The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จังหวัดอุทัยธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

จังหวัดอุทัยธานี

จังหวัดอุทัยธานี

จังหวัดอุทัยธานี


ประวัติความเป็ นมาของจังหวัดอุทัยธานี เม ื องอุทยัธานีมีหลกัฐานทางดา ้ นประวตัิศาสตร ์ ของกรมศิลปากรยน ื ยนัไวว ้่า เป็ นที่อยอู่าศยัของมนุษยก ์ ่อนประวตัิศาสตร ์ เมื่อประมาณ 3,000 ปี มาแล้ว โดยพบหลกัฐานยน ื ยนัในหลายพ้ื นที่เช่น โครงกระดูกเคร ื่องม ื อหินกะเทาะจากหินกรวด ภาพเขียนสมยัก่อนประวตัิศาสตร ์ บนหนา ้ ผา (เขาปลาร้า) ตา นานเก่าเล่าวา่ ในสมยักรุงสุโขทยัเจริญรุ่งเร ื องน้นัทา ้ วมหาพรหมไดเ ้ ขา ้ มาสร ้ างเม ื องที่บา ้ นอุทยัเก่าค ื ออา เภอหนองฉางในปัจจุบนัน้ี แล้วพาคนไทยเข้า มาอยทู่ ่ามกลางหมู่บา ้ นคนมอญและคนกะเหรี่ยง จ ึ งเรียกว่า "เม ื องอู่ไทย" ตามกลุ่มหร ื อที่อยขู่องคนไทยซ่ึ งพากนัต้งับา ้ นเร ื อนอยอู่ยา่งหนาแน่น มีพ ื ชพนัธุ์ และ อาหารอุดมสมบูรณ ์ กวา่แห่งอ ื่น ต่อมากระแสน้า เปลี่ยนทางเดินและเกิดกนัดารน้า เม ื องอู่ไทยจ ึ งถูกทิ้งร ้ างจนในที่สุด พะตะเบิดได้เข้ามาปรับปรุงเม ื องอู่ไทย โดย ขดุที่เก ็ บกกัน้า ไวใ้ กลเ ้ ม ื องและพะตะเบิดไดเ ้ป็ นผปู้ กครองเม ื องอู่ไทยเป็ นคนแรกในสมยักรุงศรีอยธุยา เมืองอู่ไทยต่อมาได้เรียกกันเป็น "เมืองอุไทย" คาดว่าเพี้ยนไปตามส าเนียงชาวพื้นเมืองเดิม ได้มีฐานะเป็นหัวเมืองด่านชั้นนอก มีพระพลสงครามเป็นนายด่านแม่กลอง และพระ อินทรเดชเป็นนายด่านหนองหลวง (ปัจจุบันแม่กลองคืออ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และหนองหลวงคือต าบลหนองหลวง อ าเภออุ้มผาง) คอยดูแลพม่าที่จะยกทัพมาตามเส้นทาง ชายแดนด่านแม่ละเมา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148-2163) ได้โปรดเกล้าฯ ให้บัญญัติอ านาจการใช้ตราประจ าต าแหน่ง มีบัญชาการตามหัวเมืองนั้น ได้ระบุใน กฎหมายเก่าลักษณะพระธรรมนูญว่า "เมืองอุไทยธานี เป็นหัวเมืองขึ้นแก่มหาดไทเมืองอุไทยธานีเป็นเมืองที่อยู่บนที่ดอนและลึกเข้าไป ไม่มีแม่น้ าสายใหญ่และไม่สามารถติดต่อ ทางเรือได้ ดังนั้นชาวเมืองจึงต้องขนข้าวบรรทุกเกวียนมาลงที่แม่น้ า จึงท าให้พ่อค้าพากันไปตั้งยุ้งฉางรับซื้อข้าวที่ริมแม่น้ าจนเป็นหมู่บ้านใหญ่ เรียกว่าหมู่บ้าน "สะแกกรัง" เนื่องจากเป็นพื้นที่มีป่าสะแกขึ้นเต็มริมน้ าและมีต้นสะแกใหญ่อยู่กลางหมู่บ้าน บ้านสะแกกรัง ชาวจีนเรียกเพี้ยนเป็น "ซิเกี๋ยกั้ง" เป็นตลาดซื้อข้าวที่มีพ่อค้าคนจีนนิยมไปตั้ง บ้านเรือนและยุ้งฉาง ต่อมาในระยะหลังได้มีเจ้านายและขุนนางมาตั้งบ้านเรือนอยู่ เพราะความสะดวกในการกะเกณฑ์สิ่งของส่งเมืองหลวงซึ่งเป็นจ าพวกมูลค้างคาว ไม้ซุง กระวาน และช้างป่า อีกทั้งยังมีช่องทางในการค้าข้าวอีกด้วยย“


ตราสัญลักษณ์ : รูปพลับพลาจตุรมุข หน้าบรรณศาลาตราจักรีตั้งอยู่บนยอดเขาแก้ว ความหมายของตราประจ าจังหวัดอุทัยธานี พลับพลาจตุรมุข หน้า บรรณศาลาตราจักรี เป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปของสมเด็จพระ ปฐม บรมมหาชนกนาถแห่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช รัชกาลที่ 1


ค าขวัญประจ าจังหวัดอุทัยธานี "อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ าตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ าสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ”


ผ้าทอพื้นเมือง ผลไม้แช่น ้าผึ้ง ยาลมจีน เครื่องจักสานท่ารากหวาย เห็ดโคนดอง


พ ้ ื นท ี ่ ของจง ั หวด ั อ ุ ทย ั ธาน ี จังหวัดอุทัยธานีมีพื้นที่ส่วนรวม 6,730 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,206,404 ไร่ 1 อ าเภอเมืองอุทัยธานี 2 อ าเภอทัพทัน 3 อ าเภอสว่างอารมณ์ 4 อ าเภอหนองฉาง 5 อ าเภอหนองขาหย่าง 6 อ าเภอบ้านไร่ 7 อ าเภอลาน 8 อ าเภอห้วยคต


สภาพภูมิศาสตร์ ทิศตะวันออกเป็นสภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นป่าและภูเขา มีความลาดเทจากทิศตะวันตก ลงมาทางทิศตะวันออก โดยทางทิศ ตะวันตกจะเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน พื้นที่ตอนกลางเป็นที่ดอนสลับพื้นที่ราบแบบลูกคลื่น ทิศตะวันออกของจังหวัด พื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม จากลักษณะพื้นที่ดังกล่าว ท าให้จังหวัดอุทัยธานี ประสบกับปัญหาขาดแคลนน ้า ด้านทิศตะวันตก และหากปีใดมีน ้ามาก หรือน้าหลากจะเกิดน ้าท่วมด้านนประจ า


จ านวนประชากร 325,116 คน.


การเดินทาง รถยนต์ - จากกรุงเทพฯสามารถเดินทางไปอุทัยธานีได้หลายเส้นทาง รถไฟ - ต้องโดยสารรถไฟไปลงที่สถานีนครสวรรค์ แล้วต่อรถประจ าทางมายัง อุทัยธานี อีกประมาณ 50 กม. รถโดยสารประจ าทาง - บริษัท ขนส่ง จ ากัด มีบริการเดินรถระหว่างกรุงเทพฯ-อุทัยธานี ทุกวัน


จัดท าโดย นางสาวภัทราวรรณ์ เดิมลิ่ม รหัส 010 แผนกการจัดการส านักงาน ปวส.1 ขอบคุณค่ะ


Click to View FlipBook Version