The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาถิ่นในภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ภาษาถิ่นในภาษาไทย

ภาษาถิ่นในภาษาไทย

Keywords: ภาษาถิ่น

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ อิทธิพลของภาษาถิน่ ในภาษาไทย

ครูสุพิศ กลิ่นบุปผา 1

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

รูจ้ ักภาษาถิ่น แซบอีหลี
ลำแต้ ๆ

เหนือ อีสำน

อร่อยมำก หรอยจังฮู

กลำง ใต้

๑. อิทธิพลของภาษาถิ่นในภาษาไทย

ภาษาถิ่น หมำยถงึ ภำษำที่ใชพ้ ูดสอื่ สำรกันในทอ้ งถิน่ ตำ่ ง ๆ ของประเทศไทย

สาเหตทุ ่คี นไทยในแต่ละท้องถิ่นมีเสยี งพูดทแี่ ตกตา่ งกัน
สภำพทำงภูมศิ ำสตร์แตกต่ำงกนั

ภำษำเปลย่ี นแปลงไปตำมกำลเวลำ

อิทธิพลของภำษำอ่ืน

กำรแลกเปลย่ี นทำงวัฒนธรรม

๑.๑ ความสาคญั ของภาษาถน่ิ

เปน็ สญั ลกั ษณ์ เปน็ ทีม่ ำของภำษำและ
ควำมเขำ้ ใจอนั ดขี องคน วรรณคดไี ทย ทำให้เขำ้ ใจ
ภำษำและวรรณคดีไทย
ในท้องถ่นิ แสดงถงึ
ควำมเปน็ พวกเดยี วกนั ได้ลึกซ้ึง
ทำให้เกิดควำมรัก ควำม

สำมคั คใี นท้องถ่ิน

๑.๒ ภาษาถ่นิ ในประเทศไทย

ภาษาถิ่นในประเทศไทย แบ่งเปน็

ภำษำถิน่ เหนือ

ภำษำถิน่ ภำษำถ่ินอีสำน
กลำง

ภำษำถิน่
ใต้

๑) ภาษาถิ่นเหนือ

ภาษาถนิ่ เหนือ ใชพ้ ดู กนั ในแถบจังหวัด
ทำงภำคเหนือ และบำงบริเวณของจังหวดั ตำก
อตุ รดติ ถ์ และสโุ ขทัย

กำรพูดภำษำถนิ่ เหนือ เรียกวำ่ อู้คาเมอื ง

6

ลักษณะของภาษาถนิ่ เหนือ

๑. มกี ำรกลำยเสยี งพยญั ชนะต้น

๒. ไม่มเี สยี งควบกล้ำ มกั จะตัดเสยี งควบกล้ำออก เหลอื แตพ่ ยัญชนะต้น หรือเปล่ยี น
เปน็ เสยี งอ่ืน

๓. กลำยเสยี งพยัญชนะอน่ื ๆ

๔. กลำยเสยี งพยัญชนะตัวสะกด

๕. มีวรรณยุกต์ ๖ เสยี ง เพม่ิ วรรณยุกต์ตรีเพยี้ น (ประสมระหวำ่ งเสยี งตรีกับเสยี งโท)
๖. คำบำงคำควำมหมำยใกลเ้ คียงกบั คำภำษำถนิ่ อนื่ แต่บำงคำกม็ คี วำมหมำยแตกตำ่ งกัน

๒) ภาษาถ่นิ อสี าน

ภาษาถิน่ อสี าน ใช้พูดในจังหวดั
ทำงภำคอสี ำน

กำรพูดภำษำถิ่นอีสำน เรียกว่ำ เว้าอสี าน

ลักษณะของภาษาถน่ิ อีสาน

๑. มกี ำรกลำยเสยี งพยญั ชนะตน้
๒. มกี ำรกลำยเสยี งสระ
๓. คำทใ่ี ช้ มะ นำหน้ำ ภำษำอสี ำนใชค้ ำว่ำ หมำก
๔. ไมน่ ิยมคำควบกลำ้ เหลอื แตพ่ ยญั ชนะตน้

๕. คำควบกลำ้ ว จะออกเสยี งเฉพำะพยญั ชนะตน้ และกลำยเสยี ง อา เปน็ อัว

๖. มกี ำรกลำยเสยี งพยญั ชนะอน่ื ๆ
๗. มกี ำรกลำยเสยี งตวั สะกด
๘. มกี ำรสบั เสยี งพยญั ชนะ

๙. มีกำรใช้คำที่มคี วำมหมำยคลำ้ ยคลึงกับภำษำกลำงและคำที่มีควำมหมำยแตกต่ำง

๓) ภาษาถ่นิ ใต้

ภาษาถ่นิ ใต้ ใช้พดู ตงั้ แตจ่ ังหวดั ชุมพร
ลงไปถึงจงั หวดั นราธิวาส

การพูดภาษาถิ่นใต้ เรยี กว่า แหลงใต้

10

ลกั ษณะของภาษาถ่นิ ใต้

๑. มีกำรกลำยเสยี งสระ 11
๒. มกี ำรกลำยเสยี งพยญั ชนะตน้
๓. กลำยเสยี งพยัญชนะตวั สะกดบำงคำ
๔. นิยมตดั พยำงคห์ น้ำใหค้ ำส้นั ลง เพือ่ สะดวกในกำรพูด
๕. นิยมใชค้ ำควบกลำ้ ร ล ว แตจ่ ะเปลยี่ นคำควบกล้ำจำก ร เปน็ ล
๖. นิยมใชค้ ำควบกลำ้ ท้งั ท่คี ำบำงคำไม่ไดค้ วบกลำ้
๗. คำควบกล้ำบำงคำกลำยเสยี งเปน็ คำใกลเ้ คยี ง
๘. กลมกลืนเสยี งให้พยำงค์น้อยลง
๙. มีเสยี งวรรณยกุ ต์ ๗ เสยี ง

๔) ภาษาถิ่นกลาง

ภาษาถน่ิ กลาง ใชพ้ ูดกนั ในภำคกลำง
ภำคตะวนั ออก ภำคตะวันตก และภำคเหนือ
ตอนลำ่ งท้งั หมด ไม่รวมภำษำกรุงเทพ ซ่ึง
เปน็ ภำษำรำชกำรหรือภำษำมำตรฐำน

12

ลักษณะของภาษาถน่ิ กลาง

ภำษำถิ่นกลำงมลี กั ษณะเชน่ เดียวกบั ภำษำกรุงเทพ แตกตำ่ งกันที่
สำเนียงกำรออกเสยี งเพย้ี นหรือเสยี งเหน่อตำมแต่ท้องถ่นิ

13

ตวั อย่ำงคำไทยถิ่นต่ำง ๆ

คาไทยกลาง คาไทยเหนือ คาไทยอสี าน คาไทยใต้
พอ่ ปอ้ ผอ่ ผอ่
ปู ่ ปู ่ โป
จมูก ปอ้ อุย๊ มู้ก
ดงั , ฮู้ดงั ดงั , หดู ัง
วนั พรุ่งนี้ วัดพกู มอื่ อื่น ตอนเชำ้ , ตอโพรก
เมอื่ วำน ตำวำ, วนั วำ มอ่ื วำน แตวำ, แลกวำ
แหลง
พูด อู้ เวำ้ โลกหนุน
ขนุน มะหนุน บักหมี่, หมำกม่ี หร้อย
อร่อย
ลำ แซบ

14

เร่ืองน่ารู้ ภาษาถน่ิ

คำภำษำถ่นิ บำงคำ ตำ่ งทอ้ งถนิ่ อำจใช้คำเดยี วกนั ได้ เชน่

อ้วน ภำษำถิน่ อสี ำนและภำษำถิน่ ใต้ ใช้ พี เหมอื นกัน

แต่คำภำษำมำตรฐำนบำงคำ ในภำษำถิ่นแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ใชแ้ ตก
ต่ำงกนั เชน่

ภำษำถิน่ เหนือ ภำษำถ่นิ อีสำน ภำษำถิ่นใต้

พูด อู้ เวำ้ แหลง 15

ภำษำถิ่นตำ่ ง ๆ มอี ทิ ธิพลตอ่ ภำษำไทยมำตรฐำน

๓. ทำใหเ้ ขำ้ ใจวรรณคดีและวรรณกรรมมำก
ข้ึน

๒. ทำให้ภำษำไทยมำตรฐำนมีคำ
และสำนวนใชเ้ พมิ่ ข้นึ

๑. ทำใหก้ ำรออกเสยี งของคำแปร่ง

หรือเพ้ยี นไป 16

เกมเกบ็ คาตามถ่นิ พี่ชำย ลอกอ
แอ่ว เบงิ่
ปอ้ ขนุน
กลาง ใต้
ข้อย แหลง

เหนือ อสี าน

อทิ ธิพลของภาษาถ่นิ

ก ทำใหก้ ำรออกเสยี งของคำแปร่งหรือเพย้ี นไป
เรียน ออกเสยี งเปน็ เฮียน

ข ทำให้ภำษำไทยมำตรฐำนมีคำและสำนวนใชเ้ พ่ิมข้นึ
“พดั วไี ปมำ” คำว่ำ “วี” ในภำษำถ่นิ ใต้ หมำยถงึ พดั

ค ทำใหเ้ ขำ้ ใจวรรณคดแี ละวรรณกรรมมำกข้นึ

“...อ้ำ เห้อ เหอ ไปคอน ไปแลพระนอนและพระน่ัง
พระพิงเสำด้งั หลังคำมุงเบื้อง เขำ้ ไปในห้องไปแลพระทอง
เขำทรงเคร่ือง หลังคำมุงเบื้อง ทรงเครื่องดอกไม้”

ประโยชน์ของภาษาถน่ิ

เกิดควำม
หลำกหลำยทำง

ภำษำ

เกดิ ควำมรัก ควำม ประโยชน์ของภาษา เกิดคำและสำนวน
สำมคั คีข้ึนในสงั คม ถิ่น ใหม่ ๆ ทีใ่ ชร้ ่วมกบั

และท้องถิ่น ภำษำไทย
มำตรฐำนมำกข้นึ
เกดิ วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม 19

ท้องถ่ินเพม่ิ มำกข้นึ

สรุ ปความรู ้

• ภำษำถิ่น เปน็ ภำษำทใ่ี ช้พดู เพ่ือสอ่ื สำรกันในแต่ละท้องถน่ิ ของประเทศไทย
• คนไทยในแต่ละท้องถิน่ มเี สยี งพดู ทีแ่ ตกตำ่ งกัน มำจำกสำเหตุสำคัญ

๔ ประกำร คือ
๑. สภำพทำงภูมศิ ำสตร์แตกตำ่ งกนั
๒. ภำษำเปลยี่ นแปลงไปตำมกำลเวลำ
๓. อิทธิพลของภำษำอน่ื
๔. กำรแลกเปล่ยี นทำงวัฒนธรรม

• ภำษำถิ่นเปน็ สญั ลกั ษณ์ท่ีแสดงควำมเปน็ พวกเดียวกนั ทำใหเ้ กดิ ควำมรัก
ควำมสำมัคคใี นท้องถิน่ และเปน็ ทมี่ ำของภำษำและวรรณคดไี ทย

20

สรุ ปความรู ้

• ภำษำถ่ินในประเทศไทย แบ่งเปน็
ภำษำถิ่นเหนือ ภำษำถน่ิ อสี ำน ภำษำถิน่ ใต้ และภำษำถิ่นกลำง
ซ่ึงมีลกั ษณะของภำษำทแ่ี ตกต่ำงกันออกไปตำมแต่ละท้องถน่ิ

• ภำษำถ่นิ มอี ทิ ธิพลต่อภำษำไทยมำตรฐำน ๓ ประกำร คอื

๑. ทำใหก้ ำรออกเสยี งของคำแปร่งหรือเพยี้ นไป
๒. ทำให้ภำษำไทยมำตรฐำนมีคำและสำนวนใชเ้ พม่ิ ข้ึน
๓. ทำให้เขำ้ ใจวรรณคดแี ละวรรณกรรมมำกข้ึน

21


Click to View FlipBook Version