The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาโครงสร้างของดอกกล้วยไม้ (อนัญญา จิรจริต ม.5 ห้อง 341 เลขที่ 21)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ananyabyme, 2022-11-26 23:21:46

การศึกษาโครงสร้างของดอกกล้วยไม้

การศึกษาโครงสร้างของดอกกล้วยไม้ (อนัญญา จิรจริต ม.5 ห้อง 341 เลขที่ 21)

Keywords: ้

การศึ กษาโครงสร้างของดอกกล้วยไม้

Spathoglottis plicata Blume

ORCHID

จัดทำโดย นางสาวอนั ญญา จิรจริต
ชั้น ม.5 ห้อง 341

แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
เลขที่ 21

ส่งครู ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตำแหน่ งครู ชำนาญการ คศ.2 สาขาชีววิทยา

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียน ประกอบรายวิชา ชีววิทยา (ว30244)
เตรียมอุดมศึ กษา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึ กษา 2565

คำนำ

การจัดทำแมกกาซีนเล่มนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึ กษาโครงสร้างและ
ส่วนประกอบของดอกกล้วยไม้ โดยการทำแมกกาซีนเล่มนี้ หวังว่าจะได้
เรียนรู้ถึงโครงสร้างที่มากมายของดอกกล้วยไม้ เพื่อให้สามารถสังเกตุ
และแยกแยะส่ วนประกอบต่างๆของดอกกล้วยไม้ได้

นางสาวอนั ญญา จิรจริต
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565

สารบัญ

เรื่อง หน้ า




ข้อมูลทั่วไปของกล้วยไม้ ……………………………………………………………………… 1

ข้อมูลเบื้องต้นของโครงสร้างดอกกล้วยไม้ ………………………………….. 2

ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้ ……………………………………………… 3

ภาพประกอบข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้ …………………… 5

ภาพถ่ายโครงสร้างโดยรวมภายนอก ……………………………………………. 7

ภาพถ่ายโครงสร้างโดยรวมภายใน ………………………………………………… 8




บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………………….. 9

คลิปวิดีโอขณะทำการศึ กษา (ภาคผนวก) ……………………………………… 10

ภาพขณะทำการศึ กษา (ภาคผนวก) …………………………………………………. 11

หน้ าที่ 1

ข้อมูลทั่วไปของกล้วยไม้

ชื่อทั่วไป : เอื้องดินใบหมาก
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Spathoglottis plicata
Blume
ลักษณะ :

กล้วยไม้เป็ นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ดอกเกิดที่ปลายช่อ จำนวน 10- 30 ดอก
ต่อช่อ มีกลีบเลี้ยง 3 กลีบ ส่วนกลีบดอก
มี 3 กลีบ โดยกลีบหนึ่ งเปลี่ยนรู ปเป็ น
กลีบปาก
กล้วยไม้นี้ มีระบบรากเกิดจากหัวที่อวบน้ำอยู่ใต้ดิน ตัวรากจะมีน้ำ
มาก สามารถทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี
ลำต้นที่แท้จริงของกล้วยไม้ประเภทนี้ คือ เหง้า (rhizome) ซึ่งเจริญ
ในแนวนอนอยู่ใต้ดิน ลักษณะของเหง้ามีข้อและปล้องถี่

มีลำต้นเทียม หรือที่เรียก
ว่า ลำลูกกล้วย ทำหน้ าที่
สะสมอาหาร ตาที่อยู่ตาม
ข้อบนๆของลำลูกกล้วย
สามารถแตกเป็ นหน่ อ
เป็ นจุดกำเนิ ดใบ หรือช่อ
ดอกได้
ใบจะมีลักษณะยาวเรียว
แหลม และมีเส้นใบที่
เป็ นรอยพับจีบตามยาว
ฐานใบมีกาบใบรอบๆ

ฝั กแต่ละฝั กของกล้วยไม้มีเมล็ดเป็ นจำนวนมาก
เมล็ดมีลักษณะเรียวยาวหรือป่ องกลางคล้ายลูกรักบี้ เมล็ดมีขนาดเล็ก
มาก มีเปลือกบางๆ หุ้มเมล็ดอยู่

ประโยชน์ : ปลูกประดับในอาคาร ปลูกประดับสวน ปลูกเป็ นไม้
กระถาง ดอกมีสีสันสวยงาม

หน้ าที่ 2

ข้อมูลเบื้องต้นของโครงสร้างดอกกล้วยไม้

ดอกกล้วยไม้เป็ นดอกสมบูรณ์เพศ เส้ าเกสร
ดอกสมมาตรด้านข้าง
คือ เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ใน

ดอกเดียวกัน โดยดอกกล้วยไม้เป็ น
ไม้ดอกที่มีลักษณะเด่น แปลกไป
จากไม้ดอกชนิ ดอื่นๆคือ ส่วนของ

เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย รวมอยู่
บนฐานเดียวกัน เรียกโครงสร้างนี้

ว่า เส้าเกสร เป็ นแท่งตรงกลางของ
ดอก

ดอกกล้วยไม้เป็ นดอกเอพจิีนั ส(epigenous flower) โดยมีกลีบเลี้ยง
กลีบดอก และเกสรเพศผู้อยู่บนฐานรองดอก ที่อยู่เหนื อรังไข่ของ

เกษรเพศเมีย โดยรังไข่ของกล้วยไม้จะอยู่ใต้ส่วนล่างของดอก

ดอกกล้วยไม้เป็ นดอกครบส่วน
เนื่ องจากมีทั้งกลีบเลี้ยง กลีบ
ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศ

เมียอยู่บกดอกเดียวกัน

มีลักษณะเป็ นดอกช่อ

หน้ าที่ 3

ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้

ช่อดอกของกล้วยไม้นั้ น จะมีก้านดอกแข็งและตั้งตรง ส่วนก้าน
ดอกย่อยจะสั้น ทำให้ดูเป็ นพุ่มดอกสวยงาม
ฐานรองดอก (receptacle) เป็ นส่วนปลายสุดของก้านดอก แผ่
ออกไปทำหน้ าที่รองรับส่วนต่างๆของดอก จะอยู่ติดกับรังไข่ของ
ดอก

กล้วยไม้จะประกอบไปด้วยกลีบเลี้ยง 3 กลีบ แบ่งเป็ นกลีบเลี้ยง
ด้านบน (dorsal sepal) 1 กลีบ และกลีบเลี้ยงด้านข้าง (lateral
sepal) อีก 2 กลีบ เป็ น petaloid calyx คือจะมีสีสวยงามเพื่อล่อ
แมลง มีหน้ าที่คล้ายกลีบดอก
ส่วนกลีบดอกจะมีทั้งหมด 3 กลีบเช่นเดียวกัน โดยแบ่งเป็ นกลีบ
ดอกด้านข้าง (lateral petal) 2 กลีบ และอีก 1 กลีบเปลี่ยนรู ปร่าง
ไปเป็ นกลีบปาก (lip)

หน้ าที่ 4

ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้

ที่ปลายของเส้าเกสร จะมีเรณูอยู่ซึ่งเป็ นเกสรเพศผู้ เรณูนี้ เป็ นเม็ด
ขนาดเล็กมากมีฝาครอบปิ ดอยู่มิดชิด เรณูของกล้วยไม้มักเกาะกัน
เป็ นก้อนเหนี ยวๆ เรียกว่า ก้อนเรณู
ที่เส้าเกสรถัดจากเกสรตัวผู้ลงมาก็จะเป็ นแอ่งเล็กๆ มีน้ำเหนี ยว
อยู่เต็มแอ่ง ส่วนนี้ คือแอ่งยอดเกสรตัวเมีย(stigma) บริเวณด้าน
บนของฐานรองดอก จะมีรังไข่ของดอกกล้วยไม้อยู่ ภายในรังไข่
จะมีไข่อ่อนเป็ นเม็ดเล็กๆ เกาะติดอยู่มากมาย

ดอกกล้วยไม้มีกลีบดอกและกลับเลี้ยงแบบ apopetalous/
polypetalous โดยมีกลีบดอกและกลีบเลี้ยงแยกกัน

หน้ าที่ 5

ภาพประกอบข้อมูลทางพฤกษศาสตร์
ของกล้วยไม้

ก้านดอก
(peduncle)

ก้านดอกย่อย
(pedicel)

ฐานรองดอก กลีบเลี้ยงด้านข้าง
(receptacle) (lateral sepal)
กลีบเลี้ยงด้านบน
(dorsal sepal)

กลีบเลี้ยงด้านข้าง
(lateral sepal)

หน้ าที่ 6

ภาพประกอบข้อมูลทางพฤกษศาสตร์
ของกล้วยไม้

กลีบดอกด้านข้าง
(lateral petal)

เกสรตัวผู้ (stamen)

ฝาปิ ดเกสรตัวผู้
(operculum)
กลีบปาก (lip)

เกสรตัวเมีย (pistil)
รังไข่ (ovary)

หน้ าที่ 7

ภาพถ่ายโครงสร้างโดยรวมภายนอก

กลีบเลี้ยงด้านบน กลีบดอกด้านข้าง
(dorsal sepal) (lateral petal)

กลีบปาก เกสรตัวผู้
(lip) (stamen)

เกสรตัวเมีย
(pistil)

กลีบเลี้ยงด้านข้าง
(lateral sepal)

หน้ าที่ 8

ภาพถ่ายโครงสร้างโดยรวมภายใน

กลีบปาก (lip) เส้ าเกสร

ยอดเกสรตัวเมีย
(stigma)

ฝาปิ ดเกสรตัวผู้ กลีบเลี้ยงด้านข้าง
(operculum) (lateral sepal)

กลีบเลี้ยงด้านข้าง เกสรตัวผู้ (stamen)
(lateral sepal)
กลีบดอกด้านข้าง
กลีบดอกด้านข้าง (lateral petal)
(lateral petal)

กลีบเลี้ยงด้านบน
(dorsal sepal)

รังไข่ (ovary)

หน้ าที่ 9

บรรณานุกรม

กล้วยไม้ดินใบหมาก(Spathoglottis). (2008). [ออนไลน์ ]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=sbse&group=6

ลักษณะของกล้วยไม้. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์ ]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.orchidtropical.com/orchids-structure.php

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกล้วยไม้. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์ ]. เข้าถึงได้
จาก : https://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359405/morphoor.htm

สำนั กพิมพ์บ้านและสวน. (ม.ป.ป.). เอื้องดิน. [ออนไลน์ ]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.baanlaesuan.com/plants/orchid/135995.html

เอื้องดินใบหมาก. (2021). [ออนไลน์ ]. เข้าถึงได้จาก : https://data.addrun.
org/plant/archives/750-spathoglottis-plicata-blume

๑๐๘ พรรณไม้ไทย. (ม.ป.ป). กล้วยไม้. [ออนไลน์ ]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.panmai.com/Orchid/orchid2.shtml

หน้ าที่ 10

ภาคผนวก

คลิปวิดีโอขณะทำการศึ กษา
URL : https://youtu.be/8XAYE7nW5Pg

หน้ าที่ 11

ภาคผนวก

ภาพขณะทำการศึ กษา

การศึ กษาโครงสร้างของดอก ภาพการผ่าดอกไม้เพื่อดู
กล้อยไม้ โครงสร้างภายใน

การจัดเรียงส่ วนประกอบของ ภาพหลังการทำการศึ กษา
ดอกไม้เพื่อถ่ายรู ป ดอกกล้วยไม้เสร็จ


Click to View FlipBook Version