The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ความรู้มรดกวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2022-12-22 01:13:22

องค์ความรู้มรดกวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย

องค์ความรู้มรดกวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย

๔๐

คานา

วัฒนธรรมและประเพณี เป็นส่ิงที่คนในสังคมร่วมกันสร้างข้ึนมา
ด้วยรูปแบบพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์อันเกิดจาก ทัศนคติ ค่านิยม เอกลักษณ์
และความเช่ือ ด้วยการสร้างสัญลักษณ์ ซึ่งมีทั้งความศรัทธา และการเคารพ
บูชา สะท้อนออกมาเป็นรูปแบบประเพณี และพิธีกรรม ถือปฏิบัติสืบทอด
เป็นระเบียบแบบแผนจนไดร้ ับการยอมรับให้เป็นวัฒนธรรมประเพณี วถิ ีชีวิต

ประเพณี ถือเป็นรากฐานสาคัญส่วนหน่ึงท่ีทาให้เกิดวัฒนธรรม
โดยวัฒนธรรมก็ทาหน้าท่ีปรุงแต่งให้ประเพณีดังกล่าวเกิดความรุ่งเรือง
งอกงาม ด้วยการยอมรับ และนามาถือปฏิบัติสืบต่อเป็นพฤติกรรมวิถีชีวิต
ของคนในสังคม

การจัดทาองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมประเพณีท้องถ่ิน ภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน จังหวัดเชียงราย ฉบับนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลวัฒนธรรม ประเพณี
พิธีกรรม เพ่ือสร้างการรับรู้ประเพณีท้องถ่ินในจังหวัดเชียงราย และ
ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวั ฒนธรรม จากคุณค่าของ
ทุนทางวัฒนธรรม และสร้างความภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน
และหวังว่า จะเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนธรรม ประเพณี
อนั ทรงคณุ คา่ รวมท้ังส่งเสริมการทอ่ งเทีย่ วของจังหวัดเชียงรายต่อไป

สานกั งานวฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย
ธันวาคม 2565

๔๑

สารบัญ

หนา้
คานา

งานศาลสมเดจ็ พระนเรศวร 1

พธิ ีทาบญุ เมือง สบื ชะตาเมือง และบวงสรวงพญามงั ราย 3

พธิ ีบวงสรวงพระเจ้าพรหมมหาราช 5

ประเพณีนมสั การและสรงน้าพระธาตดุ อยตุง 6

ประเพณีปอยส่างลอง 8

ประเพณีปีใหมไ่ ขแ่ ดง 9

ประเพณปี ี๋ใหม่เมือง (สงกรานต์) 10

ประเพณีสงกรานต์เมอื งเชยี งแสน 12

เทศกาลสงกรานตแ์ ห่พระรอ้ ยองคร์ ิมโขง 14

ประเพณงี านมหาบุญจลุ กฐินถิ่นไทลื้อ ศรดี อนชยั 15

(วาระที่ ๑ ปลูกฝา้ ยมงคล)

ประเพณสี รงน้าพระธาตุจอมจ้อ 16

พธิ ีตานหาแม่ฟ้าหลวง 18

ประเพณงี านมหาบุญจลุ กฐินถ่นิ ไทล้ือ ศรีดอนชัย 20

(วาระท่ี ๒ พิธกี ล่อมฝ้าย)

ประเพณีโลช้ งิ ช้า 21

ประเพณที าบุญเมอื ง สะเดาะเคราะห์และถวายทานสลาก 25 23

พธิ วี างพวงมาลาอนสุ รณ์สถานสามผู้กลา้ พ.ต.ท. 25

งานเดนิ เทิดพระเกยี รติ และถวายสดดุ ี 27

เนอ่ื งในวนั คลา้ ยวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ประเพณีงานมหาบญุ จุลกฐนิ ถิ่นไทล้ือ ศรดี อนชัย ๔๒
(วาระท่ี ๓ เกบ็ ฝ้ายมงคลและทอผา้ จลุ กฐิน)
28
ประเพณที อผา้ ทันใจ
ประเพณีไหลเรือไฟ ๑๒ ราศี 30
งานมหศั จรรย์ ๑๐ ชาตพิ นั ธ์แุ มส่ าย 32
มหกรรมไม้ดอกอาเซยี นเชียงราย 34
งานเชยี งรายดอกไม้งาม 35
สวดมนต์ขา้ มปีอาเซยี น 37
เอกสารอ้างองิ 38
39
ภาคผนวก
คณะทางานจัดทาข้อมูลฯ

มกราคม กุมภาพนั ธ์ ๑๕

➢งานศาลสมเด็จพระนเรศวร ➢พธิ บี วงสรวง มีนาคม
มหาราช พระเจ้าพรหมมหาราช
➢ประเพณนี มัสการและ
➢พธิ บี วงสรวงพญามังราย พฤษภาคม สรงนา้ พระธาตุดอยตุง
สืบชะตาเมอื ง และ
ทาบุญเมือง ➢ประเพณีงานมหาบุญ ➢ประเพณีปอยส่างลอง
จลุ กฐินถนิ่ ไทลอื้ ศรีดอนชัย
เมษายน (วาระที่ 1 ปลูกฝา้ ยมงคล) มถิ ุนายน

➢ประเพณปี ีใหมไ่ ข่แดง สิงหาคม ➢ประเพณีสรงน้า
➢ประเพณปี ีใ๋ หม่เมอื ง พระธาตุจอมจ้อ
➢ประเพณงี านมหาบุญ
(สงกรานต)์ จุลกฐนิ ถน่ิ ไทลอื้ ศรีดอนชยั กันยายน
➢ประเพณีสงกรานต์ (วาระท่ี 2 พธิ กี ลอ่ มฝา้ ย)
➢ประเพณที าบญุ เมอื ง
เมืองเชยี งแสน ➢ประเพณโี ลช้ งิ ช้า สะเดาะเคราะห์ และ
➢เทศกาลสงกรานต์ ถวายทานสลาก 25
พฤศจกิ ายน
แหพ่ ระร้ององคร์ มิ โขง ➢พิธวี างพวงามาลา
➢ประเพณงี านมหาบุญ อนุสรณ์สถานสามผ้กู ลา้
กรกฎาคม จุลกฐินถน่ิ ไทลอ้ื ศรีดอนชัย (พ.ต.ท.)
(วาระท่ี 3)
➢พธิ ตี านหาแม่ฟา้ หลวง ธันวาคม
➢ประเพณที อผา้ ทันใจ
ตลุ าคม ➢ประเพณไี หลเรือไฟ ➢งานมหศั จรรย์
10 ชาติพันธแ์ุ มส่ าย
➢พธิ ไี หวส้ าแม่ฟา้ หลวง 12 ราศี
➢มหกรรมไมด้ อกอาเซยี น
เชยี งราย

➢งานเชยี งรายดอกไมง้ าม
➢สวดมนตข์ ้ามปอี าเซียน



งานศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : ระหวา่ งวนั ที่ ๑๘ - ๒๐ มกราคม

สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : บรเิ วณศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ต.แมพ่ รกิ อ.แมส่ รวย จ.เชยี งราย

ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ตัง้ อยูใ่ นตาบลแมพ่ ริก อาเภอแม่สรวย
จังหวัดเชียงราย หากเดินทางมาจากตัวเมืองเชียงราย เมื่อเข้าเขตตาบลแม่พริก
อาเภอแม่สรวย ศาลสมเด็จพระนเรศวรจะอยู่ทางด้านซ้ายมือข้างโรงพยาบาล
แม่สรวย โดยต้ังอยู่บนเนินสูง ตรงบริเวณด้านหน้าทางเข้าศาลจะมีรูปป้ันช้าง
ทรงของสมเด็จพระนเรศวร ๒ เชือก ยืนโดดเด่นเป็นสง่า บริเวณต้ังศาลสมเด็จ
พระนเรศวรแห่งน้ี สันนิษฐานว่า ปีมะโรง พ.ศ. ๒๑๔๗ วันพฤหัสบดี เดือนย่ี
แรม ๖ ค่า สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ พระอนุชาธิราช
ได้เคยเสด็จกรีธาทัพหลวง ออกจากกรุงศรีอยุธยา เพ่ือไปตีกรุงอังวะ ซ่ึงอยู่
ทางตอนบนของจังหวัดเชียงราย และทรงพักทัพอยู่ ณ สถานท่ีแห่งนี้
จากข้อสันนิษฐานตามประวัติศาสตร์ดังกล่าว เมื่อวันท่ี ๒๕ มกราคม
พ.ศ.๒๕๑๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชได้เสด็จ
พระราชดาเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนา ถ
ทรงประกอบพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ณ ที่ตั้งศาลปัจจุบัน อาเภอแม่สรวยได้ดาเนินการก่อสร้างศาลสมเด็จ
พระนเรศวรเพ่อื ให้ประชาชนคนไทยได้ราลกึ ถึงพระมหากรุณาธคิ ุณสบื ไป

โดยพิธีบวงสรวงได้เร่ิมตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๒ ปัจจุบันได้มีการ
เปลี่ยนแปลงการจัดพิธีบวงสรวง เป็น วันที่ ๑๘ มกราคมของ ทุกปีซ่ึงตรงกับ
วันกองทัพไทย พร้อมกับกาหนดจัดงานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
และงานของดีอาเภอแม่สรวย ขึ้น ซ่ึงถือเป็นงานประจาปีของอาเภอแม่สรวย



ซ่ึงภายในงาน มีพิธีบวงสรวงศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขบวนแห่เคร่ือง
ราชสกั การะ จากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในอาเภอแมส่ รวย ซง่ึ ประกอบด้วย
หลากหลายชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในอาเภอแม่สรวย มาสร้างสีสันด้วยชุด
ประจาชาติพันธ์ุ, มีซุ้มนิทรรศการของแต่ละท้องถิ่น, การละเล่นพื้นบ้าน,
การแสดงศิลปวัฒนธรรม, การประกวดไก่ชน, ประกวดร้องเพลง, การประกวด
ธิดาแม่สรวย และการจาหน่ายสินค้า ผลิตภัณฑ์ของดีของอาเภอแม่สรวย
เป็นตน้



พธิ บี วงสรวงพญามงั ราย สบื ชะตาเมอื ง และทาบญุ เมือง

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : ๒๖ มกราคม
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : วดั งาเมือง และบรเิ วณลานอนสุ าวรยี ์พอ่ ขนุ เมง็ รายฯ อ.เมือง จ.เชยี งราย

พญามังรายมหาราช เป็นกษัตริย์องค์ท่ี ๒๕ แห่งราชวงศ์ลวะจังกราช
พระองคไ์ ด้ทรงสร้างบ้านแปงเมืองเชียงรายข้ึนเมื่อปี พ.ศ.๑805 โดยกาหนดให้
ดอยทอง (ปจั จบุ นั ) เป็นจุดสะดือเมอื ง ดว้ ยเห็นว่าเป็นชยั ภูมทิ อ่ี ุดมสมบูรณ์ และ
เ ห ม า ะ แ ก่ ก า ร ต้ั ง ถิ่ น ฐ า น บ้ า น เ มื อ ง
ใหเ้ จรญิ รุ่งเรืองสืบไป ดังนั้น เพื่อเป็นการ
ร ะ ลึ ก ถึ ง พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ข อ ง
พระองค์ จังหวัดเชียงรายจึงได้จัดพิธี
บวงสรวงพญามังรายข้ึน นับตั้งแต่วันที่
26 มกราคม 2526 เรื่อยมาจนถึง
ปัจจุบัน เพ่ือให้เกิดความเป็นสิริมงคล
แก่บ้านเมือง โดยจะเริ่มต้นพิธีบวงสรวง
บริเวณวัดงาเมือง จากนั้นจะประกอบพิธี
ทาบุญเมือง พิธีสืบชะตาเมือง และ
พิธีบวงสรวงพญามังราย ตามลาดับ
ณ บริเวณลานอนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายฯ
โดยมีความเช่ือในการราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณท่ีพญามังรายได้ทรงสร้าง
เมอื งเชียงราย และปกป้อง คมุ้ ครองลกู หลานและชาวเชยี งรายให้อยูเ่ ยน็ เป็นสุข



พธิ บี วงสรวงพระเจา้ พรหมมหาราช ๕

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : วันท่ี ๒๓-๒๔ กมุ ภาพนั ธ์
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : ลานพระบรมราชานสุ าวรยี ์ หนา้ ทวี่ า่ การอาเภอแมส่ าย จ.เชยี งราย

พิธีบวงสรวงพระเจ้าพรหมมหาราช
จัดขึ้นในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ของทุกปี
เป็นวันคล้ายวันพระสูติของพระเจ้าพรหม
มหาราช และเป็นผู้สร้างเมืองเวียงพางคา
ซึ่ ง เ ป็ น ที่ ตั้ ง ข อ ง อ า เ ภ อ แ ม่ ส า ย ใ น ปั จ จุ บั น
โดยส่วนราชการ หน่วยงานภาครัฐ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน และประชาชนทุกหมู่เหล่าของอาเภอแม่สาย ได้ร่วมกัน
ประกอบพิธีบวงสรวง ณ บริเวณพระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราช

หน้าท่ีว่าการอาเภอแม่สาย เพ่ือเทิดพระเกียรติ
และนอ้ มราลึกถงึ พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์
การตกแต่งนาเอาเคร่ืองสักการะ ประกอบด้วย
เคร่ืองบวงสรวง บายศรีเทพบา ยศรีพรหม
บ า ย ศ รี ห ลั ก บ า ย ศ รี ต อ บ า ย ศ รี ป า ก ช า ม
เ ค รื่ อ ง สั ก ก า ร ะ พ า น พุ่ ม ด อ ก ไ ม้ ส ด เ ค ร่ื อ ง บู ช า
อัญเชิญ หมากเบ็ง สุ่มปู ต้นเทียน ต้นอ้อย
เคร่ืองเซ่นไหว้ อาหารคาวหวานหลากหลายชนิด
มาถว ายสักการะแด่พระองค์ท่านอันเป็ น
เคร่ืองหมายแห่งความกตัญญูรู้คุณ เพื่อเป็นการ
เทิดพระเกียรตแิ ละนอ้ มราลึกถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณ



ประเพณนี มสั การและสรงนาพระธาตดุ อยตงุ

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : วนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ คา่ เดอื น ๔ (ใต)้ หรอื เดอื น ๖ เปง็ (เหนือ)
(ชว่ งเดอื นมีนาคม)

สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : วดั พระธาตดุ อยตงุ ต.หว้ ยไคร้ อ.แมส่ าย จ.เชยี งราย

พระธาตุดอยตุงเป็นท่ีเคารพสักการะของพุทธศาสนิกชน ทั่วลา้ นนาไทย
จึงมีการจัดพิธีนมัสการและสรงน้าพระธาตุดอยตุง ในวันเพ็ญข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๔
หรือเดือน ๖ เหนือทุกปี และเพื่อความเป็นสิริมงคลและแสดงความจงรักภักดี
ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
โดยจังหวัดเชียงราย ได้มี
การเสนอขอพระราชทาน
น้าสรงพระราช ทาน
ผ้าไตรพระราชทาน และ
ผา้ ห่มพระธาตุ
พระราชทาน โดยมี
กิจกรรมท่ีสาคัญ อาทิ
พิธีปฏิบัติธรรม การเดิน-
จาริกแสวงบุญขึ้นพระธาตุ
ดอยตุง ตามรอยครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา พิธีตักน้าทิพย์ศักดิ์สิทธิ์
พิธีสมโภชน้าทิพย์ พิธีทาบุญตักบาตร พิธีแห่ขบวนเคร่ืองสักการะและอัญเชิญ
น้าสรงพระราชทาน และน้าทิพย์ พิธถี วายเครือ่ งสกั การะพระธาตดุ อยตงุ ขบวน
แห่แบบล้านนา และขบวนชาติพันธ์ุ การแสดงศิลปวัฒนธรรม และการสาธิต
มรดกภมู ปิ ญั ญา



การสืบสานประเพณีนมัสการและสรงน้า พระธาตุดอยตุง ซึ่งเป็นงาน
ประเพณีของจังหวัด และของชาติ จึงเป็นการรักษาอัตลักษณ์ วัฒนธรรม

ประเพณีของจังหวัด แเละสร้าง
การรับรู้ อย่างกว้างขวางผ่านการ

จั ด กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม
การท่องเที่ยว ตลอดจนสร้างมูลค่า
จากทนุ และทรพั ยากรทางวฒั นธรรม
ที่ทรงคุณค่า สร้างความประทับใจ
แก่ผู้มาเยือน สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ประชาชนในจังหวัด
เชียงราย และ ประเทศชาติ



ประเพณปี อยสา่ งลอง

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : มนี าคม – เมษายน
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : วดั กาคา ต.เทอดไทย / วดั ห้วยนา้ ขนุ่ อ.แมฟ่ า้ หลวง จ.เชยี งราย

ประเพณีปอยส่างลอง เป็นประเพณีงานบวชลูกแก้ว จัดข้ึนเพื่อบรรพชา
เ ป็ น ส า ม เ ณ ร ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ข อ ง
ชาวไทใหญ่ที่อาศัยอยู่ประเทศไทย เช่น
จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และ
ใ น จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ร า ย มี ช า ว ไ ท ใ ห ญ่
อ า ศั ย ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ใ น อ า เ ภ อ แ ม่ ส า ย
ส่ ว น อ า เ ภ อ แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง มี ช า ว ไ ท ใ ห ญ่
อาศัยอยู่ ณ บ้านห้วยน้าขุ่น ตาบลแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ประชากร
ส่วนใหญ่สืบเช้ือสายมาจากไทใหญ่ในประเทศพม่าและย้ายถิ่นฐาน อพย พ

เข้ามาในประเทศไทยโดยสืบทอดงานประเพณี
นี้มาเป็นเวลาช้านาน และถือว่าประเพณี
“ปอยส่างลอง” เป็นประเพณีที่สาคัญ
ทางพระพุทธศาสนาของชาวไทใหญ่และ
ส่งเสริมใหม้ ีการจดั กจิ กรรม ขึ้นเปน็ ประจา
ทุกปี ในสมัยก่อนถือว่าการบวชลูกแก้วนี้
เปน็ การให้การศึกษาแก่บุตรหลานของคนไต
ในช่วงท่ีเก็บเก่ียวข้าวในนาเสร็จแล้ว โดยจดั
ขึ้นระหว่างเดือนมีนาคม - เดือนเมษายน
ของทุกปี

ประเพณปี ใี หมไ่ ขแ่ ดง ๙

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : เมษายน
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : บา้ นอาขา่ ปา่ กล้วย ต.แมฟ่ า้ หลวง อ.แมฟ่ า้ หลวง จ.เชยี งราย

ประเพณีปีใหม่ไข่แดงเป็นประเพณีของชาวอาข่า เป็นการส่งท้ายปีเก่า
ต้อนรับปีใหม่ เป็นประเพณีท่ีเน้นความสนุกสนาน โดยจะมีการนาพืชจาก
ธรรมชาติมาย้อมไข่ให้เป็นสีแดง แล้วเอามาชนเล่นกัน ไข่ของใครแตกก่อนก็ถือ
ว่าแพ้ จึงสามารถเรียกได้อีกชื่อหน่ึงว่า
ประเพณีปีใหม่ชนไข่ โดยมีระยะเวลาของ
ประเพณีรวม 5 วัน คือ วันแรก พิธี ข่ึมเอ้ว
อาเผว่ เปน็ การทาพธิ ีให้กับบรรพบุรุษทีล่ ่วงลับ
ไปแล้ว, วันที่ 2 ขึ่มสึ อาเผ่ว มีการทาพิธี
โดยใช้ไก่ และวันน้ี ก็เร่ิมทาการย้อมไข่แดง,
วันที่ 3 อยู่กรรม (หยุด) ข่ึมสึ เจ่ ลอง เออ
คือการอยู่กรรมต้อนรับฟ้าใหม่ที่จะมีฝนตกลง
มาเป็นคร้ังแรก จะมีการปักตาแหลว เพอ่ื แสดง
ให้บุคคลภายนอกรู้ว่า ทางชุมชนจะมีการทา
พิธี หากไม่มีความจาเป็นก็อย่าเข้ามาในชุมชน,
วันท่ี 4 พิธี ขึ่มม้ี อ่าเผ่ว ในวันน้ีจะไม่ใช้ไข่ไก่
ในการประกอบพิธีกรรม, วันท่ี 5 พิธี ข่ึมม้ี เจ่วหละ หยะ-เออ วันนี้จะเป็นวัน
ประกอบพิธีกรรมและประเพณีชนไข่ เป็นวันสุดท้าย มีพิธีไหว้ครูตาแหน่ง
ผู้นาวัฒนธรรมและการปกครอง มีการฆ่าหมู เพื่อเล้ียงแขก ประเพณีน้ีก็จะมี
การจัดข้ึนภายหลงั จากทาการเผาไร่ เสร็จ ซ่ึงจะตรงกับเดือน เมษายนของทุกปี
แต่อาจช้าหรอื เรว็ กว่าน้ันก็อยู่ทก่ี ารนับวันของผ้เู ฒา่ ในชุมชน ฉะนน้ั ช่วงน้หี ลาย
หมู่บา้ นของชาวอาข่าก็จะมกี ารประกอบพิธีปใี หม่ไขแ่ ดง

๑๐

ประเพณปี ใ๋ี หมเ่ มือง (สงกรานต)์

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : ๑๓-๑๕ เมษายน
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : ในพน้ื ท่ีจงั หวดั เชยี งราย

ประเพณปี ๋ีใหมเ่ มอื ง หรือประเพณีสงกรานต์ลา้ นนาเป็นประเพณีเก่าแก่
ของท้องถ่ิน ท่ีสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ ซ่ึงจัดระหว่างวันที่ 13-15
เมษายน ของทุกปี

โดยวันท่ี ๑๓ เป็นวันสังขารล่อง เป็นวันท่ีก้าวล่วงไปแล้ว ตอนเช้า
มืดของวันน้ี มีการยิงปืน จุดประทัด เพ่ือขับไล่ส่ิงช่ัวร้าย หลังจากนั้นจะมีการ
ปดั กวาดบ้านเรือนให้สะอาด

วันท่ี ๑๔ เป็นวันเนา หรือวันเน่า ชาวบ้านจะพากันไปซื้อของทาบุญ
เมอื่ ถึงตอนบา่ ยกจ็ ะมีการขนทรายเข้าวดั นามากองรวมกันทาเป็นเจดีย์ และนา
กระดาษสีต่าง ๆ มาตัดเป็นตุง หรือธง เพ่ือเตรียมนาไปปักที่เจดีย์ทรายใน
วนั รงุ่ ข้ึน โดยในวนั น้ีห้ามกระทาในสิ่งที่ไม่เป็นมงคล หรอื กลา่ วร้าย ด่าทอผอู้ ่ืน

วันที่ 15 เป็นพญาวันหรือเป็นวันเถลิงศก เป็นวันท่ีเร่ิมเปลี่ยน
จุลศักราชใหม่ มีการทาบุญทางศาสนา นาสารับอาหารคาวหวานไปทาบุญท่วี ดั
ตานขนั ขา้ ว หรือถวายสังฆทาน ให้ญาติผลู้ ่วงลบั ไปแล้ว

วันท่ี 16 เป็นวันปากปี เป็นวันเร่ิมต้นปี พากันไปรดน้าขอพร
จากพระสงฆ์ และญาติผู้ใหญ่โดยนาสะหลุงน้าขมิ้นส้มป่อย พานดอกไม้
ธูปเทียน เครื่องสักการะ ประเคนแก่ผู้อาวุโส เพื่อความเป็นสิริมงคลและรับพร
จากผใู้ หญ่

วันท่ี 17 เป็นวันปากเดือน วันบ้านจะทาพิธีส่งเคราะห์บ้าน
เพ่ือปัดเคราะห์ใหอ้ อกไปจากตวั และใช้ชีวิตในปีใหม่ตอ่ ไปใหม้ คี วามสุข

๑๑

คุณค่าของประเพณีสงกรานต์ นอกจากเตือนสติว่าอายุได้ล่วงเลยไป
แล้วกว่า 1 ปี แล้วยังมีพิธีกรรมในพระพุทธศาสนา และการขอขมาลาโทษต่อ
ผู้ใหญ่ท่ีได้ล่วงเกิน หรือเป็นการแสดงออกถึงการคารวะผู้อาวุโส นอกจากน้ี
ยงั เป็นการรวมญาติมติ ร เพ่ิมสัมพันธไมตรีในระบบครอบครวั และเครอื ญาติ

๑๒

ประเพณสี งกรานตเ์ มืองเชยี งแสน

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : เดอื นเมษายน (ชว่ งเทศกาลสงกรานต)์
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : บรเิ วณหน้าทวี่ า่ การอาเภอเชยี งแสน จ.เชยี งราย

อาเภอเชียงแสน จัดประเพณีสงกรานต์เมืองเชียงแสนข้ึนเป็นประจา
ทกุ ปี ระหว่างวนั ท่ี ๑๒ - ๑๘ เมษายนของทุกปี เพ่ือสง่ เสริมประเพณวี ัฒนธรรม

ของชนชาติที่อาศัยอยู่
ลุ่ ม น้ า โ ข ง ต อ น บ น
ประกอบด้วย ๔ ชาติ
ได้แก่ ไทย ลาว พม่า
และจีน โดยกิจกรรม
จ ะ เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต่ วั น ที่
๑๒ เมษายน

เป็นวัฒนธรรมประเพณีแบบด้ังเดิมของล้านนา ประกอบด้วย พิธีขึ้นท้าวทั้งสี่
พิธีไหว้พระธาตุจอมกิตติ พิธีบวงสรวงพระเจ้าพรหมมหาราช พิธีบวงสรวง
พญาแสนภู พธิ ีบวงสรวงเจา้ พอ่ ประตูสกั โดยเจา้ เมือง (นายอาเภอ)

ซึ่งสถานท่ีเหล่านี้ เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิคู่บ้านคู่เมืองชาวเชียงแสน
และเป็นผู้ก่อสร้างเมืองเชียงแสนตามประวัติศาสตร์และตานานเมืองเชียงแสน
เพื่อช่วยปกปักษ์รักษา และดลบันดาลให้การจัดงานประเพณีสงกรานต์
อาเภอเชียงแสน เกิดความราบร่ืนและเป็นไปด้วยดี วันที่ ๑๓ - ๑๔ เมษายน
กจิ กรรมประกอบด้วย พธิ ที าบญุ ตกั บาตร กจิ กรรมวนั ผู้สงู อายุ ขนทรายเขา้ วัด
การแข่งขันก่อพระเจดีย์ทราย และพิธีแห่ไม้ค้าสลี ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๑๘
เมษายน จะจดั ให้กจิ กรรมประกอบด้วย

๑๓

1) ขบวนแห่ประเพณีสงกรานต์เมืองเชียงแสน ขบวนแห่สรงน้าพระพุทธรูป

ศกั ดิ์สิทธ์ิ ๖ องค์ ขบวนแหก่ ลองหลวง ๑๒ ราศี ขบวนแห่เทพีสงกรานตอ์ งค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น ๗ แห่ง ซ่ึงขบวน มีองค์ประกอบท่ีแสดงออกถึงความ

จงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาล

ท่ี ๙) และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิร

ลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (รัชกาลที่

๑๐) การแสดงออกถึงอัตลักษณ์ของท้องถ่ิน ความ

เป็นล้านนา และการแสดงออกทางด้านศาสนา

ศิลปะแลวัฒนธรรม

2) พธิ ีสรงนา้ พระพุทธรปู ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ ๖ องค์

3) การประกวดเทพสี งกรานต์

4) การแข่งขันเรือพายในแม่น้าโ ขงเ ชื่ อ ม

สัมพันธไมตรีไทย และ สปป.ลาว ซ่ึงแต่เดิม

ก า ร แ ข่ ง ขั น เ รื อ พ า ย ข อ ง ช า ว เ ชี ย ง แ ส น น้ั น

เป็นการแข่งขันระดับหมู่บ้าน ต่อมาได้ขยาย

ออกไปเป็นการแข่งขัน ระหว่าง หมู่บ้าน-สบรวก

สบคา และ สปป.ลาว ในช่วงเทศกาลสงกรานต์

ของทุกปี เหตุท่ีมีการแข่งขันเน่ืองจากสมัยก่อนนิยมใช้เรือขุดในการสัญจรพาย

เรือข้ามแม่น้าโขงไปปลูกยาสูบในพ้ืนที่ของ สปป.ลาว ในสมัยน้ันไม่มีการเสีย

ภาษี ในการปลูก พอถึงช่วงสงกรานต์ก็จะมีการแข่งขันชิงเงินรางวัล ส่วนการ

แข่งขันเรือพาย ที่เป็นหลักฐาน เร่ิมเม่ือปี ๒๕๓๘ โดยกานันไพโรจน์ โปราหา

กานันตาบลเวียงขณะน้ัน ได้จัดแข่งขันอย่างเป็นทางการและสืบเน่ืองมาจนถึง

ปัจจุบัน โดยมีการแข่งขัน ๒ ประเภท คือ ประเภท ๒๒ ฝีพาย และประเภท

๓๐ ฝพี าย

เทศกาลสงกรานตแ์ หพ่ ระรอ้ ยองคร์ มิ โขง ๑๔

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : เมษายน (ชว่ งเทศกาลสรงกรานต)์
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : ลานระเบยี งรมิ โขง อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย

เทศกาลสงกรานตแ์ หพ่ ระรอ้ ยองคร์ ิมโขงเชียงของ จดั ณ ระเบยี งริมโขง
ลานพญานาคริมโขง ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เพ่ือเป็น
ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ น พื้ น ท่ี
อาเภอเชียงของ เชื่อมโยงวัฒนธรรม
ประเพณีปีใหม่ล้านนา โดยมี กิจกรรม
ตั ก บ า ต ร ร ะ เ บี ย ง ริ ม โ ข ง
จ า ก ทิ ช เ ช อ ร์ แ ค ม ป์ ถึ ง วั ด ห า ด ไ ค ร้
พิธีบวงสรวงพญานาค สรงน้าพระสงฆ์
และรดนา้ ดาหัวผู้สงู อายุ ณ ลานเสาพญานาค หน้าวดั สบสม การฟอ้ นบวงสรวง
พญานาค และอวยพรปีใหม่เมือง การแห่พระพทุ ธรูปศักดิ์สทิ ธิ์ร้อยองค์ ไปตาม
ถนนสายกลาง ลงระเบียงรมิ โขงถงึ ลานเสาพญานาค โปรยข้าวตอกดอกไม้

๑๕

ประเพณงี านมหาบญุ จลุ กฐนิ ถนิ่ ไทลอื้ ศรดี อนชยั
(วาระท่ี ๑ ปลกู ฝา้ ยมงคล)

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : เดอื นพฤษภาคม
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : วดั ทา่ ขา้ มศรดี อนชยั อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย

จัดในเดือน พฤษภาคม ของทุกปี ณ วัดท่าข้ามศรีดอนชัย
ต . ศ รี ด อ น ชั ย อ . เ ชี ย ง ข อ ง
จ.เชียงราย โดยเป็นพิธีปลูกฝ้าย
มงคล พระสงฆ์ ประชาชน และ

ผู้มีจิตศรัทธา มาร่วมทาบุญ พร้อมกันแต่งดา
ขบวนแห่เมล็ดฝา้ ย เขา้ สูพ่ ธิ ที างศาสนา
อธษิ ฐานเมล็ดฝา้ ย และทาพธิ ที างศาสนา

หลงั จากนัน้ พระสงฆจ์ ะเป็นผู้แจกจา่ ยเมล็ด
ฝ้ายให้แต่ละคน เพื่อนาไปปลูกที่แปลงฝ้าย
ที่เตรียมไว้ในวัด โดยขณะท่ีปลูกน้ัน พระสงฆ์
สวดเจริญชัยมงคลคาถาเพื่อความเป็นสิริมงคล
และบางส่วนนาไปปลูกในพื้นที่ท่ีบ้าน หรือ
สถานทีป่ ลูกของตนเอง

๑๖

ประเพณสี รงนา้ พระธาตจุ อมจอ้

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : พฤษภาคม - มถิ นุ ายน

สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : วดั พระธาตุจอมจอ้ ต.เวยี ง อ.เทงิ จ.เชยี งราย

ป ร ะ เ พ ณี ส ร ง น้ า พ ร ะ ธ า ตุ จ อ ม จ้ อ
จัดในวันขึ้น 15 ค่าเดือน 8 เหนือ
วัดพระธาตุจอมจ้อ เป็นหนึ่งในพระธาตุ
9 จอม และเป็นพระธาตุ ศักดิ์สิทธิ์
คู่บ้านคู่เมืองของอาเภอเทิง จังหวัด
เชียงราย ประวัติพระธาตุจอมจ้อจาก
คัมภีร์เก่าแก่ท่ีต้ังโดยนักปราชญ์ผู้ชานาญ
ใ น ด้ า น ภ า ษ า บ าลี ข อ ง อา เ ภ อ เทิง
( เ มื อ ง เ ถิ ง ) ใ น ส มั ย น้ั น ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า

ในกาลสมัย เม่ือพระพุทธเจ้าเสด็จ
มาสุวรรณภูมิ พระองค์ได้พักอยู่ใต้
ต้ น อ โ ศ ก บ น ด อ ย ใก ล้ แ ม่ น้าอิง
มีพญานาคตนหนึ่ง รู้ว่าพระพุทธองค์
เสด็จมาจึงเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ทูลถามความต่างๆ แล้วจึงนาจ้อคา ๓ ผืน
และจ้อแก้ว อีก ๓ ผืน มาถวายพระพุทธองค์ พระอานนท์จึงขอทูลพระธาตุ

๑๗

ให้พญานาคตนนั้น พระพุทธองค์จึงนาพระหัตถ์ลูบพระเศียรได้พระเกศาธาตุ
เส้นหนึ่ง จึงโปรดให้พญานาคไว้พญานาคจึงนาความแจ้งให้เจ้าเมืองเทิง สร้าง
พระธาตุไว้ทีก่ ลางดอยเพือ่ บรรจุพระเกศาธาตุ ต่อมาจงึ มีการขนานนามพระธาตุ
น้ันว่า พระธาตุจอมจ้อ "ความเช่ือ"" ในการไหว้พระธาตุจอมจ้อ คาว่า "จ้อ"
เป็นคาล้านนา หมายความเทียบได้กับ "ช่อ" ในภาษาไทยกลาง "จอมจ้อ"
จึงหมายความถึง ชูข้ึน หรือสูงเด่น เป็นสง่า สูงส่ง ถ้าผู้ใดได้กราบไหว้ก็จะ
ประสบความสาเร็จทุกส่ิงเหมือนกับการเร่ิมเจรจาก็นามาซึ่งความสาเร็จและสม
ประสงคท์ ุกประการ

๑๘

พธิ ตี านหาแมฟ่ า้ หลวง

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : ๑๘ กรกฎาคม
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : สวนสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลกั ราชภฏั เชยี งราย และ

อทุ ยานศลิ ปะและวัฒนธรรม (ไรแ่ มฟ่ ้าหลวง) อ.เมอื ง จ.เชยี งราย

พิธีตานหาแม่ฟ้าหลวง เริ่มจัดขึ้นต้ังแต่ พ.ศ.2539 และได้ถือปฏิบัติ
สืบเน่ืองกันมาจนถึงปัจจุบัน เป็นพิธีทาบุญเพื่ออุทิศถวายพระราชกุศล
แด่สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งชาวเชยี งรายคุ้นเคยกับพระองค์
ในพระนามว่า “แม่ฟ้าหลวง”
จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดท่ีได้รับ
พระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระ
ศรีนครินทราบรมราชชนนีเป็นล้น
พ้นหาที่สุดมิได้ ดังน้ัน ในวันที่ ๑๘
กรกฎาคม ของทุกปี ซ่ึงเป็นวัน
ครบรอบ วันสวรรคตของพระองค์

จึ ง ไ ด้ มี ก า ร จั ด พิ ธี ท า บุ ญ เ พ่ื อ อุ ทิ ศ
ถวายพระราชกุศลแด่พระองค์ เป็นการ
แสดงความจงรักภักดีและสานึกในพระ
มหากรณุ าธิคณุ

๑๙

พิธีดังกล่าวเรียกว่า “พิธีทานหาแม่ฟ้าหลวง” หรือ “พิธีตานหา
แม่ฟ้าหลวง” มีหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ข้าราชการ ประชาชน ร่วมพิธี
ในช่วงเช้าเวลาประมาณ ๐๗.๓๐ น. ขบวนแห่เคร่ืองสักการะ และ
อัญเชิญพวงมาลาสักการะถวาย
ณ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งราย และ
ในช่วงสายมีพิธีถวายเคร่ืองราช
สักการะ ณ อุทยานศิลปะและ
วั ฒ น ธ ร ร ม ( ไ ร่ แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง)
อาเภอเมืองเชียงราย มีขบวนแห่
เคร่ืองสักการะตามแบบประเพณี
ล้านนา โดยหน่วยงานภาครัฐ และ
ขบวนอาเภอ 18 อาเภอ หน่วยงาน
ภาคเอกชน พร้อมทั้งขา้ ราชการ และประชาชนร่วมพิธีดงั กลา่ ว

๒๐

ประเพณงี านมหาบญุ จลุ กฐนิ ถนิ่ ไทลอ้ื ศรดี อนชยั
(วาระท่ี ๒ พธิ กี ลอ่ มฝา้ ย)

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : ๑๒-๑๓ สงิ หาคม
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : วดั ทา่ ขา้ มศรดี อนชยั ต.ศรดี อนชยั อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย

พิธีกล่อมฝ้ายน้ัน นับจากวันปลูกฝ้าย 3 เดือน (ปลูกเมื่อเดือน
พฤษภาคม) ซ่ึงต้นฝ้ายเจริญเติบโตเป็นต้นฝ้าย ผลิดอกสวยงาม ชาวบ้าน
มาช่วยกันตกแต่งสถานท่ีจัดพิธี โดยในวันงานจะมีพิธีทางศาสนา บอกกล่าว

สิ่งศักด์ิสิทธ์ิและพิธีบายศรสี ู่ขวญั ฝ้าย อัญเชิญ
ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิลงมาประจายังต้นฝ้าย ปู่จารย์
อั ญ เ ชิ ญ ค า ถ า แ ล ะ ค า ก ล่ อ ม อั น เ ส น า ะ
เพ่ือขับกล่อมฝ้ายให้ผลิตปุยฝ้ายให้งดงาม
โดยในขณะทาพิธนี ้ัน สาวไทลือ้ ต่างก็ฟ้อนสู่
ขวัญฝ้าย หลังจากน้ันผู้มาร่วมงานนา
ข้าวตอก ดอกไม้ ปุ๋ยบารงุ ต้นฝา้ ย และพรวน

ดิน ถอนหญ้า บารุงต้นฝ้าย จากนั้นในช่วงเย็นมีพิธีบายศรีสู่ขวัญคณะสายบุญ
ที่จะมาเป็นเจ้าภาพจุลกฐิน และการประกวดสาวไทลื้อ และเส่ียงทาย
สาวพรหมจรรยท์ ่ีจะมาเก็บฝา้ ยดอกแรกในชว่ งวาระ 3 ตอ่ ไป

๒๑

ประเพณีโลช้ งิ ชา้

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : เดอื นสงิ หาคม - ตน้ เดือนกนั ยายน
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : บา้ นผาหมี ต.เวยี งพางคา อ.แมส่ าย จ.เชยี งราย

ประเพณีโล้ชิงช้า หรือ งานเทศกาลปีใหม่โล้ชิงช้าของชาวอาข่า
จัดข้ึนในช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม ถึงต้นกันยายน เพ่ือฉลองให้กับพืชผล
ท่ีมีความงอกงามรอเก็บเกี่ยว ราลึกและให้เกียรติสตรี ระลึกถึงพระคุณ
แห่งเทพธิดา “อ่ืมซาแยะ” มีพิธีเซ่นไว้บรรพบุรุษ การเล้ียงฉลอง การเต้นรา
การโล้ชิงช้า ซึ่งแต่ละชุมชนจะจัดไม่ตรงกัน เน่ืองจากการกาหนด
วันจัดพิธีกรรมต้องดูความเหมาะสมของวันท่ีจะเร่ิมทาพิธี จะต้องเป็นวันดี
และเข้ากนั ได้กับผูน้ าชมุ ชนน้ัน ๆ เพ่ือเฉลมิ ฉลองใหก้ ับความเจริญงอกงามของ
พืชผล ซ่ึงพร้อมท่ีจะเก็บเกี่ยวอีกไม่กี่วัน ในระหว่างน้ีชาวบ้าน จะดายหญ้า
ในไร่สวนเป็นครั้งสุดท้าย หลังจากดายหญ้าแล้วก็รอสาหรับการเก็บเก่ียว
ตรงกับเดือนของอาข่า คือ “ฉ่อลาบาลา” ประเพณีโล้ชิงช้าของชาวอาข่า
เป็นพิธีกรรมทม่ี คี ุณคา่ มากดว้ ยภมู ปิ ญั ญา เปน็ การใหค้ วามสาคัญกับผหู้ ญงิ

ฉะนั้น ผู้หญิงอาข่า
จ ะ มี ก า ร แ ต่ ง ก า ย ด้ ว ย
เ ค ร่ื อ ง แ ต่ ง ก า ย ช า ติ พั น ธุ์
อย่างสวยงาม ท่ีเตรียมเอาไว้
ตลอดท้ังปี มาสวมใส่เป็นกรณี
พิเศษในเทศกาลนี้ และข้ึน
โ ล้ ชิ ง ช้ า แ ล ะ ร้ อ ง เ พ ล ง
ประกอบ การจัดพิธีมี 4 วัน
คือ วันที่ 1 จ่าแบ เป็นวันเซ่น
ไหว้บรรพบุรุษ” วันที่ 2 เป็นวันสร้างเสาชิงช้า วันท่ี 3 เป็นวันล้อดา

๒๒

อ่าเผ่ว เป็นวันแห่งการเฉลิมฉลอง มีการเต้นรา ล้มวัว ล้มหมู เพ่ือกินเล้ียง
ฉลองกันทุกครัวเรือน มีการเชิญผู้อาวุโส หรือแขกต่างหมู่บ้านมาร่วม
รับประทานอาหารในบ้านของตน และอวยพรให้กับเจ้าบ้านประสบ
แต่ความสาเร็จ และ วันที่ 4 วันจ่าส่า เป็นวันสุดท้ายของการโล้ชิงช้า
พอตะวันตกดิน ผู้นาทางจิตวิญญาณจะทาการเก็บเชือกของชิงช้า โดยมัดติด
กับเสาชิงช้า และเกบ็ เครอื่ งเซ่นไหวต้ า่ ง ๆ ถอื วา่ เสรจ็ สนิ้ พธิ ีกรรม

๒๓

ประเพณที าบุญเมอื ง สะเดาะเคราะหแ์ ละถวายทานสลาก ๒๕

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : กนั ยายน
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : วดั พระธาตผุ าเงา ต.เวยี ง อ.เชยี งแสน จ.เชยี งราย

ประเพณีนี้ ครั้งแรกได้ทาพิธีที่ลานหอพระหน้าอาเภอเชียงแสน
ปีท่ีสอง ทาพิธีที่วัดกาเผือก ในปีท่ี ๓ – ๗ ทาพิธีที่วัดเจดีย์หลวง ต่อมาเกิด
ปัญหาขึ้นในหลายๆ ด้าน คณะกรรมการได้ประชุมและเสนอว่า ให้เปล่ียนกัน

เป็นเจ้าภาพวัดละปีเวียนแต่ละวัด ทั้ง ๔
วัด ได้แก่ วัดเจดีย์หลวง วัดล้านทอง
วัดผ้าขาวปา้ น และวดั ปงสนกุ
สืบเน่ืองมาจากเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๐
ช า ว บ้ า น ไ ด้ จั ด ง า น ป ร ะ เ พ ณี เ ลี้ ย ง
เจ้าพ่อประตูป่าสักและเจ้าแม่นางเซิ้ง
ข้ึนในเดือน ๙ ขึ้น ๙ ค่า ซ่ึงขณะก่าลัง
ท่าพิธีอยู่ได้เกิดเหตุการณ์ข้ึนกับผู้หญิง

ท่านหน่ึงที่เข้าร่วมพิธีในครั้งนี้ ได้มีร่างทรง
ประทับร่างผู้หญิงดังกล่าวที่หน้าศาล
เจ้าแม่นางเซ้ิง แล้วขอน่้ากินและ
นา่ มารดตัวเองจนเปยี ก ชาวบา้ นที่มา
ร่วมพิธีได้ถามว่า เป็นใคร ร่างทรงได้
บอกว่าเขา คื อ พญานา ค และ
ยังกล่าวว่า เจ้าบ้าน เจ้าเมืองและ
บรรพบุรุษท่ีได้ล้มตายจากไปหลาย
ช่ัว อายุคน ไม่มีใครคิดจะท่าบุญ

๒๔

ท่าทาน อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้ หลังจากน้ัน ชาวบ้านจึงประชุมมีมติ
ลงความเห็นว่า ควรท่าสลากซาวห้า เพื่อท่าบุญให้แก่บรรพบุรุษท่ีล่วงลับไป
แล้ว สลากซาวห้า ก๋วยสลากน้ันต้องเขียนชื่อของกษัตริย์หรือบรรพบุรุษ
ที่สร้างบ้าน สร้างเมือง ท่าคุณประโยชน์ให้แก่บ้านเมืองเชียงแสน
จ่านวน ๒๕ ทา่ น

๒๕

พิธวี างพวงมาลาอนสุ รณ์สถานสามผกู้ ลา้ พ.ต.ท. (พลเรอื น ตารวจ ทหาร)

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : ๒๐ กนั ยายน
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : อนสุ รณส์ ถานสามผกู้ ลา้ ฯ ต.บา้ นแซว อ.เชยี งแสน จ.เชยี งราย

อนสุ รณส์ ถานสามผ้กู ลา้ พ.ต.ท. (พลเรือน ตารวจ ทหาร) เป็นอนสุ รณ์
สถานท่ีสร้างขึ้น เพ่ือราลึกถึงวีรกรรมการสูญเสียผู้นาพลเรือน ตารวจ ทหาร
ประกอบด้วย นายประหยัด สมานมิตร อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย,
พ.ต.อ. ศรีเดช ภูมิประหมัน อดีตผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวดั เชียงราย และ
พ.อ. จาเนียร มีสง่า อดีตผู้ช่วยหัวหน้ากองข่าวกองทัพภาคท่ี 3 ท่ีถูกล้อมยิง
จนเสียชีวิตขณะเข้ารับมอบตัวผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ จากเหตุการณ์

ก ลุ่ ม ผู้ ก่ อ ก า ร ร้ า ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ ใ น พ้ื น ท่ี
จังหวัดเชียงราย ได้เคล่ือนไหวก่อความ
ไ ม่ ส ง บ ท า ง ก า ร ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร
ปราบปราม ท้ังใช้กาลังและจิตวิทยา
ในการเจรจาต่อรองให้กลุ่มผู้ก่อการร้าย
มอบตัวต่อทางราชการ โดยนัดมอบตัว
ในวันที่ 20 กันยายน 2513 ณ จุดนัดพบ
ดอยหลวงแปรเมือง เขตติดต่ออาเภอ
เชียงของ-เชียงแสน โดยบุคคลทั้งสาม
และคณะจานวน 9 คน ได้เดินทางไปยัง
จุ ด นั ด ห ม า ย เ พ่ื อ รั บ ตั ว ผู้ ก่ อ ก า ร ร้ า ย
ดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ใิ จ โดยไม่ได้พกอาวธุ ใดๆ
แต่ถูกกลุ่มผู้ก่อการร้ายซุ่มยิงจนเสียชีวติ ทนั ที
ท้ัง 3 คน เพื่อเป็นการราลึกถึงวีรกรรมของ 3 ผู้กล้า จังหวัดเชียงราย

๒๖

จึงประกอบพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณ ทาบุญอุทิศส่วนกุศล และวางพวงมาลา
สดดุ ีวีรกรรมของผู้นาทงั้ 3 เริม่ ตั้งแต่ พ.ศ.2547 เป็นต้นมา

๒๗

งานเดนิ เทดิ พระเกยี รติ และถวายสดดุ ี
เนอื่ งในวันคลา้ ยวันพระราชสมภพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : ๒๑ ตลุ าคม

สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : บรเิ วณลานตงุ โครงการพฒั นาดอยตงุ อ.แมฟ่ า้ หลวง จ.เชยี งราย

เป็นงานพิธีไหว้สาแม่ฟ้าหลวง จัดข้ึนทุกวันท่ี 2๑ ตุลาคม ของทุกปี
มีกิจกรรมเดินขบวนเครื่องสักการะเทิดพระเกียรติ และถวายราชสดุดี
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ
โดยขบวนแห่เคร่ืองสักการะตามแบบประเพณีล้านนา ณ บริเวณหน้าอาคาร
เอนกประสงค์พระตาหนักดอยตุง อาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย โดยใน
พิธี มีข้าราชการ นายอาเภอทุกอาเภอพร้อมคณะ พสกนิกรชาวเชียงราย
ทุกหมู่เหล่า และกลุ่มชาติพันธ์ุ ในจังหวัดเชียงราย ร่วมเดินเทิดพระเกียรติ
และถวายสดุดี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพื่อร่วมสานึก
ในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จย่าท่ีมีต่อปวงชนชาวไทย โดยเฉพาะในพ้ืนท่ี
จงั หวัดเชียงรายท่ที รงสร้างอาชพี สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับกลมุ่ ชาติพันธ์ุ อยา่ งยง่ั ยืน

๒๘

ประเพณงี านมหาบญุ จลุ กฐนิ ถน่ิ ไทลอื้ ศรดี อนชยั
(วาระที่ ๓ เกบ็ ฝ้ายมงคลและทอผา้ จลุ กฐนิ )

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : ๒๔-๒๖ พฤศจกิ ายน
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : วดั ทา่ ขา้ มศรดี อนชยั ต.ศรดี อนชยั อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย

ประเพณีงานมหาบุญจุลกฐินถ่ินไทล้ือ ศรีดอนชัย (วาระที่ ๓ เก็บฝ้าย
มงคลและทอผ้าจุลกฐิน) จัดข้ึนในเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี โดยก่อนถึง
วันงานชาวบ้านร่วมกันแต่งดาสถานที่ จัดข่วงทอผ้า ปักร้ัว ตุงไทลื้อ สองข้าง
ทางเพ่ือบอกบุญใหญ่ว่าจะมีการจัดงานในวันจัดงาน (วนั ทอผา้ จลุ กฐิน) ในชว่ ง
พิธีเก็บฝ้ายพระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา มีการฟ้อนเก็บฝ้ายโดย
สาวพรหมจรรย์ หลังจากนั้นคณะเจ้าภาพ คณะสายบุญร่วมกันเก็บฝ้ายมงคล
โดยชาวบ้าน นาล้อเกวียน
ออกไปเก็บฝ้ายที่ปลู กไว้
ทั้ ง ห มู่ บ้ า น แ ล้ ว น า ม า
ประกอบพิธี ณ ลานหน้าวัด-
ท่าข้ามศรีดอนชัย ปูผ้าขาว
แล้วร่วมกันหยิบฝ้ายมงคล
พร้อมอธิษฐาน นาวางลงใน
ผ้าขาว แล้วนาไปไว้หน้า
พระประธาน แล้วเริ่มพิธี
ทางศาสนา หลังจากนัน้ ชาวบ้านจะนาฝา้ ยมงคลมาทอผ้าจุลกฐินดว้ ยวิธีต่าง ๆ
ด้วยเครอ่ื งมอื พื้นบ้าน และในงานจะมมี หรสพสมโภชทั้งคนื มโี รงทาน มีสินค้า
ของทีร่ ะลกึ

๒๙

ในวันต่อมา ชาวบ้านแต่งกายด้วยชุดไทล้ือทั้งงาน ต้ังขบวนประดับ
ด้วยเคร่ืองสักการะ ขบวนตุง เครื่องสูง และบุษบกอัญเชิญผ้าจุลกฐนิ เคลื่อนสู่
วัดท่าข้ามศรีดอนชัย ประธานอัญเชิญผ้าจุลกฐิน เข้าสู่อุโบสถและประกอบพิธี
ทอดกฐนิ ตามประเพณีตอ่ ไป

๓๐

ประเพณที อผา้ ทันใจ

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : เดอื นพฤศจิ กายน ถงึ กลางเดอื นธันวาคม
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : บา้ นหาดบา้ ยทรายทอง ต.รมิ โขง อ.เชยี งของ จ.เชียงราย

ประเพณีทอผ้าทันใจ “ทอสายบญุ จุลกฐนิ ถน่ิ ไทล้อื โบราณ” เป็นการ
ถวายผ้าจีวรเเด่พระภิกษุสงฆ์ที่จาพรรษาช่วงไตรมาส โดยการสืบสานตานาน
ผ้าทอ ซึ่งชาวไทลื้อเรียกวา่ "พิธีผ้าทอทันใจ" ต้องทอผ้าให้เสร็จภายในวนั เดยี ว
หมายความว่า ต้องเริ่มจากการปลูกฝ้าย ในเดือนพฤษภาคม ของทุกปี ตอ่ ด้วย
กล่อมฝ้ายมงคล ในเดือนสิงหาคม และเม่ือถึงงานมหาบุญ (จุลกฐิน)
ที่อยู่ในช่วงหลังออกพรรษา เดือนพฤศจิกายน ชาวบ้านจึงค่อยตัดเย็บ
ย้อม เเละถวายให้พระสงฆ์กรานกฐินให้เสร็จภายในเวลาเช้าวนั หนึ่งจนถึงย่ารุ่ง
ของอีกวันหนึ่ง ดังน้ัน ชาวบ้านในสมัยก่อนจึงถือกันว่า การทาจุลกฐิน
มีอานิสงส์มาก เพราะต้องใช้ความพยายาม อดทน การจัดงานนี้ เป็นประเพณี
อันดีงาม และร่วมกันสืบทอดให้คนรุ่นใหม่ ได้เห็นและสามารถนาไปเป็น
แบบอย่าง ในการส่งเสริมประเพณีท่ีเก่าแก่เอาไว้ เพราะ “ทอสายบุญ จุลกฐิน
ถ่ินไทล้ือโบราณ” ณ บ้านหาดบ้าย ไม่ได้มีเฉพาะการประเพณีที่เก่าแก่
ยังมีการทอผ้าท่ีชาวไทลื้อ สืบทอดกันมาและสามารถประกอบเป็นอาชีพเร่ือง
ของผา้ ทอ ท่ีมเี อกลักษณ์

ประเพณีการทอผ้าทันใจของบ้านหาดบ้ายทรายทอง เป็นหมู่บ้าน
ไทลื้อ ท่ียังคงรักษาประเพณีทอผ้าทันใจเอาไว้อย่างต่อเน่ือง โดยเมื่อได้
กาหนดวันแล้ว จะเร่ิมขึ้นตั้งแต่ช่วง 6 โมงเย็นไปจนถึงเวลา 6 โมงเช้าของ
วันรุ่งขึ้น ก่อนทาพิธีจะมีการบอกกล่าวกุศลบุญนี้ แก่เทวบุตร เทวดา เพ่ือช่วย
ด ล บั น ด า ล ใ ห้ ช า ว บ้ า น ส า ม า ร ถ ท อ ผ้ า ทั น ใ จ ใ ห้ แ ล้ ว เ ส ร็ จ ต า ม ช่ ว ง เ ว ล า
ท่ีได้กาหนดไว้ จากน้ันจะเริ่มพิธีสงฆ์ และเข้าสู่กระบวนการทอผ้า คือ
การเกบ็ ดอกฝ้ายมาอดี หรือหีบฝ้าย เสร็จแลว้ นาไปดดี หรอื ยงิ ฝา้ ย ม้วนใหเ้ ป็น

๓๑

หาง เพ่ือให้ดึงออกมาเป็นเส้นด้าย จากนั้นก็นามาปั่น เปีย ต้ม แล้วนวดฝ้าย
ก่อนจะนาไปตากให้แห้ง เม่ือเสร็จแล้วก็จะนาฝ้ายมากวัก และสาวเข้าฟืม
เพอื่ ทอเป็นผนื จากนัน้ นาไปตัดเปน็ ผา้ สบง จวี ร สังฆาฏิ และผา้ รัดออกผืนใหญ่
จานวน 1 ไตร ก่อนจะนาไปย้อมสี แลว้ ถวายเป็นผา้ จุลกฐนิ ในรุ่งเช้าของอีกวัน
ถือเป็นเสรจ็ พิธี

๓๒

วยการก ประเพณไี หลเรอื ไฟ ๑๒ ราศี

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : เดอื นพฤศจิ กายน ถงึ กลางเดอื นธันวาคม
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : บา้ นสบคา ต.เวยี ง อ.เชยี งแสน จ.เชยี งราย

ประเพณีไหลเรือไฟ
12 ราศี เป็นประเพณี
ของชาวอีสาน ภาษาทอ้ งถ่ิน
เรียกว่า “เฮือไฟ” จัดข้ึน
ในช่วงเทศกาลออกพรรษา
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือบูชา
รอยพระพุทธบาทของพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้า ณ ริมฝั่ง
แมน่ า้ นมั ทามหานที โดยมีประวัติความเป็นมาดังน้ี กล่าวคือพระพุทธเจ้าเสด็จ
ไปฝ่ังแม่น้านัมทามหานที ซึ่งเป็นท่ีอยู่อาศัยของพญานาค พระพุทธองค์
ได้แสดงธรรมเทศนาโปรดพญานาคที่เมืองบาดาล และพญานาคได้ทูลขอพระ
พุทธองค์ประทับรอบพระบาทไว้ ณ ริมฝั่งแม่น้านัมทามหานที ต่อมาบรรดา
เทวดา มนุษย์ ตลอดจนสัตว์ท้ังหลายได้มาสักการะบูชา รอยพระพุทธบาท

นอกจากนีป้ ระเพณีไหลเรือไฟยังจัดข้ึน
เ พ่ื อ ข อ ข ม า ล า โ ท ษ แ ม่ น้ า ที่ ไ ด้ ท้ิ ง
ส่ิงปฏิกูล และเป็นการเอาไฟเผา
ค ว า ม ทุ ก ข์ ใ ห้ ล อ ย ไ ป กั บ ส า ย น้ า
ประเพณีไหลเรือไฟ ของบ้านสบคา
ที่มีการสืบสานกันมาอย่างช้านาน
ทาให้ได้รับความสนใจและยกระดับ
เ ป็ น ป ร ะ เ พ ณี ข อ ง ร ะ ดั บ ต า บ ล แ ล ะ
อาเภอเชียงแสน งานประเพณีไหลเรือไฟนิยมปฏิบัติกันในเทศกาลออกพรรษา
ในวนั ขน้ึ ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ หรอื วนั แรม ๑ คา่ เดอื น ๑๑ ประเพณไี หลเรือไฟ

๓๓

มีความเช่ือเกี่ยวโยง สัมพันธ์กับข้อมูลความเป็นมาหลายประการ เช่น
เนอื่ งจากการบชู ารอยพระพุทธบาท การสักการะพระพรหม การบวงสรวงพระธาตุ
จุฬามณี การระลกึ ถึงพระคุณ ของพระแม่คงคา เปน็ ต้น

๓๔

งานมหศั จรรย์ ๑๐ ชาตพิ นั ธแ์ุ มส่ าย

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : ธันวาคม
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : ณ ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาผลติ ภณั ฑน์ ามนั เมลด็ คามเี ลยี และนามนั พชื อน่ื

ต.แมส่ าย อ.แมส่ าย จ.เชยี งราย

จัดโดยเทศบาลตาบลแม่สาย โดยในปี พ.ศ.2565 เป็นการจัดงาน
คร้งั ท่ี 8 จัดกิจกรรม ณ ศูนย์วิจยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์นา้ มันเมล็ดคามเี ลยี และ
น้ามันพืชอ่ืน ในมูลนิธิชัยพัฒนา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เพ่ือเป็นการ
อนุรกั ษ์ศลิ ปะ วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาและวถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยู่ของกลุ่มชาติพันธ์ุ
และวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน พัฒนาการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม
ท้องถ่ินท่ีเป็นเอกลักษณ์ของเมืองแม่สายให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
สู่อาเซียน ตลอดจนเป็นการประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวของอาเภอแม่สาย
ให้แก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ อีกท้ังยังดาเนินการ
ตามนโยบายการเปดิ ประเทศไทยเพอื่ การกระต้นุ เศรษฐกจิ

๓๕

มหกรรมไมด้ อกอาเซยี นเชยี งราย

ชว่ งเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม : ๒๔ ธนั วาคม - ๘ มกราคม
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : สวนไมง้ ามรมิ นากก อ.เมอื งเชยี งราย จ.เชยี งราย

งานมหกรรมไม้ดอกอาเซียนเชียงราย เป็นมหกรรมดอกไม้ท่ียิ่งใหญ่
มีดอกไม้นานาชนิด ประชาชนและนักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสกับอุทยานไม้
ดอกไม้ประดับท่ีสวยงาม พร้อมชมงานศิลปะ ผลงานจากศิลปินเชียงราย บน
พ้นื ท่กี วา่ 25 ไร่ ภายในงานมีกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การเปดิ พ้ืนท่ีจดั งานให้เป็น
พ้ืนที่สร้างสรรคง์ านศลิ ปะในจังหวัด การจดั นิทรรศการ การจาหน่ายชา กาแฟ
ในท้องถ่ิน กาดหม้ัวครัวล้านนา การแสดงวิถีชีวิต วัฒนธรรมล้านนา และ
ชาติพันธุ์ต่าง ๆ
ก า ร จ า ห น่ า ย
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
ก า ร จ า ห น่ า ย ไ ม้
ด อ ก เ มื อ ง ห น า ว
ไมด้ อก ไม้ประดบั
นานาชนิด โดย
เริ่มจัดงานกระจาย
ไปอาเภออ่ืน ๆ อีก 4 อาเภอ เพื่อเพ่ิมทางเลือกในการท่องเท่ียว และกระตุ้น
เศรษฐกิจ และกระจายรายได้ไปยังแหล่งท่องเท่ียวต่าง ๆ ในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย สาหรับงานมหกรรมไม้ดอกอาเซียนเชียงราย Chiang Rai Flower
and Art Festival 2022 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 24 ธันวาคม 2565 – 8
มกราคม 2566 ณ สวนไม้งามริมน้ากก (ศูนยร์ าชการฝง่ั หม่ิน) พร้อมกระจาย

๓๖

สีสันแห่งมวลดอกไม้ไปอีก 4 อาเภอ บอกเล่าเรื่องราวอันเป็นเอกลักษณ์
ผ่านสวนดอกไม้ทมี่ คี วามโดดเดน่ เฉพาะของท้องถน่ิ ประกอบด้วย

อาเภอเชียงแสน ภายใต้แนวคิด “หลงใหลเชียงแสน ล้านนา
ล้านศรัทธา เมืองสามแผ่นดิน” ณ เรือนประทับในหลวงรัชการที่ 9 และ
สกายวอล์ค วดั พระธาตุผาเงา ตาบลเวียง

อาเภอเวียงแก่น ภายใต้แนวคิ ด “รักสุดเขตประเทศไทย
@ผาได เวียงแก่น” ณ แกง่ ผาใด ตาบลม่วงยาย

อาเภอขุนตาล ภายใต้แนวคิด “เยือนสามภู ดูมังกร ย้อนรอย
พญาพิภักด”์ิ ณ ศนู ยจ์ าหน่ายผลติ ภัณฑช์ ุมชน ตาบลยางฮอม

อาเภอเวียงเชียงรุ้ง ภายใต้แนวคิด “ดอกบัวงาม ทานตะวันบาน
ท่ีเวียงเชียงรุ้ง” ณ บริเวณหนองบวั แดง และหนองมน ตาบลป่าซาง

๓๗

งานเชยี งรายดอกไมง้ าม

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : ธันวาคม - มกราคม ปถี ดั ไป
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม : สวนตงุ และโคมเฉลมิ พระเกยี รติฯ ถ.ธนาลยั ต.เวยี ง อ.เมอื งเชยี งราย

งานเชียงรายดอกไม้งามจัดข้ึนเป็นครั้งแรกเม่ือพุทธศักราช 2546
เพื่อเชิญชวนให้นักท่องเท่ียว มาชมดอกไม้เมืองหนาวนานาพันธุ์ อาทิ
ดอกทิวลิป ดอกลิลล่ี และอื่น ๆ อีกนับล้านดอก ผู้เข้าร่วมงานจะได้พบกับ
ความสวยงามของธรรมชาติ การรังสรรค์อุโมงค์ดอกไม้ และประติมากรรม
ดอกไม้รูปทรงต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังได้เรียนรู้พันธุ์ไม้เมืองหนาว และพันธ์ุไม้
ทอ้ งถนิ่ ผ่านการจดั นทิ รรศการศลิ ปวฒั นธรรมท้องถ่นิ อีกด้วย

๓๘

สวดมนตข์ า้ มปอี าเซยี น

ชว่ งเวลาทจี่ ดั กจิ กรรม : ธนั วาคม - มกราคม ปถี ดั ไป
สถานทจี่ ดั กจิ กรรม : วดั พระธาตผุ าเงา ต.เวยี ง อ.เชยี งแสน จ.เชยี งราย

กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีอาเซียน : จัด ณ วัดพระธาตุผาเงา อ.เชียงแสน
ในช่วงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม – 1 มกราคม ปถี ดั ไป โดยเชญิ ชวนประชาชนทุกพ้ืนที่
ร่วมทาบุญ รักษาศีล เจริญจิตตภาวนาปฏิบัติธรรม ฟังพระธรรมเทศนา
สวดมนต์ข้ามปี ร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์ เป็นการเสริมสิริมงคลส่งท้ายปีเกา่
วิถีใหม่ และร่วมทาบุญตักบาตรก้าวเข้าสู่ปีใหม่ ส่งเสริมชีวิตที่ดีต้อนรับ
ปพี ุทธศักราชใหมต่ ่อไป

เอกสารอา้ งองิ ๓๙

กระทรวงวัฒนธรรม. 2564. เทศกาลประเพณีและการแสดงศลิ ปวัฒนธรรม.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั .
. 2552. ปกณิ กวฒั นธรรม จงั หวัดเชียงราย.
กรงุ เทพมหานคร : บริษทั แปลน โมทิฟ จากดั .

สานักงานวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งราย. เทศกาล การแสดง ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณีจังหวัดเชียงราย.
. 2565. ฐานข้อมูลดา้ นศาสนา วัฒนธรรม และจารตี ประเพณี
ท้องถน่ิ ประจาปี 2564 (Online).
https://online.anyflip.com/voqhu/tfxj/mobile/
สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 25 พฤศจิกายน 2565.
. 2565. มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย (Online).
https://online.anyflip.com/voqhu/thcu/mobile/
สบื ค้นเมอื่ วนั ที่ 21 พฤศจิกายน 2565.
.2545. เอกลกั ษณ์ทางวัฒนธรรมเชียงราย.
เชยี งใหม่ : บริษัท เชียงใหม่ ดอดคิวเมนทารี ดไี ซน์ จากดั .
.(มปพ.). สดุ ฟา้ ล้านนาตะวนั ออก. เชยี งใหม่ : บรษิ ัท สันติภาพ
แพ็คพริ้นท์ จากัด
.2560. อัตลกั ษณ์ชมุ ชน วฒั นธรรมกลุ่มลา้ นนาตะวันออก.
เชียงใหม่ : บริษทั เชียงใหม่ ดอดควิ เมนทารี ดีไซน์ จากัด. :
หจก. บอสโปรเกรช กรุป๊ .

สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร.่ 2553. ฐานข้อมลู ศลิ ปะ วัฒนธรรม
ประเพณี และภูมิปญั ญาในกลุม่ จังหวดั ล้านนาตะวนั ออก. :
หจก.ชุติมาพรน้ิ ต้ิง (2004)

คำส่งั สำนักงำนวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
ท่ี 61/2565

เรอื่ ง แตง่ ต้ังคณะทำงำนจดั ทำข้อมูลองค์ควำมร้มู รดกวัฒนธรรมประเพณภี มู ิปัญญำทอ้ งถิ่น
*********************

ด้วย สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ได้จัดทำกิจกรรมจัดทำองค์ควำมรู้มรดก
วฒั นธรรมประเพณีภูมิปัญญำท้องถ่ิน ภำยใต้โครงกำรสง่ เสริม สนบั สนุนกำรอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียม
ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดเชียงรำย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำองค์ควำมรู้ และประชำสัมพันธ์
วัฒนธรรม ประเพณี ของหวัด สร้ำงกำรรับรู้มรดกวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญำท้องถิ่น ให้ประชำชนและ
นักท่องเท่ียวทรำบ เกิดกำรเผยแพร่วัฒนธรรมประเพณี ให้เป็นที่รับรู้อย่ำงกว้ำงขวำง ตลอดจนส่งเสริม
กำรท่องเท่ียวทำงวัฒนธรรม ด้วยกำรนำทุนทำงวัฒนธรรมมำสร้ำงคุณค่ำ และเพิ่มมูลค่ำทำงเศรษฐกิจ
สร้ำงรำยได้จำกมรดกทำงศิลปวัฒนธรรม กระตุ้นกำรท่องเที่ยวเชิงสร้ำงสรรค์และวัฒนธรรม
ส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐำนรำกใหเ้ กดิ ควำมเข็มแขง็

เพื่อให้กำรดำเนินงำนเป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย จึงแต่งต้ังคณะทำงำนจัดทำข้อมูล

องค์ควำมรู้ฯ ประกอบด้วย

1. นำยพสิ นั ต์ จันทร์ศลิ ป์ วัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประธำนคณะทำงำน

2. นำงพัชรนนั ท์ แกว้ จินดำ ผอ.กลุ่มสง่ เสรมิ ศำสนำ ศลิ ปะ คณะทำงำน

และวฒั นธรรม

3. น.ส.กฤษยำ จนั แดง ผอ.กลุ่มกิจกำรพิเศษ คณะทำงำน

4. น.ส.สุพิชชำ ชุ่มมะโน หวั หน้ำฝ่ำยบรหิ ำรทว่ั ไป คณะทำงำน

5. นำยภทั รพงษ์ มะโนวัน หวั หนำ้ กลุ่มพธิ ีกำรฯ คณะทำงำน

6. นำยฐิตกิ ำรณ์ ศิริอศิ รำนวุ ัฒน์ นกั วชิ ำกำรวฒั นธรรมชำนำญกำร คณะทำงำน

7. น.ส.สุดำ นนทะวงษ์ นักวชิ ำกำรวฒั นธรรมชำนำญกำร คณะทำงำน

8. นำยเอกณัฏฐ์ กำศโอสถ นักวิชำกำรวฒั นธรรมชำนำญกำร คณะทำงำน

9. น.ส.พนิดำ คำ้ สม นักวชิ ำกำรวฒั นธรรมชำนำญกำร คณะทำงำน

10 นำงสภุ ัสสร ประภำเลศิ นักวชิ ำกำรวฒั นธรรมชำนำญกำร เลขำนุกำรคณะทำงำน

มีหน้าท่ี จัดทำข้อมูลองค์ควำมรู้ มรดกวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญำท้องถ่ิน

ให้เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย เพื่อประชำสัมพันธ์วัฒนธรรม ประเพณี ของหวัด ให้เกิดกำรเผยแพร่

สรำ้ งกำรรับรู้ให้เปน็ ที่รจู้ กั เกิดกำรสง่ เสริมกำรทอ่ งเที่ยวของจังหวดั เชยี งรำยตอ่ ไป

ทงั้ น้ี ตงั้ แตบ่ ัดน้เี ปน็ ต้นไป

สั่ง ณ วนั ที่ 22 พฤศจิกำยน พ.ศ.2565

(นำยพสิ นั ต์ จันทร์ศิลป์)
วฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย


Click to View FlipBook Version