The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bantita Puansing, 2022-09-04 05:21:48

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

รายงานการเงิน

การเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ

จัดทำโดย

นางสาวภัคจิรา โปธาดุก ม.6/1 เลขที่9
นางสาวบัณฑิตา ปวนสิงห์ ม.6/1 เลขที่12

เสนอ

นางสาวกายทิพย์ แจ่มจันทร์



โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

คำนำ

หนังสือ e-bookล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วน
หนึ่งของวิชา การดำรงชีวิตและครอบครัว
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/1เพื่อให้ได้ศึกษา
หาความรู้ในเรื่อง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ
และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์
กับการเรียน
ผู้จัดทำหวังว่า หนังสือe-bookเล่มนี้จะ
เป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน
นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หาก
มีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้
จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้
ด้วย

นางสาวภัคจิรา โปธาดุก ม.6/1 เลขที่9
นางสาวบัณฑิตา ปวนสิงห์ ม.6/1 เลขที่12

4 กันยายน 2565

1

ความหมายของการเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หมายถึง การนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช
ไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเนื้อเยื่อเซลล์ หรือเซลล์ไม่มีผนัง มาเลี้ยงใน
อาหารเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อจุลิทรีย์ และอยู่ในสภาพควบคุม
อุณหภูมิ แสงและความชื้นเพื่อให้เซลล์พืชที่นำมาเพาะเลี้ยงนั้น
ปราศจากเชื้อที่มารบกวนและทำลายการเจริญเติบโตของพืช

พืชที่นิยมนำมาเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ นิยมใช้กับพืชที่มีปัญหาในเรื่องของการขยายพันธุ์ หรือ
พืชที่มีปัญหาเรื่องโรค เช่น ขิง กล้วยไม้ หรือพืชเศรษฐกิจ เช่น กุหลาบ ดาวเรือง
ข้าว แครอท คาร์เนชั่น เยอร์บีร่า เป็นต้น

สารบัญ

ความหมายของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 1
การเตรียมเนื้อเยื่อ 3
เทคนิคการชำทราย 5

การเตรียมอาหาร 7
อุปกรณ์ในการทำอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช 9
การเตรียมสารละลายเข้มข้น (STOCK) 10

วิธีการนำเนื้อเยื่อลงขวด 15
การย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 17
ไปสู่โรงเรือน 18
วิธีการย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยง

ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 2
1. เพื่อการผลิตต้นพันธุ์พืชปริมาณมากในเวลาอันรวดเร็ว
2. เพื่อการผลิตพืชที่ปราศจากโรค

3. เพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
4. เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ต้านทาน

5. เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ทนทาน
6. เพื่อการผลิตยาหรือสารเคมีจากพืช
7. เพื่อการเก็บรักษาพันธุ์พืชมิให้สูญพันธุ์

3

การเตรียมเนื้อเยื่อ

เป็ นการนำชิ้นส่วนพืชจากต้นแม่พันธุ์ในส่วนของยอดอ่อนหรือตาย
อด เพื่อนำเข้ามา สู่กระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยส่วนของ
พืชนั้น สามารถนำมาได้จากหลายวิธีเช่น ยอดจากการ ปักชำทราย
ยอดจากการติดตา ยอด Cutting และยอดจากต้นแม่พันธุ์โดยตรง
ทั้งนี้ การได้ยอดจาก การติดตา เป็นวิธีที่ยังนิยมใช้ในการเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อ แต่มีข้อเสีย คือต้องใช้เวลานาน และต้องมีความช
ำนาญ อีกทั้ง ยังต้องมีต้นพันธุ์เพื่อใช้สำหรับการติดตาอีกด้วย ใน
ส่วนนี้จะขอกล่าวถึงการปักชำทราย ซึ่งเป็นการปฏิบัติการ ณ ห้อง
ปฏิบัติการสำหรับเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ อ.อ.ป. ราชดำเนินนอก กทม.
โดยมีรายละเอียด ดังนี้

โรงเรือนขนาดเล็ก
โรงเรือนขนาดเล็กสำหรับชำกิ่งด้วยทราย เพื่อจะทำให้ยอดที่

สะสมอาหารนั้น แตกยอดที่มีความ สมบูรณ์ พร้อมที่จะนำมาสู่ที่
กระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ส าหรับการปักชำทรายนี้ ถือว่า
เป็นส่วน สำคัญอย่างหนึ่ง เพื่อจะให้ได้ชิ้นส่วนของพืชจากต้นแม่
พันธุ์ที่ต้องการขยายพันธุ์หรือปรับปรุงพันธุ์ มาทำการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อให้ได้จำนวนมาก และมีลักษณะเหมือนต้นแม่พันธุ์ทุก
ประการ ทำให้ได้สาย ต้นที่มีลักษณะที่ดี ตรงตามวัตถุประสงค์ที่
ต้องการ ซึ่งสามารถต่อยอดเพื่อปลูกเป็นสวนผลิตเมล็ดพันธุ์ ต่อ
ไป

4

อุปกรณ์

1. กิ่งแม่พันธุ์(ตายอด/ตาข้าง) 2. กระถางขนาด 10 นิ้วขึ้นไป

4. โรงเรือน 3. ทราย

4.1 ตาข่ายกันแสง/สแลน 4.2 สเปรย์หมอกรดน้ าต้นไม้
50%-80%

5

เทคนิคการชำทราย

ขั้นตอนการน ากิ่งมาชำทราย
1. เตรียมกิ่งแม่พันธุ์ที่ต้องการ (กิ่งแม่พันธุ์ต้องมีตาข้าง/ตายอด
และไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ควรตัดด้วยยาวประมาณ 50-80
เซนติเมตร)
2. ปักกิ่งแม่พันธุ์ที่ต้องการลงกระถางทรายที่เตรียมไว้ โดยปักลึก
ไปประมาณ 20 เซนติเมตร จำนวน 3-5 กิ่งเท่านั้น เพื่อไม่ให้แน่น
กระถางจนเกินไป (ทรายควรเป็นทรายที่สะอาด มีการตากแดด
เพื่อฆ่า เชื้อในเบื้องต้น)
3. ให้น้ำทุกๆ 1 ชั่วโมง นาน 1 นาที(โดยใช้ Timer ตั้งเวลาเพื่อส
เปรย์หมอกรดน้ า)

6

เทคนิคในขั้นตอนการปั กชำทราย

1. หลังจากปักกิ่งแม่พันธุ์แล้วลงในกระถางแล้ว ไม่ควรขยับตัว
กิ่งแม่พันธุ์ หรือย้ายกระถางเด็ดขาด เนื่องจากกิ่งแม่พันธุ์มีความ
ไวต่อการติดเชื้อ
2. ควรปักให้ห่างกันประมาณหนึ่ง ไม่ให้ชิดหรือแน่นมากเกินไป
ทั้งนี้ ให้พิจารณาตามความเหมาะสม เพื่อจะตัดยอดที่แตกออกมา
ได้อย่างสะดวก
3. ในฤดูฝนเป็นฤดูที่ควรหลีกเลี่ยงจากชำทราย เนื่องจากเสี่ยงการ
ติดเชื้อราที่มาจากน้ าฝน

7

การเตรียมอาหาร

เป็นการนำธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการในการเจริญเติบโต และ
ธาตุอาหารรองมาผสมกับวุ้น ฮอร์โมนพืช วิตามิน น้ำตาล และบาง
กรณีอาจมีการเติมผงถ่านด้วย ในอัตราส่วนที่เหมาะสมแล้วน าไป
นึ่งฆ่าเชื้อ ซึ่งในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย
อย่าง สิ่งที่ส าคัญมากอย่างหนึ่งคือ องค์ประกอบของอาหารที่
เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชชนิดนั้นๆ ซึ่งต้องประกอบ
ด้วยอาหารที่ พืชสามารถน าไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสูตร
อาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
1. สารอนินทรีย์ ได้แก่ ธาตุอาหารหลักคือ ธาตุอาหารที่พืชจ าเป็น
ต้องใช้ในปริมาณมาก เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม ก
ามะถัน แคลเซียม แมกนีเซียมและก ามะถัน และธาตุอาหารรอง
หรือธาตุ อาหารที่พืชจำเป็นต้องใช้ในปริมาณน้ อย เช่น เหล็ก
แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โมลิบดีนัม โบรอน ไอโอดีน โคบอล
คลอรีน
2. สารประกอบอินทรีย์ ได้แก่ สารที่มีองค์ประกอบของคาร์บอน
(C) ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) แบ่งออกได้หลายกลุ่ม คือ
2.1 น้ าตาล
2.2 วิตามิน ชนิดที่มีความส าคัญ ได้แก่ Thiamine Pyridoxine
Nicotinic acid
2.3 กรดอะมิโน ได้แก่ ไกลซีน
2.4 สารควบคุมการเจริญเติบโต ได้แก่ ออกซิน ไซโตไคนิน จิบ
เบอเรลลิน

8

2.5 สารอินทรีย์พวกอิโนซิทอล อะดีนีน ช่วยส่งเสริมให้เกิดยอด
2.6 วุ้น เป็นเพียงส่วนที่ท าให้อาหารแข็ง หรือกึ่งแข็งกึ่งเหลวที่
พอจะพยุงเนื้ อเยื่ อพืชไม่ให้จมอยู่ในอาหาร
2.7 ผงถ่าน เพื่อดูดสารพิษที่พืชสร้างขึ้นมา ซึ่งส่งผลต่อการเจริญ
เติบโตของพืช (ถ้ามี)




อาหารสำหรับเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแบ่งออกเป็ น 4 สูตรอาหาร
1. อาหารสำหรับหลังจากการฟองฆ่าเชื้อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ
2. อาหารสำหรับขยายกอชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ
3. อาหารสำหรับยืดยอด
4. อาหารสำหรับออกราก

9

อุปกรณ์ในการทำอาหารเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อพืช

อุปกรณ์ในการทำอาหารเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อพืช
1. เครื่องแก้วต่างๆ ไดแก่ บีกเกอร์ ปเปตต์ จานเพาะเชื้อ
กระบอกตวงขวด (Cylinder)
2. สารเคมีตางๆ

2.1 สารเคมีที่ใชเตรียมสูตรอาหารตางๆ
2.2 สารเคมีที่ควบคุมการเจริญเติบโต
2.3 น้ าตาลทรายขาว
2.4 วุ้น (Agar Agar) ตรานางฟ้ า
2.5 ผงถ่าน 3. หม้อนึ่งความดันไอ (Autocrave)
4. เตาไฟฟ้ า
5. หม้อสำหรับต้มอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และกระบวยตัก

10

ก(SารเTตรOียCมสKาร)ละลายเข้มข้น

การเตรียมสารละลายเข้มข้น (Stock)
การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อพืชจะแตกต่างกันไปตามชนิด
ของพืช โดยสูตรอาหารสำหรับ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีอยู่ด้วยกัน
หลายชนิด เช่น MS (Murashige and Skoog) และ Woody
Plant สำหรับการเลือกสูตรอาหารมาใช้จะต้องคำนึงถึงความ
เหมาะสมกับพืชและวัตถุประสงค์ในการศึกษา ปัจจุบันนิยมเตรียม
ในรูปแบบสารละลายเข้มข้น ซึ่งสะดวกต่อการใช้งาน โดยทั่วไป
การเตรียม สารละลายจะเตรียมในขวดสีชา และนำสารละลายดัง
กล่าวแช่ตู้เย็น เพื่อเป็นการยืดอายุการใช้งานของ สารละลาย

11

ขั้นตอนทำอาหารเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อ
1. เตรียมสารละลายเข้มข้น (Stock) ด้วยความเข้มข้นต่างๆ
ตามสูตรของสารละลายเข้มข้น (Stock) ที่ต้องการ ในขวดแก้วสี
ชา และนำแช่ตู้เย็น เพื่อยืดอายุการใช้งานของสารเคมี
2. ผสมสารละลายเข้มข้น (Stock) ตามสูตรอาหารสำหรับเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อที่ต้องการ ด้วยกระบอก ตวง (Cylinder) เพื่อความ
แม่นยำ ใส่น้ำตาล และปรับปริมาตรให้เป็นไปตามสูตรอาหารนั้นๆ
3. หลังจากปรับปริมาตรอาหารสำหรับเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแล้ว ต้อง
ทำการวัดความเป็นกรด-ด่าง ซึ่งควร มีค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่
ระหว่าง 5.7-5.8 เท่านั้น โดยสามารถใช้กรด (1 Normal HCL)
และเบส (1 Normal NaOH) เพื่อปรับให้ได้ความเป็นกรด-ด่าง ที่
ต้องการ
4. หลังจากที่ได้ความเป็นกรด-ด่าง ที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานแล้ว
ก็ให้ใส่วุ้น และผงถ่าน (ถ้ามี) ลงไป แล้วผสมให้เข้ากัน
5. นำสารละลายดังกล่าวมาต้มให้เดือด โดยต้องคนตลอดเวลา
เพื่อไม่ให้วุ้นติดก้นหม้อ
6. เมื่อเดือดได้ที่ให้นำสารละลายดังกล่าว มาเทใส่ขวดแก้วเพาะ
เลี้ยงเยื่อทันทีขณะที่ยังร้อน
7. ควรเทอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อลงขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ประมาณ 1-2 เซนติเมตร ของขวด เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หากเท
อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมากเกินไปจะท าให้เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่าย
ในทาง กลับกันหากเทอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อน้ อยเกินไป ก็จะท
าให้ไม่สามารถปักชิ้นส่วนพืชลงบนอาหาร เพาะเนื้อเยื่อได้

12

8. หลังจากอาหารแข็งตัว ให้ท าการปิดฝา และน าไปอบฆ่าเชื้อใน
หม้อนึ่งความดันไอ (Autocrave) โดยทั่วไปจะใช้ที่อุณหภูมิ 121
องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว เป็นเวลา 20
นาที เพื่อฆ่าเชื้ออีกครั้ง (หม้อนึ่งความดันไอ (Autocrave) มีหลาย
ประเภท แล้วแต่การใช้งาน ซึ่งเวลาที่ เหมาะสมส าหรับการฆ่า
เชื้อนั้น คือ 15-20 นาที เท่านั้น)
9. หลังจากครบก าหนดเวลาแล้ว ให้นำอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อออก
จากหม้อนึ่งความดันไอ (Autocrave) ซึ่งระหว่างการน าขวดเพาะ
เลี้ยงเนื้ อเยื่ อต้องระวังการหกเลอะปากขวดของอาหารเพาะเลี้ยง
เพื่อป้ องกันการเสี่ยงติดเชื้อ หลังจากอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแข็ง
ตัว ให้นำเข้าห้องปฏิบัติการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต่อไป

13

เทคนิคสำหรับการทำอาหารเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อ
1. การชั่งสารเคมี เครื่องชั่งสำหรับชั่งสารเคมีควรมีอย่างน้ อย 3
ประเภท เพื่อชั่งสารเคมีให้เหมาะสมกับเครื่องชั่งที่มีอยู่ เพื่อความ
แม่นยำของสารเคมีที่ใช้ อีกทั้ง ยังเป็นการถนอมเครื่องชั่งอีกทาง
หนึ่งด้วย - เครื่องชั่งที่สามารถชั่งสารเคมี1 g – 1,000 g - เครื่อง
ชั่งที่สามารถชั่งสารเคมี(สองต าแหน่ง) 0.01 g – 500 g - เครื่อง
ชั่งที่สามารถชั่งสารเคมี(สี่ต าแหน่ง) 0.0001 g- 0.1 g
2. เครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง

2.1 ควรทำการ calibrate ให้เรียบร้อยก่อนใช้ซึ่งก่อนและหลัง
การใช้ทุกครั้ง ต้องทำความสะอาด ด้วยน้ำกลั่นให้เรียบร้อย เช็ด
ให้แห้งทุกครั้ง

2.2 ควรวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง หลังจากปรับปริมาณให้ได้
ตามจำนวนที่ต้องการ ก่อนการใส่วุ้น และผงถ่าน
3. สารละลายเข้มข้น

3.1 ควรตวงสารละลายเข้มข้นในกระบอกตวง (Cylinder) ที่
เหมาะสมกับปริมาณที่ต้องการเท่านั้น เช่น เมื่อต้องการสารละลาย
เข้มข้นปริมาณ 5 มิลลิลิตร ควรใช้กระบอกตวง (Cylinder) ขนาด
10 มิลลิลิตรมิใช่กระบอกตวงขนาด 25 มิลลิลิตร หรือ 50
มิลลิลิตร เพื่อความแม่นย าของ ปริมาตรสารละลายเข้มข้น

3.2 ระหว่างการตวงสารละลายเข้มข้นจากขวด Stock เพื่อท า
อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสูตรต่างๆ แล้ว หากเทเกินปริมาตรที่
ต้องการ ต้องหาภาชนะรองรับเพื่อทิ้งเท่านั้น ไม่ควรเทใส่ขวด
Stock ขวดเดิมเพื่อป้ องกันการปนเปื้ อนของสารละลายเข้มข้ม
3.3 สารละลายเข้มข้น ควรใช้ขวดสีชา และเก็บไว้ในตู้เย็น
เท่านั้น

3.4 ควรมีตู้เย็นเพื่อแช่สารเคมีโดยเฉพาะเพื่อป้ องกันการปน
เปื้ อนของสารละลาย โดยไม่ควรแช่ อาหารร่วมกับสารเคม

14

4. การเทอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อลงขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต้อง
ใช้บีกเกอร์ที่มีขอบปากป้ องกันการหกของสารละละลาย และ
ระหว่างการเทอาหาร เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อลงขวด สิ่งที่สำคัญสำหรับ
ขั้นตอนนี้คือ ห้ามให้อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเลอะปาก ขวดเด็ด
ขาด เพื่อป้ องกันการติดเชื้อ หากอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเลอะ
ปากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ควรเปลี่ยนขวดทันที ไม่ควรนำขวด
ดังกล่าวมาใช้ต่อ ซึ่งการเทอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนั้น ควรเทให้
ห่างจากปากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยไม่ให้บีกเกอร์สัมผัสกับ
ปากขวดเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อเด็ดขาด

15

วิธีการนำเนื้อเยื่อลงขวด

1. หลังจากทำการตัดแต่งชิ้นส่วนพืชแล้ว ให้ทำการปักชิ้นส่วนเนื้อ
เยื่อนั้นๆ ลงไปในอาหารสำหรับ หลังจากการฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วน
เนื้อเยื่อ จำนวน 1 ชิ้น ต่อ 1 ขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

2. หลังจากเพาะเลี้ยงในอาหารสำหรับฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วน
เนื้อเยื่อเป็นเวลา 2-4 สัปดาห์ให้ทำการย้าย ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อออก
จากขวดมายังขวดอาหารสำหรับขยายกอต่อไป เป็นเวลา 4-6
สัปดาห์
3. เมื่อสังเกตเห็นว่าภายในขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีการแตกกอ
เป็นจำนวนมาก มีลักษณะสีเขียวสดชื่น ให้ทำการย้ายชิ้นส่วน
เนื้อเยื่อลงในอาหารสำหรับแตกกอ เพื่อขยายจำนวนเนื้อเยื่อและ
บางส่วนลงใน อาหารสำหรับยืดยอด เป็นเวลา 4-6 สัปดาห์(ให้ผู้
ปฏิบัติการพิจาณาตามเหมาะสม)
4. เมื่อเนื้อเยื่อในอาหารสำหรับยืดยอด มีความยาว 5-8
เซนติเมตร ให้ทำการตัดยอดเพื่อนำมาอาหาร สำหรับยืดยอดอีก
ครั้ง

16

5. เมื่อผ่านไปประมาณ 4-6 สัปดาห์ ให้นำไปเนื้อเยื่อออกจากขวด
อาหารสำหรับยืดยอดมาใส่ในอาหาร ออกรากต่อไป
6. หลังจากเนื้อเยื่ออยู่ในอาหารสำหรับออกรากแล้ว จะสังเกตเห็น
รากแขนง และรากฝอย เมื่อลักษณะ ที่แข็งแรงพร้อมแล้ว ให้นำ
ขวดออกไปสู่โรงเรือนได้

หมายเหตุ
1. คลอร็อกซ์ (Clorox) สามารถใช้สารทดแทนคือ ไฮเตอร์
2. tween-20 สามารถใช้สายทดแทนคือ ซัลไลต์
3. ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 4 เป็นต้นไป ต้องปฏิบัติการภายในตู้ปลอด
เชื้อเท่านั้น
4. ต้องท าความสะอาดตู้ปลอดเชื้อด้วย Alcohol 70%

17

การย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวด
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปสู่โรงเรือน

เป็ นขั้นตอนที่สำคัญอย่างหนึ่ งที่จะบ่งบอกถึงความสำเร็จของการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่งคือการนำ กล้าเนื้อเยื่อที่มีรากและลำต้นที
สมบูรณ์แข็งแรง โดยนำกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ และ นำไปอนุบาลในโรงเรือน หลังจากกล้าเนื้อเยื่อปรับ
ตัวกับและเข้ากับสภาพแวดล้อมได้แล้ว แล้วนำปลูก ในพื้นที่ที่
ต้องการ เพื่อประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ต่อไป

อุปกรณ์การย้ายกล้าเนื้ อเยื่ อออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อ
1. ฟอเซปสายฟ้ า
2. น้ ายาเร่งราก
3. น้ ากันเชื้อรา (ถ้ามี)
4. ภาชนะในการช ากล้าเนื้อเยื่อ
5. วัสดุส าหรับการช ากล้าเนื้อเยื่อ
6. โรงเรือน

6.1 ตาข่ายกันแสง/สแลน 50%-80%
6.2 Timer
6.3 สเปรย์หมอกรดน้ าต้นไม้

18

วิธีการย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจาก
ขวดเพาะเลี้ยง

วิธีการย้ายกล้าเนื้ อเยื่ อออกจากขวดเพาะเลี้ยง
1. นำขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่มีกล้าเนื้อเยื่อที่มีรากและลำต้นที่
สมบูรณ์แข็งแรง (สามารถสังเกตได้ด้วย ตาเปล่าจากขวดเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อ) โดยกล้าเนื้อเยื่อจะอยู่ในอาหารสูตร R (อาหารสูตร
ออกราก) ไปทำการผึ่งขวดในพื้นที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก โดย
เปิดฝาขวดเล็กน้ อย เพื่อให้กล้าเนื้อเยื่อ สามารถปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพสิ่งแวดล้อมเป็นเวลาประมาณ 1 สัปดาห์
2. หลังผ่านไป 1 สัปดาห์ในน ากล้าเนื้อเยื่อมาล้างทำความสะอาด
วุ้นออกด้วยสะอาดอย่าง ระมัดระวัง เพื่อป้ องกันไม้กล้าเนื้อเยื่อช้
า และรากหักหรือขาด ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโต
3. นำกล้าเนื้อเยื่อจุ่มน้ำยาเร่งรากเป็นเวลา 10 วินาที โดยระวังไม่
ให้น้ำยาโดนใบของกล้าเนื้ อเยื่ อ
4. นำกล้าเนื้อเยื่อปลูกในวัสดุปลูกที่จัดเตรียมไว้ภายในโรงเรือนที่
ใช้อนุบาลกล้า โดยใช้ของแหลมแทง วัสดุปลูกให้เป็นรูขนาดใหญ่
พอสมควร เพื่อให้ง่ายต่อการเพาะปลูก ระวังอย่าให้ต้นกล้าเนื้อ
เยื่อช้ า และรากหักหรือขาดเด็ดขาด
5. ให้น้ำทุกๆ 1 ชั่วโมง นาน 1 นาที (โดยใช้ Timer ตั้งเวลาเพื่อส
เปรย์หมอกรดน้ า) จนกว่ากล้า เนื้อเยื่อที่จะแข็งแรง และปรับตัว
เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีโดยสามารถปรับเวลาให้น้ าได้ตาม
ความ เหมาะสม
6. น ากล้าเนื้อเยื่อที่แข็งแรง ออกจากโรงเรือนอนุบาล ไปปลูกใน
แปลงเพื่อประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ ต่อไป

19

เทคนิคสำหรับการย้ายกล้าเนื้ อเยื่ อออกจากขวดเพาะ
เลี้ยง

1. การสัมผัสกล้าเนื้อเยื่อควรระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง เพื่อป้ องกัน
กล้าเนื้อเยื่อช้ า และรากหักหรือขาด เพราะจะท าให้กล้าไม้หยุด
การเจริญเติบโตและอาจตายได้
2. โรงเรือนที่ใช้อนุบาลกล้าเนื้อเยื่อ จะต้องมีการควบคุม
ความชื้นสัมพัทธ์ให้เหมาะสมกับกล้าเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ
3. โรงเรือนเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จะต้องมีการน าสแลนออกตาม
ระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อเปิดให้กล้า เนื้อเยื่อได้รับแสง ให้กล้า
เนื้อเยื่อแข็งแรง และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้
4. การให้น้ ากล้าเนื้อเยื่อนั้น ต้องให้อย่างเหมาะสม ไม่มากหรือ
น้ อยจนเกินไป เนื่องจากกล้าเนื้อเยื่อยัง ที่ออกมาจากขวดในระยะ
แรกๆ มีความอ่อนแออย่างมาก

บรรณานุกรม

คู่มือการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
HTTP://WWW.FIO.CO.TH/FIO/KM/DO
CKM63/TISSUE.PDF


Click to View FlipBook Version