The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

PPT หน่วยที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by a0981653842, 2023-09-08 00:30:55

PPT หน่วยที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

PPT หน่วยที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ ำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน


สาระการเรียนรู้แกนกลาง • สถำนกำรณ์กำรเปลี่ยนแปลงด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ กำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ ควำมเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ และภัยพิบัติ • สำเหตุและผลกระทบของกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภำคต่ำง ๆ ของโลก • กำรจัดกำรภัยพิบัติ • มำตรกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมในประเทศและระหว่ำงประเทศ ตำมแนวทำงกำรพัฒนำที่ยั่งยืน ควำมมั่นคงของมนุษย์และกำรบริโภคอย่ำงรับผิดชอบ • กฏหมำยและนโยบำยด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมทั้งในประเทศและระหว่ำงประเทศ • บทบำทขององค์กำร และกำรประสำนควำมร่วมมือทั้งในประเทศ และระหว่ำงประเทศ • แนวทำงกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม • กำรมีส่วนร่วมในกำรแก้ปัญหำ และกำรด ำเนินชีวิตตำมแนวทำงกำรจัดกำรทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อมเพื่อกำรพัฒนำที่ยั่งยืน หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน


รังสีความร้อนปริมาณมาก สะท้อนออกสู่อวกาศ ท าให้อุณหภูมิพอเหมาะ รังสีความร้อนถูกดูดซับ ไว้ด้วยแก๊สเรือนกระจก ท าให้อุณหภูมิสูงขึ้น CH4 CO2 CH4 N2O CO2 CH4 N2O CO2 N2O CO2 ปี 2552 – 2561 อุณหภูมิสูงขึ้นเฉลี่ย 0.93°C สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ


สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากมนุษย์ รังสีความร้อนเพิ่มขึ้น โลกร้อนขึ้น จากธรรมชาติ


ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลผลิตทางการเกษตรลดลง ดินเสื่อมสภาพ ระดับน้ าทะเลสูงขึ้น ภัยธรรมชาติรุนแรงขึ้น สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ปริมาณน้ าจืดลดลง


แนวทางแก้ไขการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ลดการใช้ถุงพลาสติก พัฒนาพลังงานสะอาด รถยนต์พลังงานไฟฟ้า, น้ า ปลูกป่า ใช้รถจักรยาน


ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิกฤติเกี่ยวกับทรัพยากรดิน ผลกระทบ แนวทางแก้ไข ▪ จากมนุษย์ เช่น การบุกรุกป่าต้นน้ า การใช้ที่ดินผิดประเภท การใช้ปุ๋ยเคมี ▪ จากธรรมชาติ เช่น การเกิดไฟป่า การเกิดดินถล่ม และน้ าท่วมฉับพลัน สาเหตุการเกิด แหล่งน้ าตื้นเขิน ผลผลิตตกต่ า เกิดการบุกรุกพื้นที่ป่า การปลูกพืชแบบขั้นบันได การท าเกษตรอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด


▪ จากมนุษย์ เช่น การบุกรุกป่าต้นน้ า การปล่อยน้ าเสียหรือทิ้งขยะลงสู่แหล่งน้ า ▪ จากธรรมชาติ เช่น การเกิดอุทกภัย หรือภัยแล้งจากฝนทิ้งช่วง ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิกฤติเกี่ยวกับทรัพยากรน้ า สาเหตุการเกิด ผลกระทบ แนวทางแก้ไข ผลผลิตตกต่ า แหล่งน้ าเน่าเสีย ปัญหาสุขภาพอนามัย โรงงานบ าบัดน้ าเสีย ผลิตน้ าจืดจากน้ าทะเล สร้างแหล่งกักเก็บน้ า


ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิกฤติเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ▪ จากมนุษย์ เช่น การตัดไม้ท าลายป่า การบุกรุกที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า และการสร้างสาธารณูปโภค ▪ จากธรรมชาติ เช่น การเกิดไฟป่าในฤดูแล้ง แผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด สาเหตุการเกิด ผลกระทบ แนวทางแก้ไข สัตว์ป่าสูญเสียแหล่งที่อยู่ พืชและสัตว์สูญพันธุ์ ภาวะโลกร้อน เนื่องจากป่าไม้ถูกท าลาย รณรงค์ปลูกป่า เพาะพันธุ์สัตว์ป่า ก าหนดพื้นที่ป่าอนุรักษ์


▪ การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย เช่นทรัพยากรประเภท น้ ามัน ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ ▪ การผลิตพลังงานที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การท าเหมืองแร่ถ่านหิน เกิดฝุ่นละอองในอากาศ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิกฤติเกี่ยวกับทรัพยากรแร่และพลังงาน สาเหตุการเกิด ผลกระทบ แนวทางแก้ไข ปัญหาสุขภาพ ภาวะโลกร้อน มลพิษต่อสิ่งแวดล้อม พลังงานลม,แสงอาทิตย์ พลังงานน้ า พลังงานจากคลื่นทะเล


ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิกฤติเกี่ยวกับขยะและของเสียอันตราย ▪ การเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากรโลก ความต้องการใช้สินค้า และการผลิตสินค้าจึงมากขึ้น ▪ การเก็บและท าลาย หรือน าขยะไปใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ ท าให้มีขยะตกค้าง สาเหตุการเกิด ผลกระทบ แนวทางแก้ไข แหล่งน้ าเน่าเสีย มลพิษจากการเผาขยะ แหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค คัดแยกขยะ รีไซเคิลขยะ ใช้ผลิตภัณฑ์ฉลากเขียว


การเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ


ปัจจัยที่ท าให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงความ หลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างสิ้นเปลือง 2 การเกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 4 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1 5 การเพิ่มของจ านวนประชากร และการกระจายตัวของประชากร 3 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี


มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อมูลเพิ่มเติม - https://www.un.or.th/globalgoals/th/ คือ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยค านึงถึงความเสียหาย มีการป้องกันปัญหาที่ก่อให้ เกิดความเสียหายกับสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด โดยค านึง ถึงความต้องการพื้นฐานของประชากรภายในประเทศ การพัฒนาที่ยั่งยืน


ฉลากรับรองผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาสินค้าและบริการที่ปลอดภัย ต่อสิ่งแวดล้อมและการใช้งาน ส่งเสริมการซื้อสินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างความตระหนักและกระตุ้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิต และการบริโภค ใช้เทคโนโลยีที่มีมาตรฐาน ด้านสิ่งแวดล้อมและลดการ ปล่อยมลพิษ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารน ากลับมาใช้ใหม่ มีระบบบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อม และติดตามประเมินผลการด าเนินงาน อย่างสม่ าเสมอ ลดการสูญเสียอาหารจากขบวนการผลิต ส่งเสริมให้เกิดการตลาดที่ยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน


โครงการในพระราชด าริ ในหลวงรัชกาลที่ 9 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย เป็นหนึ่งในโครงการพระราชด าริที่ตั้งอยู่อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่ แห่งนี้้เคยมีความอุดมสมบูรณ์ที่มากมาก่อนถูกราษฎรเข้าบุกรุกท าลายป่าเพื่อประกอบ อาชีพเกษตรกรรม จึงเกิดพื้นที่แห้งแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล และสภาพดินเสื่อมโทรม อย่างหนัก จนไม่สามารถท าการเกษตรได้ พระองค์จึงพระราชทานพระราชด าริให้ พัฒนาพื้นที่บริเวณห้วยทราย เป็นศูนย์ศึกษาด้านป่าไม้อเนกประสงค์


โครงการในพระราชด าริ ในหลวงรัชกาลที่ 9 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮองไคร้ ตั้งอยู่ที่อ าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์แห่งนี้ได้น าพระราชด าริของใน หลวงรัชกาลที่ 9 มาใช้ในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติทั้งด้านทรัพยากรต้นน้ า ด้านการเกษตรกรรม ด้านปศุสัตว์และโคนม และด้านอุตสาหกรรม ประชาชนทั่วไป สามารถเข้ามาเรียนรู้และน าสิ่งที่ได้ไปปฏิบัติใช้ได้จริง


โครงการในพระราชด าริ ในหลวงรัชกาลที่ 9 โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม เป็นศูนย์การศึกษาวิจัยและสาธิตวิธีการฟื้นฟูปรับปรุงที่ดินเสื่อมโทรม ตั้งอยู่ที่ บ้านเขาชะงุ้ม หมู่ที่ 2 ต าบลเขาชะงุ้ม อ าเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เพื่อเป็นรูปแบบและ ส่งเสริมอาชีพเกษตรกรที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่โครงการได้เรียนรู้วิธีการจัดการดิน น้ า และพืชอย่างถูกต้อง มีความยั่งยืนไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและให้กลับมาใช้ประโยชน์ได้ อีกครั้ง ท าให้เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น


โครงการในพระราชด าริ ในหลวงรัชกาลที่ 9 โครงการแกล้งดิน ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงทราบถึงความเดือดร้อนของประชาชนชาวภาคใต้ โดยเฉพาะเกษตรกรจังหวัดนราธิวาสที่ประสบปัญหาดินเปรี้ยวท าให้เพาะปลูกไม่ได้ พระองค์ จึงมีพระราชด าริให้ท าการศึกษาและพัฒนาดินพรุแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว ณ ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาพิกุลทอง โดยวัตุประสงค์คือเปลี่ยนเป็นดินมีคุณภาพให้ประชาชนท าการเพาะปลูกได้ วิธีการแกล้งดินเริ่มจากการท าให้ดินเปรี้ยวสุดขีดเพื่อเร่งปฏิกิริยาทางเคมีของดินพรุที่มี สารประกอบของก ามะถันท าให้ดินมีสภาพเป็นกรดจัด จากนั้นท าการปรับปรุงดินด้วย วิธีการต่าง ๆ ที่ช่วยลดความเป็นกรดลงมาให้อยู่ระดับที่สามารถเพาะปลูกพืชได้


โครงการในพระราชด าริ ในหลวงรัชกาลที่ 9 โครงการหญ้าแฝก ในหลวงราชที่ 9 ทรงศึกษาเรื่องการใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้ า จากเอกสารธนาคารโลกที่นาย Richard Grimshaw ได้ทูลเกล้าฯ ถวาย พระองค์ได้ พระราชทานพระราชด าริโครงการหญ้าแฝก โดยให้ทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกัน การพังทลายของดิน ในปัจจุบันมีหน่วยงานต่าง ๆ ได้ด านเนินงานสนองพระราชด าริ การพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอย่างมากมายหลายพื้นที่ด้วยกัน


โครงการบ าบัดน าเสียบึงมักกะสัน หลักการบ าบัดน้ าเสียโดยการกรองน้ าเสียด้วยผักตบชวา ตามแนวทฤษฎีการพัฒนา อันเนื่อง มาจากพระราชด าริ "บึงมักกะสัน" บึงมักกะสันเป็นบึงขนาดใหญ่ที่อยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร ซึ่งการรถไฟ แห่งประเทศ ไทยได้ขุดขึ้น ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ เพื่อใช้เป็นแหล่งระบายน้ าและรองรับ น้ าเสีย รวมทั้ง น้ ามันเครื่องจากโรงงานรถไฟมักกะสัน ท าให้บึงมักกะสันตื้นเขิน จากการตกตะกอนของสาร แขวนลอย ครัวเรือน ซึ่งส่วนใหญ่ต่างก็ถ่ายสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอยลงสู่บึงมักกะสัน จนเกิด ปัญหาภาวะสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและน้ าเน่าเสียกลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคแห่งหนึ่ง


โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี ย ตั้งอยู่ที่แหลมผักเบี้ย จ.เพชรบุรี เป็นพื้นที่แปลงทดลองของโครงการตามแนว พระราชด าริเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูป่าชายเลน และสถานีบ าบัดน้ าเสียชุมชน โดยยึด หลักการ "ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ"


ตัวอย่างอุทยาน ตัวอย่างเขตป่าสงวน กฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของไทย อุทยำนแห่งชำติเขำใหญ่ อุทยานแห่งแรกของไทย 1 อุทยำนแห่งชำติแก่งกระจำน 2 อุทยานที่กว้างใหญ่ที่สุด อุทยำนแห่งชำติ บูโด - สุไหงปำดี 3 อุทยานที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 3 2 1 6 เขตป่ำสงวนป่ำเบตง เขตป่ำสงวนป่ำน้ ำแม่ค ำ ป่ำน้ ำแม่สลอง และป่ำน้ ำ แม่จันฝั่งซ้ำย 5 เขตป่ำสงวนป่ำดงหนอง ตอ และป่ำดงสีชมพู 4 3 เขตป่ำสงวนป่ำสมิง เขตป่ำสงวนป่ำคลอง ระเวิง-เขำสมเส็ด 2 เขตป่ำสงวนป่ำวังใหญ่ และป่ำแม่น้ ำน้อย 1 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 1 2 3 4 6 5


กฎหมายเกี่ยวกับการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า สัตว์ป่าสงวน มี ๑๕ ชนิด เป็นสัตว์ป่าที่หายาก และก าลังจะสูญพันธุ์ สัตว์ป่าที่ขึ้นบัญชีเพิ่มเติม • วาฬบรูด้า • เต่ามะเฟือง • วาฬโอมูระ • ฉลามวาฬ นกแต้วแล้วท้องด า กระซู่ ละองหรือละมั่ง พะยูน นกกระเรียน เก้งหม้อ กวางผา ควายป่า สมเสร็จ แมวลายหินอ่อน กูปรี แรด เลียงผา สมัน นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๓๕ (แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๗) สัตว์ป่า หมายถึง สัตว์ทุกชนิด สัตว์บก สัตว์น้ า สัตว์ปีก แมลงหรือแมง


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ อนุสัญญาไซเตส อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้้า อนุสัญญาเซิล อนุสัญญาว่าด้วยความ หลากหลายทางชีวภาพ


พิธีสารเกียวโต ลดการใช้ถุงพลาสติก พัฒนาพลังงานสะอาด รถยนต์พลังงานไฟฟ้า, น้ า ปลูกป่า ใช้รถจักรยาน อนุสัญญา “สิ่งแวดล้อม” อนุสัญญา (Convention) หมายถึง ความตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่ท าเป็น หนังสือสัญญาระหว่างประเทศหลายประเทศ หรือระหว่างองค์การระหว่างประเทศ ที่มาประชุม ร่วมกัน เพื่อวางบทบัญญัติเป็นกฎเกณฑ์ของกฎหมายขึ้น การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ อนุสัญญาไซเตส ไซเตส (CITES) อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือเรียกอีกอย่างว่า อนุสัญญาวอชิงตัน ( Washington Convention )


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


องค์กรที่เกี่ยวข้องด้านภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ Organizations Involved in Global Warming


องค์กรที่เกี่ยวข้องด้านภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ Organizations Involved in Global Warming


องค์กรที่เกี่ยวข้องด้านภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ Organizations Involved in Global Warming ความตกลงปารีส Paris Agreement ความตกลงปารีส: Paris Agreement ความตกลงตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ มีเป้าหมายในการเสริมสร้างความรับผิดชอบร่วมดันต่อภัยคุกคาม จากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ เพื่อเสริมสร้างการด าเนินงานและวัตถประสงค์ของอนุสัญญาสหประชาชาติว่า ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


ความตกลงปารีส Paris Agreement


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ อนุสัญญาบาเซิล


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ อนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้้า


การประสานความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ


บทบาทขององค์กรและการประสานความร่วมมือในไทยและต่างประเทศ หน่วยงานและองค์กรด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ ส านักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มูลนิธิโลกสีเขียว มูลนิธิสืบนาคะเสถียร กรีนพีซ มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก


Click to View FlipBook Version