The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อธิบายการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by meowcat316, 2022-09-20 12:08:41

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

อธิบายการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E-BOOK) เล่มนี้ จัดทำขึ้น
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา
การดำรงชีวิตและครอบครัว3
ผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยว
กับ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่ง
ประกอบไปด้วย ความหมาย
ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ความสำคัญของการเพาะเลี้ยง
เนื่อเยื่อ ประเภทของการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ประโชน์ของการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ พืชที่นิยมนำมาเพาะเลี้ยง ขั้นตอนการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ ขั้นตอนการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ วิธีการฟอก
ฆ่าเชื้อชิ้นส่วนพืชวิธีการนำเนื้อเยื่อลงขวดเลี้ยง และการย้ายกล้า
เนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปสู่โรงเรือน เพื่อให้ผู้ที่
สนใจได้ศึกษาและเรียนรู้เพิ่มเติม

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียน
และผู้ที่สนใจในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่มากก็น้อย

คำนำ ก

สารบัญ
ก คำนำ
ข สารบัญ
1 ความหมายของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ
2-3 ความสำคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
4-6 ประเภทของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
7-8 ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
9 ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
10 พืชที่นิยมนำมาเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
11-12 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
13 อุปกรณ์การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
14 การเตรียมสารละลายเข้มข้น
15-17 ขั้นตอนเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
18 วิธีการฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนพืช
19 วิธีการนำเนื้อเยื่อลงขวดเลี้ยง
20 วิธีการย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยง
21 การย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปสู่โรงเรือน
22 แหล่งอ้างอิง
23 สมาชิก

สารบัญ ข

ความหมายของการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ




การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หมายถึง

การนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช ไม่ว่าจะ
เป็นอวัยวะเนื้อเยื่อเซลล์ หรือเซลล์ไม่มีผนัง มา
เลี้ยงในอาหารเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์
และอยู่ในสภาพควบคุมอุณหภูมิ แสงและ
ความชื้นเพื่อให้เซลล์พืชที่นำมาเพาะเลี้ยงนั้น
ปราศจากเชื้อที่มารบกวนและทำลายการเจริญ
เติบโตของพืช

for

และอยู่ในสภาพควบคุมอุณหภูมิ แสง
และความชื้นเพื่อให้เซลล์พืชที่นำมา
เพาะเลี้ยงนั้น ปราศจากเชื้อที่มา
รบกวนและทำลายการเจริญเติบโต
ของพืช

ความหมาย การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 1

ความสำคัญของการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ความสำคัญในการเพาะขยายพันธุ์พืชนั้น ก่อนอื่นเราจะต้อง นอกจากจะเพาะแบบอาศัยเพศ
เริ่มศึกษาและทำความเข้าใจในการขยายพันธุ์พืชเสียก่อน จาก แล้ว การเพาะแบบไม่อาศัยเพศก็
นั้นก็เริ่มศึกษาวิธีการเพาะ ซึ่งพืชแต่ละชนิดนั้นอาจจะมีการเพาะที่ เป็นอีกทางเลือกที่เหมาะสมกับการ
ไม่เหมือนกัน ขั้นตอนการเพาะอาจจะทำได้หลากหลายแบบ แต่ เพาะ ไม่ว่าจะเป็นการตัดกิ่ง การ
ไม่ได้เหมาะกับพืชทุกชนิด ทาบกิ่ง หรือการปักชำ ก็เป็นอีกทาง
เลือกที่จะช่วยให้พืชนั้นไม่เกิดการ
การเพาะขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศเข้าช่วยอาจจะเป็นการ เปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธุ์ได้
เพาะขยายพันธุ์ที่ง่ายก็จริง แต่ก็มีความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดการก
ลายพันธุ์ได้ ฉะนั้นเราจะต้องหาวิธีการเพาะที่แตกแขนงออกมา

ความสำคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 2

ความสำคัญการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ความสำคัญในการเพาะขยายพันธุ์พืชนั้น ก่อนอื่นเราจะต้องเริ่ม
ศึกษาและทำความเข้าใจในการขยายพันธุ์พืชเสียก่อน จากนั้นก็เริ่ม
ศึกษาวิธีการเพาะ ซึ่งพืชแต่ละชนิดนั้นอาจจะมีการเพาะที่ไม่เหมือนกัน
ขั้นตอนการเพาะอาจจะทำได้หลากหลายแบบ แต่ไม่ได้เหมาะกับพืชทุก
ชนิด การเพาะขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศเข้าช่วยอาจจะเป็นการเพาะ
ขยายพันธุ์ที่ง่ายก็จริง แต่ก็มีความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดการกลายพันธุ์
ได้ ฉะนั้นเราจะต้องหาวิธีการเพาะที่แตกแขนงออกมา นอกจากจะเพาะ
แบบอาศัยเพศแล้ว การเพาะแบบไม่อาศัยเพศก็เป็นอีกทางเลือกที่
เหมาะสมกับการเพาะ ไม่ว่าจะเป็นการตัดกิ่ง การทาบกิ่ง หรือการปักชำ
ก็เป็นอีกทางเลือกที่จะช่วยให้พืชนั้นไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือกลาย
พันธุ์ได้

ที่สำคัญเลย คือ ตัวเกษตรกรเองจะต้องหมั่นศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพืช
อยู่ตลอดเวลา ซึ่งเกษตรกรที่คลุกคลีกับวงการพืชเป็นหลักนั้นไม่ควรที่จะ
หยุดแค่ปลูกพืชชนิดเดียว ควรจะหาแหล่งพืชเพาะพันธุ์ที่มีความแปลก
ใหม่ หรืออาจจะเพาะแบบเมล็ดให้ได้สายพันธุ์ใหม่ขึ้นมา เพื่อเป็นการ
ต่อยอดให้ได้พืชที่แปลกใหม่และไม่เหมือนใคร และไม่หยุดที่จะเรียน
รู้ที่จะหาวิธีการเพาะที่หลากหลายมาพัฒนาศักยภาพของตน ซึ่งตรงนี้จะ
ช่วยอัพสกิลของเกษตรกรให้มีประสิทธิภาพ และประสบความสำเร็จใน
หน้าที่ของตนเองได้

ความสำคัญการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3

ประเภทของการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ที่สำคัญเลย คือ ตัวเกษตรกร ซึ่งเกษตรกรที่คลุกคลีกับวงการ เพื่อเป็นการต่อยอดให้ได้พืชที่
เองจะต้องหมั่นศึกษาหาความรู้ พืชเป็นหลักนั้นไม่ควรที่จะหยุด แปลกใหม่และไม่เหมือนใคร
เกี่ยวกับพืชอยู่ตลอดเวลา แค่ปลูกพืชชนิดเดียว ควรจะหา และไม่หยุดที่จะเรียนรู้ที่จะหาวิธี
แหล่งพืชเพาะพันธุ์ที่มีความ การเพาะที่หลากหลายมาพัฒนา
แปลกใหม่ หรืออาจจะเพาะแบบ ศักยภาพของตน
เมล็ดให้ได้สายพันธุ์ใหม่ขึ้นมา

ประเภทของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 4

hello! ofประเภทของการเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อพืช


พืชประกอบไปด้วยอวัยวะต่างๆ

มากมาย ซึ่งแต่ละอวัยวะก็ประกอบด้วย
เนื้อเยื่อหลายชนิด คำนูณ กาญจนภูมิ
แบ่งการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชออกเป็น
6 ชนิด

1. การเพาะเลี้ยงพืชทั้งต้น (Culture of intact plants)

2. การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอ (Embryo culture)

3. การเพาะเลี้ยงอวัยวะและการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเจริญ
(Organ culture and meristem culture)

4. การเพาะเลี้ยงแคลลัส (Callus culture)

5. การเพาะเลี้ยงเซลล์แขวนลอย
(Cell suspension culture)

6. การเพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์ (Protoplast culture)

ประเภทของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช 5

ประเภทของการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

พืชประกอบไปด้วยอวัยวะต่างๆมากมายซึ่งแต่ละอวัยวะก็ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ
หลายชนิด

1. การเพาะเลี้ยงพืชทั้งต้น (Culture of 4. การเพาะเลี้ยงแคลลัส (Callus
intact plants) คือ การนำเอาเมล็ดไป culture) คือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่เกิด
เพาะในหลอดทดลองจนกลายเป็นต้นกล้า ใหม่จากการเพาะเลี้ยงส่วนต่างๆ ของพืช
และพืชสมบูรณ์ต่อไป เช่น การเพาะ
เมล็ดกล้วยไม้ 5. การเพาะเลี้ยงเซลล์แขวนลอย (Cell
suspension culture) คือ การเพาะเลี้ยง
2. การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอ (Embryo เซลล์เดี่ยว (Single cell) หรือกลุ่มเซลล์
culture) คือ การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอไม่ (Aggregate cells) ในอาหารเหลวที่มี
ว่าแก่หรืออ่อนหลังจากที่แยกเอาเปลือกหุ้ม การเขย่าตลอดเวลา
เมล็ดออกไปแล้ว

3. การเพาะเลี้ยงอวัยวะและการเพาะเลี้ยง 6. การเพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์
เนื้อเยื่อเจริญ (Organ culture and (Protoplast culture) คือ การเพาะ
meristem culture) คือ การเพาะเลี้ยง เลี้ยงเซลล์ที่ปราศจากผนังเซลล์ (Cell
ส่วนต่างๆ ของอวัยวะพืชที่แยกออกมา เช่น wall)
ปลายยอด ปลายราก ข้อ ปล้อง ใบ ดอก
ผล เป็นต้น เป็นวิธีที่ท าได้ง่ายและ
รวดเร็ว

ประเภทของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 6

guide ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จใน
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

ความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขึ้นอยู่
ปัจจัยต่างๆ ดังนี้

1. ชิ้นส่วนพืช (explant)
ทุกส่วนของพืชที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่สามารถ
นำมาทำการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ได้ทั้งนั้น แต่ความ
สามารถในการเจริญเติบโตอาจแตกต่างกันเพราะเซลล์
แต่ละชนิดมีความตื่นตัว (active) ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับ
สิ่งเหล่านี้

-1.1 ชนิดพืช พืชไม้เนื้อแข็งทำการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อได้ยากกว่าพืชไม้เนื้ออ่อน เนื่องจาก พืชไม้เนื้อ
แข็งมีความสามารถในการสร้างเซลล์ใหม่ต่ำ ความ
ผันแปรทางพันธุกรรมมีมาก การเพิ่มจำนวนค่อนข้างต่ำ
เมื่อเทียบกับพืชไม้เนื้ออ่อน และมีการพักตัวมาเกี่ยวข้อง

-1.2 อายุ

-1.3 ขนาด ขนาดของชิ้นส่วนพืชจะกำหนดแน่นอนไม่ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช
และเชื้อที่ต้องการกำจัด แต่โดยมากขนาดชิ้นส่วนพืชยิ่งเล็กเปอร์เซ็นต์การปน
เปื้อนก็ยิ่งน้อย แต่ก็ง่ายต่อการ บอบช้ำในขณะฟอกฆ่าเชื้อและย้ายเนื้อเยื่อ
โอกาสที่จะสำเร็จก็น้อยกว่าชิ้นส่วนขนาดใหญ่

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช 7

-1.4 ส่วนของพืช เนื้อเยื่อพืชที่มีเซลล์ตื่นตัวมากที่สุด คือ เนื้อเยื่อเจริญ
(meristematic tissue) ซึ่งพบได้ในส่วนต่าง ๆ ดังนี้

ก. ส่วนปลายยอดของลำต้น (shoot apex) เป็นบริเวณที่เซลล์มีการแบ่งตัวมากที่สุด
ข. ส่วนปลายราก (root apex) ถัดจากส่วนของหมวกราก (root cap) ก็จะมีส่วน ที่
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเจริญคล้ายกับส่วนของปลายยอด
ค. เนื้อเยื่อเจริญในท่อลำเลียง (vascular cambium) เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่พบใน
ส่วนของลำต้นและราก
ง. เนื้อเยื่อเจริญที่อยู่ระหว่างปล้อง (intercalary meristem) จะพบในพืชพวก ใบ
เลี้ยงเดี่ยว

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช 8

Benefitประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ




1. เพื่อการผลิต
ต้นพันธุ์พืช
ปริมาณมากใน


เวลาอันรวดเร็ว

3. เพื่อการ
2. เพื่อการผลิต
ปรับปรุงพันธุ์พืช
พืชที่ปราศจาก


โรค




4. เพื่อการผลิต

พืชพันธุ์ต้านทาน

5. เพื่อการผลิต 6. เพื่อการผลิตยา
พืชพันธุ์ทนทาน หรือสารเคมีจากพืช

ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 9

พืชที่นิยมนำมาเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ นิยมใช้กับ
พืชที่มีปัญหาในเรื่องของการขยาย
พันธุ์ หรือพืชที่มีปัญหาเรื่องโรค เช่น
ขิง กล้วยไม้ หรือพืชเศรษฐกิจ เช่น
กุหลาบ ดาวเรือง ข้าว แครอท
คาร์เนชั่น เยอร์บีร่า เป็นต้น

ขั้นตอนในการเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีวิธีการทำ
5 ขั้นตอน

1. การเตรียมอาหาร
2. การฟอกฆ่าเชื้อส่วนเนื้อเยื่อ
3. การนำเนื้อเยื่อลงขวดเลี้ยง
4. การนำขวดเลี้ยงเนื้อเยื่อไปเลี้ยง
5. การย้ายเนื้อเยื่อออกจากขวด

พืชที่นิยมนำมาเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 10

ขั้นตอนการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

มี 2 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้..

1. การเตรียมเนื้อเยื่อ

เป็นการนำชิ้นส่วนพืชจากต้นแม่พันธุ์ในส่วนของยอดอ่อนหรือตายอด เพื่อ
นำเข้ามาสู่กระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยส่วนของพืชนั้น สามารถนำมาได้
จากหลายวิธีเช่น ยอดจากการปักชำทราย ยอดจากการติดตา ยอด Cutting และ
ยอดจากต้นแม่พันธุ์โดยตรง ทั้งนี้ การได้ยอดจากการติดตา เป็นวิธีที่ยังนิยมใช้
ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แต่มีข้อเสีย คือต้องใช้เวลานาน และต้องมีความ
ชำนาญอีกทั้งยังต้องมีต้นพันธุ์เพื่อใช้สำหรับการติดตาอีกด้วย

โรงเรือนขนาดเล็กสำหรับชำกิ่งด้วยทราย เพื่อจะทำให้ยอดที่สะสม
อาหารนั้น แตกยอดที่มีความสมบูรณ์พร้อมที่จะนำมาสู่ที่กระบวนการเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อสำหรับการปักชำทรายนี้ ถือว่าเป็นส่วน สำคัญอย่างหนึ่งเพื่อ
จะให้ได้ชิ้นส่วนของพืชจากต้นแม่พันธุ์ที่ต้องการขยายพันธุ์หรือปรับปรุง
พันธุ์ มาทำการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อให้ได้จำนวนมาก และมีลักษณะเหมือน
ต้นแม่พันธุ์ทุกประการ ทำให้ได้สาย ต้นที่มีลักษณะที่ดี ตรงตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งสามารถต่อยอดเพื่อปลูกเป็นสวนผลิตเมล็ดพันธุ์

ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 11

2.การเตรียมอาหาร About

เป็นการนำธาตุอาหารหลักที่พืช
ต้องการในการเจริญเติบโต และธาตุ
อาหารรองมาผสมกับวุ้นฮอร์โมนพืช
วิตามิน น้ำตาล และบางกรณีอาจมีการเติม
ผงถ่านด้วย ในอัตราส่วนที่เหมาะสมแล้ว
นำไปนึ่งฆ่าเชื้อ ซึ่งในการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อพืชขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง

สิ่งที่สำคัญมากอย่างหนึ่งคือ องค์ประกอบ
ของอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
ของพืชชนิดนั้นๆ ซึ่งต้องประกอบด้วยอาหารที่
พืชสามารถนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยสูตรอาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้

1. สารอนินทรีย์ ได้แก่ ธาตุอาหารหลักคือ ธาตุอาหารที่พืชจำเป็นต้องใช้ใน
ปริมาณมาก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม กำมะถัน แคลเซียม
แมกนีเซียมและกำมะถัน

2. สารประกอบอินทรีย์ ได้แก่ สารที่มีองค์ประกอบของคาร์บอน (C)
ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O)

ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 12

อุปกรณ์การเตรียม
อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

1. เครื่องแก้วต่างๆ ไดแก่ บีกเกอร์ ปเปตต์ จานเพาะเชื้อ กระบอกตวงขวด
(Cylinder)

2. สารเคมีตางๆ
-2.1 สารเคมีที่ใชเตรียมสูตรอาหารตางๆ
-2.2 สารเคมีที่ควบคุมการเจริญเติบโต
-2.3 น้ำตาลทรายขาว
-2.4 วุ้น (Agar Agar) ตรานางฟ้า
-2.5 ผงถ่าน
3. หม้อนึ่งความดันไอ (Autocrave)
4. เตาไฟฟ้า
5.หม้อสำหรับต้มอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและกระบวยตัก

อุปกรณ์การทำอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 13

การเตรียมสารละลายเข้มข้น

ก า ร เ ต รี ย ม อ า ห า ร สำ ห รั บ ก า ร เ ลื อ ก สู ต ร (STOCK)
เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช จ ะ อ า ห า ร ม า ใ ช้ จ ะ ต้ อ ง คำ นึ ง ถึ ง
แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ป ต า ม ช นิ ด ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม กั บ พื ช แ ล ะ การเตรียมสารละลาย
ของพืช โดยสูตรอาหาร วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า จะเตรียมในขวดสีชา และ
สำ ห รั บ เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ ปั จ จุ บั น นิ ย ม เ ต รี ย ม ใ น รู ป นำสารละลายดังกล่าวแช่ตู้
มี อ ยู่ ด้ ว ย กั น ห ล า ย ช นิ ด แ บ บ ส า ร ล ะ ล า ย เ ข้ ม ข้ น ซึ่ ง เย็น เพื่อเป็นการยืดอายุ
เช่นMS (MURASHIGE ส ะ ด ว ก ต่ อ ก า ร ใ ช้ ง า น โ ด ย การใช้งานของสารละลาย
AND SKOOG) และ ทั่ ว ไ ป
WOODY PLANT

การเตรียมสารละลายเข้มข้น 14

ขั้นตอนเตรียม
อาหารเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ

ขั้นตอนเตรียมอาหาร
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

1. เตรียมสารละลายเข้มข้น (Stock) ด้วยความเข้มข้น
ต่างๆ ตามสูตรของสารละลายเข้มข้น (Stock) ที่ต้องการใน
ขวดแก้วสีชา และนำแช่ตู้เย็น เพื่อยืดอายุการใช้งานของ
สารเคมี

2. ผสมสารละลายเข้มข้น (STOCK) ตามสูตรอาหารสำหรับ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่ต้องการ ด้วยกระบอก ตวง (CYLINDER)
เพื่อความแม่นยำใส่น้ำตาล และปรับปริมาตรให้เป็นไป
ตามสูตรอาหารนั้นๆ

ขั้นตอนเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 15

ขั้นตอนทำอาหาร
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

3.หลังจากปรับปริมาตรอาหารสำหรับเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อแล้ว ต้องทำการวัดความเป็น กรด-ด่าง
ซึ่งควรมีค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ระหว่าง 5.7-5.8
เท่านั้น โดยสามารถใช้กรด (1 Normal HCL)
และเบส (1 Normal NaOH) เพื่อปรับให้ได้
ความเป็นกรด-ด่าง ที่ต้องการ

4. หลังจากที่ได้ความเป็นกรด-ด่าง ที่อยู่
ในเกณฑ์มาตรฐานแล้ว ก็ให้ใส่วุ้น และ
ผงถ่าน (ถ้ามี) ลงไป แล้วผสมให้เข้ากัน

5. นำสารละลายดังกล่าวมาต้มให้เดือด
โดยต้องคนตลอดเวลา เพื่อไม่ให้วุ้นติด
ก้นหม้อ

6. เมื่อเดือดได้ที่ให้นำสารละลายดัง
กล่าว มาเทใส่ขวดแก้วเพาะเลี้ยงเยื่อ
ทันทีขณะที่ยังร้อน

ขั้นตอนเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 16

ขั้นตอนทำอาหาร
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

7. ควรเทอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อลง 9. หลังจากครบกำหนดเวลา
ขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อประมาณ 1-2 แล้ว ให้นำอาหารเพาะเลี้ยง
เซนติเมตรของขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เนื้อออกจากหม้อนึ่งความดันไอ
หากเทอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาก (Autocrave) ซึ่งระหว่าง
เกินไปจะทำให้เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่าย การนำขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ในทางกลับกันหากเทอาหารเพาะเลี้ยง ต้องระวังการหกเลอะปากขวด
เนื้อเยื่อน้อยเกินไปก็จะทำให้ไม่ ของอาหารเพาะเลี้ยงเพื่อ
สามารถปักชิ้นส่วนพืชลงบนอาหาร ป้องกันการเสี่ยงติดเชื้อหลังจาก
เพาะเนื้อเยื่อ อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแข็ง
ตัวให้นำเข้าห้องปฏิบัติการ
8. หลังจากอาหารแข็งตัวให้ทำการปิด เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต่อไป
ฝาและนำไปอบฆ่าเชื้อในหม้อนึ่ง
ความดันไอ โดยทั่วไปจะใช้ที่อุณหภูมิ
121องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนด์
ต่อตารางนิ้วเป็นเวลา 20 นาทีเพื่อฆ่า
เชื้ออีกครั้ง

ขั้นตอนเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 17

วิธีการฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนพืช

เนื้อเยื่อพืชที่จะนำมาเพาะเลี้ยงนั้นจะต้องผ่านการฆ่าเชื้อ เพื่อกำจัด
จุลินทรีย์ที่อาจติดอยู่ที่ บริเวณผิวของเนื้อเยื่อพืชออกเสียก่อนด้วยน้ำยาฆ่า
เชื้อ ซึ่งสารเคมีที่ในห้องปฏิบัติการส่วนใหญ่นิยมใช้ คือ โซเดียมไฮโป
คลอไรด์ (Sodium Hypochloride), คลอรอกซ์(Clorox) และ เมอร์คิวริก
คลอไรด์ (Mercuric Chloride) โดยอัตราส่วนที่ใช้คือ คลอรอก
ซ์(Clorox) 8-10 % หรือ เมอร์คิวริก คลอไรด์ (Mercuric Chloride) 0.1
กรัม ผสมกับ tween-20

ขั้นตอน

1. ตัดชิ้นส่วนของยอดหรือตาข้างมาทำการริบใบออกเล็ก
น้อย หลังจากนั้นแช่ Ethyl Alcohol 70% เป็นเวลา 10-
15 วินาทีเพื่อล้างคราบแป้งหรือสิ่งสกปรกต่างๆ ของชิ้น
ส่วนเนื้อเยื่อเบื้องต้น Wash the sliced brussel
sprout, and let it dry with vegetable drier

2. แช่ชิ้นส่วนพืชในสารละลายคลอร็อกซ์ (Clorox)
ความเข้มข้น 8-10 % หรือเมอร์คิวริก คลอไรด์
(Mercuric Chloride) 0.1 กรัม ต่อน้ำที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้ว
ปริมาตร 90 มิลลิลิตร

3. เติม tween-20 ในอัตราส่วน 5-10 หยด ต่อน้ำที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้ว ปริมาตร 90 มิลลิลิตร
เพื่อลดแรงตึงผิวและช่วยให้สารละลายสามารถจับกับผิวพืชได้ดีทำการเขย่าประมาณ 10-15
นาที(เขย่าตลอดเวลา) หรือใช้เครื่องเขย่า

4. ล้างเอาสารละลายออกด้วยน้ำที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้ว ปริมาตร 120 มิลลิลิตร 3 ครั้ง ๆ ละ
ประมาณ 5 นาที ภายในตู้ปลอดเชื้อ

5. ทำการตัดแต่งชิ้นส่วนพืช เพื่อทำการเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต่อไป

วิธีการฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนพืช 18

วิธีการนำ

เนื้อเยื่อลง

ขวดเลี้ยง

หลังจากทำการ

1. ตัดแต่งชิ้นส่วน
พืชแล้วให้
ทำการปักชิ้น
ส่วนเนื้อเยื่อนั้นๆ

ลงไปในอาหารสำหรับ
หลังจากการฟอกฆ่าเชื้อชิ้น
ส่วนเนื้อเยื่อ จำนวน 1 ชิ้น
ต่อ 1 ขวดเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ

2. หลังจากเพาะเลี้ยงในอาหาร 4. เมื่อเนื้อเยื่อในอาหารสำหรับยืด
สำหรับฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ยอด มีความยาว 5-8 เซนติเมตร
เป็นเวลา 2-4 สัปดาห์ให้ทำการย้าย ให้ทำการตัดยอดเพื่อนำมาอาหาร
ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อออกจากขวดมายัง สำหรับยืดยอดอีกครั้ง
ขวดอาหารสำหรับขยายกอต่อไป
เป็นเวลา 4-6 สัปดาห์ 5. เมื่อผ่านไปประมาณ 4-6
สัปดาห์ ให้นำไปเนื้อเยื่อออกจาก
3. เมื่อสังเกตเห็นว่าภายในขวด ขวดอาหารสำหรับยืดยอดมาใส่ใน
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีการแตกกอเป็น อาหารออกรากต่อไป
จำนวนมาก มีลักษณะสีเขียวสดชื่น
ให้ทำการย้ายชิ้นส่วนเนื้อเยื่อลงใน 6. หลังจากเนื้อเยื่ออยู่ในอาหาร
อาหารสำหรับแตกกอ เพื่อขยาย สำหรับออกรากแล้ว จะสังเกตเห็น
จำนวนเนื้อเยื่อและบางส่วนลงใน รากแขนง และรากฝอย เมื่อ
อาหารสำหรับยืดยอด เป็นเวลา 4-6 ลักษณะ ที่แข็งแรงพร้อมแล้ว ให้
สัปดาห์(ให้ผู้ปฏิบัติการพิจาณาตาม นำขวดออกไปสู่โรงเรือนได้
เหมาะสม)
วิธีการนำเนื้อเยื่อลงขวดเลี้ยง 19

1. นำขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่มีกล้า 3. นำกล้าเนื้อเยื่อจุ่มน้ำยาเร่งรากเป็น
เนื้อเยื่อที่มีรากและลำต้นที่สมบูรณ์ เวลา 10 วินาที โดยระวังไม่ให้น้ำยา
แข็งแรง (สามารถสังเกตได้ด้วย โดนใบของกล้าเนื้อเยื่อ
ตาเปล่าจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ)
โดยกล้าเนื้อเยื่อจะอยู่ในอาหารสูตร 4. นำกล้าเนื้อเยื่อปลูกในวัสดุปลูกที่จัด
R (อาหารสูตรออกราก) ไปทำการ เตรียมไว้ภายในโรงเรือนที่ใช้อนุบาล
ผึ่งขวดในพื้นที่ที่มีอากาศถ่ายเท กล้าโดยใช้ของแหลมแทง วัสดุปลูกให้
สะดวก โดยเปิดฝาขวดเล็กน้อยเพื่อ เป็นรูขนาดใหญ่พอสมควร เพื่อให้ง่าย
ให้กล้าเนื้อเยื่อ สามารถปรับตัวให้ ต่อการเพาะปลูก ระวังอย่าให้ต้นกล้า
เข้ากับสภาพสิ่งแวดล้อมเป็นเวลา เนื้อเยื่อช้ำและรากหักหรือขาดเด็ดขาด
ประมาณ 1 สัปดาห์

วิธีการย้าย
กล้าเนื้อเยื่อ
ออกจากขวด
เพาะเลี้ยง

2. หลังผ่านไป 1 สัปดาห์ในนำกล้า 5. ให้น้ำทุกๆ 1 ชั่วโมง นาน 1 นาที 6. น้ำกล้าเนื้อเยื่อที่แข็งแรง
เนื้อเยื่อมาล้างทำความสะอาดวุ้นออกด้วย (โดยใช้ Timer ตั้งเวลาเพื่อสเปรย์ ออกจากโรงเรือนอนุบาล ไป
สะอาดอย่าง ระมัดระวัง เพื่อป้องกันไม้ หมอกรดน้ำ) จนกว่ากล้าเนื้อเยื่อที่จะ ปลูกในแปลงเพื่อประโยชน์
กล้าเนื้อเยื่อช้ำและรากหักหรือขาด ซึ่ง แข็งแรง และปรับตัวเข้ากับสภาพ ตามวัตถุประสงค์ต่อไป
จะมีผลต่อการเจริญเติบโต แวดล้อมได้ดีโดยสามารถปรับเวลา
ให้น้ำได้ตามความเหมาะสม

วิธีการย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยง 20

การย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจาก
ขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปสู่โรงเรือน

การย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปสู่โรงเรือนเป็น
ขั้นตอนที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะบ่งบอกถึงความสำเร็จของการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ ซึ่งคือการนำกล้าเนื้อเยื่อที่มีรากและลำต้นที่สมบูรณ์แข็งแรง โดย
นำกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และ นำไปอนุบาลในโรง
เรือน หลังจากกล้าเนื้อเยื่อปรับตัวกับและเข้ากับสภาพแวดล้อมได้แล้ว
แล้วนำปลูก ในพื้นที่ที่ต้องการเพื่อประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ต่อไป

การย้ายกล้าเนื้อเยื่อออกจากขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปสู่โรงเรือน 21

แหล่งอ้างอิง

ธัญญา ทะพิงค์แก. (2554). หลักการขยาย
พันธุ์พืช. เชียงใหม่: คณะเทคโนโลยี
การเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
https://www.trueplookpanya.com/le
arning/detail/
http://www.facagri.cmru.ac.th/res
earch/subject_file/20210629140015.
pdf
https://sites.google.com/a/nareera
t.ac.th/plant-propagation/page-9
http://www.fio.co.th/fio/km/docKM
63/tissue.pdf

แหล่งอ้างอิง 22

สมาชิก

จั ยดทำโด

นางสาว สุธินันท์ ปัญโญใหญ่ นางสาว กฤตพร เมืองคำ
เลขที่ 19 เลขประจำตัว 34937 เลขที่ 20 เลขประจำตัว 36755

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

สมาชิก 23


Click to View FlipBook Version