The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น "เมืองเชียงราย"
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศธจ.เชียงราย, 2024-04-25 04:25:20

หลักสูตรระดับท้องถิ่น "เมืองเชียงราย"

กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น "เมืองเชียงราย"
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย

หลักสูตรระดับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ


ก x หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ส าหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ส านักงาน ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้จัดท าขึ้น มีความประสงค์ให้ผู้เรียน หรือเยาวชนในจังหวัด เชียงราย ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และทราบถึงประวัติความเป็นมา พื้นฐานบรรพบุรุษของชาว เชียงราย เพื่อเยาวชนของจังหวัดเชียงรายเกิดความรัก ความสามัคคี และหวงแหนถิ่นก าเนิด ของตนเอง เกิดการรวมพลังอันจะน าไปสู่การพัฒนา การธ ารงรักษาและสร้างสรรค์วัฒนธรรม ให้เป็นสมบัติสืบทอดสู่ลูกหลานชาวเชียงราย ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย โดยคณะศึกษานิเทศก์ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ของส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ระดมความรู้ ความมุ่งมั่น เพื่อที่จะให้ การด าเนินการในครั้งนี้ประสบความส าเร็จ และให้เอกสารชุดนี้มีความสมบูรณ์ น่าสนใจ น่าอ่าน และน่าศึกษาเรียนรู้มากยิ่งขึ้น จึงได้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดประวัติศาสตร์ของจังหวัด เชียงราย จากต าราและเอกสารที่สามารถอ้างอิง เชื่อถือได้ และน ามาเรียบเรียงเป็นกรอบ หลักสูตรระดับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” และได้จัดท าเอกสารประกอบการเรียนการสอน จ านวน 7 เล่ม/เรื่อง ที่มีภาพประกอบเรื่องราวในเอกสารแต่ละเล่ม ที่สอดคล้องและสามารถ สื่อความหมาย ความส าคัญกับเรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ ของจังหวัดเชียงรายได้ ซึ่งนอกจาก ผู้ศึกษาเอกสารชุดนี้จะได้ศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์และเรื่องราวที่เกี่ยวกับจังหวัดเชียงราย แล้ว ยังได้ฝึกทักษะทางด้านการอ่าน การคิดวิเคราะห์ มีนิสัยรักการอ่าน การแสวงหาความรู้ รักและหวงแหนมรดกที่บรรพบุรุษของชาวเชียงรายได้ทิ้งไว้ให้ลูกหลานได้สืบทอดตลอดไป ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ค ำน ำ


ช เนื้อหา หน้า ค ำน ำ ก สำรบัญ ข ส่วนที่ 1 บทน ำ 1 ส่วนที่ 2 แนวทำงบูรณำกำรหน่วยกำรเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงรำย” 10 ส่วนที่ 3 สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงรำย” 14 ส่วนที่ 4 กำรประเมินคุณภำพผู้เรียน 20 ส่วนที่ 5 กำรน ำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นไปใช้ในสถำนศึกษำ 24 บรรณำนุกรม 26 ภำคผนวก 27 - ประกำศส ำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดเชียงรำย เรื่อง แต่งตั้ง คณะกรรมกำรด ำเนินงำนโครงกำรยกระดับคุณภำพกำรศึกษำและ ประสิทธิภำพกำรศึกษำในกำรพัฒนำหลักสูตรท้องถิ่น - คณะผู้จัดท ำ สารบัญ


~ 1 ~ ส่วนที่ 1 บทน ำ ควำมส ำคัญและควำมเป็นมำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตราที่ 57 ระบุไว้ว่า รัฐต้อง อนุรักษ์ฟื้นฟู และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีอัน ดีงามของท้องถิ่นและของชาติ และจัดให้พื้นที่สาธารณะส าหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งส่งเสริม และสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ใช้สิทธิ์และมีส่วนร่วมในการ ด าเนินการด้วย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได้ก าหนดให้มีการพัฒนาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ปรากฏ ใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ไว้ ได้แก่ มาตรา 7 ระบุว่า กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตส านึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้รักษาสิทธิ หน้าที่เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬ า ภูมิปัญ ญ าท้องถิ่น ภูมิปัญ ญ าไทย และความ รู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุ รักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรา 27 ระบุไว้ตอนหนึ่งว่า ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดท าสาระของหลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหา ในชุมชน และสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จังหวัดเชียงรายได้น ากรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) และได้ ก าหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาด้านการศึกษาไว้ 3 ยุทธศาสตร์ โดยในยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัด การศึกษาเพื่อให้มีทักษะอาชีพที่สนองต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ การท่องเที่ยวและชายแดน โดย สอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิทางสังคมของจังหวัดเชียงรายที่แตกต่างกัน และได้ก าหนด เป็นกลยุทธ์ที่ 1 ในการสร้างหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนในจังหวัดเชียงราย ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จึงได้พัฒนาหลักสูตรในระดับท้องถิ่น เพื่อให้ผู้เรียน หรือเยาวชนในจังหวัดเชียงรายได้ศึกษาเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ของจังหวัดเชียงราย และได้น าองค์ ความรู้ที่ได้ ไปปรับประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิต การหาเลี้ยงชีพในอาชีพที่เหมาะสมกับความต้องการ ของตนเองในอนาคตต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าความส าคัญของประวัติศาสตร์ “เมืองเชียงราย” 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรัก ความผูกพันและภาคภูมิใจในท้องถิ่น “เมืองเชียงราย”


~ 2 ~ กำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรศึกษำจังหวัดเชียงรำย วิสัยทัศน์ “เชียงรายเมืองแห่งคุณภาพการศึกษา พัฒนาสู่สากล บนพื้นฐานวัฒนธรรมล้านนา มวลประชาอยู่เย็นเป็นสุข” พันธกิจ แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2563 – 2565) จังหวัดเชียงราย ได้ก าหนดพันธกิจเพื่อพัฒนา การศึกษาของจังหวัดเชียงรายไว้ ดังนี้ 1. จัดการศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละประเภทสถานศึกษา 2. จัดการศึกษาสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนเต็มศักยภาพของบุคคล 3. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีสมรรถนะด้านภาษา 4. จัดการศึกษาอาชีพมีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศ เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย และกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขง (GMS) 5. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม ประเพณีล้านนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 6. จัดการศึกษาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. ส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็งและยั่งยืน 8. สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณค่า สนับสนุนการท าวิจัยอย่างเป็นระบบ และส่งเสริมการต่อยอด งานวิจัยสู่สังคมและเชิงพาณิชย์ เป้ำประสงค์หลัก 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3. ผู้เรียนที่จบการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภทสถานศึกษา สามารถศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามความต้องการ 4. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ตามความต้องการอย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิตเต็มศักยภาพ ของบุคคล 5. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านภาษาที่มีคุณภาพเป็นไปตามเป้าหมาย เต็มศักยภาพของ บุคคล 6. ผู้เรียนได้รับการพัฒนามีสมรรถนะ ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษเชียงราย และตรงกับความต้องการกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขง (GMS) 7. ผู้เรียนมีทักษะชีวิต คุณภาพชีวิต สอดคล้องกับวัฒนธรรม ประเพณีล้านนา ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 8. ผู้เรียนน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเป็นหลักการในการด ารงชีวิตในสังคม 9. สถาบันครอบครัวมีความเข้มแข็งและยั่งยืน อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข


~ 3 ~ 10. ภาคีเครือข่าย ชุมชนมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา 11. หน่วยงานการศึกษาและสถานศึกษาผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ และน าผลงานวิจัยไป ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในสังคมและน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 12. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่ จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 จุดเน้น ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ก าหนดจุดเน้นในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” เพื่อพัฒนาผู้เรียน หรือเยาวชนในจังหวัดเชียงรายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ และพร้อม ที่จะพัฒนาจังหวัดเชียงรายให้ก้าวหน้าต่อไป มีดังนี้ 1. รู้เรื่องราวสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม และการเมืองการปกครองของจังหวัดเชียงราย 2. รู้เรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และความเป็นมาของเมืองเชียงราย 3. เกิดความรักและผูกพันกับชุมชนและท้องถิ่น 4. ภูมิใจในบ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง 5. พัฒนาอาชีพครอบครัว และสังคมของตนเอง ยุทธศำสตร์กำรศึกษำจังหวัดเชียงรำย ยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดเชียงรายตามแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2563 – 2565) ของ จังหวัดเชียงราย ได้ก าหนดไว้ 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อให้เชียงรายเป็นเมืองแห่งความสุข สะอาด ปลอดภัย น่ายล โดยสอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิทางสังคมของจังหวัดเชียงรายที่แตกต่างกัน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อให้มีทักษะอาชีพที่สนองต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ การ ท่องเที่ยวและชายแดน โดยสอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิทางสังคมของจังหวัดเชียงรายที่ แตกต่างกัน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการศึกษาเพื่อโอกาสและความเสมอภาคที่เท่าเทียมโดย สอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิสังคมของจังหวัดเชียงรายที่แตกต่างกัน


~ 4 ~ ขั้นตอนกำรพัฒนำกำรจัดท ำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น แผนภำพที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนากรอบหลักสูตรท้องถิ่น แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท า กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ศึกษา/วิเคราะห์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศึกษา/วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ข้อมูลสารสนเทศ ของท้องถิ่น/ปัญหาและสิ่งที่ควรพัฒนา/จุดเน้นของท้องถิ่น ก าหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สอบถาม/รับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง/ปรับปรุง เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การน าหลักสูตรท้องถิ่นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา นิเทศ/ก ากับ/ติดตาม/ประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ทบทวนปรับปรุง


~ 5 ~ แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดเชียงราย (พ.ศ.2563-2565) ได้ระบุยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านการศึกษาไว้ 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 :การจัดการศึกษาเพื่อให้เชียงรายเป็นเมือง แห่งความสุข สะอาด ปลอดภัย น่ ายล โดยสอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิสังคมของ จังหวัดเชียงรายที่แตกต่างกัน ยุทธศาสตร์ที่ 2 :การจัดการศึกษาเพื่อให้มีทักษะอาชีพที่สนองต่อเขต เศรษฐกิจพิเศษ การท่องเที่ยวและชายแดน โดยสอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิทางสังคม ของจังหวัดเชียงรายที่แตกต่างกัน และยุทธศาสตร์ที่ 3 :การบริหารจัดการศึกษาเพื่อโอกาสและความ เสมอภาคที่เท่าเทียมโดยสอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิสังคมของจังหวัดเชียงรายที่แตกต่างกัน ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จะได้ด าเนินการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งในการขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์ ด้านการศึกษาของจังหวัดเชียงราย ในยุทธศาสตร์ ที่ 2 ซึ่งได้ด าเนินการตามล าดับขั้นตอนตามแผนภาพข้างต้น ดังนี้ 1. คณะกรรมการจัดท ากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ เกี่ยวกับเมืองเชียงราย ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย คณะศึกษานิเทศก์ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ผู้น าชุมชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 2. ศึกษา/วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการจัดท ากรอบสาระการเรียนรู้ ท้องถิ่นได้ท าการศึกษา/วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งครอบคลุมทั้งมาตรฐานการเรียนรู้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น และสาระการเรียนรู้ชั้นปีของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจะได้ทราบถึงขอบข่ายของการก าหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 3. ศึกษาวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของจังหวัด ข้อมูลสารสนเทศของท้องถิ่น ปัญหาและสิ่งที่ควรพัฒนา จุดเน้นของท้องถิ่น ซึ่งคณะกรรมการได้ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของท้องถิ่น ครอบคลุม ทั้งวิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัด ความส าคัญ ประวัติความเป็นมา สภาพภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ สภาพเศรษฐกิจ สังคม วิถีการด ารงชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน ตลอดจนถึงสภาพ ปัญหาในชุมชนและสังคมของประชาชนในจังหวัดเชียงราย รวมทั้งศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์จุดเน้น หรือ ข้อมูลประเด็นที่สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดเชียงรายให้ความส าคัญ แล้วน าข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดใช้เป็น ฐานข้อมูลในการจัดท ากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 4. ก าหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น เมื่อคณะกรรมการได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ และทราบถึง ขอบข่ายของการก าหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น จากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งข้อมูล สารสนเทศของท้องถิ่นและสถานศึกษาแล้ว จึงร่วมกันก าหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นให้เหมาะสม ซึ่งมี ความยืดหยุ่น สถานศึกษาสามารถน าไปก าหนดรายละเอียดของเนื้อหาองค์ความรู้ ที่เกี่ยวกับท้องถิ่นได้ง่าย และสอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษา 5. สอบถามและรับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกี่ยวข้อง เมื่อก าหนดร่างกรอบสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” แล้ว ได้น ากรอบหลักสูตรท้องถิ่นน าเสนอเพื่อรับฟังความคิดเห็น จากบุคคลที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น เช่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารหน่วยงาน ทางการศึกษาต่าง ๆ ของจังหวัดเชียงราย เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ ก่อนที่จะน าไปปรับปรุงและ ให้สถานศึกษาน าไปจัดท ารายละเอียดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษาต่อไป


~ 6 ~ 6. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น หลังจากได้ปรับปรุงกรอบสาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ให้สมบูรณ์แล้ว ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จะได้ด าเนินการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ให้สถานศึกษา และหน่วยงานทางการศึกษา โดยเฉพาะหน่วยงานทางการศึกษาที่จัดการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกแห่งในจังหวัดเชียงราย ได้รับทราบ และสถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาที่มีความประสงค์จะน าหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน น าไปเป็นกรอบจัดท ารายละเอียดของเนื้อหา การเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษาอย่างเหมาะสมต่อไป 7. การน าหลักสูตรท้องถิ่นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา สถานศึกษาหรือหน่วยงานทางการศึกษาที่มี ความสนใจที่จะน าหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน สามารถน ากรอบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” น าไปจัดกิจกรรมได้หลายแนวทาง เช่น การน าหลักสูตร ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปจัดแทรกไว้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานและตัวชี้วัด ที่เป็นสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่น เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หรือสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ที่สถานศึกษาก าหนด หรือจะน าไปจัด เป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร หรือแนวทางอื่น ๆ ตามความต้องการ และความเหมาะสมของสถานศึกษา 8. การนิเทศ ก ากับ ติดตาม ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทบทวนปรับปรุงหลักสูตร เมื่อสถานศึกษาน าหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่ ผู้เรียนแล้ว ทางส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จะได้จัดบุคลากรที่ท าหน้าที่ติดตามการใช้หลักสูตร ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” เพื่อน ามาวิเคราะห์ ประเมินผล และรายงานผลในล าดับต่อไป แนวทำงกำรด ำเนินงำนของสถำนศึกษำ สถานศึกษาหรือหน่วยงานทางการศึกษาที่มีความประสงค์ที่จะน ากรอบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน โดยเฉพาะผู้เรียนในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สามารถติดต่อ หรือแจ้งมายังส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายเพื่อขอรับ กรอบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปจัดท าหน่วยการเรียนรู้ และจัดท าแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ และน าไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยอาจด าเนินการดังนี้ 1. สถานศึกษาควรด าเนินงานในรูปคณะกรรมการระดับสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้น าทางศาสนา ผู้น าชุมชน และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ประสบการณ์หลากหลาย เพื่อจะ ได้ร่วมกันพิจารณาจัดท าสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา และสภาพของ ชุมชนตามกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นที่ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายได้ก าหนดไว้ 2. วิเคราะห์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นที่ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายได้ ก าหนดไว้ เพื่อที่จะได้ทราบถึงขอบข่ายในการก าหนดรายละเอียดของเนื้อหา องค์ความรู้เกี่ยวกับ ท้องถิ่นของสถานศึกษาซึ่งส านักงานศึกษาธิการจังหวัดได้ก าหนดไว้


~ 7 ~ อนึ่ง คณะกรรมการด าเนินงานของสถานศึกษาในจังหวัดเชียงราย โดยเฉพาะสถานศึกษา ที่น าหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ก็ควรตระหนักถึง กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น และน าไปร่วมพิจารณาในการจัดท ารายละเอียดของเนื้อหาองค์ความรู้ เกี่ยวกับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา/ชุมชน รวมทั้งต้องสอดรับ ต่อกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นดังกล่าวด้วย 3. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เพื่อจะได้ทราบถึงจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาให้ ความส าคัญ และแนวทางการจัดท าสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นนี้ว่า ควรจะอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ชั้นปีใด เป็นรายวิชาพื้นฐาน หรือรายวิชาที่ต้องการเรียนเพิ่มเติม และควรจะมีเนื้อหามากน้อย อย่างไร ตามที่หลักสูตรสถานศึกษาได้ก าหนดไว้ 4. ศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชน เพื่อน ามาเป็นข้อมูลจัดท า สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 5. จัดท าสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ที่เป็นของสถานศึกษา เมื่อ คณะกรรมการได้วิเคราะห์/สังเคราะห์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ที่ส านักงาน ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ก าหนดไว้/ ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา/ชุมชนและวิเคราะห์ หลักสูตรสถานศึกษา และพอทราบแล้วว่าในกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ชั้นปีใดบ้างที่จะต้องจัดท าสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่น และจะจัดท าเป็นรายวิชาพื้นฐาน หรือรายวิชาเพิ่มเติม จากนั้นจึงร่วมกันพิจารณา ก าหนดเนื้อหาองค์ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นอย่างเหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทและจุดเน้นของ สถานศึกษาและสภาพของชุมชน ซึ่งอาจจัดท ารายละเอียดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษา จ าแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และจัดท าเป็นช่วงชั้น หรือชั้นปีก็ได้ 6. จัดท า หรือก าหนดมาตรฐาน ตัวชี้วัดเพิ่มเติม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้น าหลักสูตร ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ลงสู่การปฏิบัติการสอน 7. จัดท าหน่วยการเรียนรู้ของเนื้อหาที่เกี่ยวกับ “เมืองเชียงราย” และจัดท าแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 8. ครูน าเนื้อหาที่เกี่ยวกับ “เมืองเชียงราย” ปฏิบัติการสอนให้กับผู้เรียนในชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 หรือในชั้นอื่น ๆ ที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม 9. จัดท าเกณฑ์ และวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ที่ได้ศึกษาเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ทั้งนี้ สถานศึกษาใดที่ขาดความพร้อม และยังไม่ได้จัดท ารายละเอียดสาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น อาจพิจารณาเลือกใช้รายละเอียดข้อมูลองค์ความรู้ตามกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ที่ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดรวบรวมไว้ หรือพิจารณาเลือกใช้ข้อมูลสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของ สถานศึกษาอื่น ๆ ที่อยู่ในชุมชนเดียวกันจัดการเรียนการสอนก่อนก็ได้ โดยส านักงานศึกษาธิการ จังหวัดเชียงรายได้จัดท ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” และเอกสารประกอบการเรียน การสอนแบบสื่อ Electronics หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ซึ่งมีทั้งหมด ๗ เล่ม/เรื่อง ซึ่งเป็นเนื้อหา สาระที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดเชียงรายทั้งหมด ได้แก่


~ 8 ~ เล่มที่ 1 ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย เล่มที่ 2 ภูมิศาสตร์จังหวัดเชียงราย เล่มที่ 3 การเมืองการปกครองของจังหวัดเชียงราย เล่มที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของจังหวัดเชียงราย เล่มที่ 5 สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย เล่มที่ 6 บุคคลส าคัญในจังหวัดเชียงราย เล่มที่ 7 อาชีพส าคัญของประชาชนในจังหวัดเชียงราย แนวทางการด าเนินงานระดับสถานศึกษา สรุปเป็นแผนภาพได้ ดังนี้


~ 9 ~ แผนภำพที่ 2 แนวทางการด าเนินงานระดับสถานศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท า สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ศึกษา/วิเคราะห์ กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ศึกษา/วิเคราะห์หลักสูตร และจุดเน้นของสถานศึกษา ศึกษา/วิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศของชุมชน/ ปัญหาและสิ่งที่ควรพัฒนา จัดท ารายละเอียดสาระการเรียนรู้ ท้องถิ่นของสถานศึกษา ครู/ผู้สอน น าไปจัดท าค าอธิบายรายวิชา/หน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน/ประเมินผล/ปรับปรุง


~ 10 ~ ส่วนที่ 2 แนวทางบูรณาการหน่วยการเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ซึ่งสถานศึกษาสามารถน าไปจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือสถานศึกษาใดที่มีความประสงค์ จะน าไปจัดการสอนเพิ่มเติมให้กับผู้เรียนในระดับชั้นอื่นก็ได้ ทั้งนี้สถานศึกษาควรพิจารณาความ เหมาะสม ในเรื่องของเนื้อหา และระดับชั้นของผู้เรียนได้ตามบริบทของสถานศึกษา ทั้งนี้ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้จัดท ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น “เมือง เชียงราย” และเอกสารประกอบการเรียนการสอนแบบสื่อ Electronics หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” มีทั้งหมด ๗ เล่ม/เรื่อง มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดเชียงรายทั้งหมดซึ่งได้ก าหนดเวลาเรียนไว้ทั้งหมด จ านวน 20 ชั่วโมง และจ านวน 7 หน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ 1. สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย 7 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติเมืองเชียงราย จ านวน 2 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภูมิศาสตร์จังหวัดเชียงราย จ านวน 2 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเมืองการปกครองของจังหวัดเชียงราย จ านวน 2 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นเชียงราย จ านวน 3 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย จ านวน 3 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 บุคคลส าคัญในจังหวัดเชียงราย จ านวน 3 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 อาชีพส าคัญของประชาชนในจังหวัดเชียงราย จ านวน 3 ชั่วโมง (ทดสอบก่อนเรียน และทดสอบหลังเรียน 2 ชั่วโมง) 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรระดับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” มีดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด าเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มี ค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธ ารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


~ 11 ~ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ม าต รฐาน ส 3 .2 เข้ าใจระบบและสถ าบันท างเศ รษ ฐกิจต่ าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจ าเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความเป็นไทย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการ ค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง กายภาพที่ก่อตั้งให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตส านึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3. เวลาเรียน หลักสูตรระดับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” นี้ ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนรวมจ านวน 20 ชั่วโมง ตารางวิเคราะห์โครงสร้างกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” กับมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส าหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการ เรียนรู้ที่ สาระการเรียนรู้ระดับท้องถิ่น มาตรฐานการเรียนรู้ 4 (3 ชั่วโมง) ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นเชียงราย -วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวเชียงราย - เทศกาลและงานประเพณีของจังหวัด เชียงราย -ศิลปะ ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ของจังหวัดเชียงราย -ชาวเชียงรายสืบสานภูมิปัญญาล้านนา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ ด าเนินชีวิตในสังคม มฐ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตามหน้าที่ของการ เป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษา ประเพณี และวัฒน ธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข


~ 12 ~ หน่วยการ เรียนรู้ที่ สาระการเรียนรู้ระดับท้องถิ่น มาตรฐานการเรียนรู้ 3 (2 ชั่วโมง) การเมืองการปกครองของจังหวัดเชียงราย -สัญลักษณ์ประจ าจังหวัดเชียงราย - หน่วยการปกครองของจังหวัดเชียงราย สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ ด าเนินชีวิตในสังคม มฐ ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครอง ในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธ ารงรักษา ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 7 (3 ชั่วโมง) อาชีพส าคัญของประชาชนในจังหวัดเชียงราย -การเกษตรกรรม -การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า -การเลี้ยงสัตว์ -การค้าชายแดน -การท่องเที่ยว -การอุตสาหกรรมและการลงทุน -สินค้า OTOP สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มฐ ส 3 .2 เข้าใจระบบและสถาบันท าง เศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจ าเป็นของการร่วมมือกันท าง เศรษฐกิจในสังคมโลก 1 (2 ชั่วโมง) ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย - ประวัติพญามังราย - ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย - ประวัติเมืองส าคัญของเชียงราย สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญ ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ 6 (3 ชั่วโมง) บุคคลส าคัญในจังหวัดเชียงราย - พญามังรายผู้สร้างเมืองเชียงราย - พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) - ถวัลย์ ดัชนี - เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ - พ่ออินทร์ สุใจ - ฉลอง พินิจสุวรรณ - ค าจันทร์ ยาโน - แม่บัวเรียว รัตนมณีภรณ์ - พ่อแปลก เดชะบุญ สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติ ไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญ าไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความเป็นไทย


~ 13 ~ หน่วยการ เรียนรู้ที่ สาระการเรียนรู้ระดับท้องถิ่น มาตรฐานการเรียนรู้ 2 (2 ชั่วโมง) ภูมิศาสตร์จังหวัดเชียงราย -สภาพภูมิศาสตร์จังหวัดเชียงราย - ทรัพยากรธรรมชาติ -การคมนาคมของจังหวัดเชียงราย -จุดผ่านแดนจังหวัดเชียงราย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทาง กายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมี ผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการ ค้นห า วิเค ราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิ สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 5 (3 ชั่วโมง) สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัด เชียงราย -สถานที่ส าคัญ และแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอ ต่าง ๆ ของจังหวัดเชียงราย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อตั้ง ให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตส านึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน


~ 14 ~ ส่วนที่ 3 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” กรอบสาระการเรียนรู้ระดับท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” แบ่งสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับเมือง เชียงรายออกเป็น 7 เล่ม/เรื่อง และมีสาระย่อย ดังนี้ เล่ม/เรื่องที่ 1 ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย ประกอบด้วยสาระย่อย ได้แก่ 1. ประวัติพญามังราย 2. ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย - สมัยชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ - สมัยสร้างบ้านแปงเมืองของราชวงศ์มังราย - สมัยเป็นเมืองบริวารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ 3. ประวัติเมืองส าคัญของเชียงราย - ต านานเมืองสุวัณณโคมค า - ประวัติเมืองเชียงแสน - ประวัติเมืองพะเยา - ดินแดน 5 เชียง เล่ม/เรื่องที่ 2 ภูมิศาสตร์จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยสาระย่อย ได้แก่ 1. ที่ตั้งจังหวัดเชียงราย 2. อาณาเขต 3. ขนาดของพื้นที่ 4. ลักษณะภูมิประเทศ 5. ภูเขา 6. แม่น้ า 7. สภาพภูมิอากาศ 8. ทรัพยากรธรรมชาติ - ดิน - แร่ธาตุ - แหล่งน้ า - ป่าไม้ 9. การคมนาคมของจังหวัดเชียงราย 10. จุดผ่านแดนจังหวัดเชียงราย


~ 15 ~ เล่ม/เรื่องที่ 3 การเมืองการปกครองของจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยสาระย่อย ได้แก่ 1. สัญลักษณ์ประจ าจังหวัดเชียงราย - ตราประจ าจังหวัดเชียงราย - ธงประจ าจังหวัดเชียงราย - ต้นไม้ประจ าจังหวัดเชียงราย - ดอกไม้ประจ าจังหวัดเชียงราย - ค าขวัญจังหวัดเชียงราย ๒. หน่วยการปกครองของจังหวัดเชียงราย - รูปแบบการปกครองของจังหวัดเชียงราย - การปกครองส่วนภูมิภาคจังหวัดเชียงราย - การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย - รายชื่อเจ้าเมืองและผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย - การเมืองของจังหวัดเชียงราย - การเลือกตั้งของจังหวัดเชียงราย - ประชากรจังหวัดเชียงราย เล่ม/เรื่องที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นเชียงราย ประกอบด้วยสาระย่อย ได้แก่ 1. วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวเชียงราย - ด้านภาษา - ด้านการแต่งกาย - ด้านความคิดและความเชื่อ - ด้านศิลปะและดนตรี - ด้านอาหารการกิน ๒. เทศกาลและงานประเพณีของจังหวัดเชียงราย - ประเพณีเดินขึ้นพระธาตุดอยตุง - ประเพณีไหว้สาพญามังราย - ประเพณีตานสลากภัต - ประเพณียี่เป็ง - ประเพณีการแข่งเรือเชียงแสน ๓. ศิลปะประติมากรรม และสถาปัตยกรรมของจังหวัดเชียงราย - พระแก้วมรกต - วัดพระแก้ว - วัดพระสิงห์ (สิลปะแบบล้านนา) - พระธาตุเจดีย์หลวง - วัดพระเจ้าล้านทอง - พระต าหนักดอยตุง


~ 16 ~ 4. ชาวเชียงรายสืบสานภูมิปัญญาล้านนา - ภูมิปัญญาการอยู่กรรมของชาวเขาเผ่าอาข่า - ภูมิปัญญาการเรียกขวัญ (ฮ้องขวัญ) - ภูมิปัญญาโคมลอย ลอยล่องส่งเคราะห์ - ภูมิปัญญาปู่จาต้าวตั้งสี่ ประเพณีการนับถือเทพยดา - ของเล่นพื้นบ้าน ภูมิปัญญาสืบสานของลูกหลานชาวล้านนา - “ค าสอนของชาวล้านนา” ภูมิปัญญาล้ าลึกด้านภาษา เล่ม/เรื่องที่ 5 สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยสาระย่อย ได้แก่ 1. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเมืองเชียงราย - อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช - วัดพระธาตุดอยจอมทอง - วัดง าเมืองและกู่พระเจ้าเม็งราย - วัดพระสิงห์ - วัดร่องขุ่น - พิพิธภัณฑ์อูบค า - ไร่แม่ฟ้าหลวง - น้ าตกขุนกรณ์ - บ่อน้ าร้อนห้วยหมากเลี่ยมและบ่อน้ าร้อนผาเสริฐ - น้ าพุร้อนโป่งพระบาท - ถ้ าผาตอง ๒. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอแม่จัน - วัดพระธาตุจอมจันทร์ - วัดพระธาตุดอยกู่แก้ว - น้ าพุร้อนป่าตึงหรือน้ าพุร้อนห้วยหินฝน - วัดหมื่นพุทธ - วัดถ้ าป่าอาชาทอง - พระขี่ม้าบิณฑบาต บริเวณวัดถ้ าป่าอาชาทอง 3. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอแม่ฟ้าหลวง - ดอยตุง – พระธาตุดอยตุง – พระต าหนักดอยตุง - สวนแม่ฟ้าหลวง - พระบรมธาตุเจดีย์ศรีนครินทราสถิตมหาสันติคีรี - ดอยหัวแม่ค า - สถูปดอยช้างมูบ และสวนรุกขชาติช้างมูบ - ดอยแม่สลอง


~ 17 ~ 4. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอแม่สาย - วัดพระธาตุดอยเวา - ด่านพรมแดนแม่สาย – ท่าขี้เหล็ก - ถ้ าปุ่ม ถ้ าปลา ถ้ าเสาหินพญานาค 5. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเชียงแสน - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงแสน - วัดพระธาตุเจดีย์หลวง - วัดพระเจ้าล้านทอง - วัดป่าสัก - วัดพระธาตุผาเงา - วัดพระธาตุจอมกิตติ - วัดพระธาตุจอมแจ้ง - ทะเลสาบเชียงแสน - สบรวก หรือดินแดนสามเหลี่ยมทองค า ๖. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเชียงของ - ท่าเรือบั๊ค - บ้านหาดบ้าย - หาดจับปลาบึก บ้านหาดไคร้ ๗. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเวียงแก่น - ดอยผาตั้ง - หาดผาได ๘. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเทิง - พระธาตุจอมจ้อ - ภูชี้ฟ้า ๙. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเวียงชัย - โบราณสถานพระเจ้ากือนา - หนองหลวง ๑๐. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเวียงเชียงรุ้ง - เมืองโบราณเวียงเชียงรุ้ง - วนอุทยานดอยพระบาท 11. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอแม่ลาว - พระธาตุหมอกมุงเมือง - พระธาตุจอมหมอกแก้ว - สถานีวิจัยเพาะสัตว์เลี้ยงสัตว์ป่าดอยตุง


~ 18 ~ ๑๒. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอพาน - พระธาตุจอมแว่ - อุทยานแห่งชาติดอยหลวง 13. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอแม่สรวย - วัดพระเจ้าทองทิพย์ - ดอยวาวี 14. สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวในอ าเภอเวียงป่าเป้า - เมืองโบราณเวียงกาหลง - บ่อน้ าร้อยธรรมชาติ - อุทยานแห่งชาติขุนแจ เล่ม/เรื่องที่ ๖ บุคคลส าคัญในจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยสาระย่อย ได้แก่ 1. พญามังรายผู้สร้างเมืองเชียงราย 2. พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) ๓. ถวัลย์ ดัชนี ๔. เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ๕. พ่ออินทร์ สุใจ ๖. ฉลอง พินิจสุวรรณ ๗. ค าจันทร์ ยาโน ๘. แม่บัวเรียว รัตนมณีภรณ์ ๙. พ่อแปลก เดชะบุญ เล่ม/เรื่องที่ ๗ อาชีพส าคัญของประชาชนในหวัดเชียงราย ประกอบด้วยสาระย่อย ได้แก่ 1. การเกษตรกรรม - ข้าว - ข้าวโพด - ส้มโอ - ลิ้นจี่ - สับปะรด - ชา - กาแฟ ๒. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ๓. การเลี้ยงสัตว์ ๔. การค้าชายแดน ๕. การท่องเที่ยว ๖. การอุตสาหกรรมและการลงทุน ๗. สินค้า OTO


~ 19 ~ แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาสาระการเรียนรู้ “เมืองเชียงราย” การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. คู่มือท่องเที่ยว 8 จังหวัดล้านนา. กรุงเทพมหานคร : กองทุน ผลิตอุปกรณ์โฆษณา, 2547. จรรยา อิทธิเสริมกุล. เชียงราย. กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์แพนสยาม, 2550. จังหวัดเชียงราย. ประวัติศาสตร์จังหวัดเชียงราย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http:22intranet. m-culture.go.th/Chiangrai/. 2550. เชียงรายขันเงินกรุ๊ป. อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งราย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http:22www.kntransport.com/travel/. 2551. ประหยัด สายวิเชียร. อาหาร วัฒนธรรม และสุขภาพ. เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์, 2547. พงษ์นรินทร์ ใสผ่อง และเจริญผล สุวรรณโชติ. ท่องไทยในภาคเหนือ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรไทย, 2548. พระครูอรุณสวัสดิ์ มุนิวังโส. พระธาตุจอมหมอกแก้ว. เชียงราย : กิตติภัณฑ์, 2548. พ่อหนานทอง เตชะธีระชาตรี. ต าราพิธีกรรมล้านา. เชียงราย : ร้านสาคร, ม.ป.ป. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย. ท าเนียบผู้มีผลงานทางวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย พ.ศ.2540. เชียงราย : สยามโฆษณาและการพิมพ์, 2540. ส านักงานจังหวัดเชียงราย. ประวัติศาสตร์ ศิลปะและวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย. กรุงเทพมหานคร : ประสานมิตร, 2548. ส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย. พิพิธภัณฑ์ล้านนา. เชียงราย : ส านักพิมพ์ล้อล้านนา, 2553. หนังสือ 750 ปีเมืองเชียงราย เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคเหนือ. เชียงราย : ส านักพิมพ์ล้อล้านนา, 2553. อนุสรณ์การสมโภชน์เมืองเชียงราย 725 ปี. เชียงใหม่ : เชียงใหม่สหนวกิจ, 2529. อุดม เชยกีวงศ์. พระเจ้ามังรายมหาราช (พญามังรายมหาราช). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ ภูมิปัญญา, 2550.


~ 20 ~ ส่วนที่ 4 การประเมินคุณภาพผู้เรียน การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่น ตามกรอบหลักสูตรสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียน และรายงานผลการศึกษาของผู้เรียน ที่เรียนสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ตามกรอบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ที่ได้ก าหนดไว้ใน เล่มหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ตามเป้าหมายและจุดเน้นของหลักสูตร ซึ่งการวัดและ ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลายตามบริบทของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู และการ เรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งได้ก าหนดแนวทางการวัดและประเมินผล ดังนี้ แนวทางการวัดและประเมินผล 1. การประเมินผลก่อนเรียน เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หรือครูผู้สอนในสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ขึ้นอยู่กับบริบทการจัดกิจกรรมเสริม หลักสูตรของแต่ละสถานศึกษา โดยมีจุดมุ่งเหมายเพื่อตรวจสอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเมืองเชียงราย ของผู้เรียน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานของครูผู้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน 2. การประเมินระหว่างเรียน เป็นการประเมินผลย่อยในระหว่างเรียน เพื่อตรวจสอบ ความก้าวหน้า หรือพัฒนาการของผู้เรียนด้านความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (A) จากการเรียนรู้และการร่วมกิจกรรมของผู้เรียน การวัดและประเมิน ระหว่างเรียน จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน คือ การวัดและประเมินระหว่างเรียนจะท าให้ได้ข้อมูลที่บ่ง บอกถึงพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพการจัดการเรียนการ สอนของครูด้วย ข้อมูลจากการวัดและประเมินผลระหว่างเรียน สามารถน าข้อมูลดังกล่าวไปพัฒนา ผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานและตัวชี้วัด และเป็นข้อมูลที่ใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนให้ เหมาะสมกับผู้เรียนต่อไป ส าหรับแนวด าเนินการวัดและประเมินผลระหว่างเรียน ครูผู้สอนสามารถ วัดและประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การซักถามระหว่างท ากิจกรรม การสนทนาพบปะ พูดคุยกับผู้เรียนระหว่างเรียน การสอบปากเปล่าเพื่อประเมินความรู้ การบันทึกเหตุการณ์ของผู้เรียน การตรวจแบบฝึกหัด และการบ้านของผู้เรียน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการวัดและประเมินผลจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) ซึ่ง เป็นวิธีการประเมินที่ผู้สอนได้มอบหมายงาน หรือกิจกรรมให้ผู้เรียนท าการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) จะเป็นการประเมินที่อ้างอิงจากสถานการณ์ที่เป็นจริง การประเมินด้วย แฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment) เป็นวิธีการประเมินที่ช่วยส่งเสริมให้การประเมินตามสภาพ จริงมีความเป็นไปได้มากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวมผลงานจากการปฏิบัติจริงให้มีความ เป็นไปได้มากยิ่งขึ้น 3. การประเมินผลหลังเรียน เป็นการประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อมุ่ง ตรวจสอบความส าเร็จของผู้เรียน ข้อมูลจากการวัดและประเมินผลหลังเรียน มีจุดประสงค์หลัก คือ ใช้ในการตัดสินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และในขณะเดียวกันก็ยังสะท้อนถึงคุณภาพการ จัดการเรียนการสอนของครูอีกด้วย


~ 21 ~ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการวัดและประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน ครูผู้สอน สามารถใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมินได้อย่างหลากหลาย ให้สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระ กิจกรรมและช่วงเวลาในการประเมิน เพื่อให้การประเมินผลการเรียนดังกล่าวเป็น ประโยชน์ต่อผู้เรียน ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู และการสนับสนุนการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาต่อไป รูปแบบของการประเมินคุณภาพ การประเมินคุณภาพผู้เรียน สามารถประเมินได้ 2 ระดับ ดังนี้ 1. การประเมินระดับสถานศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ประเด็น คือ 1.1 การประเมินในชั้นเรียน การประเมินคุณภาพนักเรียนตามสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” และตามจุดเน้นคุณภาพผู้เรียน โดยใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมินอย่าง หลากหลาย ควบคู่ไปกับการเรียนการสอน 1.2 การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินคุณภาพผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” และตามจุดเน้นคุณภาพผู้เรียน สถานศึกษาจะพิจารณาถึงการประเมินใน ภาพรวม เพื่อเป็นการตัดสินผลการพัฒนาผู้เรียนเมื่อผู้เรียน จบหลักสูตรสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลเป็นแบบทดสอบตามที่ สถานศึกษาก าหนด 2. การประเมินระดับพื้นที่ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนโดยส านักงานศึกษาธิการ จังหวัดเชียงรายเป็นผู้ประเมิน โดยใช้เครื่องมือแบบทดสอบที่ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายได้ สร้างขึ้น เพื่อน าผลการประเมินผู้เรียนที่ได้ศึกษาเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ไปวิเคราะห์ และหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน หรือเยาวชนในจังหวัดเชียงรายให้เป็นเยาวชนที่มี คุณภาพและรักบ้านเกิดต่อไป ทั้งนี้ การประเมินระดับท้องถิ่น จะเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามเป้าหมาย และ จุดเน้นของท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย ตามที่ก าหนดไว้ในกรอบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” เพื่อใช้ เป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของจังหวัดเชียงราย สามารถด าเนินการโดยการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยแบบทดสอบมาตรฐาน หรือเครื่องมือที่จัดท าและด าเนินการโดย ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ดังนี้ 1. การก าหนดแผนงาน การวางแผนการด าเนินงาน การก าหนดสิ่งที่ต้องการประเมิน รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายที่จะประเมิน ซึ่งได้แก่ ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ที่ส านักงานศึกษาจังหวัดเชียงรายได้พัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ และ ช่วงระยะเวลาในการประเมินอย่างชัดเจน โดยก าหนดไว้ในกรอบระยะเวลาในหลักสูตรท้องถิ่น “เมือง เชียงราย” 2. พัฒนาเครื่องมือแบบทดสอบที่ได้มาตรฐาน ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ และผู้รู้ เกี่ยวกับเมืองเชียงราย ผ่านการหาคุณภาพของเครื่องมือตามขั้นตอนและกระบวนการ เพื่อให้ได้ แบบทดสอบที่มีคุณภาพ เที่ยงตรงและเชื่อถือได้


~ 22 ~ 3. ใช้ผลการประเมินในการพัฒนา ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับ “เมือง เชียงราย” จะน าไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ส าคัญส าหรับการก าหนดนโยบาย วางแผนงาน และก าหนด ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการศึกษาของจังหวัดเชียงราย ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับจังหวัด ข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาการศึกษาของจังหวัดเชียงราย การวัดและประเมินผลผู้เรียนตามกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ตามที่ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายได้พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” เพื่อให้ผู้เรียน/เยาวชน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือระดับชั้นเรียนอื่น ๆ ที่มีความสนใจอยาก ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเรื่องราวที่เกี่ยวกับจังหวัดเชียงราย และได้ก าหนดกรอบการวัดและประเมินผล ผู้เรียนตามกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ตามเป้าหมาย/จุดเน้น ที่ก าหนดไว้ใน หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ดังนี้ เป้าหมาย/จุดเน้น หัวข้อเรื่อง/เนื้อหาสาระ การวัดและประเมินผล ระดับสถานศึกษา การวัดและ ประเมินระดับพื้นที่ 1. รู้เรื่องราวสภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมื องการ ปกครองของจังหวัด เชียงราย - ภูมิศาสตร์จังหวัดเชียงราย ได้แก่ ภูมิศาสตร์ กายภาพ ภู มิศาสตร์ชี วภาพ ภู มิศาสตร์ เศรษฐกิจ ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์ของคน เชียงราย -การเมืองการปกครอง ของจังหวัดเชียงราย ได้แก่ ข้อมูลสารสนเทศ รูปแบบการปกครอง การบริหารราชการ 1. วัดและประเมินในชั้น เรียน ตามบริบทของการ เรียนการสอนของครู 2. วัดและประเมินในระดับ สถานศึกษาเมื่อผู้เรียน เรียนจบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ประเมิ นในระดั บ พื้นที่ โดยส านักงาน ศึกษาธิการจังหวัด เป็ นผู้ ด าเนิ นการ ป ร ะ เมิ น ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ / แบบทดสอบที่ได้ ม า ต ร ฐ าน แ ล ะ เชื่อถือได้ 2. รู้เรื่องราวเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์และ ความเป็ นมาของ เมืองเชียงราย - ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย ได้แก่ ประวัติ เชียงรายสมัยชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติ สมัยสร้างบ้ านแปงเมืองของราชวงศ์มังราย ประวัติศาสตร์สมัยเป็นเมืองบริวารต้นกรุง รัตนโกสินทร์ ประวัติศาสตร์สมัยการปกครองแบบ มณฑลเทศาภิบาล และประวัติศาสตร์เมืองส าคัญ ของเชียงราย 3. เกิดความรักและ ผูกพันกับชุมชนและ ท้องถิ่น -ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของจังหวัดเชียงราย ได้แก่ ศิลปะและสถาปัตยกรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิ ปัญญาท้องถิ่น - บุคคลส าคัญในจังหวัดเชียงราย ได้แก่ บุคคล ส าคั ญ ด้ านศาสน า บุ คคลส าคั ญ ด้ าน ศิลปวัฒนธรรม บุคคลส าคัญด้านการเมืองการ ปกครอง และบุคคลส าคัญด้านปราชญ์ชาวบ้าน และภูมิปัญญาล้านนา


~ 23 ~ เป้าหมาย/จุดเน้น หัวข้อเรื่อง/เนื้อหาสาระ การวัดและประเมินผล ระดับสถานศึกษา การวัดและ ประเมินระดับพื้นที่ 4. ภูมิใจในบ้านเกิด เมืองนอนของตนเอง -สถานที่ส าคัญและแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด เชียงราย ได้แก่ พื้นที่ทรงงานและโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด าริ แหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ และแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ 5 . พั ฒ น าอ าชี พ ครอบครัว และสังคม ของตนเอง -อาชีพที่ส าคัญของประชาชนในจังหวัดเชียงราย ได้แก่ อาชีพด้านเกษตรกรรม อาชีพด้านพานิช กรรม อาชีพด้านอุตสาหกรรม และอาชีพอิสระ อื่น ๆ


~ 24 ~ ส่วนที่ 5 การน ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นไปใช้ในสถานศึกษา ส ำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดเชียงรำย ได้จัดท ำกรอบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงรำย” เพื่อให้สถำนศึกษำน ำไปใช้ในกำรจัดกิจกรรม หรือจัดกำรเรียนกำรสอนให้กับผู้เรียน ซึ่งกำรน ำสำระ กำรเรียนรู้ท้องถิ่นไปจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ให้ผู้เรียนนั้น สถำนศึกษำหรือครูผู้สอนสำมำรถ น ำรำยละเอียดสำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่นไปวำงแผนจัดประสบกำรณ์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่น ของตนเองในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ต่ำง ๆ ให้บรรลุมำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ก ำหนดไว้ ตำมโครงสร้ำงของ หลักสูตรที่สถำนศึกษำก ำหนด โดยครูผู้สอนสำมำรถด ำเนินกำรได้หลำยลักษณะ เช่น *** จัดท ำเป็นรำยวิชำเพิ่มเติม ซึ่งครูผู้สอนอำจจัดท ำรำยวิชำที่เป็นสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน หรือรำยวิชำที่เป็นสำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติมของสถำนศึกษำนั้น ๆ ก็ได้ ในกำรจัดท ำครูผู้สอนอำจ ปรับปรุงพัฒนำรำยวิชำที่มีอยู่เดิม หรือจัดเป็นรำยวิชำใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภำพบรรลุตำม มำตรฐำนกำรเรียนรู้ของกลุ่มสำระกำรเรียนรู้และระดับชั้นนั้น ๆ *** ปรับกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรือจัดกิจกรรมเสริม หรือบูรณำกำรในรำยวิชำต่ำง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบกำรณ์กำรเรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นของตนเองตำมมำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ก ำหนด ไว้ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้และระดับชั้นนั้น ๆ ทั้งนี้ในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ครูผู้สอนอำจเชิญ วิทยำกร/ภูมิปัญญำท้องถิ่น หรือพำนักเรียนออกไปเรียนรู้สภำพจริงในท้องถิ่น ก็จะท ำให้กำรเรียนรู้ นั้นมีควำมหมำยต่อผู้เรียนมำกยิ่งขึ้น อนึ่ง กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นนี้ ครูผู้สอนอำจพัฒนำสื่อ สิ่งพิมพ์หรือ จัดท ำสื่อประกอบกำรเรียนรู้อื่น ๆ ให้ผู้เรียนศึกษำค้นคว้ำหรือเรียนรู้ด้วยตนเองด้วยก็ได้ และเมื่อ ด ำเนินกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เสร็จแล้ว ครูผู้สอนควรประเมินคุณภำพผู้เรียนตำมมำตรฐำนกำร เรียนรู้ และประเมินสำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่นของสถำนศึกษำ รวมทั้งควรปรับปรุง และพัฒนำแผนกำร จัดกำรเรียนรู้ให้มีควำมเหมำะสมและเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ตัวชี้วัดความส าเร็จของการจัดท าสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ระดับส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย : ส ำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดเชียงรำย มีเอกสำรกรอบสำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น “เมือง เชียงรำย” ที่เหมำะสม สอดรับกับนโยบำย ยุทธศำสตร์ เป้ำประสงค์ วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของจังหวัด เชียงรำย ครอบคลุมถึงสำรสนเทศส ำคัญของท้องถิ่นจังหวัดเชียงรำย /จุดเน้นของสถำนศึกษำเป็นไป ตำมควำมต้องกำรของชุมชน และมีควำมยืดหยุ่นที่สถำนศึกษำสำมำรถน ำไปจัดท ำสำระกำรเรียนรู้ ท้องถิ่นได้ ระดับสถานศึกษา : สถำนศึกษำมีเอกสำรสำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่นของสถำนศึกษำที่สอดรับกับกรอบสำระกำร เรียนรู้ท้องถิ่นของเขตพื้นที่และจุดเน้นของสถำนศึกษำและชุมชนซึ่งครูผู้สอนสำมำรถน ำไปวำงแผนจัด ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้


~ 25 ~ ครูผู้สอน : ครูผู้สอนมีแผนกำรสอน/มีสื่อประกอบกำรสอน และมีกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน ตำมสำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่นที่ปรำกฏในแผนกำรสอนอย่ำงมีประสิทธิผล ผู้เรียน : มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจและมีทักษะกำรปฏิบัติในประเด็นส ำคัญเกี่ยวกับสำระกำรเรียนรู้ ท้องถิ่นตำมมำตรฐำนกำรเรียนรู้ของกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ต่ำง ๆ ที่หลักสูตรสถำนศึกษำก ำหนดไว้


~ 26 ~ เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. คู่มือท่องเที่ยว 8 จังหวัดล้านนา. กรุงเทพมหานคร : กองทุน ผลิตอุปกรณ์โฆษณา, 2547. ศูนย์การศึกษาและพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม เชียงราย. เชียงใหม่ : เชียงใหม่ ดอคคิวเมนทารี ดีไซน์, 2554. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นจังหวัด เชียงราย. เชียงราย : กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา, 2560. ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางในการจัดท ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2553. ส านักงานจังหวัดเชียงราย. ประวัติศาสตร์ ศิลปะและวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย. กรุงเทพมหานคร : ประสานมิตร, 2548. ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดล าพูน. หลักสูตรท้องถิ่นครูบาเจ้าศรีวิชัย (นักบุญแห่งล้านนาไทย). ล าพูน : ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดล าพูน, 2561.


ภาคผนวก


ประกาศส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษา ผ่านกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายในการจัดท าหลักสูตรท้องถิ่น ...................................................................……………………………………………… ตามที่จังหวัดเชียงรายได้จัดท าแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕) เพื่อให้หน่วยงาน ทางการศึกษาในจังหวัดเชียงรายใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและสถานศึกษา ซึ่งในยุทธศาสตร์ ที่ 3 การบริหารจัดการศึกษาเพื่อโอกาสและความเสมอภาคที่เท่าเทียมโดยสอดคล้องกับศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิสังคมของจังหวัดเชียงรายที่แตกต่างกัน โดยมีเป้าประสงค์เพื่อให้ประชากรทุกช่วงวัยได้รับโอกาสส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพรายบุคคล ประกอบกับส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายเป็นหน่วยงาน ทางการศึกษาซึ่งมีหน้าที่บูรณาการการจัดการศึกษา ได้จัดท าโครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษา และประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย มีแนวคิดในการ จัดท าหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับจังหวัดเชียงราย เพื่อให้สถานศึกษาพิจารณาในการ น าไปใช้เป็นหลักสูตรเพิ่มเติม หรือน าไปจัดการเรียนการสอนตามบริบทของสถานศึกษา เพื่อสร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาร่วมกันสร้างหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้านกระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัด การเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายจึงแต่งตั้ง คณะกรรมการด าเนินงาน ดังนี้ 1. ผู้ทรงคุณวุฒิ 1) นายวิญญู สันติภาพวิวัฒนา ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย 2) นายพิสันต์ จันทร์ศิลป์ วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ๓) นางเกลียวพรรณ์ ข าโนนงิ้ว ผู้อ านวยการส านักพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย มีหน้าที่ ให้ค าแนะน า ค าปรึกษา เสนอแนะ ส่งเสริมในการจัดท าหลักสูตรท้องถิ่น“เมืองเชียงราย” ให้เป็นไป ด้วยความเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์ ให้สามารถด าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. คณะกรรมการอ านวยการ.../


2. คณะกรรมการอ านวยการ 1) นายวิญญู สันติภาพวิวัฒนา ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ประธานกรรมการ 2) นายอภิวัฒน์ กันศรีเวียง รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย รองประธานกรรมการ 3) นางภัทพิชชา ไชยรินทร์ ผู้อ านวยการกลุ่มบริหารบุคคล กรรมการ 4) นางจินดา ก าลังประสิทธิ์ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน กรรมการ 5) นางสาวจันทร์แสง พรมสี ผู้อ านวยการหน่วยตรวจสอบภายใน กรรมการ 6) นายกริช มากกุญชร ผู้อ านวยการการกลุ่มพัฒนาการศึกษา กรรมการ 7) นางสุรินทร์ รุดเครือ ผู้อ านวยการกลุ่มลูกเสือ-ยุวกาชาด กรรมการ 8) พันจ่าตรีฉลอง อ่อนนวน ผู้อ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน กรรมการ 9) นางเกษณี ศรีไพร ผู้อ านวยการกลุ่มอ านวยการ กรรมการ 10) นายวีรัตน์สานุมิตร ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ให้ค าแนะน าปรึกษา เสนอแนะ ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่จะพึงมีในการด าเนินงาน ให้เป็นไป ด้วยความเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์ ให้สามารถด าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 1) นายอภิวัฒน์ กันศรีเวียง รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ประธานกรรมการ 2) นายวีรัตน์ สานุมิตร ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล รองประธานกรรมการ 3) นายประดิษฐ์ เตชนันท์ ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 4) นายสะอาด ค าตัน ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 5) นายศิลป์ชัย ขันดาวงศ์ ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 6) นางธิดา ขันดาวงศ์ ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 7) นางสาวนันทนา จันทร์ฝั้น ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 8) นางดวงคิด จรเอ้กา ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 9) นางเสาร์วลักษณ์ นันชัยบัว ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 10) นายอนุรักษ์ พรมเลข ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 11) นางสาวจุฑาธิบดิ์ กุลดี ศึกษานิเทศก์ ช านาญการ กรรมการ 12) นางสาวสะติม ค ามา ศึกษานิเทศก์ ช านาญการ กรรมการ 13) นางวรุณี แก้วสุข ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 14) นางนรินทร ชมชื่น ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ 15) นายเกษมสรรค์ เขตบุญไสย ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 16) นางสาวพรรณาพัชร ฐากุลสิริโชติศึกษานิเทศก์ ช านาญการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 17) นางกุลจิรา บัวผัน ศึกษานิเทศก์ ช านาญการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่.../


มีหน้าที่ ดังนี้ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับเมืองเชียงรายของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัด เชียงราย วิเคราะห์และจัดท ากรอบหลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ก าหนดเนื้อหาของหลักสูตร ร่างและ พัฒนาหลักสูตร น าเสนอร่างกรอบหลักสูตร และปรับปรุงหลักสูตรก่อนที่จะน าหลักสู่สู่การปฏิบัติ ในสถานศึกษา 4. คณะกรรมการก ากับ ติดตามการใช้หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” 1) นางนรินทร ชมชื่น ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ ประธานกรรมการ 2) นายเกษมสรรค์ เขตบุญไสย ศึกษานิเทศก์ ช านาญการพิเศษ กรรมการ 3) นางสาวพรรณาพัชร ฐากุลสิริโชติศึกษานิเทศก์ ช านาญการ กรรมการ 4) นางกุลจิรา บัวผัน ศึกษานิเทศก์ ช านาญการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ดังนี้ ก ากับ ติดตามการใช้หลักสูตรท้องถิ่น “เมืองเชียงราย” ในสถานศึกษาที่น าหลักสูตรไปใช้ในการจัด การเรียนการสอนในจังหวัดเชียงราย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2564 (นายวิญญู สันติภาพวิวัฒนา) ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย


คณะผู้จัดท ำ ที่ปรึกษำ 1. นายวิญญู สันติภาพวิวัฒนา ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ๒. นายพิสันต์ จันทร์ศิลป์ วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ๓. นางเกลียวพรรณ์ ข าโนนงิ้ว ผู้อ านวยการส านักพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย คณะท ำงำน 1. ดร.อภิวัฒน์ กันศรีเวียง รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ๒. นายวีรัตน์ สานุมิตร ผอ. กลุ่มนิเทศ ฯ ศธจ.เชียงราย 3. ดร.สะอาด ค าตัน ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 4. ดร.ธิดา ขันดาวงศ์ ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 5. ดร.นรินทร ชมชื่น ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 6. ดร.ดวงคิด จรเอ้กา ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 7. นายประดิษฐ์ เตชนันท์ ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 8. นายศิลป์ชัย ขันดาวงศ์ ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 9. นางสาวจุฑาธิบดิ์ กุลดี ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 10. นางวรุณี แก้วสุข ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 11. นางสาวนันทนา จันทร์ฝั้น ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 12. นายอนุรักษ์ พรมเลข ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 13. นางเสาร์วลักษณ์ นันชัยบัว ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 14. นายเกษมสรรค์ เขตบุญไสย ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 15. นางสาวสะติม ค ามา ศึกษานิเทศก์ศธจ.เชียงราย 16. นางกุลจิรา บัวผัน ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย 17. นางสาวพรรณนาพัชร ฐากุลสิริโชติ ศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชียงราย ผู้เชี่ยวชำญในกำรตรวจสอบแก้ไข 1. นายวิญญู สันติภาพวิวัฒนา ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ๒. ดร.อภิวัฒน์ กันศรีเวียง รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ๓. นายพิสันต์ จันทร์ศิลป์ วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ผู้ยกร่ำงต้นฉบับ ดร.นรินทร ชมชื่น ศึกษานิเทศก์ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ปก/รูปเล่ม ดร.นรินทร ชมชื่น ศึกษานิเทศก์ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย


Click to View FlipBook Version