The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กล้วยไม้ในกลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กล้วยไม้ในกลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว

กล้วยไม้ในกลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว

ช่ืออน่ื ๆ กระดง่ิ ภู เออื้ งพลายชมุ พล

ชอ่ื สามญั Spotted Pleione

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

หัวเทยี มรปู คลา ยลกู ขา งหรอื ลกู แพร กวา ง Pleione maculata (Lindl.) Lindl. & Paxton

1–1.5 ซม. สงู 1–3 ซม. ปลายหัวยดื ยาวและมี
กาบใบเกา หมุ อยู

ใบ 2 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปรี ถึงรูป

ใบหอกกลบั กวา ง 1.7–3.5 ซม. ยาว 8–25 ซม.
ปลายแหลม โคนรปู ลมิ่ แผน ใบบางคลา ยกระดาษ

ชอ ดอกแบบชอกระจะ ยาวไดถึง 6 ซม.

ออกทโี่ คนหวั เทยี มหลงั จากใบยบุ ตวั แลว ใบประดบั
รูปไขกลับหรือกึ่งเปนรูปโล ยาว 1.5–3 ซม.
ปลายมนหรอื เปนรปู คมุ มดี อก 1–2 ดอก

ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม กลีบเล้ียงสีขาว
กวา ง 7–8 มม. ยาว 30–40 มม. กลบี เลยี้ งบน

รูปใบหอกแกมรปู ขอบขนานปลายมนกลีบเลย้ี ง

ขา งรปู เคยี วแกมรปู ใบหอก ปลายแหลม กลบี ดอก

สีขาว รูปใบหอกกลับ โคง กวาง 7–8 มม. ยาว
30–40 มม. ปลายแหลม กลบี ปากสีขาว มขี ีด นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ตามยาวสีชมพู ใกลขอบกลีบมีแถบสีเหลือง กลวยไมด นิ หรอื เกาะหิน ในปา ดบิ เขา ทาง
กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข กวาง 20–25 มม. ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวนั ตก-
ยาว 25–35 มม. โคนกลีบเปนถุง ปลายแยก เฉียงใต ท่ีระดับความสูง 1,500–2,100 ม.
เปนแฉก 3 แฉกตื้น แฉกกลางรูปขอบขนาน ออกดอกเดือนตลุ าคม–มกราคม
ปลายเวาตื้น ขอบหยักไมเปนระเบียบและพับ
เปนคลื่น กลางกลีบมีปุมเรียงเปนแถวตามยาว เขตการกระจายพนั ธุ
5–7 แถว เสา เกสรยาว 17–20 มม. ปลายหยกั
ซฟ่ี น ไมส มาํ่ เสมอ กา นดอกรวมรงั ไขย าว 4–5 มม. ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย เนปาล
ภูฏาน บังคลาเทศ จีนตอนใต พมา ลาว
ผลรูปกระสวย กวาง 0.5–1 ซม. ยาว เวียดนาม

1.8–2.5 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 193

àÍÍ×é §¤Ò§ÍŒÁ

Polystachya concreta (Jacq.) Garay & H. R. Sweet

194 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ขอบกลีบหยักมน ชวงกลางขอบกลีบโคงข้ึน Polystachya concreta (Jacq.) Garay & H. R. Sweet
ดานในมีขนส้ันนุมหนาแนน โคนกลีบเช่ือมติด
กับคางเสาเกสร เสาเกสรยาว 1– 2 มม.
คางยาวประมาณ 4 มม. กา นดอกรวมรงั ไขยาว
5–7 มม.

ผล รปู ทรงรี กวา ง 4–6 มม. ยาว 1–1.5 ซม.

มีสนั ตามยาว 6 สัน

นิเวศวิทยาและการกระจายพนั ธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณท่ีมีแสงแดด
ชือ่ อน่ื ๆ หวายเขยี ว ปก นก ปานกลาง ในปา เตง็ รงั ปา ดบิ แลง และปา ดบิ เขา

ลักษณะทางพฤกษศาสตร ทวั่ ทกุ ภาคของประเทศ ที่ระดับความสูง 700–
หวั เทียมรปู ทรงรี ดานขา งแบน เสนผา น 1,800 ม. ออกดอกเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม
เปนผลเดอื นสิงหาคม–ตลุ าคม
ศูนยก ลาง 0.5–2 ซม. ยาว 1–6 ซม.
เขตการกระจายพนั ธุ
รากสีขาว ออกเปนกระจุกที่โคนหัวเทียม
อินเดีย จีน พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม

ใบ 3–5 ใบ รูปขอบขนาน กวาง 2–3 ซม. มาเลเซยี สุมาตรา ฟล ิปปน ส บอรเนียว
ยาว 8–15 ซม. ปลายใบมนหรือแยกเปนแฉก

2 แฉกไมเ ทา กัน โคนแผเ ปนกาบหมุ ลาํ ตน

ชอ ดอกแบบชอแยกแขนง ยาว 8–20 ซม.

ออกทป่ี ลายยอด ใบประดบั ยอ ยรปู ใบหอก กวา ง
ประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 3 มม. มีดอก
10–25 ดอก

ดอกสีเหลืองออนถึงเหลืองแกมเขียว เมื่อ

บานกวาง 4–6 มม. กลีบเล้ียงบนรูปไข กวาง
2–3 มม. ยาว 4–6 มม. ปลายแหลม กลบี เลยี้ งขา ง
รูปคลายสามเหล่ียม กวางประมาณ 3 มม.
ยาวประมาณ 5 มม. ปลายแหลม ขอบกลีบ
โคง ขนึ้ โคนกลบี เชอ่ื มตดิ ตามยาวกบั โคนเสา เกสร
ท่ีเจริญย่ืนยาวเปนคาง กลีบดอกรูปขอบขนาน
กวางประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 4 มม.
ปลายมน กลบี ปากสเี ขียว รปู ไขกลับ กวาง 3–
4 มม. ยาว 4–8 มม. ปลายกลบี แผก วา งเปน รปู พดั

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 195

àÍÍé× §Ë¹Ç´¾ÃÒËÁ³

Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay

196 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชอื่ อนื่ ๆ เอื้องกุหลาบสระบุรี Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay

เอ้ืองผมเงือก เอ้ืองผมผีพราย

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

ลาํ ตนสน้ั สงู 2.5–5 ซม.

รากเปนกระจกุ ทโ่ี คนตน

ใบทรงกระบอกแขง็ หอ ยลง เสน ผา นศนู ยก ลาง

0.3–0.7 ซม. ยาว 20–90 ซม. ดานบนมีรอง
ตามยาว ปลายใบแหลม

ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 7–25 ซม.

ออกทีโ่ คนตน ใบประดบั ยอยมีขนาดเลก็ ปลาย
แหลม มดี อกจาํ นวนมาก

ดอกสมี วงออ น เม่อื บานกวา ง 1–1.5 ซม.

กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาวหรือสีมวงออน ๆ
ปลายกลบี สมี ว ง ตวั กลบี รปู ขอบขนาน ปลาย
แหลม กลบี ปากสมี ว งเขม รปู ขอบขนาน
มขี นาดใหญกวากลบี เล้ยี งและ
กลีบดอก ปลายเวา บมุ

ผล ไมม ขี อ มลู

นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ

กลวยไมอิงอาศัย พบตามปาเต็งรังและ
ปาเบญจพรรณเกอื บทกุ ภาค ยกเวน ทางภาคใต
ท่ีระดับความสูง 100–600 ม. ออกดอกเดือน
มนี าคม–พฤษภาคม

เขตการกระจายพันธุ

พมา

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 197

ºÒ¹¨ŒÇ¹

Spathoglottis pubescens Lindl.

198 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ชอื่ อื่น ๆ เตอสี่เรโคะ เอื้องดิน

เอ้ืองดินลาว เอื้องนวลจันทร

ชื่อสามัญ Buttercup orchid

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

ทัง้ ตนรวมชอ ดอก สงู 35–60 ซม.

หัวเทียมรปู โคน กวาง 1–2 ซม. ยาว Spathoglottis pubescens Lindl.

ประมาณ 2 ซม.

ใบ มี 2–3 ใบ รปู แถบแกมรปู ใบหอก กวา ง

0.5–2 ซม. ยาว 15–35 ซม. กา นใบยาว 3–7 ซม.

ชอดอกแบบชอ กระจะ ออกที่โคนหวั เทยี ม

มขี นสนั้ นมุ ปกคลมุ กา นชอ ดอกยาว 20–55 ซม.
ใบประดบั มี 3–6 ใบ รปู ขอบขนานแกมรปู ใบหอก
ยาว 1–2 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม
แกนกลางชอ ดอกยาว 5–20 ซม. ใบประดบั ยอ ย
รปู ใบหอกแกมรปู ไข กวา ง 1–3 มม. ยาว 4–8 มม.
ปลายแหลม มดี อก 3–8 ดอก เรยี งตวั หา ง ๆ กนั

ดอกสเี หลอื ง มกั มจี ดุ หรอื แตม สมี ว ง กลบี เลย้ี ง
สีเหลืองมีเสนตามยาวสีแดง กลีบรูปรีแกมรูป
ใบหอก กวาง 5–8.5 มม. ยาว 12–16 มม. นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ
ปลายแหลมหรือกึ่งแหลม กลีบดอกรูปรี กวาง กลวยไมดนิ หายากทขี่ ึ้นบนลานหนิ พบตาม
5–8 มม. ยาว 13–17 มม. ปลายมน กลีบปาก พ้ืนปาดงดิบหรือปาเต็งรังที่เปนหินแกรนิต
สีเหลือง กวาง 12–16 มม. ยาว 11–15 มม. หินดินดาน หรือหินทราย ทางภาคเหนือ
แยกเปน แฉก 3 แฉก แฉกกลางรปู ไต กวาง 4– ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันตกเฉียงใต และ
8 มม. ยาว 7–10 มม. ปลายมน ตดั หรอื เวา บมุ ตะวนั ออกเฉยี งใต ทร่ี ะดบั ความสงู 500–1,600 ม.
แฉกขา งสเี หลอื งมแี ตม ประสแี ดง กลบี รปู ขอบขนาน ออกดอกและเปนผลเดือนพฤษภาคม–ธันวาคม
กวา ง 2.5–5 มม. ยาว 4.5–8 มม. กลางกลบี มคี รบี
2 อัน เสา เกสรยาว 7–10 มม. เกล้ียง มีจะงอย เขตการกระจายพันธุ
รปู ขอบขนาน กา นดอกรวมรงั ไขย าว 12–25 มม.
มีขนส้นั นุมปกคลุม ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของอนิ เดยี บงั คลาเทศ
พมา กัมพูชา ลาว เวียดนาม ตะวันตกเฉียงใต
ผลรูปรี กวาง 5–8 มม. ยาว 15–18 มม. ของจนี

มขี นสั้นนุมปกคลมุ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 199

àÊÍ× á¼ŒÇ

Staurochilus dawsonianus (Rchb. f.) Schltr.

200 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชอ่ื อ่ืน ๆ เอื้องตุกแก เอ้ืองเสือนอย ผลรูปรี กวางประมาณ 1 ซม. ยาว
ประมาณ 4 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ลาํ ตน ตัง้ ตรง ทรงกระบอก แข็ง เสนผา น- Staurochilus dawsonianus (Rchb. f.) Schltr.

ศูนยกลางประมาณ 0.6 ซม. สูง 20–60 ซม.
มีหลายปลอง แตละปลองยาว 1.5−2.5 ซม.
อาจแตกแขนง

ใบเรยี งสลบั ระนาบเดยี ว แผน ใบรปู ขอบขนาน

ถงึ เปน รปู แถบ กวา ง 1.5–2.5 ซม. ยาว 8–18 ซม.
ปลายมน แยกเปน แฉก 2 แฉก ไมเ ทา กัน

ชอ ดอกแบบชอ แยกแขนง ยาว 20–80 ซม.

เกิดตรงขามกับใบ แกนกลางชอดอกแบนหรือ
เปน สนั ตามยาว 3 สนั ใบประดบั ยอ ยรปู สามเหลย่ี ม
แกมรปู ไข ยาว 5–7 มม. มดี อกจํานวนมาก

ดอกสีเหลอื งออ น มีแตม สนี า้ํ ตาลแดงเรยี ง
คลา ยเปน แถวตามขวาง เมอ่ื บานกวา ง 2–3 ซม. นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลีบเลี้ยงกวางประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ กลว ยไมอ งิ อาศยั เกาะตามลาํ ตน และคาคบไม

15 มม. กลีบเลี้ยงบนรูปคลายสามเหล่ียม ตามชายปาเต็งรัง เบญจพรรณ ปาดบิ แลง และ

หลงั กลบี มีสันตามยาว ปลายกลบี เปน ติง่ หนาม ปา สน ทางภาคเหนอื ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และ

กลบี เลยี้ งขา งรปู ขอบขนานเบย้ี ว ปลายมจี ะงอย ภาคตะวนั ตกเฉยี งใต ทร่ี ะดบั ความสงู 500–800 ม.

กลบี ปากสเี หลอื งแกมสม เสน ตามยาวสนี าํ้ ตาลแดง ออกดอกเดือนธันวาคม–กรกฎาคม เปนผล

กลางกลีบมีขนหนาแนน กลีบยาวประมาณ เดือนกนั ยายน–ตุลาคม

7 มม. แยกเปน แฉก 5 แฉก แฉกกลางรปู ไขก ลบั เขตการกระจายพันธุ
ยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายมนหรือเวาต้ืน
แฉกขา งรูปขอบขนาน กวางประมาณ 1.5 มม. จีน ลาว พมา

ยาวประมาณ 4 มม. ปลายมน แฉกใกลโ คนกลบี

รปู ขอบขนาน กวา งประมาณ 1.7 มม. ยาวประมาณ

4.8 มม. ปลายมน เสา เกสรยาวประมาณ 3 มม.

กา นดอกรวมรังไข ยาว 1.5–2 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 201

àÍé×ͧàÊÍ× â¤Ã‹§

Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl.

202 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ช่ืออ่นื ๆ เอ้ืองลายเสือ ผลรูปทรงรี กวางประมาณ 3 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ยาวประมาณ 9 ซม. มสี นั ตามยาว 4 สัน

ลาํ ตนตง้ั รปู ทรงกระบอก เรยี วยาวและแขง็ Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl.

เสน ผา นศนู ยก ลางประมาณ 1 ซม. สงู 25–80 ซม.
มหี ลายปลอง

รากสีขาว ออกตามขอ

ใบรปู ขอบขนานถงึ เปน รปู แถบ กวา ง 2–3 ซม.

ยาว 8–18 ซม. ปลายเวาไมเทากัน โคนแผเ ปน
กาบหุมลําตน แผน ใบบาง

ชอ ดอกแบบชอกระจะ ยาว 15–30 ซม.

ออกตามขอ กานชอดอกยาว 5–10 ซม.
ใบประดบั ยอ ยรปู ใบหอก กวา งประมาณ 0.5 ซม.
ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแหลม มีดอก
4–10 ดอก

ดอกสีเหลือง มีแถบตามขวางสีนํ้าตาล
เม่ือบานกวางประมาณ 4 ซม. กลีบเล้ียงบน

รูปใบหอก กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 2.5–3 ซม.

ปลายเรียวแหลม ดานในมขี นส้ันสีขาวหนาแนน
ดานนอกเปนสันนูน 1 สัน กลีบเลี้ยงขางรูป นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ
ขอบขนาน กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 2.5– 4 ซม. กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณที่มีแสงแดด

ปลายเรยี วแหลม ดานในมีขนส้นั สีขาวหนาแนน ปานกลางในปาดิบแลงและปาสน ท่ัวทุกภาค

ดา นนอกเปนสันนูน 1 สนั กลีบดอกรูปรถี ึงเปน ของประเทศ ที่ระดับความสูง 700–750 ม.

รูปใบหอก กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 2.5–3 ซม. ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–พฤษภาคม เปนผล

ปลายเรียวแหลม ดานในมีขนส้ันสีขาวปกคลุม เดือนมิถุนายน

หนาแนน ดานนอกเปนสันนูน 1 สัน กลีบปาก เขตการกระจายพนั ธุ
สเี หลอื ง กลางกลบี แตม จดุ ประสนี า้ํ ตาล ขอบกลบี
ตั้งขน้ึ สว นปลายแยกเปน แฉก 3 แฉก รูปแถบ ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย สุมาตรา
ปลายแหลม ดานในมีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุม ฟลิปปน ส

หนาแนน เสา เกสรยาวประมาณ 7 มม. กา นดอก

รวมรังไขยาวประมาณ 2 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 203

àÍÍé× §¡ÅÕºÁŒÇ¹´Í¡ÊŒÁ

Stichorkis gibbosa (Finet) J. J. Wood

204 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ช่อื อน่ื ๆ –

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

เหงาเรียวยาว ทอดนอน หัวเทียมรูปไข

อาจแบนดานขาง ยาวไดถงึ 1.2 ซม. ระยะหาง
หวั เทยี มประมาณ 3 ซม.

ใบ 1 ใบ ออกที่ปลายหัวเทียม รูปแถบ Stichorkis gibbosa (Finet) J. J. Wood
กวางประมาณ 0.8 ซม. ยาวไดถึง 20 ซม.
ปลายแหลม โคนรปู ลมิ่

ชอดอกแบบชอ กระจะ ออกทโ่ี คนหวั เทยี ม

กานชอดอกและแกนกลางชอดอกแบน กาน-
ชอดอกยาวไดถึง 15 ซม. แกนกลางชอดอก
ยาวไดถ งึ 2 ซม. ใบประดบั ยาวประมาณ 5 มม.

ดอกสแี ดงอมสม ถงึ สนี าํ้ ตาลอมสม กลบี เลยี้ ง
พบั กลบั ไปดา นหลงั กลบี เลยี้ งบน กวา งประมาณ

2 มม. ยาวประมาณ 5 มม. กลบี เลี้ยงขา งกวา ง

ประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ 5 มม. ปลาย

แหลม กลบี ดอกตงั้ และแผอ อก กลบี กวา งประมาณ

1.5 มม. ปลายกลีบแหลม กลีบปากกวางและ

ยาวประมาณ 3.5 มม. แยกเปนแฉก 4 แฉก

รูปคอ นขางกลม ปลายมน แฉกคูปลายมขี นาด นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ
เล็กกวา ปลายเสา เกสรสีสม แบน
กลว ยไมอ งิ อาศยั พบตามลาํ ตน และคาคบไม
ผลรปู รี
ทางภาคเหนือ ตะวันตกเฉียงใต และภาคใต

ออกดอกเดอื นตุลาคม–ธันวาคม

เขตการกระจายพนั ธุ

พมา อนิ โดจนี ชวา สงิ คโปร คาบสมทุ รมลายู

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 205

àÍéÍ× §·ºÑ ·ÁÔ ÀÙËÅǧ

Sunipia minor (Seidenf.) P. F. Hunt

206 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ชือ่ อ่ืน ๆ – นิเวศวทิ ยาและการกระจายพันธุ

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร กลวยไมอิงอาศัยตามลําตนและคาคบไม
พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
เหงา ทรงกระบอก เรียวยาว หัวเทียม ทร่ี ะดับความสูงประมาณ 1,300 ม. ออกดอก
รปู ไข กวางและยาวประมาณ 1 ซม. ระยะหาง ธนั วาคม–มีนาคม
หัวเทยี มประมาณ 3 ซม.
เขตการกระจายพันธุ
รากออกเปน กระจกุ ที่โคนหัวเทียม พืชถนิ่ เดยี วของไทย
Sunipia minor (Seidenf.) P. F. Hunt
ใบ 1 ใบ ออกทป่ี ลายหวั เทยี ม รปู ขอบขนาน

แกมรูปรี กวาง 1–1.3 ซม. ยาว 4–5.5 ซม.
ปลายใบแยกเปน แฉก 2 แฉก ต้นื ๆ

ชอ ดอกแบบชอ กระจะ ยาว 6–9 ซม. ออกท่ี

โคนหวั เทยี ม แกนกลางชอ ดอก ยาว 2–3.5 ซม.
ใบประดับยอยสีมวงออน ยาวประมาณ 1 ซม.
มีดอก 4–7 ดอก

ดอกสีมว ง กลีบเลย้ี งสีมว งออ น มีลายตาม

ยาวสีมวงเขม กลีบเลี้ยงบนยาว 7–8.5 มม.
กลบี เลย้ี งขา ง ยาวประมาณ 9 มม. เชอ่ื มตดิ ตาม
ยาวกลีบดอกรูปคอนขางกลม กวางและยาว
3–4 มม. กลีบปากกวางประมาณ 4 มม.
ยาวประมาณ 8 มม. แยกออกเปน 3 แฉกตนื้ ๆ
แฉกปลายสเี หลอื ง มีเนื้อคอนขางหนา แฉกขาง
สีขาวมีแตมสีมวง เน้ือบาง ขอบจักฟนเล่ือย
เสาเกสรสีเหลืองออนยาวประมาณ 3 มม.
กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 1.4 ซม.

ผล ไมม ีขอ มลู

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 207

àÍÍé× §μÒà¢çÁ

Sunipia scariosa Lindl.

208 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

กวาง 2–3 มม. ยาว 4–5 มม. ปลายแหลม
กลบี เลยี้ งบนเปน องุ กลบี ดอกรปู ไข กวา ง 2–3 มม.
ยาวประมาณ 3 มม. ปลายมน กลบี ปากรูปลนิ้
กวา งประมาณ 2 มม. ยาว 4–5 มม. ปลายกลบี มน
โคนกลีบเปนอุง เสาเกสรยาวประมาณ 2 มม.
กา นดอกรวมรังไขยาว 2–5 มม.

ผล ไมมีขอมูล

นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบเกาะตามคาคบไมใน

ปาสนและปาดิบเขา ทางภาคเหนือและภาค- Sunipia scariosa Lindl.

ชอ่ื อ่ืน ๆ เออ้ื งฟน ปลา ตะวันออกเฉยี งเหนือ ทรี่ ะดับความสงู 1,000–
1,800 ม. ออกดอกเดือนเมษายน–พฤษภาคม
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร
การกระจายพันธุ
เหงาทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง เนปาล อนิ เดยี จีน พมา ลาว เวยี ดนาม
ประมาณ 4 มม. หวั เทยี มรปู ไข เสน ผา นศนู ยก ลาง

ประมาณ 1.5–2 ซม. ยาว 1.5–3 ซม. ผิวยน

ระยะหา งหัวเทยี ม 1–4 ซม.

ใบ 1 ใบ ออกทป่ี ลายหวั เทยี ม รปู ขอบขนาน

แกมรูปรี กวาง 1–2 ซม. ยาว 5–15 ซม.
ปลายแหลม มน หรอื เวา บมุ โคนรูปล่ิม แผนใบ
หนาคลา ยแผนหนัง

ชอดอกแบบชอ กระจะ ยาว 20–30 ซม.

ออกที่โคนหัวเทยี ม กานชอดอกยาว 10–
15 ซม. ใบประดับยอยรูปไข กวาง
ประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ 6 มม.
มดี อก 20–50 ดอก เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว
บนแกนกลางชอดอก

ดอกสเี หลอื งออน

หรอื สเี หลอื งแกมเขยี วออ น
เมื่อบานกวาง 3–7 มม.
กลีบเล้ียงรูปไข

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 209

àÍÍ×é §äÃ㌠º

Taeniophyllum glandulosum Blume

210 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชอ่ื อื่น ๆ – นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร กลว ยไมอ งิ อาศยั พบตามลาํ ตน และคาคบไม
ทางภาคเหนอื และภาคใตข องประเทศ ที่ระดับ
ลาํ ตน สั้น
ความสูง 400–1,100 ม. ออกดอกและเปนผล

รากแผออก กง่ึ ทรงกระบอกหรือคอนขาง เดอื นมีนาคม–สงิ หาคม
แบน กวาง 1–5 มม. ยาว 2–10 ซม. เขตการกระจายพันธุ

ชอดอกแบบชอกระจะตั้ง มี 1–4 ชอ จีน ญ่ีปุน เกาหลี เวียดนาม มาเลเซีย Taeniophyllum glandulosum Blume

ยาว 1–3.5 ซม. กานและแกนกลางชอดอก อินโดนเี ซยี ออสเตรเลยี นิวกนี ี

สีเขียวแกมเหลือง แกนกลางชอดอกคดไปมา

ใบประดบั ยอยรปู ไขถ งึ รปู ใบหอก ยาวประมาณ

1 มม. เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว มดี อก 1–4 ดอก

ดอกสีเขียวออนถึงสีเขียวอมเหลือง

กลีบเล้ียงและกลีบดอกเช่ือมกันเปนหลอด
ยาว 1–1.5 มม. ปลายกลีบเลีย้ งแยกเปน แฉก
รูปใบหอกถึงรูปไข กวางประมาณ 1.2 มม.
ยาว 1.5–2 มม. ปลายแหลม กลีบโคงออก
ดา นนอกตวั ดอก กลบี ดอกรปู ไข กวา งประมาณ
1 มม. ยาว 1.2–1.8 มม. กลบี ปากคลา ยรปู เรอื
แกมรปู ไข กวา ง 0.5–1 มม. ยาว 1.5–2.5 มม.
ปลายเรียวแหลม มีรยางคคลายหนาม เดือย
รูปคลายถุงกลม กวางประมาณ 1 มม. ยาว
1–1.5 มม. เสาเกสรยาวประมาณ 0.5 มม.
กานดอกรวมรังไขยาว 1.5–2 มม.

ผลรปู ทรงกระบอกแกมรปู รี กวา งประมาณ

2 มม. ยาวประมาณ 4 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 211

àÍ×Íé §ÊÅÕ Ò

Tainia viridifusca (Hook.) Benth. & Hook. f.

212 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ชื่ออนื่ ๆ – โคนเสาเกสรยาว 1–1.5 มม. เดือยยาว 1.5–

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร 2 มม. กา นดอกรวมรงั ไขยาว 1–3 ซม.

หวั เทยี มรูปไขถึงรูปรี เสนผานศูนยกลาง นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ Tainia viridifusca (Hook.) Benth. & Hook. f.

1.5–3.5 ซม. สูง 2.5–6 ซม. ระยะหา งหัวเทียม กลวยไมดิน พบตามชายปาดิบเขา ทาง
1–2 ซม. ภ า ค เ ห นื อ แ ล ะ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ
ที่ระดับความสูง 1,000 ม. ข้ึนไป ออกดอก
รากออกตามหัวเทยี ม เดือนพฤศจิกายน–มีนาคม

ใบรูปใบหอกถึงเปนรูปรี กวาง 3–9 ซม. เขตการกระจายพันธุ

ยาว 20–66 ซม. ปลายแหลมถึงเรียวแหลม ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา
แผนใบบาง กานใบยาว 20–50 ซม. ยูนนาน เวยี ดนาม

ชอดอกออกท่ีขอ ยาว 50–150 ซม.
แกนกลางชอดอก ยาว 20–55 ซม. ใบประดับ

ยาว 6–22 มม. มดี อก 18 ดอก หรือมากกวา

ดอกสีนํ้าตาลเขมอมมวงถึงสีเขียวออน

เมอื่ บานกวางประมาณ 3 ซม. กลบี เลยี้ งบน
รูปใบหอกกลับ กวาง 5.5–6 มม.
ยาว 22–27.5 มม. ปลายแหลมถงึ เรยี วแหลม
กลบี เลยี้ งขา งรปู ใบหอกโคง กวา ง 6–6.4 มม.
ยาว 19–25 มม. กลบี ดอกรปู ใบหอกกลบั แกม
รูปเคียว กวาง 5.5–6 มม. ยาว 17.5–24 มม.
ปลายเรียวแหลม กลีบปากสีขาว เขียว หรือ
สสี ม ออน กวา งประมาณ 9 มม. ยาวประมาณ
13.5 มม. แยกเปนแฉก 3 แฉก
แฉกกลางกึ่งเปนรูปโล
กวางและยาว 5–6 มม.
ปลายแหลมถึงเรียวแหลม ขอบเรียบ
ถึงเปนคลื่น กลางกลบี มสี นั ตามยาว
แฉกขา งยาวประมาณ 2 มม.
ปลายมนหรือกลม กลางกลบี
มีครบี ตามยาว 5–7 ครบี
เสาเกสรยาว 8–9 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 213

àÍÍ×é §μТҺÀËÙ Åǧ

Thrixspermum ancoriferum (Guillaumin) Garay

214 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ชื่ออืน่ ๆ – Thrixspermum ancoriferum (Guillaumin) Garay

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

ลําตน สัน้

รากสเี ขียว หนา

ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข เรียงสลับ

กวาง 1–1.5 ซม. ยาว 3–4 ซม. ปลายแหลม
โคนรปู ลม่ิ ขอบเรยี บ แผน ใบหนาคลา ยแผน หนงั

ชอดอกแบบชอกระจะ ออกที่โคนตน

ใบประดับขนาดเลก็ มีดอก 2–3 ดอก

ดอกสีเหลืองออน กลีบเล้ียงบนรูปไข

กวางประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 7 มม.
ปลายมนถึงแหลม กลีบเลี้ยงขางรูปไข กวาง
ประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 7 มม.
ปลายมนถึงแหลม กลีบดอกรูปรี กวางประมาณ
2 มม. ยาวประมาณ 5 มม. ปลายมนถึงแหลม
กลบี ปากกวา งประมาณ 6 มม. ยาวประมาณ 4 มม.
ปลายแยกเปน แฉก 3 แฉก แฉกกลางสน้ั ปลายมน

แฉกขางรูปรี เบี้ยว ปลายมน เสาเกสรส้ัน
ฝาครอบอับเรณูสีขาว รูปไต

ผล ไมม ขี อ มลู

นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ

กลวยไมอิงอาศัย พบเกาะตามเปลือกไม
ในปาละเมาะเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่ระดับความสูงประมาณ 1,400 ม. ออกดอก
เดือนพฤษภาคม–กรกฎาคม

เขตการกระจายพนั ธุ

ลาว เวียดนาม

ทีม่ า: https://science.mnhn.fr

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 215

μТҺàËÅ×ͧ

Thrixspermum centipeda Lour.

216 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชอ่ื อน่ื ๆ กระตายหูเดียว ตีนตะขาบ กวา งประมาณ 0.5 ซม. ยาวประมาณ 1.5 ซม.
เอ้ืองแมงมุมขาว เอื้องกลีบผอม แมงมุมเหลือง ปลายมน ขอบกลีบโคงขึ้น โคนกลีบเปนแอง
กลางกลบี มีปมุ เน้อื เยื่อนูนรูปสามเหลีย่ ม 1 ปุม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร สีขาวแตมจุดประสีสม เสาเกสรยาวประมาณ

ลําตนสั้นและแข็ง เสนผานศูนยกลาง 6 มม. คางยาวประมาณ 2 มม. กานดอกรวม
ประมาณ 5 มม. สงู 5–20 ซม. รังไขย าวประมาณ 1.5 ซม.

รากสีขาว ออกเปนกระจุกท่ีโคนตน ผลรูปทรงกระบอก กวาง 0.6–0.8 ซม.
ใบรูปขอบขนานถึงเปนรูปแถบ กวาง 1– ยาว 3.5–10 ซม. มสี ันตามยาว 6 สนั
2 ซม. ยาว 6–12 ซม. ปลายเวา โคนแผเ ปน กาบ นเิ วศวิทยาและการกระจายพนั ธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณท่ีรมริมลําธาร Thrixspermum centipeda Lour.
หมุ ลาํ ตน แผน ใบหนาคลายแผน หนงั
ในปาเบญจพรรณและปาดิบท่ัวทุกภาคของ
ชอ ดอกแบบชอกระจะ ยาว 5–15 ซม. ประเทศ ทร่ี ะดบั ความสงู 700–1,700 ม. ออกดอก
เดือนกุมภาพันธ–กรกฎาคม เปนผลเดือน
ออกตามขอ กา นชอ ดอกยาว 3–7 ซม. แกนกลาง สิงหาคม–กันยายน
ชอดอกแบน มีใบประดับยอยรูปสามเหลี่ยม
กวา งประมาณ 4 มม. ยาวประมาณ 8 มม. ปลาย เขตการกระจายพนั ธุ

แหลม เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว มดี อก 2–5 ดอก อินเดีย ภูฏาน จีน พมา ลาว เวียดนาม
กัมพูชา บอรเนียว อินโดนีเซีย ฟลิปปนส
ดอกสขี าวนวลถงึ สสี ม เมอ่ื บานกวา ง 3.5– เซเลเบส ออสเตรเลีย

7 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ กวาง
0.2–0.5 ซม. ยาว 2–4 ซม. ปลายแหลม กลบี ปาก

สขี าวแตม จดุ ประสสี ม ตวั กลบี รปู คลา ยสามเหลย่ี ม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 217

ÊÒÁ¡ŒÍÁ

Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl.

218 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ช่ืออ่นื ๆ เออ้ื งเบ้ียไมใบขน นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบตามชายปาดิบแลง
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร และปาดิบเขาระดับต่ํา บริเวณที่มีแสงแดด Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl.

เหงารูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง ปานกลาง ทางภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
1–3 มม. ลาํ ตน สน้ั และแขง็ เสนผา นศูนยกลาง ภาคตะวนั ตกเฉยี งใต และภาคใต ระดบั ความสงู

2–5 มม. ยาวประมาณ 2 มม. 700–1,000 ม. ออกดอกและเปนผลเดือน

รากสีขาว ออกท่เี หงา มถิ นุ ายน–สงิ หาคม

ใบ 2–4 ใบ เรียงเปนกระจุกที่ปลายยอด เขตการกระจายพนั ธุ

ใบรปู ไขห รอื รปู รี กวา ง 1–5 มม. ยาว 0.6–3 ซม. จนี เนปาล สกิ ขมิ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี มาเลเซยี
ปลายมน โคนแผเปน กาบหมุ ลําตน แผน ใบหนา เกาะสมุ าตรา สิงคโปร บอรเนยี ว

คลายแผนหนัง มีขนสีขาวหนาแนน ใบประดับ

รปู ไข กวา งประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 6 มม.

ดา นนอกมขี นสน้ั นมุ ปกคลุมหนาแนน

ดอกสีเขียวอมเหลืองออกที่ปลายยอด เม่อื

บานกวาง 0.4–0.7 ซม. กลีบเล้ียงมีขนส้ันนุม
สีขาวปกคลุมดานนอกกลีบ กลีบเล้ียงบนรูปไข
กวา งประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ปลายมน
กลบี เลีย้ งขางรูปไข กวา งประมาณ 3 มม. ยาว
ประมาณ 6 มม. ปลายแหลม โคนกลีบเช่อื มตดิ
ตามยาวกับโคนเสาเกสรที่เจริญยาวยื่นเปนคาง
กลบี ดอกรปู ไขก ลบั ถงึ รปู ขอบขนาน กวา ง 1–2 มม.
ยาว 2–5 มม. ปลายมน ขอบกลบี มขี นประปราย
กลีบปากรูปคลายล้ิน กวางประมาณ 3 มม.
ยาวประมาณ 6 มม. ปลายเวาตื้น กลางกลีบ
แตมจุดคอนขางกลมสีแดง 2 จุด เสาเกสรยาว
ประมาณ 2 มม. คางยาวประมาณ 5 มม. มีขน
ส้ันนุมปกคลุม กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ
4 มม. มีขนปกคลุม

ผลรปู ทรงกลม เสน ผา นศนู ยก ลางประมาณ

1 ซม. มีขนสนั้ นมุ สีขาวหนาแนน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 219

àÍ×éͧÊÒÁ»ÍÂá¾Ð

Vanda bensonii Bateman

220 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

แฉกขางสีขาวครีมรูปไขขนาดเล็ก โคนแฉก Vanda bensonii Bateman
มีแตมสีสมถึงสีเหลือง เดือยคลายรูปกรวยส้ัน
ปลายมน

ผล ไมม ีขอ มูล

นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ

กลวยไมอิงอาศัยตามลําตนและคาคบไม
พบตามปา ดิบทางภาคเหนอื และภาคตะวันออก
เฉยี งเหนอื ออกดอกเดอื นเมษายน–มิถนุ ายน

เขตการกระจายพันธุ

พมา มาเลเซีย สิงคโปร

ชอ่ื อ่นื ๆ สามปอยชมพู สามปอยแพะ 221

เอ้ืองนกนอย

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

ลําตนเรยี วยาว สูง 20–40 ซม.

ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปแถบแกม

รปู รี กวา ง 2.5–3.5 ซม. ยาว 10–20 ซม. ปลาย
แยกเปน แฉก 2 แฉก ไมเ ทา กนั ปลายแฉกแหลม
แผนใบหนาคลายแผน หนงั

ชอดอกแบบชอ กระจะตงั้ ยาว 20–45 ซม.

เกิดตามลําตน มดี อก 5–10 ดอก

ดอกบานกวาง 3.5–5 ซม. มีกล่ินหอม

กลีบเล้ียงและกลีบดอกรูปไขกลับแกมรูปชอน
สีเขียวแกมเหลือง มีจุดสีน้ําตาลแดงกระจาย
ท่ัวไป หลังกลีบสีขาวนวล สีชมพูออน หรือ
สีมวงออน กลีบปากแยกเปนแฉก 3 แฉก
แฉกกลางสชี มพหู รอื สมี ว งออ น อาจมเี สน ตามยาว
สีมวงเขม ตัวแฉกรูปรีปลายแยก
เปน แฉก 2 แฉก คลา ยหางปลา
ปลายแฉกแหลม
โคนแฉกมีปมุ เน้ือเยอ่ื นนู 2 ปมุ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex

àÍ×éͧÊÒÁ»Í´§

Vanda denisoniana Benson & Rchb. f.

222 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ช่อื อืน่ ๆ สามปอยขาว นิเวศวทิ ยาและการกระจายพนั ธุ

เอ้ืองสามปอยขาว เอื้องสามปอยขุนตาล กลวยไมอิงอาศัยตามลําตนและคาคบไม
พบทางภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร ออกดอกเดือนมีนาคม–พฤษภาคม เปนผล
ลาํ ตน ตัง้ หรือโคง งอ สูง 20–60 ซม. เดือนเมษายน–มีนาคม

รากสขี าวออกทโี่ คนตนหรอื ตามขอ เขตการกระจายพนั ธุ Vanda denisoniana Benson & Rchb. f.

ใบ 6–15 ใบ เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว รปู แถบ พมา ลาว เวยี ดนาม มาเลเซีย สงิ คโปร

กวาง 1.5–3.5 ซม. ยาว 9–30 ซม. ปลายแยก
เปนแฉก 2 แฉก ไมเทากัน ปลายแฉกแหลม
เน้อื ใบหนาคลา ยแผน หนัง

ชอดอกแบบชอ กระจะตงั้ ยาว 10–40 ซม.

เกดิ ตามลาํ ตน กา นชอดอกสนั้ มดี อก 3–7 ดอก

ดอกสขี าวถึงสีเหลืองอมสม เม่อื บานกวาง

3.5–5.5 ซม. มกี ลน่ิ หอม กลบี เลยี้ งและกลบี ดอก
มกั พบั เปน คลน่ื กลางกลบี ดา นนอกมสี นั ตามยาว
1 เสน กลีบเลี้ยงบนและกลีบดอกรูปชอน
กวาง 1.2–1.8 ซม. ยาว 2–2.5 ซม. ปลายมน
กลบี เลยี้ งขา งรปู ไขก ลบั ถงึ รปู รี กวา ง 1.5–2 ซม.
ยาว 2–2.8 ซม. ปลายมน กลีบปากสเี ขยี วออ น
กวา ง 1.3–2.5 ซม. ยาว 2–2.7 ซม. แยกเปน แฉก
3 แฉก แฉกกลางรปู คลา ยหางปลา ปลายแฉกมน
มีติ่งแหลม โคนกลีบมีปุมเนื้อเย่ือ 2 ปุม
กลางกลบี เปน สนั ตามยาว แฉกขา งคอ นขา งกลม
มีขนาดเล็ก โคนแฉกสีขาวมีแตมสีเหลืองและ
เสน ตามยาวสแี ดง เดอื ยรปู กรวย เสา เกสรสขี าว
ยาวประมาณ 1 ซม. กานดอกรวมรังไขยาว
4–7 ซม.

ผลรูปทรงกระบอก กวาง 1.5–2.5 ซม.

ยาวประมาณ 5 ซม. มสี ันตามยาว 6 สัน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 223

àÍÍé× §´Ô¹¹ŒÍ»ҡ¡Ò§

Zeuxine affinis (Lindl.) Benth. ex Hook. f.

224 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชื่ออ่ืน ๆ − กวา ง 1.5−5 มม. ยาว 2−7 มม. อาจมจี ดุ สเี ขยี ว
หรือเหลอื ง เสา เกสรอาจมสี นั ตามยาว 2 สัน ที่
ลักษณะทางพฤกษศาสตร สวนใตจะงอย กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ
6 มม.
ทงั้ ตน รวมชอดอกสงู 15–35 ซม.

เหงารูปทรงกระบอก ขนาดเสนผาน- ผลรปู ขอบขนาน เสน ผา นศนู ยก ลาง 0.3−
ศูนยกลาง 3–5 มม. ยาว 2–10 ซม. ลําตน 0.5 ซม. ยาว 0.7−1.3 ซม. มขี นสัน้ นมุ ปกคลมุ
ทรงกระบอก เรยี วยาว เสน ผา นศนู ยก ลางประมาณ ไมม กี า นผลหรอื มแี ตส ้ันมาก Zeuxine affinis (Lindl.) Benth. ex Hook. f.

2.5–5 มม. มีหลายปลอ ง นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ

รากออกตามขอ กลวยไมดิน พบไดท้ังบริเวณลานหินทราย

ใบรปู ใบหอกแกมรปู แถบถงึ รปู ใบหอกแกม และหินแกรนิตท่ีเปดโลง ในปาเบญจพรรณ
ปา ดบิ และปา ดบิ เขา ทวั่ ทกุ ภาคของประเทศไทย
รปู ไข กวา ง 0.5−1.7 ซม. ยาว 1−4.5 ซม. ปลาย ทร่ี ะดบั ความสงู 20−1,600 ม. ออกดอกระหวา ง
แหลม โคนใบสอบเปน กา นแลว แผอ อกเปน กาบ เดือนพฤศจกิ ายน−มีนาคม
หมุ ลาํ ตน แผน ใบดา นบนสเี ขยี วถงึ สเี ขยี วอมเทา
เขตการกระจายพนั ธุ
ดานลางสีเขียวออน อินเดีย ภูฏาน บังคลาเทศ พมา (type)
จีนตอนใต ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกท่ีปลายยอด ใตหวัน

มขี นสนั้ นมุ ปกคลมุ ใบประดบั รปู ใบหอกถงึ รปู ไข
กวา ง 2−4 มม. ยาว 3.5−10 มม. ปลายเรยี วแหลม

ถึงเปนติ่งแหลม ผิวใบดานบนมีขนส้ันนุม

แกนกลางชอดอก ยาว 1−8 ซม.

ดอกสีเขียว พบบางที่มีสีชมพูออนถึง

สนี าํ้ ตาลออ น กลบี เลย้ี งสเี ขยี ว ผวิ ดา นนอกมขี น
สน้ั นมุ กลบี เลยี้ งบนรปู ขอบขนานแกมรปู ใบหอก
ถงึ รปู ไข กวา ง 3−5 มม. ยาว 4−9 มม. ปลายมน
หรอื กลม กลบี เลย้ี งขา งรปู ขอบขนานถงึ รปู ใบหอก
กวาง 2−3.5 มม. ยาว 4−7 มม. ปลายมน
ถึงกึ่งแหลม กลีบดอกสีขาว รูปขอบขนานแกม
รปู ใบหอกถงึ รปู รี กวา ง 1−3 มม. ยาว 4−8 มม.
แนบติดไปกับกลีบเลี้ยงบน กลีบปากสีขาว
ยาว 4−8 มม. โคนกลีบดา นในมรี ยางคเปน ปุม
2 ปุม ปลายกลีบแยกเปนแฉก 2 แฉก
รปู สามเหลย่ี มกลบั รปู ไขก ลบั ถงึ รปู คลา ยวงกลม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 225

àÍ×éͧ´¹Ô ¹ÍŒ »ҡàËÅÍ× §

Zeuxine flava (Wall. ex Lindl.) Trimen

226 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ชอื่ อน่ื ๆ − ผลรปู รแี กมรปู ขอบขนาน เสน ผา นศนู ยก ลาง

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร ประมาณ 0.4 ซม. ยาว 0.8 ซม. ผวิ เกอื บเกลย้ี ง
กา นผลสั้น
เหงา รูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 2 มม. ลาํ ตน รปู ทรงกระบอกเรยี วยาว

มหี ลายปลอ ง

รากออกตามขอ Zeuxine flava (Wall. ex Lindl.) Trimen

ใบรูปใบหอก กวาง 0.8−3 ซม. ยาว 2.7−

9.4 ซม. ปลายแหลมหรอื เปน ตงิ่ หนาม โคนกา นใบ
แผเปนกาบหุม ลําตน

ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 8–12 ซม.

ออกที่ยอด

ดอกสีเหลือง เม่ือบานกวาง 5–6 มม.
ใบประดบั รปู แถบแกมรปู ใบหอกถงึ รปู สามเหลย่ี ม

แกมรูปแถบ กวาง 2−4 มม. ยาว 3−10 มม.

ปลายเรียวแหลมถึงเปนต่ิงแหลม มีขนส้ันนุม

ปกคลุม แกนกลางชอดอกยาว 1.5−8.5 ซม.

กลบี เลย้ี งสเี ขยี วออ น ดา นนอกมขี นสน้ั นมุ ปกคลมุ

กลบี เลยี้ งบนรปู ไข กวา ง 2−3 มม. ยาว 3.5−5 มม.

ปลายมน กลีบเลี้ยงขางรูปขอบขนานแกมรูปรี

เบย้ี ว กวา ง 1.5−2 มม. ยาว 2.5−4 มม. ปลายมน นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธุ
กลบี ดอกสีเขยี วออนถงึ สีเหลอื ง รูปใบหอกกลับ
ถงึ รูปขอบขนาน กวา ง 1−2 มม. ยาว 3−5 มม. กลวยไมดิน พบตามลานหินทราย หินปูน

ปลายมน ตวั กลบี ดอกแนบตดิ ไปกบั กลบี เลยี้ งบน และหินแกรนิต ในปาเบญจพรรณ ปาดิบ และ
กลีบปากสีเหลือง ยาว 3−4.5 มม. โคนกลีบ ปาดิบเขา ทางภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ

ดานในมีรยางคเปนปุม 2 ปุม ปลายกลีบแยก และตะวันตกเฉียงใต ท่ีระดับความสูง 200−
เปน แฉก 2 แฉก ปลายเปน รปู ตวั วหี รอื ปลายตดั 1,650 ม. ออกดอกระหวางเดือนกุมภาพันธ−

แตละแฉกคลายรูปสี่เหล่ียม กวาง 1−3 มม. มีนาคม
ยาว 1.5−3.5 มม. ปลายมน เสา เกสรมสี นั ตามยาว เขตการกระจายพนั ธุ
2 สนั ใตจ ะงอย กานดอกรวมรงั ไขยาวประมาณ หิมาลายาตะวันตก เนปาล (type) ภูฏาน
5 มม. ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา ยูนนาน

เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 227

บรรณานุกรม

กติ ติ กรตี ยิ ตุ านนท และนฤมล กฤษณชาญด.ี 2550. กลว ยไม เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า ภเู ขยี ว. ดา นสทุ ธาการพมิ พ, กรงุ เทพฯ.
นพรตั น ทลู มาลย. 2557. การศกึ ษาทางอนุกรมวธิ านพชื วงศกลว ยไมใ นอุทยานแหงชาติแกง กระจาน จังหวดั เพชรบุร.ี

วทิ ยานิพนธป ริญญาโท, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.
ไพรวลั ย ศรีสม และไพรชั รยางคกูล. 2558. กลว ยไมห วยขาแขง. หางหนุ สวนจาํ กดั ภาพพมิ พ, นนทบรุ .ี
วรี ะชัย ณ นคร. 2543. กลว ยไมไทยเลม 6. โอ. เอส. พริน้ ตง้ิ เฮาส, กรุงเทพฯ.
สลิล สิทธสิ ัจจธรรม และนฤมล กฤษณชาญด.ี 2545. คมู ือกลว ยไม. สํานกั พิมพสารคด,ี กรงุ เทพฯ
สลลิ สทิ ธิสจั จธรรม และเพชร ตรเี พช็ ร. 2552. กลวยไมป า เมอื งไทย 2. บริษัทอมรนิ ทรพ รน้ิ ตงิ้ แอนดพ บั ลชิ ชิง่ จาํ กดั

(มหาชน), กรงุ เทพฯ.
เสฐียร ดามาพงศ. 2551. การศกึ ษาอนกุ รมวิธานของพชื วงศก ลว ยไมบรเิ วณดอยผาหมปก อุทยานแหงชาติดอยผาหม ปก

จงั หวดั เชียงใหม. วทิ ยานพิ นธป ริญญาโท, มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.
อบฉนั ท ไทยทอง. 2543. กลว ยไมเมอื งไทย. บรษิ ทั อมรินทรพ รนิ้ ต้งิ แอนดพบั ลชิ ชิ่ง จาํ กดั (มหาชน), กรุงเทพฯ.
อมลรตั น บวั คลา ย. 2548. ความหลากหลายของกลว ยไมบ รเิ วณเขาเขยี ว อทุ ยานแหง ชาตเิ ขาใหญ. วทิ ยานพิ นธป รญิ ญาโท,

จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย.
ออ พร เผือกคลา ย. 2554. ความหลากหลายของกลวยไมใ นอทุ ยานแหง ชาติทงุ แสลงหลวง. วิทยานพิ นธป รญิ ญาโท,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
Ansari, R. & Balakrishnam, N. P. 1990. Orchid Monographs vol. 4: A Revision of the Indian Species of

Oberonia (ORCHIDACEAE). Rijksherbarium/Hortus Botanicus, Leiden.
Comber, J. B. 1990. Orchids of Java. Royal Botanic Gardens, Kew, England.
Bunpha, K. 2013. The Genus Oberonia Lindl. (Orchidaceae) in Thailand. A Thesis Submitted in partial Fulfillment

of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy in Biology. Prince of Songkla University.
Downie, D. G. 1925. Contributions to the Flora of Siam: Additamentum XVI. Bulletin of Miscellaneous

Information Kew 9: 367–394.
Guanghua, Z., Zhanhe J., Wood, J. J. & Wood, H. P. 2009. Dendrobium Swartz. In: Wu, Z., Raven,

P. H. & Hong, D. (eds), Flora of China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical
Garden Press, St. Louis. pp. 367–397.
Holttum, R. E. 1957. A Revised Flora of Malaya vol. 1: Orchids of Malaya. Government Printing Office,
Singapore.
Pearce, N. R. & Cribb, P. J. 2002. The Orchids of Bhutan 3 (3). Royal Botanic Garden Edinburgh.
Pedersen, H. Æ., Kurzweil, H., Suddee, S. & Cribb, P. J. 2011. Orchidaceae. In: Santisuk, T. & Larsen, K.
(eds), Flora of Thailand 12 (1). Prachachon Co. Ltd. pp. 1–302.
Pedersen, H. Æ., Kurzweil, H., Suddee, S., De Vogel, E. F., Cribb, J. P., Chantanaorrapint, S., Watthana,
S., Gale, S. W., Seelanan, T., & Suwanphakdee, C. 2014. Orchidaceae. In: Santisuk, T. & Larsen, K.
(eds), Flora of Thailand 12 (2). Prachachon Co. Ltd. pp. 303–670.
Rchb. f., H. C. 1867. New Plants. The Gardeners’ Chronicle and Agricultural Gazette 1:572.

228 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

บรรณานุกรม

Seidenfaden, G. 1969. Notes on the Genus Ione. Botanisk Tidsskrift 64: 205–238.

Seidenfaden, G. 1971. Notes on the Genus Luisia. Dansk Botanisk Arkiv 27 (4): 1–101.

Seidenfaden, G. 1985. Contributions to the orchid flora of Thailand XI. Nordic Journal of Botany 5 (2):
157–167.

Seidenfaden, G. 1985. Orchid Genera in Thailand XII-Dendrobium Sw. Opera Botanica 83: 1–295.

Seidenfaden, G. & Smitinand, T. 1962. The Orchids of Thailand A Preliminary List. The Siam Society
4 (1): 517–647.

Seidenfaden, G. & Wood. J. J. 1992. The Orchids of Peninsular Malaysia and Singapore. The Royal
Botanic Garden, Kew & Botanic Garden, Singapore.

Tetsana, N. 2013. The Genus Liparis Rich. (Orchidaceae) in Thailand. A Thesis Submitted in partial Fulfillment
of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy in Biology. Prince of Songkla University.

Thaitong, O. 1999. Orchids of Thailand. Office of Environmental Policy and Planning, Bangkok.

Xinqi, C. & Vermeulen, J. J. 2009. Bulbophyllum Thouars. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D. (eds),
Flora of China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
pp. 404–440.

Xinqi, C. & Vermeulen, J. J. 2009. Sunipia. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 440–444.

Xinqi, C. & Vermeulen, J. J. 2009. Aerides Loureiro. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D.(eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp.
485–486.

Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Appendicula Blume. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 363–364.

Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Ascocentrum. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 502–503.

Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Cleisostoma Blume. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 458–463.

Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Epigeneium. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 400–404.

Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Papilionthe. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 477–478.

Xinqi, C. & Wood, J. J. (2009). Staurochilus. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 454–455.

Xinqi, C., Yibo, L. & Wood, J. J. (2009). Cylindrolobus. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. Deyuan, H. (eds),
Flora of China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
pp. 346–348.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 229

ดัชนีช่อื พื้นเมอื ง

กระด่งิ ภู 193 พดั นางชนี อ ย 174 หญาดอกหนิ 189
กระตา ยหูเดียว 217 พายทองเมืองกาณจน 53 หญา เปราะนก 166
กลว ยมดดอกขาว 138 พึง 185 หวายเขียว 195
กลว ยไมด ง 68 พมุ ขาวตอก 71 หวายนอ ยภูหลวง 128
กลวยไมดง 186 พมุ ขาวบิณฑ 69 หวายปม 111
กลวยไมดิน 189 โพดอนแหล 121 หวายปม 125
กลวยหิน 189 มอนไขใบขน 133 หางแมงเงา 38
กะเรกะรอ นดา มขา ว 86 มาว่ิง 188 เหยอื กนาํ้ ดอย 28
กะเรกะรอนภหู ลวง 88 มอื ชะนี 131 อัว้ 70
กับแกะ 133 แมงมมุ เหลือง 217 อวั้ ดอกขาว 71
กา งปลา 74 รองเทา นารปี ก แมลงปอ 181 เอื้องกระเจ้ยี ง 142
ขาวตอกภูหลวง 129 รองเทานารีสุขะกลู 180 เอื้องกระตา ยหูลู 140
ขาวตอกฤาษี 71 ละเม็ด 189 เอื้องกลบี เกลยี ว 72
เขาแกะ 41 ลิ้นฟา 61 เอื้องกลีบผอม 217
คาํ สบนก 33 ลิ้นแรด 79 เอื้องกลบี มวนดอกสม 204
คลู ปู ากแหลม 42 วา นปา ว 37 เอื้องกวา ง 143
งูเขียวปากมวง 170 วานพรา ว 36 เอื้องกวาว 185
จุกพราหมณ 30 วา นไหมนา 34 เออ้ื งกาํ ลงั เอก 137
จุหลนั 91 สรอ ยระยา 176 เออ้ื งกิ่งดาํ 112
เฒา นัง่ ฮงุ 67 สองอนงคป ากมว ง 152 เออ้ื งกหุ ลาบกระเปา เปด 33
ดอกผ้ึง 185 สามกอ ม 218 เออ้ื งกหุ ลาบปา 33
แดงอบุ ล 189 สามปอยขาว 223 เออ้ื งกุหลาบพวง 32
ตะขาบเหลอื ง 216 สามปอยชมพู 221 เออ้ื งกหุ ลาบสระบรุ ี 197
ตนี ตะขาบ 217 สามปอยแพะ 221 เอื้องขนคาง 131
เตอสี่เรโ คะ 199 สาํ เภางาม 94 เอื้องขยกุ ขยยุ 48
นมหนหู วั กลม 31 สาํ เภาอินทนนท 92 เอื้องขอ 111
นางคํา 90 สงิ โตกลีบมวน 54 เอื้องขา วนก 164
นางอ้วั พมุ 160 สงิ โตกานหลอด 46 เอื้องขาวบิณฑ 69
นมิ มานรดี 151 สงิ โตงาม 45 เอื้องขค้ี รั่ง 41
บานจวน 198 สงิ โตชอน 63 เอื้องเขม็ มว ง 40
เบีย้ ไมภูหลวง 156 สงิ โตชอ นทอง 62 เออ้ื งเขาแกะใหญ 41
ปกกนิ รี 167 สงิ โตนพิ นธ 56 เออ้ื งไขไก 183
ปก นก 195 สงิ โตประหลาด 44 เอือ้ งครงั่ ฝอย 41
พญาแรด 79 สงิ โตพดั ภูหลวง 64 เออ้ื งครง่ั แสด 136
พญาไรใ บ 185 สิงโตพมุ 55 เออ้ื งคางกบ 183
พรมหอมไม 155 สิงโตภูหลวง 59 เออ้ื งคางอม 194
พรรณี 154 สิงโตเมอื งกาญจน 52 เออ้ื งคํา 102
พวงหยก 110 สิงโตเล้ือย 58 เออ้ื งคาํ ขน 151
พอซางดี 133 สิงโตสยาม 60 เออ้ื งคาํ ดอกสรอ ย 50
พอนีโ้ คะ 103 เสือแผว 200 เอื้องคําตา 103

230 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ดัชนีช่อื พน้ื เมอื ง

เออ้ื งคาํ ตาดาํ 109 เออ้ื งเทียนสสี ม 78 เอ้อื งล้ินดาํ ใหญ 171
เอ้ืองคํานอย 108 เออ้ื งนกนอย 221 เออ้ื งเลยี่ ม 67
เอื้องคําปอน 104 เออ้ื งนวลจันทร 199 เออ้ื งแววมยุรา 109
เอื้องคําปา 104 เอื้องนางนี 131 เอื้องศรีเที่ยง 143
เอื้องคาํ ปากไก 135 เอื้องน้าํ ตน 66 เอื้องสะอาง 153
เอื้องคาํ ปว 104 เอือ้ งนม่ิ กลีบจัก 146 เอื้องสามปอยขาว 223
เอื้องคาํ ภู 135 เอื้องนิม่ ภู 153 เอื้องสามปอยขนุ ตาล 223
เอื้องคําสบนก 33 เอื้องนิ้วนาง 155 เอื้องสามปอยดง 222
เอื้องคําหนิ 151 เอื้องบายศรี 150 เอื้องสามปอยแพะ 220
เอื้องคาํ เหลีย่ ม 134 เอื้องเบ้ียไมใบขน 219 เออ้ื งสายนา้ํ เขยี ว 127
เอื้องแคระ 51 เอื้องใบบวั บก 173 เออ้ื งสายน้ําผึง้ 127
เออ้ื งงวงชาง 141 เออ้ื งใบไผ 104 เออ้ื งสายประสาท 126
เออ้ื งเงนิ หลวง 119 เออ้ื งปากคู 162 เออ้ื งสายมรกต 100
เออ้ื งฉุน 82 เออ้ื งปากงุมภหู ลวง 158 เออ้ื งสายสแี สด 137
เออ้ื งชะนี 130 เออ้ื งปากเปด 33 เออ้ื งสายเหลือง 127
เออ้ื งชะนเี หลอื ง 155 เออ้ื งผมเงอื ก 197 เออ้ื งสจี นุ 117
เออ้ื งแซะดง 117 เออ้ื งผมผีพราย 197 เออ้ื งสตี าล 116
เออ้ื งแซะดอยปุย 97 เออ้ื งผพี ราย 144 เออ้ื งสีลา 212
เออ้ื งแซะภู 96 เออ้ื งผ้งึ 120 เออ้ื งสุริยัน 114
เออ้ื งแซะภกู ระดงึ 98 เออ้ื งไผ 104 เอ้ืองเสือโครง 202
เออ้ื งแซะหมน 99 เออ้ื งพลายงาม 192 เอื้องเสือนอย 201
เออ้ื งดอกเทยี น 43 เออ้ื งพลายชุมพล 193 เอื้องหนวดพราหมณ 196
เออ้ื งดามขาว 33 เออ้ื งฟน ปลา 209 เอื้องหมาก 84
เออ้ื งดิน 199 เออ้ื งมอนไขใ บขน 132 เออ้ื งหางกระรอก 167
เออ้ื งดินนอ ยปากกาง 224 เออ้ื งมัจฉา 123 เออ้ื งหนิ 80
เออ้ื งดนิ นอ ยปากเหลอื ง 228 เออ้ื งมจั ฉาณุ 122 เอ้อื งหชู าง 141
เอื้องดนิ ใบบวั 172 เอ้ืองมอื คา ง 131 เอื้องอนิ ทนนท 182
เอื้องดนิ ลาว 199 เอื้องแมงภู 183 เอื้องอฮี ยุ 131
เอื้องตะขาบภูหลวง 214 เอื้องแมงมุมขาว 217
เอื้องตาเข็ม 208 เอื้องโมก 185
เออ้ื งตาลหิน 148 เออ้ื งโมกกุหลาบ 184
เอื้องตาเหิน 118 เออ้ื งไมเทาษี 124
เอื้องตุกแก 201 เออ้ื งรงรอง 178
เอื้องทอง 106 เออ้ื งไรใ บ 210
เอื้องทบั ทิมภหู ลวง 206 เออ้ื งลายเสือ 203
เอื้องเทยี น 76 เอ้ืองลาํ ตอ 190
เอื้องเทียน 104 เอื้องลําเทียน 77
เอื้องเทยี น 185 เอื้องลําเทยี นปากดํา 77
เออ้ื งเทียนนอ ย 81 เอื้องลาํ เทียนปากลาย 83
เอื้องเทยี นลําเขยี ว 83 เอื้องล้นิ ดํา 168

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 231


Click to View FlipBook Version