The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กล้วยไม้ในกลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กล้วยไม้ในกลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว

กล้วยไม้ในกลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว

¡ ÅŒÇÂäÁŒ
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex

¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹้ํÒ˹ÒÇ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex

ทปี่ รึกษา ดร.จาํ ลอง เพ็งคลา ย ดร.กอ งกานดา ชยามฤต
นางลีนา ผูพฒั นพงศ นายณรงค มหรรณพ

ดร.สมราน สุดดี ดร.วรดลต แจม จาํ รูญ

เนอื้ หา ขอ มูลพ้นื ฐานกลมุ ปาภูเขยี ว-นาํ้ หนาว นายมานพ ผูพัฒน

คําบรรยายกลวยไม นางสาวนันทวรรณ สุปนตี

นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธ์ิ

ภาพประกอบ นายปรีชา การะเกตุ นางสาวนัยนา เทศนา นายสคุ ดิ เรอื งเรอ่ื
นายภทั ธรวรี  พรมนัส
นายมานพ ผูพัฒน นางสาวโสมนสั สา แสงฤทธิ์
นางสาวกนกอร บญุ พา
นางสาวออพร เผือกคลาย

ประสานงาน นางสาวโสมนสั สา แสงฤทธ์ิ นางดวงใจ ชนื่ ชมกลนิ่

ปกและรปู เลม นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธิ์

ปกหนา นางคาํ (Cymbidium ensifolium (L.) Sw.)

ปกหลงั สิงโตเมอื งกาญจน (Bulbophyllum kanburiense Seidenf.)

จัดพิมพโ ดย สาํ นกั งานหอพรรณไม สาํ นกั วจิ ยั การอนรุ กั ษป า ไมแ ละพนั ธพุ ชื กรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า
และพันธุพืช ภายใตแผนงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในกลุมปาภูเขียว-น้ําหนาว แผนงานอนุรักษและ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตที่ 1 พ้ืนที่ปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟู และ
พฒั นาปาไม กจิ กรรมบรหิ ารจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ โครงการวจิ ยั พรรณไมท มี่ ศี กั ยภาพเปน ไมป ระดบั

ในกลมุ ปา ภเู ขยี ว-น้ําหนาว

พมิ พค รง้ั ที่ 1 จาํ นวน 500 เลม สาํ หรบั เผยแพร หา มจาํ หนา ย สงวนลขิ สทิ ธิ์ พ.ศ. 2559

พิมพท ่ี โรงพมิ พชมุ นมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด
79 ถนนงามวงศว าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900

ขอมลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แหงชาติ

มานพ ผพู ัฒน.
กลว ยไมในกลมุ ปา ภเู ขยี ว-นา้ํ หนาว.-- กรงุ เทพฯ : สํานกั งานหอพรรณไม กรมอทุ ยานแหงชาติ สัตวปา และ

พันธพุ ชื , 2559. 240 หนา.

1. กลวยไม. I. นันทวรรณ สปุ นตี, ผแู ตง รว ม. II. โสมนสั สา แสงฤทธิ์, ผูแตงรวม. III. กรมอทุ ยานแหงชาติ

สัตวปา และพนั ธพุ ชื . สาํ นกั งานหอพรรณไม. IV. ชอื่ เร่ือง.

635.9344

ISBN 978-616-316-310-3

คาํ นาํ

สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช ดําเนินโครงการพรรณไม
ที่มศี กั ยภาพเปน ไมป ระดบั ในกลมุ ปา ภเู ขยี ว-นาํ้ หนาว ซง่ึ เปน โครงการวจิ ยั ภายใตแ ผนงานวจิ ยั ความ
หลากหลายทางชีวภาพในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว แผนงานอนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ผลผลิตที่ 1 พ้ืนท่ีปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาปาไม
กจิ กรรมบรหิ ารจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ ซงึ่ จากการออกสาํ รวจและเกบ็ ตวั อยา งในพน้ื ท่ี
ศึกษาทําใหพบพืชที่มีศักยภาพเปนไมประดับในหลายวงศ โดยเฉพาะพืชในวงศกลวยไมซึ่งมีความ
หลากหลายของรปู แบบ ขนาด และสสี รรของดอกทส่ี วยงาม แปลกตา และแตกตา งกนั ไปในแตล ะสกลุ
และชนดิ และไดร บั ความนยิ มเปน อยา งยงิ่ ในการปลกู เปน ไมป ระดบั ในปแ รกของการดาํ เนนิ โครงการ
ทางทีมงานวิจยั จึงไดร วบรวมภาพถายของกลว ยไมซ ่งึ ไดตรวจสอบชนดิ ชอื่ วิทยาศาสตร และขอมูล
การออกดอก จาํ นวน 100 ชนดิ เผยแพรใ นรปู ของโปสเตอร ความหลากหลายของกลว ยไมใ นกลมุ ปา
ภูเขยี ว-นํ้าหนาว

การดําเนินงานในปสุดทายของโครงการ ทางทีมงานวิจัยจึงไดตรวจสอบรวบรวมขอมูล
กลว ยไมท ้ัง 100 ชนดิ มาจดั พิมพเ ปนหนงั สือกลวยไมใ นกลุมปาภูเขียว-นา้ํ หนาว โดยเน้อื หาในเลม
ประกอบไปดวยขอมูลพ้ืนฐานของกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว ลักษณะโดยทั่วไปของกลวยไม
ช่ือ พ ฤ กษศ า ส ต รของกลวยไมท่ีถูกตอง คําบรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตร ขอมูลนิเวศวิทยา
และการกระจายพนั ธุ และเขตการกระจายพนั ธุ ซงึ่ สามารถใชอ า งองิ ในทางวชิ าการดา นพฤกษศาสตร
ไดเ ปนอยา งดี เพ่อื เผยแพรส ําหรบั ผูทส่ี นใจไดนาํ ไปใชป ระโยชนต อ ไป

คํานิยม

คณะผูวจิ ยั โครงการพรรณไมท มี่ ศี กั ยภาพเปน ไมป ระดบั ในกลมุ ปา ภเู ขยี ว-นาํ้ หนาว ขอขอบคณุ
นายณรงค มหรรณพ ผูอํานวยการสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช นายวิชัย ออนนอม
หัวหนาสํานักงานหอพรรณไม ที่ใหการสนับสนุนการดําเนินการศึกษาวิจัยโครงการ ขอขอบคุณ
ดร.สมราน สุดดี และ ดร.วรดลต แจมจํารูญ ในการใหคําแนะนําในการจัดทําหนังสือเลมน้ี

ขอขอบคุ ณ เจาหนาที่อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และวนอุทยาน ในกลุมปา
ภูเขยี ว-นา้ํ หนาว ทีใ่ หความชว ยเหลืออยา งดียิ่งในการปฏบิ ตั งิ านภาคสนามและรว มดาํ เนินการสํารวจ
พรรณพืชอยางตอเนื่อง และขอขอบคุณนางสุมาลี นาคแดง นางดวงใจ ชื่นชมกลิ่น นางสาวสุมาลี
สมงาม และนางสาวพรพมิ ล ครพิรณุ ท่ใี หค วามชว ยเหลอื การดาํ เนินงานดานธรุ การ

ขอขอบคุ ณ เจาหนาที่โครงการ การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในพ้ืนที่
กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว ที่ชวยใหโครงการดําเนินไปดวยความราบรื่น

สารบญั หนา

ขอมูลพ้ืนฐานกลมุ ปาภูเขยี ว-น้ําหนาว 1
27
วงศกลว ยไม (Orchidaceae) 28
30
เหยือกนํ้าดอย (Acanthophippium gougahensis (Guillaumin) Seidenf.) 32
34
จกุ พราหมณ (Acriopsis indica Wight) 36
38
เออ้ื งกหุ ลาบพวง (Aerides falcata Lindl. & Paxton) 40
42
วานไหมนา (Anoectochilus setaceus Blume) 44
46
วานพรา ว (Anthogonium gracile Wall. ex Lindl.) 48
50
หางแมงเงา (Appendicula cornuta Blume) 52
54
เอื้องเขม็ มวง (Ascocentrum ampullaceum (Roxb.) Schltr.) 56
58
คูลปู ากแหลม (Brachycorythis acuta (Rchb. f.) Summerh.) 60
62
สิงโตประหลาด (Bulbophyllum affine Wall. ex Lindl.) 64
66
สงิ โตกานหลอด (Bulbophyllum capillipes C. S. P. Parish & Rchb. f.) 68
70
เอื้องขยกุ ขยยุ (Bulbophyllum dayanum Rchb. f.) 72
74
เออ้ื งคําดอกสรอย (Bulbophyllum gymnopus Hook. f.) 76
78
สงิ โตเมอื งกาญจน (Bulbophyllum kanburiense Seidenf.) 80
82
สิงโตกลีบมว น (Bulbophyllum khasyanum Griff.) 84
86
สิงโตนิพนธ (Bulbophyllum nipondhii Seidenf.) 88
90
สงิ โตเลื้อย (Bulbophyllum reptans (Lindl.) Lindl. ex Wall.) 92

สงิ โตสยาม (Bulbophyllum siamense Rchb. f.)

สิงโตชอ นทอง (Bulbophyllum spathulatum (Rolfe ex E. W. Cooper) Seidenf.)

สิงโตพดั ภหู ลวง (Bulbophyllum taeniophyllum C. S. P. Parish & Rchb. f.)

เออ้ื งนาํ้ ตน (Calanthe cardioglossa Schltr.)

กลวยไมด ง (Calanthe lyroglossa Rchb. f.)

อว้ั (Calanthe triplicata (Willemet) Ames)

เอื้องกลบี เกลยี ว (Cephalantheropsis obcordata (Lindl.) Ormerod)

กางปลา (Cleisostoma fuerstenbergianum Kraenzl.)

เอ้อื งเทยี น (Coelogyne brachyptera Rchb. f.)

เอ้อื งเทียนสสี ม (Coelogyne brunea Lindl.)

เออ้ื งหนิ (Coelogyne flaccida Lindl.)

เอื้องฉนุ (Coelogyne lentiginosa Lindl.)

เออ้ื งหมาก (Coelogyne trinervis Lindl.)

กะเรกะรอ นดามขา ว (Cymbidium bicolor Lindl.)

กะเรกะรอ นภหู ลวง (Cymbidium devonianum Paxton)

นางคํา (Cymbidium ensifolium (L.) Sw.)

สําเภาอินทนนท (Cymbidium mastersii Griff. ex Lindl.)

สารบญั หนา

สําเภางาม (Cymbidium seidenfadenii (P. J. Cribb & Du Puy) P. J. Cribb) 94
96
เอื้องแซะภู (Dendrobium bellatulum Rolfe) 98
100
เอื้องแซะภกู ระดงึ (Dendrobium christyanum Rchb. f.) 102
104
เออ้ื งสายมรกต (Dendrobium chrysanthum Wall. ex Lindl.) 106
108
เออ้ื งคาํ (Dendrobium chrysotoxum Lindl.) 110
112
เอ้ืองเทยี น (Dendrobium dixanthum Rchb. f.) 114
116
เอื้องทอง (Dendrobium ellipsophyllum Tang & F. T. Wang) 118
120
เอื้องคาํ นอย (Dendrobium fimbriatum Hook.) 122
124
พวงหยก (Dendrobium findlayanum C. S. P. Parish & Rchb. f.) 126
128
เออ้ื งกิ่งดาํ (Dendrobium gratiotissimum Rchb. f.) 130
132
เออ้ื งสุรยิ ัน (Dendrobium henryi Schltr.) 134
136
เออ้ื งสีตาล (Dendrobium heterocarpum Lindl.) 138
140
เออ้ื งตาเหิน (Dendrobium infundibulum Lindl.) 142
144
เอื้องผงึ้ (Dendrobium lindleyi Steud.) 146
148
เอ้อื งมจั ฉาณุ (Dendrobium palpebrae Lindl.) 150
152
เอ้อื งไมเทา ฤาษี (Dendrobium pendulum Roxb.) 154
156
เอื้องสายประสาท (Dendrobium polyanthum Wall. ex Lindl.) 158
160
หวายนอยภูหลวง (Dendrobium proteranthum Seidenf.) 162

เอือ้ งชะนี (Dendrobium senile C. S. P. Parish & Rchb. f.)

เออ้ื งมอนไขใ บขน (Dendrobium thyrsiflorum Rchb. f. ex André)

เออ้ื งคาํ เหลี่ยม (Dendrobium trigonopus Rchb. f.)

เอื้องครัง่ แสด (Dendrobium unicum Seidenf.)

กลวยมดดอกขาว (Didymoplexis pallens Griff.)

เอื้องกระตายหลู ู (Diploprora truncata Rolfe ex Downie)

เออ้ื งกระเจีย้ ง (Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh.)

เออ้ื งผพี ราย (Eria amica Rchb.f.)

เอื้องนิม่ กลบี จัก (Eria carinata Gibson)

เอื้องตาลหนิ (Eria discolor Lindl.)

เออ้ื งบายศรี (Eria lasiopetala (Willd.) Ormerod)

สองอนงคปากมวง (Eria marginata Rolfe)

พรรณี (Eria pannea Lindl.)

เบยี้ ไมภ หู ลวง (Eria pusilla (Griff.) Lindl.)

เอ้อื งปากงุม ภูหลวง (Eriodes barbata (Lindl.) Rolfe)

นางอ้ัวพุม (Habenaria rumphii (Brongn.) Lindl.)

เอื้องปากคู (Liparis bootanensis Griff.)

สารบัญ หนา

เอ้ืองขา วนก (Liparis caespitosa (Lam.) Lindl.) 164
166
หญา เปราะนก (Liparis regnieri Finet) 168
170
เอื้องล้ินดาํ (Luisia psyche Rchb. f.) 172
174
งูเขยี วปากมว ง (Luisia thailandica Seidenf.) 176
178
เอื้องดนิ ใบบัว (Nervilia crociformis (Zoll. & Moritzi) Seidenf.) 180
182
พัดนางชนี อ ย (Oberonia emarginata King & Pantl.) 184
186
สรอ ยระยา (Otochilus fuscus Lindl.) 188
190
เออ้ื งรงรอง (Panisea uniflora Lindl.) 192
194
รองเทา นารสี ุขะกูล (Paphiopedilum sukhakulii Schoser & Senghas) 196
198
เอ้ืองอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) 200
202
เอื้องโมกกหุ ลาบ (Papilionanthe teres (Roxb.) Schltr.) 204
206
กลวยไมดง (Phaius mishmensis (Lindl. & Paxton) Rchb. f.) 208
210
มาว่ิง (Phalaenopsis pulcherrima (Lindl.) J. J. Sm.) 212
214
เอื้องลาํ ตอ (Pholidota articulata Lindl.) 216
218
เอื้องพลายงาม (Pleione maculata (Lindl.) Lindl. & Paxton) 220
222
เอ้ืองคางอม (Polystachya concreta (Jacq.) Garay & H. R. Sweet) 224
226
เออ้ื งหนวดพราหมณ (Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay) 228
230
บานจวน (Spathoglottis pubescens Lindl.)

เสือแผว (Staurochilus dawsonianus (Rchb. f.) Schltr.)

เอ้อื งเสอื โครง (Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl.)

เอื้องกลบี มว นดอกสม (Stichorkis gibbosa (Finet) J. J. Wood)

เอื้องทับทมิ ภูหลวง (Sunipia minor (Seidenf.) P. F. Hunt)

เอื้องตาเข็ม (Sunipia scariosa Lindl.)

เอื้องไรใบ (Taeniophyllum glandulosum Blume)

เอื้องสีลา (Tainia viridifusca (Hook.) Benth. & Hook. f.)

เอือ้ งตะขาบภูหลวง (Thrixspermum acoriferum (Guillaumin) Garay)

ตะขาบเหลือง (Thrixspermum centipeda Lour.)

สามกอม (Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl.)

เอ้ืองสามปอยแพะ (Vanda bensonii Bateman)

เอื้องสามปอยดง (Vanda denisoniana Benson & Rchb. f.)

เออ้ื งดนิ นอ ยปากกาง (Zeuxine affinis (Lindl.) Benth. ex Hook. f.)

เอื้องดนิ นอยปากเหลอื ง (Zeuxine flava (Wall. ex Lindl.) Trimen)

บรรณานกุ รม

ดรรชนชี ่ือพนื้ เมอื ง

ขอ มลู พนื้ ฐานกลุมปาภูเขยี ว-น้ําหนาว

ความสาํ คญั ของกลุมปา

กรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ชื ไดจ ดั พน้ื ทค่ี มุ ครองในประเทศไทยออกเปน 19 กลมุ
โดยใชห ลกั เกณฑพ น้ื ฐานตา ง ๆ เชน ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ สภาพปา ลมุ นา้ํ การกระจายของพนั ธพุ ชื
พันธุสัตว โดยเฉพาะสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญ เปนการจัดการพื้นท่ีคุมครองภายในกลุมปา
อยางบรู ณาการ เพ่ือมุง ใหการจัดการเปนลกั ษณะเชิงระบบนเิ วศ ใหเ กิดผนื ปา ขนาดใหญทส่ี ามารถ
อนรุ กั ษความหลากหลายทางชวี ภาพไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ (คณะวนศาสตร, 2555) โดยแบง เปน
กลุมปา ทางบก 17 แหง และกลมุ ปา ทางทะเล 2 แหง

จากการศึกษาของคณะวนศาสตร (2555) ในโครงการศึกษาความเหมาะสมในการจัดทํา
แนวเชอื่ มตอ ทางนเิ วศของผนื ปา ในกลมุ ปา ทส่ี าํ คญั ของประเทศไทย โดยใชด ชั นภี มู ภิ าพ (landscape
index) พบวากลมุ ปาภูเขียว-น้ําหนาว ถกู จดั ใหเปนกลมุ ปาทางบกที่มคี วามสาํ คญั และความมน่ั คง
ของระบบนเิ วศในลาํ ดบั ที่ 3 รองจากกลมุ ปา ตะวนั ตก และกลมุ ปา ดงพญาเยน็ -เขาใหญ (จากทงั้ หมด
17 กลุม ปาทางบก) ซงึ่ มเี หตผุ ลสนบั สนุนใหก ลมุ แหง น้ีมีความสาํ คัญคอื เปนกลมุ ปาท่มี สี ภาพของ
สงิ่ ปกคลมุ ดนิ ทป่ี รากฏอยใู นกลมุ ปา และสภาพของหยอ มทอี่ าศยั ของสตั วป า สาํ คญั 6 ชนดิ ทปี่ รากฏ
อยูในกลุมปาโดยรวมที่ดี ท้ังน้ีรายละเอียดของคาดัชนีภูมิภาพยังระบุวา กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว
เปน กลมุ ปาทม่ี ีความหลากหลายของสงั คมพืชมากท่ีสุดกวากลมุ ปา อนุรกั ษอ ื่น ๆ ทั่วประเทศ และ
มีการปรากฏชนิดพันธุพืชหายากและพืชถิ่นเดียวจํานวนมาก อันเปนผลมาจากการตั้งอยูในเขต
ชีวภูมิศาสตรของพืชพรรณในกลุมพรรณพฤกษชาติภูมิภาคอินโดจีนและกลุมพรรณพฤกษชาติ
ภมู ภิ าคอนิ เดยี -พมา นอกจากนก้ี ลมุ ปา ภเู ขยี ว-นา้ํ หนาวยงั มคี วามสาํ คญั ในดา นความเชอื่ มโยงระดบั
ประเทศ กลา วคอื เช่อื มโยงทางระบบนเิ วศกับกลุม ปาดงพญาเยน็ -เขาใหญ ทางดานใตของกลมุ ปา
ภูเขียว-น้ําหนาวตามแนวเทือกเขาพังเหยและเทือกเขาดงพญาเย็น และเชื่อมโยงทางระบบนิเวศ
กับกลุมปาภูเม่ียง-ภูทอง ทางดานตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวเทือกเขาเพชรบูรณ ดังน้ันกลุมปา
ภูเขียว-นํ้าหนาวจึงมีความเหมาะสมท่ีจะไดรับการคัดเลือกใหเสนอชื่อข้ึนทะเบียนเปนมรดกโลก
ทางธรรมชาติ แหงท่ี 3 ของประเทศไทยในลําดับถัดไป

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 1 1

ขอ มูลท่วั ไป

กลมุ ปา ภเู ขยี ว-นาํ้ หนาว ตงั้ อยรู ะหวา งเสน รงุ ที่ 15°19'18''–17°33'00'' เหนอื และเสน แวง
ที่ 101°16'00''–102°43'50'' ตะวันออก มีพ้ืนที่ประมาณ 4.99 ลานไร หรือประมาณ 799,050
เฮกแตร ตั้งอยูในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ครอบคลุมพื้นท่ี 6 จังหวัด คือ
จังหวัดเพชรบูรณ เลย หนองบัวลําภู ขอนแกน ชัยภูมิ และลพบุรี มีพ้ืนท่ีปาอนุรักษทั้งส้ิน 19
หนวยงาน แบงเปนอุทยานแหงชาติ 13 แหง และเขตรกั ษาพันธุสตั วป า 6 แหง ดังน้ี (ตารางท่ี 1
และ ภาพท่ี 1)

ตารางที่ ๑ พ้นื ทีป่ า อนรุ ักษใ นกลมุ ปาภูเขยี ว-นา้ํ หนาว

จงั หวัด อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพนั ธสุ ตั วป า
เลย เขตรักษาพนั ธุสตั วป าภหู ลวง
เพชรบรู ณ อุทยานแหงชาตภิ เู รือ เขตรกั ษาพันธุสตั วปา ภูคอ-ภูกระแต
อุทยานแหง ชาตภิ ูกระดงึ เขตรักษาพันธุส ตั วป าภูผาแดง
ขอนแกน อุทยานแหง ชาตินา้ํ หนาว เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า ตะเบาะ-หว ยใหญ
อุทยานแหงชาติตาดหมอก
ชยั ภูมิ อุทยานแหงชาตภิ ูผามาน เขตรกั ษาพันธุสัตวป าผาผง้ึ
อุทยานแหงชาตภิ เู วยี ง เขตรกั ษาพนั ธุส ัตวปา ภูเขียว
หนองบัวลําภู อุทยานแหงชาติน้ําพอง
ลพบรุ ี อุทยานแหง ชาติภแู ลนคา เขตรกั ษาพันธุสตั วป าซับลงั กา
อทุ ยานแหงชาตติ าดโตน
อทุ ยานแหงชาติไทรทอง
อุทยานแหงชาติปาหนิ งาม
อุทยานแหงชาตภิ ูเกา -ภพู านคาํ

2 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

แผนทแ่ี สดงพืน้ ทกี่ ลมุ ปา ภูเขยี ว-นํา้ หนาว

ภาพที่ 1 พ้นื ที่ปา อนรุ ักษในกลมุ ปาภูเขยี ว-น้ําหนาว 3

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex

ลักษณะภมู ศิ าสตรและธรณวี ิทยา

กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และมีพ้ืนท่ี
บางสวนติดตอกับพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนลาง พื้นท่ีสวนใหญอยูในแนวเทือกเขาเพชรบูรณตะวันออก
มรี ะดบั ความสงู 150–1,571 เมตร จากระดบั นา้ํ ทะเลปานกลาง ยอดเขาสงู สดุ ทสี่ าํ คญั ไดแ ก ภหู ลวง
(1,571 เมตร) ภเู รอื (1,364 เมตร) ภกู ระดงึ (1,316 เมตร) ภดู า นอปี อ ง (1,271 เมตร) เขาโปง ทองหลาง
(1,310 เมตร) ภคู ง้ิ (1,16 เมตร) ภคู ี (1,038 เมตร) ภพู งั เหย (1,008 เมตร) และภเู วยี ง (844 เมตร)
โดยแนวเทอื กเขาเหลา นเี้ กดิ จากการยกตวั ของแผน จลุ ทวปี อนิ โดจนี (Indochina subcontinental
plate) ซง่ึ ถกู แผน จลุ ทวปี ฉาน-ไทย (Shan-Thai subcontinental plate) ทอ่ี ยดู า นตะวนั ตกบบี อดั
ทําใหช ั้นหนิ ทรายในชดุ หินโคราช (อายุ 245–66.4 ลา นปมาแลว) และหินตะกอนในชุดหินราชบุรี
(อายุ 286–245 ลา นปม าแลว ) เกดิ โคง งอเปน ลกู ฟกู แบบประทนุ ควาํ่ (anticline) และประทนุ หงาย
(syncline) สลับกนั ไป โครงสรางของเปลอื กโลกและความแกรง ของแตล ะชั้นหนิ ทีม่ คี วามทนทาน
ตอการพังทลายตางกันเม่ือถูกธารนํ้า น้ําฝน และสภาพภูมิอากาศกัดกรอนเปนเวลานาน จึงเกิด
สภาพภูมปิ ระเทศท่เี ปน เอกลกั ษณในแบบทร่ี าบสงู โคราชในปจ จบุ ัน

การเกดิ โครงสรา งประทนุ ควาํ่ ทาํ ใหด า นบนของโดมแตกหกั และพงั ทลายไดง า ย รอ งลาํ ธาร
และนํ้าฝนจะกัดกรอนจนกลายเปนแองที่ราบลอนคลื่น มีระดับความสูง 180–250 เมตร ไดแก
แองหนองบัวแดง-เกษตรสมบูรณ แองแกงครอ-เขื่อนอุบลรัตน ท้ังสองดานของประทุนควํ่าเปน
ขอบผาชัน (escarpment) ที่หันเขาหากัน และมีดานลาดหิน (dip slope) ทํามุมเอียงออกจาก
แกนประทุน ทั้งสองสวนน้ีเปนสัณฐานท่ีเรียกวา ภูเขารูปอีโต (cuesta mountain) มีความสูงท่ี
ขอบผาชนั 300–1,000 เมตร วางตัวเปนแนวยาวตอเน่ืองมาจากเทือกเขาดงพญาเย็นท่ีอยูดานใต
ของพน้ื ทกี่ ลมุ ปา โอบลอ มกลมุ ปา ภเู ขยี ว-นา้ํ หนาวดา นใต (ภพู งั เหย) ดา นตะวนั ออก (ภเู มง็ –ภพู านคาํ )
และตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูพานนอย) แลวตอเขาไปทางในประเทศลาวที่อําเภอสังคม จังหวัด
หนองคาย สาํ หรบั โครงสรา งแบบประทนุ หงายจะมขี อบผาชนั อยโู ดยรอบ และมมี มุ ลาดหนิ อยดู า นใน
ขอบผาชนั มคี วามสงู 300–1,500 เมตร ไดแ ก ภหู ลวง ภกู ระดงึ ภคู อ ภกู ระแต ภเู ขยี ว ภเู กา ภเู วยี ง
และภูแลนคา แลวยังมีบางภูไดถูกกัดกรอนพังทลายไปมากจนเหลือเปนเขาโดดดูคลายหอคอย
(monadnock) ไดแก ภหู อ ภดู านอีปอ ง (ภูผาจิต) และภตู ะเภา

สําหรับบริเวณดานตะวันตกและดานตะวันตกเฉียงเหนือของกลุมปา เปนแนวเทือกเขา
เพชรบูรณตะวันออกท่ีวางตัวในแนวทิศเหนือ-ใต แผนเปลือกโลกบริเวณนี้ถูกบีบอัดอยางรุนแรง
ทําใหชั้นหินดินดาน หินทราย หินปูนในชุดหินราชบุรี และหินอัคนี ท่ีอยูลึกลงไปใตชั้นหินทราย
ชุดหินโคราชถูกดันขึ้นมา เมื่อช้ันหินทรายดานบนถูกกัดกรอนหมดไปชั้นหินเหลาน้ีก็จะปรากฏข้ึน
เกิดภูเขาท่ีสูงชันและซับซอนในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง อุทยานแหงชาติตาดหมอก
เขตรักษาพันธุสัตวปาตะเบาะ-หวยใหญ และพื้นที่ดานตะวันตกของเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง
อุทยานแหงชาตินํ้าหนาว และเขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียว ในบริเวณชั้นหินปูนท่ีหนาและแกรง
หลงเหลือจากการพังทลายเกิดเปนภูมิประเทศแบบคารสต (karst) มีภูเขาหินปูนที่สูงชัน (karst

4 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

tower) สลับกับที่ราบ (karst plain) บริเวณท่ีสําคัญไดแก อุทยานแหงชาติภูผามาน และ
เขตรักษาพันธุสัตวปาผาผ้ึง นอกจากนี้ยังมีกลุมภูเขาหินปูนลูกโดดจํานวนมากกระจัดกระจายอยู
ทั่วไปในเขตจังหวัดเลย และหนองบัวลําภู (ภาพที่ 2)

ภาพที่ 2 สภาพภมู ิประเทศของกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว

สภาพภูมิอากาศ

พนื้ ทกี่ ลมุ ปา ภเู ขยี ว-นา้ํ หนาว มสี ภาพภมู อิ ากาศเชน เดยี วกบั พน้ื ทโี่ ดยรวมของประเทศไทย
ตอนบน (ตง้ั แตจ งั หวดั ประจวบครี ขี นั ธข นึ้ มา) แบบทงุ หญา เขตรอ น (tropical savannah climate)
คือ มีชวงฤดูฝนและชวงฤดูแลงแตกตางกันชัดเจน มีปริมาณนํ้าฝนมากกวารอยละ 80 ตกในชวง
ฤดฝู น สว นชว งฤดูแลงอากาศรอ นและแหง แลง มีฝนตกนอยมาก ฤดกู าลแบง เปน 3 ฤดู คอื ฤดูฝน
ประมาณ 5–6 เดอื น เริม่ ตัง้ แตก ลางเดือนพฤษภาคม–กลางเดือนตุลาคม มอี ากาศรอนและชมุ ชื้น
มฝี นตกชกุ ฝนทตี่ กมาจากอทิ ธพิ ลของลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตท พี่ ดั พาความชมุ ชน้ื มาจากมหาสมทุ ร

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 5

อินเดีย โดยเฉพาะในชวงปลายเดือนสิงหาคม–ตนเดือนตุลาคมจะมีฝนตกชุก เนื่องจากรองความ
กดอากาศต่ําเลื่อนลงมาพาดผานพื้นท่ี และอาจมีหยอมความกดอากาศต่ําหรือพายุหมุนเขตรอน
ที่กอตัวข้ึนมาในมหาสมุทรแปซิฟก หรือทะเลจีนใตพัดเขาสูภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ฤดูหนาวจะเร่ิมประมาณกลางเดือนตุลาคม–กลางเดือนกุมภาพันธ เน่ืองจากไดรับอิทธิพลของ
ลมมรุสมตะวันออกเฉียงเหนือโดยมีตนกําเนิดมาจากหยอมความกดอากาศสูงที่พาอากาศเย็นและ
แหง แลง มาจากเขตไซบเี รยี ผา นประเทศจนี และเวยี ดนามลงมา โดยจะเขา สภู าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ตอนบน และภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยกอน จงึ ทําใหพื้นท่ีท้ังสองภาคมีอากาศหนาวเย็น
ทส่ี ดุ ของประเทศ โดยเฉพาะจงั หวดั เลย หนองคาย บงึ กาฬ สกลนคร นครพนม และเชยี งราย ในชว ง
เดอื นธนั วาคม-มกราคม ความกดอากาศสงู กาํ ลงั แรงหลายระลอกเคลอ่ื นตวั ลงมาใกลภ าคตะวนั ออก
เฉยี งเหนอื ตอนบนมากทสี่ ดุ ในรอบป ทาํ ใหบ างสปั ดาหบ นภเู ขาทสี่ งู กวา 1,000 เมตร จะมอี ณุ หภมู ิ
ยอดหญา ลดลงถงึ จดุ เยอื กแขง็ เกดิ นาํ้ คา งแขง็ เกาะอยตู ามใบหญา และใบไมใ กลพ นื้ ดนิ หลงั จากนน้ั
จึงเขาสูฤดูรอนซ่ึงเร่ิมประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ–กลางเดือนพฤษภาคม ลมมรสุมตะวันออก
เฉียงเหนือมีกําลังออนลงและแปรปรวน ดวงอาทิตยคอย ๆ เคลื่อนผานประเทศไทยตอนบนขึ้นสู
ซกี โลกเหนอื ทาํ ใหพ นื้ ดนิ ไดร บั รงั สคี วามรอ นมากยง่ิ ขน้ึ และเกดิ เปน หยอ มความกดอากาศตา่ํ ปกคลมุ
ท่ีระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร สงผลใหอากาศในชวงนี้รอนจัดและแหงแลง อุณหภูมิสูงสุด
ในพ้ืนท่ีราบต่ําแตละวันจะมากกวา 35 องศาเซลเซียส บางวันอาจสูงกวา 40 องศาเซลเซียส แต
สาํ หรับในเขตภูเขาสงู กวา 1,000 เมตร อณุ หภมู ิจะไมสงู เกินกวา 30 องศาเซลเซยี ส

ขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา จากคามาตรฐาน 30 ป (ในชวงป พ.ศ. 2504–
2533) ของสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดเลย เพชรบูรณ ขอนแกน และชัยภูมิ พบวาท้ัง 4 จังหวัด
มีสภาพภูมิอากาศโดยรวมใกลเคียงกันมาก โดยจังหวัดเลยมีปริมาณน้ําฝนเฉล่ียรายปที่สูงกวา
เลก็ นอ ยและมอี ณุ หภมู เิ ฉลย่ี รายปท ต่ี าํ่ กวา จงั หวดั ขอนแกน ชยั ภมู ิ และเพชรบรู ณ ตามลาํ ดบั โดยชว ง
ขอ มลู สภาพอากาศของทงั้ 4 จงั หวดั มดี งั นี้ ปรมิ าณนาํ้ ฝนเฉลยี่ รายปร ะหวา ง 1,123–1,234 มลิ ลเิ มตร
อุณหภูมิต่าํ สดุ เฉลย่ี รายปร ะหวาง 20.07–22.24 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู สิ งู สุดเฉลย่ี รายปร ะหวา ง
31.98–33.22 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉล่ียรายประหวาง 26.02–27.40 องศาเซลเซียส ซ่ึง
สถานีตรวจวัดอากาศทั้ง 4 ตั้งอยูในพ้ืนที่ราบที่ระดับความสูงประมาณ 200 เมตร สําหรับขอมูล
จากสถานีตรวจวัดอากาศของหนวยงานภาคสนาม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
บรเิ วณหนว ยพทิ กั ษป า โคกนกกระบา บนยอดภหู ลวง ซงึ่ ตงั้ อยทู รี่ ะดบั ความสงู ประมาณ 1,450 เมตร
ขอ มลู ในป 2535–2536 มปี รมิ าณนา้ํ ฝนเฉลย่ี รายป 1,900–2,400 มลิ ลเิ มตร และขอ มลู ในป 2535
อณุ หภมู ติ าํ่ สดุ เฉลยี่ รายป 13.5 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู สิ งู สดุ เฉลย่ี รายป 22.5 องศาเซลเซยี ส และ
ไมมีเดือนใดทอี่ ุณหภมู ิสูงสุดเฉล่ยี จะสงู เกินกวา 30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉล่ยี รายป 18 องศา-
เซลเซยี ส ขณะท่สี ถานีตรวจอากาศทุงกะมัง เขตรักษาพนั ธุสัตวปาภเู ขยี ว ซึ่งตง้ั อยูท่ีระดับความสูง
ประมาณ 870 เมตร ขอ มลู ในป 2531-2541 ปรมิ าณนาํ้ ฝนเฉลยี่ รายป 481–2,132 มลิ ลเิ มตร (เฉลย่ี
1,434 มิลลิเมตร) อุณหภูมิต่ําสุดเฉล่ียรายป 16.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ียรายป 26.2

6 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู เิ ฉลยี่ รายป 21.3 องศาเซลเซยี ส และเขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า ภผู าแดง ซง่ึ ตง้ั อยู
ท่ีระดับความสูงประมาณ 600 เมตร มีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายป 1,458 มิลลิเมตร ขอมูลดังกลาว
แสดงใหเห็นวาสภาพภูมิอากาศในเขตภูเขาสูง มีปริมาณน้ําฝนตกมากกวาและอุณหภูมิตํ่ากวา
อยางชัดเจน อันเปนผลมาจากกระบวนการ dry diabatic lapse rate (อัตราการเปล่ียนแปลง
อุณหภูมิของอากาศท่ีไมมีไอน้ํา โดยอุณหภูมิจะลดลง 1 องศาเซลเซียสตอระดับความสูงท่ีเพ่ิมข้ึน
100 เมตร) ทําใหเกิดฝนภูเขา (orographic rain) ไดงาย โดยเฉพาะในแนวเทือกเขาเพชรบูรณ
ตะวันออกที่สูงมากกวา 700 เมตร จะเกิดฝนตกไดงายมากกวาในเขตพื้นที่ราบต่ํา เกิดเปนสภาพ
ภูมิอากาศระดับทองถิ่น (microclimate) ท่ีทําใหสังคมพืชสวนใหญในพ้ืนที่สูงเปนปาไมผลัดใบ
สาํ หรบั ในพน้ื ทสี่ งู มากกวา 1,000 เมตรขน้ึ ไปจะมอี ณุ หภมู หิ นาวเยน็ และชนื้ มากขนึ้ สงั คมพชื บรเิ วณน้ี
มักจะเปนปา ดบิ เขา และปา ทุงสน อันเปน ถ่นิ อาศยั ท่สี ําคัญของพืชเมลด็ เปลือยจํานวนมาก

ภาพที่ 3 รอ ยละของพ้ืนทีป่ าไมแ ละการใชท ีด่ ินในพ้ืนที่ปาอนุรกั ษของกลุมปา ภูเขยี ว-นาํ้ หนาว
ป 2543

ลักษณะสงั คมพืช

ขอ มลู การแปลภาพถา ยทางอากาศการใชท ดี่ นิ ป 2543 ของกรมปา ไม ระบวุ า กลมุ ปา ภเู ขยี ว-
นาํ้ หนาวมพี น้ื ทป่ี า ไมใ นพนื้ ทป่ี า อนรุ กั ษป ระมาณ 85 % (679,075 เฮกแตร) แบง ประเภทปา ไมเ ปน
8 ประเภท ไดแก ปาผลัดใบผสม 40.27 % (321,785 เฮกแตร) ปาดิบแลง 30.43 % (243,168
เฮกแตร) ปาเต็งรัง 5.49 % (43,834 เฮกแตร) ปาดิบเขา 3.30 % (26,357 เฮกแตร) ปาทุงสน
2.15 % (17,204 เฮกแตร) ทงุ หญา 2.02 % (16,132 เฮกแตร) ปา ทดแทน 1.12 % (8,955 เฮกแตร)
และปาไผ 0.21 % (1,640 เฮกแตร) ที่เหลือประมาณ 15 % เปนพ้ืนท่ีสวนปา พื้นท่ีเกษตรกรรม
และพืน้ ท่ีอน่ื ๆ (ภาพที่ 3)

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 7

ปจจัยหลักท่ีกําหนดชนิดสังคมพืชของประเทศไทยตอนบน รวมทั้งพ้ืนที่กลุมปาภูเขียว-
นา้ํ หนาว มาจากสภาพภมู อิ ากาศทแ่ี บง แยกระหวา งฤดฝู นและฤดแู ลง ชดั เจนและเกอื บทง้ั หมดอยใู น
เขตเงาฝนของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต มีปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียรายปไมเกิน 1,400 มิลลิเมตร และ
มากกวารอยละ 85 ตกกระจุกตัวเฉพาะในชวงฤดูฝน จึงทําใหสังคมพืชสวนใหญเปนปาผลัดใบ
(deciduous forest) แตส ภาพภมู อิ ากาศและนเิ วศวทิ ยาระดบั ทอ งถนิ่ ทต่ี า งกนั เปน อกี ปจ จยั ทที่ าํ ให
กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว มีความหลากหลายของสังคมพืชหรือชนิดปามากท่ีสุดกวากลุมปาอื่น ๆ
ของประเทศไทย ตามผลการศกึ ษาของคณะวนศาสตร (2555) ทกี่ ลาวไวก อ นหนา มสี าเหตุมาจาก
ลักษณะทางธรณี และสภาพภูมิประเทศท่ีหลากหลายน้ันเอง ปจจัยดังกลาวทําใหเกิดชนิดและ
โครงสรางช้ันดินหลากชนิด สวนระดับความสูงของพ้ืนท่ีจะมีอิทธิพลตออุณหภูมิของอากาศและ
การกระจายตัวของปริมาณนํ้าฝนท่ีไมสมํ่าเสมอ นอกจากน้ีทิศดานลาดเขายังมีสวนทําใหพ้ืนท่ี
ไดร บั รงั สจี ากดวงอาทติ ยไ มเ ทา กนั และอกี ปจ จยั ทสี่ าํ คญั อยา งยงิ่ คอื มนษุ ย ซง่ึ เปน สาเหตหุ ลกั ของ
การเกิดไฟปา การตัดไม หรือการเล้ียงสัตว อันสงผลรบกวนตอความสมบูรณของปา ทําใหเกิด
ปาผลัดใบและทุงหญาในพ้ืนที่ปาอนุรักษมากกวาปกติ สัดสวนการผสมกันระหวางปจจัยตาง ๆ
เหลานจี้ ึงมอี ิทธพิ ลตอการกอตวั ของสังคมพชื ที่แตกตา ง และทําใหก ลุมปาภูเขียว-น้าํ หนาว มีสงั คม
พืชท่หี ลากหลายขนึ้ ผสมปะปนกันไปอยา งซับซอ น ยากตอการจําแนกชนดิ ปาอยา งย่งิ

การจําแนกชนดิ สังคมพชื ในประเทศไทยมหี ลายทฤษฎซี ่งึ มนี ยิ ามและช่ือเรียกแตกตางกนั
หนังสือเลมนี้ไดรวบรวมขอมูลสวนใหญจากทฤษฎีของ ธวัชชัย (2549) และอุทิศ (2542) และ
ผลการสาํ รวจขอ มลู ภาคสนามตามแผนงานวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพในพนื้ ทก่ี ลมุ ปา ภเู ขยี ว-
นา้ํ หนาว มาประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสมตอ การอธบิ ายสงั คมพชื ทป่ี รากฏในพนื้ ทกี่ ลมุ ปา ภเู ขยี ว-นาํ้ หนาว
โดยจาํ แนกไดเปน 9 สังคมพืช รายละเอียดดงั ตอ ไปน้ี

1. ปาผลัดใบผสม (mixed deciduous forest) (ภาพท่ี 4) หรือเรียกอีกช่ือวา
“ปา เบญจพรรณ” เปน ปา โปรง ผลดั ใบในชว งฤดแู ลง ระหวา งเดอื นมกราคม–เมษายน พนื้ ปา มหี ญา
และพรรณไมล ม ลกุ ปกคลมุ ปานกลางถงึ หนาแนน ปรมิ าณนา้ํ ฝนเฉลย่ี รายปไ มเ กนิ 1,400 มลิ ลเิ มตร
พบที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร และมักจะมีไฟปาเกิดข้ึนเปนประจําเกือบทุกป ปาชนิดนี้
พบมากทสี่ ดุ ในพน้ื ทล่ี าดชนั ของภเู ขาหนิ ดนิ ดาน หนิ ปนู หรอื ดา นผาชนั ของภเู ขาหนิ ทราย โดยเฉพาะ
อยา งยงิ่ ทศิ ดา นลาดทหี่ นั ไปทางทศิ ใตแ ละทศิ ตะวนั ตก เนอื่ งจากไดร บั ความรอ นจากรงั สดี วงอาทติ ย
ในชว งฤดแู ลง เปน เวลานาน เขตทพ่ี บมาก ไดแ ก อทุ ยานแหง ชาตติ าดหมอก อทุ ยานแหง ชาตภิ กู ระดงึ
เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า ภผู าแดง เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า ตะเบาะ-หว ยใหญ เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า ภเู ขยี ว
และพ้นื ท่ดี า นตะวันออกของเขตรกั ษาพนั ธุสัตวป าภหู ลวง

เรือนยอดปาสูงประมาณ 25–35 ม. พรรณไมเดนไดแก แดง (Xylia xylocarpa)
พชื สกลุ ตะแบก-เสลา (Lagerstroemia) พชื สกลุ พฤกษ- ถอ น (Albizia) พชื สกลุ พะยงู (Dalbergia)
พชื สกลุ รกฟา (Terminalia) พชื สกลุ สาํ โรง (Sterculia) พรรณไมช นดิ อนื่ ๆ ทพี่ บบอ ย ไดแ ก งว้ิ ปา
(Bombax anceps) ขวาว (Haldina cordifolia) ขี้อาย (Terminalia triptera) ตะเคียนหนู

8 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ภาพท่ี 4 ปา ผลดั ใบผสม ปกคลุมขอบผาชันดานทิศใตของภูกระดึง

(Anogeissus acuminata) ผาเส้ียน (Vitex canescens) สะทอนนํ้าผัก (Millettia utilis)
กระทุมเนิน (Mitragyna rotundifolia) มะกอก (Spondias pinnata) มะเกลือ (Diospyros
mollis) ลําตาควาย (D. coaetanea) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) มะคา โมง (Afzelia
xylocarpa) เลียงมัน (Berrya cordifolia) แคหิน (Stereospermum colias) แคหางคาง
(Fernandoa adenophylla) ตะครอ (Schleichera oleosa) ตะครํ้า (Garuga pinnata)
สม กบ (Hymenodictyon orixense) กระเชา (Holoptelea integrifolia) เปน ตน ปา ผลดั ใบผสม
มักพบไผชนิดที่ผลัดใบหรือก่ึงผลัดใบ 1–2 ชนิด ในแตละหมูไมปรากฏในเรือนยอดชั้นรอง (ภาพ
ท่ี 5) ซ่ึงเปนพืชดัชนีชี้วาเปนปาผลัดใบผสมและบงชี้ความอุดมสมบูรณของปาไดดี ปาท่ีมีไผขึ้น
หนาแนนบงบอกวาเคยถูกรบกวนมากมากอนโดยเฉพาะไฟปาและการตัดไม ไผท่ีพบไดบอยและ
สามารถบอกสภาพความชุมชื้นของปาไดดี มีดังน้ี พ้ืนที่แหงแลงจะพบ ไผรวก (Thyrsostachys
siamensis) และไผไร (Gigantochloa albociliata) พ้ืนที่ช้ืนปานกลางมักพบ ไผซาง
(Dendrocalamus membranaceus) ไผขา วหลาม (Cephalostachyum pergracile) และไผ
บงหนาม (Bambusa burmanica) พื้นที่ชื้นมากซึง่ อยใู กลปา ดิบ ตามรองนา้ํ หรือปา ผลดั ใบผสม
ระดบั สงู ใกลร ะดบั ความสงู 1,000 เมตร พบ ไผบ งดาํ (B. tulda) ไผบ ง (B. nutans) หรอื ไผเ ฮยี ะ
(G. virgatum) และตามทีร่ าบลมุ ชายน้ํามกั พบ ไผปา (B. bambos)

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 9

ภาพที่ 5 ปา ผลดั ใบผสมท่ีแหง แลง มีไผร วกเปนเรอื นยอดชน้ั ลาง ทีเ่ ขตรักษาพนั ธุสัตวปาซบั ลงั กา

2. ปา เตง็ รงั (deciduous dipterocarp forest) (ภาพท่ี 6) หรอื เรยี กอกี ชอ่ื วา “ปา แพะ
หรือปาโคก” เปนปาผลัดใบ แตจะโปรงมากกวาปาผลัดใบผสม พ้ืนปามีหญาและพรรณไมลมลุก
ปกคลุมหนาแนน ผลัดใบในชวงฤดูแลง และข้ึนในสภาพอากาศและปจจัยแวดลอมเชนเดียวกับ
ปาผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 ม. แตสําหรับปาเต็งรังจะพบในพ้ืนท่ีที่มีดินต้ืนมาก
อาจเปนลูกรัง มีหินและกรวด หรือช้ันดินลึกแตเปนดินปนทรายที่มีธาตุอาหารต่ํา หรือดินเหนียว
ท่ีเปนกรดจัดก็ได เรือนยอดปาสูง 10–30 ม. พรรณไมดัชนีของปาชนิดน้ีเปนพรรณไมวงศยางท่ี
ผลัดใบ (deciduous dipterocarps) 5 ชนิด ไดแก เต็ง (Shorea obtusa) รัง (S. siamensis)
เหยี ง (Dipterocarpus obtusifolius) พลวง (D. tuberculatus) กราด (D. intricatus) อยา งนอ ย
1 ชนิด ขึ้นเปนไมเดน 1 ใน 5 ชนิดแรกของสังคมพืช พรรณไมเดนอื่น ๆ เชน โลด (Aporosa
villosa) คํามอกหลวง (Gardenia sootepensis) กระมอบ (G. obtusifolia) ยอปา (Morinda
coreia) กระทุมเนิน (Mitragyna rotundifolia) มะมวงหัวแมงวัน (Buchanania lanzan)
กระพเี้ ขาควาย (Dalbergia cultrata) เกด็ แดง (D. lanceolaria) ปรงเหลย่ี ม (Cycas siamensis)

10 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

หรอื พรรณไมผ ลดั ใบชนดิ อน่ื ๆ ทพ่ี บในปา ผลดั ใบผสมกม็ กั พบในปา เตง็ รงั ดว ยเชน กนั แตใ นเรอื นยอด
ชั้นรองจะไมพบไผ ตามพ้ืนปาอาจพบไผพุมขนาดเล็ก คือ โจดหรือเพ็ก (Vietnamosasa spp.)
ปาชนิดน้ีมักพบตามท่ีลาดชัน สันเขา หรือตามลานหินทรายท่ีมีหินโผลจํานวนมาก กระจายตัว
สลบั กบั ปาผลัดใบผสมทั่วพืน้ ที่กลมุ ปา

ภาพที่ 6 ปาเตง็ รงั มีเรือนยอดโปรงบางแมใ นฤดูฝน พื้นปาปกคลุมดวยหญา และโจด
(Vietnamosasa ciliata)

ปาเต็งรังที่ระดับความสูง 700–1,000 เมตร มักพบสังคมยอยปาเต็งรังผสมสนและกอ
(pine-dipterocarp-oak forest) (ภาพที่ 7) เปน ปา กงึ่ ผลดั ใบ โดยมสี นสามใบ (Pinus kesiya)
หรอื สนสองใบ (P. merkusii) ขน้ึ ผสมกนั ปรากฏเปน เรอื นยอดโดด สงู 35–40 เมตร โดยมเี รอื นยอด
ชนั้ รอง สงู 20–25 เมตร ไมเ ดน ไดแ ก เหยี ง และกอ ชนดิ ตา ง ๆ เชน กอ แดง (Quercus kingiana)
กอแอบหลวง (Q. helferiana) กอนก (Lithocarpus polystachyus) กอหยุม (Castanopsis
argyrophylla) กอผัวะ (L. dealbatus) เปนตน พรรณไมอื่น ๆ เชน โลด (Aporosa
villosa) เหมอื ดหอม (Symplocos racemosa) ตาํ เสาหนู (Tristaniopsis burmanica) ตาฉเ่ี คย
(Craibiodendron stellatum) มะขามปอม (Phyllanthus emblica) กระพ้ีเขาควาย เปนตน
ปาเต็งรังลักษณะนี้มักพบในเขตรกั ษาพนั ธุส ัตวปา ภเู ขียว และอุทยานแหงชาติน้าํ หนาว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 11

ภาพที่ 7 ปาเต็งรงั ผสมสนและกอ บนภูเขียวมสี นสามใบและเหยี งเปนไมเ ดน

3. ปาดิบแลง (dry evergreen forest) เปนปาไมผลัดใบ มองเห็นเรือนยอดปาเปน
สีเขียวตลอดป แตก็มีพรรณไมผลัดใบข้ึนผสมอยูประมาณไมเกินครึ่งหนึ่ง พบในพื้นท่ีที่มีชั้นดินลึก
เก็บความชุมช้ืนไดนาน ปกติมีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายปมากกวา 1,000 มิลลิเมตร แตยังคงมีชวง
ฤดูแลงทีช่ ดั เจน มักพบตามดานลาดหินของเขาหินทรายซง่ึ เปน ทีค่ อ นขางราบ นอกจากน้ียงั ขนึ้ อยู
ตามรองหวยเลก็ ๆ กระจายตัวแทรกสลับกับปา ผลัดใบผสม โดยทรี่ ะดับความสงู ต่ํากวา 700 เมตร
ลงมา จัดวาเปนสังคมยอยปาดิบแลงระดับต่ํา (lower dry evergreen forest) (ภาพท่ี 8)
เรือนยอดของปา สูง 20–40 ม. มพี รรณไมเดนสวนใหญอ ยใู นวงศยาง (Dipterocarpaceae) ไดแ ก
ตะเคยี นหนิ (Hopea ferrea) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) พนั จาํ (Vatica odorata)
ตะเคียนเต็ง (Shorea thorelii) เปนตน พรรณไมเดนวงศอ่ืน ๆ ของปาดิบแลง เชน ตะแบกแดง
(Lagerstroemia calyculata) กระบก (Irvingia malayana) แลนงอ (Rhus succedanea)
สมพง (Tetrameles nudiflora) ปออเี กง (Pterocymbium tinctorium) พรรณไมช น้ั รอง ไดแ ก
มะคาโมง (Afzelia xylocarpa) ลําไยปา (Dimocarpus longan) คอแลน (Nephelium
hypoleucum) ยางโอน (Polyalthia viridis) พืชสกุลมะเกลือ (Diospyros) เขลง (Dialium
cochinchinense) พะยงู (Dalbergia cochinchinensis) สาํ เภา (Chaetocarpus castanocarpus)
มะหาด (Artocarpus lacucha) โพบาย (Balakata baccata) สมอพเิ ภก (Terminalia bellirica)
เปนตน พรรณไมพ มุ ท่เี ปนดัชนีระบวุ าเปน ปาดิบแลงไดด ีจะเปน พรรณไมท ่ีมีแผนใบหนาหรืออาจ
บางแตมีช้ันของ cuticle เคลือบผิวใบหนา เชน กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolia)
มะนาวผี (Atalantia monophylla) พืชสกุลขอย (Streblus) พืชสกุลพลอง (Memecylon)

12 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

พืชสกุลนกนอน (Cleistanthus) พืชสกุลเข็ม (Ixora) เขยตาย (Glycosmis) และพืชสกุลกัดลิ้น
(Walsura) เปน ตน บรเิ วณทพี่ บปา ดบิ แลง จาํ นวนมากไดแ ก อทุ ยานแหง ชาตภิ เู วยี ง อทุ ยานแหง ชาติ
ภเู กา -ภพู านคาํ เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า ภคู อ -ภกู ระแต และแนวเทอื กเขาภพู งั เหย-ภพู านคาํ นอกจากนี้
ยังพบปา ดิบแลงเปน หยอมเล็ก ๆ ตามหลุมยบุ หรือทีร่ าบเชงิ เขาหินปนู ดว ย

ภาพที่ 8 ปา ดบิ แลงระดบั ตาํ่ พบไดท่วั ไปบนภเู ขาหนิ ทราย บรเิ วณที่มชี ้นั ดินลกึ

สังคมยอยปา ดบิ แลง ระดบั สูง (upper dry evergreen forest) (ภาพที่ 9) พบที่ระดบั
ความสงู 700–1,000 ม. จะเรม่ิ มพี รรณไมใ นปา ดบิ เขาเขา มาปะปน พรรณไมเ ดน ยงั คงเปน ไมว งศย าง
มเี รือนยอดสงู ใหญป กคลมุ เปนจํานวนมาก ไดแก ยางปาย (D. costatus) ยางแดง (D. turbinatus)
กระบาก (Anisoptera costata) กระบากดาํ (Shorea farinosa) หรือพะยอม (S. roxburghii)
บางครั้งอาจมีคอ (Livistona jenkinsiana) เปนเรือนยอดโดดแทรกอยูท่ัว ปาดิบแลงระดับสูงมี
การกระจายตัวอยูท่ัวไปในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว โดยเฉพาะพื้นที่ตามแนวเทือกเขาเพชรบูรณใน
เขตรักษาพนั ธุสตั วป า ภูผาแดง เขตรกั ษาพันธุส ตั วป า ตะเบาะ-หวยใหญ อทุ ยานแหง ชาติตาดหมอก
และรอบขอบผาชันของภูเขียว ภูหลวง ภูกระดึง ที่อยูถัดลงมาจากปาดิบเขา โดยเฉพาะลาดเขา
ทิศเหนอื และทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 13

ภาพที่ 9 ปา ดบิ แลง ระดบั สงู มองเห็นเรอื นยอดของยางปาย ยางแดง และคอ สูงเดนกวา
เรอื นยอดปกติ

4. ปาดิบช้ืน (moist evergreen forest) เปนปาไมผลัดใบ มองเห็นเรือนยอดปาเปน
สีเขียวตลอดปคลายปาดิบแลง แตสามารถพบพรรณไมผลัดใบข้ึนผสมอยูไดแตนอยมากโดยปกติ
ปา ชนดิ น้จี ะพบในเขตท่ีมปี รมิ าณน้าํ ฝนมากกวา 1,600 มลิ ลเิ มตรตอ ปและมีระดบั ความสูงไมเ กนิ
1,000 เมตร แตพ้ืนทสี่ วนใหญของพืน้ ที่มีปริมาณนํา้ ฝนนอยกวานน้ั โดยเฉพาะพืน้ ทรี่ ะดับต่าํ กวา
700 เมตรลงมาเปน สงั คมยอ ยปา ดบิ ชืน้ ระดับต่ํา (lower moist evergreen forest) (ภาพท่ี 10)
สามารถพบปาดิบชื้นไดในบริเวณท่ีราบลุมในหุบเขาหรือใกลแหลงนํ้า ซ่ึงมีนํ้าใตดินมากและมีชั้น
ดนิ ลกึ ปา ดบิ ชน้ื จงึ พบอยเู ปน หยอ มเลก็ ๆ และมกั พบชนดิ พนั ธไุ มค ลา ยกบั ปา ดบิ แลง บา ง เรอื นยอด
ปาดิบช้ืนสงู 30–50 ม. ไมต อเนอื่ ง มีเถาวัลยแทรกอยทู ่วั ไป พรรณไมเ ดน ไดแก พระเจา หา พระองค
(Dracontomelon dao) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ยางนา (Dipterocarpus alatus)
กระบาก (Anisoptera costata) ตาเสอื (Aphanamixis polystachya) ตองเตา (Pterospermum
cinnamomeum) ยมหอม (Toona ciliata) วงศจ นั ทนเ ทศ (Myrsinaceae) สมพง (Tetrameles
nudiflora) ปออีเกง (Pterocymbium tinctorium) ลูกดิ่ง (Parkia sumatrana) สะเดาชาง
(Acrocarpus fraxinifolius) กระทอ น (Sandoricum koetjape) ตงั หนตู น (Pisonia umbellifera)
สตั บรรณ (Alstonia scholaris) มะหาด (Artocarpus lacucha) จาํ ปาปา (Magnolia champaca)
พรรณไมชั้นรอง ไดแก ลําไยปา (Dimocarpus longan) พะวา (Garcinia speciosa) มะปวน
(Mitrephora tomentosa) เดื่อผูก (Ficus variegata) เด่ือกวาง (F. callosa) โพบาย
(Balakata baccata) กฤษณา (Aquilaria crassna) ประคาํ ไก (Drypetes roxburghii) เตา หลวง

14 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

(Macaranga siamensis) หอมไกลดง (Harpullia arborea) ดีหมี (Cleidion spiciflorum)
และรักขีห้ มู (Semecarpus albescens) เปนตน กลุมพรรณไมพื้นลางของปา ดิบชื้นสวนใหญจะ
เปนพชื ทีต่ อ งการนํ้ามาก มีแผนใบบาง ใหญ และออนนมุ ไมมีการพักตวั ในฤดูแลง เชน พืชสกุลขา
(Alpinia) สกุลกระทอื (Zigiber) สกลุ กระชาย (Boesenbergia) วงศคลุม-คลา (Marantaceae)
สกลุ กระดาด (Alocasia) นอกจากนี้ ปาดบิ ชืน้ ยงั พบพชื วงศปาลม (Palmae) ไดม ากกวาปาชนดิ
อื่น ๆ ดวย เชน หวายชนิดตาง ๆ หลังกับ (Arenga westerhoutii) เตารางหนู (A. caudata)
หรอื เตารา งแดง (Caryota mitis) เปนตน

ภาพท่ี 10 ปาดบิ ช้นื ระดบั ตํ่าทเี่ ขตรักษาพันธสุ ัตวปาตะเบาะ-หว ยใหญ ในบรเิ วณหบุ เขาที่มีหวย
ไหลผาน เรือนยอดปาสูงใหญ และมพี รรณไมพ ้นื ลางขึน้ อยา งหนาแนน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 15

สงั คมยอ ยปา ดบิ ชน้ื ระดบั สงู (upper moist evergreen forest) (ภาพที่ 11) จะพบที่
ระดบั ความสงู 700–1,000 เมตร หลายแหง ในพนื้ ทโี่ ดยเฉพาะบนภเู ขยี ว และอทุ ยานแหง ชาตนิ าํ้ หนาว
ซงึ่ เปนพ้นื ทล่ี ูกคลนื่ ลอนลาดทไี่ มชันมากและช้นั ดินลกึ ประกอบกบั มีปรมิ าณนา้ํ ฝนมากกวา 1,400
มลิ ลเิ มตรตอ ป ความชมุ ชน้ื จากฝน ชน้ั ดนิ ทอ่ี มุ นาํ้ ไดด ี การระบายนา้ํ ใตด นิ ลงสทู ต่ี าํ่ คอ นขา งชา และ
สภาพอากาศท่ีคอนขางเย็นมีการคายระเหยนํ้าชา เปนสัดสวนการผสมกันของปจจัยแวดลอมที่
เหมาะสมตอ การเกดิ ปา ดบิ ชนื้ ระดบั สงู ตามที่ Smitinand (1977a, 1977b) กลา วไว บางทา นเรยี กวา
“ปาดิบชื้นกึ่งปา ดบิ เขา” เนื่องจากมพี รรณพชื ระดบั ตา่ํ (lowland species) ของปา ดิบช้ืนท่ีกลา ว
ไวข า งตน ขนึ้ ผสมกบั พรรณพชื กง่ึ ภเู ขา (sub montane species) ซงึ่ เปน พรรณไมท สี่ ามารถขน้ึ ได
ทัง้ ในพ้ืนท่รี ะดับต่าํ กวา และสูงกวา 1,000 เมตร เชน มงั ตาน (Schima wallichii) ปรก (Altingia
excelsa) มะมือ (Choerospondias axillaris) มะมุน (Elaeocarpus floribundus) สตีตน
(Sloanea sigun) เทพทาโร (Cinnamomum parthenoxylon) ทองหลางปา (Erythrina
subumbrans) เหมอื ดปลาซิว (Symplocos sumuntia) แมงเมานก (Eurya nitida) ปลายสาน
(E. acuminata) กลวยฤๅษี (Diospyros glandulosa) คอ (Livistona jenkinsiana) กอเดือย
(Castanopsis acuminatissima) กอนํ้า (Lithocarpus thomsonii) กอหมวก (Quercus
auricoma) กอตลับ (Q. ramsbottomii) เปน ตน

ภาพท่ี 11 ปาดบิ ชน้ื ระดบั สูง หรือปา ดิบชื้นกงึ่ ปา ดบิ เขาบนภเู ขยี ว มพี รรณพชื ระดบั ต่าํ ขึน้ ปะปน
กับพรรณพืชกงึ่ ภูเขาจาํ นวนมาก

16 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

หมายเหตุ เขตรอยตอ ระหวา งปา ระดบั ตาํ่ -สงู (sub montane zone/intermediate zone)
ที่ระดับความสูง 700–1,000 เมตร จะมีพรรณพืชเขตปาต่ํา (lowland species) และเขตภูเขา
(montane species) เขา มาผสมกัน โดยมสี ัดสว นตา งกันตามปจจยั แวดลอ มท่เี อ้ืออาํ นวย ตามท่ี
กลาวไวในสังคมยอยปาระดับสูงของปาชนิดตาง ๆ โดยมีระดับความชื้นและความสมบูรณของดิน
ความชื้นและความเย็นของอากาศ และความถ่ีการเกิดไฟปา เปนปจจัยหลักในการกําหนดองค
ประกอบชนิดพันธุไม ดังน้ี พื้นท่ีแหงแลงมากหรือดินเปนกรดจัดจะพบปาเต็งรัง-สน-กอ พื้นที่ช้ืน
ปานกลางจะพบปาผลัดใบผสมก่ึงปาดิบเขา-ปาดิบแลงหรือปาดิบแลงก่ึงปาดิบเขา และพ้ืนท่ีช้ืนสูง
จะพบ ปา ดบิ ชน้ื กงึ่ ปาดิบเขา ดังน้นั การจําแนกชนิดสงั คมพชื ในเขตดังกลาวจึงเปนเรื่องยาก เพราะ
สัดสว นการผสมกนั ของพรรณไมท ้ัง 2 เขต สว นใหญแ ลว จะคอ ย ๆ เปล่ียนแปลง และยังไมมขี อมูล
ท่ชี ัดเจนเกีย่ วกบั ชนดิ พันธทุ ี่เปน พรรณพืชเขตปาตา่ํ และพรรณพชื เขตภูเขา

5. ปาดิบเขาระดับตํ่า (lower montane forest) (ภาพท่ี 12–13) เปนปาไมผลัดใบ
พรรณพชื เกอื บทง้ั หมดไมผ ลดั ใบ ในพน้ื ทพ่ี บทร่ี ะดบั ความสงู 1,000–1,500 เมตรจากระดบั นาํ้ ทะเล
ปานกลางมสี ภาพอากาศทเ่ี ยน็ และชมุ ชน้ื เนอื่ งจากความสงู ของพนื้ ทแี่ ละมฝี นภเู ขาเกดิ ขน้ึ เปน ประจาํ
อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในฤดูรอนปกติไมเกิน 25 องศาเซลเซียส ตามลําตนและกิ่งของตนไมจะมีพืช
กลุมไบรโอไฟต เฟรน และพืชอิงอาศัยเกาะเปนจํานวนมาก ตนไมที่อยูตามสันหรือยอดเขามักมี
ลําตน แคระแกรน กงิ่ กานบิดงอเน่ืองจากแรงลมและมีชัน้ ดินต้ืน พรรณไมมกี ารผสมผสานระหวา ง
พรรณพืชเขตรอน (tropical species) กับพรรณพืชเขตอบอุน (temperate species) และ
พรรณพืชเขตภูเขา (montane species) ท่ีกระจายมาจากแนวเทือกเขาหิมาลัย และประเทศจีน
ตอนใต เรือนยอดปาสูง 20–35 ม. พรรณไมเดนและเปนดัชนีช้ีวัดวาเปนสังคมพืชน้ี มีเรือนยอด
ปกคลมุ มากกวา ครง่ึ หนึ่งของปา อยูใ น 5 กลุม ตอไปน้ี

1) กลมุ พชื เมลด็ เปลอื ย (Gymnosperm) เชน สามพนั ป (Dacrydium elatum) แปกลม
(Calocedrus macrolepis) พญามะขามปอม (Cephalotaxus mannii) มะขามปอมดง
(Dacrycarpus imbricatus) พญาไม (Podocarpus neriifolius) สนใบพาย (P. polystachyus)
ขนุ ไม (Nageia wallichiana) สนสามใบ (Pinus kesiya) เปน ตน

2) พรรณไมวงศไมกอ (Fagaceae) เชน กอพวง (Lithocarpus aggregatus) กอผัวะ
(L. dealbatus) กอกอ (L. fenestratus) กอกัน (Castanopsis brevispinula) กอขี้กวาง
(Quercus acutissima) กอแดง (Q. auricoma) กอตาเจ (Q. setulosa) เปนตน

3) พรรณไมว งศช า (Theaceae) เชน มงั ตาน (Schima wallichii) ไกแ ดง (Ternstroemia
gymnanthera) เมีย่ งหลวง (Gordonia axillaris) เมย่ี งอาม (Camellia oleifera) เปน ตน

4) พรรณไมวงศอบเชย (Lauraceae) เชน เทพทาโร (Cinnamomum porrectum)
สรุ ามะรดิ (C. subavenium) ทนั (Phoebe tavoyana) เมยี ดตน (Litsea martabarnica) เปน ตน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 17

ภาพท่ี 12 ปาดบิ เขาระดับต่าํ บนภูหลวง มเี รอื นยอดชน้ั บนทห่ี นาแนนของพรรณไมใบกวา งและ
พชื เมล็ดเปลือยจํานวนมาก

5) พรรณไมวงศจําป-จําปา (Magnoliaceae) เชน จําปปา (Magnolia baillonii)
แกว มหาวัน (M. floribunda) จําปหนู (M. philippinensis) เปน ตน

พรรณไมชนิดอ่ืน ๆ ไดแก กวมแดง (Acer calcaratum) สมสา (Myrica rubra)
สรอยสมเด็จ (Alnus nepalensis) กอสรอย (Carpinus viminea) เหมือดคน (Heliciopsis
terminalis) พืชวงศหวา (Myrtaceae) มะกอกพราน (Turpinia pomifera) เตารางยักษ
(Caryota maxima) เปนตน ขอแตกตางของปาดิบเขาจากปาชื้นหรือปาดิบแลงท่ีสังเกตไดอีก
อยา งหนึ่ง คอื การพบพืชในกลมุ เถาวลั ยล ดนอ ยลง แตพ บพืชกลมุ องิ อาศัยมากยิ่งข้ึน สวนพ้นื ลา ง
ของปา จะพบพืชลมลุกในกลมุ เฟรน กลมุ ไบรโอไฟต กลวยไมดนิ พชื วงศตอยตงิ่ (Acanthaceae)
และพืชวงศแววมยุรา (Scrophulariaceae) เปนจํานวนมาก บริเวณท่ีพบปาดิบเขาระดับต่ํา
จํานวนมาก ไดแก ท่ีราบสูงบนภูหินทรายของภูหลวง ภูกระดึง พื้นท่ีดานตะวันตกของภูเขียว
อุทยานแหง ชาตนิ ํา้ หนาว และอุทยานแหงชาติตาดหมอก

18 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ภาพท่ี 13 อากาศทช่ี มุ ช้ืนมากของปา ดบิ เขาระดับต่าํ บนภูหลวง ทําใหต ามลาํ ตนและกง่ิ ไมม ีพืชอิงอาศัย
ปกคลุมอยา งหนาแนน

6. ปาทุงสน (lower montane pine-oak forest/pine savannah forest)
(ภาพท่ี 14) เปน ปา ไมผ ลดั ใบ อยสู งู จากระดบั นา้ํ ทะเลมากกวา 1,000 เมตร มไี ฟปา รบกวนบอ ยครง้ั
ทาํ ใหพรรณไมปาดิบเขาท่ไี มท นตอไฟปา เขา มาต้งั ตวั ไมไ ด นอกจากนดี้ ินยงั มีสภาพเปน กรดจดั และ
มักเปนดินท่ีมีหินหรือทรายปนอยูจํานวนมาก ดังนั้นพรรณไมยืนตนจึงมีการเจริญเติบโตชาและ
แคระแกรน พรรณไมเดนที่ทนตอสภาพแวดลอมเชนน้ีไดดี คือ สนสามใบ (Pinus kesiya) หรือ
สนสองใบ (P. merkusii) ข้ึนเปนกลุมเดียวลวน สูง 20–30 เมตร แตกระจายตัวหาง ๆ พื้นปา
ถกู ปกคลุมดว ยหญา-กก ไมลมลุก และเฟรน ที่สงู ไมเกนิ 2 เมตร มีพรรณไมช นั้ รองท่เี ปน ไมใ บกวาง
ข้นึ แทรกอยเู พยี งไมกี่ตน สวนใหญเ ปนพืชท่ีทนไฟไดด ี เชน กอ แดง (Quercus kingiana) กอ เตย้ี
(Q. aliena) กอแอบหลวง (Q. helferiana) กอผัวะ (Lithocarpus dealbatus) กอนก
(L. polystachyus) กอหยุม (Castanopsis argyrophylla) เปนตน พรรณไมช้ันรองวงศอื่น ๆ
ไดแ ก สารภดี อย (Anneslea fragrans) มงั ตาน (Schima wallichii) ปลายสาน (Eurya acuminata)
เหมอื ดคนตวั ผู (Helicia nilagirica) คา หด (Engelhardtia spicata) กาํ ยาน (Styrax benzoides)

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 19

ซึ่งจะไมพบ เหียง เหมือนสังคมพืชยอยปาเต็งรัง-สน-กอ พรรณไมพุมไดแก สมแปะ (Lyonia
foliosa) สม ป (Vaccinium sprengelii) เอน็ อา (Melastoma malabathricum ssp. normale)
อา หลวง (M. sanguineum) พชื ในกลมุ เฟน และใกลเ คยี งเฟน เชน โชนใหญ (Pteridium aquilinum)
สามรอ ยยอด (Lycopodium cernuum) พรรณไมล ม ลกุ ไดแ ก พชื วงศผ กั ปลาบ (Commelinaceae)
สกุลกระดุมเงิน (Eriocaulon) สกุลกระถินนา (Xyris) สกุลทิพเกสร (Utricularia spp.)
สกุลหยาดนํ้าคาง (Drosera spp.) หญาขาวกํ่า (Burmannia disticha) และน้ําเตาพระฤๅษี
(Nepenthes smilesii) และพรรณพชื ลม ลกุ ในเขตภเู ขาหลายชนดิ ในวงศต อ ไปน้ี ไดแ ก วงศด อกหรดี
(Gentianaceae) วงศก ะเพรา (Labiatae) วงศท านตะวนั (Compositae) วงศผ กั ชี (Umbelliferae)
วงศข งิ ขา (Zingiberaceae) ในสกลุ เปราะภู (Caulokaempferia) หรอื สกลุ มหาหงส (Hedychium)
บรเิ วณทีพ่ บปาทงุ สนจํานวนมาก ไดแก ที่ราบสูงบนภูหินทรายของภหู ลวง ภกู ระดงึ และภูเรอื

ภาพที่ 14 ปา ทงุ สนบนภูกระดึง มสี นสองใบเปน พรรณไมเดนลว น
7. ปา ละเมาะ (scrub/brush forest) เปน สงั คมพชื ผลดั ใบหรอื ไมผ ลดั ใบกไ็ ด สว นใหญ

พบในบริเวณที่มีลมพัดแรงตามพ้ืนที่ลาดชัน สันเขาหรือยอดเขา หรือเปนพ้ืนที่ราบแตมีหินโผล
ระเกะระกะอยทู วั่ ไปปกคลมุ มากกวา ครงึ่ หนงึ่ ของพนื้ ที่ โดยมซี อกหนิ และรอ งหนิ แตกใหพ รรณไมต น
และไมพ มุ สามารถชอนไชรากลงไปได อกี ทง้ั ใชเ ปน มมุ หลบลมและแสงแดดไดด ตี อนตง้ั ตวั เรอื นยอด
ของปา สงู ไมเ กนิ 5 เมตร มไี มต น แคระแกรนขน้ึ เบาบางและไมต อ เนอื่ ง สลบั กบั ไมพ มุ เตย้ี และลานหนิ
นอกจากน้ียังอาจมีหยอมเล็ก ๆ ของลานดินทรายชั้นบาง ๆ ซึ่งจะปกคลุมดวยหญาและไมลมลุก
สูง 0.3–1 เมตร ปาละเมาะสามารถพบไดหลากหลายสงั คมยอ ยขนึ้ อยูป จจยั แวดลอ มดา นชนดิ หนิ
ดิน ปรมิ าณนาํ้ ฝน และระดับความสูง ในพ้ืนที่กลมุ ปา ภเู ขียวสามารถพบได 3 สังคมยอ ย ไดแ ก
20 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ภาพที่ 15 ปา ละเมาะเขาหนิ ทรายระดบั ตา่ํ ทอ่ี ทุ ยานแหง ชาตปิ า หนิ งาม แทรกตวั อยใู นสวนหนิ ทรายธรรมชาติ
รปู รา งแปลกตา

ปา ละเมาะเขาหนิ ทรายระดบั ตาํ่ (lower sandstone hills scrub forest) (ภาพท่ี 15)
เปนปาผลัดใบ พบในพ้ืนที่ภูเขาหินทรายที่ระดับความสูงตํ่ากวา 1,000 เมตร บริเวณท่ีราบยอดภู
ใกลข อบผาชนั เพราะมกั จะมลี มแรง และหนิ โผลจ าํ นวนมาก ไฟปา อาจเขา ไปไดแ ตล กุ ลามไมร นุ แรง
เน่ืองจากมีหญาจํานวนนอยและมีกอนหินเปนแนวกันไฟ พรรณไมตนที่พบคลายปาเต็งรัง ไดแก
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) เม็ก (Syzygium gratum) กะอวม (Acronychia
pedunculata) ตงั หน (Calophyllum sp.) กลว ยนอ ย (Xylopia vielana) ตาํ เสาหนู (Tristaniopsis
burmanica) มะมว งหวั แมงวนั (Buchanania lanzan) สา นใหญ (Dillenia obovata) พรรณไม
พุมเตี้ย ไดแก ไชหิน (Droogmansia godefroyana) โคลงเคลงผลแหง (Melastoma
pellegrinianum) พรวด (Rhodomyrtus tomentosa) พุดทุง (Holarrhena curtisii) โจด
(Vietnamosasa ciliata) ตามลานหิน กอนหิน และซอกหิน มักพบกลวยไมและไมลมลุก เชน
เอื้องบายสี (Eria lasiopetala) สมอหิน (Bulbophyllum blepharistes) มาว่ิง (Doritis
pulcherrima) เหลืองพิศมร (Spathoglottis spp.) เปนตน พรรณไมลมลุก ไดแก สาวสนม
(Sonerila griffithii) เทยี น (Impatiens spp.) กระเจยี ว (Curcuma spp.) กระทอื ลงิ (Globba ssp.)
ข้ีอน (Pavonia rigida) นาคราช (Oleandra undulata) และพอคาตีเมีย (Selaginella spp.)
เปนตน บริเวณท่ีพบปาชนิดน้ีมาก ไดแก แนวเทือกเขาพังเหย–ภูพานคํา ต้ังแตอุทยานแหงชาติ
ปา หนิ งาม อทุ ยานแหง ชาตไิ ทรทอง จนถงึ อทุ ยานแหง ชาตภิ เู กา -ภพู านคาํ และอทุ ยานแหง ชาตภิ เู วยี ง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 21

ภาพท่ี 16 ปาละเมาะเขาหินทรายระดับสูงบนภูหลวง มีพรรณไมพุมและไมตนแคระแกรนจํานวนมาก
ปกคลุมลานหนิ ทราย

ปา ละเมาะเขาหนิ ทรายระดบั สงู (upper sandstone hills scrub forest) (ภาพที่ 16)
พบในสภาพภมู ปิ ระเทศและธรณีสณั ฐานเชนเดียวกับปาละเมาะเขาหินทรายระดับต่ํา แตจ ะพบที่
ระดับความสูงมากกวา 1,000 เมตร ปาชนิดนเี้ ปน ปา ไมผลัดใบ เนอื่ งจากไดรับปริมาณน้ําฝนและ
ละอองหมอกในปรมิ าณมาก อากาศหนาวเยน็ และมลี มพัดแรง พรรณไมตนและไมพ ุมจํานวนมาก
เปนพรรณไมท่ีพบในปาดิบเขาระดับตํ่าและปาทุงสนที่ตองการแสงแดดมากและทนแลงไดดี ซ่ึง
สว นใหญแ ตกตา งจากทพ่ี บในปา ละเมาะเขาหนิ ทรายระดบั ตาํ่ ไดแ ก กหุ ลาบขาว (Rhododendron lyi)
กหุ ลาบแดง (R. simsii) ชอ ไขม กุ (Vaccinium eberhardtii var. pubescens) สมป (V. sprengelii)
สม แปะ (Lyonia foliosa) สารภดี อย (Anneslea fragrans) เหมอื ดคนตวั ผู (Helicia nilagirica)
สนทราย (Baeckea frutescens) พรรณไมพ มุ เตย้ี ไดแ ก เอน็ อา (Melastoma malabathricum
subsp. normale) อา หลวง (M. sanguineum) เหงา นา้ํ ทพิ ย (Agapetes saxicola) ประทดั ดอย
(A. lobbii) ตามลานหนิ และกอ นหนิ จะพบกลว ยไม เฟร น และไมล ม ลกุ ขน้ึ จาํ นวนมาก เชน กลว ยไม
ในสกลุ สงิ โต (Bulbophyllum) สกลุ เออื้ งบายศรี (Eria) สกลุ เออ้ื งเทยี น (Coelogyne) สกลุ กะเรกะรอ น
(Cymbidium) เปนตน พรรณไมล มลุกวงศอ นื่ ๆ ไดแ ก เปราะภู (Caulokaempferia spp.) นาคราช
(Oleandra spp.) และพอคา ตเี มยี (Selaginella spp.) เปนตน บริเวณทีพ่ บปาชนิดนี้มากจะอยู
ตามยอดภเู ขาหนิ ทรายตา ง ๆ ไดแ ก ภูหลวง ภูกระดงึ ภเู รือ และภูคิง้

22 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ปาละเมาะเขาหนิ ปูนระดับต่าํ (lower limestone hills scrub forest) (ภาพที่ 17)
เปนปาผลัดใบหรือกึ่งผลัดใบ พบตามยอดเขาหรือตามหนาผาชัน ท่ีเปนพ้ืนท่ีโลง มีหินปูนโผล
เกอื บทง้ั หมด รปู ชวี ติ ทเ่ี ดน สว นใหญเ ปน ไมพ มุ ไมล ม ลกุ และไมเ ถา อาจพบไมย นื ตน จากปา ผลดั ใบผสม
เขา มาปรากฏบา ง หรอื ไมไ มผ ลดั ใบจากปา ดบิ แลง ซงึ่ ทาํ ใหป า ชนดิ นเี้ ปน ปา กงึ่ ผลดั ใบได พชื ทม่ี ชี วี ติ
อยไู ดต อ งมกี ารปรบั ตวั ใหท นตอ ความรอ นและแหง แลง ไดด ี ทนตอ ความเปน ดา งของหนิ ปนู นอกจากนี้
ยังจะตองมีระบบรากท่ีสามารถดูดและเก็บสะสมนํ้าและธาตุอาหารไดดี ตลอดจนมีความแข็งแรง
สามารถชอนไชซอกหิน ยึดเกาะหนาผา และตานทานแรงลมไดดีอีกดวย พรรณไมจํานวนมาก
ในบรเิ วณนส้ี ว นใหญจ งึ เปน ไมผ ลดั ใบและมคี วามเฉพาะเจาะจงกบั ระบบนเิ วศเชน น้ี พรรณไมต น และ
ไมพ มุ ทเ่ี ปน ดชั นขี องสงั คม ไดแ ก สลดั ไดปา (Euphorbia antiquorum) ขเ้ี หลก็ ฤๅษี (Phyllanthus
mirabilis) จนั ทนผ า (Dracaena spp.) ปรงหนิ (Cycas petraea) แคสนั ตสิ ขุ (Santisukia kerrii)
ปอฝาย (Firmiana colorata) ปอแดง (Sterculia guttata) โพหิน (Ficus glaberrima)
ไทรหินขอบใบหยัก (F. anastomosans) บางชนิดเปนพรรณไมผลัดใบที่มาจากปาผลัดใบผสม
เชน ขีอ้ า ย (Terminalia triptera) กกุ (Lannea coromandelica) สมกบ (Hymenodictyon
orixense) ปอขาว (Sterculia pexa) เปนตน

ภาพท่ี 17 ปา ละเมาะเขาหนิ ปนู ระดบั ตาํ่ ในวนอทุ ยานผางาม มพี รรณไมพ มุ และไมต น ทแ่ี คระแกรนขนึ้
ไดเ ฉพาะตามรอ งหนิ ปนู ทแี่ ตก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 23

8. ปา ชายนาํ้ (riparian/riverine forest) (ภาพท่ี 18) เปน สงั คมยอ ยหนงึ่ ของปา บงึ นาํ้ จดื
(freshwater swamp forest) เปน ปาไมผลัดใบ ปกคลุมเปนแนวแคบ ๆ สองขางลาํ ธาร หรอื ตาม
เกาะแกง ทอ งลาํ ธารและตลงิ่ มกี อ นหนิ หรอื กรวดปรากฏ นาํ้ ในลาํ ธารไหลคอ นขา งแรง มชี ว งนาํ้ ทว ม
เปนเวลาสนั้ ๆ สว นใหญอ ยูใ นลาํ ธารเขตตน น้าํ หรอื ลงมาใกลท ร่ี าบ ในฤดแู ลงนาํ้ อาจแหง แตย งั คงมี
ความชืน้ ที่ทอ งลําธารหลอ เลย้ี งพรรณไมใ หเขียวตลอดปได พรรณไมท ีข่ ้นึ ในปา ชายน้าํ มกี ารปรบั ตวั
ใหมีระบบรากท่ีทนตอการถูกแชน้ําและแข็งแรงยึดเกาะตลิ่งไดดี สวนใหญแพรกระจายผลไปตาม
กระแสน้ํา พรรณไมท่ีมีความเฉพาะเจาะจงและเปนดัชนีของปาชนิดน้ีไดดี ไดแก ไครยอย
(Elaeocarpus grandiflorus) เตมิ (Bischofia javensis) พระเจา หา พระองค (Dracontomelon
dao) ลําพูปา (Duabanga grandiflora) มะชมพูปา (Syzygium megacarpum) ชมพูน้ํา
(S. siamense) มะตาด (Dillenia indica) โสกน้ํา (Saraca indica) ขานาง (Tristaniopsis
merguensis) ขม้ี น้ิ (Nauclea officinalis) กา นเหลอื ง (N. orientalis) อนิ ทนลิ นา้ํ (Lagerstroemia
speciosa) เดอื่ หวา (Ficus auriculata) มะเดอ่ื ชมุ พร (F. racemosa) กมุ นา้ํ (Crateva magna)
สนุน (Salix tetrasperma) ตางหลวง (Trevesia palmata) บางครั้งมีพรรณไมจากปาดิบชื้น
ขา งเคยี งเขา มาขน้ึ ปะปน เชน ตะเคยี นทอง (Hopea odorata) ยางนา (Dipterocarpus alatus)
ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ลูกดิ่ง (Parkia sumatrana) สะเดาชาง (Acrocarpus
fraxinifolius) สัตบรรณ (Alstonia scholaris) ปรก (Altingia excelsa) เปนตน พรรณไมพุม
ในปา ชายนา้ํ มกั จะขน้ึ อยตู ามเขตชายนา้ํ ทถ่ี กู แสงแดดมากหรอื ตามแกง หนิ เชน ไครน า้ํ (Homonoia
riparia) พดุ นา้ํ (Kailarsenia spp.) หวา น้าํ (Syzygium spp.) กฤษณา (Photinia arguta var.
salicifolia) ลูกคลา ย (F. ischnopoda) และเตย (Pandanus spp.) เปนตน

ภาพที่ 18 ปา ชายนาํ้ ในเขตลาํ ธารตน นา้ํ มโี ขดหนิ ปรากฏอยทู วั่ ไป มองเหน็ รากของตน ไมข นาดใหญ
และแผกวา ง ตานทานกระแสนํา้ ไดดี

24 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

9. ทุงหญา (grassland) ทุงหญาจัดวาเปนสังคมพืชหนึ่งของประเทศไทย แตไมถือวา
เปน ปา ไม (woodland) ทเี่ ตม็ ไปดว ยตน ไมแ บบสงั คมพชื ทงั้ 8 แบบ ทกี่ ลา วไวก อ นน้ี ดว ยองคป ระกอบ
เกอื บทั้งหมดปกคลุมไปดว ยพืชวงศห ญา (Gramineae) และพชื วงศกก (Cyperaceae) แทรกดวย
พรรณไมล มลกุ และไมพมุ เตีย้ กระจัดกระจายอยทู ่วั ไป มคี วามสงู ไมเกิน 2 เมตร ในทงุ หญา อาจมี
ไมต น หรอื ไมพ มุ ทแี่ คระแกรนกระจายตวั อยหู า ง ๆ แตม เี รอื นยอดปกคลมุ ไมเ กนิ 20% หากเกนิ กวา นน้ั
จะเปนปาทุงสนหรือปาผลัดใบ ทุงหญาจะพบในพ้ืนที่ท่ีสภาพดินไมสมบูรณอยางย่ิงกวาสังคมพืช
อ่ืน ๆ มีเน้ือดินหยาบ หรือเปนช้ันบางมีหินโผลบาง แตไมมากเทาปาละเมาะ ทําใหพื้นท่ีแหงแลง
ไดงาย ประกอบกับถูกรบกวนดวยไฟปาบอยครั้งจนทําใหกลาไมยืนตนต้ังตัวไดยาก ท่ีมีอยูก็โตชา
และแคระแกรน ทําใหหญาและไมลมลุกจึงเขายึดพื้นท่ีได ในเขตภูเขาสูงซ่ึงมีฝนตกมากถึงแมจะ
ไมม ปี ญ หาเรอ่ื งขาดนาํ้ แตบ างพน้ื ที่ เชน ยอดเขาหรอื สนั เขา จะมกี ระแสลมพดั แรง ตน ไมส ว นใหญ
แคระแกรนและตงั้ ตัวใหมไ ดนอ ย หรอื พนื้ ทรี่ าบบนภเู ขาหินทรายทีเ่ ปนดินปนทรายมชี ั้นดนิ ลึกแต
เปน กรดจดั และมไี ฟปา เขา เปน ประจาํ การทดแทนตามธรรมชาตดิ ว ยไมย นื ตน และไมพ มุ จงึ ยากมาก
หญา และพรรณไมล ม ลุกกจ็ ะเขา ปกคลมุ เปนทุงกวา งมากขน้ึ ดังนั้นไฟจึงเปน ปจจัยทสี่ ําคญั ทส่ี ุดตอ
การคงอยูของทุงหญาในประเทศไทย หากไมมีไฟปาอยางนอยสุดพ้ืนที่เหลาน้ีนาจะมีการทดแทน
ไปสูป า ละเมาะ (scrub forest) หรือปาทุง (savannah forest) ได ทุง หญา ทกี่ ลาวมาน้จี ดั วา เปน

ภาพท่ี 19 ทงุ หญา ระดบั ตาํ่ ทอี่ ทุ ยานแหง ชาตปิ า หนิ งาม มตี น เหยี งขน้ึ กระจายหา ง ๆ พน้ื ปา ในฤดฝู น
มีกระเจียว (Curcuma alismatifolia) ออกดอกสวยงามจนเปนแหลงทองเที่ยวท่ี
สาํ คัญ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 25

ทุงหญาตามธรรมชาติ แมจะมีไฟปาอันเกิดจากมนุษยเขามารบกวนบาง แตอยางไรก็ตาม ดวย
ปจจยั จํากดั หลายอยา งจึงมโี อกาสนอ ยทีจ่ ะทดแทนตามธรรมชาติไปสพู น้ื ทปี่ า ไมหนาแนนได

ทุง หญา ทพ่ี บสว นใหญในพืน้ ทีก่ ลุมปา (ไมร วมทุงหญา ไรรา งการเกษตร) ปรากฏในสภาพ
ธรณสี ณั ฐานทเี่ ปน ภเู ขาหนิ ทราย ทก่ี ระจายตวั สลบั ไปกบั ปา ละเมาะเขาหนิ ทราย ดงั นนั้ จงึ มพี รรณไม
เกือบทั้งหมดเหมือนกัน แตมีสัดสวนของพรรณไมตนและไมพุมนอยกวา และสามารถแบงไดเปน
2 สงั คมยอ ย ไดแก

ทงุ หญา ระดบั ตาํ่ (ภาพท่ี 19) พบในพนื้ ทร่ี ะดบั ความสงู นอ ยกวา 1,000 เมตร ซงึ่ บนภเู ขา
หนิ ทรายในชว งเดอื นสงิ หาคม–ตลุ าคมชนั้ ดนิ ทรายบางๆจะแฉะไปดว ยนา้ํ มพี รรณไมล ม ลกุ สะเทนิ นา้ํ
สะเทนิ บกหลายชนดิ ขน้ึ ไดด ี เชน พชื วงศผ กั ปลาบ (Commelinaceae) กระดมุ เงนิ (Eriocaulon spp.)
กระถนิ นา (Xyris spp.) สรสั จันทร (Burmannia coelestis) เปน ตน เนอ่ื งจากดินทรายทข่ี น้ึ อยู
ขาดความอดุ มสมบรู ณ บนลานหนิ ทรายแหง นจ้ี งึ พบพชื กนิ แมลงเปน จาํ นวนมาก เชน สรอ ยสวุ รรณา
(Utricularia bifida) ดสุ ติ า (U. delphinioides) ทพิ เกสร (U. minutissima) หญา ฝอย (U. hirta)
หยาดน้าํ คา ง (Drosera spp.) และนํา้ เตา พระฤๅษี (Nepenthes smilesii) เปน ตน

ทุงหญาระดับสูง (ภาพท่ี 20) พบในพ้ืนท่ีระดับความสูงมากกวา 1,000 เมตร ทุงหญา
บริเวณนี้จะอยูสลับกับปาละเมาะเขาหินทรายระดับสูงหรือปาทุงสน ดังนั้นพรรณไมพุมเตี้ยและ
พรรณไมลมลุกในทุงหญาจึงคลายกับที่พบในปาท้ังสอง ตามที่กลาวมาแลว โดยสังคมพืชทุงหญา
ระดับสงู จะพบไดมากบนยอดภูหลวง และภูกระดึง

ภาพท่ี 20 ทงุ หญา ระดบั สงู ทภ่ี เู รอื มสี นสามใบและหนิ ทรายโผลก ระจดั กระจาย แตพ นื้ ทส่ี ว นใหญ
ยงั ถูกปกคลมุ ดว ยหญา กก และไมลม ลกุ

26 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ1

ǧȡ ÅÇŒ ÂäÁŒ (Orchidaceae)

กลว ยไม เปน พชื หลายป (perennial plant) มที ง้ั ทม่ี ขี นาดเลก็ มากทงั้ ตน สงู ไมเ กนิ 1 ซม. ไปจนถงึ
ชนดิ ทม่ี ขี นาดใหญไ ดม ากกวา 3 ม. มลี กั ษณะวสิ ยั ทห่ี ลากหลาย เชน กลว ยไมอ งิ อาศยั ขนึ้ บนหนิ ขนึ้ บนดนิ
หรอื เปน พชื นา้ํ เชน กลว ยไมน าํ้ (Epipactis flava) กลว ยไมส ว นใหญเ ปน พชื ทสี่ รา งอาหารไดเ อง พบเปน
สว นนอ ยทเี่ ปน กลว ยไมอ าศยั รา (mycoheterotrophic) เชน กลว ยมดดอกขาว (Didymoplexis pallens)

ราก กลว ยไมม รี ากพเิ ศษ (adventitious root) มกั พบเปน รากอากาศซงึ่ มชี นั้ ของ velamen ทาํ หนา ท่ี
ดูดความชนื้ จากอากาศ ธาตอุ าหาร รวมไปถงึ ชว ยในการยดึ เกาะกับตน ไมท่อี าศยั อยู สวนปลายรากมักมี
คลอโรฟล ลทําใหส ามารถสงั เคราะหแสงได

ลาํ ตน ลกั ษณะเรยี วยาว บางชนดิ เปลย่ี นแปลงไปเปน หวั เทยี ม (pseudobulb) หวั ใตด นิ แบบหวั หอม
(corm) หรือคลายหัวมันฝรั่ง (tuberoid) ลําตนมีการเจริญเติบโต 2 แบบ คือ เจริญเติบโตทางยอด
(monopodial) และเจรญิ เติบโตทางขาง (sympodial)

ใบ มี 1 ใบ ถึงจํานวนมาก เปนใบเด่ียว เรียงสลับหรือตรงขาม ขอบใบเรียบ แผนใบบางคลายเยื่อ
หนาคลา ยแผน หนงั หรอื อวบนาํ้ มลี กั ษณะเปน แผน แบนหรอื ทรงกระบอก อาจมหี รอื ไมม กี า นใบ บางชนดิ
จะทงิ้ ใบเม่อื เปน ดอก เชน เอ้อื งดินใบบวั (Nervilia crociformis) เอ้ืองพลายงาม (Pleione maculata)

ชอ ดอกเปน ชอ เชงิ ลด ชอ กระจะ หรอื ชอ แยกแขนง อาจตงั้ ขน้ึ หรอื หอ ยลง ออกทปี่ ลายยอดหรอื ดา นขา ง
ของลําตนมีดอกต้ังแต1ดอกถึงจํานวนมากเม่ือบานมีขนาดตั้งแตกวางประมาณ2มม.ไปถึงขนาดใหญ
สว นใหญม สี มมาตรดา นขา ง ดอกอาจบานแคเ พยี งระยะเวลาสนั้ ๆ ถงึ บานทนไดห ลายวนั มกี ลน่ิ หอมหรอื
เหมน็ ดอกกลวยไมสวนใหญมกี ลีบปากอยทู างดานลา ง เนอื่ งจากมกี ารบิดของดอกในระยะเปนดอกออน
(resupinate) โครงสรางของดอกกลว ยไมป ระกอบดว ย

กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ไดแก กลีบเล้ียงบน 1 กลีบ และกลีบเล้ียงขาง 2 กลีบ ตัวกลีบสวนใหญแยก
จากกันเปน อสิ ระ มกั มีรูปรางและสีสรรคลา ยกับกลีบดอก

กลีบดอก 3 กลบี มี 1 กลบี ทีม่ ีขนาด รูปรา ง และสีสรร แตกตางไปจากกลีบอืน่ เรยี กวา กลีบปาก
ปกติแลวกลีบดอกจะแยกเปนอิสระ พบเปนสวนนอยที่กลีบดอกแนบหรือเชื่อมติดกับกลีบเลี้ยงบน เชน
เอ้ืองดนิ นอยปากกาง (Zeuxine affinis) เออื้ งดินนอยปากเหลือง (Z. flava)

กลีบปาก มักมีขนาดใหญกวากลีบอ่ืน อาจไมแยกหรือแยกเปนแฉก อาจมีหรือไมมีเดือย (spur)
หรือบางชนดิ พองคลายถงุ (sac) และมักมีตอ มน้ําหวาน ผวิ กลีบอาจเกลี้ยง มีขนปกคลมุ เรียบ มีรอยยน
(rugose) หรอื เปนปุมเลก็ ๆ (papillose) และมกั มีตมุ เนื้อเยอ่ื (callus) เปน ครีบ (keel) เปน สนั (ridge)
หรือแผอ อกเปน ปก (lateral flanges)

เสา เกสรมีลักษณะเปนแทง เปนโครงสรางท่ีรวมเกสรเพศผแู ละเกสรเพศเมยี สวนปลายมีอับเรณูซึ่ง
สว นใหญม ี เพยี ง 1 อนั ภายในมกี ลมุ เรณู ตงั้ แต 2–8 กลมุ มฝี าปด กลมุ เรณู (operculum) ซงึ่ อาจหลดุ รว ง
ไดง า ย รงั ไขข องกลว ยไมเ ปน แบบรงั ไขอ ยใู ตว งกลบี สว นใหญภ ายในมี 1 ชอ ง และมพี ลาเซนตาตามแนวตะเขบ็
กลวยไมบ างชนิดมสี ว นโคนเสา เกสรเจรญิ ยาวยนื่ เปน คาง (mentum)

ผลสว นใหญเ ปน ผลแหง แตกตามยาวเปน 6 สว น หายากทแี่ ตกออกเปน 1–3 สว น และมกั ไมพ บทเ่ี ปน
ผลสดและไมแตกออกเมื่อแก เมล็ดขนาดเล็ก มีจํานวนมาก ลักษณะคลายผงฝุนสีนํ้าตาลออน หายาก
ท่มี สี นี าํ้ ตาลเขม ถึงสดี าํ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 2727

àËÂ×Í¡¹éÒí ´ÍÂ

Acanthophippium gougahense (Guillaumin) Seidenf.

28 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ช่อื อน่ื ๆ –

ลักษณะทางพฤกษศาสตร นิเวศวิทยาและการกระจายพนั ธุ Acanthophippium gougahense (Guillaumin) Seidenf.

กลวยไมด ิน สงู ไดถ งึ 50 ซม. พบตามปาดิบชื้น ในจังหวัดเลยและ
จงั หวดั จนั ทบรุ ี ทรี่ ะดบั ความสงู 400–1,300 ม.
รากสั้น ออกดอกเดอื นเมษายน–พฤษภาคม

หวั เทียมรปู ไขถ งึ รปู ทรงกระบอก เสน ผา น- เขตการกระจายพันธุ

ศูนยกลาง 1–1.5 ซม. ยาวประมาณ 7 ซม. จีนตอนใต เวียดนาม

ใบ มี 2–3 ใบ รปู รถี งึ รปู รแี กมรปู ขอบขนาน

กวาง 7–8 ซม. ยาว 19–32 ซม. ปลายแหลม
กานใบยาว 2–16 ซม.

ชอ ดอกแบบชอ กระจะ ออกทโ่ี คนหวั เทยี ม

กา นชอ ดอกยาวประมาณ 10 ซม. แกนชอ ดอกสนั้
แตละชอมี 3–6 ดอก ใบประดับรปู ใบหอกแกม
รปู ไข กวา งประมาณ 18 มม. ยาวประมาณ 30 มม.

ดอกสีขาว สีครีม หรือสีเหลือง มีแถบ

สนี าํ้ ตาลแกมแดง กลบี ปากสขี าว ดา นขา งมแี ตม
สมี ว ง กลางกลบี สเี หลอื ง กลบี เลยี้ ง มลี กั ษณะมน
กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนาน กวาง 13–17 มม.
ยาว 24–28 มม. ปลายกลบี โคง ลง โคนกลบี เชอ่ื มตดิ
กับโคนเสาเกสรเปนคางรูปทรงกลม กลีบดอก
รูปขอบขนานถึงรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน
กวาง 6–10 มม. ยาว 18–22 มม. ปลายมน
กลบี ปากแยกออกเปน 3 แฉก แฉกบนมลี กั ษณะ
คลายกานกลีบ แฉกกลางรูปสามเหลี่ยม กวาง
2–5 มม. ยาว 4–5 มม. ปลายกลีบโคงขึ้น
แฉกขา งรปู ขวาน กวา ง 5–9 มม. ยาว 5–8 มม.
กลางกลบี เปน สนั มน 3 สนั เสา เกสรยาว 10–12 มม.
โคนเสาเกสรยาว 22–26 มม.

ผลแบบผลแหงแตก รปู รี

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 29

¨¡Ø ¾ÃÒËÁ³

Acriopsis indica Wight

30 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชื่ออนื่ ๆ นมหนหู วั กลม

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

กลวยไมอิงอาศัย มีการเจริญเติบโตทาง
ดา นขา ง

รากสัน้ สขี าว

หัวเทยี มคลายรูปไขหรือรูปกรวย กวาง

0.8–1.2 ซม. ยาว 1.5–2.2 ซม. มกี าบหุม

ใบ มี 2 ใบ รปู แถบถงึ รปู ขอบขนานแกมรปู รี Acriopsis indica Wight

กวา ง 0.4–0.8 ซม. ยาว 7–10 ซม. ปลายแหลม
เนือ้ ใบบาง แผนใบเกล้ยี ง

ชอดอกแบบชอแยกแขนง โปรง ๆ ออก
จากโคนหัวเทียม แตละชอมีดอกจํานวนมาก

กานชอดอกยาว 8–10 ซม. แกนชอดอกยาว สีเขียวออนและคอย ๆ เปล่ียนเปนสีมวงไปทาง
8–14 ซม. แขนงชอ ดอกดา นขา งยาว 7–14 ซม. สว นปลายของเสาเกสร สว นปลายของเสา เกสร
ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ยาว 1–2 มม. เกล้ียง แผอ อกคลา ยรปู คมุ สมี ว งออ นถงึ สขี าว รยางคย าว
ดอกบานในชวงระยะเวลาสั้น ๆ กานดอกยาว 1 มม. สเี ขยี วออ นถงึ สมี ว งออ น
6.5–9 มม.
ดอกสีเขียวอมเหลือง กลีบเล้ียงสีเขียว- ผลแบบผลแหง แตก รูปรี
อมเหลือง เกล้ียง มีจุดรูปขอบขนานหรือกลม นิเวศวทิ ยาและการกระจายพันธุ
สมี ว ง ขอบกลบี เลยี้ งมว นขน้ึ กลบี เลยี้ งบนรปู เรอื พบตามปา เบญจพรรณ ปา ดบิ ชน้ื และสวนยาง
กวา ง 1.2–1.5 มม. ยาว 4.3–5 มม. กลบี เลย้ี งขา ง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออกเฉยี งใต
เชื่อมติดกันรูปเรือ กวาง 1.2–1.5 มม. ยาว และภาคใต ท่ีสูงจากระดับทะเลถึง 1,150 ม.
4.2–5 มม. กลีบดอก กวาง 1.9–2.5 มม. ยาว ออกดอกเดอื นมกราคม–มีนาคม

4–4.5 มม. สเี ขยี วอมเหลอื ง เกลยี้ ง มจี ดุ รปู ไขก ลบั เขตการกระจายพันธุ

ถึงรูปชอน เบี้ยวหรือกลม สีมวงขนาดเล็กแตม อินเดีย พมา อินโดจีน คาบสมุทรมลายู
ประปราย กลบี ปากรูปขอบขนานถงึ รปู ไขก วา ง ชวา บอรเ นยี ว ติมอรแ ละฟลปิ ปนส
หรือรูปซอ กวาง 1–2 มม. ยาว 3.8–4.5 มม.

ปลายกลีบปากมนถงึ กลม ขอบกลบี ปากเปน คลน่ื

สขี าว สเี ขยี วออ น มแี ตม สมี ว งขนาดเลก็ กลบี ปาก

มแี ถบบาง ๆ 2 แถบ เสา เกสรยาว 3.3–4 มม. เกลย้ี ง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 31

àÍÍé× §¡ËØ ÅÒº¾Ç§

Aerides falcata Lindl. & Paxton

32 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹éíÒ˹ÒÇ

ช่อื อ่นื ๆ คําสบนก เอ้ืองกุหลาบ-

กระเปาเปด เอ้ืองกุหลาบปา เอื้องคําสบนก
เอ้ืองดามขาว เอื้องปากเปด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

กลว ยไมอ งิ อาศยั ลาํ ตน อว นสน้ั สงู 10–15 ซม.

ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปแถบกวาง Aerides falcata Lindl. & Paxton

กวา ง 2–4 ซม. ยาว 19.5–29.5 ซม. ปลายเวา ตน้ื
ไมสมมาตร แผนใบหนาคลา ยแผน หนัง

ชอ ดอกแบบชอกระจะ ชอดอกยาว

20.5–30.5 ซม.

ดอก ขนาดเสน ผา นศนู ยก ลาง 1.5–3 ซม.
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว มีแตมสีมวงหรือ

สมี ว งแดง กลบี เลยี้ งบนรปู ไขก วา งหรอื รปู กง่ึ วงกลม

กวา งประมาณ 10.5 มม. ยาวประมาณ 12.5 มม.

ปลายแหลม กลบี เลย้ี งขา งรปู ไขก วา ง โคนเชอื่ ม

ตดิ กันถึงโคนเสาเกสร กลบี ดอกมขี นาดเลก็ กวา

กลบี เลย้ี ง กลบี ปากเคลอื่ นไหวได มเี ดอื ย กลบี ปาก

แยกเปน 3 แฉก แฉกขา งรปู เคยี วถงึ รปู ขอบขนาน

แฉกกลางรูปไขกวาง กวางประมาณ 18.5 มม.
ยาวประมาณ 11.5 มม. ปลายเวา ตนื้ โคนมรี อย นเิ วศวิทยาและการกระจายพนั ธุ
แผลเปน รปู กงึ่ วงกลมใกล ๆ กบั เดอื ย ขอบหยกั พบตามปา เบญจพรรณ ปา เตง็ รงั ปา ดบิ แลง
ไมเ ปน ระเบยี บถงึ หยกั ซฟ่ี น เดอื ยยาว 2.5–4.5 มม. และปาละเมาะเขาตํ่า ทั่วทุกภาคของประเทศ
มีลักษณะชี้ขึ้นดานบน ขนานไปกับแฉกกลาง ออกดอกเดือนเมษายน–พฤษภาคม

เสาเกสรยาว 2.5–4.5 มม. ฝาปดกลุมเรณู เขตการกระจายพนั ธุ
มีลักษณะแคบและมีจะงอยอยดู านบน
อินเดียตอนเหนือ กัมพูชา พมา ลาว
ผลแบบผลแหงแตก
เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 33

Ç‹Ò¹äËÁ¹Ò

Anoectochilus setaceus Blume

34 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชอื่ อนื่ ๆ – ชอ ดอกแบบชอกระจะ ออกท่ีปลายยอด Anoectochilus setaceus Blume

ลักษณะทางพฤกษศาสตร กา นชอ ดอกสนี ํ้าตาลแดง ยาวประมาณ 10 ซม.
มีดอก 3–5 ดอก
กลว ยไมด นิ ทงั้ ตน รวมชอ ดอกสงู ไดถ งึ 25 ซม.
ดอกสีขาว กลีบเล้ียงสีนํ้าตาลแดง ยาว
หวั เทยี มรูปทรงกระบอก
ใบ มี 3–5 ใบ รูปไข กวาง 1.7–4 ซม. ประมาณ 1.5 ซม. ดานนอกมีขนสีขาวปกคลุม
กลีบดอกสีขาว เช่ือมติดกับกลีบเล้ียงบน
ยาว 1.5–4.5 ซม. ปลายแหลม แผน ใบสมี วงดาํ กลีบปากสีขาวยาวเทากบั กลีบเล้ียง ปลายแยก
เสนใบสีขาว สเี หลือง หรอื สีชมพแู กมแดง เปน 2 แฉก คลายใบพาย ดานขางมีรยางค
คลา ยรูปเสน ดายหลายเสน

ผลแบบผลแหง แตก รูปรี

นเิ วศวิทยาและการกระจายพันธุ

พบตามปา ดิบแลงและปาดิบเขา ภาคเหนอื
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง
700–1,400 ม. ออกดอกเดอื นกนั ยายน–ธนั วาคม

เขตการกระจายพันธุ

อินเดีย ลาว เวยี ดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 35

Ç‹Ò¹¾ÃÒŒ Ç

Anthogonium gracile Wall. ex Lindl.

36 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชื่ออน่ื ๆ วานปาว ผลแบบผลแหงแตก เสนผานศูนยกลาง

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร ประมาณ 4 มม. ยาว 18 มม.

กลวยไมด นิ หรอื อาจพบอาศยั บนหนิ นเิ วศวิทยาและการกระจายพนั ธุ

พบตามพื้นที่เปดโลง ปาเบญจพรรณหรือ
หวั ใตด ินรปู ทรงกลม กวา งและยาว 0.7– ปา ดบิ เขา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออก
1.5 ซม.
และภาคกลาง ท่ีระดบั ความสูง 650–2,200 ม.

ใบ มี 2–3 ใบ ชวงเวลาออกดอกอาจจะ ออกดอกเดือนตลุ าคม–พฤศจิกายน
มีใบหรือไมมีใบ รูปแถบถึงรูปใบหอก กวาง เขตการกระจายพันธุ Anthogonium gracile Wall. ex Lindl.
0.3–1.3 ซม. ยาว 14–35 ซม. ปลายแหลม ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย เนปาล
กา นใบยาว 7–13 ซม.
ภูฏาน บังคลาเทศ พมา ทางใตและตะวันตก-

ชอ ดอกแบบชอกระจะ โปรง ๆ ออกท่ี เฉยี งใตข องจนี กมั พชู า ลาว เวยี ดนาม
โคนหัวใตดิน กานชอดอกยาว 11–25 ซม.

สนี า้ํ ตาลหรอื สมี ว ง ใบประดบั ทไี่ มม ดี อก มี 3–6 ใบ

รปู ทรงกระบอกหรอื รปู ขอบขนานแกมรปู ใบหอก

ยาว 0.4–2.5 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม

แกนกลางชอ ดอกยาว 3–15 ซม. แตล ะชอ มดี อก

5–20 ดอก ใบประดบั ทม่ี ดี อก รปู ไขถ งึ รปู ใบหอก

กวาง 0.8–2 มม. ยาว 3.5–5.5 มม. ปลายเรยี ว

แหลม สีเขียวหรอื สแี ดงอมนํ้าตาลออ น

ดอกสีมวง ชมพู หรือสขี าว กลบี เลีย้ งรปู รี

ถงึ รปู ไข กวา ง 0.9–1.8 มม. ยาว 5–9 มม. ปลาย
เกอื บแหลม โคนมลี กั ษณะเปน หลอด กลบี เลย้ี งบน
กวาง 2–3 มม. ยาว 13–18 มม. กลีบเล้ียงขาง
กวา ง 3.8–5.6 มม. ยาว 12–15 มม. กลีบดอก
รูปชอน กวาง 1.5–3 มม. ยาว 11–17 มม.
ปลายมนหรือแหลม กลีบปากแยกเปน 3 แฉก
กวาง 8–12 มม. ยาว 10–16 มม. แฉกกลาง
รปู สามเหลย่ี มมนหรอื รปู พดั กวา ง 1.5–3.8 มม.
ยาว 1.2–4 มม. แฉกขา งรปู ขอบขนานหรอื รปู พดั
กวา ง 2–4 มม. ยาว 1.2–2.5 มม. ปลายมนหรอื
เกอื บตดั ตรง เสา เกสรยาว 11–15 มม. สมี ว งออ น
สขี าว หรอื สีครมี อบั เรณสู เี หลอื ง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 37

ËÒ§áÁ§à§Ò

Appendicula cornuta Blume

38 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชือ่ อ่นื ๆ – 2 มม. ยาว 3–4.5 มม. อยเู กอื บกง่ึ กลาง ปลายมน Appendicula cornuta Blume
ขอบมลี กั ษณะยบั ยน สว นปลายมรี ยางคค ลา ยครบี
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร สวนโคนมีรยางคแผออกรูปกึ่งวงกลมหรือรูปลิ้น
กวา ง ขอบโคงลง เสาเกสรยาวประมาณ 2.5 มม.
กลว ยไมอ งิ อาศยั หรอื ขนึ้ บนหนิ กลุมเรณมู จี าํ นวน 6 กลมุ

ลาํ ตน มลี กั ษณะเปน กอ ตง้ั ขน้ึ หรอื หอ ยลง ผลรปู ทรงรี กวา ง 2–3.5 มม. ยาว 4.5–6.5 มม.

ยาว 19.5–50.5 ซม. เสนผานศูนยกลาง นิเวศวทิ ยาและการกระจายพันธุ
1.5–3.5 มม. ไมแ ตกกง่ิ มปี ลอ งจาํ นวนมาก แตล ะ
ปลอ งยาวประมาณ 1.5 ซม. มกี าบใบหมุ พบตามปาดิบชื้นทั่วทุกภาคของประเทศ
ออกดอกเดอื นกรกฎาคม–ตลุ าคม
ใบ มจี าํ นวนมาก เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว รปู ไข
เขตการกระจายพันธุ
ถงึ รปู รแี คบ ๆ หรอื เกอื บรปู ขอบขนาน กวา ง 5.5–
12.5 มม. ยาว 24.5–35.5 มม. ปลายไมส มมาตร ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของอนิ เดยี พมา เวยี ดนาม
แยกเปน 2 แฉกหรือเวาต้ืน โดยปกติพบเปนติ่ง กัมพชู า มาเลเซีย อินโดนีเซยี
แหลมออน โคนมกี าบหมุ

ชอดอกแบบชอกระจะส้ัน ๆ ยาว 1–2 ซม.

ออกทปี่ ลายยอดหรอื ดา นขา ง มี 2–6 ดอก ใบประดบั
ท่ีมีดอกโคงพับลง รูปใบหอก ยาว 3.5–5.5 มม.

ดอกสขี าว ขนาดเสน ผา นศนู ยก ลางประมาณ

5.5 มม. กา นดอกยาว 2.5–5.5 มม. กลบี เลย้ี งบน
รูปรี กวาง 1.5–2.5 มม. ยาวประมาณ 4 มม.
ปลายเวา หรอื เรยี วแหลม กลบี เลยี้ งขา งรปู สามเหลย่ี ม
เบี้ยว ๆ กวาง 1.5–3 มม. ยาว 3.5–4.5 มม. คาง
ยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน
แกมรปู ไข กวา งประมาณ 2 มม. ยาว 2–3.5 มม.
กลีบปากรูปเกือบรูปขอบขนาน กวางประมาณ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 39

àÍ×Íé §à¢çÁÁÇ‹ §

Ascocentrum ampullaceum (Roxb.) Schltr.

40 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ

ชื่ออนื่ ๆ เขาแกะ เอื้องข้ีคร่ัง

เอ้ืองเขาแกะใหญ เอ้ืองคร่ังฝอย

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

กลวยไมอิงอาศยั

ลาํ ตน ต้ังตรง อว นส้ัน ยาว 0.5–4.5 ซม.

ใบ มี 3 หรือ 4 ใบ รูปขอบขนานแคบ ๆ Ascocentrum ampullaceum (Roxb.) Schltr.

กวาง 0.5–2 ซม. ยาว 4.5–20.5 ซม. ปลายตัด
แผนใบหนาคลายแผนหนัง แบนและพับหากัน
ต้ังแตก ลางใบถึงโคนใบ หนาใบสเี หลอื งอมเขยี ว
มจี ดุ สมี ว งแดง หลังใบสีแดงออน

ชอ ดอกแบบชอ กระจะ มี 2–4 ชอ ออกตาม

ซอกใบ มลี กั ษณะตงั้ ตรง ยาว 4.5–7.5 ซม. มดี อก
จาํ นวนมาก กา นชอ ดอกสแี ดงอมชมพู ใบประดบั
ท่ีมีดอกรูปสามเหล่ียมแกมรูปไข ยาวประมาณ
1.2 มม. ปลายแหลม

ดอกสแี ดงอมชมพู ขนาดเสน ผา นศนู ยก ลาง การกระจายพนั ธุและนเิ วศวิทยา
1.2–2 ซม. ฝาปด อบั เรณแู ละกลมุ เรณสู มี ว งออ น พบตามปาเบญจพรรณ ภาคเหนือและ
กา นดอกรวมรงั ไข สแี ดงอมชมพู กา นดอกรวมรงั ไข ภาคตะวนั ตก ออกดอกเดอื นเมษายน–พฤษภาคม
ยาว 10–20 มม. กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกรปู ไขก วา ง
กวา ง 3.5–6.5 มม. ยาว 6.5–9.5 มม. ปลายมน เขตการกระจายพนั ธุ
กลีบปากแยกเปน 3 แฉก แฉกขางมีลักษณะ
อินเดีย เนปาล ภูฏาน พมา ลาว

ตงั้ ตรงเกอื บรปู สามเหลยี่ ม มขี นาดเลก็ ปลายมน

แฉกกลางรปู ขอบขนานแคบ ๆ หรอื รปู ลนิ้ กวา ง

0.5–2.5 มม. ยาว 5.5–7.5 มม. ปลายมนถงึ แหลม

โคนมเี ดอื ยรปู ทรงกระบอก กวา งประมาณ 3 มม.

ยาว 7.5–9.5 มม. สวนปลายโคงลงและขยาย

ใหญขึ้น เสาเกสรยาวประมาณ 2.5 มม. หนา

กลมุ เรณมู ีจํานวน 2 กลมุ

ผลแบบผลแหงแตก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 41

¤ÅÙ »Ù Ò¡áËÅÁ

Brachycorythis acuta (Rchb. f.) Summerh.

42 ¡ÅŒÇÂäÁŒã¹¡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹íéÒ˹ÒÇ


Click to View FlipBook Version