด แคน

พิณ

วงดนตรีพื้นบา้ นภาคอีสานที่มลี ักษณะเฉพาะตามพื้นที่ 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มอสี านเหนือ และอสี านกลางจะนิยมดนตรีหมอลาที่มีการเป่า
แคนและดีดพิณประสานเสียงร่วมกับการขบั ร้อง ส่วนกลุ่มอีสานใต้
จะนิยมดนตรีกันตรึมซึง่ เปน็ ดนตรีบรรเลงทไี่ พเราะของชาวอีสานใต้
ที่มเี ชื้อสายเขมร นอกจากนีย้ ังมวี งพิณพาทย์และวงมโหรีด้วย
ชาวบ้านแต่ละกลุ่มกจ็ ะบรรเลงดนตรีเหล่านีก้ นั เพือ่ ความ
สนุกสนานครื้นเครง ใช้ประกอบการละเล่น การแสดง และพิธีกรรม
ต่าง ๆ เช่น ลาผีฟา้ ที่ใช้แคนเป่าในการรักษาโรค และงามศพแบบ
อสี านที่ใช้วงตมุ้ โมงบรรเลง นับเป็นลกั ษณะเด่นของดนตรีพื้นบา้ น
อสี านที่แตกต่างจากภาคอืน่ ๆ

วงดนตรีพื้นบา้ นภาคอีสาน

• เครื่องดนตรีภาคใต้

การประดิษฐเ์ ครื่องดนตรจี ากวสั ดใุ กล้ตวั ซึง่ สนั นิษฐานว่าดนตรี
พื้นบ้านดั้งเดมิ ของภาคใต้นา่ จะมาจากพวกเงาะซาไก ทีใ่ ช้ไมไ้ ผ่ลา
ขนาด ต่าง ๆ กนั ตัดออกมาเป็นท่อนส้ันบา้ งยาวบา้ ง แลัวตดั ปากขอ
งกระบอกไมไ้ ผ่ให้ตรงหรือเฉียงพร้อมกับหุ้มด้วยใบไม้หรือกาบของ
ต้นพืช ใช้ตีประกอบการขบั ร้องและเต้นรา จากนั้นก็ได้มีการพฒั นา
เป็นเครือ่ งดนตรีแตร กรบั กลองชนิดต่าง ๆ เช่น รามะนา ทีไ่ ด้รับ
อทิ ธิพลมาจากชาวมลายู กลองชาตรีหรือกลองตุ๊กทีใ่ ช้บรรเลง
ประกอบการแสดงมโนรา ซึ่งได้รับอทิ ธิพลมาจากอนิ เดีย
ตลอดจนเครื่องเป่าเช่น ปี่นอกและเครือ่ งสี เช่น ซอด้วง ซออู้

โทนรามะนา กลองชาตรี

ความเจริญทางศิลปะการแสดงและดนตรขี องเมืองนครศรีธรรมราช
จนได้ชือ่ ว่าละคร ในสมัยกรุงธนบรุ ีน้ันลว้ นได้รบั อทิ ธพิ ลมาจากภาค
กลางนอกจากนยี้ ังมกี ารบรรเลงดนตรีพนื้ บา้ นภาคใต้ ประกอบ
การละเล่นแสดงตา่ งๆ เช่น ดนตรีโนรา ดนตรีหนังตะลงุ ที่มเี ครือ่ ง
ดนตรีหลกั คือ กลอง โหม่ง ฉง่ิ และเครื่องดนตรีประกอบผสมอืน่ ๆ
ดนตรีลิเกป่าทีใ่ ช้เครื่องดนตรีรามะนา โหม่ง ฉง่ิ กรบั ปี่ และดนตรี
รองเง็ง ที่ได้รับแบบอย่างมาจากการเต้นราของชาวสเปนหรือ
โปรตุเกสมาต้ังแตส่ มัยอยธุ ยา โดยมกี ารบรรเลงดนตรีที่
ประกอบด้วย ไวโอลิน รามะนา ฆ้อง หรือบางคณะก็เพิ่มกตี ้าร์เข้า
ไปด้วย

วงดนตรีพื้นบา้ นภาคใต้


Click to View FlipBook Version